You are on page 1of 9

การเสริมสร้างความรอบรู้ด้านสุขภาพและพฤติกรรมสุขภาพ

กลุ่มวัยเรียน ปี 2559

การดาเนินงานดูแลสุขภาพของเด็กวัยเรียนจาเป็นต้องมีการดาเนินงานควบคู่ทั้งในด้าน
การแก้ปัญหาสุขภาพเฉพาะประเด็นและการส่งเสริมสุขภาพองค์รวม โดยใช้กลยุทธ์การพัฒนาความรอบรู้
และพฤติกรรมสุขภาพตามแนวทางสุขบัญญัติแห่งชาติ ภายใต้การดาเนินงานโรงเรียนส่งเสริมพฤติกรรม
สุขภาพในองค์ประกอบที่ 6 เรื่องสุขศึกษาในโรงเรียน เน้นการจัดกิจกรรมการเรียนรู้และการฝึ กทักษะ
สุ ข บั ญ ญั ติ 10 ประการ เสริ ม การเรี ย นในวิ ช าสุ ข ศึ ก ษา เพื่ อ ให้ เ ด็ กมี ค วามรอบรู้ ด้ า นสุ ข ภาพ และ
มีพฤติกรรมสุขภาพที่ถกู ต้องตามแนวทางสุขบัญญัติแห่งชาติ
การจั ด กิจ กรรมการเรี ยนรู้ใ นสถานศึก ษามีส่ ว นส าคั ญอย่า งยิ่ ง ที่จะส่ ง เสริ ม ให้ เด็ ก
เยาวชนได้มีการเรียนรู้ กระตุ้นเตือนให้เกิดความตระหนัก การให้ความสาคัญและใส่ใจในการดูแลสุขภาพ
ในเรื่องต่างๆ ซึ่งจะส่งผลให้เด็ก เยาวชน มีความรอบรู้ด้านสุขภาพ (Health Literacy) และมีพฤติกรรม
สุขภาพที่ถูกต้อง เหมาะสม ซึง่ เป็นการสร้างและพัฒนาขีดความสามารถในการเข้าถึง ทาความเข้าใจ และ
ประเมินข้อมูลข่าวสารทางสุขภาพและบริการทางสุขภาพ ที่ได้รับการถ่ายทอดและเรียนรู้ ซึ่งทาให้มี
การตัดสินใจเลือกวิถีทางในการดูแลตนเอง จัดการสุขภาพตนเองเพื่อป้องกันและคงรักษาสุขภาพที่ดีของ
ตนเองไว้ได้อย่างยั่งยืน

๑. วัตถุประสงค์
๑. เพื่อพัฒนาโรงเรียนสุขบัญญัติต้นแบบครอบคลุมทุกจังหวัด
๒. เพื่อให้เด็กวัยเรียนมีความรอบรู้ด้านสุขภาพและพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้องตาม
แนวทางสุขบัญญัติแห่งชาติ
๓. เพื่อส่งเสริมสนับสนุนภาคีเครือข่ายให้มีการดาเนินงานเสริมสร้างความรอบรู้ด้าน
สุขภาพและพฤติกรรมสุขภาพ
๔. พัฒนาพฤติกรรมสุขภาพตามแนวทางสุขบัญญัติแห่งชาติ

2. เป้าหมายการดาเนินงาน
๑. เป้าประสงค์ : ประชาชนกลุ่มเด็กวัยเรียน มีความรอบรู้ด้านสุขภาพและพฤติกรรม
สุขภาพที่ถูกต้องตามสุขบัญญัติแห่งชาติ
๒. กลุ่มเป้าหมาย เด็กวัยเรียน อายุ 7-14 ปี ในโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพเป้าหมาย
๓. พื้นที่ดาเนินการ
โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพในตาบลจัดการสุขภาพเป้าหมาย โดยมีพื้นที่เป้าหมายใน
การพัฒนาทั้งเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ

15
๑. เชิงคุณภาพ
๑.๑ ส่งเสริมการดาเนินงานในโรงเรียน เป็นโรงเรียนสุขบัญญัติต้นแบบระดับ
จังหวัด โดยคัดเลือกโรงเรียนที่อยู่ในตาบลเดียวกับหมู่บ้านที่จะพัฒนาเป็นหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
ลดโรคฯต้นแบบ ซึ่งเป็นโรงเรียนที่อยู่ในหมู่บ้าน หรืออยู่ใกล้เคียงกับหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรค
ฯ จังหวัดละ ๔ โรงเรียน
๑.๒ พัฒนาโรงเรียนสุขบัญญัติ ให้เป็น พื้นที่เรียนรู้ การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
สุขภาพระดับ ประเทศ โดยคัดเลือกโรงเรียนที่อยู่ในพื้นที่เดียวกันกับพื้นที่ พัฒ นาหมู่บ้านปรับเปลี่ยน
พฤติกรรมลดโรคฯ ทีเ่ ป็นพื้นที่เรียนรู้ฯ จังหวัดละ ๑ แห่ง
๒. เชิงปริมาณ
ส่ ง เสริ ม โรงเรี ย นในพื้ น ที่ ต าบลจั ด การสุ ข ภาพ (ตามเป้ า หมายของ
กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ ปีงบประมาณ ๒๕๕๙) ครอบคลุมทุกตาบล (7,255 แห่ง)ทั้ง ๗๖ จังหวัด
๔. ตัวชี้วัดความสาเร็จของการดาเนินงาน
1. ร้อยละของเด็กวัยเรียนมีความรอบรู้ด้านสุขภาพเพิ่มขึ้นตามเกณฑ์ที่กาหนด
ร้อยละ 5
๒. ร้ อ ยละของเด็ ก วั ย เรี ย นมี พ ฤติ ก รรมสุ ข ภาพเพิ่ ม ขึ้ น ตามเกณฑ์ ที่ ก าหนด
ร้อยละ 5
๓. จานวนโรงเรียนสุขบัญญัติต้ นแบบระดับจังหวัด ผ่านระดับดีขึ้นไป จังหวัดละ
อย่างน้อย ๔ โรงเรียน
๔. จ านวนโรงเรี ย นที่ เ ป็ น พื้ น ที่ เ รี ย นรู้ พ ฤติ ก รรมสุ ข ภาพ (อยู่ ใ นพื้ น ที่ เ ดี ย วกั บ
หมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรคฯ ที่เป็นแหล่งเรียนรู้) จังหวัดละ ๑ โรงเรียน

-
-
-
-

-
-
-
-
Health Literacy -
-
-

-
-
-

16
กระบวนการส่งเสริมสนับสนุนการดาเนินงานเสริมสร้างความรอบรู้ด้านสุขภาพ
และพฤติกรรมสุขภาพวัยเรียน

กองสุขศึกษา มีกิจกรรมเพื่อส่งเสริม สนับสนุนการดาเนินงาน ดังนี้


๑. สร้างความรู้ ความเข้าใจ ในเป้าหมายและแนวทางการดาเนินงานให้กับเครือข่าย
ในระดับพื้นที่ (ประชุมชี้แจง ภาพรวมของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ)
๒. เสริมสร้างศักยภาพให้กับบุคลากรผู้ปฏิบัติงานในระดับพื้นที่ ได้แก่ การจัดอบรม
หลักสูตรนักปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ การจัดมหกรรมวิชาการกรม สบส. (เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้)
๓. สนับสนุนเครื่องมือการดาเนินงานพัฒนาความรอบรู้ ด้านสุขภาพและพฤติกรรม
สุขภาพตามสุขบัญญัติแห่งชาติ ได้แก่
1.1 คู่มือ/แนวทาง/หลักสูตร
- แนวทางการด าเนิ น งานพั ฒ นาความรอบรู้ แ ละพฤติ ก รรมสุ ข ภาพ
ตามสุขบัญญัติแห่งชาติ
- ถึงเวลา พัฒนาสุขภาพเด็กไทย : แนวทางการดาเนินงานสร้างเสริม
พฤติกรรมสุขภาพตามสุขบัญญัติแห่งชาติในสถานศึกษา
- คู่ มื อการจั ดกิ จกรรมการเรี ยนรู้ สุ ขบั ญญั ติ แห่ งชาติ (ชั้ นประถมศึ กษา
ปีที่ 1-3)
- คู่มือการจัดกิจกรรมการเรียนรู้สุขบัญญัติแห่งชาติ (ชั้นชั้นประถมศึกษา
ปีที่ 4-6)
- หลักสูตรการพัฒนาศักยภาพแกนนาสร้างเสริมสุขบัญญัติในสถานศึกษา
1.2 เครื่องมือการประเมินผล
- แบบประเมินการพัฒนาโรงเรียนสุขบัญญัติแห่งชาติ
- แบบสอบถามความรอบรู้ ด้ า นสุ ข ภาพและพฤติ ก รรมสุ ข ภาพตาม
สุขบัญญัติแห่งชาติ
- แบบเฝ้าระวังพฤติกรรมสุขภาพตามสุขบัญญัติแห่งชาติ
- แบบประเมินความรอบรู้ด้านสุขภาพสาหรั บเด็กและเยาวชนไทยที่มี
ภาวะน้าหนักเกิน
- แบบประเมินความรอบรู้ด้านสุขภาพเพื่อป้องกันการตั้งครรภ์ก่อนวัยอัน
ควรสาหรับสตรีไทยวัยรุ่น อายุ 15-21 ปี
- แบบประเมินการพัฒนาโรงเรียนสุขบัญญัติ
๑.๓ ต้ น แบบสื่ อ ประกอบการจั ด กิ จ กรรมสุ ข บั ญ ญั ติ แ ห่ ง ชาติ (รายละเอี ย ด
เอกสารและต้นแบบสื่อสามารถดาว์นโหลดได้ที่เว็บไซด์กองสุขศึกษา www.hed.go.th)
๔. ประสานความร่วมมือกับเครือข่าย โดยประสานงานกับสานักงานคณะกรรมการ
การศึกษาขั้นพื้นฐาน กรมวิชาการ และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ในการจัดการให้ความรู้ ความเข้าใจในการ
ดาเนินงานสุขบัญญัติแก่สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาทั่วประเทศ ผู้บริหารสถานศึกษา และครู/อาจารย์
เพื่อสนับสนุนการดาเนินงานสุขบัญญัติแห่งชาติ

17
๕. พัฒนาองค์ความรู้เพื่อการดาเนินงาน ซึ่งในปีงบประมาณ ๒๕๕๙ มีการพัฒนา
องค์ความรู้ได้แก่
- แนวทางการดาเนินงานสร้างเสริมพฤติกรรมสุขภาพตามสุขบัญญัติแห่งชาติใน
สถานศึกษา (ฉบับปรับปรุง)
- ชุดองค์ความรู้สู่ระบบการสอนผ่ านสื่อ อิเลคทรอนิกส์ / การสอนทางไกลผ่าน
ดาวเทียม
- ชุดพัฒนาวิถีชีวิตสุขภาพเด็กไทย (วิจัยต่อเนื่อง)
- พัฒนาเครื่องมือประเมินความรอบรู้ด้านสุขภาพและพฤติกรรมสุขภาพของ
กลุ่มวัยเรียน
- พัฒนาเครื่องมือประเมินความรอบรู้ด้านสุขภาพและพฤติกรรมสุขภาพของ
กลุ่มวัยรุ่น
๖. กากับ ติด ตาม คุณภาพการดาเนินงานสร้างเสริมความรอบรู้ด้านสุ ขภาพและ
พฤติกรรมสุขภาพ

สานักงานสนับสนุนบริการสุขภาพเขต มีกิจกรรมเพื่อส่งเสริม สนับสนุนการดาเนินงาน ดังนี้


กลุ่มเป้าหมาย/พื้นที่
กิจกรรม ระยะเวลา สิ่งสนับสนุน
เป้าหมาย
1. จัดทาแนวทางการดาเนินงานฯ - สานักงานสาธารณสุข ธ.ค. ๕๘ แนวทาง
ให้สอดคล้องกับแนวทางของ จังหวัด การดาเนินงาน
กองสุขศึกษา และมีการบูรณาการ - สถานบริการสุขภาพ ของกรม สบส.
ในภาพของสานักงานเขต ในพื้นที่เป้าหมาย
2. ชี้แจงเป้าหมายและแนวทาง - สานักงานสาธารณสุข ม.ค.-ก.พ. ๕๙ แนวทาง
การดาเนินงานให้กับหน่วยงาน จังหวัด การดาเนินงาน
ระดับจังหวัด/พื้นที่เพื่อสร้างความรู้ - สถานบริการสุขภาพ ของกรม สบส.
ความเข้าใจในแนวทางการดาเนินงาน ในพื้นทีเ่ ป้าหมาย
สุขบัญญัติในสถานศึกษาและแผน - โรงเรียนในพื้นที
สนับสนุนการดาเนินงาน เป้าหมาย
3. ประสานงาน/บูรณาการกับศูนย์วชิ าการ หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ม.ค.-ก.พ. ๕๙ แนวทาง
เช่น ศูนย์อนามัย ศูนย์สุขภาพจิต การดาเนินงาน
สานักงานป้องกัน และควบคุมโรค สร้างเสริม
และหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้อง เช่น สุขบัญญัติ
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษา แห่งชาติใน
ในการดาเนินงานในโรงเรียนสุขบัญญัติ สถานศึกษา
4. จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ฯระดับเขต จนท.สสจ.และสถานบริการ ม.ค. ๕๙ แนวทางการจัด
ร่วมกับหมู่บ้านปรับเปลี่ยนฯ ที่รับผิดชอบโรงเรียน เวทีแลกเปลี่ยนฯ
เป้าหมาย
5. จัดทาทาเนียบโรงเรียนเป้าหมาย โรงเรียนเป้าหมาย ม.ค.-ก.พ. ๕๙ แบบทาเนียบ
การดาเนินงานของแต่ละจังหวัด โรงเรียน
จังหวัดละ ๔ แห่ง และโรงเรียน เป้าหมาย
ที่เป็นพื้นที่เรียนรู้ 1 แห่ง

18
กลุ่มเป้าหมาย/พื้นที่
กิจกรรม ระยะเวลา สิ่งสนับสนุน
เป้าหมาย
6. ส่งเสริมสนับสนุนการดาเนินงาน
- จัดทาและสนับสนุน เอกสาร/ โรงเรียนส่งเสริม ม.ค.-ก.พ. ๕๙ เอกสาร/สื่อต้นแบบ
คู่มือ/สื่อสุขบัญญัติแห่งชาติ สุขภาพในตาบลจัดการ
เพื่อการพัฒนาความรอบรู้และ สุขภาพ เป้าหมาย
พฤติกรรมสุขภาพตามแนวทาง
สุขบัญญัติแห่งชาติ
- ส่งเสริมการพัฒนาศักยภาพแกนนา มี.ค.-มิ.ย. ๕๙ หลักสูตรพัฒนา
ของสถานศึกษา (เจ้าหน้าที่รพ.สต./ ศักยภาพแกนนาฯ
ครู อาจารย์/แกนนานักเรียน) โดย
การจัดประชุม/พัฒนาศักยภาพ
แกนนาของสถานศึกษา รวมทุกจังหวัด
ภายในเขต หรือการจัดพัฒนา
ศักยภาพฯ ของแต่ละจังหวัด โดย
จังหวัดอาจจัดร่วมกับ โครงการ
โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ
- ให้คาปรึกษา เป็นพี่เลี้ยง ม.ค.-ส.ค. ๕๙ แนวทางการดาเนินงาน
และสนับสนุนวิชาการ สร้างเสริมสุขบัญญัติ
แห่งชาติในสถานศึกษา
7. นิเทศ ติดตามการดาเนินงานโรงเรียน - สานักงาน พ.ค.-ส.ค. ๕๙ แบบรายงาน
สุขบัญญัติแห่งชาติ แต่ละจังหวัด สาธารณสุข ความก้าวหน้า
โดยดูจาก จังหวัด การดาเนินงาน
- แผน/โครงการการสนับสนุน - สถานบริการ
การดาเนินงานในพื้นที่เป้าหมาย สาธารณสุขในพื้นที่
- การบูรณาการร่วมกับการดาเนินงาน เป้าหมาย
โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ - โรงเรียนเป้าหมาย
- เยี่ยม/ให้คาแนะนาแก่โรงเรียน
เป้าหมาย
8. ประเมินผลการดาเนินงานโรงเรียน โรงเรียนเป้าหมาย ส.ค.-ก.ย. ๕๙ แบบประเมินการพัฒนา
สุขบัญญัติแห่งชาติ จังหวัดละ ๔ แห่ง โรงเรียนสุขบัญญัติ
- คัดเลือกโรงเรียนต้นแบบ - จังหวัดละ ๑ แห่ง แห่งชาติ
9. ประเมินความรอบรู้ด้านสุขภาพและ สุ่มประเมินในโรงเรียน ส.ค.-ก.ย. ๕๙ เครื่องมือ/แนวทาง
พฤติกรรมสุขภาพตามสุขบัญญัติแห่งชาติ เป้าหมาย ประเมินความรอบรู้
ระดับเขต ด้านสุขภาพและ
พฤติกรรมสุขภาพตาม
สุขบัญญัติแห่งชาติ
10. จัดทาฐานข้อมูลความรอบรู้ด้านสุขภาพ ข้อมูลกลุ่มวัยเรียน แต่ ม.ค.-ก.ย. ๕๙
และพฤติกรรมสุขภาพวัยเรียน ละจังหวัด
เพื่อการวางแผนการดาเนินงาน

19
สานักงานสาธารณสุขจังหวัด มีกิจกรรมเพื่อส่งเสริม สนับสนุนการดาเนินงาน ดังนี้
กิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย/พื้นที่เป้าหมาย ระยะเวลา สิ่งสนับสนุน
1. จัดทาแผนบูรณาการในการเสริมสร้าง - สานักงานสาธารณสุข ธ.ค. ๕๘ แนวทางการ
ความรอบรูด้ ้านสุขภาพและพฤติกรรม จังหวัด ดาเนินงาน
สุขภาพวัยเรียน - สถานบริการสุขภาพ สุขศึกษาและ
ในพื้นที่เป้าหมาย พัฒนาพฤติกรรม
สุขภาพ
๒. ประสานความร่วมมือกับเครือข่าย หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ม.ค.-ก.พ. ๕๙ แนวทางการ
ดาเนินงานสร้าง
เสริมสุขบัญญัติ
แห่งชาติใน
สถานศึกษา
๓. คัดเลือกกาหนดโรงเรียนเป้าหมาย โรงเรียนในพื้นที่เดียวกับ
- เป้าหมายการดาเนินงานจังหวัดละ หมู่บ้านเป้าหมาย ปี ๒๕๕๙ ม.ค.-ก.พ. ๕๙ แบบทาเนียบ
๔ แห่ง โรงเรียนในพื้นที่เดียวกับ โรงเรียนเป้าหมาย
- โรงเรียนสุขบัญญัติ ให้เป็นแหล่ง หมู่บ้านหมู่บ้านปรับเปลี่ยน
เรียนรู้และศึกษาดูงานของจังหวัด พฤติกรรมลดโรคฯ ที่เป็นแหล่ง
จังหวัดละ ๑ แห่ง เรียนรู้
4. ร่วมเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้การพัฒนา จนท.สสจ.และสถานบริการที่ ม.ค. ๕๙ แนวทางการจัดเวที
พฤติกรรมสุขภาพระดับเขต รับผิดชอบโรงเรียนเป้าหมาย แลกเปลี่ยนฯ
๕. ส่งเสริมสนับสนุนการดาเนินงาน
- สนับสนุน เอกสาร/คูม่ ือ/สื่อ โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพใน ม.ค.-ก.พ. ๕๙ เอกสาร/สื่อ
สุขบัญญัติแห่งชาติ เพื่อการพัฒนา ตาบลจัดการสุขภาพ ต้นแบบ
ความรอบรู้ และพฤติกรรมสุขภาพ เป้าหมาย
ตามแนวทางสุขบัญญัติแห่งชาติ
- ส่งเสริมการพัฒนาศักยภาพแกนนา มี.ค.-มิ.ย. ๕๙ หลักสูตรพัฒนา
ของสถานศึกษา (เจ้าหน้าที่รพ.สต./ ศักยภาพแกนนาฯ
ครู อาจารย์/แกนนานักเรียน)
- ให้คาปรึกษา เป็นพี่เลี้ยง และ ม.ค.-ส.ค. ๕๙ แนวทางการ
สนับสนุนวิชาการ ดาเนินงานสร้าง
เสริมสุขบัญญัติ
แห่งชาติใน
สถานศึกษา
๖. นิเทศ ติดตามการดาเนินงานโรงเรียน - สถานบริการสุขภาพในพื้นที่ พ.ค.-ส.ค. ๕๙ แบบรายงาน
สุขบัญญัติแห่งชาติ เป้าหมาย ความก้าวหน้าการ
- ติดตามความก้าวหน้า - โรงเรียนเป้าหมาย ดาเนินงาน
การดาเนินงานหรือนิเทศบูรณาการ -
ของจังหวัด
- นิเทศร่วมกับผู้รับผิดชอบ
งานสุขศึกษาของ สบส.เขต
- เยี่ยม/ให้คาแนะนาแก่โรงเรียน
เป้าหมาย

20
กิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย/พื้นที่เป้าหมาย ระยะเวลา สิ่งสนับสนุน
๗. ประเมินผลการดาเนินงานโรงเรียน โรงเรียนเป้าหมาย จังหวัดละ ส.ค.-ก.ย. ๕๙ แบบประเมินการ
สุขบัญญัติแห่งชาติ ๔ แห่ง พัฒนา โรงเรียน
- คัดเลือกโรงเรียนต้นแบบ - จังหวัดละ ๑ แห่ง สุขบัญญัติแห่งชาติ
๘. ประเมินความรอบรู้ด้านสุขภาพและ สุ่มประเมินในโรงเรียน ส.ค.-ก.ย. ๕๙ เครื่องมือ/แนวทาง
พฤติกรรมสุขภาพตามสุขบัญญัติ เป้าหมาย ประเมินความรอบ
แห่งชาติ ระดับเขต รู้ด้านสุขภาพและ
พฤติกรรมสุขภาพ
ตามสุขบัญญัติ
แห่งชาติ
๙. จัดทาฐานข้อมูลความรอบรู้ด้านสุขภาพ ข้อมูลกลุ่มวัยเรียน ม.ค.-ก.ย. ๕๙
และพฤติกรรมสุขภาพวัยเรียน แต่ละจังหวัด
เพื่อการวางแผนการดาเนินงาน

โรงเรียนเป้าหมาย (จังหวัดละ 4 แห่ง) มีแนวทางการดาเนินงาน ดังนี้


สุ ข บั ญ ญั ติ แ ห่ ง ชาติ เป็ น ข้ อ ก าหนดในการดู แ ลสุ ข ภาพขั้ น พื้ น ฐานที่ เ ด็ ก เยาวชน
ตลอดจนประชาชนทั่วไปพึงปฏิบัติในชีวิตประจาวัน เพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรค และลด
ความเสี่ยงต่อการเกิดโรคและอันตรายต่อสุขภาพ
การดาเนิ น การปลู กฝั งพฤติกรรมสุ ขภาพขั้นพื้นฐานภายใต้การดาเนินงานโรงเรียน
ส่งเสริมสุขภาพในองค์ประกอบที่ ๖ เรื่องสุขศึกษาในโรงเรียน เน้นการจัดกิจกรรมการเรียนรู้และ การฝึก
ทักษะสุ ขบั ญ ญัติ ๑๐ ประการ เสริ มการเรีย นในวิช าสุ ขศึกษา เพื่ อให้ เด็กมี ความรอบรู้ ด้านสุ ขภาพ
(Health Literacy) และมีพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้องตามแนวทางสุขบัญญัติแห่งชาติ ได้แก่
สุขบัญญัติข้อ 1 ดูแลรักษาร่างกายและของใช้ให้สะอาด
สุขบัญญัติข้อ 2 รักษาฟันให้แข็งแรงและแปรงฟันทุกวันอย่างถูกต้อง
สุขบัญญัติข้อ 3 ล้างมือให้สะอาดก่อนกินอาหารและหลังขับถ่าย
สุขบัญญัติข้อ 4 กินอาหารสุก สะอาด ปราศจากสารอันตราย และหลีกเลี่ยง
อาหารรสจัด สีฉูดฉาด
สุขบัญญัติข้อ 5 งดบุหรี่ สุรา สารเสพติด การพนัน และการสาส่อนทางเพศ
สุขบัญญัติข้อ 6 สร้างความสัมพันธ์ในครอบครัวให้อบอุ่น
สุขบัญญัติข้อ 7 ป้องกันอุบัติภัยด้วยการไม่ประมาท
สุขบัญญัติข้อ 8 ออกกาลังกายสม่าเสมอและตรวจสุขภาพประจาปี
สุขบัญญัติข้อ 9 ทาจิตใจให้ร่าเริงแจ่มใสอยู่เสมอ
สุขบัญญัติข้อ 10 มีสานึกต่อส่วนรวม ร่วมสร้างสรรค์สังคม

21
แนวทางการดาเนินงานสร้างเสริมสุขภาพตามสุขบัญญัติแห่งชาติในสถานศึกษา
1. สร้างทีมงาน เพื่อการดาเนินงานด้านสุขภาพ โดยการ
- ตั้งคณะกรรมการ/คณะทางานด้านสุขภาพ โดยการมีส่วนร่วมของภาคส่วนต่างๆ
ที่เกี่ยวข้อง มีแกนนานักเรียนด้านสุขภาพ และมีการกาหนดบทบาทหน้าที่
- การกาหนดนโยบายสุขบัญญัติเป็นนโยบายของสถานศึกษา เป็นปัจจัยเอื้อสาคัญ
ในการ จัดกิจกรรมต่างๆ ที่จะสร้างเสริมให้นักเรียนมีการเรียนรู้ และมีการปฏิบัติตัวตามสุขบัญญัติ
๒. ศึกษา วิเคราะห์ข้อมูล บริบทของโรงเรียน สถานการณ์ที่เกี่ยวข้องกับสุขภาพ
และความเสี่ยงต่อปัญหาสุขภาพของนักเรียน โดยการ
- สารวจข้อมูลความรู้ ความรอบรู้ด้านสุขภาพ(Health Literacy) และพฤติกรรม
สุขภาพตามสุขบัญญัติแห่งชาติของนักเรียน เช่น การใช้แบบสอบถาม การสังเกต
- สารวจ สภาพแวดล้อม และปัจจัยที่เกี่ยวข้อง เพื่อการจัดสิ่งแวดล้อมในโรงเรียน
ที่เอื้อต่อสุขภาพ
- การเฝ้าระวังพฤติกรรมสุขภาพนักเรียนเพื่อให้ทราบสภาวะสุขภาพของนักเรียน
ในการแก้ไขปัญหาสุขภาพ
๓. วางแผนและออกแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ด้านสุข ภาพ รวมทั้งการจัดหา
ทรัพยากรและสิ่งสนับสนุนสาหรับการดาเนินงาน
๔. จัดกิจกรรมการเรียนรู้ด้านสุขภาพตามสุขบัญญัติแห่งชาติตามแผนอย่าง
สม่าเสมอ โดยการจัดกิจกรรมและใช้สื่อการเรียนรู้ที่หลากหลาย เพื่อพัฒนาความรอบรู้ด้านสุขภาพ
(Health Literacy) และมีพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้อง
ความรอบรู้ด้านสุขภาพ (Health Literacy) หมายถึง ความสามารถและทักษะ
ในการเข้าถึงข้อมูล ความรู้ ความเข้าใจ เพื่อวิเคราะห์ ประเมินการปฏิบัติและจัดการตนเอง รวมทั้ง
สามารถชี้แนะเรื่องสุขภาพส่วนบุคคล ครอบครัวและชุมชน เพื่อสุขภาพที่ดี
ความรอบรู้ด้านสุขภาพ ซึ่งมี ๖ องค์ประกอบ ได้แก่
๑. า เข้าถึงข้อ ูลสุขภาพและบ า สุขภาพ
๒. ความรู้ ความเข้าใจเ ี่ยว ับสุขบัญญัตแห่งชาต
๓. ทั ษะ า สื่อสา
๔. ทักษะการตัดสินใจ
๕. า ัด า ตนเอง
๖. า ู้เท่าทันสื่อ
๕. จัดสภาพแวดล้อมของโรงเรียน ทั้งภายในและบริเวณรอบโรงเรียนให้เอื้อต่อ การ
เรียนรู้เรื่องการดูแลสุขภาพและการปฏิบัติตามวัยของนักเรียน
๖. ประเมินผลและปรับปรุงการดาเนินงาน
โดยการประเมินความรอบรู้ด้านสุขภาพ (Health Literacy) และพฤติกรรมสุขภาพ
ตามแนวทางสุขบัญญัติแห่งชาติ ตามแบบประเมินฯ

๗. ขยายสู่ครอบครัวและชุมชน การเผยแพร่สุขบัญญัติไปสู่ผู้ปกครองและชุมชนให้มี
ความเข้าใจและเห็นความสาคัญในการดูแลสุขภาพ โดยมีกิจกรรมต่างๆ เช่น

22
- ประชุมชี้แจงผู้ปกครองตามโอกาสที่เหมาะสม
- เผยแพร่ข้อมูลข่าวสารจากโรงเรียนไปสู่บ้าน
- จั ด ท าหนั ง สื อ หรื อ เอกสารเผยแพร่ เพื่ อ ขอความร่ ว มมื อ ไปยั ง ผู้ ป กครอง
ในการสนับสนุนการปฏิบัติตามสุขบัญญัติแห่งชาติ
- จั ดให้ ค รู / อาจารย์กั บผู้ ปกครอง ได้มีโ อกาสพบปะซึ่งกันและกันตามโอกาส
อานวย
- มีหนังสือชมเชยผู้ปกครองที่ให้ความร่วมมือ

กลุ่มเป้าหมาย/
โครงการ/กิจกรรม ระยะเวลา สิ่งสนับสนุน
พื้นที่เป้าหมาย
1. ดาเนินงานจัดกิจกรรมสร้างเสริม นักเรียนทุกคนใน ต.ค.25๕๘–ก.ย. - แนวทางการดาเนินงาน
ความรอบรูด้ ้านสุขภาพและ โรงเรียนฯ เป้าหมาย 25๕๙ สร้างเสริมสุขบัญญัติ
พฤติกรรมสุขภาพตามแนวทาง แห่งชาติในสถานศึกษา
การดาเนินงานสร้างเสริม - เอกสาร/สื่อต้นแบบ
พฤติกรรมสุขภาพตามสุขบัญญัติ - เครื่องมือการเฝ้าระวังฯ
แห่งชาติในสถานศึกษา - เครื่องมือการประเมินฯ

23

You might also like