You are on page 1of 6

2.

2 อักษรคันจิ
2.2.1 ความเป็ นมาของตัวอักษรคันจิ
(ดร.วิสูตร วิเศษจินดา,คันจิ ที่มาและความหมาย,ภาค 1/4
ชัน
้ ประถม 1,2,3 และ 4 บางส่วน จำนวน 500 อักษร,พิมพ์ครัง้ ที่
1,จำนวน 4 เล่ม,(กรุงเทพฯ:โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์
มหาวิทยาลัย,2554),หน้า 4.) มีหลักฐานว่าชาวจีนประดิษฐ์อักษร
คันจิขน
ึ ้ ครัง้ แรกในบริเวณ อารยะธรรมลุ่มน้ำหวงโหวหรือลำน้ำ
เหลือง (Yellow river) ประมาณ 2,000 ปี ก่อน คริสตกาล หรือ
กว่า 4,000 ปี มาแล้ว ในยุคนีม
้ ีการพบอักษรคันจิ กว่า 3,000 ตัว
แกะสลักบนกระดองเต่า หรือกระดูกซึ่งมักเกี่ยวซ้องกับการทำนาย
ทายทักโชคชะตา ในระยะแรกของการประดิษฐ์อักษร มักเป็ นรูป
แบบ ที่ใช้เป็ นรูปภาพ ,เครื่องหมาย อย่างง่ายๆ เรียกว่า Simple
Pictographs 象形文字 (โชเคโมจิ) ต่อมาก็ได้เพิ่มความซับซ้อน และ
มิลักษณะที่เป็ นนามธรรม มากขึน
้ เป็ นลำดับจากอักษรรูปภาพอย่าง
ง่าย มีการพัฒนานำเอาอักษรภาพอย่างง่าย หลายตัวมาประกอบ
กันขึน
้ เป็ นอักษรใหม่ เรียกว่า อักษรสัญลักษณ์(Symbolic
Character 指示文字 ชิจิโมจิ)และ อักษรผนวกความหมาย
(Ideographs 会意文字 ไคอิโมจิ)
อักษรคันจิได้ถูกนำมาใช้ใน ประเทศญี่ปุ่นเป็ นครัง้ แรก
ประมาณ คริสต์ศตวรรษที่ 3 หรือประมาณสมัยราชวงศ์ฮั่นของจีน
นั่นเป็ นเหตุให้อักษรคันจิมีความหมายว่า "อักษรของชาวฮั่น" (ถึง
แม้ว่าโดยข้อเท็จจริงแล้ว อักษรคันจิถูกประดิษฐ์ขน
ึ ้ ก่อนยุคราชวงศ์
ฮั่นก็ตาม) ในยุคนัน
้ ญี่ปุ่นยังไม่ปรากฏภาษาเขียน มีแต่เพียงภาษา
พูดเท่านัน
้ การนำอักษรคันจิมาใช้จึงทำให้ญี่ปุ่นสามารถพัฒนา
ภาษาเขียนขึน
้ ได้ นอกจากนัน
้ ยังทำให้ภาษาญี่ปุ่นมีความหลาก
หลายมากขึน
้ เปรียบเทียบได้กับที่ ภาษาอังกฤษยืมภาษาลาตินมา
ใช้ หรือ ภาษาไทย ยืม ภาษาสันกฤตมาใช้นั่นเอง
2.2.2 ความหมายของคันจิ
(ดร.วิสูตร วิเศษจินดา,คันจิ ที่มาและความหมาย,ภาค 1/4
ชัน
้ ประถม 1,2,3 และ 4 บางส่วน จำนวน 500 อักษร,พิมพ์ครัง้ ที่
1,จำนวน 4 เล่ม,(กรุงเทพฯ:โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์
มหาวิทยาลัย,2554),หน้า 3)คำว่า คันจิ แปลว่า อักษรของชาว
ฮั่น(ชาวจีน) เป็ นตัวอักษรที่ญี่ปุ่นยืมมาจากจีน
2.2.3 วิธีประดิษฐ์อักษรคันจิ
องค์ประกอบที่สำคัญของตัวอักษรคันจิ
(วิสูตร วิเศษจินดา 2554)(หน้า 9 หน้า 10)ถึงแม้ว่าอักษรคันจิ
จะมีบางประเภท ที่เข้าใจง่าย เช่น อักษรรูปภาพ หรือ อักษร
สัญลักษณ์ ดังได้กล่าวข้างต้น แต่อักษร เหล่านีจ
้ ัดเป็ นพวกชนกลุ่ม
น้อย ซึง่ มีอยู่ไม่ถึง หนึ่ร้อยตัว ดังนัน
้ ถ้ามีผู้เรียนภาษาญี่ปุ่น มาบอก
ท่านว่า อักษรคันจินน
ั ้ ง่ายมาก ๆ ก็ขอให้ร้ไู ว้ว่า จริงเป็ นบางส่วน
เท่านัน
้ (อักษรที่ว่าง่ายนัน
้ จริงๆแล้ว คืออักษร คันจิ ประถมหนึง่
ซึ่งมีอยู่เพียง 76 ตัวเท่านัน
้ )
มีการแบ่งกลุ่ม "บุชุ" ของคันจิ การวางตำแหน่งของ "บุชุ" โดยทั่วไป
แบ่งได้เป็ น 10 แบบ คือ
1. ทางซ้าย (เรียกว่า เฮน หรือ เบน) เช่น ตัว イ อยู่ทางซ้าย

ของ 伊、位、依

2. ทางขวา (เรียกว่า ทสึคุริ หรือ ทซึคุริ) เช่น ตัว リ อยู่ทาง

ขวาของ 利、莉、割

3. ข้างบน (เรียกว่า คัมมุริ) เช่น ตัว 宀 อยู่บน 家、寡、字

4. ข้างใต้ (เรียกว่า อาชิ หรือ ชิตะ) เช่น ตัว 貝 อยู่ใต้ 買、貿、資


5. แขวนอยู่ทางซ้าย (เรียกว่า ทาเระ หรือ ดาเระ เช่น ตัว 广

แขวนอยู่ทางซ้ายของ 店、庄、床

6.ครอบคว่ำ (เรียกว่า คามาเอะ หรือ งามาเอะ) เช่น ตัว 冂

ครอบอยู่บนตัว 円、同

7.สอดอยู่ทางซ้าย (เรียกว่า เงียว) เช่น ตัว 之 สอดอยู่ทางซ้าย

ของ 進、遠

8.ครอบทางซ้าย (เรียกว่า คามาเอะ หรือ งามาเอะ) เช่น ตัว


匚 ครอบทางซ้ายของ 区、医

9.ประกบสองข้าง (เรียกว่า คามาเอะ หรือ งามาเอะ) เช่น ตัว


行 ประกบสองข้าง ของ 術、衛

10.ล้อมรอบ (เรียกว่า คามาเอะ หรือ งามาเอะ) เช่น ตัว 口

ล้อมรอบ 回、因

2.2.4 พัฒนาการของตัวอักษรคันจิ
(สายัณห์ กอเสถียรวงศ์.2562) แม้ว่าอักษรคันจิของญี่ปุ่นจะมี
วิวัฒนาการมาจากอักษรจีน แต่ก็มีการเปลี่ยนแปลงระบบวิธีการใช้
ในภาษาญี่ปุ่นมาโดยตลอด มีอักษรคันจิบางตัวที่ชาวญี่ปุ่นประดิษฐ์
ขึน
้ ใช้เองและอักษรตัวเดียวกันบางตัวก็มีความหมายในภาษาจีน
และภาษาญี่ปุ่นแตกต่างกันในปั จจุบันจึงอักษรคันจิของญี่ปุ่นกับ
อักษรจีนจึงมีความแตกต่างกันอย่างมาก
2.2.5 ประเภทของอักษรคันจิ
(ดร.วิสูตร วิเศษจินดา,คันจิ ที่มาและความหมาย,ภาค 1/4
ชัน
้ ประถม 1,2,3 และ 4 บางส่วน จำนวน 500 อักษร,พิมพ์ครัง้ ที่
1,จำนวน 4 เล่ม,(กรุงเทพฯ:โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์
มหาวิทยาลัย,2554),หน้า 5.) เมื่อแรกเริ่มที่มีการผลิตพจนานุกรม
ภาษาจีนขึน
้ เมื่อ คริสต์ศัตวรรษที่ 2 อักษรคันจิแบ่งออกได้เป็ น 6
แบบ
2.2.5.1 อักษรรูปภาพเดี่ยว 象形(しょうけい)เป็ นอักษร

ที่ในสมัยเริ่มแรกนัน
้ เขียนเป็ นภาพในธรรมชาติ คน สัตว์
สิ่งของ อย่างง่ายๆ
2.2.5.2 อักษรแสดงสัญลักษณ์ 指事(しじ)เป็ นอักษรที่

ในสมัยเริ่มแรกนัน
้ ไม่ได้เขียนเป็ นรูปในธรรมชาติ แต่เขียน
เป็ นเส้นสาย แสดงสัญลักษณ์ ใช้แทนการบรรยาย สภาพสิ่งที่
เป็ นนามธรรมอย่างง่าย
2.2.5.3 อักษรผนวกความหมาย 会意(かいい) เป็ น
อักษรที่ใช้ในการแทนความหมาย มักเกิดขึน
้ จากการนำเอา
อักษรรูปภาพเดี่ยวหรืออักษรแสดงสัญลักษณ์สองตัวขึน
้ ไปมา
ผนวกรวมกัน แล้วเกิดเป็ นอักษรใหม่ มีเสียงอ่านต่างจากเติม
ซึ่งความหมายใหม่ที่เกิดขึน
้ นัน
้ ตรงไปตรงมา และมีความเชื่อม
โยงกับอักษรเดิมทัง้ สองส่วน
2.2.5.4 อักษรใช้รูปยืมเสียง 形声(けいせい)เกิดขึน
้ จาก
การนำเอาอักษรรูปภาพเดี่ยว หรืออักษรแสดงสัญลักษณ์สอง
ตัวขึน
้ ไปมาผสมกัน เกิดเป็ นอักษรใหม่ ซีง่ มีเสียงอ่านเหมือน
หรือใกล้เคียงอักษรเดิม
2.2.5.5 อักษรที่ยืมความหมายมาใช้ 転注(てんちゅう)

เป็ นอักษรที่มีความหมายหรือการออกเสียงถูกยืมมาใช้
2.2.5.6 อักษรยืมเสียง 仮借(かしゃ)เป็ นอักษรที่เสียง

ถูกยืมมาใช้เพื่อประกอบเป็ นความหมายใหม่ โดยไม่เกี่ยวข้อง


กับความหมายดัง้ เดิมแต่อย่างใด
2.2.6 จำนวนคันจิ
(สุวริทธิ ์ ประภัทรวิมล.(2552)เนื่องจากตัวอักษรคันจิ ก็คือ ตัว
อักษรที่ยืมมาจาก ตัวอักษรจีน ตัง้ แต่สมัยโบราณ ซึง่ มีจำนวนหลาย
หมื่นตัว เท่าที่ยังหลงเหลือ และพบเห็นในภาษาญี่ปุ่นปั จจุบัน ก็ยังมี
จำนวนกว่า 3,000 (ระดับบุคคลทั่วไป) - 6,000 (ระดับผูเ้ ชี่ยวชาญ)
ตัว การที่จะจดจำให้ได้ทงั ้ หมด คงเป็ นเรื่องที่ไม่ง่ายเท่าไหร่ เราจึง
เลือกที่จะจดจำ คันจิที่พบเห็นและใช้งานบ่อยกว่าตัวอื่นๆ เพื่อให้
เราสามารถ เรียนหนังสือ อ่านหนังสือพิมพ์ หรือบทความทั่วไป ได้
อย่างสมควร
สรุป
อักษรคันจิ คำว่าคันจิแปลว่า อักษรของชาวฮัน่ (ชาวจีน) มี หลักฐานว่าชาวจีน
ประดิษฐ์อักษรคันจิขน
ึ ้ ครัง้ แรกในบริเวณ อารยะธรรมลุ่มน้ำหวง
โหวหรือลำน้ำเหลือง (Yellow river) ประมาณ 2,000 ปี ก่อน
คริสตกาล หรือ กว่า 4,000 ปี มาแล้ว ในยุคนีม
้ ีการพบอักษรคันจิ
กว่า 3,000 ตัว แกะสลักบนกระดองเต่า หรือกระดูก ในการทำนายโชคชะตา
ในช่วงระยะแรกของการประดิษฐ์ ตวั อักษร มักเป็ นรูปแบบการใช้ รูปภาพ เครื่ องหมายอย่างง่ายๆ รียกว่า
Simple Pictographs 象形文字 (โชเคโมจิ) ต่อมาได้ เพิ่มความซับซ้ อนที่เป็ นนามธรรม
มากขึ ้น มีการนำอักษรภาพหลายตัวมาประกอบเป็ นอักษรใหม่ๆ เรียกว่า อักษร
สัญลักษณ์(Symbolic Character 指示文字 ชิจิโมจิ)และ อักษร
ผนวกความหมาย (Ideographs 会意文字 ไคอิโมจิ)
โดยคันจิถูกนำมาใช้ครัง้ แรกใน ประเทศญี่ปุ่น ประมาณคริสต์
ศตวรรษที่3 (สมัยราชวงศ์ฮั่นของจีน) นั่นเป็ นเหตุที่ให้อักษรคันจิมี
ความหมายว่า “อักษรของชาวฮั่น”ในยุคที่ญี่ปุ่นยังไม่ปรากฏภาษา
ญี่ปุ่นเขียน มีเพียงภาษาพูด ทำให้ญี่ปุ่นพัฒนาภาษาเขียนได้และมี
ความหลากหลายมากขึน
้ มีการเปลี่ยนแปลงระบบวิธีใช้มาโดย
ตลอด มีอักษรคันจิบางตัวที่ญี่ปุ่นประดิษฐ์ขน
ึ ้ เอง และอักษรตัว
เดียวกัน บางตัวญี่ปุ่นกับจีนมีความหมายที่แตกต่างกัน และใน
ปั จจุบันมีความแตกต่างกับอย่างมาก ในอดีตมีการยืมมาใช้จำนวน
หลายมื่นตัว และยังคงหลงเหลือ พบเห็นในภาษาญี่ปุ่นปั จจุบัน มี
จำนวนกว่า 6000 ตัว โดยแยกประเภทออกเป็ น 6 แบบ
อักษรรูปภาพเดี่ยว 象形(しょうけい), อักษรแสดงสัญลักษณ์ 指事
(しじ)
อักษรผนวกความหมาย 会意(かいい),อักษรใช้รูปยืมเสียง 形声(け
いせい)

อักษรที่ยืมความหมายมาใช้ 転注(てんちゅう),อักษรยืมเสียง 仮借
(かしゃ)

You might also like