You are on page 1of 13

อีบกุ๊ เล่มนี้ เหมาะกับคุณหรือไม่?

เนื่องจากการขายของออนไลน์ มหี ลายรูปแบบครับ ผมจึงตัง้ ใจทาอีบุ๊กเล่มนี้ขน้ึ มาเพื่อสอนเฉพาะกลุ่มคนที่


ทาธุรกิจในรูปแบบ “บุคคลธรรมดา” ทีม่ กี ารขายสินค้าและบริการ “อยู่ในประเทศไทย” เป็ นหลัก เพื่อให้
เนื้อหาสัน้ กระชับและเข้าใจง่ายทีส่ ุดครับ

ถ้าหากคุณไม่ใช่คนทีท่ าธุรกิจในกลุ่มนี้ อย่าเพิง่ เสียใจไปครับ คุณสามารถติดตามบทความของผมผ่านแฟน


เพจ พรี่หนอมสอนภาษี ธรุ กิ จ ได้อยูค่ รับ หรือถ้าหากต้องการความรู้ภาษีธุรกิจแบบไหน สามารถโพสถาม
และพูดคุยเพิม่ เติมได้ทก่ี รุ๊ป ภาษี ธรุ กิ จสาหรับเจ้าของกิ จการ ครับ

สาหรับจุดประสงค์ทท่ี าอีบุ๊กฉบับนี้ขน้ึ มา ผมบอกแบบไม่สร้างภาพเลยครับว่า ส่วนหนึ่งมุง่ หวังให้คนมี


ความรู้ อีกส่วนหนึ่งผมได้คนติดตามเพิม่ ขึน้ ทีจ่ ะช่วยส่งต่อ แชร์ หรือมีส่วนร่วมกับทางเพจทีผ่ มเปิ ดมากขึน้
ดังนัน้ ถ้าไม่เป็ นการรบกวนเกินไป จะ Review ให้คะแนนเพจ ติดดาว หรือช่วยแชร์บทความทีเ่ ห็นว่าดีและ
น่าสนใจ เพียงแค่น้กี ถ็ อื ว่าเราได้ช่วยเหลือกันและกันแล้วครับ

ขอให้ทุกคนมีความสุขกับการเสียภาษี อย่างถูกต้องครับ
พรี่หนอม (พรี่หนอมสอนภาษี ธรุ กิ จ)
25 เมษายน 2561
ก่อนจะเข้าใจวิธีคานวณภาษี
ขอให้ทาความเข้าใจตัวเองเสียก่อน

เริม่ แรกเลย ผมต้องบอกว่าสิง่ สาคัญทีส่ ุดสาหรับเรือ่ งภาษีขายของออนไลน์ นนั ้ ไม่ใช่เรือ่ งของภาษี แต่มนั คือ
บัญชีรายรับรายจ่าย ครับ

คาถาม คือ ทาไมถึงสาคัญ? ผมมีเหตุผลให้สองข้อครับ


1. ถ้าคุณทาธุรกิ จแล้วไม่ร้วู ่ามีกาไรเท่ าไร คุณไม่ควรทาธุรกิ จ
2. ถ้าคุณถูกสรรพากรเรียกตรวจ = คุณพิ สจู น์ หลักฐานไม่ได้

แค่เหตุผลสองข้อนี้กม็ ปี ั ญหาแล้วครับ ทัง้ เรือ่ งจัดการตัวเองและภาษี ดังนัน้ สิง่ ที่อยากแนะนาคือ ต้องทา


เท่านัน้ ถ้าไม่ทา ต่อให้เรียนเรือ่ งภาษีไปก็ไม่มปี ระโยชน์อะไรเหมือนเดิมครับ เพราะเราไม่รรู้ ายได้จริงๆ
ค่าใช้จ่ายจริงๆ และจะไปวางแผนภาษีอะไรได้ล่ะครับ

ดังนัน้ อย่าเพิง่ คิดเรือ่ งภาษี ถ้ายังไม่รวู้ ่ามีกาไรเท่าไร

คาถามต่ อมา คือ บัญชีรายรับรายจ่ายควรใช้โปรแกรมอะไร บันทึกแบบไหน?


1. โปรแกรมอะไรก็ได้ทส่ี ามารถแปลงไฟล์ออกมาเป็ น Excel หรือพิมพ์หลักฐานออกมาได้ให้ชดั
2. บันทึกแบบไหน บันทึกรายได้ค่าใช้จ่ายเป็ นประจาทุกวัน เหมือนทีเ่ ราบันทึกบัญชีรายรับรายจ่ายส่วนตัว
วันนี้ซอ้ื อะไรมาเท่าไร วันนี้ขายไปเท่าไรบ้าง

สาหรับตัวอย่างบัญชีรายรับรายจ่าย ทางสรรพากรก็เคยทาตัวอย่างให้ครับ ทัง้ หมดอยูใ่ นลิงค์น้คี รับ


http://www.rd.go.th/publish/38624.0.html

ถามต่อไปอีกว่า แล้วถ้าทาบัญชีรายรับรายจ่าย ต้องเก็บหลักฐานไหม?


คาตอบ คือ ต้องและควรเก็บครับ เพื่อประโยชน์ของเราตัง้ แต่เรือ่ งของการทาบัญชี มีหลักฐาน และเราจะได้
เข้าใจมากขึน้ สาหรับข้อมูลการเงินของธุรกิจเราครับ
และทีส่ าคัญทีส่ ุดสาหรับการทาบัญชีรายรับรายจ่าย คือ การแยกบัญชีธรุ กิ จออกมาจากบัญชีส่วนตัว
เพราะเราต้องแยกให้ชดั ว่าอะไรคือรายได้และรายจ่ายของธุรกิจครับ ถ้าแยกไม่ได้มปี ั ญหาแน่ นอนครับ
เพราะสรรพากรอาจจะประเมินเงินทีเ่ ข้าในบัญชีเราเป็ นรายได้ทงั ้ หมดได้ครับ และยิง่ ถ้าไม่ทาบัญชีและไม่ม ี
หลักฐานด้วยแล้ว เราจะพิสูจน์ตวั เองได้ยงั ไง จริงไหมครับ?

ทีน้เี มือ่ ตัดสินใจจะทาบัญชีรายรับรายจ่ายแล้ว สิง่ ทีเ่ ราต้องรูแ้ ละแยกออกมาให้เข้าใจ คือ อะไรคือ รายรับ
และ อะไรคือ รายจ่าย บ้างสาหรับการทาธุรกิจของเราครับ

รายรับนัน้ ไม่ใช่เรือ่ งยากครับ ขายอะไรให้บริการอะไรแล้วได้เงินมา อันนัน้ แหละคือรายรับของเรา แต่


สาหรับรายจ่ายนัน้ ให้ลองคิดก่อนว่า มีอะไรบ้างทีเ่ กีย่ วข้องกับการขายสินค้าหรือให้บริการของเราแบบ
ตรงๆเน้นๆ

ตัวอย่างเช่น พรีห่ นอมทาธุรกิจขายครีมหน้าเด้ง รายจ่ายทีเ่ กีย่ วข้องกับครีมทีข่ ายได้นนั ้ มี ค่าครีม ค่า


แพคเกจ ค่าขนส่งให้ลกู ค้า ค่าธรรมเนียมธนาคาร ค่าของแถม ฯลฯ (เป็ นสิง่ ทีเ่ กีย่ วข้องตรงๆ) แต่ค่ากินเทีย่ ว
ของพรีห่ นอมนัน้ ไม่เกีย่ วข้องเลยแม้แต่น้อย (เป็ นรายจ่ายส่วนตัว)

รายจ่ายที่เกี่ยวข้องนี้ จะทาให้ เราตัง้ คาถามกับตัวเองสองอย่างครับ


1. รู้ว่าเรามีต้นทุนอะไรบ้างที่เกี่ยวกับธุรกิ จ
2. เราหาหลักฐานค่าใช้จ่ายได้ไหม?

เหตุผลของข้อแรก รูเ้ พราะว่ามันจะเกีย่ วกับการคานวณกาไรของธุรกิจเรา ส่วนเหตุผลของข้อทีส่ อง มันจะ


ทาให้เราคานวณภาษีธุรกิจได้งา่ ยขึน้

หลายคนเริม่ สงสัย อะไรยังไง? พักคิดนิดนึง แล้วลองมาดูกนั ต่อครับ... เริม่ ทีข่ อ้ แรกก่อน


ถ้าไม่มหี ลักฐานค่าใช้จา่ ยแต่เราทาบัญชีรายรับรายจ่ายไว้ คาถามทีผ่ มอยากถามคือ แล้ว กาไรธุรกิจยังเท่า
เดิมไหม? ตอบได้ทนั ทีว่าก็ตอ้ งเท่าเดิมสิ!!! เพราะว่ามันจ่ายไปแล้วและบันทึกบัญชีไว้แล้ว แม้ว่าจะหา
หลักฐานไม่ได้กต็ าม
แยกประเด็นให้ดนี ะครับ บัญชีรายรับรายจ่าย คือ การจดบันทึกรายรับรายจ่าย คุณต้องจดไว้ ถ้าหากว่าคุณ
อยากรูว้ ่าธุรกิจมีกาไรเท่าไร แม้ว่าจะไม่มหี ลักฐานก็ตาม

ทีน้มี าต่อเรือ่ งของเอกสารหลักฐาน ทาไมต้องเก็บ และเก็บไปเพื่ออะไร? ผมขอบอกว่าสาหรับกรณีขายของ


ออนไลน์ในอีบุ๊กเล่มนี้ เราต้องเก็บหลักฐานไว้เพื่อใช้คานวณภาษี ถ้าหากธุรกิจของเรานัน้ ...
1. ขายของแบบซื้อมาขายไป แล้วมีตน้ ทุน "จริง" ทีม่ เี อกสารหลักฐานเกินกว่า 60% ของยอดขาย
2. ไม่ได้ทาธุรกิ จขายของแบบซื้อมาขายไป คุณจาเป็ นต้องเก็บ "หลักฐาน" ในทุกกรณี เพราะว่ามัน
จะต้องถูกใช้ในการคานวณภาษีของคุณ ซึง่ ถ้าหากไม่มหี ลักฐาน คุณจะไม่สามารถใช้เป็ นค่าใช้จ่ายในการ
คานวณภาษีได้

ทัง้ หมดนี้เป็ นเพราะกฎหมายกาหนดไว้ว่า ถ้าคุณจะหักค่าใช้จ่ายจริงในการคานวณภาษี คุณ ต้องพิสจู น์ได้ว่า


มันเป็ นรายจ่ายทีเ่ กี่ยวกับธุรกิจจริง ซึง่ หนึ่งในนัน้ คือการมีเอกสารหลักฐานทีถ่ ูกต้อง

ส่วนคนทีท่ าธุรกิจแบบซือ้ มาขายไปนัน้ กฎหมายให้ช่องทางการหักค่าใช้จ่ายในการคานวณภาษีไว้ 2


ทางเลือกคือ หักเหมาได้เลยทันที 60% (โดยไม่ตอ้ งใช้หลักฐาน) กับ หรือหักตามค่าใช้จา่ ยจริงเพราะมี
ต้นทุนสูงกว่า 60% ก็จะต้องพิสจู น์เช่นเดียวกันด้วยหลักฐานตามทีบ่ อกมานี่แหละครับ

ยกตัวอย่าง ถ้าพรีห่ นอมทาธุรกิจขายครีมแบบซือ้ มาขายไป มียอดขาย 1,000,000 บาท ต้นทุนของผม ค่า


ครีม ค่าแพ็คเกจ ค่าขนส่ง รวมแล้วประมาณ 800,000 บาท เกิน 60% ของยอดขาย สิง่ ทีผ่ มต้องทาคือ เก็บ
หลักฐานทีบ่ อกว่ามีตน้ ทุน 800,000 บาทให้ครบถ้วน เพื่อทีจ่ ะได้ใช้คานวณภาษีได้อย่างถูกต้องครับ

แต่ถา้ หากผมผลิตครีมเองเลย กวนกันหลังบ้านสดๆ สิง่ ทีผ่ มต้องทาคือเก็บเอกสารหลักฐานทุกอย่างไว้


เพราะมันหักค่าใช้จา่ ยได้แบบเดียวตามทีก่ ฎหมายกาหนด เพราะผมไม่สามารถทีจ่ ะเลือกหักค่าใช้จา่ ยแบบ
เหมา 60% ได้เหมือนกรณีซอ้ื มาขายไป

ดังนัน้ สิง่ ทีเ่ ราต้องเช็คให้ชวั ร์คอื ค่าใช้จา่ ยธุรกิจมีหลักฐานมากแค่ไหน และ ต้นทุนจริงของธุรกิจนัน้ มีก่ี %
เพื่อให้เราตอบคาถามพวกนี้ได้ชดั เจน และวางแผนประหยัดภาษีได้สงู สุด

เห็นไหมครับว่า ยังไงเราก็หนี ไม่พ้นเรื่อง บัญชี รายรับรายจ่าย และ เอกสารหลักฐาน อยู่ดี!!


สรุปอีกที ก่อนคานวณภาษี ต้องรู้อะไรบ้าง?

1. เริ่ มต้ นจากการทาบัญชี รายรับรายจ่าย


2. แยกบัญชีระหว่างธุรกิ จกับส่วนตัว
3. เช็คว่าหลักฐานค่าใช้จ่ายจริ งที่เรามีคืออะไร?

อย่าลืมนะครับว่า หลักฐานค่าใช้จ่ายจริ ง จาเป็ นสาหรับคนทีท่ าธุรกิจซือ้ มาขายไปทีม่ ตี น้ ทุนเกินกว่า 60%


และคนทีท่ าธุรกิจอื่นๆทีไ่ ม่ใช่รปู แบบซือ้ มาขายไป

มาถึงตรงนี้.... หลายคนมีคาถามตามมาทันทีว่า จะทายังไงดีถ้าไม่มีหลักฐานค่าใช้จ่ายจริ ง ผมมองว่าถ้า


หากอ้างอิงตามแนวทางกรมสรรพากร (อ่านเพิม่ เติมได้ท่ี คู่มอื การจัดทาเอกสารประกอบการลงบัญชีท่ี
สามารถเป็ นรายจ่ายทางภาษีได้) เราต้องมีหลักฐานอะไรสักอย่างทีท่ าให้แน่ ใจและเชื่อถือได้ว่าจ่ายไปจริง
จะเป็ นใบรับจากคนได้รบั เงิน เอกสารยืนยันว่ารับเงิน หรือรายละเอียดการเบิกค่าใช้จา่ ยแบบละเอียด
เอกสารต่างๆเหล่านี้ล่ะครับ คือ สิง่ ทีจ่ ะช่วยให้เราสามารถหักค่าใช้จ่ายจริงได้ง่ายขึน้ ครับ

ถ้าหากเริม่ ต้นถูกต้องและจัดการครบทุกอย่างตามทีว่ ่ามาใน 5 หน้าแรกนี้ ต่อไปก็ถงึ ทีเ่ ราจะเริม่ ต้นวางแผน


ภาษีและคานวณภาษีกนั แล้วล่ะครับ

ออกตัวก่อนนะครับว่า แนวทางการสอนของผม เน้นทีถ่ ูกต้องตามกฎหมายและไม่มปี ั ญหากับทาง


กรมสรรพากร ดังนัน้ เทคนิคทีใครบอกว่าดี บอกว่าใช้ได้ แต่ผดิ กฎหมาย ขอไม่นามาแนะนานะครับ
เพราะว่าการทีค่ นอื่นรอดนัน้ ไม่ได้แปลว่าเราจะรอด และการไม่ถูกตรวจสอบก็ไม่ได้แปลว่าไม่ได้ทาผิดครับ

ถ้าพร้อมแล้วเรามาเริ่ มกันเลยครับ...
ภาษี เงินได้บุคคลธรรมดากับการขายของออนไลน์

สาหรับคนทีข่ ายของออนไลน์ วิธคี านวณภาษีเงินได้บุคคลธรรมดานัน้ จะมี 2 วิธคี รับ เรียกว่าเงินได้สุทธิกบั


เงินได้พงึ ประเมิน ตามนี้ครับ

1. เงิ นได้สทุ ธิ x อัตราภาษี โดยคาว่า เงินได้สุทธิ = รายได้ - ค่าใช้จา่ ย – ค่าลดหย่อน และอัตราภาษี


จะเป็ นแบบก้าวหน้า (5-35%) นันคื ่ อ ยิง่ มีรายได้มาก ยิง่ เสียภาษีมากนัน่ เองครับ

2. เงิ นได้พึงประเมิ น x 0.5%


คาว่า เงินได้พงึ ประเมิน = เงินได้ทงั ้ ก้อนก่อนหักค่าใช้จ่าย สาหรับวิธนี ้จี ะเอารายได้มาคูณตรงๆเลย โดย
จะใช้วธิ นี ้คี านวณภาษีเมือ่ มีรายได้ทไ่ี ม่ใช่เงินเดือน (เงินได้ประเภทที่ 1 หรือ มาตรา 40(1)) เกิน 1 ล้าน
บาทเท่านัน้

ยา้ อีกทีว่า วิ ธีที่ 2 จะใช้คานวณเมื่อเรามีรายได้จากการขายของออนไลน์ เกิ น 1 ล้านบาทครับ

โดยรายได้ทไ่ี ด้รบั จากการขายของออนไลน์นนั ้ ถือเป็ นรายได้จากการทาธุรกิจ หรือ พาณิชยกรรม หรือพูด


สัน้ ๆว่าถือเป็ นรายได้ประเภทที่ 8 ตามกฎหมายก็ได้ครับ

ส่วน ค่าใช้จ่าย ถ้าใครยังพอจาได้ ผมบอกไว้ว่าถ้าเราทาธุรกิ จขายของออนไลน์ ในรูปแบบซื้อมาขายไป


สามารถเลือกหักค่าใช้จา่ ยได้ 2 แบบ คือ เหมา 60% หรือ หักค่าใช้จ่ายตามจริง แต่ถา้ หากไม่ใช่การซือ้ มา
ขายไป จะสามารถหักค่าใช้จา่ ยตามจริงได้วธิ เี ดียว โดยการหักค่าใช้จ่ายตามจริง สิง่ ทีต่ อ้ งมีคอื หลักฐาน
เอกสารต่างๆทีพ่ สิ ูจน์ได้ตามยอดค่าใช้จ่ายทีเ่ อามาหักตามกฎหมาย
หลักฐานทีว่ ่านี้ไม่ตอ้ งส่งสรรพากรนะครับ เราส่งแค่ยอดสรุปไปก็พอ แต่ถา้ สรรพากรขอดูตอ้ งมีให้เขาดูนะ
ครับผม ยกตัวอย่างเช่น ธุรกิจเรามีค่าใช้จ่ายจริง 1,000,000 บาทและกรอกยื่นภาษีไปเต็มจานวน แต่ม ี
หลักฐานจริงแค่ 500,000 บาท หากถูกตรวจสอบขึน้ มาแล้วเราจะหักค่าใช้จา่ ยจริงได้แค่ 500,000 บาท และ
ถ้าเลือกวิธหี กั ค่าใช้จา่ ยจริงและยืน่ ภาษีไปแล้ว จะมาเปลีย่ นวิธกี ารหักค่าใช้จ่ายเป็ นแบบเหมาไม่ได้นะครับ

เน้นอีกทีนะครับว่า ถ้าเราทาขายของออนไลน์ แบบที่ ไม่ใช่ซื้อมาขายไป เราจะเลือกได้วิธีเดียวคือหัก


ค่าใช้จ่ายตามจริ ง ดังนัน้ สิ่ งที่ต้องโฟกัสมากๆ คือ การเก็บเอกสารหลักฐานให้ได้มากที่สดุ
ถามว่าเอกสารหลักฐานแค่ไหนถึงจะพอ ต้องบอกตรงๆว่า ดุลยพินิจของเจ้าหน้าทีห่ รือคนตรวจสอบแต่ละ
คนไม่เหมือนกัน และอย่างทีบ่ อกไปแล้วว่าเราจะรูต้ ่อเมือ่ โดนตรวจสอบเท่านัน้ ครับ เพราะตอนยืน่ ภาษีไม่
ต้องส่งอะไรเลย แค่กรอกยอดก็พอ ถ้าเกิดเจ้าหน้าทีเ่ รียกตรวจสอบค่อยส่งให้ ดังนัน้ สิง่ ทีผ่ มแนะนา คือ ทา
ตามคู่มอื สรรพากรทีอ่ ธิบายไปก่อนหน้านี้ หรือไม่กต็ อ้ งพยายามหาหลักฐานให้มากทีส่ ุดเพื่อป้ องกันปั ญหาที่
จะเกิดขึน้ ครับ
แต่สาหรับคนทีข่ ายของออนไลน์แบบ "ซือ้ มาขายไป" เราสามารถเลือกได้ว่าจะหักค่าใช้จ่ายแบบไหน ซึง่
ประเด็นทีต่ อ้ งสนใจไม่ใช่แค่เรือ่ งค่าใช้จ่ายว่าแบบไหนสูงกว่า แต่เราควรสนใจเรือ่ ง "ต้นทุนเวลา" ต่างหาก
ครับ

ต้นทุนในการจัดการเอกสาร มันคุม้ ค่ากว่ากันไหม? เราต้องคิดต้นทุนเรือ่ งนี้ให้ดี เปรียบเทียบกับโอกาสทีม่ ี


ให้เลือกใช้ค่าใช้จา่ ยฟรีๆ ในอัตรา 60% ของรายได้

สมมติว่า ต้นทุนจริงของธุรกิจเราคือ 75% แต่เราต้องเสียเวลาจ้างคนมาเก็บเอกสาร จัดการต่างๆ หรือแม้แต่


จ้างคนมาทาบัญชี เพื่อให้ได้ส่วนต่างค่าใช้จา่ ย 15% นัน้ เพิม่ ขึน้ มามากมาย แทนทีจ่ ะได้เวลาไปหารายได้
เพิม่ ขึน้ แทน สิง่ ทีต่ อ้ งคิดคือต้นทุนพวกนี้ทเ่ี สียไปมันคุม้ หรือไม่กบั การใช้เวลาทีม่ คี ่าของเรา

อย่างทีบ่ อกนะครับว่า ผมไม่ใช่คนสอนเรือ่ งภาษีทใ่ี ห้ความใส่ใจเรือ่ งภาษีอย่างเดียว แต่ผมให้มองถึงการใช้


ชีวติ จริงเรือ่ งการประหยัดค่าใช้จ่ายในองค์รวม ไม่ใช่เอะอะอะไรก็ประหยัดภาษี ซึง่ บางทีเราอาจจะต้องเสีย
อย่างอื่นทีม่ ากกว่าและไม่คุม้ ค่ากัน ดังนัน้ คิดให้ดๆี ก่อนตัดสินใจนะครับ...

ส่วนตัวสุดท้ายคือ ค่าลดหย่อน เป็ นอีกตัวทีจ่ ะช่วยให้เราลดจานวนเงินได้สุทธิลงได้ และทาให้เราเสียภาษี


น้อยลงนันเองครั
่ บ ดังนัน้ ถ้าเรามีค่าลดหย่อนเยอะ หรือมีจานวนทีส่ งู เราจะสามารถลดหย่อนภาษีได้เพิม่ ขึน้
ตามไปด้วย ซึง่ รายการค่าลดหย่อนทัง้ หมดนัน้ ผมแนะนาให้อ่านในบทความ สรุปครบ! รายการลดหย่อน
ภาษีปี 2561 พร้อมเทคนิคทีท่ าให้คุณเสียภาษีน้อยทีส่ ุด!! ซึง่ ในนัน้ จะมีเทคนิคการวางแผนลดหย่อนภาษีท่ี
ผมแชร์ไว้นอกเหนือจากอีบุ๊กเล่มนี้ดว้ ยครับ

ทีน้ลี องมาดูตวั อย่างเพื่อเพิม่ ความเข้าใจกันดีกว่าครับ... สมมติว่า นายบักหนอมเปิ ดร้านขายเสือ้ ผ้าออนไลน์


สาหรับท่านชายโดยเฉพาะ (เอ๊ะ!! ยังไง) โดยมีรายได้ตลอดทัง้ ปี 5,000,000 บาท และตัวนายบักหนอมเอง
นัน้ ยังโสดสนิทศิษย์ส่ายหน้าอยู่
ดังนัน้ วิธคี านวณภาษีจากเงินได้สุทธิตามวิธที ่ี 1 คือ = (รายได้ - ค่าใช้จา่ ย - ค่าลดหย่อน) x อัตราภาษี

1) รายได้จากการขาย 5,000,000 บาท


2) ค่าใช้จ่าย 60% x 5,000,000 บาท = 3,000,000 บาท
3) ค่าลดหย่อนส่วนตัว 60,000 บาท
4) เงิ นได้สทุ ธิ จาก 1-2-3 = 1,940,000 บาท
5) ภาษี ที่คานวณได้ (ตามอัตราภาษี ก้าวหน้ า) คือ 350,000 บาท

เมื่อเปรียบเทียบกับวิ ธีคานวณภาษี จากเงิ นได้พึงประเมิ น x 0.5% = 5,000,000 x 0.5% = 25,000 บาท

สรุปว่า...
นายบักหนอมจะต้องเสียภาษีจานวน 350,000 บาทตามวิธที ่ี 1 เพราะคานวณได้มากกว่านัน่ เองครับ

สาหรับ คนที่ขี้เกียจคานวณภาษี เองควรทายังไงดี? ผมแนะนาเพิม่ เติมในบทความนี้ครับ คานวณภาษี


ขายของออนไลน์ดว้ ยตัวเอง โดยเราสามารถโหลด App ดีๆอย่าง ITAX มาช่วยในการคานวณได้ครับ
ภาษี มูลค่าเพิ่มกับการขายของออนไลน์

นอกจากเรือ่ งภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาแล้ว ยังมีอกี เรือ่ งสาหรับคนขายของออนไลน์ทต่ี อ้ งรูค้ รับ นัน่ คือ เรือ่ ง
ภาษีมลู ค่าเพิม่ โดยหลักการคือ ถ้าเรามีรายได้เกิน 1.8 ล้านบาทต่อปี เมือ่ ไร เราต้องจดทะเบียน
ภาษีมลู ค่าเพิม่ ทันทีครับ (ภายใน 30 วัน)

อ่านชัดๆนะครับว่า....
รายได้ = รายได้ ไม่ใช่กาไร
รายได้ = รายได้ ไม่ต้องหักค่าใช้จ่าย
รายได้ = รายได้ เงิ นที่ได้มานัน่ แหละ

โอกาสทีค่ ุณจะไม่ตอ้ งจดทะเบียนภาษีมลู ค่าเพิม่ มีอยู่ 2 แบบ คือ


1. คุณขายของหรือให้บริการอยูท่ ต่ี ่างประเทศ ซือ้ และขายในต่างประเทศ
2. คุณประกอบธุรกิจทีย่ กเว้นภาษีมลู ค่าเพิม่ (ตามลิงค์น้ี : http://www.rd.go.th/publish/7052.0.html)

สาหรับคนทีส่ นใจว่าภาษีมลู ค่าเพิม่ คืออะไร และเราต้องทาแบบไหนยังไงบ้าง ผมแนะนาให้อ่านได้บทความ


ความรูภ้ าษีมลู ค่าเพิม่ สาหรับคนทาธุรกิจ เพื่อความเข้าใจทีม่ ากขึน้ ครับ
บทสรุป

เนื้อหาทัง้ หมดนี้เป็ นเพียงส่วนหนึ่งของการวางแผนและการจัดการภาษีสาหรับคนขายของออนไลน์ใน


รูปแบบบุคคลธรรมดาทีย่ อ่ และสรุปมาแบบสัน้ ๆง่ายๆ เพื่อทีจ่ ะให้เห็นภาพและความเข้าใจในการคานวณ
ภาษีและเสียภาษีอย่างถูกต้องครับ

ยังมีเรือ่ งราวอีกมากมายทีผ่ มไม่ได้เล่าให้ฟัง ซึง่ ทัง้ หมดจะค่อยๆเขียนและอธิบายเพิม่ เติมในเพจ พรีห่ นอม


สอนภาษีธุรกิจ เพื่อให้ทุกคนได้เข้าใจเรือ่ งราวของภาษีธุรกิจในแง่มุมต่างๆมากยิง่ ขึน้ ครับ

สิง่ ทีผ่ มอยากจะย้าอีกครัง้ และคิดว่าสาคัญทีส่ ุดคือ คุณต้องรูก้ าไรของธุรกิจจริงๆเสียก่อน ก่อนทีจ่ ะวางแผน


และจัดการภาษี เพื่อให้คุณมองภาพออกว่าจริงๆแล้วคุณต้องจัดการธุรกิจอย่างไรเพื่อให้ได้กาไรสูงสุด และ
ภาษีเป็ นรายจ่ายตัวหนึ่งในการจัดการธุรกิจของคุณเท่านัน้ อย่ามองมันเป็ นภาระจนทาให้คุณต้องเพิม่
ค่าใช้จ่ายต่างๆทีไ่ ม่จาเป็ น และสิง่ ทีท่ าให้คุณเห็นเรือ่ งนี้ชดั เจนทีส่ ุดคือ บัญชีรายรับรายจ่าย นัน่ เองครับ

ผมหวังว่าเมือ่ อ่านมาถึงบรรทัดนี้ ทุกคนจะสามารถเริม่ ต้นวางแผนภาษีสาหรับธุรกิจขายของออนไลน์ของ


ตัวเองได้อย่างถูกต้อง หรือเป็ นจุดเริม่ ต้นทีด่ ที จ่ี ะทาให้สามารถต่อยอดต่อไปในด้านอื่นๆได้ในอนาคตครับ

You might also like