You are on page 1of 85

ใบงานวิชาคณิตศาสตร์

ป.5 เทอม 1

ชื่อ- สกุล .......................................................ชื่อเล่น............


ชั้น................. เลขที่ ................
โรงเรียน..................................................................................
เพจ : ใบงานคณิต Math is Fun
วิชาคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ห น้ า | ก

คำนำ

ใบงานวิชาคณิตศาสตร์ ป.5 เทอม 1 เล่มนี้ จัดทาขึ้นโดยมีเป้าหมายให้นักเรียนได้เข้าใจและเรียนรู้


วิธีคิดหาคาตอบของปัญหาทางคณิตศาสตร์ด้วยวิธีการที่หลากหลาย เน้นการฝึกคิดไปทีละขั้น เริ่มต้นโจทย์โดย
ใช้จานวน(ตัวเลข)ที่ง่ายต่อการคานวณเพื่อให้นักเรียนสนใจที่วิธีการหาคาตอบมากกว่าคาตอบเพียงอย่างเดียว
จากนั้นเมื่อนักเรียนเข้าใจวิธีการคิดแล้วจึงใช้โจทย์ที่คานวณได้ยากขึ้น
ด้วยเนื้อหาที่ครบถ้วนตามตัวชี้วัดในหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
(ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) ใบงานเล่มนี้จึง เหมาะสาหรับคุณครูในการนาไปใช้เป็นสื่อประกอบการเรียนรู้
เหมาะสาหรับผู้ปกครองใช้สอนเสริมเด็กๆ ให้เข้าใจด้วยภาษาที่กระชับและเข้าใจง่าย และ เหมาะสาหรับ
นักเรียนใช้ในการฝึกทักษะเพิ่มเติม นอกจากนี้ในใบงานยังมีภาพประกอบที่ สีสันสดใสเพื่อเร้าความสนใจ และ
ภาพโปร่งใสเพื่อให้เด็กวาดภาพระบายสีเพิ่มความคิดสร้างสรรค์ได้อีกด้วย
ใบงำนคณิต Math is Fun
ห น้ า | ข วิชาคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5

สำรบัญ
หน้ำ

คานา ................................................................................................................................... ก
สารบัญ ................................................................................................................................ ข
บทที่ 1 เศษส่วน .................................................................................................................. 1
ใบงานที่ 1.1 การเปรียบเทียบเศษส่วนและจานวนคละ................................................ 12
ใบงานที่ 1.2 การเรียงลาดับเศษส่วนและจานวนคละ .................................................. 13
ใบงานที่ 1.3 การบวก การลบเศษส่วน ......................................................................... 14
ใบงานที่ 1.4 การบวก การลบจานวนคละ .................................................................... 15
ใบงานที่ 1.5 การคูณจานวนนับกับเศษส่วน ................................................................. 16
ใบงานที่ 1.6 การคูณเศษส่วนกับเศษส่วน .................................................................... 17
ใบงานที่ 1.7 การคูณจานวนคละ.................................................................................. 18
ใบงานที่ 1.8 การหารเศษส่วน (1) ................................................................................ 19
ใบงานที่ 1.9 การหารเศษส่วน (2) ................................................................................ 20
ใบงานที่ 1.10 การหารจานวนคละ............................................................................... 21
ใบงานที่ 1.11 โจทย์ปญ ั หา (1) ..................................................................................... 22
ใบงานที่ 1.12 โจทย์ปญ ั หา (2) ..................................................................................... 23
ใบงานที่ 1.13 การบวก ลบ คูณ หารระคน ................................................................... 24
ใบงานที่ 1.14 โจทย์ปญ ั หาการบวก ลบ คูณ หารระคน (1) .......................................... 25
ใบงานที่ 1.15 โจทย์ปญ ั หาการบวก ลบ คูณ หารระคน (2) .......................................... 26
แบบทดสอบบทที่ 1...................................................................................................... 27
เฉลยบทที่ 1 ................................................................................................................. 29
บทที่ 2 ทศนิยม ................................................................................................................... 39
ใบงานที่ 2.1 การเขียนเศษส่วนในรูปทศนิยม ............................................................... 48
ใบงานที่ 2.2 การหาค่าประมาณ .................................................................................. 49
ใบงานที่ 2.3 การคูณทศนิยมกับจานวนนับ .................................................................. 50
ใบงานที่ 2.4 การคูณทศนิยมกับทศนิยม ...................................................................... 51
ใบงานที่ 2.5 การหารทศนิยม ....................................................................................... 52
ใบงานที่ 2.6 การคูณ การหารทศนิยมด้วย 10 100 และ 1,000................................... 53
ใบงานที่ 2.7 ทศนิยมกับการวัด .................................................................................... 54
ใบงานที่ 2.8 โจทย์ปัญหา 1 ขั้นตอน ............................................................................ 55
ใบงานที่ 2.9 โจทย์ปัญหา 2 ขั้นตอน (1)....................................................................... 56
ใบงานที่ 2.10 โจทย์ปัญหา 2 ขั้นตอน (2) .................................................................... 57
แบบทดสอบบทที่ 2...................................................................................................... 58
เฉลยบทที่ 2 ................................................................................................................. 60
วิชาคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ห น้ า | ค

สำรบัญ (ต่อ)
หน้ำ
บทที่ 3 การนาเสนอข้อมูล ................................................................................................... 63
ใบงานที่ 3.1 การอ่านแผนภูมิแท่ง ................................................................................ 70
ใบงานที่ 3.2 การอ่านแผนภูมิแท่งเปรียบเทียบ ............................................................ 71
ใบงานที่ 3.3 การเขียนแผนภูมิแท่ง .............................................................................. 72
ใบงานที่ 3.4 การเขียนแผนภูมิแท่งเปรียบเทียบ........................................................... 73
ใบงานที่ 3.5 การอ่านกราฟเส้น.................................................................................... 74
ใบงานที่ 3.6 โจทย์ปญ ั หา ............................................................................................. 75
แบบทดสอบบทที่ 3...................................................................................................... 76
เฉลยบทที่ 3 ................................................................................................................. 79
ห น้ า | ง วิชาคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5

เพลง “กำรคูณเศษส่วน”

เนื้อร้อง ปิยะพงษ์ สุริยะพรหม ทานองเพลง แว่วเสียงแคน

*** การคูณเศษส่วนนี้หนา โอ้น้องยาอย่าได้หวั่นเกรง ของจงฟังถ้อยบรรเลง


ที่ครื้นเครงแสนสุขใจ และจาไว้ให้ตรึงอุรา (ซ้าที่ขีดเส้นใต้)

จะคูณเศษส่วนเมื่อใด จาให้ขึ้นใจ เศษคูณเศษหนา


และส่วนคูณส่วนอย่าช้า ได้คาตอบมา ทาเศษส่วนอย่างต่า ง่ายเหลือล้า จงจาเถิดเอย
(ซ้าที่ขีดเส้นใต้) แลน แลน แต แล แหล่ แลน แลน แลนแต

*** ร้องซ้าอีก 1 รอบ

เพลง “กำรหำรเศษส่วน”

เนื้อร้อง รัชดาวรรณ กระสินธุ์ ทานองเพลง This old man

การหารเศษส่วน ทาได้ไม่ยาก
เพียงเปลี่ยนเครื่องหมาย จากการหารเป็นการคูณ
กลับตัวหาร ตัวส่วนเป็นตัวเศษ
แล้วหาผลหาร โดยการคูณ
วิชาคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ห น้ า | 1

บทที่ 1
เศษส่วน
การเปรียบเทียบเศษส่วน

มีหลักการพิจารณา ดังนี้
1. การเปรียบเทียบเศษส่วนที่มีตัวส่วนเท่ากัน ให้พจิ ารณาตัวเศษ
2 1
เช่น เปรียบเทียบ 5 กับ 5 จะเห็นว่ามีตัวส่วนเดียวกันคือ 5
2 1
พิจารณาตัวเศษ 2 > 1 ดังนั้น >
5 5
2. การเปรียบเทียบเศษส่วนที่มีตัวเศษเท่ากัน และตัวส่วนไม่เท่ากัน
พิจารณาจากรูป

1 1
4 8

1 1
จากรูปจะเห็นว่า 4 > 8 นั่นคือ  ถ้าตัวเศษเท่ากัน ตัวส่วนน้อยกว่าค่าของเศษส่วนนั้นจะ
มากกว่า
จาง่ายๆ แบบนี้ก็ได้ครับ ถ้าส่วนแบ่งมากกว่าเราจะได้น้อยกว่า

𝟏
3. การเปรียบเทียบเศษส่วนโดยใช้ 𝟐 เป็นเกณฑ์
1 2 1
พิจารณาเศษส่วนที่เท่ากับ 2 เช่น 4 เพราะครึ่งหนึ่งของ 4 เท่ากับ 2 ดังนั้น เศษส่วนที่เท่ากับ 2 ได้แก่
3 4 5 6
เป็นต้น
6 8 10 12
5 1
ตัวอย่างเช่น มากกว่า เพราะ ครึ่งหนึ่งของ 8 คือ 4 ซึ่ง 5 > 4
8 2
7 1
น้อยกว่า 2 เพราะ ครึ่งหนึ่งของ 18 คือ 9 ซึ่ง 7 < 9
18

5 7 5 7 5 1 7 1
พิจารณาการเปรียบเทียบ 8 กับ จึงได้ว่า > เพราะ 8 > และ <
18 8 18 2 18 2
ห น้ า | 2 วิชาคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5

𝟏
4. การเปรียบเทียบเศษส่วนที่มีตัวส่วนไม่เท่ากัน กรณีพิจารณาโดยใช้ 𝟐 เป็นเกณฑ์ แล้ว
ไม่สามารถบอกได้ว่าจานวนใดมากกว่า
3 4 3 1 4 1
เช่น 7 กับ 9
เพราะ 7 < 2
และ 9 < 2
ดังนั้นจึงต้องทาให้เป็นเศษส่วนที่มีตัวส่วนเท่ากันก่อน
แล้วจึงเปรียบเทียบ
3 3×9 27
เนื่องจาก 7 = 7×9 = 63
4 4×7 28
และ = =
9 9×7 63
27 28
จะเห็นว่า <
63 63
3 4
ดังนั้น <9
7
5. การเปรียบเทียบจานวนคละ
การเปรียบเทียบจานวนคละ ให้เปรียบเทียบจานวนนับก่อน
 ถ้าจานวนนับใดมากกว่า จานวนคละนั้นจะมากกว่า
 ถ้าจานวนนับเท่ากันให้เปรียบเทียบเศษส่วน เศษส่วนใดมากกว่า จานวนคละนั้นจะมากกว่า
ตัวอย่างที่ 1 เปรียบเทียบ 2 34 กับ 3 56
เปรียบเทียบจานวนนับ พบว่า 2 < 3
3 5
ดังนั้น 24 < 36

ตัวอย่างที่ 2 เปรียบเทียบ 5 34 กับ 5 12


5

เปรียบเทียบจานวนนับพบว่า 5 = 5
3 5 3 1 5 1
พิจารณา 4 กับ 12 เนื่องจาก 4 > 2 และ 12 < 2
3 5
นั่นคือ 4 > 12
3 5
ดังนั้น 54 > 5 12
ตัวอย่างที่ 3 เปรียบเทียบ 4 47 กับ 4 14
9

4 9
เปรียบเทียบจานวนนับพบว่า 4 = 4 พิจารณา 7 กับ 14
4 1 9 1
เนื่องจาก > 2 และ 14 > 2 ดังนั้นทาส่วนให้เท่ากัน
7
4 4×2 8
เนื่องจาก 7
= 7×2 = 14
8 9 4 9
และ 14 < 14 ดังนั้น 4 < 4 14
7
วิชาคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ห น้ า | 3

การเรียงลาดับเศษส่วน
การเรียงลาดับเศษส่วนและจานวนคละ ใช้วิธีเปรียบเทียบจานวนทีละคู่ แล้วเรียงลาดับจากมากไป
หาน้อย หรือจากน้อยไปมาก
หรือการเรียงลาดับเศษส่วนให้พิจารณาจานวนที่แตกต่างจากพวก หรือจัดกลุ่มก่อน ได้แก่
 มากกว่า 1
1
 มากกว่า 2 แต่น้อยกว่า 1
1
 น้อยกว่า 2
3 11 1 7
ตัวอย่าง จงเรียงลาดับเศษส่วนจากมากไปหาน้อย
4 7 5 8
11 11
วิธีคดิ จะเห็นว่า 7 >1 เพียงจานวนเดียว ดังนั้น 7 มากที่สุด
1 1 1
และ 5 < มีเพียงจานวนเดียว ดังนั้น น้อยที่สุด
2 5
3 7 1
และ 8 มากกว่า 2 แต่น้อยกว่า 1
4
3 7
เปรียบเทียบ 4 กับ 8
3 3×2 6 7
เนื่องจาก 4 = = ซึ่งน้อยกว่า
4×2 8 8
11 7 3 1
ดังนั้นเรียงลาดับเศษส่วนจากมากไปหาน้อยได้เป็น 7 8 4 5
11 7 3 1
ตอบ 7 8 4 5

การเรียงลาดับเศษเกินและจานวนคละ เปลี่ยนเศษเกินให้เป็นจานวนคละ แล้วก็ดูจานวนนับเพือ่


จัดกลุ่มได้เช่นเดียว ถ้าจานวนนับไม่เท่ากันดูจานวนนับแล้วจัดเรียงลาดับได้ทันที แต่ถ้าเท่ากันให้
เปรียบเทียบเศษส่วนแท้
ห น้ า | 4 วิชาคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5

การบวก การลบเศษส่วน
การบวกและการลบเศษส่วนที่มีตัวส่วนไม่เท่ากัน ต้องทาตัวส่วนให้เท่ากัน แล้วจึงนาตัวเศษมา
บวกกัน หรือลบกัน
7 11
ตัวอย่างที่ 1 หาผลบวกของ +
24 16
7 11 7×2 11×3
วิธีทา + = +
24 16 24×2 16×3
14 33
= +
48 48
47
=
48
47
ตอบ 48
14 1
ตัวอย่างที่ 2 หาผลลบของ –
15 3
14 1 14 1×5
วิธีทา – = –
15 3 15 3×5
14 5
= –
15 15
9
= 15
3
= 5
3
ตอบ
5

การบวก การลบจานวนคละ
การบวกหรือการลบจานวนคละ อาจทาได้โดยเขียนจานวนคละในรูปเศษเกินก่อนแล้วจึงหาผลบวก
หรือผลลบ
ตัวอย่างที่ 1 หาผลบวกของ 3 35 + 4 15
7

3 7 18 67
วิธีทา 1 3
5
+ 4 15 = +
5 15
54 67
= +
15 15
121
= 15
1
= 8
15
1
ตอบ 8
15
วิชาคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ห น้ า | 5

วิธีนี้ตัวเลขที่ใช้คานวณ
หรือสามารถใช้วิธีแยกคานวณจานวนนับและเศษส่วนได้ ดังตัวอย่าง จะน้อยลง
3 7
ตัวอย่าง หาผลบวกของ 3
5
+ 4 15
3 7
วิธีทา 2 3
5
+ 4
15
= 3+4 + 3
5
+ 7
15
9 7
= 7+ 15
+ 15
16
= 7+
15
1
= 7+1+
15
1
= 8
15
1
ตอบ 8
15

การคูณเศษส่วน
1. การคูณจานวนนับกับเศษส่วน และการคูณเศษส่วนกับจานวนนับ ทาได้โดยนาจานวนนับคูณ
กับตัวเศษ โดยตัวส่วนยังคงเดิม
3
ตัวอย่างที่ 1 หาผลคูณของ 5 × 4
3 3×4
วิธีทา ×4 =
5 5
12
= 5
2
= 2
5
2
ตอบ 2
5
2. การคูณเศษส่วนกับเศษส่วน ทาได้โดย นาตัวเศษคูณกับตัวเศษ และตัวส่วนคูณกับตัวส่วน
6 35
ตัวอย่างที่ 2 หาผลคูณของ 7 × 42
1 5
6 35 6×35
วิธีทา × =
7 42 7×42
1 7

5
= 7
5
ตอบ 7
3. การคูณจานวนนับกับจานวนคละ ให้เขียนจานวนคละในรูปเศษเกิน แล้วหาผลคูณ โดยนา
จานวนนับคูณกับตัวเศษ แล้วตัวส่วนคงเดิม
4. การคูณจานวนคละ อาจทาได้โดยเขียนจานวนคละในรูปเศษเกินแล้วหาผลคูณ
ห น้ า | 6 วิชาคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5

4 1
ตัวอย่างที่ 3 หาผลคูณของ 39 × 4
5

4 1 31 21
วิธีทา 39 × 4
5
= ×
95
5
7
31×21
= 9×5
3
217
= 15

7
= 14
15
7
ตอบ 14
15

* ผลคูณที่ได้ ควรเขียนเป็น รูปอย่างง่าย ซึ่งอาจอยู่ในรูปเศษส่วนอย่างต่่า จ่านวนคละ หรือ จ่านวนนับ *


**การคูณเศษส่วน ถ้ามีการสลับที่กันระหว่างเศษส่วน 2 จ่านวน ผลคูณยังคงเท่ากัน**

การหารเศษส่วน
ส่วนกลับของเศษส่วน  เศษส่วนใดคูณกับส่วนกลับของเศษส่วนนั้น ผลคูณจะเท่ากับ 1
1 1
8 เป็นส่วนกลับของ 8 เพราะ 8 × 8=1
3 5 3 5
5
เป็นส่วนกลับของ 3 เพราะ × =1
5 3

1. การหารจานวนนับด้วยเศษส่วน ทาได้โดย นาจานวนนับทีเ่ ป็นตัวตั้งคูณกับส่วนกลับของ


ตัวหาร
ตัวอย่างที่ 1 จงหาผลหารของ 3
วิธีทา 3 = 3×

=
= 3
ตอบ 3
วิชาคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ห น้ า | 7

2. การหารเศษส่วนด้วยจานวนนับ ทาได้โดย นาเศษส่วนที่เป็นตัวตั้ง คูณกับส่วนกลับของตัวหาร


7
ตัวอย่างที่ 2 จงหาผลหารของ 8 14
7 7 1
วิธีทา 14 = ×
8 8 14
×
= ×
=
ตอบ
3. การหารเศษส่วนด้วยเศษส่วน ทาได้โดย นาเศษส่วนที่เป็นตัวตั้ง คูณกับส่วนกลับของตัวหาร
5
ตัวอย่างที่ 3 จงหาผลหารของ 9
5 5 24
วิธีทา = ×
9 9 15
×
= ×
=
ตอบ
4. การหารจานวนคละ ให้เขียนจานวนคละในรูปเศษเกิน แล้วใช้วิธีเดียวกันกับการหารเศษส่วน
ด้วยเศษส่วน
ตัวอย่างที่ 4 จงหาผลหารของ 2 1
13 5
วิธีทา 2 1 =
5 3
13 3
= ×5
5

=
= 1

ตอบ 1

* ผลหารที่ได้ ควรเขียนเป็น รูปอย่างง่าย ซึ่งอาจอยู่ในรูปเศษส่วนอย่างต่่า จ่านวนคละ หรือ จ่านวนนับ *


**การหารเศษส่วน ถ้ามีการสลับที่กันระหว่างตัวตั้งกับตัวหาร ผลหารจะไม่เท่ากัน**

2 4 2 5
3
= × =
5 3 4
=
4 2 4 3
แต่ = × = =1
5 3 5 2
ห น้ า | 8 วิชาคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5

โจทย์ปัญหา
การวิเคราะห์โจทย์ปัญหา เมื่ออ่านโจทย์แล้วให้พิจารณาสิ่งที่โจทย์ถาม และสิ่งที่โจทย์บอก นาข้อมูลที่
ได้มาวิเคราะห์หาวิธีหาคาตอบโดยการบวก ลบ คูณ หรือหาร
1
ตัวอย่างที่ 1 หลังจากใช้น้ามันพืชไป 5 ของขวด แล้วยังเหลือน้ามันพืชอีกครึ่งขวด เดิมมีน้ามันพืชอยู่
ในขวดคิดเป็นเศษส่วนเท่าใดของขวด
สิ่งที่โจทย์ถาม  เดิมมีน้ามันพืชอยู่ในขวดคิดเป็นเศษส่วนเท่าใดของขวด
1
สิ่งที่โจทย์บอก  1) หลังจากใช้น้ามันพืชไป 5 ของขวด
1
2) แล้วยังเหลือน้ามันพืชอีก 2 ขวด
จากสิ่งที่โจทย์ให้จะเห็นว่า หลังจากใช้น้ามันพืชไปแล้วยังมีน้ามันเหลืออยู่ ดังนั้นการหาปริมาตรของ
น้ามันพืชเดิมที่มีอยู่ในขวดจึงใช้การบวกน้ามันพืชที่ใช้ไปแล้วกับน้ามันพืชที่ยังเหลืออยู่
1 1
ประโยคสัญลักษณ์ + =
5 2
1
วิธีทา หลังจากใช้น้ามันพืชไป ของขวด
5
1
แล้วยังเหลือน้ามันพืชอีก ขวด
2
1 1 2:5
เดิมมีน้ามันพืชอยู่ในขวดคิดเป็น + = ของขวด
5 2 10
7
= ของขวด
10
7
ตอบ เดิมมีน้ามันพืชอยู่ ของขวด
10
11 1
ตัวอย่างที่ 2 แม่ซื้อแตงกวาและฟักทอง 12 กิโลกรัม เป็นแตงกวา 6 กิโลกรัม เป็นฟักทองกี่กิโลกรัม
สิ่งที่โจทย์ถาม  แม่ซื้อฟักทองกี่กิโลกรัม
11
สิ่งที่โจทย์บอก  1) แม่ซื้อแตงกวาและฟักทอง 12 กิโลกรัม
1
2) เป็นแตงกวา 6 กิโลกรัม
จากสิ่งที่โจทย์ให้จะเห็นว่า โจทย์ให้น้าหนักรวมของแตงกวาและฟักทองมา และให้น้าหนักของแตงกวา
ดังนั้นน้าหนักของฟักทองจึงนาน้าหนักของแตงกวาหักออกจากน้าหนักรวม จึงใช้การลบ
11 1
ประโยคสัญลักษณ์ – =
12 6
11
วิธีทา แม่ซื้อแตงกวาและฟักทอง กิโลกรัม
12
1
เป็นแตงกวา กิโลกรัม
6
11 1 11;2
เป็นฟักทอง –6 = กิโลกรัม
12 12
9 3
= 12
= 4
กิโลกรัม
3
ตอบ ฟักทอง 4 กิโลกรัม
วิชาคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ห น้ า | 9

3 1
ตัวอย่างที่ 3 จอยมีขนมชั้น 4 ถาด กินไป 2 ของที่มีอยู่ จอยกินขนมชั้นไปกี่ถาด
สิ่งที่โจทย์ถาม  กินขนมชั้นไปกี่ถาด
3
สิ่งที่โจทย์บอก  1) จอยมีขนมชั้น 4 ถาด
1
2) กินไป 2 ของที่มีอยู่
1
จากสิ่งที่โจทย์ให้จะเห็นว่า จอยกินขนมชั้นไป 2 ของที่มีอยู่ จึงใช้การคูณส่วนที่กินไปกับขนมชั้นที่มีอยู่
1 3
ประโยคสัญลักษณ์ ×4 =
2
3
วิธีทา จอยมีขนมชั้น ถาด
4
1
กินไป ของที่มีอยู่
2
1 3 1×3
จอยกินขนมชั้นไป × = ถาด
2 4 2×4
3
=8 ถาด
3
ตอบ ถาด
8
1
ตัวอย่างที่ 4 ถนนสายหนึ่งยาว 185 กิโลเมตร ปักเสาไฟฟ้ามีระยะห่างเท่า ๆ กัน ช่วงละ 2
กิโลเมตร จะต้องใช้เสากี่ต้น
สิ่งที่โจทย์ถาม  จะต้องใช้เสากี่ต้น
สิ่งที่โจทย์บอก  1) ถนนสายหนึ่งยาว 185 กิโลเมตร
1
2) ปักเสาไฟฟ้ามีระยะห่างเท่า ๆ กัน ช่วงละ 2 กิโลเมตร
จากสิ่งที่โจทย์ให้จะเห็นว่า การปักเสาไฟฟ้าปักระยะห่างเท่ากันทุกต้น ดังนั้นจึงใช้การหารความยาว
ของถนนด้วยระยะห่างของเสาไฟฟ้าแต่ละต้น
1
ประโยคสัญลักษณ์ 185 =
2
วิธีทา ถนนสายหนึ่งยาว 185 กิโลเมตร
1
ปักเสาไฟฟ้ามีระยะห่างเท่า ๆ กัน ช่วงละ 2 กิโลเมตร
1 2
จะต้องใช้เสา 185 ÷ 2 = 185 × 1 ต้น
= 370 ต้น
ตอบ 370 ต้น
ห น้ า | 10 วิชาคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5

การบวก ลบ คูณ หารระคน

ข้อตกลงเกี่ยวกับลาดับขั้นการคานวณที่มากกว่า 1 ขั้นตอน

ขั้นที่ 1 คานวณในวงเล็บ
ขั้นที่ 2 คูณ หรือ หาร โดยคานวณจากซ้ายไปขวา
ขั้นที่ 3 บวก หรือ ลบ โดยคานวณจากซ้ายไปขวา

2 4 1
ตัวอย่างที่ 1 หาผลลัพธ์ของ (1 3 5
) 2

2 4 1
วิธีทา (1 3 5
) 2
= (53 4
5
1
) 2
25 12 1
= ( 15 ) 2
13 1
= 15 2
13 2
= ×1
15
26
= 15
= 1 11
15 จะเห็นว่าเศษส่วนชุดเดียวกัน
11
ตอบ 1 15 มีวงเล็บและไม่มีวงเล็บ
จะได้คาตอบไม่เหมือนกัน
2 4 1
ตัวอย่างที่ 2 หาผลลัพธ์ของ 13 
5 2
2 4 1 2 4 1
วิธีทา 13  = 13  ( )
5 2 5 2
5 4 2
= 3  (5 × 1)
5 8
=35
25;24
= 15
1
= 15
1
ตอบ 15
วิชาคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ห น้ า | 11

โจทย์ปัญหาการบวก ลบ คูณ หารระคน


การวิเคราะห์โจทย์ปัญหาการบวก ลบ คูณ หารระคนเศษส่วน เมื่ออ่านโจทย์แล้วให้พิจารณาสิ่งที่
โจทย์ถาม และสิ่งที่โจทย์บอก นาข้อมูลที่ได้มาวิเคราะห์หาวิธีหาคาตอบโดยการบวก ลบ คูณ หรือหาร ทีละขั้น
ซึ่งในบางโจทย์ปัญหาอาจไม่ต้องเขียนเป็นประโยคสัญลักษณ์แต่ใช้การคานวณไปทีละขั้นตามข้อมูลที่โจทย์ให้
มาได้
3 1
ตัวอย่าง แม่ค้ามีส้มโออยู่ 200 ผล ขายไป 4 ของส้มโอที่มีอยู่ แล้วซื้อมาอีก 2 ของที่มีอยู่เดิม แม่ค้า
มีส้มโอทั้งหมดกี่ผล
สิ่งที่โจทย์ถาม  แม่ค้ามีส้มโอทั้งหมดกี่ผล
สิ่งที่โจทย์บอก  1) แม่ค้ามีส้มโออยู่ 200 ผล
3
2) ขายไป 4 ของส้มโอที่มีอยู่
1
3) แล้วซื้อมาอีก 2 ของที่มีอยู่เดิม
จากสิ่งที่โจทย์ให้ต้องคิดไปทีละขั้นดังนี้
3
ขั้นที่ 1 หาจานวนส้มโอที่ขายไปแล้วโดยนา 200 คูณด้วย 4
ขั้นที่ 2 หาจานวนส้มโอที่เหลือนาจานวนส้มโอที่ขายไปลบออกจากส้มโอทั้งหมด
1
ขั้นที่ 3 หาจานวนส้มโอที่ซื้อมาอีกโดยนา 200 คูณด้วย 2
ขั้นที่ 4 นาจานวนส้มโอที่เหลือบวกกับส้มโอที่ซื้อมาอีก
วิธีทา แม่ค้ามีส้มโออยู่ 200 ผล
3
ขายไป ของส้มโอที่มีอยู่
4
3
ขายไป × 200 = 150 ผล
4
เหลือส้มโอ 200 – 150 = 50 ผล
1
แล้วซื้อมาอีก ของที่มีอยู่เดิม
2
1
ซื้อมาอีก × 200 = 100 ผล
2
แม่ค้ามีส้มโอทั้งหมด 50 + 100 = 150 ผล
ตอบ 150 ผล
ห น้ า | 12 วิชาคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5

ใบงานที่ 1.1 เรื่อง การเปรียบเทียบเศษส่วนและจานวนคละ


สาระที่ 1 จานวนและพีชคณิต ตัวชี้วัด ค 1.1 ป.5/3
ชื่อ – สกุล ชั้น เลขที่

1. เติม หรือ = ใน 
14 3 7 5
1)  2) 
18 7 9 6
4 4 15 37
3)  4) 
7 5 26 29
4 1 3 27
5) 2
5
 3
5
6) 6 
4 4
1 25 18 8
7) 43  8)  2 14
6 7
16 31 7 3
9)  10) 58  55
5 9

2.แสดงวิธีเปรียบเทียบเศษส่วน
7 11
1) กับ
10 15

4 19
2) 3 11 กับ 6

45 38
3) กับ
12 9
วิชาคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ห น้ า | 13

ใบงานที่ 1.2 เรื่อง การเรียงลาดับเศษส่วนและจานวนคละ


สาระที่ 1 จานวนและพี ใบงานที
ชคณิ่ต1.2ตัวชี้วัด ค 1.1 ป.5/3
ชื่อ – สกุล ชั้น เลขที่

1. เรียงลาดับจากมากไปหาน้อย
2 6 1 4
1) 3 15 2 7

2) 3 13 7 2 5
2 5 6

2. เรียงลาดับจากน้อยไปหามาก
6 1 1 17
1) 7 2 1
3 5 35

23 5 2 23
2) 10 4 2
8 5 5

5 3 19 17
3. แสดงวิธีเรียงลาดับเศษส่วนจากมากไปหาน้อย 8 3
7 44 3
ห น้ า | 14 วิชาคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5

ใบงานที่ 1.3 เรื่อง การบวก การลบเศษส่วน


สาระที่ 1 จานวนและพีชคณิต ตัวชี้วัด ค 1.1 ป.5/3
ชื่อ – สกุล ชั้น เลขที่

แสดงวิธีหาคาตอบ
7 9 5 13
1) 10 + 2) 8
15 24

3 8 9
3) + 4) 5 11
14 35

15 2 5 8
5) 6) 6 +
9 3 9
วิชาคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ห น้ า | 15

ใบงานที่ 1.4 เรื่อง การบวก การลบจานวนคละ


สาระที่ 1 จานวนและพีชคณิต ตัวชี้วัด ค 1.1 ป.5/3
ชื่อ – สกุล ชั้น เลขที่

แสดงวิธีหาคาตอบ
1) 2 12 + 3 34 2) 8 29 1
56

3) 6 13 + 3 15
7 4
4) 4 11 5
3 22

3
5) 9 38 6) 5 17
24
7
+ 3 16
ห น้ า | 16 วิชาคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5

ใบงานที่ 1.5 เรื่อง การคูณจานวนนับกับเศษส่วน


สาระที่ 1 จานวนและพีชคณิต ตัวชี้วัด ค 1.1 ป.5/4
ชื่อ – สกุล ชั้น เลขที่

แสดงวิธีหาคาตอบ
3
1) 2 × 12 2) 4×
5

7
3) 9 × 27 4) 6 × 18

4
5) 5 × 37 6) 6 × 8

7) 1 × 12
15
8) 15 × 49

9
9) 7 × 11 10) 21 × 21
69
วิชาคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ห น้ า | 17

ใบงานที่ 1.6 เรื่อง การคูณเศษส่วนกับเศษส่วน


สาระที่ 1 จานวนและพีชคณิต ตัวชี้วัด ค 1.1 ป.5/4
ชื่อ – สกุล ชั้น เลขที่

แสดงวิธีหาคาตอบ
3 3 7 5
1) 5 × 6 2) 25 × 35

9 15 42 25
3) 21 × 18 4) 105 × 56

6 51 16 38
5) 17 × 72 6) 57 × 24

5 24 6 95
7) 108 × 35 8) 15 × 21
ห น้ า | 18 วิชาคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5

ใบงานที่ 1.7 เรื่อง การคูณจานวนคละ


สาระที่ 1 จานวนและพีชคณิต ตัวชี้วัด ค 1.1 ป.5/4
ชื่อ – สกุล ชั้น เลขที่

แสดงวิธีหาคาตอบ
4
1) 5×1 10 2) 3 79 × 1 8

3) 1 13 × 2 37 4) 2 78 × 1 34

5) 5 45 × 1 158 6) 7 36 × 2 45
วิชาคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ห น้ า | 19

ใบงานที่ 1.8 เรื่อง การหารเศษส่วน (1)


สาระที่ 1 จานวนและพีชคณิต ตัวชี้วัด ค 1.1 ป.5/4
ชื่อ – สกุล ชั้น เลขที่

แสดงวิธีหาคาตอบ
1 3
1) 6 2
2) 9 4

4 9
3) 11 5
4) 15 1

14 1
5) 21 17
6) 2 3

4 7
7) 9 12 8) 11 35

13 11
9) 15 65 10) 24 22
ห น้ า | 20 วิชาคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5

ใบงานที่ 1.9 เรื่อง การหารเศษส่วน (2)


สาระที่ 1 จานวนและพีชคณิต ตัวชี้วัด ค 1.1 ป.5/4
ชื่อ – สกุล ชั้น เลขที่

แสดงวิธีหาคาตอบ
3 9 4 12
1) 4 2 2) 9 18

13 26 8 24
3) 4)
19 38 14 35

5 15 57 19
5) 34 6) 15
68 10

24 6 16 2
7) 25 8) 17
15 3
วิชาคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ห น้ า | 21

ใบงานที่ 1.10 เรื่อง การหารจานวนคละ


สาระที่ 1 จานวนและพีชคณิต ตัวชี้วัด ค 1.1 ป.5/4
ชื่อ – สกุล ชั้น เลขที่

แสดงวิธีหาคาตอบ
1
1) 7 13 2) 4 45 6

3) 4 12 3
25 4) 6 27 2
33

5) 5 11
12
5
6
6) 2 56 3
11
ห น้ า | 22 วิชาคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5

ใบงานที่ 1.11 เรื่อง โจทย์ปัญหา (1)


สาระที่ 1 จานวนและพีชคณิต ตัวชี้วัด ค 1.1 ป.5/3, ป.5/4, ป.5/5
ชื่อ – สกุล ชั้น เลขที่

หาคาตอบ

1. ขนุน 2 ผล มีน้าหนักรวมกัน 15 12 กิโลกรัม ถ้าขนุนลูกหนึ่งหนัก 6 23 กิโลกรัม อีกผลหนึ่งหนักเท่าไร

2
2. พี่มีเงิน 180 บาท แบ่งให้น้อง 3 ของเงินที่มีอยู่ พี่ให้น้องกี่บาท

5
3. ไม้ท่อนหนึ่งยาว 6 เมตร อีกท่อนหนึ่งยาว 1 13 เมตร นามาวางต่อกันจะได้ไม้ยาวกี่เมตร

1
4. อภิชาติมีเชือกยาว 4 12 เมตร ตัดแบ่งเป็นเส้นสั้น ๆ ยาวเส้นละ 2 เมตร อภิชาติตัดเชือกได้ทั้งหมดกี่เส้น

3
5. วราพรมีเงิน 420 บาท ซื้อหนังสือไป 7 ของเงินที่มีอยู่ วราพรซื้อหนังสือกี่บาท

1
6. อังคณามีลวดยาว 3 13 เมตร ตัดแบ่งเป็นเส้นสั้น ๆ เส้นละ 6 เมตร อังคณาตัดลวดได้กี่เส้น

8
7. กิตติชาติมีข้าวสารอยู่ 2 45 ของถัง ใช้ไป ของถัง กิตติชาติเหลือข้าวสารอยู่เท่าไร
15

3 1
8. กานดาซื้อเนื้อหมู 4 กิโลกรัม ซื้อเนื้อไก่ 2 กิโลกรัม กานดาซื้อของทั้งสองอย่างหนักกี่กิโลกรัม

3
9. วงกลมสีเหลืองมีรัศมียาว 1 25 เมตร วงกลมสีชมพูมีรัศมียาว 10 เมตร รัศมีของวงกลมทั้งสองยาวต่างกัน
เท่าไร
5
10. ตัดเชือกไปใช้ 2 13 เมตร เหลือเชือกยาว 7 เมตร เดิมเชือกยาวกี่เมตร
วิชาคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ห น้ า | 23

ใบงานที่ 1.12 เรื่อง โจทย์ปัญหา (2)


สาระที่ 1 จานวนและพีชคณิต ตัวชี้วัด ค 1.1 ป.5/3, ป.5/4, ป.5/5
ชื่อ – สกุล ชั้น เลขที่

เขียนประโยคสัญลักษณ์และแสดงวิธีหาคาตอบ
3 2
1. แม่มีน้าส้มอยู่ 4 ขวด แบ่งให้ลูกไป 5 ขวด แม่เหลือน้าส้มอยู่เท่าไร

5
2. อุบลเลี้ยงเป็ด 240 ตัว เป็นเป็ดตัวผู้ ของจานวนเป็ดที่เลี้ยงไว้ อุบลเลี้ยงเป็ดตัวผู้ไว้กี่ตัว
8

7
3. เหล็กท่อนหนึ่งยาว 8 25 เมตร ตัดเป็นท่อนยาวเท่า ๆ กัน ท่อนละ 10 เมตร ตัดเหล็กท่อนนี้ได้ทั้งหมดกี่เส้น
ห น้ า | 24 วิชาคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5

ใบงานที่ 1.13 เรื่อง การบวก ลบ คูณ หารระคน


สาระที่ 1 จานวนและพีชคณิต ตัวชี้วัด ค 1.1 ป.5/3, ป.5/4
ชื่อ – สกุล ชั้น เลขที่

แสดงวิธีหาคาตอบ
3 14 4 3 3
1) 4+ 7 × 15 2) 5 × 8 20

3) 2 12 + 3 56 3
8
4
4) 13×1 65 23
1 5
วิชาคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ห น้ า | 25

ใบงานที่ 1.14 เรื่อง โจทย์ปัญหาการบวก ลบ คูณ หารระคน (1)


สาระที่ 1 จานวนและพีชคณิต ตัวชี้วัด ค 1.1 ป.5/5
ชื่อ – สกุล ชั้น เลขที่

แสดงวิธีหาคาตอบ
1 1
1. พ่อแบ่งเงิน 6,000 บาท ให้ลูก 3 คน ลูกคนโตได้ ของเงินทั้งหมด ลูกคนที่สองได้ 2 ของลูกคนโต ที่
2
เหลือเป็นของลูกคนสุดท้อง ลูกคนสุดท้องได้ส่วนแบ่งเท่าไร

2 4
2. ในการก่อสร้างถนน เดือนแรกสร้างได้ ของความยาวทั ง
้ หมด เดื อ นที ่ สองสร้ า งได้ ของความยาว
5 7
ทั้งหมด นอกจากนั้นยังทาไม่เสร็จ ถ้าถนนที่จะทายาว 210 กิโลเมตร อยากทราบว่าเหลือถนนที่ยังทาไม่เสร็จ
อีกเท่าไร
ห น้ า | 26 วิชาคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5

ใบงานที่ 1.15 เรื่อง โจทย์ปัญหาการบวก ลบ คูณ หารระคน (2)


สาระที่ 1 จานวนและพีชคณิต ตัวชี้วัด ค 1.1 ป.5/5
ชื่อ – สกุล ชั้น เลขที่

แสดงวิธีหาคาตอบ
1 3 1
1. ชาวสวนปลูกมะม่วง 3 ของพื้นที่ทั้งหมด ปลูกขนุน 8 ของพื้นที่ทั้งหมด ปลูกมะขาม 6 ของพื้นที่ทั้งหมด ที่
เหลือปลูกส้ม ถ้าชาวสวนมีพื้นที่ทั้งหมด 48 ไร่ เหลือพื้นที่ปลูกส้มกี่ไร่

2
2. สมรักษ์ได้รับเงินเดือน 8,000 บาท แบ่งไว้เป็นค่าเดินทาง 5 ของเงินเดือน เป็นค่าอาหาร 1 15 ของค่า
เดินทาง และที่เหลือเป็นค่าใช้จ่ายทั่วไป สมรักษ์แบ่งเงินสาหรับเป็นค่าใช้จ่ายทั่วไปเท่าไร
วิชาคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ห น้ า | 27

แบบทดสอบบทที่ 1 เรื่อง เศษส่วน


สาระที่ 1 จานวนและพีชคณิต ตัวชี้วัด ค 1.1 ป.5/3, ป.5/4, ป.5/5
ชื่อ – สกุล ชั้น เลขที่

ทาเครื่องหมาย X ทับข้อที่ถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียว

1. ข้อใดถูกต้อง 6. แม่ค้ามีส้ม 24 58 กิโลกรัม ขายไปได้ 15 14


2 5 1 1
ก. 3 6 ข. 4 กิโลกรัม แม่ค้าเหลือส้มเท่าไร
5
4 2 2 2 ก. 9 กิโลกรัม ข. 9 34 กิโลกรัม
ค. 5 ง. 7
3 6 ค. 9 38 กิโลกรัม ง. 1
92 กิโลกรัม
2. ข้อใดเรียงลาดับจากมากไปน้อยได้ถูกต้อง 2
7. แม่มีเงิน 210 บาท ให้ลูก 3 ของเงินที่มีอยู่ แม่
12 4 3 1
ก. 1 ข. 1 16 12 4
5 3
3
7 ให้ลูกกี่บาท
5 3 7 6
12 1 4 3 12 4 1 3
ก. 70 บาท ข. 140 บาท
ค. 1 ง. 1 ค. 150 บาท ง. 200 บาท
5 6 3 7 5 3 6 7

3. ข้อใดเป็นผลลัพธ์ของ 4 + 5
3 4 8. จรรยามีเชือกยาว 2 45 เมตร นามาตัดเป็นเส้น
7
7 7 สั้น ๆ ยาวเส้นละ 10 เมตร จรรยาตัดเชือกได้
ก. ข. 20
9
21 ทั้งหมดกี่เส้น
ค. 1 11
2
ง. ก. 2 เส้น ข. 3 เส้น
20
ค. 4 เส้น ง. 5 เส้น
4. ข้อใดเป็นผลลัพธ์ของ 5 35  38
ก. 5 18 ข. 5 23 9. จิตรามีที่ดิน 33 ไร่ แบ่งเป็นแปลง แปลงละ 1 12
ค. 5 29 ง. 5 49 ไร่ จิตราแบ่งที่ดินได้กี่แปลง
ก. 22 แปลง ข. 25 แปลง
7 3 ค. 32 แปลง ง. 35 แปลง
5. ข้อใดเป็นผลลัพธ์ของ 1  × 21
8 7
3
ก. 9 78 ข. 9 18 10. ปลูกต้นไม้ 380 ต้น เป็นต้นมะม่วง 5 ของ
ค. 1 38 ง. 1 78 ต้นไม้ทั้งหมด มีต้นมะม่วงกี่ต้น
ก. 228 ต้น ข. 338 ต้น
ค. 438 ต้น ง. 448 ต้น
ห น้ า | 28 วิชาคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5

11. พ่อค้าขายส้มไป 5 12 กิโลกรัม ขายฝรั่ง 6 23 12. ค่าใช้จ่ายส่วนตัวคิดเป็นเศษส่วนเท่าไรของ


กิโลกรัม และขายมังคุดได้ 2 เท่าของส้ม พ่อค้าขาย ค่าใช้จ่ายทั้งหมด
10 11
ผลไม้ไปทั้งหมดกี่กิโลกรัม ก. ข.
24 24
ก. 11 กิโลกรัม ข. 12 23 กิโลกรัม ค.
12
ง.
13
1 1 24 24
ค. 22 6 กิโลกรัม ง. 23 6 กิโลกรัม
13. ค่าใช้จ่ายทั้งหมดเป็นเงินกี่บาท
จากข้อมูลที่กาหนดให้ใช้ตอบคาถามข้อ 12 – 15 ก. 60 บาท ข. 135 บาท
“ในการทัศนศึกษาครั้งหนึ่ง นักเรียนต้องเสีย ค. 165 บาท ง. 360 บาท
3 1
ค่าที่พัก 8 ของค่าใช้จ่ายทั้งหมด ค่าพาหนะ 6
ของค่าใช้จ่ายทั้งหมด และค่าใช้จ่ายส่วนตัวคิดเป็น 14. ค่าที่พักคิดเป็นเงินกี่บาท
เงิน 165 บาท” ก. 60 บาท ข. 135 บาท
ค. 165 บาท ง. 360 บาท

15. ค่าพาหนะคิดเป็นเงินกี่บาท
ก. 60 บาท ข. 135 บาท
ค. 165 บาท ง. 360 บาท
วิชาคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ห น้ า | 29

เฉลยบทที่ 1
เศษส่วน
เฉลยใบงานที่ 1.1
1. 1) 2) 3) 4) 5)
6) = 7) 8) = 9) 10)
7 11
2. 1) วิธีทา เปรียบเทียบ กับ
10 15
7 1 11 1
เนื่องจาก 10 และ
2 15 2

ดังนั้น ทาส่วนให้เท่ากัน
7 7×3 21
เนื่องจาก = =
10 10×3 30
11 11×2 22
และ = =
15 15×2 30
21 22
ซึ่ง 30 30
7 11
ดังนั้น 10 15
7 11
ตอบ 10 15
4 19
2) วิธีทา เปรียบเทียบ 3 11 กับ 6
19 1
เนื่องจาก = 3
6 6
4 1
ดังนั้น เปรียบเทียบ 11 กับ 6
4 4×6 24
เนื่องจาก = =
11 11×6 66
1 1×11 11
และ = =
6 6×11 66
24 11
ซึ่ง 66 66
4 19
ดังนั้น 3 11 6
4 19
ตอบ 3 11 6
ห น้ า | 30 วิชาคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5

45 38
3) วิธีทา เปรียบเทียบ 12 กับ 9
45 9
เนื่องจาก = 3 12
12
38 2
และ =4
9 9

พิจารณาจานวนนับ 3 < 4
45 38
ดังนั้น 12 9
45 38
ตอบ 12 9

เฉลยใบงานที่ 1.2
2 6 1 4
1) 3 15 2 7
6 1
วิธีคิด ดังนั้น น้อยที่สุด
15 2
2 4 1
และ มากกว่า
3 7 2
2 2×7 14
เนื่องจาก = =
3 3×7 21
4 4×3 12
และ = =
7 7×3 21
14 12
จะเห็นว่า 21 21
2 4
ดังนั้น 3 7
2 4 1 6
จึงเรียงลาดับเศษส่วนจากมากไปหาน้อยได้ ดังนี้ 3 7 2 15
2 4 1 6
ตอบ 3 7 2 15
วิชาคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ห น้ า | 31

7 1 5 2
2) 2 3
3 6 5
2 1
วิธีคิด ดังนั้น น้อยที่สุด
5 2
5 1
แต่น้อยกว่า 1
6 2
7 1 7 1
และ 2 =3 2 เปรียบเทียบ 2 กับ 3 3
1 1
จาก 3 12 และ 3 13 จะเห็นว่า 2 3
7 1
ดังนั้น 3
2 3
7 1 5 2
จึงเรียงลาดับเศษส่วนจากมากไปหาน้อยได้ ดังนี้ 2 3 6 5
7 1 5 2
ตอบ 2 3 6 5
17 6 1 1
2. 1) ตอบ 35 1 2
7 5 3
23 2 23 5
2) ตอบ 10 2 4
5 5 8
5 3 19 17
3. แสดงวิธีเรียงลาดับเศษส่วนจากมากไปหาน้อย 8 7 44 3
19 1
วิธีทา เนื่องจาก ดังนั้น น้อยที่สุด
44 2
5 1
แต่น้อยกว่า 1
8 2
17 2
และ = 53
3
17 3 5 19
ดังนั้น เรียงลาดับจากมากไปหาน้อยได้ ดังนี้ 3
3 7 8 44
17 3 5 19
ตอบ 3 7 8 44
ห น้ า | 32 วิชาคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5

เฉลยใบงานที่ 1.3
7 9 21 18 39 5 13 15 13
1) 10 + = + = 30 2) 8 =
15 30 30 24 24 24
13 3 2 1
= 10 = 1 10 = 24 = 12

3 8 15 16 9 55 9
3) 14 + = + 4) 5 11
= 11 11
35 70 70
31 46 2
= = = 4 11
70 11

15 2 15 6 5 8 15 16
5) 9 = 6) 6 + 9
= 18
+ 18
3 9 9
9 31 13
= =1 = = 1
9 18 18

เฉลยใบงานที่ 1.4
2 1 74 31
1) 2 12 + 3 34 = 2+3 + (12 + 34) 2) 8 9 56 = 9 6
2 3 148 93
= 5 + (4 + 4) = 18 18
5 55
=5+4 = 18
1 1
= 5 + (1 + 4) = 3 18
1
= 64
4 5 8 5
3) 6 13 + 3 15
7
= 6+3 + (13 + 15
7
) 4) 4 11 3 22 = 4 22 3 22
9 14 3
= 9 + (30 + 30) = 1 22

23
= 9 + 30
23
= 9 30
วิชาคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ห น้ า | 33

3 72 27
5) 9 38 = 8 8 6) 5 17
24
7
+ 3 16 = 5+3 + (17
24
7
+ 16 )

45 34 21
= = 8 + (48 + 48)
8
5 55
= 58 =8+
48
7
= 8 + (1 + 48)
7
= 9 48
เฉลยใบงานที่ 1.5
1) 1 2) 2 25 3) 2 47 4) 2 13 5) 2 17
21 441
6) 5 13 7) 8 8) 6 23 8
9) 5 11 10) 21 × 69 = 69
147
= 23
9
=6
23
เฉลยใบงานที่ 1.6
3 1 5 5
1) 10 2) 25 3) 14 4) 28
1 4 2 6 95 6 95
5) 4 6) 9 7) 63 8) 15 × 21 = 15 × 21
570
= 315
38
= 21
17
= 1 21
เฉลยใบงานที่ 1.7
5 1
1) 7 2) 408 3) 3 21 4) 5 32 5) 6 45
45 14
6) 7 36 × 2 45 = × = 21
6 5
ห น้ า | 34 วิชาคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5

เฉลยใบงานที่ 1.8
1) 12 2) 12 3) 13 34 4) 16 23 5) 25 12
1 1 1 1 11 11 1
6) 6 7) 27 8) 55 9) 75 10) 24 22 = 24 × 22
1 1
= ×
24 2
1
= 48
เฉลยใบงานที่ 1.9
1 2 5
1) 6 2) 3 3) 1 4) 6
2 16 2 16 3
5) 3 6) 2 7) 2 25 8) 17 = ×
3 17 2
48
= 34
24
= 17
7
= 1 17
เฉลยใบงานที่ 1.10
4
1) 5 14 2) 5 3) 1 19
26
4) 1 57 5) 7 11

6) 2 56 3
11 = 17
6
13
1
17 10
= × 13
6
170
= 78
85
= 39
7
= 2 39

เฉลยใบงานที่ 1.11
1. 8 56 กิโลกรัม 2. 120 บาท 3. 2 16 เมตร 4. 9 เส้น 5. 180 บาท
4
6. 20 เส้น 7. 2 15 ของถัง 8. 1 14 กิโลกรัม 9. 1 11 เมตร 10. 3 21
1
เมตร
วิชาคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ห น้ า | 35

เฉลยใบงานที่ 1.12
3 2
1. ประโยคสัญลักษณ์ 4 5 = 
วิธีทา
3
แม่มีน้าส้มอยู่ ขวด
4
2
แบ่งให้ลูกไป ของขวด
5
3 2 7
แม่เหลือน้าส้มอยู่ = ของขวด
4 5 20
7
ตอบ 20 ของขวด
5
2. ประโยคสัญลักษณ์ 8 240  
วิธีทา อุบลเลี้ยงเป็ด 240 ตัว
5
เป็นเป็ดตัวผู้ ของจานวนเป็ดที่เลี้ยงไว้
8
5
อุบลเลี้ยงเป็ดตัวผู้ไว้ 8 240  150 ตัว
ตอบ 150 ตัว
3. ประโยคสัญลักษณ์ 8 25 17 = 
2
วิธีทา เหล็กท่อนหนึ่งยาว 8 5 เมตร
7
ตัดเป็นท่อนยาวเท่า ๆ กันท่อนละ เมตร
10
2 7
ตัดเหล็กท่อนนี้ได้ทั้งหมด 85 1
= 12 เส้น
ตอบ 12 เส้น
เฉลยใบงานที่ 1.13
3 14 3 14
1) 4+ 7 × 15 = 4 + (7 × 15)
2
=4+5
2
= 45
4 3 3 4 3 3
2) 5 × 8 = (5 × 8)
20 20
3 3
= 10 20
6 3
= 20 20
3
= 20
ห น้ า | 36 วิชาคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5

1 5 3 1 5 3
3) + = 2 2 + (3 6 )
2 6 8 8
5 23 8
= 2 + ( 6 × 3)
5 92
= +
2 9
45 184
= 18 + 18
229
= 18
13
= 12
18
4 23
4) 13 × 1 65 1 5
= 13 × 69
65
× 1235
= 63
เฉลยใบงานที่ 1.14
1
1. วิธีทา พ่อแบ่งเงิน 6,000 บาท ให้ลูก 3 คน ลูกคนโตได้ ของเงินทั้งหมด
2
1
ลูกคนโตได้เงิน 2
6000  3000 บาท
1
ลูกคนที่สองได้ ของลูกคนโต
2
1
ลูกคนที่สองได้เงิน 2
3000  1500
ที่เหลือเป็นของลูกคนสุดท้อง
ลูกคนสุดท้องได้ส่วนแบ่ง 6000   3000  1500   1500 บาท
ตอบ 1,500 บาท

2. วิธีทา ถนนที่ทายาว 210 กิโลเมตร


2
ความยาวถนนที่ทาเสร็จในเดือนแรก 5 210  84 กิโลเมตร
4
ความยาวถนนที่ทาเสร็จในเดือนที่สอง 7 210  120 กิโลเมตร
เหลือความยาวถนนที่ยังไม่ทา 210 – (84+120) = 6 กิโลเมตร
ตอบ 6 กิโลเมตร
วิชาคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ห น้ า | 37

เฉลยใบงานที่ 1.15
1. วิธีทา ชาวสวนมีพื้นที่ทั้งหมด 48 ไร่
1
ปลูกมะม่วง 3
48  16 ไร่
3
ปลูกขนุน 8
48  18 ไร่
1
ปลูกมะขาม 6
48  8 ไร่
เหลือพื้นที่ปลูกส้ม 48  16  18  8   48  42
 6 ไร่
ตอบ 6 ไร่
2. วิธีทา สมรักษ์ได้รับเงินเดือน 8,000 บาท
2
แบ่งไว้เป็นค่าเดินทาง 5
8000  3200 บาท
6
เป็นค่าอาหาร ×3 2 = 3,840 บาท
5
สมรักษ์แบ่งเงินสาหรับเป็นค่าใช้จ่ายทั่วไป 8000   3200  3840   960 บาท
ตอบ 960 บาท

เฉลยแบบทดสอบบทที่ 1
1. ข 2. ง 3. ค 4. ง 5. ง
6. ค 7. ข 8. ค 9. ก 10. ก
11. ง 12. ข 13. ง 14. ข 15. ก

วิธีคิด ข้อ 12 – 15
3 1
จากโจทย์ “ในการทัศนศึกษาครั้งหนึ่ง นักเรียนต้องเสียค่าที่พัก 8 ของค่าใช้จ่ายทั้งหมด ค่าพาหนะ 6 ของ
ค่าใช้จ่ายทั้งหมด และค่าใช้จ่ายส่วนตัวคิดเป็นเงิน 165 บาท”
ขั้นที่ 1 ต้องหาว่าค่าที่พักกับค่าพาหนะคิดเป็นเศษส่วนเท่าใดของทั้งหมดโดยการนามาบวกกัน
3 1 13
+ =
8 6 24
ขั้นที่ 2 หาค่าใช้จ่ายส่วนตัวว่าคิดเป็นเศษส่วนเท่าใดโดยการนาค่าที่พักกับค่าพาหนะลบออกจาก 1
13 11
1 24 = 24  คาตอบข้อ 12
11
ขั้นที่ 3 หาค่าใช้จ่ายทั้งหมดเนื่องจากค่าใช้จ่ายส่วนตัว 24 เป็นเงิน 165 บาท
165
ดังนั้นค่าใช้จ่ายทั้งหมดจะเป็น ×24 = 36  คาตอบข้อ 13
11
3
ขั้นที่ 4 หาค่าที่พัก ×36 = 135 บาท  คาตอบข้อ 14
8
1
ขั้นที่ 5 หาค่าพาหนะ ×36 = 6 บาท  คาตอบข้อ 15
6
ห น้ า | 38 วิชาคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5

เกม “กระต่ายน้อยแต่งตัว”
ให้นักเรียนหาคาตอบจากประโยคสัญลักษณ์ต่อไปนี้ แล้วระบายสีตรงกับคาตอบของกระต่ายแต่ละตัว
4 1
1. 1 ( + )
7 3
ให้ระบายด้วยสีแดง
2 1
2. × (3 3) ให้ระบายด้วยสีชมพู
3
2
3. 12  6 ให้ระบายด้วยสีฟ้า
3
2 3 1
4. ×7 ให้ระบายด้วยสีเหลือง
5 35
5 3
5. (6 + 2) ให้ระบายด้วยสีเขียว
4

6 2 7
3
21 9

2
27
วิชาคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ห น้ า | 39

บทที่ 2
ทศนิยม
การเขียนเศษส่วนที่มีตัวส่วนเป็นตัวประกอบของ 10 100 หรือ 1,000 ในรูปทศนิยม
การเขียนเศษส่วนให้อยู่ในรูปทศนิยม หากเราทาเศษส่วนให้ตัวส่วนเป็น 10 100 หรือ 1,000 เรา
จะสามารถบอกได้ทันทีว่าเขียนในรูปทศนิยมได้อย่างไร
7 7 7
เช่น =0.7 =0.07 =0.007
10 100 1000
25 67 1359
=2.5 =0.67 =1.359
10 100 1000
 ดังนั้นหากเราจาตัวประกอบของ 10 100 และ 1,000 ได้ เราจะเปลี่ยนเศษส่วนให้มีส่วนที่
สามารถเปลี่ยนเป็นทศนิยมได้เร็วขึ้น
ตัวประกอบของ 10 ได้แก่ 1 2 5 และ 10
ตัวประกอบของ 100 ได้แก่ 1 2 4 5 10 20 25 50 และ 100
ตัวประกอบของ 1,000 ได้แก่ 1 2 4 5 8 10 20 25 40 50 100 125 200
250 500 และ 1,000
ตัวอย่าง จงเขียนเศษส่วนต่อไปนี้ในรูปทศนิยม
7
1) จะเห็นว่า 5 เป็นตัวประกอบของ 10 100 และ 1,000
5
แต่เราเลือกใช้ 10 นั่นคือ 2 × 5 = 10
7 7×2 14
จะได้ = = =1.4
5 5×2 10
23
2) จะเห็นว่า 40 เป็นตัวประกอบของ 1,000 นั่นคือ 40 × 25 = 1,000
40
23 23×25 575
จะได้ = = =0.575
40 40×25 1000
45
3) จะเห็นว่า 12 ไม่เป็นตัวประกอบของ 10 100 หรือ 1,000 แต่เมื่อเราพิจารณาจะ
12
45
เห็นว่า สามารถทาให้เป็นเศษส่วนอย่างต่าได้ นั่นคือ
12
45 15 15×25 375
จะได้ = = = =3.75
12 4 4×25 100

การหาค่าประมาณ
การหาค่าประมาณของทศนิยมใช้หลักการเดียวกันกับการหาค่าประมาณของจานวนนับ นั่นคือ
ประมาณเป็นจานวนหลักใดให้ดูค่าของหลักที่อยู่ถัดไปทางขวา นั่นคือ ถ้าเป็น 0 1 2 3 และ 4 ให้ปัดทิ้ง ถ้า
เป็น 5 6 7 8 และ 9 ให้ปัดขึ้น
ห น้ า | 40 วิชาคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5

ตัวอย่าง จงหาค่าประมาณ
1) หาค่าประมาณของ 1.3 ให้เป็นจานวนเต็มหน่วย ให้ดูทศนิยมตาแหน่งที่ 1 จากข้อนี้
ทศนิยมตาแหน่งที่ 1 เป็น 3 ดังนั้นปัดทิ้งได้เป็น 1 นั่นคือ 1.3  1
2) หาค่าประมาณของ 2.25 ให้เป็นทศนิยมหนึ่งตาแหน่ง ให้ดูทศนิยมตาแหน่งที่ 2 จากข้อนี้
ทศนิยมตาแหน่งที่ 2 เป็น 5 ดังนั้นปัดขึ้นได้เป็น 2.3 นั่นคือ 2.25  2.3
3) หาค่าประมาณของ 3.878 ให้เป็นทศนิยมสองตาแหน่ง ให้ดูทศนิยมตาแหน่งที่ 3 จากข้อนี้
ทศนิยมตาแหน่งที่ 3 เป็น 8 ดังนั้นปัดขึ้นได้เป็น 3.88 นั่นคือ 3.878  3.88

ค่าประมาณ เราใช้
จานวน เป็นจานวน เป็นทศนิยม เป็นทศนิยม สัญลักษณ์ 
เต็มหน่วย 1 ตาแหน่ง 2 ตาแหน่ง แทน
3.251 3 3.3 3.25 ค่าประมาณได้
0.837 1 0.8 0.84
11.599 12 11.6 11.60

การคูณ

การคูณทศนิยมกับจานวนนับ เราสามารถทาได้ถึง 3 วิธี ได้แก่


 บวกทศนิยมนั้นซ้า ๆ กัน เช่น 3 × 1.5
= 1.5 + 1.5 +1.5
= 4.5
 เขียนทศนิยมในรูปเศษส่วน หาผลคูณแล้วเขียนในรูปทศนิยม
15
เช่น 3 × 1.5 = 3 ×
10
3  15
=
10
45
=
10
= 4.5
105
เช่น 5 × 1.05 = 5 ×
100
5  105
=
100
525
=
100
= 5.25
วิชาคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ห น้ า | 41

 โดยการตั้งคูณแบบเดียวกับการคูณจานวนนับกับจานวนนับ แต่ผลที่ได้จะใช้เป็นหลักในการจา
ได้ว่า
 ผลคูณของจานวนนับกับทศนิยม 1 ตาแหน่งเป็นทศนิยม 1 ตาแหน่ง
 ผลคูณของจานวนนับกับทศนิยม 2 ตาแหน่งเป็นทศนิยม 2 ตาแหน่ง
 ผลคูณของจานวนนับกับทศนิยม 3 ตาแหน่งเป็นทศนิยม 3 ตาแหน่ง

ตัวอย่างที่ 1 จงหาผลคูณของ 9 × 3.8


วิธีทา 3.8 ×
9
34.2
ตอบ ๓๔.๒
ตัวอย่างที่ 2 จงหาผลคูณของ 41 × 1.28
วิธีทา 1.28 ×
41
128
5120
52.48
ตอบ ๕๒.๔๘
 การคูณทศนิยมด้วย 10 เลื่อนทศนิยมไปทางขวา 1 ตาแหน่ง เช่น 4.5 × 10 = 45.0 หรือ 45
7.653 × 10 = 76.53 325.855 × 10 = 3,258.55
 การคูณทศนิยมด้วย 100 เลื่อนทศนิยมไปทางขวา 2 ตาแหน่ง เช่น 4.5 × 100 = 450.0
7.653 × 100 = 765.3 325.855 × 100 = 32,585.5
 การคูณทศนิยมด้วย 1,000 เลื่อนทศนิยมไปทางขวา 3 ตาแหน่ง เช่น 4.5 × 1,000 = 4,500.0
7.653 × 1,000 = 7653 325.855 × 1,000 = 325,855
การคูณทศนิยมกับทศนิยม
 การคูณทศนิยมกับทศนิยม อาจทาได้โดยเขียนทศนิยมในรูปเศษส่วน หาผลคูณแล้วเขียนใน
รูปทศนิยม
***การคูณทศนิยมกับทศนิยม ผลคูณเป็นทศนิยมที่มีจานวนตาแหน่งเท่ากับผลรวมของจานวน
ตาแหน่งของทศนิยม  ทศนิยม 1 ตาแหน่ง คูณกับทศนิยม 1 ตาแหน่ง ผลคูณเป็นทศนิยม 2 ตาแหน่ง
 ทศนิยม 1 ตาแหน่ง คูณกับทศนิยม 2 ตาแหน่ง ผลคูณเป็นทศนิยม 3 ตาแหน่ง

** การคูณทศนิยมกับจานวนนับ เมื่อสลับที่กัน ผลคูณยังเท่าเดิม


การคูณทศนิยมกับทศนิยม เมื่อสลับที่กัน ผลคูณยังเท่าเดิม**
ห น้ า | 42 วิชาคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5

ตัวอย่างที่ 1 จงหาผลคูณของ 0.2 × 2.7


2 27
วิธีทา 0.2 × 2.7 = ×
10 10
2  27
=
10  10
54
=
100
= 0.54
ตอบ ๐.๕๔

ตัวอย่างที่ 2 จงหาผลคูณของ 11.4 × 0.37


114 37
วิธีทา 11.4 × 0.37 = ×
10 100
114  37
=
10  100
4218
=
1000
= 4.218
ตอบ ๔.๒๑๘

 การคูณทศนิยมกับทศนิยม อาจทาได้โดยการตั้งคูณแบบเดียวกับจานวนนับ โดยผลคูณเป็น


ทศนิยมที่มีจานวนตาแหน่งเท่ากับผลรวมของจานวนตาแหน่งของทศนิยม
ตัวอย่างที่ 1 จงหาผลคูณของ 0.9 × 3.8
วิธีทา 3.8 ×
0.9
3.42
ตอบ ๓.๔๒
ตัวอย่างที่ 2 จงหาผลคูณของ 4.1 × 1.28
วิธีทา 1.28 ×
4.1
128
5 120
5.248
ตอบ ๕.๒๔๘
วิชาคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ห น้ า | 43

การหาร
 การหารทศนิยมด้วยจานวนนับ โดยการเขียนทศนิยมในรูปเศษส่วน แล้วหาผลหารของ
เศษส่วนกับจานวนนับ และเขียนผลหารในรูปทศนิยม
ตัวอย่างที่ 1 จงหาผลหารของ 4.8 ÷ 2
48
วิธีทา 4.8 ÷ 2 = ÷2
10
48 1
= ×
10 2
48  1
=
10  2
24
=
10
= 2.4
ตอบ ๒.๔
ตัวอย่างที่ 2 จงหาผลหารของ 7.665 ÷ 15
7665
วิธีทา 7.665 ÷ 15 = ÷ 15
1000
7665 1
= ×
1000 15
7665  1
=
1000  15
511
=
1000
= 0.511
ตอบ ๐.๕๑๑
 การหารทศนิยมด้วยจานวนนับ โดยการตั้งหาร
ตัวอย่างที่ 1 หาผลลัพธ์ของ 52.11 ÷ 9
วิธีทา 5.79
9 52.11
45
71
63
81
81
0
ตอบ ๕.๗๙
ห น้ า | 44 วิชาคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5

ตัวอย่างที่ 2 หาผลหารของ 85.95 ÷ 18


วิธีทา 4.775
18 85.950
72 หารไปเจอจุดในตัวตั้ง
139 ให้ใส่จุดในผลหารทีต่ รงกัน
126
135
126
90
90
0
ตอบ ๔.๗๗๕
 การหารจานวนนับด้วยจานวนนับ โดยการตั้งหาร
ตัวอย่างที่ 3 หาผลหารของ 5 ÷ 2
วิธีทา 2.5 หารแล้วเหลือเศษให้ใส่จุดที่
2 5 ผลหารแล้วเติม 0 ที่ตัวตั้ง
4
10
10
0
ตอบ 2.5
 การหารทศนิยมด้วย 10 เลื่อนทศนิยมไปทางซ้าย 1 ตาแหน่ง เช่น 4.5 ÷ 10 = 0.45
 การหารทศนิยมด้วย 100 เลื่อนทศนิยมไปทางซ้าย 2 ตาแหน่ง เช่น 237.5 ÷ 100 = 2.375
 การหารทศนิยมด้วย 1,000 เลื่อนทศนิยมไปทางซ้าย 3 ตาแหน่ง เช่น 526 ÷ 1,000 = 0.526
ทศนิยมกับการวัด
ความสัมพันธ์ระหว่างหน่วยความยาว
1 เซนติเมตร เท่ากับ 10 มิลลิเมตร เรามักได้ยินน้าหนัก
1 เมตร เท่ากับ 100 เซนติเมตร หน่วยเป็น “ตัน”
1 กิโลเมตร เท่ากับ 1,000 เมตร นั่นคือมาจากคาว่า
“เมตริกตัน"
ความสัมพันธ์ระหว่างหน่วยน้าหนัก
1 กิโลกรัม เท่ากับ 1,000 กรัม
1 เมตริกตัน เท่ากับ 1,000 กิโลกรัม
ความสัมพันธ์ระหว่างหน่วยปริมาตร
1 ลิตร เท่ากับ 1,000 มิลลิลิตร
วิชาคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ห น้ า | 45

การหาคาตอบของโจทย์ปัญหาเกี่ยวกับความยาว เกี่ยวกับน้าหนัก และเกี่ยวกับปริมาตร ที่มีการ


เปลี่ยนหน่วย ซึ่งผลที่ได้จะเป็นทศนิยม อาจใช้หลักการสังเกตง่ายๆในการหาคาตอบ ดังนี้
 เปลี่ยนจากหน่วยที่ใหญ่เป็นหน่วยที่เล็กกว่า ใช้วิธีการคูณ
 เปลี่ยนจากหน่วยที่เล็กเป็นหน่วยที่ใหญ่กว่า ใช้วิธีการหาร
ตัวอย่างที่ 1 ริบบิ้นยาว 7.75 เมตร คิดเป็นกี่เมตร กี่เซนติเมตร
วิธีคิด 7.75 เมตร เท่ากับ 7 เมตร กับ 0.75 เมตร
เนื่องจาก 1 เมตร เท่ากับ 100 เซนติเมตร
ดังนั้น 0.75 เมตร คิดเป็น 0.75 × 100 = 75 เซนติเมตร
แสดงกว่า 7.75 เมตร คิดเป็น 7 เมตร 75 เซนติเมตร
ตอบ ๗ เมตร ๗๕ เซนติเมตร
ตัวอย่างที่ 2 พ่อปั่นจักรยานเป็นระยะทาง 2,580 เมตร คิดเป็นระยะทางกี่กิโลเมตร
วิธีคิด เนื่องจาก 1 กิโลเมตร เท่ากับ 1,000 เมตร
ดังนั้น 2,580 เมตร คิดเป็น 2,580 ÷ 1,000 = 2.58 กิโลเมตร
ตอบ ๒.๕๘ กิโลเมตร
ตัวอย่างที่ 3 เนื้อหมู 5.56 กิโลกรัม คิดเป็นกี่กิโลกรัม กี่กรัม
วิธีคิด 5.56 กิโลกรัม เท่ากับ 5 กิโลกรัม กับ 0.56 กิโลกรัม
เนื่องจาก 1 กิโลกรัม เท่ากับ 1,000 กรัม
ดังนั้น 0.56 กิโลกรัม เท่ากับ 0.56 × 1,000 = 560 กรัม
แสดงว่า 5.56 กิโลกรัม คิดเป็น 5 กิโลกรัม 560 กรัม
ตอบ ๕ กิโลกรัม ๕๖๐ กรัม
ตัวอย่างที่ 4พ่อซื้อหิน 4,585 กิโลกรัม คิดเป็นกี่เมตริกตัน
วิธีคิด เนื่องจาก 1 เมตริกตัน เท่ากับ 1,000 กิโลกรัม
ดังนั้น 4,585 กิโลกรัม คิดเป็น 4,585 ÷ 1,000 = 4.585 เมตริกตัน
ตอบ ๔.๕๘๕ เมตริกตัน
ตัวอย่างที่ 5น้าผลไม้ 2.25 ลิตร คิดเป็นกี่ลิตร กี่มิลลิลิตร
วิธีคิด 2.25 ลิตร เท่ากับ 2 ลิตร กับ 0.25 มิลลิลิตร
เนื่องจาก 1 ลิตร เท่ากับ 1,000 มิลลิลิตร
ดังนั้น 0.25 ลิตร เท่ากับ 0.25 × 1,000 = 250 มิลลิลิตร
แสดงว่า 2.25 ลิตร คิดเป็น 2 ลิตร 250 มิลลิลิตร
ตอบ ๒ ลิตร ๒๕๐ มิลลิลิตร
ตัวอย่างที่ 6น้ามันพืช 22,850 มิลลิลิตร คิดเป็นกี่ลิตร
วิธีคิด เนื่องจาก 1 ลิตร เท่ากับ 1,000 มิลลิลิตร
ดังนั้น 22,850 มิลลิลิตร คิดเป็น 22,850 ÷ 1,000 = 22.85 ลิตร
ตอบ ๒๒.๘๕ ลิตร
ห น้ า | 46 วิชาคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5

โจทย์ปัญหา

การวิเคราะห์โจทย์ปัญหา เมื่ออ่านโจทย์แล้วให้พิจารณาสิ่งที่โจทย์ถาม และสิ่งที่โจทย์บอก นาข้อมูลที่


ได้มาวิเคราะห์หาวิธีหาคาตอบโดยการคูณหรือหาร
การแก้โจทย์ปัญหา 1 ขั้นตอน

ตัวอย่างที่ 1 พ่อมีที่ดิน 21.6 ไร่ แบ่งให้ลูก 3 คน คนละเท่า ๆ กัน ลูกแต่ละคนจะได้รับคนละกี่ไร่


สิ่งที่โจทย์ถาม  ลูกแต่ละคนจะได้รับคนละกี่ไร่
สิ่งที่โจทย์บอก  1) พ่อมีที่ดิน 21.6 ไร่
2) แบ่งให้ลูก 3 คน คนละเท่า ๆ กัน
จากสิ่งทีโ่ จทย์ให้จะเห็นว่า มีการแบ่งอย่างละเท่า ๆ กัน ดังนั้นใช้การหาร
วิธีทา พ่อมีที่ดิน 21.6 ไร่
แบ่งให้ลูก 3 คน คนละเท่า ๆ กัน
ลูกแต่ละคนจะได้รับคนละ 21.6 ÷ 3 = 7.2 ไร่
ตอบ ๗.๒ ไร่

ตัวอย่างที่ 2 ขนม 1 ชิ้น หนัก 5.74 กรัม หาก 1 กล่องมี 36 ชิ้น ขนม 1 กล่องจะหนักเท่าใด
สิ่งที่โจทย์ถาม  ขนม 1 กล่องจะหนักเท่าใด
สิ่งที่โจทย์บอก  1) ขนม 1 ชิ้น หนัก 5.74 กรัม
2) 1 กล่องมี 36 ชิ้น
จากสิ่งทีโ่ จทย์ให้จะเห็นว่า ขนมแต่ละชิ้นมีน้าหนักเท่ากัน เมื่อมีจานวนหลายชิ้นหาน้าหนักได้โดยการคูณ
วิธีทา ขนม 1 ชิ้น หนัก 5.74 กรัม
หาก 1 กล่องมี 36 ชิ้น
ขนม 1 กล่องจะหนัก 36 × 5.74 = 206.64 กรัม
ตอบ ๒๐๖.๖๔ กรัม

การแก้โจทย์ปัญหา 2 ขั้นตอน
ตัวอย่างที่ 3 ยา 1 เม็ด มีปริมาณยา 0.25 กรัม ถ้ามียา 1,200,000 เม็ด จะมีปริมาณยากี่กิโลกรัม
สิ่งที่โจทย์ถาม  จะมีปริมาณยากี่กิโลกรัม
สิ่งที่โจทย์บอก  1) ยา 1 เม็ด มีปริมาณยา 0.25 กรัม
2) ถ้ามียา 1,200,000 เม็ด
จากโจทย์ หาปริมาณยาด้วยการคูณปริมาณแต่ละเม็ดกับจานวนเม็ด แต่เนื่องจากโจทย์ถามหน่วย
กิโลกรัม ให้เปลี่ยนหน่วยเป็นกิโลกรัม
วิธีทา ยา 1 เม็ด มีปริมาณยา 0.25 กรัม
ถ้ามียา 1,200,000 เม็ด
จะมีปริมาณยา 1,200,000 × 0.25 = 300,000 กรัม
เนื่องจาก 1 กิโลกรัม เท่ากับ 1,000 กรัม
วิชาคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ห น้ า | 47

ดังนั้น 300,000 กรัม คิดเป็น 300,000 ÷ 1,000 = 300 กิโลกรัม


ตอบ ๓๐๐ กิโลกรัม
ตัวอย่างที่ 4 แม่ค้ามีน้าผลไม้ 7,780 มิลลิลิตร ขายไป 1.3 ลิตร น้าผลไม้ที่เหลือน้าไปบรรจุขวดละ
180 มิลลิลิตร จะบรรจุได้กี่ขวด
สิ่งที่โจทย์ถาม  จะบรรจุได้กี่ขวด
สิ่งที่โจทย์บอก  1) แม่ค้ามีน้าผลไม้ 7,780 มิลลิลิตร
2) ขายไป 1.3 ลิตร
3) น้าผลไม้ที่เหลือน้าไปบรรจุขวดละ 180 มิลลิลิตร
จากโจทย์ จะหาว่าบรรจุได้กี่ขวดต้องหาว่าน้าผลไม้ที่เหลือมีปริมาตรเท่าใด โดยการนาที่ขายไปลบออก
จากที่มีอยู่ จากนั้นการบรรจุขวด บรรจุขนาดเท่ากันจึงใช้การหาร
วิธีทา แม่ค้ามีน้าผลไม้ 7,780 มิลลิลิตร
ขายไป 1.3 ลิตร คิดเป็น 1,300 มิลลิลิตร
แม่ค้าเหลือน้าผลไม้ 7,780 – 1,300 = 6,480 มิลลิลิตร
นาไปบรรจุขวดละ 180 มิลลิลิตร
บรรจุได้ 6,480 ÷ 180 = 36 ขวด
ตอบ ๓๖ ขวด

ตัวอย่างที่ 5 บอยออกเดินทางจากบ้านไปยังบ้านเพื่อนเป็นระยะทาง 3.5 กิโลเมตร จากนั้น


เดินทางต่อไปยังสนามเด็กเล่น เป็นระยะทาง 4.75 กิโลเมตร หากบอยใช้เวลาในการเดินทางทั้งหมด 3 ชั่วโมง
จงหาว่าบอยเดินทางได้เฉลี่ยชั่วโมงละกี่กิโลเมตร
สิ่งที่โจทย์ถาม  บอยเดินทางได้เฉลี่ยชั่วโมงละกี่กิโลเมตร
สิ่งที่โจทย์บอก  1) บอยออกเดินทางจากบ้านไปยังบ้านเพื่อนเป็นระยะทาง 3.5 กิโลเมตร
2) จากนั้นเดินทางต่อไปยังสนามเด็กเล่น เป็นระยะทาง 4.75 กิโลเมตร
3) บอยใช้เวลาในการเดินทางทั้งหมด 3 ชั่วโมง
จากโจทย์ การหาค่าเฉลี่ยคือการนาจานวนข้อมูลไปหารผลรวมของข้อมูล ดังนั้นจะต้องรวม
ระยะทางการเดินทางทั้งหมดของบอยก่อนด้วยการบวก แล้วจึงหารด้วยเวลาที่ใช้
วิธีทา บอยออกเดินทางจากบ้านไปยังบ้านเพื่อนเป็นระยะทาง 3.5 กิโลเมตร
จากนั้นเดินทางต่อไปยังสนามเด็กเล่น เป็นระยะทาง 4.75 กิโลเมตร
รวมบอยเดินทางเป็นระยะทาง 3.5 + 4.75 = 8.25 กิโลเมตร
บอยใช้เวลาในการเดินทางทั้งหมด 3 ชั่วโมง
บอยเดินทางได้เฉลี่ยชั่วโมงละ 8.25 ÷ 3 = 2.75 กิโลเมตร
ตอบ เฉลี่ยชั่วโมงละ 2.75 กิโลเมตร
ห น้ า | 48 วิชาคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5

ใบงานที่ 2.1 เรื่อง การเขียนเศษส่วนในรูปทศนิยม


สาระที่ 1 จานวนและพีชคณิต ตัวชี้วัด ค 1.1 ป.5/1
ชื่อ – สกุล ชั้น เลขที่
แสดงวิธีเขียนในรูปทศนิยม
3 7
1) 2)
2 8

123 27
3) 4)
40 25

51 45
5) 6)
12 75

36 27
7) 8)
16 60
วิชาคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ห น้ า | 49

ใบงานที่ 2.2 เรื่อง การหาค่าประมาณ


สาระที่ 1 จานวนและพีชคณิต ตัวชี้วัด ค 1.1 ป.5/1
ชื่อ – สกุล ชั้น เลขที่

จงหาค่าประมาณ
ค่าประมาณ
ข้อ จานวน
เป็นจานวนเต็มหน่วย เป็นทศนิยม 1 ตาแหน่ง เป็นทศนิยม 2 ตาแหน่ง

1 5.256

2 3.829

3 4.119

4 0.452

5 1.999

6 5.752

7 11.624

8 75.143

9 110.854

10 215.528
ห น้ า | 50 วิชาคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5

ใบงานที่ 2.3 เรื่อง การคูณทศนิยมกับจานวนนับ


สาระที่ 1 จานวนและพีชคณิต ตัวชี้วัด ค 1.1 ป.5/6
ชื่อ – สกุล ชั้น เลขที่

โยงเส้นจับคู่โจทย์ทางซ้ายและผลลัพธ์ทางขวา

1) 2.5 × 5 ก. 345

2) 1.25 × 8 ข. 40.932

3) 6 × 3.8 ค. 10

4) 7 × 4.05 ง. 726

5) 12 × 3.411 จ. 22.8

6) 0.782 × 4 ฉ. 3.128

7) 6.6 × 110 ช. 12.42

8) 11.5 × 30 ซ. 12.5

9) 6 × 2.07 ฌ. 889.2

10) 114 × 7.8 ญ. 28.35


วิชาคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ห น้ า | 51

ใบงานที่ 2.4 เรื่อง การคูณทศนิยมกับทศนิยม


สาระที่ 1 จานวนและพีชคณิต ตัวชี้วัด ค 1.1 ป.5/6
ชื่อ – สกุล ชั้น เลขที่

แสดงวิธีหาผลคูณ

1) 1.2 × 1.4 2) 1.35 × 0.8

3) 4.62 × 5.5 4) 8.2 × 4.7

5) 15.3 × 0.09 6) 40.18 × 1.7

7) 6.07 × 1.2 8) 5.55 × 5.5


ห น้ า | 52 วิชาคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5

ใบงานที่ 2.5 เรื่อง การหารทศนิยม


สาระที่ 1 จานวนและพีชคณิต ตัวชี้วัด ค 1.1 ป.5/7
ชื่อ – สกุล ชั้น เลขที่

แสดงวิธีหาผลหาร

1) 1.55 ÷ 5 2) 3.027 ÷ 3

3) 18.624 ÷ 6 4) 280.63 ÷ 7

5) 8 ÷ 5 6) 14 ÷ 35

7) 11 ÷ 4 8) 57 ÷ 6
วิชาคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ห น้ า | 53

ใบงานที่ 2.6 เรื่อง การคูณ การหารทศนิยมด้วย 10 100 และ 1,000


สาระที่ 1 จานวนและพีชคณิต ตัวชี้วัด ค 1.1 ป.5/5, ป.5/7
ชื่อ – สกุล ชั้น เลขที่

หาผลลัพธ์
1) 4.188 × 10 = 2) 4.188 ÷ 10 =

3) 4.188 × 100 = 4) 3.6 ÷ 100 =

5) 4.188 × 1,000 = 6) 147.62 ÷ 1,000 =

7) 3.7 × 20 = 8) 6.8 ÷ 10 =

9) 0.8 × 900 = 10) 72.5 ÷ 100 =

11) 5.6 × 2,000 = 12) 1346.6 ÷ 1,000 =

13) 9.1 × 800 = 14) 12.2 ÷ 10 =

15) 1.025 × 300 = 16) 51.6 ÷ 100 =

17) 6.9 × 900 = 18) 6 ÷ 1,000 =


ห น้ า | 54 วิชาคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5

ใบงานที่ 2.7 เรื่อง ทศนิยมกับการวัด


สาระที่ 1 จานวนและพีชคณิต ค 1.1 ป.5/8 สาระที่ 2 การวัดและเรขาคณิต ค 2.1 ป.5/1, ป.5/2
ชื่อ – สกุล ชั้น เลขที่

หาคาตอบ
1) เชือกยาว 1.5 เมตร เท่ากับกี่เมตร กี่เซนติเมตร

2) น้า 2.5 ลิตร เท่ากับกี่มิลลิลิตร

3) ดินสอยาว 17 มิลลิเมตร เท่ากับกี่เซนติเมตร

4) ผักกาดหนัก 2.77 กิโลกรัม เท่ากับกี่กิโลกรัม กี่กรัม

5) พริกไทยดา 950 กรัม คิดเป็นกี่กิโลกรัม

6) ทุเรียน 3.2 กิโลกรัม คิดเป็นกี่กิโลกรัม กี่กรัม

7) รถบรรทุกหิน 5.6 เมตริกตัน คิดเป็นกี่เมตริกตัน กี่กิโลกรัม

8) พี่สูง 163 เซนติเมตร พี่สูงกี่เมตร

9) เข็มเย็บผ้ายาว 32 มิลลิเมตร เข็มเย็บผ้ายาวกี่เซนติเมตร

10) น้ายารีดผ้า 6.15 ลิตร คิดเป็นกี่มิลลิลิตร


วิชาคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ห น้ า | 55

ใบงานที่ 2.8 เรื่อง โจทย์ปัญหา 1 ขั้นตอน


สาระที่ 1 จานวนและพีชคณิต ตัวชี้วัด ค 1.1 ป.5/8
ชื่อ – สกุล ชั้น เลขที่

เขียนวิธีคิดและหาคาตอบ

1. น้าผลไม้มีปริมาตรกระป๋องละ 0.35 ลิตร ถ้ามีน้าผลไม้ 30 กระป๋อง จะมีน้าผลไม้กี่ลิตร


วิธีคิด
ตอบ

2. ปากกาโหลละ 150 บาท ปากกาด้ามละเท่าใด


วิธีคิด
ตอบ

3. ซื้อขนม 10 ห่อ ห่อละ 18.25 บาท คิดเป็นเงินเท่าใด


วิธีคิด
ตอบ

4. แม่ค้าขายไก่ทอดมีน้ามันพืช 2.5 ลิตร แบ่งทอดครั้งละเท่า ๆ กันได้ 20 ครั้ง แม่ค้าใช้น้ามันครั้งละ


กี่มลิ ลิลิตร
วิธีคิด
ตอบ

5. ลุงเก็บมังคุดได้ 16.8 กิโลกรัม ต้องการแบ่งเพื่อนบ้าน 4 คน ได้คนละกี่กิโลกรัม


วิธีคิด
ตอบ
ห น้ า | 56 วิชาคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5

ใบงานที่ 2.9 เรื่อง โจทย์ปัญหา 2 ขั้นตอน (1)


สาระที่ 1 จานวนและพีชคณิต ตัวชี้วัด ค 1.1 ป.5/8
ชื่อ – สกุล ชั้น เลขที่

แสดงวิธีทาและหาคาตอบ

1. สมชายมีที่ดิน 45.8 ไร่ ซื้อเพิ่มอีก 14.5 ไร่ แบ่งที่ดินเป็นแปลง 3 แปลง ได้แปลงละกี่ไร่


วิธีทา

ตอบ

2. เชือกเส้นหนึ่งยาว 52.5 เมตร นามาตัดให้ยาวเท่า ๆ กัน ได้ 15 เส้น และเหลือเชือกยาว 1.5 เมตร จงหา
ว่าเชือกแต่ละเส้นที่ตัดได้ยาวกี่เซนติเมตร
วิธีทา

ตอบ
วิชาคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ห น้ า | 57

ใบงานที่ 2.10 เรื่อง โจทย์ปัญหา 2 ขั้นตอน (2)


สาระที่ 1 จานวนและพีชคณิต ตัวชี้วัด ค 1.1 ป.5/8
ชื่อ – สกุล ชั้น เลขที่

แสดงวิธีทาและหาคาตอบ

1. ปรีชาจ่ายค่าไฟฟ้าเดือนแรก 1,285.75 บาท เดือนที่สองค่าไฟ 1,185.75 บาท เฉลี่ยปรีชาจ่ายค่าไฟฟ้า


เดือนละเท่าใด
วิธีทา

ตอบ

2. แม่มีข้าวอยู่ 37.5 ลิตร ใช้หุงวันละ 1.5 ลิตรเป็นเวลา 3 สัปดาห์ แม่จะเหลือข้าวกี่ลิตร


วิธีทา

ตอบ
ห น้ า | 58 วิชาคณิตศาสตร์ ชัน้ ประถมศึกษาปีที่ 5

แบบทดสอบบทที่ 2 เรื่อง ทศนิยม


ตัวชี้วัด ค 1.1 ป.5/1, ป.5/6, ป.5/7, ป.5/8 และ ค 2.1 ป.5/1, ป.5/2
ชื่อ – สกุล ชั้น เลขที่

ทาเครื่องหมาย X ทับข้อที่ถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียว

5
1. เขียนในรูปทศนิยมได้ตรงกับข้อใด 7. ข้อใดเป็นผลคูณของ 9.7 × 2.5
4
ก. 2,425 ข. 242.5
ก. 1.25 ข. 1.35
ค. 24.25 ง. 2.425
ค. 4.5 ง. 5.4
1 8. ข้อใดเป็นผลคูณของ 3.18 × 4.2
2. 3 เขียนในรูปทศนิยมได้ตรงกับข้อใด ก. 13.356 ข. 133.56
40
ก. 3.025 ข. 3.052 ค. 1,335.6 ง. 13,356.0
ค. 3.250 ง. 3.520
9. ข้อใดเป็นผลหารของ 9.441 ÷ 3
3. ข้อใดเป็นประมาณค่าทศนิยมเป็นจานวน ก. 314.7 ข. 31.47
เต็มหน่วย ไม่ถูกต้อง ค. 3.147 ง. 0.3147
ก. 3.15  3 ข. 3.51  3
10. ข้อใดเป็นผลหารของ 14 ÷ 25
ค. 3.51  4 ง. 5.25  5
ก. 0.056 ข. 0.56
ค. 5.6 ง. 56
4. ข้อใดเป็นประมาณค่าทศนิยมเป็นทศนิยม 2
ตาแหน่ง ไม่ถูกต้อง
11. ข้อใดไม่ถูกต้อง
ก. 4.281  4.28 ข. 0.575  0.58 ก. 1.5 กิโลกรัม เท่ากับ 1,500 กรัม
ค. 8.499  8.50 ง. 7.626  7.62 ข. 8.2 ลิตร เท่ากับ 820 มิลลิลิตร
5. ข้อใดเป็นผลคูณของ 4 × 8.23 ค. 1,675 เมตร เท่ากับ 1.675 กิโลเมตร
ก. 328.2 ข. 32.82 ง. 45 มิลลิเมตร เท่ากับ 4.5 เซนติเมตร
ค. 32.92 ง. 3.292
12. แม่ซื้อเงาะ 6.2 กิโลกรัม ราคากิโลกรัมละ
6. ข้อใดไม่ถูกต้อง 12.50 บาท แม่ต้องจ่ายเงินเท่าใด
ก. 65.27 × 100 = 652.7 ก. 79.75 บาท ข. 79.50 บาท
ข. 1.832 × 10 = 18.32 ค. 78.50 บาท ง. 77.50 บาท
ค. 4.861 × 100 = 486.1
ง. 14.622 × 1,000 = 14,622
วิชาคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ห น้ า | 59

13. ครูมีเชือกยาว 16 เมตร ตัดแบ่งให้ลูกเสือ 5 15. แม่ค้าบรรจุขนมได้ 24 ถุง ถุงละ 750 กรัม
คน คนละเท่า ๆ กัน จะได้เชือกยาวคนละกี่เมตร ยังเหลือขนมอีก 1.2 กิโลกรัม เดิมแม่ค้ามีขนม
ก. 3.3 เมตร ข. 3.25 เมตร กี่กิโลกรัม
ค. 3.2 เมตร ง. 3.15 เมตร ก. 18,001.20 กิโลกรัม
ข. 18.2 กิโลกรัม
14. ศิริพรจ่ายค่าน้าประปาเดือนแรก 235.75 บาท ค. 181.2 กิโลกรัม
เดือนที่สอง 189.25 บาท และเดือนที่สาม 211.75 ง. 19.2 กิโลกรัม
บาท เฉลี่ย 3 เดือน ศิริพรจ่ายค่าน้าเดือนละเท่าใด
ก. 212 บาท ข. 212.25 บาท
ค. 212.50 บาท ง. 212.75 บาท
ห น้ า | 60 วิชาคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5

เฉลยบทที่ 2
ทศนิยม
เฉลยใบงานที่ 2.1
1) 1.5 2) 0.875 3) 3.075 4) 1.08
5) 4.25 6) 0.6 7) 2.25 8) 0.45
เฉลยใบงานที่ 2.2
ค่าประมาณ
ข้อ จานวน
เป็นจานวนเต็มหน่วย เป็นทศนิยม 1 ตาแหน่ง เป็นทศนิยม 2 ตาแหน่ง
1 5.256 5 5.3 5.26
2 3.829 4 3.8 3.83
3 4.119 4 4.1 4.12
4 0.452 0 0.5 0.45
5 1.999 2 2.0 2.00
6 5.752 6 5.8 5.75
7 11.624 12 11.6 11.62
8 75.143 75 75.1 75.14
9 110.854 111 110.9 110.85
10 215.528 216 215.5 215.53
เฉลยใบงานที่ 2.3
1) ซ 2) ค 3) จ 4) ญ 5) ข
6) ฉ 7) ง 8) ก 9) ช 10) ฌ
เฉลยใบงานที่ 2.4
1) 1.68 2) 1.08 3) 25.41 4) 38.54
5) 1.377 6) 68.306 7) 7.284 8) 30.525

เฉลยใบงานที่ 2.5
1) 0.31 2) 1.009 3) 3.104 4) 40.09
5) 1.6 6) 0.4 7) 2.75 8) 9.5
เฉลยใบงานที่ 2.6
1) 41.88 2) 0.4188 3) 418.8 4) 0.036 5) 4,188
6) 0.14762 7) 74 8) 0.68 9) 720 10) 0.725
11) 11,200 12) 1.3466 13) 7,280 14) 1.22 15) 307.5
16) 0.516 17) 6,210 18) 0.006
วิชาคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ห น้ า | 61

เฉลยใบงานที่ 2.7
1) 1 เมตร 50 เซนติเมตร
2) 2,500 มิลลิลิตร
3) 1.7 เซนติเมตร
4) 2 กิโลกรัม 770 กรัม
5) 0.95 กิโลกรัม
6) 3 กิโลกรัม 200 กรัม
7) 5 เมตริกตัน 600 กิโลกรัม
8) 1.63 เมตร
9) 3.2 เซนติเมตร
10) 6,150 มิลลิลิตร
เฉลยใบงานที่ 2.8
1) ใช้วิธีการคูณ 30 × 0.35
ตอบ 10.5 ลิตร
2) ใช้วิธีการหาร 150 ÷ 12 (1 โหลเท่ากับ 12 ด้าม)
ตอบ 12.50 บาท
3) ใช้วิธีการคูณ 10 × 18.25
ตอบ 182.50 บาท
4) ใช้วิธีการเปลี่ยน 2.5 ลิตรให้เป็นมิลลิลิตร แล้วจึงหาร (2.5 × 1,000) ÷ 20 ลิตร
หรือ หารแล้วจึงเปลี่ยนหน่วย (2.5 ÷ 20) × 1,000
ตอบ 125 มิลลิลิตร
5) ใช้วิธีการหาร 16.8 ÷ 4
ตอบ 4.2 กิโลกรัม
เฉลยใบงานที่ 2.9
1. วิธีทา สมชายมีที่ดิน 45.8 ไร่
ซื้อเพิ่มอีก 14.5 ไร่
สมชายมีที่ดิน 45.8 + 14.5 = 60.3 ไร่
แบ่งที่ดินเป็นแปลง 3 แปลง
ได้แปลงละ 60.3 ÷ 3 = 20.1 ไร่
ตอบ ๒๐.๑ ไร่
2. วิธีทา เชือกเส้นหนึ่งยาว 52.5 เมตร
นามาตัดให้ยาวเท่า ๆ กัน ได้ 15 เส้น
และเหลือเชือกยาว 1.5 เมตร
ความยาวเชือกที่นามาตัดเป็น 52.5 – 1.5 = 51 เมตร
เชือกแต่ละเส้นที่ตัดได้ยาว 51 ÷ 15 = 3.4 เมตร
คิดเป็น 3.4 × 100 = 340 เซนติเมตร
ตอบ ๓๔๐ เซนติเมตร
ห น้ า | 62 วิชาคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5

เฉลยใบงานที่ 2.10
1. วิธีทา ปรีชาจ่ายค่าไฟฟ้าเดือนแรก 1,285.75 บาท
เดือนที่สองค่าไฟ 1,185.75 บาท
รวมสองเดือนปรีชาจ่ายค่าไฟฟ้า 1,285.75 + 1,185.75 = 2,471.50 บาท
เฉลี่ยปรีชาจ่ายค่าไฟฟ้า เดือนละ 2,471.50 ÷ 2 = 1,235.75 บาท
ตอบ ๒๐.๑ ไร่
2. วิธีทา แม่มีข้าวอยู่ 37.5 ลิตร
ใช้หุงวันละ 1.5 ลิตร
หุงข้าวเป็นเวลา 3 สัปดาห์ คิดเป็น 21 วัน
ใช้ข้าวไป 21 × 1.5 = 31.5 ลิตร
แม่จะเหลือข้าว 37.5 – 31.5 = 6 ลิตร
ตอบ ๖ ลิตร

เฉลยแบบทดสอบบทที่ 2
1. ก 2. ก 3. ข 4. ง 5. ค
6. ก 7. ค 8. ก 9. ค 10. ข
11. ข 12. ง 13. ค 14. ข 15. ง

วิธีคิดข้อ 15
แม่ค้าบรรจุขนมได้ 24 ถุง
ถุงละ 750 กรัม
แม่ค้าบรรจุขนมไป 24 × 750 = 18,000 กรัม
คิดเป็น 18,000 ÷ 1,000 = 18 กิโลกรัม
ยังเหลือขนมอีก 1.2 กิโลกรัม
เดิมแม่ค้ามีขนม 18 + 1.2 = 19.2 กิโลกรัม
ตอบข้อ ง 19.2 กิโลกรัม

You might also like