You are on page 1of 68

คณิตศาสตร์พื้นฐาน (ค21101) 1 กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์

ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย ธนบุรี

หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
จานวนเต็ม

คณิ ต ศาสตร์ เ ริ่ ม จากเป็ น เกร็ ด ความรู้ ที่ ม นุ ษ ย์ น ามาใช้ ใ ห้ เ ป็ น ประโยชน์ ใ นการด ารงชี วิ ต
ในสมัย สี่ พันปี ก่อนค่อยๆ มีกฎเกณฑ์ทวีเพิ่มพูนขึ้นตลอดมา คณิตศาสตร์เปรียบเหมือนต้นไม้ นับวันจะ
ผลิ ดอกออกผลน าประโยชน์มาให้ มนุษยชาติ มนุษย์ทุกยุคทุกสมัยสนใจวิชาคณิตศาสตร์ การให้ ความรู้
ทางคณิตศาสตร์แก่เยาวชนของชาติ จึงมีความสาคัญอย่างมาก
 นั ก เรี ย นคิ ด ว่ า อะไรเป็ น มู ล เหตุ ที่ ท าให้ ม นุ ษ ย์ จ าเป็ น ต้ อ งเกี่ ย วข้ อ งกั บ จ านวนนั บ และ
การนับ
...........................................................................................................................................
...........................................................................................................................................
...........................................................................................................................................
 นักเรียนคิดว่าในอดีตมนุษย์มีวิธีในการนับสิ่งต่าง ๆ อย่างไร เขียนภาพพร้อมบรรยาย
...........................................................................................................................................
...........................................................................................................................................
...........................................................................................................................................
 จานวนและตัวเลขเหมือนหรือแตกต่างกันอย่างไร
...........................................................................................................................................
...........................................................................................................................................
...........................................................................................................................................
ในชีวิตประจาวันมนุษย์หลีกเลี่ยงไม่ได้ที่จะต้องเกี่ยวข้องกับจานวนและตัวเลข มนุษย์ต้องการ
ทราบว่าสิ่งของต่าง ๆ ที่ตนมีอยู่มีเท่าไร จานวนจะสามารถทาให้มนุษย์บอกได้ว่าสิ่งของที่เขามีกับสิ่งของที่
เพื่อนบ้านมีใครมีมากกว่ากัน หรือมีเท่ากัน แต่ก็ยังไม่สามาถบอกได้ว่า “มีอยู่เท่าไร” ต่อมามนุษย์จึงเกิด
กระบวนการเรียนรู้เพื่อสร้างตัวเลขมาใช้แทนจานวน ดังนี้

จานวน ...
ตัวเลข 1 2 3 4 5 6
เราเรียก กลุ่มของตัวเลขที่นามาใช้แทนจานวน ว่า จานวนนับ ในความเป็นจริงมนุษย์มีการ
รวมกันอยู่เป็นกลุ่ม เป็นสังคม เมื่อเวลาผ่านไปจานวนสมาชิกในกลุ่มมีจานวนเพิ่มมากขึ้น จานวนนับจึงไม่
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ 2 คณิตศาสตร์พื้นฐาน (ค21101)
โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย ธนบุรี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1

สามารถจากัดอยู่ที่จานวนใดจานวนหนึ่ง จึงเป็นเหตุให้มนุษย์เกิดกระบวนการเรียนรู้ในเรื่องของการตั้งชื่อ
จานวนขึ้น การนับจานวนสมาชิกของกลุ่ มใด ๆ เป็นการจับคู่สมาชิกแบบหนึ่งต่อหนึ่งของกลุ่มที่เราต้องการ
นับจานวนกับสมาชิกของจานวนนับ ถ้าสมาชิกของกลุ่มนั้นจับคู่กับจานวนนับตัวใด เราจะกล่าวว่า จานวน
นับตัวนั้นเป็นตัวบอกจานวนสมาชิกของกลุ่มนั้น
สมบัติบางประการของจานวนนับ
1. เป็นกลุ่มที่สมาชิกในกลุ่มเรียงลาดับจากน้อยไปมาก
2. ถ้าเราจับคู่สมาชิกของกลุ่มนี้กับกลุ่มของสิ่งของแบบหนึ่งต่อหนึ่ง จะทาให้กลุ่มของสิ่งของ
นั้นถูกเรียงลาดับไปด้วย เช่น

จะเห็นว่า สุนัข ถูกเรียงลาดับเป็น ตัวที่หนึ่ง ตัวที่สอง ตัวที่สาม ... ตัวที่แปด ดังนี้

นั่นคือ สุนัข ในกลุ่มนี้มีทั้งหมด 8 ตัว


3. จานวนนับเป็นกลุ่มที่มีตัวเริ่มต้นคือ หนึ่ง แต่ไม่มีตัวสิ้นสุด
4. ถ้าเราตัดส่วนใดของกลุ่มนี้ออกมาเป็นกลุ่มย่อย ทุกกลุ่มย่อยจะมีตัวเริ่มต้นเสมอ
จานวนนับกับการดาเนินการบวก
การดาเนินการบวกกับจานวนนับ เป็นการนาจานวนนับมาครั้งละ 2 จานวน แล้วทาให้เกิด
จานวนใหม่ เช่น 1) 5  7  …………………………
2) 23 9  …………………………
3) 8  37  …………………………
4) 16 41  …………………………
5) 9  23  …………………………
คณิตศาสตร์พื้นฐาน (ค21101) 3 กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย ธนบุรี

6) 7  5  …………………………
7) 41 16  …………………………
8) 37 8  …………………………
จากข้อ 1) – 8) จะพบว่า ผลบวก หรือผลลั พธ์ที่ได้ เป็น จานวนนับ ซึ่งเราอาจกล่ าวได้ว่า
จานวนนับ [มี/ไม่ม]ี สมบัติการสลับที่ภายใต้การบวก
หาผลบวกของจานวนที่กาหนดให้ต่อไปนี้
1) 11   6  12  …………………………
2)  11  6  12  …………………………
3) 21   13  61  …………………………
4)  21  13  61  …………………………
5) 52   24  113  …………………………
6)  52  24  113  …………………………
 เมื่อพิจารณาที่ผลบวก หรือผลลัพธ์ ในข้อ 1) – 6) นักเรียนสังเกตเห็นอะไรบ้าง
...........................................................................................................................................
...........................................................................................................................................
...........................................................................................................................................
...........................................................................................................................................
 จากข้อสรุปข้างบน เราสามารถกล่าวได้ว่า จานวนนับ [มี/ไม่มี] สมบัติการเปลี่ยนกลุ่ม
ภายใต้การบวก
 สรุปสมบัติของจานวนนับภายใต้การบวก โดยกาหนดให้ ................................................
...........................................................................................................................................
...........................................................................................................................................
...........................................................................................................................................
...........................................................................................................................................
จานวนนับกับการดาเนินการลบ
การดาเนิน การลบกับ จานวนนับ เป็นการนาจานวนนับมาครั้งละ 2 จานวน แล้ ว ทาให้เกิด
จานวนใหม่ การลบเป็นการนาสิ่งของออกจากกลุ่มตามจานวนที่กาหนด และเรียกส่วนที่เหลือว่า ผลลบ หรือ
ผลลัพธ์ หรือ คาตอบ อย่างใดก็ได้
เช่น 1) 8  1  …………………………
2) 8  2  …………………………
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ 4 คณิตศาสตร์พื้นฐาน (ค21101)
โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย ธนบุรี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1

3) 8  3  …………………………
4) 8  4  …………………………
5) 8  5  …………………………
6) 8  7  …………………………
7) 8  8  …………………………
 เมื่อพิจารณาที่ผลลบ หรือผลลัพธ์ ในข้อ 1) – 6) นักเรียนสังเกตเห็นอะไรบ้าง
...........................................................................................................................................
...........................................................................................................................................
 จากข้อสรุปข้างบน เราสามารถกล่าวได้ว่า จานวนนับ [มี/ไม่มี] มีสมบัติปิดภายใต้การลบ
จากข้อ 7) จะพบว่าถ้าตัวตั้งและตัวลบมีค่าเท่ากัน ซึ่งอาจกล่าวได้ว่าในกลุ่มหนึ่งมีสิ่งของอยู่
8 สิ่ง และนาออกไปทั้ง 8 สิ่ง ทาให้ในกลุ่มนั้นไม่เหลือสมาชิกอยู่เลย และจานวนที่แสดงถึงการไม่มีสมาชิกอยู่
เลยไม่ใช่จานวนนับ ดังนั้นจานวนนับจึงไม่เพียงพอต่อการกล่าวถึง มนุษย์จึงได้ตั้งชื่อจานวนดังกล่าวว่า ศูนย์
ใช้สัญลักษณ์ 0
จากที่กล่ าวมาทั้งหมดจะพบว่าถึงตอนนี้เรามีจานวนที่ใช้แทนจานวนอยู่ 2 ประเภท ได้แก่
จานวนนับ และ ศูนย์ จึงเรียกกลุ่มที่ประกอบด้วยจานวนนับและศูนย์นี้ว่า จานวนธรรมชาติ

เมื่อเราใช้เครื่องหมายลบ ( – ) แทนการสื่อถึงการหักออก เราจะเขียน 5  2 แทนจานวนที่ได้


จากการหัก 2 ออกจาก 5 และจากข้อเท็จจริงที่ว่า 5  3  2 ทาให้เราทราบว่า ผลลัพธ์ที่ได้จากการหัก 2
ออกจาก 5 คือ 3 ดังนั้นจึงสรุปได้ว่า 5  2  3 แต่ถ้าการลบหรือการหักออกในจานวนที่มากกว่าจานวนที่มี
อยู่ ผลลัพธ์ที่ได้เราไม่สามารถแสดงได้ด้วยจานวนธรรมชาติ แล้วเราจะแทนด้วยจานวนใด
จากแนวคิดดังกล่าวทาให้มนุษย์พยายามคิดค้นจานวนใหม่ขึ้นมา จานวนใหม่นั้นมีวิธีการสร้าง
อย่างไร ?
การสร้างจานวนเต็ม
เมื่อพิจารณาให้การลบ ( – ) แทน การหักออก จะได้ว่า -1 ก็จะเป็นจานวนที่แสดงถึงการหัก
ออกไปจานวน 1 ทานองเดียวกัน -2 เป็นจานวนที่แสดงถึงการหักออกไปจานวน 2 และทานองเดียวกัน
สาหรับ -3 , -4 , -5 , ...
เนื่องจาก 6  4  2 จะได้ว่า 6  4  2 ดังนั้นถ้าเราหัก 6 ออกจากทั้งสองข้างของสมการ
–4 ก็จะเป็นจานวนที่เกิดจากการหัก 6 ออกจาก 2 เขียนแทนด้วย 2  6
หาผลลบของจานวนที่กาหนดให้ต่อไปนี้
1) 5  3  …………………………
คณิตศาสตร์พื้นฐาน (ค21101) 5 กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย ธนบุรี

2) 5  4  …………………………
3) 5  5  …………………………
4) 5  6  …………………………
5) 5  8  …………………………
6) 5  11  …………………………
7) 5  15  …………………………
8) 5  20  …………………………
เนื่องจากจานวนลบไม่ใช่จานวนธรรมชาติ เราจึงจาเป็นที่จะต้องตั้งชื่อจานวนใหม่ว่า จานวน
เต็มลบ
 กลุ่มของจานวนเต็มลบ ประกอบด้วยสมาชิกที่เรียงลาดับจากมากไปน้อย ดังนี้
...........................................................................................................................................
 นอกจากการสร้างจานวนเต็มโดยการลบแล้วนักเรียนสามารถสร้างจานวนเต็มอื่น ๆ โดย
วิธีใดได้อีกบ้าง ยกตัวอย่างการสร้างจานวนเต็มดังกล่าว
...........................................................................................................................................
...........................................................................................................................................
 นักเรี ยนสามารถแบ่ งกลุ่ มจานวนออกเต็มเป็นกี่กลุ่ ม อะไรบ้าง และกาหนดชื่อของจานวน
แต่ละกลุ่มอย่างไร
...........................................................................................................................................
............................................................................................................................. ..............
...........................................................................................................................................

จาแนกจานวนที่กาหนดให้ต่อไปนี้
17
3.5 -9 16 - 11 4.3 6 1
35
44
-5.01 9.14 0.25 -7 -8 100 - 66.48
13
27
136 -15 51 60.23 -5.99 230 0.5
5
5
-36 62.7 -3 0 20 84 -78 -56
7
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ 6 คณิตศาสตร์พื้นฐาน (ค21101)
โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย ธนบุรี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1

2
6 14 -17.75 -32 313 -77 25 -0.67
3
56 4
-400 121 49 - -64.25 -3.92 256
49 3
จานวนเต็มบวก ได้แก่ ............................................................................................................................. ....
.................................................................................................................................
จานวนเต็มลบ ได้แก่ ............................................................................................................................. ....
.................................................................................................................................
จานวนเต็มศูนย์ ได้แก่ ............................................................................................................................. ....

1.1 แบบฝึกทักษะ
1. พิจารณาว่าข้อความที่กาหนดให้ต่อไปนี้เป็นจริงหรือไม่
1) 15 เป็นจานวนเต็ม
 จริง  ไม่จริง
2) -800 เป็นจานวนเต็มลบ
 จริง  ไม่จริง
3) จานวนเต็มประกอบด้วยจานวนเต็มบวกและจานวนเต็มลบ
 จริง  ไม่จริง
4) 2.6 เป็นจานวนเต็มบวก
 จริง  ไม่จริง
5) 0 ไม่เป็นจานวนเต็ม
 จริง  ไม่จริง
6) จานวนเต็มที่น้อยที่สุดคือ 1
 จริง  ไม่จริง
2. เลือกจานวนเต็ม จากจานวนที่กาหนดให้ต่อไปนี้
3 1 11
1) 0, , - , 7, - 9,
5 4 2
จานวนเต็ม ได้แก่ ...........................................................................................................................
2) - 1, 2, 0, - 3, 3, 0.56
จานวนเต็ม ได้แก่ ...........................................................................................................................
คณิตศาสตร์พื้นฐาน (ค21101) 7 กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย ธนบุรี
14 7 26
3) - 18, , - , 11, - 1,
2 5 4
จานวนเต็ม ได้แก่ ...........................................................................................................................
4) - 4.23, 15, - 8, - 3.00, 6.39, - 10.11
จานวนเต็ม ได้แก่ ...........................................................................................................................

 แบบรูปและความสัมพันธ์ของจานวนเต็ม

 ให้นักเรียนเขียนแผนภูมิแสดงโครงสร้างของจานวนเต็ม

 ให้นักเรียนเขียนจานวนเต็มลงบนเส้นจานวน

 ให้นักเรียนตอบคาถามต่อไปนี้
1) จานวนเต็ม ประกอบด้วยจานวนใดบ้าง
............................................................................................................................. ............................
2) จานวนเต็มบวก ประกอบด้วยสมาชิกใดบ้าง
.........................................................................................................................................................
3) จานวนเต็มลบ ประกอบด้วยสมาชิกใดบ้าง
......................................................................................................................... ................................
4) จานวนเต็มศูนย์ ประกอบด้วยสมาชิกใดบ้าง
............................................................................................................................. ............................
25
5)  เป็นจานวนเต็มหรือไม่ เพราะเหตุใด
5
............................................................................................................................. ............................
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ 8 คณิตศาสตร์พื้นฐาน (ค21101)
โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย ธนบุรี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1

126
6) เป็นจานวนเต็มหรือไม่ เพราะเหตุใด
4
.........................................................................................................................................................
7) ยกตัวอย่างจานวนเต็มลบ มา 6 จานวน
.........................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................
8) ยกตัวอย่างจานวนเต็มบวก มา 6 จานวน
.........................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................

 พิจารณาเส้นจานวนต่อไปนี้

 เขียนจานวนตามเงื่อนไขต่อไปนี้
ตัวอย่าง จานวนเต็ม 3 จานวน ต่อจาก 1 โดยลดลงทีละ 2

จานวนเต็ม 3 จานวน ต่อจาก 1 โดยลดลงทีละ 2 ได้แก่ -7 , -5 , -3


1) จานวนเต็ม 3 จานวน ต่อจาก -3 โดยเพิ่มทีละ 3

จากเส้นจานวน ได้ว่าจานวนเต็ม 3 จานวน ต่อจาก -3 โดยเพิ่มทีละ 3 ได้แก่ ……………………………


คณิตศาสตร์พื้นฐาน (ค21101) 9 กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย ธนบุรี

2) จานวนเต็ม 4 จานวน ต่อจาก -5 โดยลดลงทีละ 3

จากเส้นจานวน จะได้ว่าจานวนเต็ม 4 จานวน ต่อจาก -5 โดยลดลงทีละ 3 ได้แก่ …………….………


3) จานวนเต็ม 4 จานวน ต่อจาก -4 โดยเพิ่มทีละ 5

จากเส้นจานวน จะได้ว่าจานวนเต็ม 4 จานวน ต่อจาก -4 โดยเพิ่มทีละ 5 ได้แก่ ………………………

จากการเขี ยนจ านวนตามเงื่อนไขที่ กาหนดให้ ข้างต้ น จะพบว่าในแต่ ละข้ อมี เงื่ อนไขที่ก าหนด
แตกต่างกัน ซึ่งเรียกเงื่อนไขที่กาหนดว่า ความสัมพันธ์ และเรียกการเรียงกันของตัวเลขว่า แบบรูป
แบบรูป หมายถึง รูป ร่าง หรือลั กษณะของสิ่ งต่างๆ ที่ นามาประกอบกันตามความสั มพันธ์
ระหว่างสิ่งเหล่านั้น
แบบรูปเป็นการแสดงความสัมพันธ์ ของสิ่งต่างๆ ที่มีลักษณะสาคัญบางอย่างร่วมกันอย่างมี
เงื่อนไข ซึ่งสามารถอธิบ ายความสั ม พันธ์ เหล่ านั้น ได้ โ ดยการสั งเกต การวิ เคราะห์ ห าเหตุผ ลสนั บสนุ น
จนได้บทสรุปอันเป็นที่ยอมรับได้
ในทางคณิตศาสตร์จะพบการใช้แบบรูปในเรื่องของจานวน รูปภาพ รูปเรขาคณิต แต่ในที่นี้จะ
ศึกษาเฉพาะแบบรูปและความสัมพันธ์ของจานวนเต็มเท่านั้น
1. พิจารณาแบบรูปที่กาหนดให้ต่อไปนี้ พร้อมทั้งบอกความสัมพันธ์และหาอีก 3 จานวนถัดไป
1) - 5, - 3, - 1, 1, 2, ...
ความสัมพันธ์ของแบบรูป .................................................................................................................
อีก 3 จานวนถัดไป ได้แก่ .................................................................................................................
2) 9, 15, 21, 27, 33, ...
ความสัมพันธ์ของแบบรูป .................................................................................................................
อีก 3 จานวนถัดไป ได้แก่ .................................................................................................................
3) - 20, - 15, - 10, - 5, 0, ...
ความสัมพันธ์ของแบบรูป .................................................................................................................
อีก 3 จานวนถัดไป ได้แก่ .................................................................................................................
4) 8, 16, 32, 64, 128, ...
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ 10 คณิตศาสตร์พื้นฐาน (ค21101)
โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย ธนบุรี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1

ความสัมพันธ์ของแบบรูป .................................................................................................................
อีก 3 จานวนถัดไป ได้แก่ .................................................................................................................
5) 0, 1, 4, 9, 16, ...
ความสัมพันธ์ของแบบรูป .................................................................................................................
อีก 3 จานวนถัดไป ได้แก่ .................................................................................................................
6) 0, 3, 3, 5, 6, 7, 9, ...
ความสัมพันธ์ของแบบรูป แสดงได้ดังนี้

อีก 3 จานวนถัดไป ได้แก่ .................................................................................................................


7) 1, 0, - 1, 2, - 3, 4, ...
ความสัมพันธ์ของแบบรูป แสดงได้ดังนี้

อีก 3 จานวนถัดไป ได้แก่ .................................................................................................................


8) 88, 80, 85, 77, 82, 74, ...
ความสัมพันธ์ของแบบรูป แสดงได้ดังนี้

อีก 3 จานวนถัดไป ได้แก่ .................................................................................................................


2. กาหนดชุดของตัวเลขให้ 2 ชุด แต่ละชุดมี 5 ตัว ชุดหนึ่งจะถูกทุกตัว ส่วนอีก ชุดหนึ่งจะมีตัวเลขเรียง
ผิดอยู่ตัวหนึ่ง และถ้าชุดทั้งสองเรียงถูกต้องแล้วจะมีผลรวมเท่ากับตัวเลขที่กาหนดให้ ดังนั้นแบบรูปนี้
ต้องการให้นักเรียนหาตัวผิดนั่นเอง
คณิตศาสตร์พื้นฐาน (ค21101) 11 กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย ธนบุรี

ตัวอย่าง
ชุดที่หนึ่ง 1 4 5 2 3
ชุดที่สอง 1 7 9 3 6
ผลรวมเมื่อแต่ละชุดถูกต้อง 40
วิธีทา ชุดที่หนึ่ง ตัวเลขเรียงกัน โดยเพิ่มทีละ 1 มีผลรวม เท่ากับ 15
ชุดที่สอง จะต้องมีผลรวม เท่ากับ 25 แต่จากตารางพบว่า ชุดที่สองมีผลรวมเท่ากับ 26 ซึ่งผิด
พิจารณา

เนื่องจาก ผลรวมเกินมา 1 ดังนั้นถ้าลดจาก 6 เป็น 5 จะได้ความสัมพันธ์ของแบบรูปนี้


คือ เพิ่มทีละ 2
นั่นคือ ตัวเลขที่ผิด คือ 6 จากชุดที่ 2
1)
ชุดที่หนึ่ง -4 -2 0 2 5
ชุดที่สอง 5 8 11 14 17
ผลรวมเมื่อแต่ละชุดถูกต้อง 55
............................................................................................................................. ........................
.....................................................................................................................................................
2)
ชุดที่หนึ่ง -12 -9 -6 -3 0
ชุดที่สอง 25 15 5 0 -15
ผลรวมเมื่อแต่ละชุดถูกต้อง -5
............................................................................................................................. ........................
.....................................................................................................................................................
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ 12 คณิตศาสตร์พื้นฐาน (ค21101)
โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย ธนบุรี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1

3)
ชุดที่หนึ่ง -4 8 -10 32 -64
ชุดที่สอง 0 1 8 27 64
ผลรวมเมื่อแต่ละชุดถูกต้อง 56
.....................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................
4)
ชุดที่หนึ่ง -30 -12 6 24 42
ชุดที่สอง 9 30 51 65 93
ผลรวมเมื่อแต่ละชุดถูกต้อง 213
.....................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................

พิจารณาแบบรูปที่กาหนดให้ต่อไปนี้ พร้อมทั้งแสดงความสัมพันธ์และจานวนถัดไป
1. - 105, - 55, - 5, 45, 95, ...
จานวนถัดไป คือ ........................................................................................................................
2. - 28, - 14, 0, 14, 28, ...
จานวนถัดไป คือ ........................................................................................................................
3. - 6, - 12, - 24, - 48, - 96, ...
จานวนถัดไป คือ ........................................................................................................................
4. 1, 1, 4, 2, 9, 3, ...
จานวนถัดไป คือ ........................................................................................................................
5. 13, 9, 26, 5, 52, 1, 104, ...
จานวนถัดไป คือ ........................................................................................................................

1.2 แบบฝึกทักษะ
เติมจานวนที่ถูกต้องที่สุดลงในกรอบที่กาหนดให้ โดยในแต่ละแบบรูปอาจมีความสัมพันธ์ที่ไม่ต่อเนื่องกันได้
เช่น 1, 1, 4, 2, 9, 3 ประกอบด้วยแบบรูป 2 ชุด ดังนี้
คณิตศาสตร์พื้นฐาน (ค21101) 13 กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย ธนบุรี

ชุดที่ 1 1, 4, 9, [ 16 ] ความสัมพันธ์คือ เพิ่มทีละ 3 , 5 , 7 ,...


ชุดที่ 2 1, 2, 3, [ 4 ] ความสัมพันธ์คือ เพิ่มทีละ 1
จะได้ 1, 1, 4, 2, 9, 3, 16
1. 24, 12, 0, -12, -24, -36,

2. -3, 12, -48, 192, -768, 3,072,

3. 19, 20, 18, 19, 17, 18,

4. 1, 3, -2, -6, -11, -33

5. -15, -11, -7, -3, 1, 5,

6. 3, 9, 2, 6, -1, -3

7. 37, 4, 30, 10, 23, 16,

8. -32, -37, -42, -47, -52, -57,

9. 13, 9, 26, 5, 52, 1,

10. 0, 1, 1, 2, 3, 5,

 การเปรียบเทียบจานวนเต็ม

 ให้นักเรียนเขียนจานวนเต็มลงบนเส้นจานวน
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ 14 คณิตศาสตร์พื้นฐาน (ค21101)
โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย ธนบุรี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1

 เขียนจานวนตามเงื่อนไขต่อไปนี้
1) จานวนเต็ม 3 จานวน ต่อจาก -8 โดยเพิ่มทีละ 5

จากเส้นจานวน ได้ว่าจานวนเต็ม 3 จานวน ต่อจาก -8 โดยเพิ่มทีละ 5 ได้แก่ …………………………


2) จานวนเต็ม 5 จานวน ต่อจาก -10 โดยลดลงทีละ 2

จากเส้นจานวน จะได้ว่าจานวนเต็ม 5 จานวน ต่อจาก -10 โดยลดลงทีละ 2 ได้แก่ ………….………


3) จานวนเต็ม 4 จานวน ต่อจาก -20 โดยเพิ่มทีละ 10

จากเส้นจานวน จะได้ว่าจานวนเต็ม 4 จานวน ต่อจาก -20 โดยเพิ่มทีละ 10 ได้แก่ …………………


 พิจารณาแบบรูปที่กาหนดให้ต่อไปนี้ พร้อมทั้งบอกความสัมพันธ์และหาอีก 2 จานวนถัดไป
1) - 14, - 9, - 4, 1, 6, ...
อีก 2 จานวนถัดไป ได้แก่ ..............................................................................................................
2) - 40, - 20, 0, 20, 40, ...
อีก 2 จานวนถัดไป ได้แก่ ..............................................................................................................
3) -8, -1, 0, 1, 8, …
อีก 2 จานวนถัดไป ได้แก่ ..............................................................................................................
4) 64, -49, 36, -25, 16, …
อีก 2 จานวนถัดไป ได้แก่ ..............................................................................................................
5) -11, -9, -7, -5, -3, …
อีก 2 จานวนถัดไป ได้แก่ ..............................................................................................................

 พิจารณาความสัมพันธ์ของจานวนต่อไปนี้ พร้อมทั้งเขียนจานวนดังกล่าวลงบนเส้นจานวน
ตัวอย่าง จานวนเต็ม 5 จานวน ต่อจาก -11 โดยเพิ่มทีละ 4
วิธีทา จานวนดังกล่าวได้แก่ -7 , -3 , 1 , 5 และ 9
เขียนจานวนลงบนเส้นจานวน ดังนี้
คณิตศาสตร์พื้นฐาน (ค21101) 15 กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย ธนบุรี

จากเส้นจานวน จะพบว่าจานวนทั้งหมดเรียงลาดับจากน้อยไปมาก จึงสามารถสรุปได้ว่า


-11 < -7 , ………………………… , ………………………… , …………………………
หรืออาจกล่าวได้ว่า
-7 > -11 , ………………………… , ………………………… , …………………………
1) จานวนเต็ม 6 จานวน ต่อจาก -23 โดยเพิ่มทีละ 6
วิธีทา จานวนดังกล่าวได้แก่ .........................................................................................................
เขียนจานวนลงบนเส้นจานวนได้ ดังนี้

จากเส้นจานวน จะพบว่าจานวนทั้งหมดเรียงลาดับจากน้อยไปมาก จึงสามารถสรุปได้ว่า


…………………… , …………………… , …………………… , ……………………
หรืออาจกล่าวได้ว่า
…………………… , …………………… , …………………… , ……………………
2) จานวนเต็ม 5 จานวน ต่อจาก -1 โดยลดลงทีละ 12
วิธีทา จานวนดังกล่าวได้แก่ .........................................................................................................

เขียนจานวนลงบนเส้นจานวนได้ ดังนี้

จากเส้นจานวน จะพบว่าจานวนทั้งหมดเรียงลาดับจากน้อยไปมาก จึงสามารถสรุปได้ว่า


…………………… , …………………… , …………………… , ……………………
หรืออาจกล่าวได้ว่า
…………………… , …………………… , …………………… , ……………………
3) จานวนเต็ม 4 จานวน ต่อจาก 27 โดยเพิ่มทีละ 9
วิธีทา จานวนดังกล่าวได้แก่ .........................................................................................................
เขียนจานวนลงบนเส้นจานวนได้ ดังนี้

จากเส้นจานวน จะพบว่าจานวนทั้งหมดเรียงลาดับจากน้อยไปมาก จึงสามารถสรุปได้ว่า


กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ 16 คณิตศาสตร์พื้นฐาน (ค21101)
โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย ธนบุรี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1

…………………… , …………………… , …………………… , ……………………


หรืออาจกล่าวได้ว่า
…………………… , …………………… , …………………… , ……………………
4) จานวนเต็ม 5 จานวน ต่อจาก -85 โดยลดลงทีละ 10
วิธีทา จานวนดังกล่าวได้แก่ .........................................................................................................
เขียนจานวนลงบนเส้นจานวนได้ ดังนี้

จากเส้นจานวน จะพบว่าจานวนทั้งหมดเรียงลาดับจากน้อยไปมาก จึงสามารถสรุปได้ว่า


…………………… , …………………… , …………………… , ……………………
หรืออาจกล่าวได้ว่า
…………………… , …………………… , …………………… , ……………………

 จากการพยากรณ์อากาศแสดงอุณหภูมิของอากาศในเดือนมกราคมปีหนึ่งของประเทศแถบยุโรป
ดังนี้
อุณหภูมิของประเทศเดนมาร์ก -25 F
อุณหภูมิของประเทศอังกฤษ -15 F
อุณหภูมิของประเทศฝรั่งเศส -18 F
อุณหภูมิของประเทศสวิสเซอร์แลนด์ -20 F
ตอบคาถามต่อไปนี้
1. ประเทศ ........................................... มีอากาศหนาวเย็นมากที่สุด
2. ประเทศ ........................................... มีอากาศหนาวเย็นน้อยที่สุด
3. เรียงลาดับจากประเทศที่มีอากาศหนาวเย็นมากที่สุดไปหนาวเย็นน้อยที่สุด
......................................................................................................................................................
4. เปรียบเทียบจานวนที่กาหนดให้ต่อไปนี้ โดยเติมเครื่องหมาย > หรือ <
1) -25 ................. -18
2) -20 ................. -25
3) -15 ................. -18
4) -20 ................. -15
คณิตศาสตร์พื้นฐาน (ค21101) 17 กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย ธนบุรี

1. เรียงลาดับจานวนต่อไปนี้จากมากไปน้อย
1) -3, -1, 1, 3, -2, 2
.......................................................................................................................................................
2) -15, -23, 12, 0, 5, -11
............................................................................................................................. ..........................
3) -1, -11, -110, -101, -111
............................................................................................................................. ..........................
4) -66, -69, 123, -210, 135, -16
.......................................................................................................................................................
5) 9, -36, 25, -37, 19, -53
............................................................................................................................. ..........................
2. เรียงลาดับจานวนต่อไปนี้จากน้อยไปมาก
1) 10, 8, -7, -17, 25, -48
.......................................................................................................................................................
2) -7, -13, -40, -55, -23, 4
.......................................................................................................................................................
3) 50, 30, 75, -13, -14, -2
............................................................................................................................. ..........................
4) -59, -63, -90, 88, -74, 36
............................................................................................................................. ..........................
5) -95, -123, 214, -17, 59, -147
.......................................................................................................................................................

1.4 แบบฝึกทักษะ
1. จงเติมเครื่องหมาย > หรือ < เพื่อให้ประโยคต่อไปนี้เป็นจริง
1) 0 .................. 7 2) -9 .................. -13
3) -8 .................. -15 4) -11 .................. 1
5) -35 .................. -42 6) 18 .................. -6
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ 18 คณิตศาสตร์พื้นฐาน (ค21101)
โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย ธนบุรี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1

7) 102 .................. 321 8) -74 .................. -456


9) -200 .................. -198 10) -632 .................. -623

4. สถานีโทรทัศน์ช่องหนึ่งรายงานสภาพอากาศประจาวันของแต่ละภาครวมทั้งกรุงเทพและปริมณฑล
ดังนี้

1) ภาคใดมีสภาพอากาศร้อนมากที่สุด
........................................................................................................................................................
2) ภาคใดมีสภาพอากาศร้อนน้อยที่สุด
........................................................................................................................................................
3) เรียงลาดับชื่อภาคที่มีอากาศร้อนน้อยที่สุดไปยังภาคที่มีอากาศร้อนมากที่สุด
........................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................
3. ประเทศเกาหลีเป็นอีกหนึ่งประเทศที่คนไทยนิยมเดินทางไปท่องเที่ยว เนื่องจากใช้เวลาเดินทางไม่นาน
เพียงแค่ 5-6 ชั่วโมงก็ถึงแล้ว และก็ยังเป็นประเทศไม่ต้องขอวีซ่าท่องเที่ยวอีกด้วย ภูมิอากาศของประเทศ
เกาหลี แบ่งเป็น 4 ฤดูกาล ดังนี้
ฤดูกาล ช่วงเวลา อุณหภูมิเฉลี่ย สภาพอากาศ
ฤดูใบไม้ผลิ มีนาคม – พฤษภาคม 5 – 20 °C ใครชอบดอกไม้ ช่วงนี้จะเป็นช่วงที่ดอกไม้
เริ่มผลิบาน และให้สีสันสดใส และเทศกาล
ดอกซากุระเกาหลี (Cherry Blossom) จะ
เริ่มขึ้นในสัปดาห์ที่ 2 ของเดือนเมษายน
และจะบานไม่เกิน 2 สัปดาห์ โดยจะเริม่
บานจากทางใต้ของประเทศขึ้นมาทาง
เหนือ
คณิตศาสตร์พื้นฐาน (ค21101) 19 กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย ธนบุรี

ฤดูกาล ช่วงเวลา อุณหภูมิเฉลี่ย สภาพอากาศ


ฤดูร้อน มิถุนายน – สิงหาคม 22 – 35 °C อากาศช่วงนี้จะร้อนจัด แต่บางวันอาจจะ
มีฝนตก และปลายเดือนมิถุนายนจะมี
มรสุมจนถึงปลายเดือนกรกฎาคม ส่วน
เดือนที่ร้อนที่สุดคือเดือนสิงหาคม

ฤดูใบไม้ร่วง กรกฎาคม – พฤศจิกายน 5 – 25 °C ช่วงนี้จะเป็นช่วงที่มีอากาศเย็นสบาย


ที่สุด และนับเป็นฤดูกาลที่สวยงามที่สุด
สาหรับการไปเที่ยว เพราะจะได้ชม
ปรากฏการณ์ทางธรรมชาติของใบไม้
เปลี่ยนสี ทั้งใบเมเปิ้ลที่จะเปลี่ยนเป็นสี
แดง ใบแปะก๊วยที่จะเปลี่ยนเป็นสีเหลือง
ช่วงใบไม้เปลี่ยนสีนั้นจะเริ่มตั้งแต่
กลางเดือนตุลาคมไปจนถึงประมาณ
กลางเดือนพฤศจิกายน แล้วแต่สภาพ
อากาศในแต่ละปี
จุดที่จะชมใบไม้เปลี่ยนสีได้สวยที่สดุ อยู่ที่
อุทยานแห่งชาติซอรัคซาน และเกาะนามิ
ช่วงนี้บรรยากาศจะโรแมนติกมากที่สุด

ฤดูหนาว ธันวาคม – กุมภาพันธ์ -5 – 8 °C ใครอยากสัมผัสหิมะให้มาช่วงนี้ เพราะ


เป็นช่วงที่หิมะตก ถือเป็นเวลาโรแมนติ
กของหนุ่มสาวที่จะได้เดินกอดกัน
ท่ามกลางหิมะหนาว ใครที่ชอบเล่นสกี
จะต้องมาเที่ยวเกาหลี ช่วงที่หิมะตกหนัก
ที่สุดในหน้าหนาว คือช่วงเดือนมกราคม

นอกจากนี้ ยังมีหน่วยงานที่เกี่ยวข้องได้นาเสนออุณหภูมิเฉลี่ยต่าสุดในรอบปีของประเทศเกาหลี เพื่อให้


นักท่องเที่ยวได้ใช้เป็นข้อมูลในการเลือกเดินทางไปเที่ยวยังประเทศเกาหลี ดังนี้

เดือน อุณหภูมิเฉลี่ยต่าสุด
มกราคม -6
กุมภาพันธ์ -4
มีนาคม 1
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ 20 คณิตศาสตร์พื้นฐาน (ค21101)
โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย ธนบุรี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1

เมษายน 7
พฤษภาคม 13
มิถุนายน 18
กรกฎาคม 22
สิงหาคม 28
กันยายน 17
ตุลาคม 10
พฤศจิกายน 3
ธันวาคม -3
หมายเหตุ : อุณหภูมิมีหน่วยเป็นองศาเซลเซียส
ตอบคาถามต่อไปนี้
1. เดือนใดมีอากาศหนาวมากที่สุด
..............................................................................................................................................................
2. เดือนใดมีอากาศร้อนมากที่สุด
..............................................................................................................................................................
3. เดือนใดมีอากาศหนาวมากที่สุด มีอุณหภูมิต่างจากเดือนที่มีอากาศร้อนที่สุดกี่องศาเซลเซียส
..............................................................................................................................................................
4. เดือนใดบ้างที่มีอุณหภูมิแตกต่างกัน 22 องศาเซลเซียส
..............................................................................................................................................................
5. เรียงลาดับเดือนที่มีอุณหภูมิต่าสุดไปยังเดือนที่มีอุณหภูมิสูงสุด
..............................................................................................................................................................

 ค่าสัมบูรณ์ของจานวนเต็ม

 จงเรียงจานวนที่กาหนดให้ต่อไปนี้ จากจานวนมากไปหาจานวนน้อย
1. -2, -7, 1, -5, 0

2. -12, -21, -8, -16, -26


คณิตศาสตร์พื้นฐาน (ค21101) 21 กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย ธนบุรี

3. -39, -52, -24, -45, -32

4. -57, -61, -43, -75, 12

5. -22, 3, -45, 0, 16

6. 58, -4, -19, 20, 64

 จงเรียงจานวนที่กาหนดให้ต่อไปนี้ จากจานวนน้อยไปหาจานวนมาก
1. -38, -53, -19, -48, -76

2. 0, -456, -13, -465, 34

3. -199, -99, 999, -1, 789

4. 30, 24, -8, -5, -11


กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ 22 คณิตศาสตร์พื้นฐาน (ค21101)
โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย ธนบุรี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1

5. 143, -34, -403, -4, 43

6. -496, 353, 366, -495, -6

 เติมจานวนลงในกรอบที่กาหนดเพื่อให้ประโยคในแต่ละข้อเป็นจริง
1. -105 < [ ] 2. [ ] < 0
3. 888 < [ ] 4. < [
-49 ]
5. [ ] < -15 6. [ ] < 231
7. 26 < [ ] 8. 7 < [ ]
9. [ ] < -87 10. -989 < [ ]

 พิจารณาเส้นจานวนต่อไปนี้

ตอบคาถามต่อไปนี้
1. 4 อยู่ห่างจาก 0 กี่หน่วย มีวิธีคิดอย่างไร
.......................................................................................................................................................
2. -3 อยู่ห่างจาก 0 กี่หน่วย มีวิธีคิดอย่างไร
คณิตศาสตร์พื้นฐาน (ค21101) 23 กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย ธนบุรี

............................................................................................................................. ..........................
3. 5 อยู่ห่างจาก 0 กี่หน่วย มีวิธีคิดอย่างไร
................................................................................................................................... ....................
4. -8 อยู่ห่างจาก 0 กี่หน่วย มีวิธีคิดอย่างไร
.......................................................................................................................................................
5. 11 อยู่ห่างจาก 0 กี่หน่วย มีวิธีคิดอย่างไร
.......................................................................................................................................................
6. -998 อยู่ห่างจาก 0 กี่หน่วย มีวิธีคิดอย่างไร
............................................................................................................................. ..........................
จากข้อ 1 – 6 สามารถสรุปความเข้าใจเกี่ยวกับระยะห่างระหว่างจานวนเต็มจานวนหนึ่ง
กับศูนย์ได้อย่างไร
............................................................................................................................. ..............
...................................................................................................................................................... .
............................................................................................................................. ..........................
7. -4 อยู่ห่างจาก 7 กี่หน่วย มีวิธีคิดอย่างไร
............................................................................................................................. ..........................
8. -8 อยู่ห่างจาก 9 กี่หน่วย มีวิธีคิดอย่างไร
............................................................................................................................. ..........................
9. -5 อยู่ห่างจาก 10 กี่หน่วย มีวิธีคิดอย่างไร
.......................................................................................................................................................
10. -21 อยู่ห่างจาก 35 กี่หน่วย มีวิธีคิดอย่างไร
.......................................................................................................................................................
จากข้อ 7 – 10 สามารถสรุปความเข้าใจเกี่ยวกับระยะห่างระหว่างจานวนเต็มลบกับ
จานวนเต็มบวกได้อย่างไร
...........................................................................................................................................
............................................................................................................................. ..........................
11. 4 อยู่ห่างจาก 9 กี่หน่วย มีวิธีคิดอย่างไร
............................................................................................................................. ..........................
12. 1 อยู่ห่างจาก 5 กี่หน่วย มีวิธีคิดอย่างไร
.......................................................................................................................................................
13. 5 อยู่ห่างจาก 11 กี่หน่วย มีวิธีคิดอย่างไร
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ 24 คณิตศาสตร์พื้นฐาน (ค21101)
โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย ธนบุรี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1

.......................................................................................................................................................
14. 13 อยู่ห่างจาก 28 กี่หน่วย มีวิธีคิดอย่างไร
.......................................................................................................................................................
15. 56 อยู่ห่างจาก 211 กี่หน่วย มีวิธีคิดอย่างไร
.......................................................................................................................................................
จากข้อ 11 – 15 สามารถสรุปความเข้าใจเกี่ยวกับระยะห่างระหว่างจานวนเต็มบวกกับ
จานวนเต็มบวกได้อย่างไร
............................................................................................................................. ..............
................................................................................................................................................... ....
16. -7 อยู่ห่างจาก -15 กี่หน่วย มีวิธีคิดอย่างไร
.......................................................................................................................................................
17. -28 อยู่ห่างจาก -46 กี่หน่วย มีวิธีคิดอย่างไร
.......................................................................................................................................................
18. -2 อยู่ห่างจาก -138 กี่หน่วย มีวิธีคิดอย่างไร
.......................................................................................................................................................
19. -42 อยู่ห่างจาก -94 กี่หน่วย มีวิธีคิดอย่างไร
.......................................................................................................................................................
20. -200 อยู่ห่างจาก -630 กี่หน่วย มีวิธีคิดอย่างไร
................................................................................................................................................. ......
จากข้อ 16 – 20 สามารถสรุปความเข้าใจเกี่ยวกับระยะห่างระหว่างจานวนเต็มลบกับ
จานวนเต็มลบได้อย่างไร
...........................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................
ค่าสัมบูรณ์ของจานวนเต็มใด ๆ หมายถึง จานวนซึ่งแสดงระยะห่างของจานวนเต็มนั้นกับ 0
สัญลักษณ์ของค่าสัมบูรณ์แทนด้วย
เขียนแผนภาพแทนค่าสัมบูรณ์ของจานวนที่กาหนดให้ต่อไปนี้
ตัวอย่าง

เนื่องจาก -3 อยู่ห่างจาก 0 เป็นระยะ 3 หน่วย


ดังนั้น - 3  3
คณิตศาสตร์พื้นฐาน (ค21101) 25 กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย ธนบุรี

1. ค่าสัมบูรณ์ของ 6 หรือ 6

……………………………………………………………………………………………………………………………………..
……………………………………………………………………………………………………………………………………..
2. ค่าสัมบูรณ์ของ -4 หรือ - 4

……………………………………………………………………………………………………………………………………..
……………………………………………………………………………………………………………………………………..
3. ค่าสัมบูรณ์ของ 0 หรือ 0

……………………………………………………………………………………………………………………………………..
……………………………………………………………………………………………………………………………………..
4. ค่าสัมบูรณ์ของ -5 หรือ - 5

……………………………………………………………………………………………………………………………………..
……………………………………………………………………………………………………………………………………..

1. เรียงลาดับจานวนต่อไปนี้จากมากไปน้อย
1) -2, |-6|, 1, |3|, |-2|, -|-11|
............................................................................................................................. ..........................
2) |-15|, -|23|, 12, 0, 5, |-11|
............................................................................................................................. ..........................
3) -1, |-11|, -110, |-101|, -|111|
.......................................................................................................................................................
4) |-166|, -69, 123, -|210|, 135, -|-16|
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ 26 คณิตศาสตร์พื้นฐาน (ค21101)
โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย ธนบุรี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1

.......................................................................................................................................................
5) 9, -36, |25|, -|37|, 19, |-53|
.......................................................................................................................................................
2. เรียงลาดับจานวนต่อไปนี้จากน้อยไปมาก
1) -12, |-3|, -5, |1|, -|-8|, -|13|
.......................................................................................................................................................
2) -|-42|, -|53|, -9, 1, -5, |21|
.......................................................................................................................................................
3) 13, |-9|, -20, |-6|, -|-31|
.......................................................................................................................................................
4) |28|, -|6|, -11, -|-43|, |75|, -|52|
.......................................................................................................................................................
5) |-89|, 74, -|-23|, -|81|, 79, |-66|
....................................................................................................................... ................................
3. จงเติมเครื่องหมาย > หรือ < เพื่อให้ประโยคต่อไปนี้เป็นจริง
1) 0 .................. -|-7| 2) -|9| .................. |-13|
3) |-8| .................. 15 4) |-11| .................. 1
5) -35 .................. |-42| 6) -|18| .................. |-6|
7) -|102| .................. |-321| 8) |-74| .................. -|456|
9) -200 .................. |-198| 10) |-632| .................. -623
คณิตศาสตร์พื้นฐาน (ค21101) 27 กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย ธนบุรี

1.5 แบบฝึกทักษะ
พิจารณาเส้นจานวนที่กาหนดให้ พร้อมทั้งตอบคาถามข้อ a และ b
คาตอบ
ข้อ คาถาม เส้นจานวน
a b
1. a. ค่าของ A คือจานวนใด
………. ……….
b. |A| มีค่าเท่าใด
2. a. ค่าของ A คือจานวนใด
………. ……….
b. |A| มีค่าเท่าใด
3. a. ค่าของ A คือจานวนใด
………. ……….
b. |A| มีค่าเท่าใด
4. a. ค่าของ A คือจานวนใด
………. ……….
b. |A| มีค่าเท่าใด
5. a. ค่าของ A คือจานวนใด
………. ……….
b. |A| มีค่าเท่าใด
6. a. ค่าของ A คือจานวนใด
………. ……….
b. |A| มีค่าเท่าใด
7. a. ค่าของ A คือจานวนใด
………. ……….
b. |A| มีค่าเท่าใด
8. a. ค่าของ A คือจานวนใด
………. ……….
b. |A| มีค่าเท่าใด
9. a. ค่าของ A คือจานวนใด
………. ……….
b. |A| มีค่าเท่าใด
10. a. ค่าของ A คือจานวนใด
………. ……….
b. |A| มีค่าเท่าใด

 การบวกจานวนเต็ม

 จงเขียนจานวนเต็มลงบนเส้นจานวน
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ 28 คณิตศาสตร์พื้นฐาน (ค21101)
โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย ธนบุรี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1

ตอบคาถามต่อไปนี้
1. จานวนเต็มประกอบด้วยจานวนใดบ้าง
.............................................................................................................................................. .......
2. จานวนเต็มบวกที่น้อยที่สุดมีหรือไม่ ถ้ามีจานวนนั้นคือจานวนใด
.............................................................................................................................................. .......
3. จานวนเต็มบวกที่มากที่สุดมีหรือไม่ ถ้ามีจานวนนั้นคือจานวนใด
.....................................................................................................................................................
4. จานวนเต็มลบที่น้อยที่สุดมีหรือไม่ ถ้ามีจานวนนั้นคือจานวนใด
.....................................................................................................................................................
5. จานวนเต็มลบที่มากที่สุดมีหรือไม่ ถ้ามีจานวนนั้นคือจานวนใด
.............................................................................................................................................. .......
6. จานวนเต็มศูนย์มีสมาชิกกี่ตัว จานวนใดบ้าง
.....................................................................................................................................................
7. จานวนเต็มบวกมีสมาชิกกี่ตัว จานวนใดบ้าง
.....................................................................................................................................................
8. จานวนเต็มลบมีสมาชิกกี่ตัว จานวนใดบ้าง
.............................................................................................................................................. .......
9. มีจานวนเต็มที่อยู่ระหว่าง 13 กับ 14 หรือไม่
.............................................................................................................................................. .......
10. มีจานวนเต็มที่อยู่ระหว่าง -16 กับ -13 หรือไม่ ถ้ามีจานวนนั้นคือจานวนใด
.............................................................................................................................................. .......
11. บนเส้นจานวน จานวนที่อยู่ทางขวามือและจานวนที่อยู่ทางซ้ายมือมีความสัมพันธ์กันอย่างไร
.....................................................................................................................................................
12. ให้นักเรียนเขียนข้อสังเกตที่ได้เกี่ยวกับจานวนเต็ม
.....................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................. .......
.....................................................................................................................................................
คณิตศาสตร์พื้นฐาน (ค21101) 29 กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย ธนบุรี

ในการเรียนเรื่องจานวนเต็ม เราสามารถหาสื่อที่เป็นรูปธรรมหลากหลายแบบเพื่อนามาช่วยในการ
สร้างความเข้าใจเกี่ยวกับจานวนเต็ม ในที่นี้ขอเสนอการใช้เหรียญสองสี เนื่องจากการใช้เหรียญสองสีเป็นแนวทาง
หนึ่งที่นักเรียนจะได้ลงมือปฏิบัติด้วยตนเอง การทาซ้า ๆ จะช่วยให้นักเรียนสามารถสร้างองค์ความรู้ต่าง ๆ ได้
อย่างง่ายดาย
ข้อตกลงในการใช้เหรียญสองสี
แทน +1
แทน -1
แทน 0
การนาเหรียญสองเหรียญมาจับคู่กัน เรียกว่า Zero pair
ตัวอย่าง
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ 30 คณิตศาสตร์พื้นฐาน (ค21101)
โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย ธนบุรี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1

จงหาผลบวกของจานวนเต็มต่อไปนี้โดยใช้เหรียญสองสี
ตัวอย่าง 3  5
สื่อสารด้วยข้อความ : มีเหรียญสีดาอยู่ 3 เหรียญ นาเหรียญสีดามาเพิ่มอีก 5 เหรียญ จะมีเหรียญ
สีดาทั้งหมด 8 เหรียญ
เขียนภาพ ดังนี้

ดังนั้น 3  5  8
1. 7  4
สื่อสารด้วยข้อความ : ……………………………………………………………….…………………………………….
………………………………………………………………………………………………………………………………………..
เขียนภาพ ดังนี้

ดังนั้น ………………………………………………………………………………………………………………………………
2.  - 5  8
สื่อสารด้วยข้อความ : ……………………………………………………………….…………………………………….
………………………………………………………………………………………………………………………………………..

เขียนภาพ ดังนี้
คณิตศาสตร์พื้นฐาน (ค21101) 31 กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย ธนบุรี

ดังนั้น ………………………………………………………………………………………………………………………………
3. 2   - 6 
สื่อสารด้วยข้อความ : ……………………………………………………………….…………………………………….
………………………………………………………………………………………………………………………………………..
เขียนภาพ ดังนี้

ดังนั้น ………………………………………………………………………………………………………………………………
4.  - 6   - 4 
สื่อสารด้วยข้อความ : ……………………………………………………………….…………………………………….
………………………………………………………………………………………………………………………………………..
เขียนภาพ ดังนี้

ดังนั้น ………………………………………………………………………………………………………………………………

5. 5   - 5
สื่อสารด้วยข้อความ : ……………………………………………………………….…………………………………….
………………………………………………………………………………………………………………………………………..
เขียนภาพ ดังนี้
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ 32 คณิตศาสตร์พื้นฐาน (ค21101)
โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย ธนบุรี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1

ดังนั้น ………………………………………………………………………………………………………………………………
6.  - 3  10
สื่อสารด้วยข้อความ : ……………………………………………………………….…………………………………….
………………………………………………………………………………………………………………………………………..
เขียนภาพ ดังนี้

ดังนั้น ………………………………………………………………………………………………………………………………

จากการปฏิบัติกิจกรรมข้างต้น สามารถสรุปองค์ความรู้ ดังนี้


.........................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................

1. หาผลบวกของจานวนต่อไปนี้
1) 13  12 = ....................... 2)  - 26   - 38 = .......................
3)  - 9   - 11 = ....................... 4)  - 10  35 = .......................
5) 58   - 132 = ....................... 6)  - 64   - 72 = .......................
7)  - 15   - 214 = ....................... 8) 54  84 = .......................
9)  - 77  61 = ....................... 10)  - 3   - 117 = .......................
11)   - 521
 - 482 ....................... 12) 118 49
= = .......................
13) 36  431 ....................... 14)  - 90   - 35
= = .......................
15)  - 560   - 324 ....................... 16)  - 899  456
= = .......................
2. ให้หาจานวนที่นามาแทนค่าตัวแปรแล้วทาให้ประโยคต่อไปนี้เป็นจริง
คณิตศาสตร์พื้นฐาน (ค21101) 33 กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย ธนบุรี

1) x   - 8  -12 2)  - 15  x  -27

3) 31  x  76 4) x   - 37  -54

5)  - 44  x  98 6) x  102  -38

1.6 แบบฝึกทักษะ
1. นาจานวนที่กาหนดให้เติมลงในช่องว่างให้ถูกต้อง

1) ................ + ................. = -12


2) ................ + ................. = -13
3) ................ + ................. = 10
4) ................ + ................. = -14
5) ................ + ................. = 8
6) ................ + ................. = 7
7) ................ + ................. = -10
8) ................ + ................. = -15
9) ................ + ................. = 11
10) ................ + ................. = -19
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ 34 คณิตศาสตร์พื้นฐาน (ค21101)
โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย ธนบุรี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1

11) ................ + ................. = -11


12) ................ + ................. = -7
13) ................ + ................. = -6
14) ................ + ................. = -3
15) ................ + ................. = 15
16) ................ + ................. = -15
17) ................ + ................. = -8
18) ................ + ................. = 7
19) ................ + ................. = 14
20) ................ + ................. = -10
 จานวนตรงข้าม

 เขียนจุดบนเส้นจานวน เมื่อกาหนดจานวนต่อไปนี้
1. - 5
สื่อสารด้วยข้อความ : -5 ห่างจาก 0 เป็นระยะทาง 5 หน่วย
เขียนภาพ ดังนี้

ดังนั้น - 5  5
2. 6
สื่อสารด้วยข้อความ : ……………………………………………………………….…………………………………….
เขียนภาพ ดังนี้

ดังนั้น ………………………………………………………………………………………………………………………………
3. - 4
สื่อสารด้วยข้อความ : ……………………………………………………………….…………………………………….
เขียนภาพ ดังนี้
คณิตศาสตร์พื้นฐาน (ค21101) 35 กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย ธนบุรี

ดังนั้น ………………………………………………………………………………………………………………………………
4. - 7
สื่อสารด้วยข้อความ : ……………………………………………………………….…………………………………….
เขียนภาพ ดังนี้

ดังนั้น ………………………………………………………………………………………………………………………………
5. 7
สื่อสารด้วยข้อความ : ……………………………………………………………….…………………………………….
เขียนภาพ ดังนี้

ดังนั้น ………………………………………………………………………………………………………………………………
6. 0
สื่อสารด้วยข้อความ : ……………………………………………………………….…………………………………….
เขียนภาพ ดังนี้

ดังนั้น ………………………………………………………………………………………………………………………………

 พิจารณาเส้นจานวน แล้วตอบคาถามต่อไปนี้

1. จานวนใดอยู่ห่างจาก 0 เป็นระยะทางเท่ากันบ้าง บอกมา 4 คู่


......................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................
2. จานวนใดบ้างที่อยู่ห่างจาก 0 เป็นระยะ 8 หน่วย
......................................................................................................................................................
3. จานวนใดบ้างที่อยู่ห่างจาก 0 เป็นระยะ 6 หน่วย
......................................................................................................................................................
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ 36 คณิตศาสตร์พื้นฐาน (ค21101)
โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย ธนบุรี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1

4. -7 อยู่ห่างจาก 0 เป็นระยะทางกี่หน่วย
......................................................................................................................................................
เรียก จานวนที่อยู่ห่างจาก 0 เป็นระยะทางเท่ากันว่า จานวนตรงข้าม

5. เขียนตาแหน่งของจานวนตรงข้ามของจานวนที่กาหนดให้ต่อไปนี้บนเส้นจานวน
1) -9
2) 2
3) -4
4) -(-7)
6. จานวนตรงข้ามของ -16 คือจานวนใด
......................................................................................................................................................
7. จานวนตรงข้ามของ 38 คือจานวนใด
......................................................................................................................................................
8. จานวนตรงข้ามของ -(-45) คือจานวนใด
......................................................................................................................................................
9. จานวนตรงข้ามของ 120 คือจานวนใด
......................................................................................................................................................
10. จานวนตรงข้ามของ 0 คือจานวนใด
......................................................................................................................................................
11. จานวนตรงข้ามของ a คือจานวนใด เมื่อ a เป็นจานวนเต็มบวก
......................................................................................................................................................
12. จานวนตรงข้ามของ -a คือจานวนใด เมื่อ a เป็นจานวนเต็มบวก
......................................................................................................................................................
13. จานวนตรงข้ามของ -(-a) คือจานวนใด เมื่อ a เป็นจานวนเต็มบวก
......................................................................................................................................................
14. หาค่าของจานวนที่กาหนดให้ต่อไปนี้
1) -(-17) = ……………………………………
2) -(-(-39)) = ……………………………………
3) -(-116) = ……………………………………
4) -(-(-(-85))) = ……………………………………
คณิตศาสตร์พื้นฐาน (ค21101) 37 กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย ธนบุรี

ตอบคาถามต่อไปนี้
คาถาม คาตอบ
1) จานวนตรงข้ามของ 27 คือจานวนใด 1) ......................................
2) จานวนตรงข้ามของ 36 คือจานวนใด 2) ......................................
3) จานวนตรงข้ามของ -23 คือจานวนใด 3) ......................................
4) จานวนตรงข้ามของ -(-29) คือจานวนใด 4) ......................................
5) จานวนตรงข้ามของ 49 คือจานวนใด 5) ......................................
6) จานวนตรงข้ามของ -20 คือจานวนใด 6) ......................................
7) จานวนตรงข้ามของ -10 คือจานวนใด 7) ......................................
8) จานวนตรงข้ามของ 2 คือจานวนใด 8) ......................................
9) จานวนตรงข้ามของ 35 คือจานวนใด 9) ......................................
10) จานวนตรงข้ามของ 40 คือจานวนใด 10) ......................................
11) จานวนตรงข้ามของ -29 คือจานวนใด 11) ......................................
12) จานวนตรงข้ามของ -(-28) คือจานวนใด 12) ......................................
13) จานวนตรงข้ามของ -(-21) คือจานวนใด 13) ......................................
14) จานวนตรงข้ามของ 33 คือจานวนใด 14) ......................................
15) จานวนตรงข้ามของ -18 คือจานวนใด 15) ......................................
16) จานวนตรงข้ามของ -47 คือจานวนใด 16) ......................................
17) จานวนตรงข้ามของ 51 คือจานวนใด 17) ......................................
18) จานวนตรงข้ามของ -(-45) คือจานวนใด 18) ......................................
19) จานวนตรงข้ามของ -(-14) คือจานวนใด 19) ......................................
20) จานวนตรงข้ามของ -(-72) คือจานวนใด 20) ......................................
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ 38 คณิตศาสตร์พื้นฐาน (ค21101)
โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย ธนบุรี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1

1.7 แบบฝึกทักษะ
1. ตอบคาถามต่อไปนี้
1) จานวนตรงข้ามของ 12 คือ ........................
2) จานวนตรงข้ามของ -(-25) คือ ........................
3) จานวนตรงข้ามของ -99 คือ ........................
4) จานวนตรงข้ามของ 4 คือ ........................
5) จานวนตรงข้ามของ -(-36) คือ ........................
6) จานวนตรงข้ามของ -57 คือ ........................
2. ให้เขียนจุดแสดงตาแหน่งของจานวนที่กาหนด พร้อมกับจานวนตรงข้ามลงบนเส้นจานวน
1) 2

2) -5

3) -8

4) -(-6)
คณิตศาสตร์พื้นฐาน (ค21101) 39 กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย ธนบุรี

 การลบจานวนเต็ม

 จงหาผลลบของจานวนเต็มต่อไปนี้โดยใช้เหรียญสองสี
ตัวอย่าง 3   - 5
สื่อสารด้วยข้อความ : มีเหรียญสีดาอยู่ 3 เหรียญ ต้องนาเหรียญสีขาวออกไป 5 เหรียญ แต่
เนื่องจากไม่มีเหรียญสีขาวจึงต้องเติมเหรียญสีขาวและสีดาเข้าไป 5 คู่ ดังนั้นจะมีเหรียญสีดา
ทั้งหมด 8 เหรียญ
เขียนภาพ ดังนี้

ดังนั้น 3   - 5  8
1. 2   - 4 
สื่อสารด้วยข้อความ : ……………………………………………………………….…………………………………….
………………………………………………………………………………………………………………………………………..
………………………………………………………………………………………………………………………………………..
เขียนภาพ ดังนี้

ดังนั้น ………………………………………………………………………………………………………………………………
2.  - 4    - 1
สื่อสารด้วยข้อความ : ……………………………………………………………….…………………………………….
………………………………………………………………………………………………………………………………………..
………………………………………………………………………………………………………………………………………..
เขียนภาพ ดังนี้
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ 40 คณิตศาสตร์พื้นฐาน (ค21101)
โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย ธนบุรี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1

ดังนั้น ………………………………………………………………………………………………………………………………
3.  - 5  2
สื่อสารด้วยข้อความ : ……………………………………………………………….…………………………………….
………………………………………………………………………………………………………………………………………..
………………………………………………………………………………………………………………………………………..
เขียนภาพ ดังนี้

ดังนั้น ………………………………………………………………………………………………………………………………
4. 1  5
สื่อสารด้วยข้อความ : ……………………………………………………………….…………………………………….
………………………………………………………………………………………………………………………………………..
………………………………………………………………………………………………………………………………………..
เขียนภาพ ดังนี้

ดังนั้น ………………………………………………………………………………………………………………………………

 พิจารณาการหาผลลบโดยใช้ความรู้เรื่องจานวนตรงข้าม
ตัวอย่าง 3   - 5
วิธีทา จานวนตรงข้ามของ -5 หรือ –(-5) คือ ..............................................
เปลี่ยนรูปสัญลักษณ์ ดังนี้
3   - 5  ....................................
 ....................................
คณิตศาสตร์พื้นฐาน (ค21101) 41 กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย ธนบุรี

ดังนั้น 3   - 5  ....................................
1. 2   - 4 
วิธีทา จานวนตรงข้ามของ -4 หรือ –(-4) คือ ..............................................
เปลี่ยนรูปสัญลักษณ์ ดังนี้
2   - 4   ....................................
 ....................................
ดังนั้น 2   - 4   ....................................
2.  - 4    - 1
วิธีทา จานวนตรงข้ามของ -1 หรือ –(-1) คือ ..............................................
เปลี่ยนรูปสัญลักษณ์ ดังนี้
 - 4    - 1  ....................................
 ....................................
ดังนั้น  - 4    - 1  ....................................
3.  - 5  2
วิธีทา จานวนตรงข้ามของ 2 คือ ..............................................
เปลี่ยนรูปสัญลักษณ์ ดังนี้
 - 5  2  ....................................
 ....................................
ดังนั้น  - 5  2  ....................................
4. 1  5
วิธีทา จานวนตรงข้ามของ 5 คือ ..............................................
เปลี่ยนรูปสัญลักษณ์ ดังนี้
1  5  ....................................
 ....................................
ดังนั้น 1  5  ....................................
5. a  b
วิธีทา จานวนตรงข้ามของ b คือ ..............................................
เปลี่ยนรูปสัญลักษณ์ ดังนี้
a  b  ....................................
 ....................................
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ 42 คณิตศาสตร์พื้นฐาน (ค21101)
โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย ธนบุรี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1

ดังนั้น a  b  ....................................
6. a  (-b)
วิธีทา จานวนตรงข้ามของ -b คือ ..............................................
เปลี่ยนรูปสัญลักษณ์ ดังนี้
a  (-b)  ....................................
 ....................................
ดังนั้น a  (-b)  ....................................

จากการปฏิบัติกิจกรรมข้างต้น สามารถสรุปองค์ความรู้ ดังนี้


.........................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................

1. จงหาผลลัพธ์ต่อไปนี้
คาตอบ
1) 29  12 1) ......................................
2)  - 5  16 2) ......................................
3) 13   - 24 3) ......................................
4)  - 18   - 31 4) ......................................
5) 13   - 24 5) ......................................
6)  - 46  64 6) ......................................
7)  - 27  23 7) ......................................
8)  - 58  47 8) ......................................
9) 34   - 34 9) ......................................
คณิตศาสตร์พื้นฐาน (ค21101) 43 กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย ธนบุรี

10)  - 49   - 45 10) ......................................


11) 67   - 49 11) ......................................
12)  - 75   - 65 12) ......................................
13)  - 91  84 13) ......................................
14) 13   - 24 14) ......................................
15) 52   - 41 15) ......................................
16)  - 62   - 38 16) ......................................
17)  - 46  51 17) ......................................
18)  - 35   - 42 18) ......................................
19) 83   - 71 19) ......................................
20)  - 77  29 20) ......................................
2. จงหาผลลัพธ์ต่อไปนี้
คาตอบ
1)  - 17  13   - 20 1) ......................................

2)  - 58   - 32   - 25 2) ......................................

3) 61  18  35 3) ......................................

4) 14   - 19   - 7 4) ......................................

5)  - 37  16  41 5) ......................................

6)  - 28  64   - 13  21 6) ......................................

7)  - 27  23   - 58  47 7) ......................................


กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ 44 คณิตศาสตร์พื้นฐาน (ค21101)
โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย ธนบุรี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1

8) 34   - 34   - 49   - 45 8) ......................................

9)  - 67   - 49   - 75   - 65 9) ......................................

10)  - 91  84  13   - 24 10) ......................................

11) 52   - 62  38   - 41 11) ......................................

12)  - 46   - 35   - 42  51 12) ......................................


คณิตศาสตร์พื้นฐาน (ค21101) 45 กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย ธนบุรี

3. จงหาผลลัพธ์ต่อไปนี้
คาตอบ
1)  - 44  61   - 39 1) ......................................

2)  - 28   - 42   - 55 2) ......................................

3) 88  67  135 3) ......................................

4) 77   - 89   - 13 4) ......................................

5)  - 21  47  94 5) ......................................

6)  - 28  64   - 13  21 6) ......................................

7)  - 27  23   - 58  47 7) ......................................

8) 34   - 34   - 49   - 45 8) ......................................

9)  - 67   - 49   - 75   - 65 9) ......................................

10)  - 91  84  13   - 24 10) ......................................

11) 52   - 62  38   - 41 11) ......................................

12)  - 46   - 35   - 42  51 12) ......................................


กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ 46 คณิตศาสตร์พื้นฐาน (ค21101)
โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย ธนบุรี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1

1.8 แบบฝึกทักษะ
1. จงหาตอบคาถามต่อไปนี้
1) จานวนตรงข้ามของ  - 36   - 21 คือ ........................
2) จานวนตรงข้ามของ 61 94 คือ ........................
3) ค่าสัมบูรณ์ของ 17   - 42 คือ ........................
4) ค่าสัมบูรณ์ของ  - 38  19 คือ ........................
5) จานวนตรงข้ามของ 112  238 คือ ........................
6) ค่าสัมบูรณ์ของ 0   - 65 คือ ........................
7) จานวนตรงข้ามของ  - 46  60   - 33 คือ ........................
8) จานวนตรงข้ามของ 38  65   - 74 คือ ........................
9) ค่าสัมบูรณ์ของ 15  28   - 36 คือ ........................
10) ค่าสัมบูรณ์ของ  - 64  61   - 72  11 คือ ........................
2. ให้เขียนจุดแสดงตาแหน่งของผลลบที่กาหนด พร้อมกับจานวนตรงข้ามลงบนเส้นจานวน
1)  - 9   - 12

2) 5   - 4 

3) 9  17

4)  - 1  6

3. หาจานวนมาแทนที่ตัวแปรแล้วทาให้ประโยคสัญลักษณ์เป็นจริง
คณิตศาสตร์พื้นฐาน (ค21101) 47 กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย ธนบุรี

1)  - 36   - 21  a  18  12 a คือ ........................


2) 61   - a  94  25  41 a คือ ........................
3) a   - 26  39  74  51 a คือ ........................
4)  - 38  a  49  25  54 a คือ ........................
5) a  63  24   - 86  0 a คือ ........................
6) 30   - 65   - 27   - a  43 a คือ ........................
4. ทาไมคนส่วนใหญ่จึงกล่าวว่ากัปตันคริสมีสามหู ?
ให้นักเรียนหาคาตอบของโจทย์ในแต่ละข้อ จากนั้นนาตัวอักษรที่กาหนดในแต่ละข้อไปใส่
ลงในกรอบด้านล่างที่ตรงกับผลลัพธ์ในข้อนั้น แล้วจะทาให้ได้คาตอบที่ต้องการทราบ
E  46 A  6  24 L  13  - 13
R  3   - 1 D  - 7   - 15 E  - 80  50
F  48 H   - 13  1 A  - 7   - 10
A   14  10 R  - 10   - 60 R 13   - 20
N  30   - 9 A  9   - 6 H - 14  11
I  2  16 E  - 11  2 A 24  18 E  -68
E  35  - 7 H  - 20  30 L  -52 A  - 10   - 12
A  - 3  13 N  - 5  12 O - 6   - 26 F  3   - 15
S  - 15  5 I  18   - 18 T - 12  1 R   - 11   - 4 
R  - 1  20 A  4   - 9 I  12   - 1 N  50   - 36
T  - 8   - 8 G  -49 F  99  100 T  0   - 28
-50 -30 -27 -25 -24 -20 -19 -18 -16 -15 -14 -13 -12 -11 -10 -9
-8 -7 -6 -5 -4 -3 -2 -1 0 1 2 3 4 5 6 7
8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 28 36
42 50

คาตอบ ..................................................................................................................................
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ 48 คณิตศาสตร์พื้นฐาน (ค21101)
โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย ธนบุรี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1

 การคูณจานวนเต็ม

จงหาผลคูณของจานวนเต็มต่อไปนี้โดยใช้เหรียญสองสี
ตัวอย่าง 5 3
สื่อสารด้วยข้อความ : นาเหรียญสีดามา 5 กลุ่ม กลุ่มละ 3 เหรียญ จะมีเหรียญสีดาทั้งหมด
15 เหรียญ
เขียนภาพ ดังนี้

ดังนั้น 5  3  15
ตัวอย่าง   2  4
สื่อสารด้วยข้อความ : นาเหรียญสีดาออก 2 กลุ่ม กลุ่มละ 4 เหรียญ แต่เราไม่มีเหรียญสีดานั้น จึง
ต้องสร้าง zero pairs จานวน 8 คู่ จึงสามารถนาเหรียญสีดาออกได้ตามต้องการ
เขียนภาพ ดังนี้

ดังนั้น   2  4  8

จงหาผลคูณของจานวนเต็มต่อไปนี้โดยใช้เหรียญสองสี
1) 4 2
สื่อสารด้วยข้อความ : ……………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………..
เขียนภาพ ดังนี้
คณิตศาสตร์พื้นฐาน (ค21101) 49 กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย ธนบุรี

ดังนั้น ....................................................................................
2) 4  - 2
สื่อสารด้วยข้อความ : ……………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………..
เขียนภาพ ดังนี้

ดังนั้น ....................................................................................
3)  - 4   2
สื่อสารด้วยข้อความ : ……………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………..
…………………………………………………………………………………………………………………………………………..
เขียนภาพ ดังนี้

ดังนั้น ....................................................................................
4)  - 4    - 2
สื่อสารด้วยข้อความ : ……………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………..
…………………………………………………………………………………………………………………………………………..

เขียนภาพ ดังนี้

ดังนั้น ....................................................................................
5) 3 5
สื่อสารด้วยข้อความ : ……………………………………………………………………………………………………………
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ 50 คณิตศาสตร์พื้นฐาน (ค21101)
โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย ธนบุรี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1

…………………………………………………………………………………………………………………………………………..

เขียนภาพ ดังนี้

ดังนั้น ....................................................................................
2) 3  - 5
สื่อสารด้วยข้อความ : ……………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………..
เขียนภาพ ดังนี้

ดังนั้น ....................................................................................
3)  - 5  3
สื่อสารด้วยข้อความ : ……………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………..
…………………………………………………………………………………………………………………………………………..
เขียนภาพ ดังนี้

ดังนั้น ....................................................................................
4)  - 5   - 3
สื่อสารด้วยข้อความ : ……………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………..
…………………………………………………………………………………………………………………………………………..
เขียนภาพ ดังนี้
คณิตศาสตร์พื้นฐาน (ค21101) 51 กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย ธนบุรี

ดังนั้น ....................................................................................

จากการปฏิบัติกิจกรรมข้างต้น สามารถสรุปองค์ความรู้ ดังนี้


.........................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ 52 คณิตศาสตร์พื้นฐาน (ค21101)
โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย ธนบุรี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1

1. จงหาผลคูณของจานวนเต็มต่อไปนี้โดยใช้เหรียญสองสี
1) 7  - 3
เขียนภาพ ดังนี้

ดังนั้น ....................................................................................
2)  - 5   - 2
เขียนภาพ ดังนี้

ดังนั้น ....................................................................................
3)  - 4   2
เขียนภาพ ดังนี้

ดังนั้น ....................................................................................
4) 4  7
เขียนภาพ ดังนี้

ดังนั้น ....................................................................................
2. ให้ตัดชิ้นส่วนที่กาหนดให้เป็นรูปสามเหลี่ยม จากนั้นนารูปที่ตัดได้มาต่อให้เป็นรูปสามเหลี่ยมด้านเท่า
โดยด้านที่อยู่ติดกันจะมีความสัมพันธ์เท่ากัน
คณิตศาสตร์พื้นฐาน (ค21101) 53 กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย ธนบุรี

ภาพผลสาเร็จ


กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ 54 คณิตศาสตร์พื้นฐาน (ค21101)
โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย ธนบุรี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1

1.9 แบบฝึกทักษะ
1. ให้ปฏิบัติกิจกรรมต่อไปนี้

คาชี้แจง กาหนดโจทย์การคูณ จานวน 18 ข้อ ให้นักเรียนหาผลคูณในแต่ละข้อ จากนั้นระบายสีใน


ช่องเหลี่ยมให้ตรงกับผลคูณที่ได้ เมื่อนักเรียนหาผลคูณครบทุกข้อ จะปรากฏข้อความที่เป็น
คาตอบของคาถามข้างต้น
คาถาม : ……………………………………………………………………………………………………………………………
คาตอบ : ……………………………………………………………………………………………………………………………
คาศัพท์ shovel แปลว่า ............................. , hoe แปลว่า .............................
purple แปลว่า ............................. , pink แปลว่า .............................
โจทย์การคูณ
1. 6  - 6  …………………… 10. 10  9   - 9  ……………………
2. 8  - 8  …………………… 11. 1515  - 15  ……………………
3. 57  - 9  …………………… 12. 13  27   - 7  ……………………
4. 45  - 20  …………………… 13. 36  2   - 24  ……………………
5. 38  - 70  …………………… 14. 50  3  50  ……………………
6. 16  - 35  …………………… 15. 98  8   - 1  ……………………
7. 87  - 79  …………………… 16. 8  - 471  ……………………
8. 53 41  …………………… 17. 396  - 57  ……………………
9. 25  - 25  …………………… 18. 439   - 876  0  ……………………
2. ให้ตัดชิ้นส่วนที่กาหนดให้เป็นรูปสามเหลี่ยม จากนั้นนารูปที่ตัดได้มาต่อให้เป็นรูปหกเหลี่ยมด้านเท่า
โดยด้านที่อยู่ติดกันจะมีความสัมพันธ์เท่ากัน
คณิตศาสตร์พื้นฐาน (ค21101) 55 กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย ธนบุรี
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ 56 คณิตศาสตร์พื้นฐาน (ค21101)
โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย ธนบุรี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1

ภาพผลสาเร็จ


คณิตศาสตร์พื้นฐาน (ค21101) 57 กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย ธนบุรี

 การหารจานวนเต็ม

จงหาผลหารของจานวนเต็มต่อไปนี้
1) 6  2
สื่อสารด้วยข้อความ : แบ่งเหรียญสีน้าเงิน 6 เหรียญ ออกเป็น 2 กลุ่ม จะได้เหรียญสีน้าเงินกลุ่มละ
3 เหรียญ
เขียนภาพ ดังนี้

ดังนั้น 6  2  3
2) 6   - 2
สื่อสารด้วยข้อความ : แบ่งเหรียญสีตรงข้ามกับสีน้าเงิน 6 เหรียญ ออกเป็น 2 กลุ่ม จะได้เหรียญสีแดง
กลุ่มละ 3 เหรียญ
เขียนภาพ ดังนี้

ดังนั้น 6   - 2  -3

จงหาผลหารของจานวนเต็มต่อไปนี้
3)  - 6  2
สื่อสารด้วยข้อความ : ............................................................................................................................. ..
..................................................................................................................................................................
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ 58 คณิตศาสตร์พื้นฐาน (ค21101)
โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย ธนบุรี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1

เขียนภาพ ดังนี้

ดังนั้น .............................................................................................................
4)  - 6   - 2
สื่อสารด้วยข้อความ : ............................................................................................................................. ..
..................................................................................................................................................................
เขียนภาพ ดังนี้

ดังนั้น .............................................................................................................
5) 8  4
สื่อสารด้วยข้อความ : ............................................................................................................................. ..
..................................................................................................................................................................
เขียนภาพ ดังนี้

ดังนั้น .............................................................................................................
6)  - 8  4
สื่อสารด้วยข้อความ : ...............................................................................................................................
..................................................................................................................................................................

เขียนภาพ ดังนี้
คณิตศาสตร์พื้นฐาน (ค21101) 59 กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย ธนบุรี

ดังนั้น .............................................................................................................
7) 8   - 4 
สื่อสารด้วยข้อความ : ............................................................................................................................. ..
..................................................................................................................................................................
เขียนภาพ ดังนี้

ดังนั้น .............................................................................................................
8)  - 8   - 4 
สื่อสารด้วยข้อความ : ............................................................................................................................. ..
..................................................................................................................................................................
เขียนภาพ ดังนี้

ดังนั้น .............................................................................................................

เติมจานวนที่หายไป
1. (-4)  [ ] = 2 2. [ ]  (-1) = 4 3. 81  [ ] = 9

4. [ ]  (-3) = 4 5. 30  [ ] = 5 6. [ ] (-3) = 6

7. (-16)  [ ] = 8 8. [ ]  (-9) = 8 9. (-30)  [ ] = -3

10. [ ] 7 = -8 11. 49  [ ] = -7 12. [ ] (-1) = 3


กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ 60 คณิตศาสตร์พื้นฐาน (ค21101)
โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย ธนบุรี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1

13. (-60)  [ ] = -6 14. [ ]  (-10) = -3 15. 72  [ ] = -8

16. [ ] 8 = -3 17. (-20)  [ ] = 10 18. [ ] (-3) = 7

19. 30  [ ] = -5 20. [ ]  (-8) = -10 21. -176  [ ] = 11

22. [ ]  -4 = -9 23. 42  [ ] = -6 24. [ ] -6 = 7

25. [ ]  16 = -13 26. 22  [ ] = -2 27. [ ] (-7) = 5

28. 144  [ ] = -16 29. [ ] 7 = -10 30. -400  [ ] = -20


คณิตศาสตร์พื้นฐาน (ค21101) 61 กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย ธนบุรี

1.10 แบบฝึกทักษะ

ตอบคาถามต่อไปนี้
คาถาม คาตอบ
1) (-18)  (-6) =  1) ......................................
2) (-25)  (-5) =  2) ......................................
3) (-18)  (-3) =  3) ......................................
4) (-40)  (-8) =  4) ......................................
5) 4  (-4) =  5) ......................................
6) 14  (-2) =  6) ......................................
7) (-42)  (-7) =  7) ......................................
8) (-54)  9 =  8) ......................................
9) 56  (-8) =  9) ......................................
10) (-54)  (-6) =  10) ......................................
11) 36  9 =  11) ......................................
12) 24  (-3) =  12) ......................................
13) 63  7 =  13) ......................................
14) 81  (-9) =  14) ......................................
15) (-42)  (-6) =  15) ......................................
16) 24  (-4) =  16) ......................................
17) 56  7 =  17) ......................................
18) (-48)  (-6) =  18) ......................................
19) (-56)  (-8) =  19) ......................................
20) (-21)  3 =  20) ......................................
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ 62 คณิตศาสตร์พื้นฐาน (ค21101)
โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย ธนบุรี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1

 สมบัติของจานวนเต็ม

จานวนเต็มกับการดาเนินการบวก
การดาเนินการบวกกับจานวนเต็ม เป็นการนาจานวนเต็มมาครั้งละ 2 จานวน แล้วทาให้เกิด
จานวนใหม่ เช่น 1)  - 5  7  …………………… 2)  - 23   - 9  ……………………
3) 8  37  …………………… 4) 16   - 41  ……………………
5)  - 9   - 23  …………………… 6) 7   - 5  ……………………
7)  - 41  16  …………………… 8) 37 8  ……………………
จากข้อ 1) – 8) จะพบว่า ผลบวก หรือผลลัพธ์ที่ได้ เป็น จานวนเต็ม ซึ่งเราอาจกล่าวได้ว่า
จานวนเต็ม [มี/ไม่ม]ี สมบัติ......................................... ภายใต้การบวก
 เมื่อพิจารณาที่ผลบวก หรือผลลัพธ์ ในข้อ 1) – 8) นักเรียนสังเกตเห็นอะไรบ้าง
...........................................................................................................................................
...........................................................................................................................................
 จากข้อสรุปข้างบน เราสามารถกล่าวได้ว่า จานวนเต็ม [มี/ไม่มี] สมบัติ ............................
ภายใต้การบวก
หาผลบวกของจานวนที่กาหนดให้ต่อไปนี้
1)  - 11   - 6  12  ……………………
2)  - 11   - 6   12  ……………………
3) 21  13   - 61   ……………………
4)  21  13   - 61  ……………………
5)  - 52   - 24   - 113   ……………………
6)  - 52   - 24    - 113  ……………………
 เมื่อพิจารณาที่ผลบวก หรือผลลัพธ์ ในข้อ 1) – 6) นักเรียนสังเกตเห็นอะไรบ้าง
...........................................................................................................................................
...........................................................................................................................................
 จากข้อสรุปข้างบน เราสามารถกล่าวได้ว่า จานวนเต็ม [มี/ไม่มี] มีสมบัติ...........................
ภายใต้การบวก
 สรุปสมบัติของจานวนเต็มภายใต้การบวก โดยกาหนดให้ ................................................
...........................................................................................................................................
คณิตศาสตร์พื้นฐาน (ค21101) 63 กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย ธนบุรี

...........................................................................................................................................
...........................................................................................................................................
...........................................................................................................................................
จานวนเต็มกับการดาเนินการคูณ
การดาเนินการบวกกับจานวนเต็ม เป็นการนาจานวนเต็มมาครั้งละ 2 จานวน แล้วทาให้เกิด
จานวนใหม่ เช่น 1)  - 5  7  …………………… 2)  - 23   - 9  ……………………
3) 8 37  …………………… 4) 16  - 41  ……………………
5)  - 9   - 23  …………………… 6) 7  - 5  ……………………
7)  - 41  16  …………………… 8) 37 8  ……………………
จากข้อ 1) – 8) จะพบว่า ผลคูณ หรือผลลัพธ์ที่ได้ เป็น จานวนเต็ม ซึ่งเราอาจกล่ าวได้ว่า
จานวนเต็ม [มี/ไม่ม]ี สมบัติ......................................... ภายใต้การคูณ
 เมื่อพิจารณาที่ผลคูณ หรือผลลัพธ์ ในข้อ 1) – 8) นักเรียนสังเกตเห็นอะไรบ้าง
...........................................................................................................................................
...........................................................................................................................................
...........................................................................................................................................
 จากข้อสรุปข้างบน เราสามารถกล่าวได้ว่า จานวนเต็ม [มี/ไม่มี] สมบัติ ............................
ภายใต้การคูณ
หาผลคูณของจานวนที่กาหนดให้ต่อไปนี้
1)  - 11   - 6  12  …………………………
2)  - 11   - 6  12  …………………………
3) 21 13   - 61   …………………………
4)  21 13   - 61  …………………………
5)  - 52   - 24   - 113   …………………………
6)  - 52   - 24   - 113  …………………………
 เมื่อพิจารณาที่ผลคูณ หรือผลลัพธ์ ในข้อ 1) – 6) นักเรียนสังเกตเห็นอะไรบ้าง
...........................................................................................................................................
...........................................................................................................................................
 จากข้อสรุปข้างบน เราสามารถกล่าวได้ว่า จานวนเต็ม [มี/ไม่มี] มีสมบัติ...........................
ภายใต้การคูณ
 สรุปสมบัติของจานวนเต็มภายใต้การคูณ โดยกาหนดให้ ................................................
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ 64 คณิตศาสตร์พื้นฐาน (ค21101)
โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย ธนบุรี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1

...........................................................................................................................................
...........................................................................................................................................
พิจารณารูปสี่เหลี่ยมมุมฉากที่กาหนดให้

 เขียนสูตรในการหาพื้นที่รูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก
.............................................................................................................................................................
 รูปที่ 1 มีด้านทั้งสอง ยาว ................... หน่วย และ .................... หน่วย
รูปที่ 1 มีพื้นที่เท่ากับ ........................................................... ตารางหน่วย
รูปที่ 2 มีด้านทั้งสอง ยาว ................... หน่วย และ .................... หน่วย
รูปที่ 2 มีพื้นที่เท่ากับ ........................................................... ตารางหน่วย
รูปที่ 3 มีด้านทั้งสอง ยาว ................... หน่วย และ .................... หน่วย
รูปที่ 3 มีพื้นที่เท่ากับ ........................................................... ตารางหน่วย
 เขียนความสัมพันธ์ระหว่างพื้นที่ของรูปที่ 1 รูปที่ 2 และรูปที่ 3
.............................................................................................................................................................
................................................................................................................................. ............................
จากความสัมพันธ์ข้างต้น
กาหนดให้ a, b และ c เป็นจานวนเต็ม จะได้ว่า ............................................................
เรียกสมบัตินี้ว่า สมบัติการแจกแจง

1.11 แบบฝึกทักษะ

1. จงพิจารณาสมบัติต่อไปนี้แล้วตอบคาถามในแต่ละข้อว่าใช้สมบัติในข้อใด
ก. สมบัติปิดการบวก ข. สมบัติปิดการคูณ ค. สมบัติการสลับที่การบวก
คณิตศาสตร์พื้นฐาน (ค21101) 65 กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย ธนบุรี

ง. สมบัติการสลับที่การคูณ จ. สมบัติการเปลี่ยนหมู่การบวก ฉ. สมบัติการเปลี่ยนหมู่การคูณ


คาตอบ
1) 4 + 6 = 6 + 4 1) ......................................

2) 3 + (4 + 5) = (3 + 4) + 5 2) ......................................

3) (-5)  4 = 4  (-5) 3) ......................................

4) 3 + 5 เป็นจานวนเต็ม 4) ......................................

5) (– 3) +(– 7) = (– 7) + (– 3) 5) ......................................

6) 4  ( 5  6 ) = 4  ( 6  5 ) 6) ......................................

7) (8 + 9) + 6 = (9 + 8) + 6 7) ......................................

8) 7  2 เป็นจานวนเต็ม 8) ......................................

9) (5 + 6) + 7 = 5 + (7 + 6) 9) ......................................

10) (2  3)  4 = 2  (4  3) 10) ......................................


2. พิจารณาตัวเลือกที่กาหนดให้ ว่าตัวเลือกใดสอดคล้องกับสมบัติการแจกแจง
1. A. 10  6 = 6  10 2. A. 9  5 = 5  90
B. 10  (6  8) = (10  6)  8 B. 9  1 = 9
C. 10  (6 + 8) = (10  6) + (10  8) C. 9  (5  7) = (9  5)  7
D. 1  10 = 10 D. (9  5) + (9  7) = 9  (5 + 7)

3. A. 5  0 = 0  5 4. A. 2  6 = 6  2
B. 5  (0  6) = (5  0)  6 B. 2  1 = 2
C. 5  (0 + 6) = (5  0) + (5  6) C. (2  6) + (2  0) = 2  (6 + 0)
D. 1  5 = 5 D. (2  6)  0 = 2  (6  0)

5. A. 1  8 = 8 6. A. 7  (1 + 4) = (7  1) + (7  4)
B. 8  (10 + 3) = (8  10) + (8  3) B. 7  1 = 1  7
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ 66 คณิตศาสตร์พื้นฐาน (ค21101)
โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย ธนบุรี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1

C. 8  (10  3) = (8  10)  3 C. 1  7 = 7
D. 8  10 = 10  8 D. 7  (1  4) = (7  1)  4

7. A. 6  10 = 10  6 8. A. 1  3 = 3
B. (6  10) + (6  7) = 6  (10 + 7) B. 3  8 = 8  3
C. 6  1 = 6 C. 3  (8  7) = (3  8)  7
D. (6  10)  7 = 6  (10  7) D. 3  (8 + 7) = (3  8) + (3  7)
9. A. 2  9 = 9  2 10. A. (1  10)  2 = 1  (10  2)
B. 1  2 = 2 B. (1  10) + (1  2) = 1  (10 + 2)
C. 2  (9 + 3) = (2  9) + (2  3) C. 1  10 = 10  1
D. 2  (9  3) = (2  9)  3 D. 1  1 = 1
คาตอบ
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10
............ ............ ............ ............ ............ ............ ............ ............ ............ ............

ข้อสอบประจาหน่วยการเรียนรู้

1. ข้อใดต่อไปนี้เป็นจริง
1) 0 เป็นจานวนเต็มลบ 2) จานวนนับเป็นจานวนเต็มบวก
16
3) มีจานวนเต็มบวกที่มากที่สุด 4)  ไม่เป็นจานวนเต็ม
4
2. ข้อใดต่อไปนี้ไม่เป็นจริง
1)  2  5  2 2)  9  9  2
3)  4  6  2 4) 7 7
3. ข้อใดต่อไปนี้เป็นจริง
1)    11  25 2)  21  35
3)  16  20 4) 0  3
4. จานวนในข้อใดต่อไปนี้เรียงลาดับแตกต่างจากข้ออื่น
1) 0 , –1 , –2 , –3 2) –8 , –7 , –6 , –5
3) –6 , –7 , –8 , –9 4) –2 , –3 , –4 , –5
คณิตศาสตร์พื้นฐาน (ค21101) 67 กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย ธนบุรี

5. 4    3 มีความหมายตรงกับข้อใด
1) 3  3  3  3 2)   4     4     4 
3) 4  4  4 4)   3    3    3    3
6. ผลบวกของจานวนสามจานวนที่ต่อจาก –5 , –2 , 1 , … มีค่าตรงกับข้อใด
1) 21 2) 13 3) 12 4) –33
7. ผลต่างของค่าสัมบูรณ์ของ 25 กับค่าสัมบูรณ์ของ –13 มีค่าตรงกับข้อใด
1) –38 2) –12 3) 12 4) 38
8. ค่าของ x ที่ทาให้    x  3  0 ตรงกับข้อใด
1 1
1) –3 2)  3) 4) 3
3 3
9. กาหนดให้ a  0 ถ้า  a  12    4   12  13  12 แล้วค่าของ a ตรงกับข้อใด
1) –21 2) –9 3) 13 4) 17
m m
10. กาหนด   ค่าของ m ตรงกับข้อใด
5 7
1) –5 2) –1 3) 0 4) 1
11. ค่าของ   15    10   11 ตรงกับข้อใด
1) –36 2) –14 3) 14 4) 36
12. ถ้า a เป็นจานวนเต็มบวก และ b เป็นจานวนเต็มลบ ซึ่ง a  b  c เป็นจานวนเต็มลบ แล้วค่าของ c
เป็นจานวนในข้อใด
1) จานวนนับ 2) จานวนเต็มหนึ่ง
3) จานวนเต็มลบ 4) จานวนเต็มศูนย์
13. ค่าของ 100    5     72    6  ตรงกับข้อใด
1) –300 2) –240 3) 210 4) 360
14. ถ้า y เป็นจานวนเต็มใด ๆ ข้อใดต่อไปนี้ไม่ถูกต้อง
y y
1) 0  y   2) y  1  y  0 3) y  0  y  1 4) y0
1 1
15. จาก 5a  5b  15c  5   a  b  3c  แสดงสมบัติใด
1) สมบัติการเปลี่ยนหมู่ 2) สมบัติการสลับที่
3) สมบัติการแจกแจง 4) สมบัติปิดสาหรับการคูณ
16. กาหนดให้ a , b และ c เป็นจานวนเต็มใด ๆ ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง
1) ถ้า a  b  0 แล้ว a  0 และ b  0
a 0
2)   0
0 a
3)  a  b  c  a   b  c 
4)  a  b  c   a  c    b  c 
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ 68 คณิตศาสตร์พื้นฐาน (ค21101)
โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย ธนบุรี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1

17. ถ้า a  5, b  4 และ c  7 แล้ว  a   b  c  มีค่าตรงกับข้อใด


1) –45 2) –23 3) 28 4) 33
18. ค่าของ  a  b   c ในข้อใดเป็นจานวนเต็มลบ
1) a  16, b  4, c  7 2) a  56, b  7, c  12
3) a  108, b  12, c  15 4) a  25, b  15, c  40
19. ประโยคในข้อใดต่อไปนี้เป็นจริง
1) 7   5  4    7  5  4
2) 3   6  2   3  2   3  6
3)  21  7  9   21 9   7  9
4)  12  4    19  5   31  4   1
20. สารละลายชนิดหนึ่ง วัดอุณหภูมิได้ –37 องศาเซลเซียส เมื่อทาให้ร้อนขึ้นวัดอุณหภูมิได้ 7 องศาเซลเซียส
อยากทราบว่าอุณหภูมิเพิ่มขึ้นเท่ากับข้อใด
1) 42 2) 43 3) 44 4) 45

You might also like