You are on page 1of 27

วารสารศิลปศาสตร์ ปีท%ี 13 ฉบับที% 1 มกราคม - มิถุนายน 2556

77

คติ ความเชื&ออดีตพุทธเจ้าในสังคมไทยพุทธศตวรรษที& 20-24*


Beliefs in Past Buddhas in Thai society during the 20th-24th Centuries BE
ชลดา โกพัฒตา
Chollada Kopatta

บทคัดย่อ

คติความเชื%ออดีตพุทธเจ้าในสังคมไทยมีทม%ี าจากพุทธศาสนาเถรวาทจากลังกาและความเชื%อในท้องถิ%น
ปรากฏขึนอย่างน้อยในราวพุทธศตวรรษที% 20 ความเชื%อในการบูชาอดีตพุทธเจ้านีเน้นอดีตพุทธเจ้าทังจํานวน
3 พระองค์ 6 พระองค์ 24 พระองค์ 27 พระองค์และไม่อาจประมาณนับได้ซง%ึ เกีย% วข้องกับประวัตพิ ระโคตมพุทธเจ้า
รวมถึงพุทธานุภาพของพระพุทธเจ้าในอดีต ปจั จุบนั และอนาคตทีม% ตี ่อดินแดนทีพ% ระองค์เสด็จมาโปรด ประทับรอย
พระบาท และทรงทํานายอนาคตของบ้านเมืองและผู้คนในดินแดนศักดิสิ€ ทธินั€ นๆ ไว้ ความเชื%อเหล่านีปรากฏใน
คัมภีรพ์ เิ ศษ ตํานาน งานจิตรกรรม ปฏิมากรรมและจารีตปฏิบตั ใิ นท้องถิน% ส่งเสริมและสืบทอดหลักพุทธธรรมเรื%อง
กรรมและไตรลักษณ์ กรอบคิดนีกําหนดวิถชี วี ติ ของพุทธศาสนิกชนในสังคมไทยให้ศรัทธาในพุทธศาสนา ประพฤติ
ชอบ สืบทอดประเพณีระลึกถึงพระพุทธเจ้า รวมถึงอธิบายความชอบธรรมทางการปกครอง

Abstract

The belief in the past Buddhas in Thailand originated from the Theravada and integrated with
the local belief around the 20th century. This belief involves the worshiping different variants of the
Enlightened Ones ranging from three, six, twenty-four, twenty-seven, and even the infinite. The beliefs in
the past Buddhas are related to history of Gautama Buddha and of the sacred locations where the
Enlightened Ones had imprinted their feet. The feet imprints of the Enlightened Ones signify that these
lands are protected under his benevolence throughout the past, the present and the future. The
documentation of these beliefs can be found in Pali texts, myths, mural paintings, architecture of the
Buddhas’ footprints and traditional practices of Thai people. These beliefs denote the Buddhist principles
of Deeds and the Three Characteristics of Existence. These principles then help shape Thai Buddhists to
have faith in moral essence, practice good deeds, and respect the relics of the Enlightened Ones.
Moreover, these principles also justify the rulers’ rights to govern.

1. ความนํา
ในทางเถรวาทมีแนวคิดทีว% ่าพระพุทธเจ้าคือผูท้ บ%ี าํ เพ็ญบารมีมาอย่างอุกฤษ์สมบูรณ์ตามขันตอนจนบรรลุ
โพธิญาณ เป็ นผูม้ ุ่งแสวงหาและพบความรูท้ น%ี ําไปสู่การหลุดพ้นจากสังสารวัฏ “นิพพาน” เป็ นเป้าหมายสูงสุด แต่
พระองค์กย็ งั อยู่ในกฎไตรลักษณ์เช่นเดียวกับสรรพสิง% ทังหลาย พระวรกายของพระองค์เป็ นกายมนุ ษย์ธรรมดาที%
*
บทความนีเรียบเรียงจากงานวิจยั เรือ% ง “คติความเชือ% อดีตพุทธเจ้าในสังคมไทย พุทธศตวรรษที% 20 -24” ได้รบั ทุนสนับสนุน
งานวิจยั จากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
78 วารสารศิลปศาสตร์ ปีท%ี 13 ฉบับที% 1 มกราคม - มิถุนายน 2556

ต้องสูญสลายไปเมื%อถึงกาลอันควร ศาสนาของพระองค์ท%ที รงโปรดเวไนยสัตว์กเ็ ช่นกันไม่อาจดํารงอยู่ได้อย่าง


นิรนั ดร พระพุทธเจ้าอุบตั มิ าแล้วในอดีต ปจั จุบนั และกําลังจะอุบตั ขิ นในอนาคตจํ
ึ านวนมากทังทีน% ับได้และไม่อาจ
ประมาณนับได้ แต่มพี ระพุทธเจ้าในอดีตจํานวนหนึ%งที%ระบุจํานวน พระนาม และพระประวัติ ทุกพระองค์ทรงมี
พระจริยาวัตรทีค% ล้ายคลึงกันและมีความเกีย% วข้องกับพระโพธิสตั ว์
พระคัมภีร์พุทธเถรวาททังพระไตรปิ ฎก อรรถกถา และคัมภีร์พิเศษที%ค ัดลอกและแต่ งขึนในดินแดน
ประเทศไทยตังแต่พุทธศตวรรษที% 20 ทีพ% ุทธศาสนาเถรวาทจากลังกาเผยแผ่มายังบริเวณนีเน้นกล่าวถึงเรื%องราว
พุทธประวัตแิ ตกต่างกัน เช่น จํานวนอดีตพระพุทธเจ้าทีร% ะบุพระนาม 5 พระองค์ 6 พระองค์ 24 พระองค์ หรือ 27
พระองค์ พระประวัติของอดีตพุทธเจ้าบางพระองค์ และความแตกต่างของพระพุทธเจ้าในด้านพระชนมายุ พระ
ตระกูลทีท% รงกําเนิด เวลาทีท% รงบําเพ็ญเพียร พระยานทีท% รงออกผนวช ต้นไม้ทต%ี รัสรู้ ความสูงของโพธิบลั ลังก์ท%ี
ประทับ ความสูงของพระวรกาย และพระรัศมีรอบพระองค์
เรื%องราวอดีตพุทธเจ้ามีทงทีั แ% ทรกอยู่ในคัมภีรต์ ่างๆ อาทิ คัมภีรม์ หาวรรคในพระวินัยปิ ฎกและพระสูตร
ต่างในพระสุตตันตปิ ฎก และทีเ% ป็ นพุทธประวัตเิ รื%องราวเฉพาะ อาทิ คัมภีรพ์ ุทธวงศ์ คัมภีรช์ นอรรถกถา
ั และคัมภีร์
พิเ ศษ ซึ%ง สาระเนื อหาที%ป รากฏในคัม ภีร์พิเ ศษมีรายละเอีย ดเรื%อ งราวซับ ซ้อนมากขึน เช่ น กล่ า วถึง วงศ์ข อง
พระโคตมพุ ทธเจ้าตังแต่ ครังที%พ ระโพธิสตั ว์ได้พบและได้รบั คํา พยากรณ์ จากอดีต พุทธเจ้าว่า จะได้สําเร็จ เป็ น
พระโคตมพุทธเจ้า พระโพธิสตั ว์ทรงบําเพ็ญบารมีในสํานักของอดีตพุทธเจ้าที%ระบุพระนามจํานวน 24 พระองค์
กล่าวถึงพระประวัตขิ องพระโคตมพุทธเจ้าโดยย้อนเวลากลับไปในอดีตทีย% าวนานขึนตังแต่พระโพธิสตั ว์ทรงบําเพ็ญ
บารมีและแสดงความปรารถนาขอเป็ นพระพุทธเจ้าเป็ นครังแรก ดังทีป% รากฏความในคัมภีรโ์ สตัตถกีมหานิทานทีใ% ห้
ความสําคัญกับการบําเพ็ญบารมีอย่างอุกฤษ์และสมบูรณ์ พระโพธิสตั ว์แสดงความปรารถนาอย่างมุ่งมันในการเป็ % น
พระพุ ท ธเจ้า เริ%ม ตังแต่ พ ระองค์ท รงคิด ปรารถนาเป็ น พระพุ ท ธเจ้า ทรงเปล่ ง วาจาแสดงความปรารถนาเป็ น
พระพุทธเจ้า ทรงเปล่งวาจาและปฏิบตั ิพุทธการกธรรมแสดงความปรารถนาเป็ นพระพุทธเจ้า รวมถึงกล่าวเน้น
พระชาติท%ีพระโพธิสตั ว์เสวยพระชาติเป็ น หญิงผู้ปรารถนาเป็ นพระพุทธเจ้า แต่ พระอดีตพุทธเจ้าไม่อ าจให้คํา
พยากรณ์แก่พระนางได้เพราะเธอยังไม่ถงึ พร้อมด้วยเพศทีจ% ะเป็ นพระพุทธเจ้า
เรื%องราวเกีย% วกับอดีตพุทธเจ้ายังพบในหลักฐานทีเ% ป็ นลายลักษณ์อกั ษรอื%น ได้แก่ จารึก ตํานาน และทีไ% ม่
เป็ นลายลักษณ์อกั ษรทีป% รากฏชัดเจน ได้แก่ ภาพจิตรกรรมและรูปรอยพระพุทธบาททีแ% พร่หลายในล้านนา สุโขทัย
อยุธยาและรัตนโกสินทร์อย่างต่อเนื%อง งานจารึกและตํานานโดยเฉพาะตํานานพระธาตุและพระพุทธบาทบอกเล่า
ความเป็ น มาของผู้ค นและบ้า นเมือ งในดิน แดนที%พ ระพุ ท ธเจ้า เสด็จ มาโปรดและประทับ รอยพระบาทไว้ใ ห้
สัก การะบูช าแทนพระองค์ ทรงให้คํา ทํา นายเหตุ ก ารณ์ ค วามเป็ น ไปของผู้ค นและบ้า นเมือ งในอนาคต ภาพ
พระพุทธเจ้าจํานวนมากบนจิตรกรรมฝาผนังในกรุปรางค์ อุโบสถและพระบฏ และรูปรอยพระบาทสีร% อยรวมถึง
ประเพณีนมัสการพระพุทธบาทของพุทธเจ้าทีอ% ุบตั ริ ่วมกับพระโคตมพุทธเจ้าในภัททกัปนี เหล่านีทีย% งั คงสืบทอด
มาถึงปจั จุบนั
งานเขีย น ศิล ปกรรมและจารีต ประเพณีท%ีก ล่ า วมานี เกี%ย วข้อ งกับ คติความเชื%อ เรื%อ งอดีต พุท ธเจ้า ใน
สังคมไทยซึง% ปรากฏอย่างน้อยในราวพุทธศตวรรษที% 20 แสดงให้เห็นว่ามีอทิ ธิพลต่อคตินิยมทางศาสนาและสังคม
ของผูค้ นในสังคมมาอย่างยาวนาน ด้วยเหตุนีจึงเป็ นเรื%องทีน% ่าสนใจศึกษาถึงทีม% าของคติความเชื%อเรื%องพระพุทธเจ้า
ในอดีต ความหมายทีป% รากฏในคัมภีรแ์ ละตํานานทีร% จนาขึนในประเทศไทย งานพุทธศิลป์อนั ได้แก่จติ รกรรมบนฝา
ผนังและพระบฏ และปฏิมากรรมรูปรอยพระพุทธบาทและประเพณีนมัสการพระพุทธบาท รวมถึงอิทธิพลของคติ
ความเชื%อนีทีม% ตี ่อความคิดความเชื%อในสังคม
วารสารศิลปศาสตร์ ปีท%ี 13 ฉบับที% 1 มกราคม - มิถุนายน 2556
79

2. อดีตพุทธเจ้าในพระไตรปิ ฎก อรรถกถาและคัมภีรพ์ ิ เศษ


*
พุทธประวัตใิ นพระไตรปิ ฎก อรรถกถาและคัมภีรพ์ เิ ศษ เน้นเรื%องราวพระประวัตขิ องพระพุทธเจ้าแตกต่าง
กัน คัมภีรม์ หาวรรคซึง% ยอมรับว่าเป็ นพุทธประวัตเิ ก่าทีส% ุด1 กล่าวถึงประวัตพิ ระพุทธเจ้าตังแต่ตรัสรูจ้ นถึงทรงมี
พระอัครสาวก แต่ไม่พบส่วนทีก% ล่าวถึงพระพุทธเจ้าพระองค์อ%นื เรื%องราวพระพุทธเจ้าพระองค์อ%นื มีกล่าวในคัมภีร์
มหาปทานสูตรและอาฏานาฏิ ยสูตร กล่าวถึงอดีตพุทธเจ้า 6 พระองค์ ซึง% ปรากฏพระนามพระวิปสั สีพุทธเจ้าเป็ น
ลําดับแรก
คัมภีรพ์ ุทธศาสนาเถรวาทช่วงทีแ% ยกเป็ นสํานักต่างๆ ตังแต่ประมาณพุทธศตวรรษที% 2-52 ทีก% ล่าวถึงพุทธ
ประวัตทิ ส%ี าํ คัญคือ พุทธวงศ์ กล่าวถึงพระประวัตขิ องพระโคตมพุทธเจ้าและการบําเพ็ญบารมีของพระโพธิสตั ว์เพื%อ
เป็ นพระพุทธเจ้า ต่อมาในราวพุทธศตวรรษที% 10-11 เป็ นต้นมา พระอรรถกถาจารย์ในลังกาได้รจนาอรรถกถาและ
คัมภีรพ์ เิ ศษขึน คัมภีร์ชนอรรถกถา
ั เช่น อรรถกถามหาปทานสูตร อรรถกถาพุทธวงศ์ อรรถกถาจริ ยาปิ ฎก
และอรรถกถาชาดก เสนอพุทธประวัติไว้ส่วนต้นของคัมภีร์และกล่าวถึงพระประวัติของพระโคตมพุทธเจ้าใน
อดีตชาติ ส่วนคัมภีร์พิเศษ เช่น นิ ทานกถาที%พระพุทธโฆสเถระรจนาเมื%อราวพุทธศตวรรษที% 10 3 กล่าวถึง
พระประวัตขิ องพระโคตมพุทธเจ้าและการบําเพ็ญบารมีของพระองค์เพื%อเป็ นพระพุทธเจ้าในศาสนาของอดีตพุทธ
เจ้า 24 พระองค์ คัมภีรพ์ ุทธประวัตซิ ง%ึ แต่งขึนในราวพุทธศตวรรษที% 18-19 เช่น ชิ นาลังการทีพ% ระพุทธรักขิตเถระ
รจนาในราว พ.ศ. 1700 กล่าวถึงพระประวัตขิ องพระโคตมพุทธเจ้าตังแต่พระองค์ประสูตจิ นถึงพระองค์ปรินิพพาน4
ชิ นจริตทีพ% ระเมธังกรรจนาในราวต้นพุทธศตวรรษที% 19 กล่าวถึงการบําเพ็ญบารมีของพระโพธิสตั ว์ในศาสนาของ
อดีตพุทธเจ้า 24 พระองค์จนพระองค์ได้ตรัสรูเ้ ป็ นพระโคตมพุทธเจ้าในทีส% ดุ 5
เมื%อพุทธศาสนาเถรวาทเผยแผ่มาสูล่ า้ นนาและอยุธยาในช่วงพุทธศตวรรษที% 19-20 พระคันถรจนาจารย์
ได้ร จนาคัม ภีร์พุ ท ธประวัติดํ า เนิ น เรื%อ งตามพุ ท ธวงศ์เ น้ น อดีต พุ ท ธเจ้า 24 พระองค์ห รือ 27 พระองค์ เช่ น
ชิ นมหานิ ทานรจนาทีเ% ชียงใหม่หรืออยุธยาประมาณพุทธศตวรรษที% 21 ปฐมสมโพธิ รจนาทีเ% ชียงใหม่ประมาณ
พุทธศตวรรษที% 21-22 พุทธานุปริวตั ต์รจนาทีอ% ยุธยาประมาณพุทธศตวรรษที% 21-22 คัมภีรเ์ หล่านีเป็ นทีร% ูจ้ กั และ
ยังสืบทอดต่อมาในสมัยรัตนโกสินทร์ ส่วนคัมภีรท์ %แี ต่งในสมัยรัตนโกสินทร์ เช่น สังคีติยวงศ์ซง%ึ พระพิมลธรรม
รจนาใน พ.ศ. 2332 ปฐมสมโพธิ กถาซึ%งสมเด็จพระสมณเจ้ากรมพระปรมานุ ชติ ชิโนรสทรงชําระในพ.ศ.2387
คัมภีร์กลุ่มนีกล่าวถึงพระโพธิสตั ว์บําเพ็ญบารมีในศาสนาของอดีตพุทธเจ้า 24 พระองค์ เริม% ตังแต่พระโพธิสตั ว์
เสวยพระชาติเ ป็ น สุ เ มธดาบสได้พ บและได้ร ับ คํา พยากรณ์ จ ากพระทีป งั กรอดีต พุ ท ธเจ้า ว่ า จะได้สํา เร็จ เป็ น
พระพุทธเจ้า
*
คัมภีรพ์ เิ ศษ หรือ ปกรณ์พเิ ศษ คือ งานประพันธ์เรือ% งราวทางศาสนาทีพ% ระเถราจารย์แต่งขึนตามเค้าโครงของตนเองหรือ
ตอบข้อสงสัยบางเรือ% ง
1
สุภ าพรรณ ณ บางช้าง, ประวัติว รรณคดีบาลีในอิน เดีย และลังกา (กรุ งเทพฯ: ศัก ดิโ สภาการพิมพ์, 2526), น. 49;
ประพจน์ อัศววิรุฬหการ, โพธิสตั ว์จรรยา: มรรคเพือมหาชน (โครงการเผยแพร่ผลงานวิชาการ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์
มหาวิทยาลัย, 2546), น.12.
2
Buddhism: its Essence and Development, (New York: Harper& Row, 1965), p.65; Kalupahana, David J.,
Buddhist Philosophy: A Historical Analysis, (Honolulu : University of Hawaii Press, 1975), p.vIII; Hirakawa, Akira, A History
of Indian Buddhism: from Sakyamuni to early Mahayana. translated and edited by Paul Groner. Hawaii: University of
Hawaii Press, 1990), p. 105-138.
3
พุทธโฆสเถระ, นิทานกถา พระพุทธประวัตติ อนต้น, แปลและเรียบเรียงโดยธนิต อยู่โพธิ,€ (กรุงเทพฯ: กรมศิลปากร,
2530), น. (1).
4
พุทธรักขิต, ชินาลังการ, แปลและอธิบายโดยพระคันธสาราภิวงส์, สืบค้นเมือ% ธันวาคม 2553 จาก http://www.wattamaoh
.com/download/ชินาลังการ%20Jina.pdf.
5
สุภาพรรณ ณ บางช้าง, ประวัตวิ รรณคดีบาลีในอินเดียและลังกา, น.132.
80 วารสารศิลปศาสตร์ ปีท%ี 13 ฉบับที% 1 มกราคม - มิถุนายน 2556

นอกจากนีมีคมั ภีรอ์ กี กลุ่มหนึ%งเน้นกล่าวถึงเรื%องราวการบําเพ็ญบารมีของพระโคตมพุทธเจ้าในอดีตชาติท%ี


ยาวไกลออกไป เริ%ม ตังแต่ พระโพธิสตั ว์ปรารถนาเป็ น พระพุ ทธเจ้าครังแรก หลังจากนันทรงบํา เพ็ญบารมีจ น
สมบูรณ์และถึงพร้อมด้วยคุณสมบัตขิ องการเป็ นพระพุทธเจ้าทุกประการและให้รายละเอียดเรื%องราวของอดีตพุทธ
เจ้าทีซ% บั ซ้อนขึน6 คัมภีรก์ ลุ่มนี เช่น สัมภารวิ บากซึง% สันนิษฐานว่าพระคันถรจนาจารย์รจนาทีเ% ชียงใหม่ในราวพุทธ
ศตวรรษที% 19 กล่าวถึงอดีตพุทธเจ้าที%ระบุพระนาม 24 พระองค์และไม่ระบุพระนามจํานวนมาก โสตัตถกี มหา
นิ ทานซึ%งสันนิษฐานว่าพระจูฬพุทธโฆสรจนาในราวพุทธศตวรรษที% 19-20 คัมภีร์นีแพร่หลายในล้านนา สุโขทัย
ล้านช้างและอยุธยากล่าวถึงอดีตพุทธเจ้าที%ระบุพระนามจํานวน 28 พระองค์และไม่ระบุพระนามอีกจํานวนมาก
สัมปิ ณทิ ตมหานิ ทานซึ%งสันนิษฐานว่ารจนาขึนในราวพุทธศตวรรษที% 20 ที%เชียงใหม่หรืออยุธยามีเนือความ
ตามสัมภารวิบาก สัทธรรมสังคหะซึง% สันนิษฐานว่าพระธรรมกิตติรจนาทีอ% ยุธยาหรือสุโขทัยในราวพุทธศตวรรษที%
19-20 มู ล ศาสนาซึ& ง รจนาในพุ ท ธศตวรรษที% 20 ที%เ ชีย งใหม่ จุล สัท ธรรมสัง คหะซึ%ง รจนาที%อ ยุ ธ ยาในราว
พุทธศตวรรษที% 21 ชิ นกาลมาลีปกรณ์ซง%ึ รจนาทีเ% ชียงใหม่ใน พ.ศ. 2060 กล่าวถึงอดีตพุทธเจ้ามากกว่า 24 พระองค์
เรื%องราวพุทธประวัตใิ นพระไตรปิ ฎกมีแทรกอยู่ในคัมภีรต์ ่างๆ ดังปรากฏในคัมภีรม์ หาวรรคในพระวินัย
ปิ ฎกและพระสูตรต่างๆ ในพระสุตตันตปิ ฎก ส่วนพุทธประวัตทิ %เี ป็ นเรื%องราวเฉพาะนันอยู่ในคัมภีร์พุทธวงศ์และ
อรรถกถาพุทธวงศ์มเี นือหากล่าวถึงวงศ์ของพระโคตมพุทธเจ้า เริม% ตังแต่ครังพระโพธิสตั ว์เสวยพระชาติต่างๆ ใน
สํานักของอดีตพุทธเจ้าที%ระบุพระนามจํานวน 24 พระองค์ พระโพธิสตั ว์ทรงได้รบั คําพยากรณ์จากอดีตพุทธเจ้า
เป็ นครังแรกว่าจะได้ตรัสรูเ้ ป็ นพระโคตมพุทธเจ้าและทรงได้รบั คําพยากรณ์จากพระพุทธเจ้าทุกพระองค์สบื ต่อมา
จนได้ตรัสรู้เป็ นพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ความในคัมภีร์พุทธวงศ์นีมีอิทธิพลต่อการนํ าเสนอพุทธประวัติในคัมภีร์
เถรวาทบาลีในสมัยต่อๆ มา
คัมภีรอ์ รรถกถาซึง% รจนาในลังกาประมาณพุทธศตวรรษที% 10-11 เป็ นต้นมาทีเ% สนอเรื%องราวพุทธประวัตใิ น
แนวทางเดียวกับคัมภีรพ์ ุทธวงศ์ โครงเรื%องในอรรถกถาถือเป็ นแม่แบบของพุทธประวัตใิ นงานเขียนประเภทตํานาน
พงศาวดาร เช่น นิทานกถามีสาระเนือหาพัฒนามาจากคัมภีรพ์ ุทธวงศ์โดยให้รายละเอียดเรื%องราวอดีตพุทธเจ้าและ
การบําเพ็ญบารมีของพระโพธิสตั ว์ในศาสนาของพระพุทธเจ้าหลายพระองค์ท%อี ุบตั ิขนมาแล้ ึ วในอดีต คัมภีรช์ นิ า
ลังการและคัมภีรช์ นิ จริต คัมภีรท์ งสองเรื
ั %องกล่าวถึงพระประวัตพิ ระพุทธเจ้าและพระชนม์ชพี แห่งการสังสมบารมี
%
ตังแต่ ค รังที%พ ระพุ ท ธเจ้า เสวยพระชาติเ ป็ น สุเมธดาบสในศาสนาของอดีต พุ ทธเจ้า ทีปงั กรเรื%อ ยมาเป็ น ลํา ดับ
จนกระทัง% ตรัสรูแ้ ละเสด็จเผยแผ่พระธรรม ความตามคัมภีรพ์ ุทธประวัตนิ ีมีกล่าวไว้ในคัมภีรท์ ร%ี จนาในล้านนา
อยุธยาและในสมัยต่อๆ มา เช่น ปฐมสมโพธิ พุทธานุ ปริวตั ต์ และชินมหานิทาน นอกจากนีคัมภีร์พิเศษที%มี
ความเห็นไปในทางมหายานให้รายละเอียดเรื%องราวของพระพุทธเจ้าทีซ% บั ซ้อนขึน มีแนวคิดพระพุทธเจ้าจํานวน
มากกว่าอดีตพุทธเจ้า 24 พระองค์และ 27 พระองค์ ทําให้ขยายเวลาและเรื%องราวในอดีตชาติทย%ี าวไกลออกไปใน
ช่วงเวลาหลายกัปอสงไขยทีพ% ระโพธิสตั ว์ทรงบําเพ็ญบารมี

6
Waldemar C.Sailer, “A Brief Introduction to Sottatthaki Mahan Dana” อ้างจาก จูฬพุทธโฆสเถระ, โสตัตถกีมหา
นิทาน, ตรวจชําระและแปลโดย บรรจบ บรรณรุจ,ิ (กรุงเทพฯ:โรงพิมพ์มติ รสยาม, 2526), น.1-17; สน สีมาตรัง, ปญั หาการศึกษาภาพ
อดีต พุ ท ธเจ้าจํา นวนมากในจิต รกรรมฝาผนังสมัย สุ โ ขทัย อยุ ธ ยาและรัต นโกสิน ทร์ , (เอกสารประชุ ม สัมมนาทางวิช าการเรื%อ ง
กรุงศรีอยุธยา: อู่อารยธรรมไทย, ศูนย์ศกึ ษาประวัติศาสตร์อยุธยา 22-25 สิงหาคม 2533); สุภาพรรณ ณ บางช้าง, วิวฒ ั นาการ
วรรณคดีสายพระสุตตันปิฎกทีแต่งในประเทศไทย. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2533, น. 132-210.
วารสารศิลปศาสตร์ ปีท%ี 13 ฉบับที% 1 มกราคม - มิถุนายน 2556
81

3. อดีตพุทธเจ้ากับพระโพธิ สตั ว์
3.1 เหตุแห่งการเป็ นพระพุทธเจ้า
คัมภีร์ชนอรรถกถาและคั
ั มภีร์พเิ ศษแบ่งเรื%องราวพุทธประวัติของพระโคตมพุทธเจ้าตามต้นเรื%องของ
การบําเพ็ญบารมีของพระโพธิสตั ว์ซง%ึ เป็ นไปตามลําดับ ได้แก่ จิตปณิธาน วจีปณิธาน และกายวจีปณิธาน
คัมภีร์ทเ%ี สนอเรื%องราวอดีตพุทธเจ้า 24 พระองค์ นิ ทานกถาหรืออรรถกถาชาดและคัมภีร์พเิ ศษ อาทิ
ชิ นาลังการ ชิ นจริต ปฐมสมโพธิ พุทธานุปริวตั ต์ และชิ นมหานิ ทาน ต่างแสดงเรื%องราวของพระโพธิสตั ว์อนั มี
สาเหตุจากปณิธานด้วยกายและวาจา คัมภีรเ์ หล่านีกล่าวถึงการบําเพ็ญบารมีของพระโพธิสตั ว์ในสํานักอดีตพุทธ
เจ้า 24 พระองค์ โดยจัดแบ่งเป็ น 3 ตอน ได้แก่ ทูเรนิ ทาน ความตอนนีแสดงเรื%องราวพระโพธิสตั ว์ทรงบําเพ็ญ
บารมีในสํานักอดีตพุทธเจ้าทีปงั กรและพระพุทธเจ้าพระองค์อ%นื เรื%อยมาจนถึงพระกัสสปพุทธเจ้า อวิ ทูเรนิ ทาน
ความตอนนีแสดงเรื%องราวของพระโคตมพุทธเจ้าตังแต่พระองค์ประสูติ ผนวช แสวงหาความรูเ้ พื%อการหลุดพ้นจาก
สังสารวัฏจนกระทังบรรลุ % โพธิญาณ และสันติ เกนิ ทาน แสดงเรื%องราวของพระโคตมพุทธเจ้าตังแต่พระองค์ตรัสรู้
จนเสด็จดับขันธปรินิพพานและขยายความถึงเหตุการณ์ภายหลังปรินิพพาน ความในอวิทูเรนิทานและสันติเก
นิทานนีเป็ นพระประวัติของพระพุทธเจ้าในพระชาติปจั จุบนั ที%พระโพธิสตั ว์ทรงบําเพ็ญบารมีตามขันตอนมาจน
สมบูรณ์ได้บรรลุโพธิญาณสําเร็จเป็ นพระโคตมพุทธเจ้า เน้นเรื%องราวการแสดงความมุ่งมันปรารถนาในพุ
% ทธภูมิ
การบําเพ็ญบารมีปฏิบตั พิ ุทธการกธรรม และการได้รบั พุทธพยากรณ์ว่าจะสําเร็จเป็ นพระพุทธเจ้าในช่วงเวลา 4
อสงไขยแสนกัป เรื%องราวใน 3 นิทานนีเป็ นแบบแผนของการเสนอเนือหาพุทธประวัตใิ นคัมภีรพ์ เิ ศษสมัยต่อๆ มา
คัมภีร์ท%เี น้นอดีตชาติในที%ยาวไกลออกไป เช่น สัมภารวิ บาก โสตัตถกี มหานิ ทาน สัมบิ ณฑิ ตมหา
นิ ทาน ชิ นกาลมาลีปกรณ์ และมูลศาสนา กล่าวถึงการบําเพ็ญบารมีของพระโพธิสตั ว์ท%ไี กลออกไปเน้นตังแต่
ทรงคิดปรารถนาพุทธภูมคิ รังแรก ทรงบําเพ็ญบารมีโดยไม่ได้พบพระพุทธเจ้าจนกระทังถึ % งพระชาติท%ไี ด้พบและ
ได้รบั พุทธพยากรณ์ว่าจะสําเร็จเป็ นพระพุทธเจ้า เรื%องราวเน้นการบําเพ็ญบารมีของพระโพธิสตั ว์อย่างอุกฤษฎ์ เริม%
จากเหตุแห่งมโนปณิธานรวมเวลา 7 อสงไขย แล้วกระทําวจีปณิธานอีก 9 อสงไขย แล้วกระทํากายและวจีปณิธาน
อีก 4 อสงไขยแสนกัปรวมเป็ น 20 อสงไขยแสนกัป เรื%องราวของพระโคตมพุทธเจ้าทีป% รากฏในคัมภีรพ์ เิ ศษนีเป็ น
เรื%องทีเ% น้นขยายความมากกว่าเนือหาในคัมภีรพ์ ุทธวงศ์และอรรถกถาพุทธวงศ์โดยจัดแบ่งเรื%องราวเป็ น 2 ตอนใหญ่
ได้แก่ พาหิรนิทาน และมหานิทาน ดังนี
พาหิ รนิ ทานหรือนิทานนอกเวลา 20 อสงไขยแสนกัป คัมภีรแ์ สดงเรื%องราวในช่วงเวลาทีพ% ระโพธิสตั ว์ตงั
จิตปรารถนาเป็ นพระพุทธเจ้าโดยมิได้พบพระพุทธเจ้า เน้นตังแต่พระโพธิสตั ว์คดิ ปรารถนาเป็ นพระพุทธเจ้าเป็ น
ครังแรกเรีย กว่ า “ปฐมปณิ ธ าน” ทรงบํ า เพ็ญ บารมีแ ต่ ย ัง ไม่ ไ ด้ พ บพระพุ ท ธเจ้ า ในพระชาติ นั นพระองค์
ทรงเสวยพระชาติเป็ นนายสําเภาช่วยมารดาซึง% สําเภาอัปปางว่ายข้ามมหาสมุทรระหว่างนันท้าวมหาพรหมจากชัน
อกนิษฐพรหมทรงดลพระทัยพระโพธิสตั ว์ให้คดิ ปรารถนาในพุทธภูมิ เรื%องราวที%บางคัมภีร์เน้นเป็ นพิเศษ เช่น
คัมภีร์โ สตัตถกีมหานิทานเน้ นความตอนที%พระโพธิสตั ว์เสวยพระชาติเป็ นหญิงมีพระนามว่าสุมิตตาราชกุมารี
พระนางได้ฝากพระเถระถวายนํามันเมล็ดผักกาดและคําขอให้พระนางได้เป็ นพระพุทธเจ้าพระองค์หนึ%งเป็ นพุทธ
บูชาแด่พระโบราณทีปงั กรพุทธเจ้า
มหานิ ทานแสดงเรื%องราวของพระพุทธเจ้าในช่วงเวลาพุทธภูมทิ พ%ี ระโพธิสตั ว์ทรงบําเพ็ญบารมีและได้พบ
อดีตพระพุทธเจ้าเป็ นตามขันตอนจนสมบูรณ์ ได้แก่ มโนปณิธาน วจีปณิธาน และกายวจีปณิธานรวมเวลา 20
อสงไขยแสนกัป เรื%องราวในมหานิทานเริม% ตังแต่ครังที%พระโพธิสตั ว์มจี ติ ปรารถนาเป็ นพระพุทธเจ้าต่อพระพักตร์
พระพรหมเทวะพุทธเจ้ารวมเวลา 7 อสงไขยทีม% พี ระพุทธเจ้าอุบตั ขิ นจํ ึ านวน 125,000 พระองค์ อติ ทูเรนิ ทาน
แสดงเรื%องราวในตอนทีพ% ระโพธิสตั ว์สทิ ธัตถะแสดงปณิธานด้วยการเปล่งวาจาปรารถนาเป็ นพระพุทธเจ้าต่อพระ
พักตร์พระพุทธเจ้าจํานวน 387,000 พระองค์รวมเวลา 9 อสงไขย ทูเรนิ ทานแสดงเรื%องราวทีไ% ม่ไกลนักในช่วงเวลา
82 วารสารศิลปศาสตร์ ปีท%ี 13 ฉบับที% 1 มกราคม - มิถุนายน 2556

ที%พระโพธิสตั ว์เปล่งวาจาและปฏิบตั ิพุทธการกธรรมปรารถนาเป็ นพระพุทธเจ้าต่ อพระพักตร์พระพุทธเจ้า 24


พระองค์รวมเวลา 4 อสงไขยแสนกัปและทรงได้ร ับคํ าพยากรณ์ จากพระพุ ทธเจ้าทุ กพระองค์ว่ าจะสําเร็จเป็ น
พระพุทธเจ้า ส่วนสันติ เกนิ ทานแสดงเรื%องราวพระโพธิสตั ว์ในพระชาติปจั จุบนั ตังแต่เจ้าชายสิทธัตถะประสูติ
ทรงมีศ รัท ธาออกผนวช แสวงหาความรู้จนกระทัง% บรรลุโ พธิญาณเป็ น พระพุท ธเจ้า จนกระทัง% ปรินิ พพาน ซึ%ง
โสตตัตถกีมหานิทานแสดงเรื%องราวตังแต่จุตถิ งึ ตรัสรูไ้ ม่ได้เน้นพุทธประวัตใิ นพระชาติปจั จุบนั นัก

3.2 กัปและอสงไขยที&มีพระพุทธเจ้าอุบตั ิ
ช่วงเวลาทีพ% ระโพธิสตั ว์บําเพ็ญบารมีเพื%อบรรลุโพธิญาณได้สาํ เร็จเป็ นพระพุทธเจ้านันเป็ นเวลายาวนาน
หลายกัปอสงไขยทีม% พี ระพุทธเจ้าอุบตั ขิ นมาแล้
ึ วจํานวนมาก คัมภีรเ์ น้นช่วงการบําเพ็ญบารมีของพระโพธิสตั ว์ท%ี
ยาวนานแตกต่างกัน คัมภีรส์ มั ภารวิ บาก โสตัตถกีมหานิ ทาน และชิ นกาลมาลีปกรณ์ เน้นอธิบายการบําเพ็ญ
บารมีของพระโพธิสตั ว์ในช่วงระยะเวลาที%ยาวไกลเป็ นกัปและอสงไขยที%เกี%ยวข้องกับการอุบตั ิของพระพุทธเจ้า7
โดยให้รายละเอียดช่วงเวลากัปอสงไขยทีเ% กีย% วข้องกับพระพุทธเจ้ามาโปรดเวไนยสัตว์ ดังนี
กัปมี 2 แบบ คือ สุญญกัปและอสุญญกัป สุญญกัปหมายถึงกัปที%ไม่มีพระพุทธเจ้าอุบตั ิ อสุญญกัป
หมายถึงกัปที%มีพระพุทธเจ้าอุบตั ิเพื%อโปรดเวไนยสัตว์ ซึ%งมีช%อื เรียกแตกต่างกันตามจํานวนพระพุทธเจ้าอุบตั 8ิ
ได้แก่ สารกัปมีพระพุทธเจ้าอุบตั ขิ นึ 1 พระองค์ มัณฑกัปมีพระพุทธเจ้าอุบตั ขิ นึ 2 พระองค์ วรกัปมีพระพุทธเจ้า
อุบตั ขิ นึ 3 พระองค์ สารมัณฑกัปมีพระพุทธเจ้าอุบตั ขิ นึ 4 พระองค์ และภัททกัปมีพระพุทธเจ้าอุบตั ขิ นึ 5 พระองค์
อสงไขยมี 2 แบบ ได้แก่ สุญญอสงไขยและอสุญญอสงไขย สุญญอสงไขยหมายถึงอสงไขยที%ไม่มี
พระพุทธเจ้าอุบตั ิ อสุญญอสงไขยหมายถึงอสงไขยทีม% พี ระพุทธเจ้าอุบตั ขิ นเพื ึ %อโปรดเวไนยสัตว์9 มีช%อื เรียกเฉพาะ
ตามขันตอนการบําเพ็ญบารมีของพระโพธิสตั ว์10 ได้แก่ ช่วงเวลาทีพ% ระโพธิสตั ว์คดิ ปรารถนาพุทธภูมริ วมเวลา 7
อสงไขยมี พ ระพุ ท ธเจ้ า อุ บ ัติ ข ึน125,000 พระองค์ ได้ แ ก่ นั น ทอสงไขย สิริ นั น ทอสงไขย ปฐวีอ สงไขย
มัณฑอสงไขยขึน ธรณีอสงไขย สาครอสงไขย และบุณฑริกอสงไขย ช่วงเวลาที%พระโพธิสตั ว์เปล่งวาจาแสดง
ความปรารถนาเป็ นพระพุทธเจ้ารวมเวลา 9 อสงไขย มีพระพุทธเจ้าอุบตั ขิ นึ 387,000 พระองค์ ได้แก่ สัพพภัททอ
สงไขย สัพพผุลลอสงไขย สัพพรัตนอสงไขย อุสภักขันธอสงไขย มานิภทั ทอสงไขย ปทุมอสงไขย อุสภอสงไขยมี
พระพุทธเจ้าอุบตั ิ ขันธุตตอสงไขย และสัพพามลอสงไขย และช่วงเวลาทีพ% ระโพธิสตั ว์ปรารถนาเป็ นพระพุทธเจ้า
ด้วยการเปล่งวาจาและปฏิบตั พิ ุทธการกธรรมต่อพระพักตร์พระพุทธเจ้าและทรงได้รบั พุทธพยากรณ์ว่าจะได้สาํ เร็จ
เป็ นพระพุทธเจ้ารวม 4 อสงไขยแสนกัป ได้แก่ เสลออสงไขย กาสอสงไขยเชยยอสงไขย และรุจอิ สงไขยใน
ช่วงเวลานีมีพระพุทธเจ้าอุบตั ขิ นแล้ึ ว 24 พระองค์
7
กัป หมายถึงชือ% เรียกระยะเวลาการดํารงอยู่ของจักรวาล ซึ%งไม่ทราบจํานวนวันทีแ% น่ นอนแต่เป็ นระยะเวลาทีน% านอุปมาดัง
“จอมผากว้างใหญ่สงู โยชน์หนึ%ง ถึงร้อยปีมเี ทพยดาเอาผ้าทิพย์เนือละเอียดลงมาเช็ดถูบนยอดภูผานันหนหนึ%งแล้วก็ไป ต่อถึงร้อยปีเข้า
ใหม่จงึ เอาผ้าลงมาเช็ดถูเหมือนเดิมเช่นนันอีกหนหนึ%ง เป็ นเช่นนีตราบเท่าภูเขาสึกลงราบพืนดิน” หรือเปรียบเหมือนสถานทีส% เ%ี หลีย% ม
% ดพันธุ์ผกั กาดเต็มทีแ% ห่งนัน อสงไขย
กว้างลึกโยชน์หนึ%งในช่วงเวลาร้อยปีเทพยดาเอาเมล็ดพันธุผ์ กั กาดมาใส่เมล็ดหนึ%งจนกระทังเมล็
หมายถึงช่วงเวลายาวนานกว่ากัป คัมภีร์ใช้เรียกจํานวนเวลาทีก% ําหนดนับได้และจํานวนเวลาทีเ% ลยจากเวลาที%นับได้ โสตัตถกีมหา
นิ ทานให้หมายความทังสองแบบ “...นับเริม% 1 เป็ นต้นไปจนกระทั %งยังทําการกําหนดได้ช%อื ว่า อสงไขย เลยจากนันไปจนทําการนับ
หรือการกําหนดไม่ได้กช็ อ%ื ว่าอสงไขย...” จูฬพุทธโฆสเถระ, แปลและตรวจชําระโดย บรรจบ บรรณรุจ,ิ เพิง% อ้าง, น. 3.
8
จูฬพุทธโฆสเถระ, โสตัตถกีมหานิทาน, น. (11)-(12).
9
จูฬพุทธโฆสเถระ, โสตัตถกีมหานิทาน, น. 3-11.
10
จูฬพุทธโฆสเถระ, เพิง% อ้าง, น. 43-45; โสตัตถกีสํานวนล้านนา, แปลและตรวจชําระโดย บําเพ็ญ ระวิน, (กรุงเทพฯ:
โอเดียนสโตร์, 2535), น.50-73; พระรัตนปญั ญา, ชินกาลมาลีปกรณ์, แปลโดย แสง มนวิทรู , (กรุงเทพฯ: รําไทยเพลส, 2550), น. 11-
13; พระพุทธพุกามและพระพุทธญาณ, ตํานานมูลศาสนา แปลโดย สุด ศรีสมวงศ์ และพรหม ขมาลา, (กรุงเทพ: โรงพิมพ์ยมศรี ิ ,
2482), น. 1-18.
วารสารศิลปศาสตร์ ปีท%ี 13 ฉบับที% 1 มกราคม - มิถุนายน 2556
83

3.3 จํานวนอดีตพุทธเจ้า
คัมภีร์เถรวาทเน้นจํานวนอดีตพุทธเจ้ากลุ่มหนึ%งที%อุบตั ิขนในช่
ึ วง 4 อสงไขยแสนกัปซี%งพระโพธิสตั ว์
ทรงบําเพ็ญบารมีจนสมบูรณ์ ได้พบและได้รบั คําพยากรณ์ จากอดีตพุทธเจ้าว่าจะสําเร็จเป็ นพระโคตมพุทธเจ้า
ได้แก่ อดีตพุทธเจ้า 6 พระองค์ 24 พระองค์ และ 27 พระองค์
อดีตพุทธเจ้า 6 พระองค์: คัมภีรม์ หาปาทานสูตรกล่าวพระนามของอดีตพุทธเจ้า 6 พระองค์พร้อมการ
บําเพ็ญบารมีของพระองค์ ได้แก่ พระวิปสั สี พระสิข ี พระเวสภู พระกกุสนั ธะ พระโกนาคมนะ และพระกัสสปะ11
บทนมัสการบูชาพระพุทธเจ้าใน อาฏานาฏิ ยสูตร อรรถกถาอาฏานาฏิ ยสูตรและอาฏานาฏิ ยปริ ตร กล่าวระบุ
พระนามของอดีตพุทธเจ้า 6 พระองค์เช่นกัน เริม% ตังแต่พระวิปสั สีพุทธเจ้า12
อดีตพุทธเจ้า 24 พระองค์ และ 27 พระองค์: อดีตพุทธเจ้าที%ระบุพระนามจํานวน 24 พระองค์
พระโพธิสตั ว์ทรงบําเพ็ญบารมีและได้รบั คําพยากรณ์จากอดีตพระพุทธเจ้าทุกพระองค์ว่าจะได้บรรลุโพธิญาณเป็ น
พระโคตมพุทธเจ้า ได้แก่ พระทีปงั กรซึง% ให้คําพยากรณ์แก่พระโพธิสตั ว์เป็ นครังแรก พระโกณฑัญญะ พระมังคละ
พระสุมนะ พระเรวตะ พระโสภิตะ พระอโนมทัสสี พระปทุมะ พระนารท พระปทุมุตตระ พระสุเมธะ พระสุชาตะ
พระปิ ยทัสสี พระอัตถทัสสี พระธัมมทัสสี พระสิทธัตถะ พระติสสะ พระผุสสะ พระวิปสั สี พระสิข ี พระเวสภู พระกกุ
สันธะ พระโกนาคมนะ และพระกัสสปะเป็ นลําดับสุดท้าย ตามความในคัมภีรพ์ ทุ ธวงศ์และอรรถกถาพุทธวงศ์ แต่
หากนับรวมอดีตพระพุทธเจ้าอีก 3 พระองค์ท%อี ุบตั ิร่วมในกัปเดียวกับพระทีปงั กรพุทธเจ้า ได้แก่ พระตัณหังกร
พระเมธังกร และพระสรณังกร จํานวนอดีตพุทธเจ้าเพิม% เป็ น 27 พระองค์13 จํานวนนีจึงเกี%ยวข้องกับการบําเพ็ญ
บารมีเพื%อเป็ นพระพุทธเจ้าของพระโพธิสตั ว์ ดังสรุปตามตารางที% 1

ตารางที 1 อดีตพุทธเจ้า 24 พระองค์กบั พระโพธิสตั ว์

พระนาม พระประวัติ พระโพธิ สตั ว์ การบําเพ็ญบารมี


พระพุทธเจ้า ราชธานี พระบิ ดา- เสวยพระชาติ
พระมารดา
1. พระตัณหังกร ปุปผวดี พระเจ้าสุนนั ทะ - พระเจ้าสุทศั นะ* ทํามหากุศลในสํานัก
พระนางสุนนั ทา พระพุทธเจ้า
ไม่ได้รบั พุทธพยากรณ์
2. พระเมธังกร ยฆร/ พระเจ้าสุเทว - พราหมณ์ ทํามหากุศลในสํานัก
เมขล พระนางยโสธรา โสรมนัศ* พระพุทธเจ้า
ไม่ได้รบั พุทธพยากรณ์

11
“พระสุตตันตปิ ฎก ทีฆนิกาย มหาวรรค มหาปทานสูต” พระไตรปิ ฎก ฉบับสยามรัฐ เล่มที 10, สืบค้นจาก www.8400
.org/tipitaka/pitaka2/
12
“พระสุตตันตปิฎก อรรถกถา ทีฆนิกาย ปาฏิกวรรค อาฏานาฏิยสูตร” พระไตรปิ ฎก ฉบับสยามรัฐ เล่มที 11, สืบค้นจาก
www.8400.org /tipitaka/attha; “อาฏานาฏิยปริตต์” ระเบียบทําวัตรสวดมนต์ ฉบับวัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษฏ์. (กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์
ประยูรวงศ์, 2514).
13
“อาฏานาฏิยปริตต์”, ระเบียบทําวัตรสวดมนต์ ฉบับวัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษฏ์, 2514).
84 วารสารศิลปศาสตร์ ปีท%ี 13 ฉบับที% 1 มกราคม - มิถุนายน 2556

ตารางที 1 (ต่อ) อดีตพุทธเจ้า 24 พระองค์กบั พระโพธิสตั ว์

พระนาม พระประวัติ พระโพธิ สตั ว์ การบําเพ็ญบารมี


พระพุทธเจ้า ราชธานี พระบิ ดา- เสวยพระชาติ
พระมารดา
3. พระสรณังกร วิปุล พระเจ้าสุมงั คละ - พราหมณ์ยศวา* ทํามหากุศลในสํานัก
พระนางยศวดี พระพุทธเจ้า
ไม่ได้รบั พุทธพยากรณ์
4. พระทีปงั กร อมรวดี พระเจ้าสุเทว - สุเมธดาบส นอนเป็ นทางให้พระพุทธเจ้า
พระนางสุเมธา เสด็จ
ได้รบั พุทธพยากรณ์
5. พระโกณฑัญญะ นครรัมวดี พระเจ้าสุนนั ทะ - พระเจ้าวิชติ าวี ถวายมหาทานแด่ภกิ ษุแสน
พระนางสุชาดา โกฎิรปู
ได้รบั พุทธพยากรณ์
6. พระมังคละ อุตตร พระเจ้าอุตระ - สุรุจพิ ราหมณ์ ถวายมหาทานแด่ภกิ ษุแสน
พระนางอุตรา โกฎิรปู
ได้รบั พุทธพยากรณ์
7. พระสุมนะ เมขละ พระเจ้สทุ ตั ตะ - พญานาคราช บูชาทิพยดุรยิ างค์และผ้า
พระนางสิรมิ า อตุละ ได้รบั พุทธพยากรณ์
8. พระเรวตะ ธัญวดี พระเจ้าวิปุละ - อติเทพพราหมณ์ ฟงั ธรรม บูชาพระองค์ดว้ ย
พระนางธัญญวดี /อติเทวะ จีวร
ได้รบั พุทธพยากรณ์
9. พระโสภิตะ สุธรรม พระเจ้าสุธรรม - อชิตพราหมณ์ ฟงั ธรรม ถวายมหาทาน
พระนางสุธรรมา ได้รบั พุทธพยากรณ์
10. พระอโนมทัสสี จันทวดี พระเจ้ายศวา - ยักษเสนาบดี ถวายทาน
พระนางยโสธรา ได้รบั พุทธพยากรณ์
11. พระปทุมะ จัมปกะ พระเจ้าอสมะ- พญาราชสีห์ ทําประทักษิณ ปรนนิบตั ิ
พระนางอสมา ได้รบั พุทธพยากรณ์
12. พระนารทะ ธัญญวดี พระเจ้าสุเทวะ - พระดาบสฤษี ถวายมหาทาน
พระนางอโนมา หรือวลิยดาบส บูชาด้วยไม้แก่นจันทน์
ได้รบั พุทธพยากรณ์
13. พระปทุมุตตระ หงสาวดี พระเจ้าอานันทะ- ชฎิละ หรือ ถวายจีวร
พระนางสุชาดา รัฏฐิกะชฎิล ได้รบั พุทธพยากรณ์
14. พระสุเมธ สุทสั สนะ พระเจ้าสุทตั ตราช - อุตตระมาณพ ถวายทรัพย์ 80 โกฏิ
พระนางสุทตั ตะ ได้รบั พุทธพยากรณ์
15. พระสุชาตะ สุมงั คละ พระเจ้าอุคตราช - จักรวรรดิราช ฟงั ธรรม ถวายแผ่นดิน และ
พระนางปภาวดี รัตนะ
ได้รบั พุทธพยากรณ์
วารสารศิลปศาสตร์ ปีท%ี 13 ฉบับที% 1 มกราคม - มิถุนายน 2556
85

ตารางที 1 (ต่อ) อดีตพุทธเจ้า 24 พระองค์กบั พระโพธิสตั ว์

พระนาม พระประวัติ พระโพธิ สตั ว์ การบําเพ็ญบารมี


พระพุทธเจ้า ราชธานี พระบิ ดา-พรมารดา เสวยพระชาติ
16. พระปิ ยทัสสี อโนมะ/ พระเจ้าสุทตั ราช - กัสสปะพราหมณ์ ฟงั ธรรม มอบทรัพย์หลายโกฏิ
สุธญ
ั นคร พระนางจันทวดี ได้รบั พุทธพยากรณ์
17. พระอัตถทัสสี โสภณะ พระเจ้าสาคร - สุสมิ ะดาบส บูชาด้วยฉัตร ดอกมณฑารพ
พระนางสุทสั นา ได้รบั พุทธพยากรณ์
18. พระธัมมทัสสี สรณ พระเจ้าสรณราช - สักกเทวราช บูชาด้วยของทิพย์
พระนางสุนนั ทา ได้รบั พุทธพยากรณ์
19. พระสิทธัตถะ เวการะ พระเจ้าชัยเสนะ - มงคลดาบส ถวายผลหว้าจากหิมวันต์
พระนางสุผสั สา ได้รบั พุทธพยากรณ์
20. พระติสสะ เขมกะ พระเจ้าชนสันทะ- สุชาตะราช บูชาด้วยดอกไม้ทพิ ย์
พระนางปทุมา ได้รบั พุทธพยากรณ์
21. พระปุสสะ กาสิกะ พระเจ้าชยเสนา - พระเจ้าชิตาวี บวชเรียนวังคสัตถุศาสน์
พระนางสิรมิ า ได้รบั พุทธพยากรณ์
22. พระวิปสั สี พันธุมดี พระเจ้าพันธุมะ- พญานาคอตุละ บูชาด้วยการทําตังด้ % วยรัตนะ
พระนางพันธุมดี ทัง 7
ได้รบั พุทธพยากรณ์
23. พระสิข ี อรุณวดี พระเจ้าอรุน - พระเจ้าอรินทมะ ถวายข้าว นํา ไตรจีวร
พระนางปภาวดี แก้ว 7 ประการ
ได้รบั พุทธพยากรณ์
24. พระเวสสภู อโนมะ พระเจ้าสุปิตตะ - สุทสั สนราช ถวายมหาทานพร้อมด้วยจีวร
พระนางยศวดี ผนวช ได้รบั พุทธพยากรณ์
25. พระกกุสนั ธะ เขมกะ พระเจ้าอัคคิทตั ตะ / เขมราชา ถวายเภสัช บาตร จีวร
อัคคิทตั พราหมณ์* ได้รบั พุทธพยากรณ์
พระนางวิสาขา/
วิสาขาพราหมณี*
26. พระโกนา โสภวดี พราหมณ์ยญ ั ทัตตะ - พระเจ้าบรรพต ฟงั ธรรม ถวายผ้าปตั ตุณณะ
คมนะ อุตตราพราหมณี ผ้าจีนปฏะ ผ้าฝ้าย ผ้าสองชัน
ผ้ากําพล ฉลองพระบาททอง
ผนวช ได้รบั พุทธพยากรณ์
27. พระกัสสปะ พาราณสี พราหมณ์ทตั ต์ - โชติปาลพรหมณ์ ฟงั ธรรม บวชเรียน
ธนวดีพราหมณี วังสัตถุศาสน์
ได้รบั พุทธพยากรณ์
28. พระโคตมะ กบิลพัสดุ์ พระเจ้าสุทโธนะ - เจ้าชายสิทธัตถะ ถวายมหาทาน
พระนางสิรมิ หามายา
86 วารสารศิลปศาสตร์ ปีท%ี 13 ฉบับที% 1 มกราคม - มิถุนายน 2556

ที&มา:พระจูฬพุทธโฆสเถระ, โสตัตถกีมหานิ ทาน, ตรวจชําระโดยและแปลโดย บรรจบ บรรณรุจ,ิ


(กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มติ รสยาม, 2526).
หมายเหตุ: *พุทธวงศ์ โสตตัถกีมหานิทานสํานวนล้านนา และชินกาลมาลีปกรณ์ฉบับแปล กล่าวพระนาม
พระบิดาพระมารดาเป็ นพราหมณ์ช%อื อัคคิทตั ตพราหมณ์ และวิสาขาพราหมณี
*การสะกดคําตามทีใ% ช้ในคัมภีรแ์ ปล
พระพุ ท ธเจ้าทุ ก พระองค์ท รงมีพ ระจริย าวัต รคล้ายคลึง กัน ได้แ ก่ ประสูติ เสด็จออกบรรพชา ตรัส รู้
โปรดสัต ว์แ ละปรินิ พ พาน รวมทังทรงมีบุ ค คลที%เ ป็ นพระอัค รสาวกอัค รสาวิก าและพระอุ ป ฏั ฐากเช่ น เดีย วกัน
พระพุทธเจ้าทุกพระองค์ประทับเหมือนกันคือมณฑลทีป% ระทับและสถานทีท% รงมีพระจริยาวัตร14 นอกจากนีคัมภีร์
ยังกล่าวถึงความแตกต่างระหว่างพระพุทธเจ้าแต่ละพระองค์ คัมภีร์มหาปทานสูตรกล่าวถึงพระพุทธเจ้าแต่ละ
พระองค์มีค วามแตกต่ า งกัน ในพระชาติ พระนาม พระโคตร พระชนมายุ ไม้ต รัส รู้ อัค รสาวก อัค รอุ ป ฏั ฐาก
พระชนกพระชนนี คัมภีรอ์ รรถกถาพุทธวงศ์และคัมภีรพ์ ิ เศษ เช่น สัมภารวิบาก โสตัตถกีมหานิทาน และชินกาล
มาลีปกรณ์ อธิบายความแตกต่างของพระพุทธเจ้าแต่ละพระองค์ 8 ประการ ได้แก่ พระชนมายุ สายวงศ์ ระยะเวลา
บําเพ็ญเพียร ยานทีท% รงออกมหาภิเนษกรมณ์ ต้นไม้ท%ปี ระทับตรัสรู้ ความสูงบัลลังก์ประทับ ขนาดและพระรัศมี
รอบพระวรกาย15 อย่างไรก็ตาม การอธิบายความแตกต่างของพระพุทธเจ้าแต่ละพระองค์นีคัมภีรไ์ ม่ได้เน้นความ
เป็ นปจั เจกของพระพุทธเจ้าพระองค์ใ ดพระองค์หนึ%ง หากแต่ ใ ห้ความสําคัญกับพระพุทธเจ้าพระองค์แรกและ
พระองค์สุดท้ายที%ทรงให้คําพยากรณ์ แก่พระโพธิสตั ว์ว่าจะบรรลุโพธิญาณเป็ นพระโคตมพุทธเจ้า ส่วนขันตอน
การบําเพ็ญบารมีของพระโพธิสตั ว์ใ นอดีตหลายกัปอสงไขยที%คมั ภีร์พุทธประวัติกล่าวเน้ นแตกต่ างกันนันเป็ น
การเปลี%ย นแปลงในรายละเอีย ดเท่ า นัน แต่ โ ดยรวมแล้ว เรื%อ งราวของพระโพธิส ตั ว์ย ัง คงเป็ น พระประวัติข อง
พระโคตมพระพุทธเจ้าในประวัติศาสตร์ไม่ได้หมายถึงบุคคลที%จะมาเป็ นพระโพธิสตั ว์เช่นเดียวกับคติมหายาน
หากแต่เป็ นการแสดงออกถึงความมุ่งมันของผู % ้แสวงหาความรู้ก่อนการตรัสรู้ท%ีต้องผ่านขันตอนของการแสดง
ความปรารถนาพุทธภูมแิ ละการบําเพ็ญบารมีมาอย่างสมบูรณ์ อีกทังยังแสดงความเป็ นสากลของพุทธะซึง% มีอยู่และ
ผูเ้ ป็ นโพธิสตั ว์ได้คน้ พบ

4. อดีตพุทธเจ้าในงานจิ ตรกรรมฝาผนัง
คติความเชื%อเรื%องอดีตพุทธเจ้ายังปรากฏชัดเจนในงานจิตรกรรมซึ%งแพร่หลายในดินแดนประเทศไทย
จํานวนอดีตพุทธเจ้าในงานศิลปกรรมทีร% บั อิทธิพลจากพุทธศาสนาสอดคล้องกับเนือความในคัมภีรพ์ ุทธเถรวาท
งานศึกษาจิตรกรรมฝาผนังในประเทศไทยอธิบายภาพพระพุทธเจ้าจํานวนมากไว้อย่างกว้างๆ ว่าหมายถึงอดีต
พุทธเจ้า16แต่ยนื ยันได้ว่าภาพพระพุทธเจ้าเหล่านันคืออดีตพุทธเจ้าที%มชี %อื ตามคัมภีร์พุทธเถรวาทจากภาพและ

14
จูฬพุทธโฆสเถระ, โสตัตถกีมหานิทาน, แปลและตรวจชําระโดย บรรจบ บรรณรุจ,ิ น. 107; มธุรตั ถวิลาสิณี อรรถกถา
พุทธวงศ์ (บาลี-ไทย) ภาค 1 ฉบับภูมพิ โลภิกขุ (กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ภมู พิ โลภิกขุ, 2528).
15
ชิน กาลมาลีปกรณ์ ก ล่ าวถึงความแตกต่ างแห่ งพระพุ ทธเจ้า 5 ประการได้แก่ ระยะเวลาบําเพ็ญบารมี พระชนม์มายุ
ระยะเวลาเห็นบุพพนิมติ ร การครองฆารวาส และการบําเพ็ญเพียรซึง% มีความตรงกับโสตัตถกีมหานิทาน 2 ข้อ ดู รัตนปญั ญา, ชินกาล
มาลีปกรณ์ แปลโดย แสง มนวิทรู , น. 49.
16
นักวิชาการทีส% นใจศึกษางานด้านจิตรกรรมฝาผนังในประเทศไทย เช่น เฟื อ หริพทิ กั ษ์ น. ณ ปากนํ า พิรยิ ะ ไกรฤกษ์
สน สีมาตรัง สันติ เล็กสุขมุ และเสมอชัย พูลสุวรรณ
วารสารศิลปศาสตร์ ปีท%ี 13 ฉบับที% 1 มกราคม - มิถุนายน 2556
87

ั ด% า้ นของกรุปรางค์ประธานวัดราชบูรณะ อยุธยาซึง%
ตัวอักษรขอมภาษาบาลีทก%ี าํ กับภาพพุทธเจ้าบนผนังกรุทงสี
17
แสง มนวิทรู ได้อ่านอักษรบนภาพแห่งนีไว้

ภาพที 1 ภาพอดีตพุทธเจ้า กรุปรางค์ประธานวัดราชบูรณะ อยุธยา


ทีมา: ศิลปากร, กรม ฝา่ ยอนุรกั ษ์จติ รกรรมฝาผนังและประติมากรรม
ติดที,% จิตรกรรมไทยประเพณี จิตรกรรมฝาผนังสมัยอยุธยา,
(กรุงเทพฯ: อมรินทร์พรินติงกรุป๊ , 2535).
ภาพอดีตพุทธเจ้า 24 พระองค์: นักประวัตศิ าสตร์ศลิ ปะกําหนดอายุภาพจิตรกรรม ฝาผนังอดีตพุทธเจ้า
ที%มากสุดอยู่ใ นราวพุทธศตวรรษที% 19-20 ปรากฏในศาสนสถานทรงปรางค์ท%ีวดั พระศรีร ัตนมหาธาตุ ท%ีลพบุ รี
ราชบุรี และอยุ ธยา18 จิตรกรรมฝาผนังภาพอดีตพุทธเจ้า 24 พระองค์ท%ีผนัง กรุปรางค์วดั ราชบูรณะ อยุธยา
หมายถึงอดีตพุทธเจ้า 24 พระองค์ตามความในคัมภีร์พุทธวงศ์ คัมภีร์มธุรตั ถวิลาสินี และคัมภีร์พิเศษที%เน้ น
ความสําคัญของอดีตพุทธเจ้าทีท% รงให้คาํ พยากรณ์แก่พระโพธิสตั ว์ ส่วนจิตรกรรมฝาผนังอดีตพุทธเจ้า 24 พระองค์
ที%กํ า หนดอายุ ร าวสมัย อยุ ธ ยาตอนกลางถึง ตอนปลายในราวพุ ท ธศตวรรษที% 23 19 เช่ น จิต รกรรมฝาผนั ง ที%
วัดปราสาท วัดชมพูเวก วัดจักรวรรดิ ราชาวาส กรุงเทพฯ วัดบางพระ นครปฐม และ วัดใหญ่อินทราราม
ชลบุรี เป็ นต้น

17
แสง มนวิทรู , “เรืองอดีตพระพุทธเจ้า” จิตรกรรมและศิลปวัตถุในกรุพระปรางค์วดั ราชบูรณะ จังหวัดอยุธยา, (พระนคร:
กรมศิลปากร, 2501), น. 43.
18
เสมอชัย พู ล สุ ว รรณ, สัญ ลัก ษณ์ ใ นงานจิต รกรรมไทยระหว่ า งพุ ท ธศตวรรษที 19 – 20, (กรุ ง เทพฯ: โรงพิม พ์
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2539), น. 43.
19
ประยูร อุลุชาฏะ, จิตรกรรมสมัยอยุธยาตอนกลางและตอนปลายระยะแรก สกุลช่างนนทบุร ี วัดชมพูเวกและวัดปราสาท,
(กรุงเทพฯ: เมืองโบราณ, 2530); สันติ เล็กสุขมุ , ศิลปะอยุธยา, (กรุงเทพฯ: เมืองโบราณ, 2542); สน สีมาตรัง, ปญั หาการศึกษาภาพ
อดีตพุทธเจ้าจํานวนมากในจิตรกรรมฝาผนังสมัยสุโขทัย อยุธยา และรัตนโกสินทร์; เสมอชัย พูลสุวรรณ, สัญลักษณ์ในงานจิตรกรรม
ไทยระหว่างพุทธศตวรรษที 19 – 20, น. 42.
88 วารสารศิลปศาสตร์ ปีท%ี 13 ฉบับที% 1 มกราคม - มิถุนายน 2556

ภาพที 2 จิตรกรรมฝาผนังวัดชมพูเวก นนทบุรี ภาพที 3 จิตรกรรมฝาผนังวัดบางพระ นครปฐม


ทีมา: ประยูร อุลุชาฏะ, จิตรกรรมสมัยอยุธยา ทีมา: ประยูร อุลุชาฏะ, จิตรกรรมสมัยอยุธยา
ตอนกลางและตอนปลายระยะแรก สกุลช่าง ตอนกลางและตอนปลายระยะแรก สกุลช่างนนทบุรี
นนทบุรี ณ วัดชมพูเวก และวัดปราสาท, ณ วัดชมพูเวก และวัดปราสาท, (กรุงเทพฯ:
(กรุงเทพฯ: เมืองโบราณ, 2530). เมืองโบราณ, 2530).
ภาพอดีตพุทธเจ้า 27 พระองค์: จิตรกรรมฝาผนังภาพอดีตพุทธเจ้าจํานวน 27 พระองค์พบในศาสนา
สถานหลายแห่งทีม% อี ายุราวพุทธศตวรรษที% 22-2420 อาทิ วัดพระธาตุลาํ ปางหลวง ลําปาง กําหนดอายุในราว
พุทธศตวรรษที% 22 วัดปงยางคก ลําปาง สันนิษฐานอายุราวพุทธศตวรรษที% 23 สมัยอยุธยาตอนกลางและตอนปลาย
ส่วนภาพจิตรกรรมที%นับรวมพระพุทธเจ้า 24 พระองค์ท%ผี นังด้านข้างกับภาพพระพุทธเจ้าที%ด้านหลัง
พระประธานอีกจํานวน 3 พระองค์รวมเป็ นจํานวนพระพุทธเจ้า 27 พระองค์ เช่น วัดช่ องนนทรี วัดสุทศั น์ เทพ
วรารามวรวิ หาร กรุงเทพมหานคร และ วัดชมพูเวก วัดปราสาท นนทบุรี

ภาพที 4 ภาพอดีตพุทธเจ้า วัดพระธาตุลาํ ปางหลวง ภาพที 5 ภาพอดีตพุทธเจ้า วัดสุทศั น์เทพวราราม


ลําปาง กรุงเทพมหานคร
ทีมา: ภาณุพงษ์ เลาหสม ,บรรณาธิการ, จิตรกรรม ทีมา: เสมอชัย พูลสุวรรณ, สัญลักษณ์ในงานจิตรกรรม
ฝาผนังล้านนา, (กรุงเทพฯ: เมืองโบราณ, 2541). ไทยระหว่างพุทธศตวรรษที 19-20, (กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2539).
ภาพพระพุทธเจ้าจํานวนมาก: จิตรกรรมฝาผนังภาพอดีตพุทธเจ้าทีแ% สดงจํานวนอดีตพุทธเจ้ามากกว่า
27 พระองค์ทเ%ี ชื%อว่ามีอายุมากสุดพบทีศ% าสนสถานทรงปรางค์และเจดียซ์ ง%ึ นักประวัตศิ าสตร์ศลิ ปะสันนิษฐานว่ามี

20
ภาณุพงษ์ เลาหสม, บรรณาธิการ, จิตรกรรมฝาผนังล้านนา, (กรุงเทพฯ: เมืองโบราณ, 2541), น. 43.
วารสารศิลปศาสตร์ ปีท%ี 13 ฉบับที% 1 มกราคม - มิถุนายน 2556
89

อายุราวพุทธศตวรรษที% 19-2021 ได้แก่ วัดมหาธาตุ อยุธยา วัดพระศรีรตั นมหาธาตุ ลพบุรี และวัดมหาธาตุ


ราชบุรี แม้อธิบายและตีความจํานวนและที%มาของคติความเชื%ออดีต พุทธเจ้าแตกต่ างกัน บ้างแต่ โ ดยรวมแล้ว
สันนิษฐานว่าจํานวนอดีตพุทธเจ้ามากกว่า 27 พระองค์

ภาพที 6 จิตรกรรมฝาผนังภาพอดีตพุทธเจ้า พระปรางค์วดั พระศรีรตั นมหาธาตุ ลพบุรี วัดมหาธาตุ อยุธยา


และวัดมหาธาตุ ราชบุรี
ทีมา: จิตรกรรมไทยประเพณี จิตรกรรมสมัยอยุธยา, (กรุงเทพฯ: กรมศิลปากร, 2535).

นอกจากนีหากพิจารณาภาพจิตรกรรมอดีตพุทธเจ้าในบริบททีก% ว้างขึน ภาพพระพุทธเจ้าจํานวนมากซึง%


พบทีศ% าสนาสถาน เช่น วัดราชบูรณะ อยุธยา วัดเจดียเ์ จ็ดแถว สุโขทัย วัดอุโมงค์ เชียงใหม่ และวัดพระราม
อยุธยา22 รวมถึงจิตรกรรมฝาผนังภาพอดีตพุทธเจ้าสมัยรัตนโกสินทร์พุทธศตวรรษที% 24 เช่น วัดคงคาราม
ราชบุรี สันนิษฐานอายุราว พ.ศ. 2370-2400 พบภาพอดีตพุทธเจ้าประทับสมาธิเรียงเป็ นแถวมีอคั รสาวกนังอยู
% ่ซา้ ย
ขวาจํานวน 30 พระองค์ วัดประตูสาร สุพรรณบุรี วัดเดิ มบางนางบวช วัดจรรย์ วัดป่ าพระเจ้า วัดสังโฆษิ ตาราม
สุพรรณบุรี และวัดเตาปูน ชลบุรี มีภาพพระพุทธเจ้าจํานวนมาก

21
เสมอชัย พูลสุวรรณ, สัญลักษณ์ ในงานจิตรกรรมไทยระหว่างพุทธศตวรรษที 19-20, น. 42; สน สีมาตรัง, ปญั หา
การศึกษาภาพอดีตพุทธเจ้าจํานวนมากในจิตรกรรมฝาผนังสมัยสุโขทัย อยุธยาและรัตนโกสินทร์, น. 11; สันติ เล็กสุขุม. ศิลปะ
อยุธยา, น. 175.
22
เสมอชัย พูลสุ วรรณ, สัญลัก ษณ์ ในงานจิตรกรรมไทยระหว่างพุ ทธศตวรรษที 19-20, น. 63; ภาณุ พงษ์ เลาหสม,
บรรณาธิการ, จิตรกรรมฝาผนังล้านนา, น. 23.
90 วารสารศิลปศาสตร์ ปีท%ี 13 ฉบับที% 1 มกราคม - มิถุนายน 2556

ภาพที 7 จิตรกรรมฝาผนัง วัดเจดียเ์ จ็ดแถว เชียงใหม่ ภาพที% 8 จิตรกรรมฝาผนัง วัดประตูสาร สุพรรณบุรี


ทีมา: กรมศิลปากร, กองโบราณคดี, ฝา่ ยอนุรกั ษ์ ทีมา: กรมศิลปากร, กองโบราณคดี, ฝา่ ยอนุรกั ษ์
จิตรกรรมฝาผนังและประติมากรรมติดที,% จิตรกรรมฝาผนังและประติมากรรมติดที,%
จิตรกรรมสมัยอยุธยา, จิตรกรรมสมัยอยุธยา,
(กรุงเทพฯ: อมรินทร์พรินติง, 2535). (กรุงเทพฯ: อมรินทร์พรินติง, 2535).

จํ า นวนภาพพระพุ ท ธเจ้า มากกว่ า 27 พระองค์ซ%ึง พบร่ ว มกับ ศาสนสถานนี นั ก วิช าการทางด้า น


ประวัตศิ าสตร์ศลิ ปะ อาทิ สันติ เล็กสุขมุ เสมอชัย พูลสุวรรณ ผาสุก อินทราวุธ สันนิษฐานว่าอายุราวพุทธศตวรรษ
ที% 19-20 และอธิบายว่าหมายถึงพระพุทธเจ้าจํานวนมากทีไ% ม่อาจประมาณนับได้ตามคติความเชื%อในพุทธศาสนา
นิกายมหายานซึง% มีทม%ี าทังในวัฒนธรรมขอมและพุกาม อย่างไรก็ตาม สน สีมาตรัง ได้อธิบายทีม% าแตกต่างออกไป
ว่าพระพุทธเจ้าจํานวนมากนีหมายถึงพระพุทธเจ้าจํานวนมากที%ไม่อาจประมาณนับได้ท%มี าจากคติความเชื%อใน
คัมภีร์พุทธศาสนาฝ่ายเถรวาทที%มีความเห็นโน้ มเอีย งไปทางพุ ทธศาสนามหายาน กล่า วคือสาระยังตรงตาม
พระไตรปิ ฎกแต่มเี ค้าการนําแนวคิดของพุทธศาสนามหายานมาผนวกไว้23 ซึง% ข้อนีสอดคล้องกับทีป% รากฏในคัมภีร์
พิเศษทีเ% น้นพระพุทธเจ้าจํานวนมากซึง% แต่งขึนในดินแดนประเทศไทยในราวพุทธศตวรรษที% 21 และยังคงเป็ นที%
รูจ้ กั ในสมัยต่อๆ มา เช่น สัมภารวิบาก โสตัตถกีมหานิทาน และชินกาลมาลีปกรณ์
ภาพอดีตพุทธเจ้าจํานวน 3 พระองค์และ 6 พระองค์: ภาพพระพุทธเจ้าในพระบฏและสมุดภาพ
ส่วนมากเป็ นภาพพระโคตมพุทธเจ้าพระองค์เดียว ภาพพระพุทธเจ้า 5 พระองค์ และ 6 พระองค์ ภาพและเรื%องราว
ที%เขียนในพระบฏนันแสดงเรื%องราวของพระโคตมพุทธเจ้าเป็ นสําคัญ เช่น ตอนโปรดพุทธมารดาบนสวรรค์ชนั
ดาวดึงส์ ตอนเสด็จจากดาวดึง ส์ลงมายัง เมือ งสัง กัสสะ และเรื%องในทศชาติและพระมาลัย24 สําหรับภาพอดีต
พุทธเจ้าที%นิยมคือภาพพระพุทธเจ้า 5 พระองค์ใ นภัททกัป ได้แก่ พระกกุสนั ธะ พระโกนาคมนะ พระกัสสปะ
พระโคตมะ และพระศรีอาริยเมตไตรย ซึง% สอดคล้องกับคติความเชื%อพระพุทธเจ้า 5 พระองค์ในตํานาน ส่วนทีพ% บ
ภาพพระพุทธเจ้าตามคติความเชื%อเรื%องพุทธเจ้า 6 พระองค์ท%ี วัดชุมพลนิ กายาราม อยุธยา ภาพนีหมายความได้
ถึงอดีตพุทธเจ้าจํานวน 6 พระองค์ตามคติบชู าพระพุทธเจ้าหลายพระองค์25

23
เสมอชัย พูล สุวรรณ, สัญลัก ษณ์ ในงานจิตรกรรมไทยระหว่างพุทธศตวรรษที 19-20, น. 42; สน สีมาตรัง, ปญั หา
การศึกษาภาพอดีตพุทธเจ้าจํานวนมากในจิตรกรรมฝาผนังสมัยสุโขทัย อยุธยาและรัตนโกสินทร์, น. 11; สันติ เล็กสุขุม. ศิลปะ
อยุธยา. น. 175.
24
จารุณี อินเฉิดฉาย, “พระบฏ ภูมปิ ญั ญาไทยในงานจิตรกรรมไทยประเพณี” ศิลปากร, (กรุงเทพฯ: เอ.พี.กราฟิ ค ดีไซน์
และการพิมพ์ จํากัด, 2545), น. 25-45.
25
ดํารงราชานุ ภาพ, สมเด็จฯ กรมพระยา และ นริศรานุ วตั วิ งศ์, สมเด็จฯ กรมพระ, สาสน์ สมเด็จ เล่ม 17, (กรุงเทพฯ: คุรุ
สภา, 2525), น. 222.
วารสารศิลปศาสตร์ ปีท%ี 13 ฉบับที% 1 มกราคม - มิถุนายน 2556
91

ภาพที 9 ภาพพุทธเจ้า 5 พระองค์ ในพระบฏ ภาพที 10 จิตรกรรมฝาผนังอดีตพุทธเจ้า 6



ทีมา: จารุณี อินเฉิดฉาย, “พระบฏ ภูมปิ ญญาไทย พระองค์ วัดชุมพลนิกายาราม อยุธยา
ในงานจิตรกรรมไทยประเพณี” ศิลปากร, ทีมา: กรมศิลปากร, กองโบราณคดีฝา่ ยอนุรกั ษ์
(กรุงเทพฯ: เอ.พี.กราฟิค ดีไซน์และการพิมพ์ จํากัด, จิตรกรรมฝาผนังและประติมากรรมติดที.% จิตรกรรม
2545). สมัยอยุธยา, (กรุงเทพฯ: อมรินทร์พรินติง, 2535).
ภาพพระพุทธเจ้าจํานวนมากทีป% รากฏในงานจิตรกรรมกําหนดอายุเก่าสุดในราวพุทธศตวรรษที% 19-20
และเป็ นทีน% ิยมจนถึงราวต้นพุทธศตวรรษที% 24 ทีง% านศิลปกรรมได้รบั อิทธิพลจากความคิดและรูปแบบศิลปกรรม
ตะวันตก คติความเชื%ออดีตพุ ท ธเจ้าตามคติพุท ธเถรวาทที%เ น้ นจํา นวนอดีต พุท ธเจ้า เกี%ย วข้อ งกับ ประวัติข อง
พระโคตมพุทธเจ้าหรือการบําเพ็ญบารมีของพระโพธิสตั ว์ในทางใดทางหนึ%ง ซึง% เรื%องราวและจํานวนสอดคล้องกับ
คัมภีรเ์ ถรวาททังสายทีต% ามแนวทางพุทธวงศ์และทีม% คี วามเห็นไปทางพุทธมหายาน จํานวนทีน% ับได้ 3 พระองค์ 6
พระองค์ 24 พระองค์ และ 27 พระองค์ ส่วนจํานวนนอกจากนีสื%อความได้ถึงพระพุทธเจ้าจํานวนมากที%นับได้
จํานวนมากและไม่อาจประมาณนับได้ท%อี ุบตั ขิ นมาแล้
ึ วในอดีตและจะอุบตั ขิ นในอนาคต
ึ นอกจากนียังสอดคล้อง
ก้บเรื%องราวพระพุทธเจ้า 5 พระองค์ในตํานานซึ%งรายละเอียดเรื%องนีจะได้กล่าวต่อไปในเรื%องตํานานและรูปรอย
พระพุทธบาทสีร% อยรวมถึงประเพณีนมัสการพระพุทธเจ้า

5. อดีตพุทธเจ้ากับดิ นแดนศักดิv สิทธิv ในตํานาน


ในดินแดนประเทศไทยวรรณกรรมที%รบั อิทธิพลพุทธศาสนาจากลังกาหลายฉบับที%อยู่บนแนวคิดเรื%อง
พระพุทธเจ้าเช่นเดียวกับพระไตรปิ ฎกและคัมภีร์พเิ ศษ แต่เนือหาของคัมภีร์พเิ ศษและตํานานในท้องถิน% เน้นให้
ความสําคัญเฉพาะเรื%อง เช่น เรื%องราวของพระพุทธเจ้าที%อุบตั ิขนในภั
ึ ททกัปนี การเสด็จมาโปรดนอกอินเดียและ

การแสดงพุทธานุ ภาพปกปองคุ้มครองผู้คนและบ้านเมืองที%พระองค์เสด็จมาทําให้ดินแดนแห่งนันมีสถานะเป็ น
ดินแดนศักดิสิ€ ทธิได้
€ รบั ความคุ้มครองและเติบโตเป็ นบ้านเป็ นเมืองต่อไป เรื%องราวนีสัมพันธ์กบั คติความเชื%อและ
ประเพณีการบูชาพระธาตุและพระพุทธบาทในท้องถิน% เพราะพระธาตุและพระพุทธบาทเป็ นสัญลักษณ์การเสด็จมา
โปรดของพระพุทธเจ้า
คัมภีรป์ ุณโณวาทสูตร ในอรรถกถาของพระสุตตันตปิ ฎก มัชฌิมนิกาย กล่าวถึงพระพุทธเจ้าประทับรอย
ั % นํานัมมทาและเขาสัจจพันธ์ คัมภีรม์ หาวงศ์ของลังกาซึง% มีอทิ ธิพลต่องานวรรณกรรมในสมัย
พระบาทไว้ทร%ี มิ ฝงแม่
ต่อๆ มากล่าวถึงพระพุทธเจ้าประทับรอยพระบาทไว้ 3 แห่ง ได้แก่ ริมฝงแม่ ั % นํานัมมทา เขาสัจจพันธ์ และเขา
26
สุมนกูฏ นอกจากนีในคาถานมัสการทีแ% ต่งไว้สาํ หรับสวดมนต์อย่างเก่ากล่าวถึงพระพุทธเจ้าได้ประทับรอยพระ
บาทไว้ให้สกั การะ 5 แห่ง ได้แก่ เขาสุวรรณมาลิก เขาสุวรรณบรรพต เขาสุมนกูฏ โยนกบุรี และริมแม่นํานัมมทา

26
พระมหานาม, มหาวงษ์พงษาวดารลังกาทวีป, แปลโดย พระยาปริยตั ธิ รรมธาดา และคนอื%นๆ, (พระนคร: โรงพิมพ์ไทย,
ร.ศ. 126 [2451]), น.1.
92 วารสารศิลปศาสตร์ ปีท%ี 13 ฉบับที% 1 มกราคม - มิถุนายน 2556

คัมภีรน์ ีมีอทิ ธิพลให้บา้ นเมืองน้อยใหญ่เชื%อมโยงบ้านเมืองของตนกับสถานทีป% ระทับรอยพระพุทธบาท ดังทีป% รากฏ


เรื%องราวในตํานานท้องถิน%
วรรณกรรมท้องถิน% ในล้านนาซึ%งได้รบั อิทธิพลพุทธศาสนาจากลังกา นอกจากกล่าวถึงรอยพระบาทของ
พระโคตมพุทธเจ้าแล้วยังเน้นเรื%องราวที%พระพุทธเจ้าทุกพระองค์หรือพระพุทธเจ้าบางพระองค์เสด็จมาโปรดยัง
ดินแดนอื%นนอกอินเดีย ทรงสังสอนธรรมในบ้
% านเมืองน้อยใหญ่ ทรงพยากรณ์ความเป็ นไปของบ้านเมืองในอนาคต
และประทับรอยพระพุทธบาทไว้ยงั ที%พระองค์เสด็จไปถึง โดยเนือหาในตํานานกล่าวถึงเหตุการณ์บ้านเมืองกับ
พุทธานุภาพของพระพุทธเจ้าดังปรากฏในตํานานการตังบ้านเมือง ตํานานพระธาตุและพระพุทธบาททีส% นั นิษฐาน
ว่าเขียนขึนในราวพุทธศตวรรษที% 20 - 21 ซึง% เป็ นระยะเวลาทีศ% าสนาพุทธจากลังกาเจริญมากในบริเวณทางเหนือ
ของดินแดนประเทศไทย เช่น ตํานานพระเจ้าเลียบโลก ตํานานมูลศาสนา ตํานานพระธาตุเชิงชุม ตํานานพระธาตุ
หริภุญไชย ตํานานพระเจ้าห้าพระองค์หรือนิทานพญากาเผือก และตํานานพระพุทธบาทเขารังรุง้
ตํานานพระเจ้าเลียบโลก สันนิษฐานว่าแต่งราวพุทธศตวรรษที% 2127 พระเถระทีแ% สวงบุญตามเส้นทาง
ซึง% เป็ นทีต% งของพระธาตุ
ั และพระพุทธบาทตังแต่ลงั กา มอญ พม่า ฉาน สิบสองปนั นา และล้านนาได้สมมติเส้นทาง
เหล่านันเป็ นเส้นทางเสด็จโปรดสัตว์ของพระพุทธเจ้า เนือหาโดยรวมบอกเล่าความเป็ นมาของพุทธศาสนาและ
บ้านเมือง เริม% ตังแต่พระโพธิสตั ว์เสวยพระชาติเป็ นสุเมธดาบสในศาสนาของพระทีปงั กรพุทธเจ้าเรื%อยมาถึงทรง
บรรลุโพธิญาณเป็ นพระโคตมพุทธเจ้า จากนันเป็ นเรื%องราวการเสด็จออกจากชมพูทวีปมายังบ้านเมืองในล้านนา
ทรงพยากรณ์ ถึงความรุ่งเรืองและความเสื%อมของบ้านเมืองในอนาคต การประดิษฐานพระธาตุ ในล้านนา และ
อานิสงส์ของการเลื%อมใสศรัทธาในการคัดลอก รําลึก จดจํา หรือบอกเล่าเรื%องราวในตํานาน การเทศน์หรือฟงั ด้วย
ความเคารพเลื%อมใส การแสดงความเคารพบูชาพระธาตุ และพระพุทธบาทด้วยกายวาจาและใจ การบูชาด้วย
ั ่ในสัมมาปฏิบตั ิ ประกอบด้วยยศบรรดาศักดิ € มีความสมบูรณ์ดว้ ยปญั ญาและ
สิง% ของต่างๆ ส่งผลให้ผปู้ ระพฤติตงอยู
ทรัพย์สนิ เงินทอง ปราศจากโรคภัยและภัยอันตรายต่างๆ ทังในชาตินีและชาติต่อๆ ไป หากมีบุญวาสนามากก็จะ
ได้ถงึ นิพพาน หากบุญยังไม่สมบูรณ์กจ็ ะได้เกิดและได้มรรคผลในศาสนาของพระศรีอาริยเมตไตรยอนาคตพุทธเจ้า
ตํา นานพระธาตุ เ ชิ งชุ ม เนื อเรื%อ งกล่ า วถึ ง พระอานนท์ แ ละพระสงฆ์ 500 รู ป ทู ล ถามถึ ง เหตุ ท%ี
พระพุ ทธเจ้า 5 พระองค์ใ นภัท ทกัป อุ บตั ิข ึน พระโคตมพุ ทธเจ้า จึง เทศนาถึงเรื%อ งที%พ ระโพธิส ตั ว์ 5 พระองค์
เสวยพระชาติเป็ นลูกกาเผือก ลูกกาเผือกพีน% ้องตามหามารดาแต่ไม่พบจึงสมาทานศีลสร้างสมบารมีเพื%อพีน% ้องได้
พบกันทีบ% ริเวณหนองหานหลวงและปฏิญาณต่อกันว่าผูใ้ ดตรัสรูเ้ ป็ นพระพุทธเจ้าก่อนให้มาประทับรอยพระบาทไว้
ณ แห่งนี เมื%อถึงกาลทีพ% ระโคตมพุทธเจ้าอุบตั ขิ นึ พระองค์เสด็จจากภูกําพร้าไปประทับรอยพระพุทธบาทต่อหน้า
พระยาสุวรรณภิงคารที%เมืองหนองหานหลวงซึ%งเป็ นที%พระพุทธเจ้าในอดีตทัง 3 พระองค์ ได้แก่ พระกกุสนั ธะ
โกนาคมนะ และพระกัสสปะได้เคยประทับรอยพระบาทไว้ ส่วนพระศรีอริยเมตไตรยจะได้เสด็จมาประทับรอย
พระพุทธบาทไว้เป็ นรอยที% 5 หลังจากทีพ% ระยาสุวรรณภิงคารทรงฟงั เรื%องราวแล้วทีส% ุดทรงสร้างอุโมงค์หนิ ปิ ดรอย
พระพุทธบาทไว้28
เนือหาในตํานานหลายเรื%องมีเค้าความเชื%อมโยงกับตํานาน 2 เรื%อง ได้แก่ พระพุทธบาทเขารังรุ้งและ
นิทานพญากาเผือก ตํานานพระพุทธบาทเขารังรุง้ สันนิษฐานทีม% า 2 แนวทาง29 แนวทางแรกเชื%อว่าแต่งในลังกา

27
กตัญ~ู ชูชน%ื . พระเจ้าเลียบโลก: บทวิเคราะห์. (วิทยานิพนธ์หลักสูตรปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย
บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2515); เธียรชาย อักษรดิษฐ์, ตํานานพระเจ้าเลียบโลก การศึกษาพืนทีทางสังคมและ
วัฒนธรรมล้านนา, (กรุงเทพฯ: ธารปญั ญา, 2552), น. 20-37.
28
“พระธาตุเชิงชุม” อุรงั คธาตุตํานานพระธาตุพนม, (กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์เรือนแก้วการพิมพ์, 2521), น. 12-16,
29
อุษณีย์ ธงไชย, จารึกและตํานาน: หลักฐานทีสร้างขึนภายใต้อทิ ธิพลของพุทธศาสนาลังกาวงศ์, น.106; กตัญ~ู ชูช%นื
พระเจ้าเลียบโลก: บทวิเคราะห์, น. 12.
วารสารศิลปศาสตร์ ปีท%ี 13 ฉบับที% 1 มกราคม - มิถุนายน 2556
93

เผยแพร่ไปที%พม่าและเชียงใหม่ ส่วนอีกแนวทางหนึ%งเชื%อว่าแต่งในล้านนาเผยแพร่ไปที%ลา้ นช้างใน พ.ศ. 2058


เนือหาในตํานานกล่าวถึงอดีตพุทธเจ้า 3 พระองค์ประทับรอยพระบาทไว้ทด%ี อย “เวภารบรรพต” พระโคตมพุทธเจ้า
เสด็จมาประทับรอยพระบาทไว้เป็ นรอยทีส% %ี เมื%อกาลเวลาผ่านไปเทวดาดลใจให้นายพรานมาค้นพบรอยพระพุทธ
บาทแห่งนีเพื%อจะได้เป็ นทีส% กั การะของผูค้ นในบ้านเมืองนัน โดยเนรมิตรุง้ บินมาโฉบเอาลูกไก่ของชาวบ้านไปไว้ท%ี
เชิงดอยแห่งนี นายพรานป่าเดินตามรุง้ ตัวนันไปจนพบรอยพระพุทธบาทจึงได้กราบไหว้และบอกให้ผูค้ นรูแ้ ละพา
กันมากราบไหว้ ต่อมาพระยามังรายเสด็จมานมัสการบูชารอยพระพุทธบาทนี30
นิ ทานพญากาเผือก เนือหาในตํานานกล่าวถึงกําเนิดของพระพุทธเจ้า 5 พระองค์ในภัททกัปว่า พญา
กาเผือกได้ทํารังอยู่ท%ตี ้นมะเดื%อแล้วเกิดพายุฟ้าคะนองพัดเอาไข่ทงั 5 ฟองลอยตามกระแสนํ าไปตกอยู่กบั แม่ไก่
ฟองหนึ%ง แม่นาคฟองหนึ%ง แม่เต่าฟองหนึ%ง แม่โคฟองหนึ%งและแม่ราชสีห์ฟองหนึ%ง แม่ทงห้ ั าต่างฟูมฟกั อย่างดี
จนถึงวันเพ็ญเดือนสิบสองไข่ทงั 5 ฟองแตกออกมาเป็ นบุรุษรูปงาม 5 คน คนแรกชื%อ กกุสนั โธ คนที%สองชื%อ
โกนาคมโน คนที%สามชื%อกัสสโป คนที%สช%ี %อื โคตโม และคนทีห% ้าชื%อศรีอริ ยเมตไตรย31 เรื%องราวทํานองนีพบใน
ตํานานหลายเรื%องในล้านนา อาทิ ตํานานพระพุทธเจ้าห้าพระองค์ ตํานานประเพณีผางประทีป ซึ%งตํานานให้
รายละเอียดผิดแผกไปบ้างแต่โครงเรื%องเป็ นโครงเรื%องเดียวกัน
ตํานานในท้องถิน% ล้านนาผนวกเรื%องพุทธานุภาพของพระพุทธเจ้ากับดินแดนในล้านนาภายใต้แนวคิด
อดีตพระพุทธเจ้าและอนาคตพุทธเจ้า กล่าวคือพระพุทธเจ้าในอดีตและอนาคตทุกพระองค์ทรงมีพระจริยาวัตร
เดียวกัน เสด็จมายังสถานทีแ% ห่งเดียวกัน ทรงพยากรณ์เหตุการณ์บา้ นเมืองในอนาคตและได้ประทับรอยพระบาท
ไว้บนที%แห่งเดียวกัน ตํานานผูกเรื%องราวการเสด็จมายังดินแดนในล้านนาและพุทธานุ ภาพของพระพุทธเจ้ากับ
ความเป็ นไปของบ้านเมืองและสถานทีต% ่างๆ ในเชิงพุทธพยากรณ์ ตํานานประเภทนีมีลกั ษณะเป็ นเรื%องเล่าเกีย% วกับ
ศาสนา บ้านเมืองและผูค้ นในท้องถิน% ทีเ% ล่าสืบต่อกันมาแล้วนํามาบันทึกไว้เป็ นลายลักษณ์อกั ษรในรูปแบบการเขียน
พงศาวดารลังกา เนือหาเป็ นประวัติพุทธศาสนาที%สอดแทรกประวัติความเป็ นมาและการดํารงอยู่ของผู้คนและ
ดินแดนที%เกิดจากความเชื%อ ความศรัทธา ความกลัวและความหวังของผูค้ นในท้องถิ%น32 โดยผนวกความเชื%อใน
ท้องถิน% กับแนวคิดทางพุทธศาสนาซึง% แพร่หลายและมีบทบาทในการส่งเสริมและสืบทอดจารีตปฏิบตั ใิ นสังคม เช่น
การประพฤติชอบ ประเพณีนมัสการพระธาตุและพระพุทธบาท และการอธิบายความชอบธรรมในการปกครอง
บ้านเมือง

6. คติ การบูชาพระพุทธเจ้า 5 พระองค์และพระพุทธบาทสี&รอย


ความเชื%อในพุทธานุภาพของพระพุทธเจ้าและดินแดนศักดิสิ€ ทธิที€ พ% ระพุทธเจ้า 5 พระองค์ในภัททกัปเสด็จ
มาโปรดและประทับรอยพระบาทในสถานทีเ% ดียวกัน ได้แก่ อดีตพระพุทธเจ้า 3 พระองค์และปจั จุบนั พระพุทธเจ้า
1 พระองค์ได้อุบตั ขิ นและประทั
ึ บรอยพระบาทไว้แล้ว ส่วนพระศรีอาริยเมตไตรยอนาคตพุทธเจ้าจะมาประทับเป็ น
ลําดับที% 5 ความเชื%อนีเกีย% วข้องกับประเพณีบชู าพระพุทธบาทสีร% อย การเลื%อมใสศรัทธาและนมัสการพระพุทธบาท
เป็ นกริยาบุญอย่างหนึ%งทีผ% ู้ประพฤติจะได้อานิสงส์จากการกระทํานี ผูท้ %ปี รารถนาในพุทธภูมหิ รือนิพพานหากไม่
สําเร็จในศาสนาพระโคตมพุทธเจ้าซึง% มีกาํ หนด 5000 ปี มุ่งหวังจะไปเกิดในยุคพระศรีอาริยเมตไตรยทีโ% ลกจะมีแต่

30
สงวน โชติสุขรัตน์, รวบรวม, “ตํานานพระพุทธบาทสีร% อย (รังรุง้ )” ประชุมตํานานล้านนาไทย เล่ม 2 (กรุงเทพฯ:
โอเดียนสโตร์, 2515), น.434-438; ตํานานพระพุทธบาทเขารังรุง้ , สืบค้นเมือ% ตุลาคม 2552 จาก
http://www.Lannaworld.com/story/legend/rangrung,htm - 13k.
31
นิทานพระยากาเผือก, สืบค้นเมือ% 25 ตุลาคม 2552 จาก http://www.Lannaworld.com/story/legend/rangrung,htm-13k;
และ http://branch.nlt.go.th/korat/d-library/ index.php? p=show_detail&id=382
32
อุษณีย์ ธงไชย, จารึกและตํานาน หลักฐานทีสร้างขึนภายใต้อทิ ธิพลของพุทธศาสนาลังกาวงศ์, (ภาควิชาประวัตศิ าสตร์
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 2540), น. 67.
94 วารสารศิลปศาสตร์ ปีท%ี 13 ฉบับที% 1 มกราคม - มิถุนายน 2556

ความอุดมสมบูรณ์ ดังนันพุทธศาสนิกชนจึงต้องดํารงสัมมาปฏิบตั ิ เร่งทําบุญเพื%อได้สมปรารถนาทังในชาตินีและ


ชาติหน้า ตํานานในท้องถิ%นได้บอกเล่าเหตุการณ์ทเ%ี กิดขึนซําแล้วซําอีกในสมัยของพระพุทธเจ้าแต่ละพระองค์ว่า
สถานทีห% ลายแห่งในดินแดนแถบนีทีพ% ระพุทธเจ้าเคยเสด็จมาประทับรอยพระบาทและให้ความคุม้ ครองผูค้ นและ
บ้านเมืองทีจ% ะเกิดขึนและเติบโตต่อไป
ประเพณีบูชารอยพระพุทธบาทในประเทศไทยสืบเนื%องมาจากคติการสร้างพระพุทธบาทในอินเดียและ
33
ลังกา สันนิษฐานว่ารอยพระพุทธบาททีเ% ก่าทีส% ดุ ในไทยกําหนดอายุราวพุทธศตวรรษที% 11-13 หลังจากนันไม่พบ
รอยพระพุทธบาทอีกจนกระทังราวพุ % ทธศตวรรษที% 19 เมื%อรับอิทธิพลจากพุทธศาสนาเถรวาทจากลังกาพบจารึก
หลายหลักกล่าวถึงการบูชารอยพระพุทธบาททีส% โุ ขทัยและล้านนา34 รอยพระพุทธบาทสีร% อยนีไม่ได้พบทัวไปในทุ % ก
ที% ในล้านนาพบรอยพระพุทธบาทกําหนดอายุราวต้นพุทธศตวรรษที% 20-21 ส่วนทีพ% บในภาคกลางของประเทศ
ไทยนันเกือบทังหมดมีอายุอยู่ในราวพุทธศตวรรษที% 23 รอยพระพุทธบาทสีร% อยในดินแดนประเทศไทยทีป% รากฏ
ชัด เจนและมีอ ายุ เ ก่ า สุ ด นั ก วิช าการทางด้า นศิล ปะสัน นิ ษ ฐานว่ า มีอ ายุ ร าวพุ ท ธศตวรรษที% 20-21 35 ได้แ ก่
พระพุทธบาทสี&รอยเขาพระพุทธบาทน้ อย สุโขทัย โดยเฉพาะ พระพุทธบาทสี&รอยไม้ประดับมุกวัดพระสิ งห์
เชียงใหม่ ซึง% สันนิษฐานว่ามีอายุราวปลายพุทธศตวรรษที% 20 มีจารึกระบุพระนามของอดีตพระพุทธเจ้า 3 พระองค์
ในภัททกัปไว้ทแ%ี นวล่างของส้นพระบาท นอกจากนียังมีจารึกทีก% ล่าวพระนามอดีตพุทธเจ้าไว้ ได้แก่ แผ่นครอบ
พระพุทธบาทสําริ ดวัดเสด็จ กําแพงเพชร อายุราว พ.ศ.1970 ระบุพระนามอดีตพระพุทธเจ้ากํากับไว้ใต้ภาพ
พระพุทธเจ้า 13 พระองค์เริม% ตังแต่พระตัณหังกรพระพุทธเจ้าจนถึงพระปทุมุตตรพุทธเจ้า และพระพุทธรูปปาง
ประทับรอยพระพุทธบาทซึง% มีจารึกชื%ออดีตพระพุทธเจ้าและกํากับปี ทส%ี ร้างไว้ใน พ.ศ. 2025

ภาพที 11 จารึกทีส% น้ พระบาทไม้ วัดพระสิงห์ เชียงใหม่


ทีมา: นันทนา ชุตวิ งศ์, รอยพระพุทธบาทในศิลปะเอเชียใต้
และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้, (ด่านสุทธการพิมพ์, 2533)

33
นันทนา ชุตวิ งศ์, รอยพระพุทธบาทในศิลปะเอเชียใต้และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้, (กรุงเทพฯ: ด่านสุทธาการพิมพ์,
2533), น. 63
34
ยอร์ช เซเดส์, “จารึกหลักที% 8 จารึกเขาสุมนกู” ประชุมจารึกสยาม ภาคที 1-2 จารึกสุโขทัย, (พระนคร: โรงพิมพ์
พระจันทร์, 2477), น. 20.
35
สุภทั รดิศ ดิสกุล, ศิลปะในประเทศไทย, (กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2548), น.46; นันทนา ชุตวิ งศ์,
รอยพระพุทธบาทในศิลปะเอเชียใต้และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้, น. 38.
วารสารศิลปศาสตร์ ปีท%ี 13 ฉบับที% 1 มกราคม - มิถุนายน 2556
95

ภาพที 12 พระพุทธบาทสีร% อย วัดพระบาท ภาพที 13 พระพุทธบาทเขารังรุง้ เชียงใหม่


เขาน้อย สุโขทัย ทีมา: พระพุทธบาทเขารังรุง้ , สืบค้นเมือ% 25
ทีมา: พระพุทบาทเขาน้อย สุโขทัย, สืบค้นเมื%อวันที% ตุลาคม 2552 จาก http://www. lannaworld.
25 ตุลาคม 2552 จาก http://www.nationalmuseums. com/story/legend/rangrung.htm-13k
finearts.go.th/ramkhamhaeng/hilight.htm
สมัยอยุธยาราวพุทธศตวรรษที% 22-23 ปรากฏงานปฏิมากรรมและภาพจิตรกรรมรูปรอยพระพุทธบาทสี%
รอยในศาสนสถานหลายแห่ง เช่น ตําหนักพระพุทธโฆษาจารย์วดั พุทไธสวรรย์ อยุธยา พระพุทธบาทสี&รอยไม้
จําหลักภายในวัดพระธาตุลาํ ปางหลวง ลําปาง และ พระพุทธบาทที&วดั ป่ าโมก อ่างทอง ซึง% สันนิษฐานว่าสร้าง
ขึนในราวสมัยอยุธยาตอนปลาย
ในพุทธศตวรรษที% 24 สมัยรัตนโกสินทร์พบรอยพระพุทธบาทสีร% อยหลายแห่งมีลกั ษณะเป็ นรอยซ้อนเลื%อม
เล็ก ใหญ่ ด้า นซ้ า ย ด้ า นขวา หรือ แนวขนาน 36 เช่ น พระพุ ท ธบาทวัด นครหลวง อยุ ธ ยา พระพุ ท ธบาท
วัดบางกะพ้อม สมุทรสงคราม พระพุทธบาทวัดเกาะวาลุการาม ลําปาง พระพุทธบาทที&มณฑปวัดนครหลวง
อยุธ ยา พระพุท ธบาทวัด เขาพลอยแหวน จันทบุ รี พระพุทธบาทวัด ใหญ่ อินทราราม ชลบุรี รวมถึง งาน
จิตรกรรมรูปรอยพระพุทธบาทสีร% อยวางเรียงกันในแนวขนานมีปรากฏให้เห็นในสมุดภาพไตรภูมิฉบับอักษร
ธรรมล้ า นนาซึ%ง สัน นิ ษ ฐานว่ า เขีย นขึนราวพุ ท ธศตวรรษที% 24 ภาพพระพุท ธบาทสี& ร อยในพระบฏและตู้
พระธรรมลายทองวัดระฆังโฆษิ ตารามซึง% ไม่สามารถกําหนดอายุได้ชดั เจนว่าเขียนขึนเมื%อใด
นอกจากนียังให้ความสําคัญกับประเพณีนมัสการรอยพระพุทธบาท เช่น พระมหาธรรมราชาลิไททรง
จําลองพระพุทธบาทบนเขาสุมนกูฏในลังกามาประดิษฐานในสุโขทัยและทรงให้ช%อื เขาแห่งนันว่า “สุมนกูฏ” ตามชื%อ
€ งกา ทรงปราบหัวเมืองและประทับทีเ% มืองสองแควหรือพิษณุ โลกในปจั จุบนั และทรงนํ าชาวเมือง
เขาศักดิสิ€ ทธิในลั
สักการะพระพุทธบาท พระเจ้าเม็งรายและพระนเรศวรทรงสักการะพระพุทธบาทเขารังรุง้ พระเจ้าทรงธรรมทรงส่ง
พระเถระไปนมัสการรอยพระพุทธบาทที%เขาสุมนกูฏลังกาและโปรดให้สบื หาจนพบรอยพระพุทธบาทในดินแดน
ประเทศไทยตามคําของพระเถระในลังกา พระองค์ทรงประกาศให้เขาสุวรรณบรรพตทีพ% บรอยพระพุทธบาทนีว่าคือ
เขาสัจจพันธ์
ปฏิมารูปรอยพระพุทธบาทสีร% อยและจารึกทีร% อยพระพุทธบาทสอดคล้องกับความเชื%อในคัมภีร์ ตํานาน
ปฏิมากรรม และประเพณีสกั การะพระพุทธบาท ยืนยันได้ว่าคติความเชื%อนีมีมาอย่างน้อยในราวพุทธศตวรรษที% 20
แพร่หลายและมีอทิ ธิพลต่อสังคมในล้านนาสุโขทัย อยุธยาและรัตนโกสินทร์ในการช่วยส่งเสริมและสืบทอดคติทาง

36
นันทนา ชุตวิ งศ์, รอยพระพุทธบาทในศิลปะเอเชียใต้และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้, น. 63. วีรภัทร อารีศริ, พระพุทธเจ้า

ในภัท รกัล ป การแสดงออกในงานศิล ปะสมัย รัต นโกสิน ทร์ (ปริญ ญาศิล ปศาสตรมหาบัณ ฑิต สาขาวิช าประวัติศ าสตร์ ศ ิล ปะ
มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2549), น. 24-32.
96 วารสารศิลปศาสตร์ ปีท%ี 13 ฉบับที% 1 มกราคม - มิถุนายน 2556

ศาสนาตามหลักพุทธธรรมให้ผู้คนทัวไปยึ % ดมัน% ศรัทธา ประพฤติช อบ รวมถึงเชื%อมโยงอุดมคติทางศาสนากับ


อุดมการณ์ทางสังคมทีก% ษัตริยธ์ รรมราชามีต่อสังคมดังทีจ% ะกล่าวต่อไป

7. สาระพุทธธรรมกับอุดมคติ ของสังคม
พุทธประวัตใิ นคัมภีร์ทพ%ี ระคันถรจนาจารย์ในล้านนาและอยุธยารจนา ตํานานท้องถิน% ที%บนั ทึกเรื%องราว
ของผูค้ นและบ้านเมืองรวมถึงงานศิลปกรรมและขนบประเพณีเนื%องในศาสนาชีให้เห็นว่าคติความเชื%ออดีตพุทธเจ้า
สืบทอดมาจากคติค วามเชื%อในพุทธศาสนาจากลังกาและปรับให้สอดคล้อ งกับสังคมไทย การรับรู้และส่งทอด
เรื%อ งราวนี ในสัง คมไทยมีส่ว นกํา หนดโลกทัศ น์ แ ละคตินิ ย มในการดํา รงชีวิต ให้มีวิถีป ฏิบ ัติต ามกรอบคิด ทาง
พุทธศาสนาให้ผูค้ นในสังคมเกิดศรัทธาและประพฤติชอบ การทีค% มั ภีรพ์ เิ ศษและตํานานในท้องถิน% สนใจเรื%องอดีต
พุทธเจ้ามากกว่าทีม% กี ล่าวไว้ในพระไตรปิ ฎกบอกถึงเจตนคติในการส่งเสริมความเชื%อความศรัทธาและปลูกฝงั พุทธ
ธรรมตามคติพุทธเถรวาทในเรื%อง “กรรม” และ “ไตรลักษณ์” เป็ นความหวังที%แฝงอยู่ในคติการบําเพ็ญบารมีและ
กริยาบุญเพื%อผลกับผูป้ ระพฤติทงในชาติ
ั นีและชาติหน้า
พุทธประวัติเน้นให้เห็นว่าพระโพธิสตั ว์ทรงบําเพ็ญบารมีของผู้ทป%ี รารถนาเป็ นพระพุทธเจ้าทีต% ้องอาศัย
ศรัท ธาอย่ า งแรงกล้า ตามขันตอนจนสมบูร ณ์ เรื%อ งราวทังหมดเป็ นผลจาก “กรรม” ที%เป็ น เหตุ ใ ห้จํา แนกและ
กําหนดให้สรรพสัตว์ทงหลายแตกต่
ั างกัน เป็ นไปและเกิดขึนอย่างอาศัยกันอย่างไม่มที %ีสนสุ ิ ด กาลและเทศะใน
เหตุการณ์จงึ เกิดขึนอย่างสืบเนื%องจากอดีตสู่ปจั จุบนั และอนาคตเป็ นกระบวนการเดียวกันทีเ% ป็ นส่วนหนึ%งของการรู้
ธรรม เพราะการกระทํา ในอดีต และป จั จุ บ ัน ถึง อนาคตนี เป็ น ผลสืบ เนื% อ งที%ต้อ งเป็ น เช่ น นัน คัม ภีร์ต่ า งๆ เช่ น
โสตัตถกีมหานิทาน มูลศาสนา ชินกาลมาลีปกรณ์ ปฐมสมโพธิกถา และตํานานพระธาตุและพระพุทธบาท จึงแสดง
ให้เห็นว่าคนทังหลายได้เห็นธรรมจากการเกิด การดํารงอยู่ และการสูญสลาย อีกทังความเชื%อนียังเป็ นความหวัง
ของผู้คนในศาสนาของพระโคตมพุท ธเจ้าซึ%ง มีกําหนดอายุ 5000 ปี นีให้ตระหนักว่า มนุ ษ ย์กํา ลัง อยู่ใ นเวลาที%
พุทธศาสนามีสภาพอย่างไรและมนุ ษย์ควรจะทํา “กรรม” ใดในสภาพเช่นนัน37 ตํานานจึงเน้นยําเรื%องกรรมและ
กฎแห่งกรรม การทําบุญและประพฤติตนอยู่ในศีลธรรมเป็ นวิถที างทีช% ่วยให้ไปสูภ่ พภูมทิ ด%ี ี ดังนันสิง% ทีม% นุษย์ควรทํา
ในปจั จุบนั คือการทําดี มีศรัทธายึดมันในพุ
% ทธศาสนาเพื%อไปสูภ่ พภูมทิ ด%ี หี รือหลุดพ้นจากสังสารวัฏ38
ส่วนเรื%องราวของพระพุทธเจ้าทุกพระองค์ในช่วงเวลานานหลายกัปอสงไขยอยู่ภายใต้กฎแห่งธรรมชาติใน
สามัญลักษณะทีเ% รียกว่า “ไตรลักษณ์” ผูท้ ป%ี รารถนาเป็ นพระพุทธเจ้าทุกคนมีสภาพเป็ นมนุ ษย์ทต%ี ้องอยู่ภายใต้กฎ
แห่งธรรมชาติท%เี ป็ นสากลไม่ต่างจากสิง% ทังหลายในจักรวาล พระพุทธเจ้าจํานวนมากที%นับจํานวนได้และไม่อาจ
ประมาณนับได้ทุกพระองค์มพี ระจริยาวัตรทีค% ล้ายคลึงกันมิได้อยู่นอกกฎแห่งนี พระองค์ทรงเป็ นมนุ ษย์ทต%ี ้องดับ
สูญ ฝ่ายพุทธเถรวาทเชื%อว่าพระพุทธเจ้าทรงเป็ นมนุ ษย์ท%ีบําเพ็ญบารมีจนบรรลุโ พธิญาณและเมื%อกายเนือไม่
สามารถดํารงอยู่ได้ตามกฎแห่งธรรมชาติกเ็ สด็จดับขันธปรินิพพาน พระสรีระของพระองค์ไม่อาจดํารงอยู่ ศาสนาที%
ทุกพระองค์ทรงโปรดเวไนยสัตว์กไ็ ม่อาจดํารงอยู่อย่างนิรนั ดรเช่นกัน ความจริงแห่งธรรมชาติทต%ี ้องเป็ นเช่นนีเป็ น
“ไตรลักษณ์” ได้แก่ อนิจจัง ทุกขัง และอนัตตา39 สามัญลักษณะทีเ% ป็ นจริงไม่ขนกั ึ บกาลเวลา40

37
สิงฆะ วรรณสัย,แปล. พุทธตํานานพระเจ้าเลียบโลก, (สถาบันวิจยั สังคม: เชียงใหม่, 2518), น. 127.
38
“ตํานานพระนางจามเทวี” ประชุมตํานานลานนาไทย เล่ม 1 รวบรวมโดย สงวน โชติสุขรัตน์, (โอเดียนสโตร์: พระนคร.
2515), น. 73.
39
พระพรหมคุณาภรณ์, พจนานุ กรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์, ครังที% 12, 2546, อ้างอิง http://www.
84000.org/tipitaka/dic/v_seek.php?text=ไตรลักษณ์.
40
พระพรหมคุณาภรณ์ , พจนานุ กรมพุทธศาสตร์, พิมพ์ครังที% 12, (2546) สืบค้นเมื%อธันวาคม 2553 จาก http://www.
84000.org/tipitaka/dic/d_seek. php?text=อกาลิโก.
วารสารศิลปศาสตร์ ปีท%ี 13 ฉบับที% 1 มกราคม - มิถุนายน 2556
97

เรื%องราวและขันตอนที%ต้องดําเนินไปในกระบวนการเดียวกันนีเป็ นไปในทางเสื%อมลง สังคมและมนุ ษย์


ค่อยๆ เสือ% มลงตามลําดับ มนุษย์ละเว้นการทําดีทาํ ให้มนุ ษย์รบั รูธ้ รรมได้น้อยลงเรื%อยๆ อายุลดน้อยลงเรื%อยๆ เกิด
ความวิปริตต่างๆ41 แนวคิดทางศาสนาในสังคมไทยก่อนพุทธศตวรรษที% 24 เชื%อว่าศาสนา ผูค้ น และสังคมทีเ% สื%อม
ถอยลงตามลําดับ เริม% ตังแต่ความเสื%อมสูญพระปริยตั ิ การปฏิบตั ิ การตรัสรู้มรรคและผล สมณเพศ และพระธาตุ
เหล่านีเป็ นสภาวะทีส% รรพสิง% เกิดขึนแล้วดับไป เกิดใหม่แล้วดับไปอีกเป็ นเช่นนีเรื%อยไปไม่สนสุ
ิ ด
เรื%องราวในพุทธประวัติเน้ นให้เห็นผลของการกระทําเป็ นความหวังที%แฝงอยู่ใ นคติการบําเพ็ญบารมี
การบําเพ็ญบารมีต่างๆ ได้แก่ ศีลบารมี เนกขัมมบารมี สัจจบารมี เมตตาบารมี และอุเบกขาบารมี การทําความดี
ตามหลักกริยาบุญ เช่น การแสดงธรรม การถวายทานบูชาด้วยสิง% ของต่างๆ อาทิ อาหาร ของหอม แสงสว่าง
ดนตรี ผ้า การบูชาอดีตพุทธเจ้า การบูชาพระธรรม บูชาพระธาตุและพระพุทธบาท การรักษาศีล การสรรเสริญ
พระพุ ท ธเจ้า ฟ งั ธรรม การคัด ลอกรํ า ลึก หรือ จดจํา พระไตรปิ ฎ ก ตํ า นาน สร้า งหรือ ปฏิส ัง ขรณ์ ศ าสนสถาน
ศาสนวัตถุเหล่านีส่งผลต่อผูป้ ระพฤติ พุทธธรรมเป็ นหลักยึดในการดําเนินชีวติ ของพุทธศาสนิกชนมุ่งไปสูเ่ ป้าหมาย
สูงสุดคือ “นิพพาน” เพื%อพัฒนาจิตใจไปสู่อุดมคติทางศาสนาที%เป็ นหนึ%งเดียวกับอุดมคติทางสังคมของผูค้ นทัวไป %
และผูป้ กครอง การเลื%อมใสศรัทธาในคําสอนของพุทธศาสนา การทําความดีตามหลักบุญกริยาวัตถุ ผลแห่งกริยา
บุญที%กระทําส่งผลให้ผู้ป ระพฤติตังอยู่ใ นสัมมาปฏิบตั ิ ประกอบด้วยยศบรรดาศักดิ € มีสมบูร ณ์ ด้วยป ญ ั ญาและ
ทรัพย์สนิ เงินทอง ปราศจากโรคภัยและภัยอันตรายต่างๆ ทังในชาตินีและชาติต่อๆ ไปโดยมีเป้าเหมายสูงสุดคือ
นิพพาน หากบุญยังไม่สมบูรณ์กจ็ ะได้เกิดและได้มรรคผลในศาสนาของพระศรีอาริยเมตไตรยอนาคตพุทธเจ้า
ดังปรากฏในคําอธิษฐานให้ผลบุญที%กระทําให้ “ได้เป็ นพระพุทธเจ้า” “ให้ได้นิพพาน” และ “ให้ได้เกิดในยุคพระศรี
อาริยเมตตไตรย” รวมถึง การปฏิบตั ิต ามขนบประเพณีทางศาสนา เช่น ประเพณีนมัสการรอยพระพุทธบาท
ประเพณีบชู าพระพุทธเจ้าด้วยแสงสว่างจากภาชนะ “ผางประทีป” และประเพณีสรงนําพระธาตุ เป็ นต้น
คติอดีตพุทธเจ้าจึงเป็ นความหวังที%แฝงอยู่ในคติการบําเพ็ญบารมี และการทําความดีตามหลักกริยาบุญ
ซึง% มีอทิ ธิพลต่อศรัทธาของพุทธศานิกชน โน้มน้าวให้พุทธศานิกชนทัวไปและผู% ป้ กครองให้ประพฤติชอบ สืบทอด

ประเพณีราํ ลึกถึงพระพุทธเจ้าในอดีต ปจจุบนั และอนาคต

8. ธรรมราชากับอุดมการณ์ผปู้ กครอง
เรื%องราวของผู้คนและบ้านเมืองในท้องถิน% ถูกเชื%อมโยงเข้ากับพุทธประวัติ โดยศูนย์กลางของเรื%องราวใน
คัม ภีร์พิเ ศษและตํ า นานคือ ชมพูท วีป เน้ น เฉพาะราชธานี ท%ีเ ป็ น ศูน ย์แ ห่ ง ความเจริญ ของโลกพุ ท ธศาสนาซึ%ง
เคลื%อนย้ายจากเมืองกบิลพัสดุใ์ นอินเดียมาสูล่ งั กาและดินแดนประเทศไทย42 คติกษัตริยต์ ามแนวคิดในพุทธศาสนา
นิกายลังกาวงศ์ กษัตริยท์ รงทําหน้าทีจ% รรโลงธรรมดังทีท% รงพระนามหรือกล่าวถึงด้วยพระนาม “พญาธรรม” หรือ
“ธรรมิกราช”43 กษัตริย์ผูท้ รงธรรมเป็ นคุณสมบัตสิ งู สุดของกษัตริยท์ น%ี ับถือพุทธศาสนาลังกาวงศ์ การไม่ตงมั
ั นใน
%
ธรรมของกษัตริยน์ ํามาสูค่ วามวิบตั แิ ละการล่มสลายของบ้านเมือง ซึง% ในศาสนาพระโคตมพุทธเจ้าทีม% กี ําหนดอายุ
5,000 ปี มีพญาธรรมมิกราชมาบังเกิดมาแล้วจํานวนมาก
คติความเชื%อนีจึงสอดคล้องกับพัฒนาการของบ้านเมืองที%รบั นับถือพุทธศาสนาเถรวาทตังแต่ ใ นพุทธ
ศตวรรษที% 6-7 ถึงพุทธศตวรรษที% 20 ผู้นําของบ้านเมืองเหล่านันรับวัฒนธรรมอินเดียมาปรับใช้ให้เหมาะสมกับ
สังคม เศรษฐกิจ และวัฒนธรรมของตน พัฒนาการของบ้านเมืองจึงเป็ นไปในทิศทางการเมืองการปกครองทีม% ศี ูนย์
41
เตภูมกิ ถา, (นนทบุร:ี กรมศิลปากร, 2515), น. 315.
42
“ตํานานพระพุทธบาทเขารังรุง้ ” ประชุมตํานานล้านนาไทย เล่ม 2 รวบรวมโดย สงวน โชติสุขรัตน์ , น. 417; รัตนปญั ญา
เถระ, ชินกาลมาลีปกรณ์ แปลโดย แสง มนวิทรู , น. 41, 58, 89.
43
ศรีศกั ร วัลลิโภดม, “คติกษัตริยส์ มมติราช มหาสมมติเทพ” เมืองโบราณ (ปี ท%ี 32 ฉบับที% 3, 2549), น. 10. ศรีศกั ร
วัลลิโภดม, สยามประเทศ, (กรุงเทพฯ: สํานักพิมพ์มติชน, 2539), น. 286-302.
98 วารสารศิลปศาสตร์ ปีท%ี 13 ฉบับที% 1 มกราคม - มิถุนายน 2556

รวมอยู่ ท%ีก ษัต ริย์ต ามคติธ รรมราชา การอธิบ ายถึง พญาธรรมมิก ราชที%อุ บ ัติข ึน ได้แ ก่ พระเจ้า อโศกในราว
พุทธศตวรรษที% 3 พระเจ้าอนุ รุธแห่งพุกามในราวพุทธศตวรรษที% 17 และจะได้บงั เกิดพญาธรรมิกราชอีกพระองค์
ในล้านนาและอโยธยาในช่วงกึง% พุทธกาล ตํานานในล้านนาเน้นให้ความสําคัญกับเรื%องนีเพราะพญาธรรมิกราชจะ
มาเป็ นที%พ%งึ ของผู้คนในสังคม คติธรรมราชาจึงมีอทิ ธิพลต่อการอธิบายความชอบธรรมในการปกครองและเป็ น
อุดมคติผู้ปกครองดังปรากฏพระนามของกษัตริย์ในพม่า สุโขทัย ล้านนา รวมถึงอยุธยาต่างเฉลิมพระเกียรติดงั %
“พญาธรรมิกราช” เพราะกษัตริยผ์ ูท้ รงธรรมทรงมีบทบาทสําคัญทีส% ุดทีก% ําหนดความเป็ นไปของบ้านเมืองทีท% ุกคน
ดํารงอยู่44 เช่น ความปกติของสภาวะทางธรรมชาติไม่ว่าเรื%องฝนตกต้องตามฤดูกาล การทํามาหากินหรือทรัพย์สนิ
มังคั% งบริ
% บรู ณ์ ตํานานตังแต่พุทธศตวรรษที% 20-21 ต่างกล่าวเชื%อมโยงเหตุการณ์บา้ นเมืองกับพุทธศาสนาและเน้น
บทบาทของกษัตริยพ์ ระองค์ใดพระองค์หนึ%งทีไ% ด้อุปถัมภ์พุทธศาสนาเป็ นพิเศษ เช่น มูลศาสนาวัดสวนดอกเน้นที%
พระเจ้ากือนา ชินกาลมาลีปกรณ์เน้นทีพ% ระเจ้าติโลกราช และจามเทวีวงศ์เน้นทีพ% ระเจ้าอาทิตยราช รวมถึงงานที%
แต่งขึนในอยุธยาและรัตนโกสินทร์ เช่น โองการแช่งนํา กฎหมายตราสามดวง รวมถึงตํานานและพงศาวดาร
การผสานความเชื%อในพุทธศาสนากับความเชื%อและเหตุการณ์ในท้องถิน% โดยผนวกเรื%องราวของอาณาจักร
กับ พุ ท ธจัก รคือ ชมพูท วีป ผ่ า นสัญ ลัก ษณ์ ต่ า งๆ เช่ น การตังชื%อ บ้า นเมือ งสถานที%ใ นตํ า นานเป็ น ชื%อ เดีย วกัน
พุ ท ธทํา นายหรือ คํา พยากรณ์ บ้า นเมือ งที%พ ระพุ ท ธเจ้า เสด็จ ไปและทํา นายอนาคตของบ้า นเมือ งที%จ ะเกิด ขึน
ผู้ปกครองบ้านเมืองได้รบั ความคุ้มครองจากพุทธานุ ภาพของพระพุทธเจ้าและพลังลีลับ เหนือธรรมชาติ อาทิ
อธิบายว่าพระพุทธเจ้าเสด็จจากภูเขาสุวรรณบรรพตไปในทีใ% กล้ปา่ มีหนองนําใหญ่เรียกว่าหนองโสน และพยากรณ์
ว่ามดเล็กตัวหนึ%งต่อไปในอนาคตกาลข้างหน้าจะได้บงั เกิดเป็ นกษัตริยม์ ศี กั ดานุภาพมากสร้างราชธานีอยู่ ณ ตําบล
หนองโสนให้เป็ นบ้านเมืองทีส% มบูรณ์และจะได้บํารุงพุทธศาสนาและรอยพระบาทบนยอดเขาสุวรรณบรรพตนันให้
รุ่ ง เรือ ง ในกาลต่ อ มาพระเจ้า อู่ ท องทรงประกาศว่ า พระองค์คือ มดเล็ก ตัว นั นและเป็ น ผู้ส ร้า งกรุ ง และบํ า รุ ง
พระพุทธศาสนาให้ถาวรรุ่งเรืองสืบไปดังคําพยากรณ์ทพ%ี ระองค์ทรงพยากรณ์ไว้ 45
พุทธศาสนามีบทบาทในการสร้างความชอบธรรมทางการปกครองให้กบั สถาบันกษัตริย์ การอธิบายทีม% า
แห่ ง พระราชานุ ภ าพทังทางโลกและทางธรรม การเน้ น ฐานะดิน แดนเหล่ า นั นให้เ ป็ น “ดิน แดนศัก ดิส€ ิท ธิท€ %ี
พระพุทธเจ้าเคยเสด็จมา” แสดงถึงพระราชอํานาจทางการเมืองของพระมหากษัตริยท์ ท%ี รงปกครองเหนือดินแดน
อันศักดิสิ€ ทธินั€ น จารึกและพงศาวดารกล่าวถึงกษัตริยห์ ลายพระองค์ทท%ี รงมีพระจริยาวัตรบูชารอยพระพุทธบาทซึง%
เป็ นสัญลักษณ์หนึ%งทีแ% สดงสถานะอันชอบธรรมทางการปกครอง ทังนีเพราะพุทธศาสนาได้เปลีย% นสถานะดินแดนที%
เชื%อว่าพระพุทธเจ้าเสด็จมาโปรดให้เป็ นดินแดนศักดิส€ ทิ ธิท€ %ไี ด้รบั ความคุ้ม ครองจากพุทธานุ ภาพของพระองค์
การได้พบและนมัสการพระพุทธบาทในดินแดนที%ปกครองอยู่จึงเกี%ยวข้องกับบุญญาธิการของพระมหากษัตริย์
ดังเห็นได้จากการจําลองรอยพระพุทธบาท การเสด็จไปนมัสการพระพุทธบาท และการค้นหารอยพระพุทธบาท
ตังแต่พุทธศตวรรษที% 20-23 เช่น พระมหาธรรมราชาลิไททรงจําลองพระพุทธบาทบนเขาสุมนกูฏในลังกามา
ประดิษฐานในสุโขทัยใน พ.ศ. 1902 และทรงให้ช%อื เขาแห่งนันใหม่ว่า “สุมนกูฏ” ตามชื%อเขาศักดิสิ€ ทธิในลั € งกา ทําให้
เปลี%ยนสถานะสุโขทัยเป็ นดินแดนศักดิส€ ทิ ธิที€ %พระพุทธเจ้าเสด็จมาโปรดและให้ความคุ้มครอง จารึกเขาสุมนกูฏ
กล่าวถึงการแห่พระพุทธบาทขึนเขา46 และเมื%อพระมหาธรรมราชาลิไททรงปราบหัวเมืองและประทับทีเ% มืองสอง
แควหรือพิษณุโลกในปจั จุบนั ทรงนําชาวเมืองสักการพระพุทธบาทนี ในสมัยอยุธยาราวพุทธศตวรรษที% 22 เอกสาร
หลายฉบับได้กล่าวถึงการเสด็จนมัสการรอยพระพุทธบาท เช่น คําให้การของขุนหลวงหาวัด กล่าวถึงสมเด็จ

44
ตํานานมูลศาสนา, น. 144; สิงฆะ วรรณสัย, แปล. พุทธตํานานพระเจ้าเลียบโลก, น.16. “ตํานานพระนางจามเทวี”
ประชุมตํานานลานนาไทย เล่ม 2 รวบรวมโดย สงวน โชติสุขรัตน์, น. 72.
45
“คําให้การชาวกรุงเก่า” ประชุมคําให้การกรุงศรีอยุธยา, น. 51, 54-56.
46
ยอร์ช เซเดส์, “จารึกหลักที% 8 จารึกเขาสุมนกูฏ” ประชุมจารึกสยาม ภาคที 1-2 จารึกสุโขทัย, (พระนคร: โรงพิมพ์
พระจันทร์, 2477), น. 20.
วารสารศิลปศาสตร์ ปีท%ี 13 ฉบับที% 1 มกราคม - มิถุนายน 2556
99

พระนเรศวรทรงยกทัพไปเมืองหางและเสด็จขึนไปนมัสการ “พระพุทธบาทรังรุง้ ”47 พระราชพงศาวดารกรุงศรี


อยุธยากล่าวถึงพระเจ้าทรงธรรมทรงส่งพระเถระไปนมัสการรอยพระพุทธบาททีเ% ขาสุมนกูฏลังกา เมื%อพระเถระ
รูปนันกลับมาได้ทลู เรื%องทีท% ราบจากลังกาว่าในเมืองไทยมีรอยพระพุทธบาทเช่นกัน พระองค์โปรดให้สบื หาจนพบ
รอยพระพุทธบาททีเ% ขาสุวรรณบรรพตจึงได้ประกาศว่าเขาทีพ% บรอยพระพุทธบาทนีคือเขาสัจจพันธ์ พระพุทธบาท
รอยทีค% น้ พบในสมัยพระเจ้าทรงธรรมนีถือเป็ นรอยพระพุทธบาททีส% าํ คัญที%สุดเพราะพระมหากษัตริยท์ รงอุปถัมภ์
ตังแต่สมัยอยุธยาสืบต่อมาจนกระทังป % จั จุบนั
ดังนันความหมายของ “ธรรม” ของราชาตามทีป% รากฏในตํานานและพงศาวดารในล้านนา อยุธยาและ
รัตนโกสินทร์จงึ ไม่ได้หมายถึงเพียงพระจริยาวัตรทีพ% ระเจ้าแผ่นดินควรประพฤติตามธรรมสําหรับพระราชา อาทิ
“ทศพิธราชธรรม” และ “จริยวัตร 12” ซึง% สอดคล้องกับบารมี 10 ได้แก่ ทาน ศีล ขันติ สัจจะ อธิษฐาน วิรยิ ะ เมตตา
ปญั ญา อุเบกขา และเนกขัมมะ อันเป็ นการบําเพ็ญบารมีเพื%อการเป็ นพระพุทธเจ้าซึ%งเป็ นจุดหมายสูงสุดเท่านัน
และไม่ใช่เพียงการตังอยู่ในธรรม การอุปถัมภ์พุทธศาสนาและการเผยแผ่ศาสนาสูช่ ุมชนเท่านัน แต่ยงั มีความหมาย
อย่างกว้างๆ หมายถึงความสัมพันธ์ระหว่างผูป้ กครองและผูถ้ ูกปกครองทีม% เี ป้าหมายอยู่ทค%ี วามยุตธิ รรมให้สงั คม
โดยเชื%อมโยงอุดมคติทางศาสนากับอุดมการณ์ทางสังคม หรือกล่าวได้ว่าธรรมเป็ นกระบวนการทางสังคมทีก% ษัตริย์
ธรรมราชามีต่อสังคม

9. สรุปและส่งท้าย
คติความเชื%อเรื%องอดีตพุทธเจ้าเป็ นระบบความคิดที%มอี ยู่ทงในคั
ั มภีรเ์ ถรวาทและเถรวาทที%มคี วามเห็นไป
ทางพุทธมหายาน เท่าที%ปรากฏหลักฐานจากคัมภีร์ ตํานาน งานจิตรกรรมบนฝาผนัง ทีศ% าสนสถานและพระบฏ
ปฏิมากรรมรูปรอยพระพุทธบาทรวมถึงประเพณีนมัสการพระพุทธบาทชีให้เห็นว่าความเชื%อนีได้ปรับเข้ากับคติ
ความเชื%อในท้องถิน% อย่างน้อยตังแต่ประมาณพุทธศตวรรษที% 19-20
คติค วามเชื%อ เรื%อ งอดีต พุ ท ธเจ้า สืบ เนื% อ งมาจากพระไตรปิ ฎ ก อรรถกถาและคัม ภีร์พิเ ศษที%ก ล่ า วถึง
พระประวัตขิ องพระโคตมพุทธเจ้า เรื%องราวนีมีแทรกอยู่ในพระสูตรต่างๆ อาทิ มหาปทานสูตร อาฏานาฏิยสูตร
และส่วนพุทธประวัติท%เี ป็ นเรื%องราวเฉพาะที%สาํ คัญคือพุทธวงศ์และอรรถกถาพุทธวงศ์ซ%งึ เป็ นต้นแบบของคัมภีร์
พุทธประวัตใิ นยุคหลัง กล่าวถึงเรื%องราวของอดีตพุทธเจ้า 24 พระองค์และ 27 พระองค์ พระโพธิสตั ว์ทรงบําเพ็ญ
บารมีมาอย่างอุกฤษฏ์และสมบูรณ์ ทรงได้พบและได้รบั คําพยากรณ์จากพระพุทธเจ้าทุกพระองค์ว่าจะได้สาํ เร็จเป็ น
พระโคตมพุทธเจ้า เมื%อพุทธศาสนาเผยแผ่มายังเอเชียตะวันออกเฉียงใต้รวมถึงไทย คัมภีร์พเิ ศษที%แต่งขึนและ
แพร่หลายในล้านนาและอยุธยาในราวพุทธศตวรรษที% 20 เช่น สัทธรรมสังคหะ ชินมหานิทาน ปฐมสมโพธิ และ
พุทธานุ ปริวตั ต์ยงั คงดําเนินเรื%องตามพุทธวงศ์และอรรถกถาพุทธวงศ์ นอกจากนียังมีคมั ภีร์พเิ ศษที%เป็ นเรื%องราว
เฉพาะอีกกลุ่มหนึ%งทีม% คี วามเห็นไปทางพุทธมหายาน เช่น สัมภารวิบาก สัมปิ ณฑิตมหานิทาน โสตัตถกีมหานิทาน
ชินกาลมาลีปกรณ์ และมูลศาสนา เน้นเรื%องราวพุทธประวัติในอดีตชาติซง%ึ มีพระพุทธเจ้าอุบตั ิมาแล้วจํานวนมาก
คัมภีรพ์ เิ ศษกลุ่มนีสนใจแสดงเรื%องราวการบําเพ็ญบารมีของพระโพธิสตั ว์ในอดีตชาติทไ%ี กลออกไปกว่าอดีตพุทธเจ้า
ทีพ% ระโพธิสตั ว์ได้พบและได้รบั คําพยากรณ์ว่าจะได้สาํ เร็จเป็ นพระโคตมพุทธเจ้าเป็ นครังแรก โดยย้อนอดีตชาติไป
ไกลตังแต่ปฐมปณิธานทีโ% พธิสตั ว์คดิ ปรารถนาเป็ นพระพุทธเจ้าครังแรก คัมภีรพ์ เิ ศษทังสองกลุ่มเผยแพร่ในล้านนา
สุโขทัย อยุธยาและสืบทอดมาจนถึงสมัยรัตนโกสินทร์
โดยสาระหลักเรื%องราวของอดีตพุทธเจ้าคือ การบําเพ็ญบารมีเพื%อเป็ นพระพุทธเจ้า ความเกี%ยวข้องกัน
ระหว่างอดีตพุทธเจ้ากับพระโพธิสตั ว์ซง%ึ เป็ นหนึ%งในขันตอนการบําเพ็ญบารมีของผูท้ จ%ี ะเป็ นพระพุทธเจ้าในศาสน

47
“คําให้การขุนหลวงหาวัด ฉบับหลวง” ประชุมคําให้การกรุงศรีอยุธยา, (พระนคร: โรงพิมพ์โสภณพิพรรฒธนาการ,
2459), น. 334.
100 วารสารศิลปศาสตร์ ปีท%ี 13 ฉบับที% 1 มกราคม - มิถุนายน 2556

ของอดีตพุท ธเจ้า หลายพระองค์ การบําเพ็ญ บารมีอย่างอุกฤษฏ์และสมบูรณ์ ของพระโพธิส ตั ว์ ศรัทธาที%มีต่ อ


การเป็ นพระพุทธเจ้าซึ%งใช้เวลายาวนานหลายกัปอสงไขย ได้พบอดีตพระพุทธเจ้าและได้รบั คําพยากรณ์ จาก
พระองค์ว่าจะได้บรรลุเป็ นพระโคตมพุทธเจ้า พระพุทธเจ้าทรงเป็ นมนุ ษย์ผู้พบความรู้ทน%ี ํ าไปสู่การหลุดพ้นจาก
สังสารวัฏ แม้พุทธเจ้าทุกพระองค์ทรงมีพระจริยาวัตรคล้ายคลึงกันและส่วนทีแ% ตกต่างกันและเรื%องราวซับซ้อนขึน
ทังเวลาและการบําเพ็ญบารมี แต่ โ ดยรวมแล้วเรื%องราวของพระโพธิสตั ว์ยงั คงเป็ นพระประวัติของพระโคตม
พระพุทธเจ้าในประวัตศิ าสตร์ท%แี สดงออกถึงความมุ่งมันของผู
% แ้ สวงหาความรูแ้ ละพบความรูน้ ัน อีกทังยังรวมถึง
พุทธานุภาพของพระพุทธเจ้า
ความเชื%อเรื%องอดีตพุทธเจ้ามีอทิ ธิพลต่องานสร้างสรรค์ทเ%ี กิดจากแรงบันดาลใจทางศาสนา เช่น ตํานาน
จิต รกรรมบนฝาผนังและพระบฏ รูป รอยพระพุ ทธบาทรวมถึง ประเพณี น มัส การพระพุ ทธบาทสี%ร อย ตํา นาน
โดยเฉพาะตํานานพระธาตุและพระพุทธบาทเชื%อมโยงคติพุทธศาสนากับความเชื%อในท้องถิน% โดยยกสถานะดินแดน
แห่งนันทีพ% ระพุทธเจ้าเสด็จมาโปรดเป็ นดินแดนศักดิสิ€ ทธิที€ ไ% ด้รบั ความคุม้ ครองและเจริญรุ่งเรือง ภาพพระพุทธเจ้า
3 พระองค์ 6 พระองค์ 24 พระองค์ 27 พระองค์ และมากกว่า 27 พระองค์บนจิตรกรรมฝาผนังในกรุปรางค์ อุโบสถ
และพระบฏ และรูปรอยพระบาทสีร% อยรวมถึงประเพณีนมัสการพระพุทธบาทของพุทธเจ้าทีอ% ุบตั ริ ่วมกับพระโคตม
พุทธเจ้าในภัททกัปนี เหล่านีสะท้อนให้เห็นคติความเชื%อพระพุทธเจ้าหลายพระองค์ คติการบําเพ็ญบารมีในคัมภีร์
เถรวาทและบทบาททีม% ตี ่อสังคมไทยในการส่งเสริมและส่งทอดความคิดในสังคมตามคติพุทธศาสนาในสารธรรมใน
เรื%อง “กรรม” และ “ไตรลักษณ์” ทีเ% ป็ นความหวังแฝงอยู่คติของการบําเพ็ญบารมีและการประพฤติชอบกระทํากริยา
บุญเพื%อผลทีน% ําไปสู่นิพพาน และความศรัทธาในพุทธานุ ภาพของพระพุทธเจ้าทุกพระองค์ทป%ี กป้องคุม้ ครองผูค้ น
และบ้านเมือง โดยเชื%อมโยงบารมีของพระพุทธเจ้ากับอุดมการณ์ทางสังคมทังในระดับทัวไปและผู % ้ปกครอง เป็ น
ความหวังที%แฝงอยู่ใ นคติก ารบําเพ็ญบารมีและอานิส งส์ของการทํา บุญ เป็ นกระบวนการทางสัง คมที%กษัตริย์
ธรรมราชามีต่อสังคมทีน% ําพามาซึง% ความรุ่งเรืองหรือความเสือ% มของบ้านเมือง
คติความเชื%ออดีตพุทธเจ้าปรับเข้ากับคติความเชื%อในท้องถิ%นอย่างน้อยตังแต่ประมาณพุทธศตวรรษที%
19-20 มีอทิ ธิพลกําหนดกรอบคิดในสังคมไทยก่อนพุทธศตวรรษที% 24 ก่อนที%กรอบคิดทางพุทธศาสนาจะถูก
ท้าท้ายจากระบบคิดแบบเหตุผลตามหลักวิทยาศาสตร์ อย่างไรก็ตาม ในปจั จุบนั แม้ยงั คงปรากฏศาสนวัตถุและ
จารีตประเพณีนนอยู ั ่ แต่เรื%องราวอดีตพุทธเจ้า ภาพพระพุทธเจ้าหลายพระองค์ รูปรอยพระพุทธบาทสีร% อยรวมถึง
ประเพณีบูชารอยพระพุทธบาทเช่นทีผ% ่านมาไม่เป็ นทีร% บั รู้มากนัก อีกทังในแต่ละท้องถิ%นยังปรับให้สอดคล้องกับ
พืนทีแ% ละสังคมปจั จุบนั คติอดีตพุทธเจ้าคงมีความหมายต่อสังคมและมีอทิ ธิพลต่อโลกทัศน์และวิถชี วี ติ ของผูค้ นใน
สังคมไทยทีเ% ปลีย% นแปลงไป
วารสารศิลปศาสตร์ ปีท%ี 13 ฉบับที% 1 มกราคม - มิถุนายน 2556
101

บรรณานุกรม

กตัญ~ู ชูช%นื . (2525). พระเจ้าเลียบโลก: บทวิเคราะห์. วิทยานิพนธ์ศลิ ปศาสตรมหาบัณฑิต,


สาขาวิชาจารึกภาษาไทย, บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร.
คณะสงฆ์วดั พระเชตุพน. (26-27 พฤษภาคม 2544). ประชุมจารึกวัดโพธิ.€ จัดพิมพ์เป็ นทีร% ะลึกสมโภช
หิรญ ั บัฎและฉลองอายุวฒ ั
ั นมงคล 85 ปี พระธรรมปญญาบดี (ถาวร ติสฺสานุกโร).

จารุณี อินเฉิดฉาย. (2545). พระบฏ ภูมปิ ญญาไทยในงานจิ ตรกรรมไทยประเพณี. ศิลปากร 45(1): 25-45.
จูฬพุทธโฆสเถระ. (2526). โสตัตถกีมหานิทาน. ตรวจชําระและแปลโดยบรรจบ บรรณรุจ.ิ กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์
มิตรสยาม.
ชินมหานิทาน. (2503). จัดพิมพ์เฉลิมพระเกียรติในมหามงคลสมัย เฉลิมพระชนมพรรษาพระบาทสมเด็จ
พระเจ้าอยูห่ วั ภูมพิ ลอดุลยเดช. กรุงเทพฯ: กรมศิลปากร.
ดํารงราชานุภาพ, สมเด็จฯ กรมพระยา. (2504). ประชุมพระนิพนธ์เบ็ดเตล็ด. กรุงเทพฯ: คุรุสภา.
________และ นริศรานุวตั วิ งศ์, สมเด็จฯ กรมพระ. (2505). สาสน์สมเด็จ (เล่มที% 17). กรุงเทพฯ: คุรุสภา.
ตํานานพระพุทธบาทเขารังรุง้ ตํานานพระเจ้าเลียบโลก. สืบค้นเมื%อตุลาคม 2552, จาก http://www.
thaistudy. hula.ac.th/m7/VS-P1Y1/08.html
ตํานานพระพุทธบาทสีรอย. (2539). พระนคร: วัดราชาธิวาส.
ตํานานพระพุทธบาทสีรอย. สืบค้นเมื%อตุลาคม 2552, จาก http://www.dhammajak.net/board/viewtopic.
php?viewtopic.php?t=14761
ธนิต อยูโ่ พธิ.€ (2502). วิวฒั นาการแห่งจิตรกรรมฝาผนังของไทย. กรุงเทพฯ: ม.ป.ท.
เธียรชาย อักษรดิษฐ์. (2552). ตํานานพระเจ้าเลียบโลก การศึกษาพืนทีทางสังคมและวัฒนธรรมล้านนา.
กรุงเทพฯ: ธารปญั ญา.
นาคประทีป, ตรวจและชําระ. (2471). สัมภารวิบาก. พระนคร: โรงพิมพ์ไท.
นันทนา ชุตวิ งศ์. (2533). รอยพระพุทธบาทในศิลปะเอเชียใต้และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้. กรุงเทพฯ:
ด่านสุทธาการพิมพ์.
บําเพ็ญ ระวิน. (2535). ปฐมสมโพธิกถาสํานวนล้านนา. กรุงเทพฯ: โอเดียนสโตร์.
บรรจบ บรรณรุจ.ิ (2529). พระโพธิสตั ว์ในนิกายเถรวาท. กรุงเทพฯ: สํานักพิมพ์สขุ ภาพใจ.
________. (2532). พระโพธิสตั ว์สทิ ธัตถะกับพระพุทธเจ้าในอดีต. กรุงเทพฯ: มหาจุฬาบรรณาคาร.
ปรมานุชติ ชิโนรส, สมเด็จฯ กรมพระ. (2536). พระปฐมสมโพธิกถา. กรุงเทพฯ: เลีย% งเชียงจงเจริญ.
ประชุมคําให้การกรุงศรีอยุธยา. (2459). พระนคร: โรงพิมพ์โสภณพิพรรฒธนาการ.
ประชุมตํานานพระธาตุ และภาคที 2. (2513). ธนบุร:ี โรงพิมพ์เจริญสิน.
ประพจน์ อัศววิรุฬหการ. (2546). โพธิสตั ว์จรรยา มรรคาเพือมหาชน. กรุงเทพฯ: โครงการเผยแพร่ผลงานทาง
วิชาการ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ประยูร อุลุชาฏะ. (2530). จิตรกรรมสมัยอยุธยาตอนกลางและตอนปลายระยะแรกสกุลช่างนนทบุรี วัดชมพูเวก
และวัดปราสาท. กรุงเทพฯ: เมืองโบราณ.
________. (2543). จิตรกรรมอยุธยา. กรุงเทพฯ: เมืองโบราณ.
ประโยชน์ ส่งกลิน% . (2542). พระพุทธเจ้าในพุทธศาสนานิกายเถรวาทและมหายาน. วิทยานิพนธ์ปริญญา
อักษรศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยมหิดล, สาขาศาสนาเปรียบเทียบ.
พุทธโฆสเถระ. (2530). นิทานกถา พระพุทธประวัตติ อนต้น. แปลและเรียบเรียงโดย ธนิต อยู่โพธิ. กรุงเทพฯ:
กองวรรณคดีและประวัตศิ าสตร์ กรมศิลปากร.
102 วารสารศิลปศาสตร์ ปีท%ี 13 ฉบับที% 1 มกราคม - มิถุนายน 2556

พระพรหมคุณาภรณ์. พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์ (ครังที% 12). สืบค้นเมื%อธันวาคม


2553, จาก http://www. 84000.org/
พระพุทธพุกามและพระพุทธญาณ. (2482). ตํานานมูลศาสนา. แปลโดย สุด ศรีสมวงศ์ และพรหม ขมาลา.
กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ยมศร.ิ
พระยาพจนาพิมล, แปล. ชินกาลมาลีนี. (ร.ศ.127). กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์โสภณพิพรรฒธนาการ.
พุทธรักขิต. ชินาลังการ. แปลและอธิบายโดยพระคันธสาราภิวงส์. สืบค้นเมื%อธันวาคม 2553, จาก http://
www.wattamaoh.com/download/ชินาลังการ%20 Jina.pdf;.org/tipitaka/
พระมหานาม. (2451). มหาวงศ์พงษาวดารลังกาทวีป. แปลโดย พระยาปริยตั ธิ รรมธาดาและคนอื%นๆ.
พระนคร: โรงพิมพ์ไทย.
พระศาสนโศภณ. (2519). สวดมนตร์แปล. กรุงเทพฯ: มหามกุฏราชวิทยาลัย.
เฟือ หริพทิ กั ษ์ และอนันต์ วิรยิ ะพินิจ. (2531). การศึกษาภาพจิตกรรมฝาผนังของไทย. กรุงเทพฯ: ไทยคดี
ศึกษา.
ภาณุพงษ์ เลาหสม. (2541). จิตรกรรมฝาผนังล้านนา. กรุงเทพฯ: เมืองโบราณ.
มธุรตั ถวิลาสิณี อรรถกถาพุทธวงศ์ (บาลี-ไทย) ภาค 1 ฉบับภูมพิ โลภิกขุ. (2528). กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์
ภูมพิ โลภิกขุ.
มนวิภา เจียจันทร์พงษ์. (2523). รายงานการวิจยั การศึกษาเอกสารเรืองตํานานพระพุทธบาทและพระธาตุ.
นครปฐม: คณะอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร.
ยอร์ช เซเดส์. (2477). ประชุมจารึกสยาม ภาคที 1-2 จารึกสุโขทัย. พระนคร: โรงพิมพ์พระจันทร์.
ระเบียบทําวัตรสวดมนต์ฉบับวัดมหาธาตุยวุ ราชรังสฤษฏิ.€ (2514). กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ประยูรวงศ์.
รัตนปญั ญาเถระ. (2550). ชินกาลมาลีปกรณ์. แปลโดยแสง มนวิทรู . กรุงเทพฯ: รําไทยเพลส.
วีรภัทร อารีศริ. (2549). พระพุทธเจ้าในภัทรกัลป์ การแสดงออกในงานศิลปะสมัยรัตนโกสินทร์. ปริญญา
ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยศิลปากร, สาขาวิชาประวัตศิ าสตร์ศลิ ปะ.

ศิลป พีระศรี. (2502). จิตรกรรมบนผืนผ้าหรือพระบฏ. ศิลปากร 3(4): 39-45.
ศิลปากร, กรม. (2538). จิตรกรรมจังหวัดอยุธยา. กรุงเทพฯ: อมรินทร์พรินติง.
ศิลปากร, กรม, (2533). ฝา่ ยอนุรกั ษ์จติ รกรรมฝาผนังและประติมากรรมติดทีก% องโบราณคดี. จิตรกรรมไทย
ประเพณี: จิตรกรรมฝาผนังในประเทศไทย. กรุงเทพ: อมรินทร์พรินติง.
________. (2535). จิตรกรรมสมัยอยุธยา. กรุงเทพฯ: อมรินทร์พรินติง.
ศรีศกั ร วัลลิโภดม. (2549). คติกษัตริยส์ มมติราช มหาสมมติเทพ. เมืองโบราณ 32(3): 7-10.
ศรีศกั ร วัลลิโภดม. (2539). สยามประเทศ. กรุงเทพฯ: สํานักพิมพ์มติชน.
สงวน โชติสขุ รัตน์. (2515). ประชุมตํานานลานนาไทย. กรุงเทพฯ: พิศนาคะการพิมพ์.
สน สีมาตรัง. (22-25 สิงหาคม 2533). ปญั หาการศึกษาภาพอดีตพุทธเจ้าจํานวนมากในจิตรกรรมฝาผนัง
สมัยสุโขทัย อยุธยาและรัตนโกสินทร์. เอกสารประชุมสัมมนาทางวิชาการเรื%องกรุงศรีอยุธยา:
ศูนย์ศกึ ษาอู่อารยธรรมไทยประวัตศิ าสตร์อยุธยา.
สันติ เล็กสุขมุ . (2542). ศิลปะอยุธยา. กรุงเทพฯ: เมืองโบราณ.
สิงฆะ วรรณสัย, แปล. (2518). พุทธตํานานพระเจ้าเลียบโลก. เชียงใหม่: สถาบันวิจยั สังคม.
สุตตันตปิ ฎก ขุททกนิกาย พุทธวงศ์และจริยาปิ ฎก (บาลี-ไทย) ฉบับภูมพิ โลภิกขุ. (2527). กรุงเทพฯ:
โรงพิมพ์ภมู พิ โลภิกขุ.
สุภาพรรณ ณ บางช้าง. (2533). วิวฒ ั นาการวรรณคดีบาลีสายพระสุตตันปิ ฎกทีแต่งในประเทศไทย.
กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
วารสารศิลปศาสตร์ ปีท%ี 13 ฉบับที% 1 มกราคม - มิถุนายน 2556
103

สุภาพรรณ ณ บางช้าง. (2526). ประวัตวิ รรณคดีบาลีในอินเดียและลังกา. กรุงเทพฯ: ศักดิโสภาการพิ


€ มพ์.
เสมอชัย พูลสุวรรณ. (2539). สัญลักษณ์ในงานจิตรกรรมไทยระหว่างพุทธศตวรรษที 19-20. กรุงเทพฯ:
โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
แสง มนวิทรู . (2501). อดีตพุทธเจ้า. จิตรกรรมและศิลปวัตถุในกรุพระปรางค์วดั ราชบูรณะ จังหวัดอยุธยา.
กรุงเทพฯ: กรมศิลปากร.
อุษณีย์ ธงไชย. (2504). จารึกและตํานาน: หลักฐานทีสร้างขึนภายใต้อทิ ธิพลของพุทธศาสนาลังกาวงศ์.
เชียงใหม่: ภาควิชาประวัตศิ าสตร์ คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
Crocco, Di., and McKeen, V. (2004). Footprints of the Buddhas of this Era in Thailand. Bangkok: The
Amarin.
Edward, C. (1965). Buddhism: Its Essence and Development. Newyork, NY: Harper&Row.
________. (1983). Buddhist Thought in India: Three Phases of Buddhist Philosophy. London:
Routledge.
Etienne, L. (1988). History of Indian Buddhism: From the Origins to the Saka Era. Sara Webb-Boin
(Translator). Belgium: Universite catholique de Louvain Press.
Hirakawa, A. (1990). A History of Indian Buddhism: From Sakyamuni to Early Mahayana.
Hawaii, HI: University of Hawaii Press.
Kalupahana, D.J. (1975). Buddhist Philosophy: A Historical Analysis. Honolulu, HI: The University of
Hawaii.
Kanai Lal, H. (1981). History of Theravada Buddhism in Southeast Asia. New Delhi: Mono Hall.
Nalinaksha, D. (1980). Early History of the Spread of Buddhism and the Buddhist Schools. New Delhi:
Rajesh.
Thomas, E.J. (1953). The History of the Buddhist Thought. London: Routledge & Kegan Paul.

You might also like