You are on page 1of 86

การควบคุมการประกอบกิจการโรงงาน

ตาม พ.ร.บ. โรงงาน พ.ศ. 2535


หลักเกณฑ์ที่ตั้ง ลักษณะอาคาร ลักษณะภายในโรงงาน

ลักษณะเครื่องจักร เครื่องอุปกรณ์ สิ่งที่ต้องใช้ในการประกอบการ

คนงานซึ่งมีความรู้เฉพาะประจาโรงงาน
สิ่งแวดล้อม
มาตรฐานและวิธีการควบคุมการปล่อยมลพิษ

ความปลอดภัย เอกสารที่จาเป็นประจาโรงงาน

ข้อมูลที่จาเป็นที่ต้องแจ้ง

หลักเกณฑ์ปฏิบัติ วิธีการผลิต อุปกรณ์ เครื่องมือ เพื่อป้องกันอันตราย


The 3'E's- Engineering, Enforcement and Education

Engineering Enforcement
- การออกแบบ ติดตัง้ และใช้วัสดุอุปกรณ์ทไี่ ด้ - การบังคับใช้กฎหมาย
มาตรฐานวิศวกรรม - การตรวจกากับเข้มงวดตาม
- การประเมินความเป็ นอันตราย และกาหนด หลักวิชาการ
มาตรการป้องกัน

Education
- กรอ. สร้างองค์ความรู้ด้านความปลอดภัยให้พนักงานเจ้าหน้าทีแ
่ ละผู้ประกอบกิจการโรงงาน
- โรงงาน ให้การอบรมแก่พนักงาน และชุมชนรอบข้าง
8
สถิติการเกิดอุบัติภัยในประเทศไทย

อัคคีภัย สารเคมีรั่วไหล เครื่องจักร


120 16
14
100 14
12
12
80 10
10
8
60 8
6
6
40
4
4
20 2
2
0 0 0

2560 2561 2562 2563 2564 2560 2561 2562 2563 2564 2560 2561 2562 2563 2564

สารเคมี ระเบิด อื่นๆ


อัคคีภัย ระเบิด เครื่องจักร อื่นๆ
รั่วไหล 7 12
6 10
2560 106 14 6 13 8 5 8
4
2561 90 14 4 9 10 3
6
4
2
2562 68 5 4 6 6 1 2

2563 41 1 2 3 6 0 0

2560 2561 2562 2563 2564 2560 2561 2562 2563 2564
2564 92 5 3 4 8
4
สถิติการเกิดอุบัติภัยจากสารเคมี สาหรับกลุ่มประเภทโรงงานทีเ่ กิดอุบัติเหตุสูงสุด
4 กลุ่ม ได้แก่

1 กลุ่มโรงงานประกอบกิจการเกีย
่ วกับ พลาสติก โฟม กระดาษ ยาง

1 กลุ่มโรงงานทัว
่ ไป เช่น งานซ่อม งานโลหะ
2 หล่อหลอม โกดังเก็บสินค้า

กลุ่มโรงงานประกอบกิจการเกี่ยวกับ
3 อาหาร แป้ง มันสาปะหลัง อาหารสัตว์

กลุ่มโรงงานประกอบกิจการ
4 เกี่ยวกับ สิง
่ ทอ เส้นใยจากพืช
ฟอกย้อมผ้า

5
กฎหมายความปลอดภัย

11







กฎกระทรวง ๒๕๕๐ เรื่อง กาหนดมาตรการความปลอดภัยเกีย
่ วกับระบบไฟฟ้าในโรงงาน

▪ กาหนดบังคับโรงงาน (จาพวก ๒, ๓) ต้องมีแบบแปลนแสดงการติดตัง ้ ระบบไฟฟ้า


และรายการประกอบแบบแปลน
▪ ข้อบังคับเรื่องมาตรฐานของวัสดุอุปกรณ์และส่วนประกอบต่างๆของระบบไฟฟ้า
(มอก. , มาตรฐานสากลอื่นที่ยอมรับ)
▪ ต้องมีการตรวจสอบระบบไฟฟ้าและรับรองความปลอดภัย
▪ ประเภทหรือชนิดของโรงงานในบัญชีทา้ ยกฎกระทรวงนี้ ต้องจัดให้มีบุคลากรประจา
โรงงาน
โรงงาน ต้องมี
“As-Built Drawing”
โรงงาน ต้องมี
“Single Line Diagram”
ข้อ 3 ผู้ประกอบกิจการโรงงานต้องใช้วัสดุ อุปกรณ์ ของระบบไฟฟ้า
ที่มีลักษณะและคุณสมบัติตามมาตรฐาน มอก.
หรือมาตรฐานอื่นที่ยอมรับกัน
ข้อ 4 การใช้งานระบบไฟฟ้า
ในโรงงาน ผู้ประกอบกิจการ
โรงงานต้องดาเนินการ
ให้เป็นไปตามหลักวิชาการหรือ
มาตรฐานที่ยอมรับกัน
ข้อ 5 ผู้ประกอบกิจการ
โรงงาน “ต้องจัดให้มีการ
ตรวจสอบระบบไฟฟ้า และ
รับรองความปลอดภัยของระบบ
ไฟฟ้าเป็นประจาทุกปี
โดยวิศวกรมีใบ กว. สาขาไฟฟ้า
งานไฟฟ้ากาลัง
แบบฟอร์ม
กรมโรงงานอุตสาหกรรม
ปัญหาของโรงงาน
1) ขาดการบารุงรักษา
2) ขาดการตรวจสอบและตรวจตรา
3) ขาดความรู้ความเข้าใจที่ดีพอ (SME)
4) การติดตั้งเพื่อให้เกิดความปลอดภัยไม่ครบถ้วน
5) การเพิ่มโหลด
6) แบบแปลนไม่ Update
7) ขาดการจัดเก็บเอกสารที่ดี
หม้อแปลงไฟฟ้า การตรวจสอบขั้วต่อสายแรงต่า
97
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม
เรื่อง การป้องกันและระงับอัคคีภัยในโรงงาน พ.ศ. ๒๕๕๒

หมวด ๑ หมวด ๒ หมวด ๓ หมวด ๔ หมวด ๕ หมวด ๖ หมวด ๗ หมวด ๘


บททัว
่ ไป ระบบ เครื่อง ระบบน้า ระบบ การ การ อืน
่ ๆ
สัญญาณ ดับเพลิง ดับเพลิง ดับเพลิง ตรวจสอบ ฝึกอบรม
แจ้งเหตุ แบบมือถือ อัตโนมัติ ทดสอบ และ เรื่องการ
เพลิงไหม้ บารุงรักษา ป้องกันและ
ระบบและ ระงับ
อุปกรณ์ต่าง อัคคีภัย

ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม
เรื่อง การป้องกันและระงับอัคคีภัยในโรงงาน พ.ศ. ๒๕๕๒

หมวด ๑ หมวด ๒ หมวด ๓ หมวด ๔ หมวด ๕


บททั่วไป ระบบสัญญาณแจ้งเหตุ เครื่องดับเพลิงแบบมือถือ ระบบนา้ ดับเพลิง ระบบดับเพลิงอัตโนมัติ
เพลิงไหม้
▪ โรงงานจาพวก ๒, ๓ ▪ มีอุปกรณ์ตรวจจับ ▪ เครื่องดับเพลิงแบบมือถือ ▪ มีปริมาณเพียงพอต่อ ▪ มีที่เก็บวัตถุดิบ/
และแจ้งเหตุเพลิง - ยกหิ้วชนิดผงเคมีแห้ง การฉีดดับเพลิง ผลิตภัณฑ์ พื้นที่ต่อกัน
▪ โรงงานที่เสี่ยงต่อการ ไหม้(อัตโนมัต)ิ ที่ (มอก. ๓๓๒) ต่อเนื่องไม่น้อยกว่า ตั้งแต่ 1000 m2 ขึ้นไป
เกิดอัคคีภัยสูง ครอบคลุม - ยกหิ้ว : CO2 (มอก. ๘๘๑) 30 นาที
(ใช้เชื้อเพลิง วัตถุไวไฟ - ยกหิ้ว : โฟม (มอก. ๘๘๒) ▪ ที่เก็บไวไฟ พื้นที่ตั้งแต่
หรือมีลักษณะที่ทาให้เกิด ▪ แจ้งเหตุเพลิงไหม้ได้ ▪ ระบบติดตั้งตาม 14 m2 ขึ้นไป
อัคคีภัย หรือระเบิดได้ง่าย ไม่น้อยกว่า 2 ชม. ▪ ขนาดไม่น้อยกว่า 4.5 kg มาตรฐานสากล
ที่ระบุในบัญชีท้ายประกาศ) ▪ ระบบหัวกระจายน้าต้อง
▪ อุปกรณ์ได้ ▪ ห่างกันไม่เกิน 20 m และ ติดตั้งตาม
▪ โรงงานที่เสี่ยงต่อการ มาตรฐานสากล ส่วนบนสูงจากพื้นไม่เกิน 1.5 m มาตรฐานสากล
เกิดอัคคีภัยปานกลาง
(ใด ๆ ที่ไม่ได้ระบุใน
บัญชีท้ายประกาศ)
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม
เรื่อง การป้องกันและระงับอัคคีภัยในโรงงาน พ.ศ. ๒๕๕๒
หมวด ๖ หมวด ๗ หมวด ๘
การตรวจสอบ ทดสอบ และบารุงรักษาระบบและ ่ งการป้องกันและ
การฝึ กอบรมเรือ ่ ๆ
อืน
อุปกรณ์ต่าง ๆ ระงับอัคคีภย

▪ ตรวจสอบ ทดสอบ และบารุงรักษาระบบและ ▪ จัดให้คนงานได้รับการฝึ กอบรม ่ นไฟอย่างน้อย
▪ ช่องเปิ ดต่าง ๆ ต้องใช้วัสดุปิดกั้นทีท
อุปกรณ์ให้พร้อมใช้งานตลอด และมีหลักฐานที่ตรวจสอบได้ 2 ชม.
▪ พื้นที่เสี่ยงต่อการเกิดอัคคีภัยสูงต้องกั้นแยกด้วยวัสดุที่
▪ อุปกรณ์ได้มาตรฐานสากล ทนไฟไม่น้อยกว่า 1 ชม.
▪ อาคารโครงเหล็กชั้นเดียว ต้องมีวัสดุทนไฟหุ้ม
▪ จัดเก็บเอกสารการตรวจสอบ ทดสอบ และ โครงสร้างให้ทนไฟอย่างน้อย 1 ชม. ถ้าหลายชั้นให้ทน
บารุงรักษาระบบและอุปกรณ์ให้เจ้าหน้าที่ ไฟอย่างน้อย 2 ชม.
ตรวจสอบได้ ▪ โรงงานที่มีการปฏิบัติงานเกี่ยวกับประกายไฟหรือความ
ร้อนอันตรายต้องมี Hot work permit system
▪ มีเส้นทางหนีไฟ
▪ วัสดุสิ่งของที่ติดไฟได้เก็บในชั้นวางสูงไม่เกิน 6 m.
และห่างจากโคมไฟไม่น้อยกว่า 60 cm.
▪ มีการต่อสายดิน/ต่อฝาก กับอุปกรณ์ที่เกี่ยวกับวัตถุ
ไวไฟ
▪ สารไวไฟต้องจัดการตาม SDS
▪ มีบุคลากรด้านความปลอดภัยตรวจความปลอดภัยด้าน
อัคคีภัยอย่างน้อยเดือนละ 1 ครั้ง
▪ มีแผนป้องกันและระงับอัคคีภัย แผนการตรวจสอบ และ
แผนอบรม
การติดตั้งอุปกรณ์ตรวจจับเพลิงไหม้
เครื่องสูบน้าดับเพลิงแบบแนวนอน
หัวกระจายน้าดับเพลิง
การตรวจสอบความปลอดภัยด้านอัคคีภัย

▪ ปัญหาที่พบได้บ่อยจากการตรวจสอบ
1. จานวนคนงานหนาแน่นเกินไป
2. การรักษาความสะอาดและความเป็นระเบียบเรียบร้อยไม่ดี
3. ขาดการบารุงรักษาระบบไฟฟ้าและอุปกรณ์ไฟฟ้าต่างๆ
4. ทางออก ทางหนีไฟไม่เพียงพอ
5. ทางออก ทางหนีไฟถูกปิดหรือมีสิ่งกีดขวาง
6. การจัดเก็บและการใช้สารไวไฟที่ผิดวิธีหรือไม่เหมาะสม
7. การใช้อุปกรณ์ที่ก่อให้เกิดความร้อนผิดวิธี
8. ขาดการบารุงรักษาอุปกรณ์และระบบป้องกันและระงับอัคคีภัย
ห่างจากโคมไฟอย่างน้อย 60 cm

ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม
สูงจากพื้นไม่เกิน 6 m เรื่อง การป้องกันและระงับอัคคีภัยในโรงงาน พ.ศ. 2552
คูมือการปฏิบัติงาน ตามประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรื่อง การป‡องกันและระงับอัคคีภัยในโรงงาน พ.ศ.๒๕๕๒
คูมือการปฏิบัติงาน ตามประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม
เรื่อง
การป‡องกันและระงับอัคคีภัย
ในโรงงาน พ.ศ. ๒๕๕๒

กองส‹งเสร�มเทคโนโลยีความปลอดภัยโรงงาน
กรมโรงงานอุตสาหกรรม
ถนนพระรามที่ ๖ แขวงทุ‹งพญาไท เขตราชเทว� กรุงเทพฯ ฉบับปรับปรุงป‚ ๒๕๖๓
www.diw.go.th กองส‹งเสร�มเทคโนโลยีความปลอดภัยโรงงาน
กรมโรงงานอุตสาหกรรม
มีผลใช้บังคับ วันที่ 23 ตุลาคม 2565
 โรงงาน 24 ประเภทตามบัญชีแนบท้ายฯ ต้อง
รายงานข้อมูลสารเคมีอันตรายฯ ภายในวันที่
20 เมษายน 2566
 โรงงานที่นอกเหนือ 24 ประเภทตามบัญชีแนบ
ท้ายฯ ต้องรายงานข้อมูลสารเคมีอันตรายฯ
ภายในวันที่ 23 ตุลาคม 2566
❖ โรงงานต้องจัดให้มีฉลาก และเอกสารข้อมูล
ความปลอดภัยฯ ของสารเดี่ยว ตั้งแต่วันที่ 26
เมษายน 2566 เป็นต้นไป และสารผสม ตั้งแต่
วันที่ 26 เมษายน 2567 เป็นต้นไป
ระบบข้อมูลเพื่อการจัดการความปลอดภัยด้านสารเคมีในโรงงานอุตสาหกรรม
การรายงานข้อมูลรายปี
▪ มีการเก็บหรือการใช้สารเคมีอันตราย ปริมาณตัง
้ แต่ 1 ตันต่อปี ต่อหนึง
่ สารเคมีอันตราย 1 ชนิดขึน
้ ไป

1 โรงงานอุตสาหกรรม
2
รายงานข้อมูลสารเคมีอันตรายและ
วัตถุอันตรายประจาปี 3 ประโยชน์
กว่า 70,000 ราย
- ปริมาณการเก็บหรือการใช้
- ข้อมูล H Code โรงพยาบาล
- ข้อมูลการขนส่ง หน่วยงานระงับภัย
- การจัดเก็บ
- สารดับเพลิง
- File SDS ของสาร

สถานประกอบการวัตถุอันตราย
Facchem
2,400 ราย

หน่วยงานรัฐ

3
ความปลอดภัยสภาวะแวดล้อมในการทางาน
▪ ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรื่อง มาตรการคุ้มครองความปลอดภัยในการประกอบกิจการโรงงาน
เกี่ยวกับสภาวะแวดล้อมในการทางาน พ.ศ. 2546
▪ กาหนดค่ามาตรฐาน : ความร้อน แสงสว่าง
▪ การตรวจวัดและวิเคราะห์
▪ ตรวจวัด วิเคราะห์ และจัดทารายงาน อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง
▪ ความร้อน : บริเวณที่มีการปฏิบัติงานสภาวะปกติ เป็นบริเวณที่มีระดับความร้อนสูง ตรวจวัดใน
เดือนที่มีอากาศร้อนของปี เฉพาะประเภทหรือชนิดของโรงงานที่กาหนด
▪ แสงสว่าง : บริเวณที่มีการปฏิบัติงานสภาวะปกติ เป็นบริเวณที่มีความเข้มของการส่องสว่างต่า
โรงงานจาพวกที่ 3 ทุกประเภท
▪ ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรื่อง กาหนดค่าระดับเสียงการรบกวนและระดับเสียงที่เกิดจาก
การประกอบกิจการโรงงาน พ.ศ. 2548
▪ กาหนดค่ามาตรฐาน : เสียง
ควำมปลอดภัยสภำวะกำรทำงำน
ประกาศกระทรวง
• มาตรการคุ้มครองความปลอดภัยในการประกอบกิจการโรงงานเกี่ยวกับ สภาวะ
แวดล้ อมในการทางาน
• กาหนดค่าระดับเสียงการรบกวนและระดับเสียงที่เกิดจากการประกอบกิจการโรงงาน
ความร้ อน 25 ประเภท
แสงสว่าง โรงงานจาพวก 3 ทุกประเภท

เสียง 21 ประเภท
ห้ ามมิให้ บุคคลเข้ าไปในบริเวณที่มีเสียงดังเกินกว่า 140 dBA
กฎหมำยสภำวะแวดล้อมในกำรทำงำน
ควำมร้อน โรงงำนประเภทลำดับที่
- มี 25 ประเภทโรงงำนที่เข้ำข่ำย 11(3)(4) 22(3) 38(1)(2)
51 54 57(1)
59 60 61-68*
74(1) 77* 78*
79 80 88
98** 100(6) 102
*เฉพำะที่มีกำรหล่อหลอมโลหะเท่ำนั้น
**เฉพำะที่มีกำรฟอกย้อม
กฎหมำยสภำวะแวดล้อมในกำรทำงำน
มำตรฐำนระดับควำมร้อน

ค่ำเฉลี่ยอุณหภูมิเวทบัลบ์โกลบ (WBGT)
ควำมหนักเบำของงำน
(องศำเซลเซียส)
เบำ 34
ปำนกลำง 32
หนัก 30
กฎหมำยสภำวะแวดล้อมในกำรทำงำน
แสงสว่ำง

โรงงำนจำพวก 3 เข้ำข่ำยทุกประเภท
กฎหมำยสภำวะแวดล้อมในกำรทำงำน
มำตรฐำนแสงสว่ำง
สถำนที่/ลักษณะงำน ค่ำควำมเข้มในกำรส่องสว่ำง (ลักซ์)
ลำนถนนและทำงเดินนอกอำคำรโรงงำน ไม่น้อยกว่ำ 20
บริเวณทำงเดินในอำคำรโรงงำน, ระเบียงบันได , ห้องเก็บของที่มิได้ ไม่น้อยกว่ำ 50
มีกำรเคลื่อนย้ำย
บริเวณปฏิบัติงำนที่ไม่ต้องกำรควำมละเอียด ไม่น้อยกว่ำ 100
- บริเวณจุดถ่ำยสินค้ำ ป้อมยำม ลิฟท์
บริเวณปฏิบัติงำนที่ต้องกำรควำมละเอียดน้อยมำก ไม่น้อยกว่ำ 200
- งำนหยำบที่ทำที่โต๊ะหรือเครื่องจักร (ชิ้นงำนขนำดใหญ่กว่ำ 0.75
มิลลิเมตร) กำรตรวจงำนหยำบด้วยสำยตำ กำรนับ กำรตรวจเช็ค
สิ่งของขนำดใหญ่ และบริเวณพื้นที่ในโกดัง
บริเวณปฏิบัติงำนที่ต้องกำรควำมละเอียดน้อย ไม่น้อยกว่ำ 400
- งำนเจำะรู งำนพิมพ์ดีด งำนประกอบรถยนต์และตัวถังรถ
กฎหมำยสภำวะแวดล้อมในกำรทำงำน
เสียง
- มี 21 ประเภทโรงงำนที่เข้ำข่ำย โรงงำนประเภทลำดับที่
3(1) 11(3)(4) 14
20(3) 22(2) 34(1)(2)(3)(4)
38(1) 53(9) 61-68
77-80 88
โรงงำนลำดับที่ 61-68 และ 77-80 เฉพำะโรงงำนทีม่ ี
กำรปั๊มและเจียรโลหะเท่ำนั้น
กฎหมำยสภำวะแวดล้อมในกำรทำงำน
มำตรฐำนเปรียบเทียบระดับเสียงเฉลี่ยที่ยอมรับได้กับเวลำกำรทำงำนในแต่ละวัน
เวลำทำงำนที่ได้รับเสียงใน 1 วัน (ชม.) ระดับเสียงเฉลี่ยตลอดเวลำกำรทำงำนไม่เกิน (เดซิเบล)
12 87
8 90
6 92
4 95
3 97
2 100
1½ 102
1 105
½ 110
¼ หรือน้อยกว่ำ 115
กำรตรวจวัด กำรจัดทำรำยงำน
• กำหนดให้โรงงำนตรวจวัดและวิเครำะห์ • กำรจัดทำรำยงำนเก็บไว้ที่โรงงำน
ควำมร้อน แสง เสียง ปีละ 1 ครั้ง • ผู้รับรองรำยงำน
• จป. วิชำชีพ
• ไม่ต่ำกว่ำปริญญำตรี
สำยวิทยำศำสตร์
ความปลอดภัยการใช้ สารกัมมันตรั งสี

▪ ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 1 (พ.ศ. 2542) เรื่อง คุณสมบัติเจ้าหน้าที่


ดาเนินการเกี่ยวกับโรงงานที่มีการใช้สารกัมมันตรังสี
▪ โรงงานที่มีการใช้สารกัมมันตรังสีต้องจัดให้มีผู้ควบคุมดูแลประจาโรงงาน เพื่อดาเนินการ
เกี่ยวกับการใช้สารกัมมันตรังสี
▪ ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2542) เรื่อง การรายงานข้อมูลเกี่ยวกับ
ชนิด จานวน แหล่งที่มา วิธีการใช้ และการเก็บรักษาสารกัมมันตรังสี
▪ โรงงานที่มีการใช้สารกัมมันตรังสีต้องจัดทารายงานข้อมูลเกี่ยวกับชนิด จานวน แหล่งที่มา
วิธีการใช้ และการเก็บรักษาสารกัมมันตรังสี (แบบ ร.ง.7) จัดทาปีละ 1 ครั้ง ภายในวันที่
30 ธันวาคม
กฎหมายความปลอดภัยสภาวะการทางาน
(สารกัมมันตรังสี) : กระทรวงอุตสาหกรรม

1 • คุณสมบัติเจ้าหน้าที่ดาเนินการเกี่ยวกับโรงงานที่มีการ
ใช้สารกัมมันตรังสี

2 • การรายงานข้อมูลเกี่ยวกับชนิด จานวน แหล่งที่มา


วิธีการใช้ และการเก็บรักษาสารกัมมันตรังสี
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม
ฉบับที่ 1 (พ.ศ. 2542)

ผู้ประกอบกิจการโรงงาน : จัดให้มี “เจ้าหน้าที”่ เป็นผู้ควบคุมดูแลประจา


โรงงานเพื่อดาเนินการเกี่ยวกับการใช้สารกัมมันตรังสี ที่มีคุณสมบัติดังนี้
- สาเร็จการศึกษาไม่ต่ากว่าปริญญาตรีทางด้าน
วิทยาศาสตร์ ที่มีการศึกษาเกี่ยวกับการป้องกันอันตราย
จากรังสี อย่างน้อย 3 หน่วยกิต
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม
ฉบับที่ 1 (พ.ศ. 2542)

หรือ
- ผ่านการอบรมการใช้การดูแลรักษา และ
การป้องกันอันตรายจากการใช้อุปกรณ์และ
สารกัมมันตรังสีจากสานักงานพลังงานปรมาณู
เพื่อสันติ
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม
ฉบับที่ 1 (พ.ศ. 2542)

บทกาหนดโทษ
(ตาม พรบ.โรงงาน พ.ศ.2535 มาตรา 45)
“ผู้ใดฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตาม
ต้องระวางโทษปรับไม่เกิน 200,000 บาท”
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม
ฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2542)

ผู้ประกอบกิจการโรงงาน : จัดทา“รายงานข้อมูล” ชนิด จานวน


แหล่งที่มา วิธีการใช้ และการเก็บรักษาสารกัมมันตรังสี ตามแบบ “รง.7”
▪ แจ้งต่อกรมโรงงานอุตสาหกรรมภายใน 180 วัน นับ
แต่วันที่ประกาศนี้มีผลใช้บังคับ หรือ
▪ แจ้งต่อกรมโรงงานอุตสาหกรรมภายใน 180 วัน นับ
แต่วันที่เริ่มประกอบกิจการโรงงาน
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม
ฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2542)

“การรายงานข้อมูลเกี่ยวกับชนิด จานวน แหล่งที่มา


วิธีการใช้ และการเก็บรักษาสารกัมมันตรังสี”
สารกัมมันตรังสี : สารใดๆ ที่องค์ประกอบส่วนหนึ่ง
มีโครงสร้างปรมาณูไม่คงตัวและจะสลายตัวโดยการ
ปลดปล่อยพลังงานหรือแผ่รังสีออกมา
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม
ฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2542)

กากกัมมันตรังสี :
▪ ของเสียที่ประกอบหรือปนเปื้อนด้วยสารกัมมันตรังสี
ในระดับสูงกว่าเกณฑ์ที่กาหนดโดยพนักงานเจ้าหน้าที่
ตาม พรบ.พลังงานปรมาณูเพื่อสันติ พ.ศ. 2504 และ
ไม่เป็นประโยชน์ในการใช้งานแล้ว รวมทั้ง
▪ ของเสียอื่นๆ ที่กาหนดว่าเป็นกากกัมมันตรังสี
โดยคณะกรรมการพลังงานปรมาณูเพื่อสันติ
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม
ฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2542)

ผู้ประกอบกิจการโรงงาน : “รายงานข้อมูล”
ตามแบบ “รง.7” ทุกปี ภายในวันที่ 30 ธันวาคม
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม
ฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2542)

บทกาหนดโทษ
(ตาม พรบ.โรงงาน พ.ศ.2535 มาตรา 46)
“ผู้ใดฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตาม
ต้องระวางโทษปรับไม่เกิน 20,000 บาท”
ควำมปลอดภัยก๊ำซอุตสำหกรรม
กฎกระทรวงอุตสาหกรรม
• กาหนดให้ มีคนงานซึ่งมีความรู้เฉพาะเพื่อปฏิบัติหน้ าที่เกี่ยวกับการใช้ เก็บขนส่งและบรรจุกาซประจาโรงงาน

ประกาศกระทรวง
• มาตรการคุ้มครองความปลอดภัยในการดาเนินงาน
• รถฟอร์คลิฟท์(Forklift) ที่ใช้ กาซปิ โตรเลียมเป็ นเชื้อเพลิง
• มาตรการคุ้มครองความปลอดภัยในการประกอบกิจการโรงงานที่เกี่ยวกับการผลิต การเก็บ การบรรจุ การใช้ และการขนส่งกาซ
• หลักเกณฑ์ วิธกี าร การฝึ กอบรม การออกหนังสือรับรองการขึ้นทะเบียนเป็ นคนงาน ควบคุม ส่ง และบรรจุกาซประจาโรงงาน

ประกาศกรม
• หลักเกณฑ์การพิจารณาให้ ความเห็นชอบเป็ นหน่วยตรวจสอบภาชนะบรรจุกาซ
• หลักเกณฑ์และวิธกี ารขึ้นทะเบียนเป็ นคนงานควบคุมกาซ คนงานขนส่งกาซ และคนงานบรรจุกาซประจาโรงงาน
• หนังสือรับรองการฝึ กอบรมหลักสูตรคนงานควบคุม ส่ง และบรรจุกาซประจาโรงงาน
• หลักสูตรคนงานควบคุม ส่ง และบรรจุกาซประจาโรงงาน
โรงงานที่เข้าข่ายต้องปฏิบัติตามกฎหมายเรื่องก๊าซอุตสาหกรรม
คลอรีน คาร์บอนไดออกไซด์ ไนโตรเจน ออกซิเจน อาร์กอน แอมโมเนีย ฮีเลียม ไฮโดรเจน และอะเซทิลีน**
ยกเว้น ก๊าซแอมโมเนียสาหรับระบบทาความเย็นในโรงงาน
พระราชบัญญัติโรงงาน (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2562 ถังเก็บและจ่ายก๊าซ (Storage tank) โรงงานที่มีการใช้หรือเก็บก๊าซ
จากภาชนะบรรจุชนิดติดตั้งบนรถ
(tube trailer)

ภาชนะบรรจุก๊าซ (Cylinder) จานวน 20 ภาชนะขึ้นไป


ต้องจัดให้มีคนงานซึ่งได้รับหนังสือรับรอง
การผ่ า นการฝึ ก อบรมจากหน่ ว ยงาน ที่
กรมโรงงานอุ ต สาหกรรมรั บ รองและ
ขึ้นทะเบียนเป็นคนงานควบคุมก๊าซ
โรงงำนผลิตก๊ำซ ซึ่งมิใช่ก๊ำซ โรงงำนทุกประเภทที่มีกำรใช้/เก็บ
หน่วยตรวจสอบภำชนะบรรจุก๊ำซ
ธรรมชำติ ส่งหรือจำหน่ำยก๊ำซ ก๊ำซตั้งแต่ 20 ภำชนะบรรจุขึ้นไป

รำยงำนผลเกี่ยวกับ กำรตรวจสอบ
คนงำนควบคุมก๊ำซ คนงำนควบคุมก๊ำซ กำรซ่อมแซม และกำรทำลำย ท่อ

คนงำนส่งก๊ำซ หน่วยฝึ กอบรม


หลักสูตรคนงาน
คนงำนบรรจุก๊ำซ ควบคุม/ส่ง/บรรจุ

บุคลากรที่ข้ น
ึ ทะเบียน (คน)
8,000 7,396
7,000

6,000

5,000

4,000

3,000
Cl2, CO2, N2, C2H2, O2,
2,000

1,000
129
429 NH3, He, Ar, H2
0
คนงานควบคุมกาซ คนงานบรรจุกาซ คนงานขนส่งกาซ
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรื่อง กาหนดมาตรการคุ้มครองความปลอดภัยในการประกอบกิจการโรงงาน
ที่เกี่ยวกับการผลิต การเก็บ การบรรจุ การใช้ และการขนส่งก๊าซ

หมวด 6
สีและสัญลักษณ์ และเครื่องหมายของภาชนะบรรจุก๊าซ (ต่อ)
ความปลอดภัย
ระบบทาความเย็นที่ใช้แอมโมเนียเป็นสารทาความเย็น

กฎกระทรวงกาหนดมาตรการความปลอดภัยเกี่ยวกับระบบทาความเย็นที่ใช้
แอมโมเนียเป็นสารทาความเย็นในโรงงาน พ.ศ. 2554
▪ การมีผู้ควบคุมการใช้งานระบบที่มีความรู้ความเข้าใจระบบเป็นอย่างดี
▪ การตรวจสอบระบบ เช่น เครื่องจักร อุปกรณ์ มาตรวัด และอุปกรณ์ความ
ปลอดภัย เป็นต้น โดยวิศวกรที่มีความชานาญเป็นประจา – ครอบคลุมการ
รั่วไหล/ การ crack ต่างๆของระบบ
▪ การปลดปล่อยแอมโมเนีย: ไอแอมโมเนียจาก safety valve/ ไอโมเนียในสถานะ
ของเหลว ต้องมีแหล่งกักเก็บ และการจัดการก่อนปลดปล่อยสู่สิ่งแวดล้อมไม่ให้มี
สารตกค้าง รวมถึงกลิ่นรบกวน
กฎหมายหม้อน้าภายในโรงงาน

การควบคุม การตรวจสอบ

ผู้ควบคุมประจ้าหม้อน้าหรือหม้อต้มฯ วิศวกรตรวจทดสอบหม้อน้าหรือหม้อต้มฯ
วิศวกรควบคุมและอ้านวยการใช้หม้อน้า หน่วยรับรองวิศวกรรมด้านหม้อน้าหรือหม้อต้มฯ
วิศวกรควบคุมการสร้างหรือซ่อมหม้อน้าหรือหม้อต้มฯ

สร้างเสริมบุคลากร

หน่วยงานจัดฝึกอบรมหลักสูตรผู้ควบคุมประจ้าหม้อน้าหรือหม้อต้มฯ
หน่วยงานจัดสอบมาตรฐานหลักสูตรผู้ควบคุมประจ้าหม้อน้าหรือหม้อต้มฯ
กฎหมายหม้อน้าภายในโรงงาน

ออกแบบตามมาตรฐาน (เช่น ASME, JIS, EN, ฯลฯ) การสร้างตามแบบที่ได้รับการรับรองโดยบุคลากรตาม ระบบท่อ


กฎหมาย ระบบส่วนควบ
การรับรองการออกแบบโดยบุคลากรตามกฎหมาย
บุคลากรตามกฎหมายท้าหน้าทีค่ วบคุมการสร้าง
ลักษณะการติดตัง
ข้อบังคับส้าหรับกระบวนการสร้าง
การรับรองความปลอดภัยก่อนใช้งาน

บุคลากรตามกฎหมายท้าหน้าทีค่ วบคุม ออกแบบตามมาตรฐาน (เช่น ASME, JIS, EN, ฯลฯ) การแจ้งก่อนด้าเนินการ


การรับรองความปลอดภัยตามรอบระยะเวลาที่ การรับรองการออกแบบโดยบุคลากรตามกฎหมาย
กฎหมายก้าหนด (อย่างน้อยปีละ 1 ครัง, 1 – 5 ปี
บุคลากรตามกฎหมายท้าหน้าทีค่ วบคุมกระบวนการ
ต่อการตรวจสอบ 1 ครัง)
ซ่อมแซม การดัดแปลง
การรับรองความปลอดภัยก่อนใช้งาน
กฎหมายหม้อน้าภายในโรงงาน
การตรวจสอบความปลอดภัย

Preventive Predictive
Maintenance Maintenance

RBI - Risk Based Inspection


กฎหมายหม้อน้าภายในโรงงาน
มาตรการฯ https://www.diw.go.th/webdiw/law-fac-saft/
มาตรการ
ความปลอดภัย
หมวด
รอบการตรวจสอบภายในอย่างน้อยปีละ 1 ครัง

รอบการตรวจสอบภายในตังแต่ 1 ปี แต่ไม่เกิน 5 ปี
COVID-19
COVID-19
หน่วยงานที่ได้รับการขึ้นทะเบียน
ให้จัดฝึกอบรม
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม (ฉบับที่ 5) พ.ศ. 2566 กองส่งเสริมเทคโนโลยีความปลอดภัยโรงงาน
กรมโรงงานอุตสาหกรรม
เรื่อง มาตรการคุ้มครองความปลอดภัยในการดาเนินงาน

บังคับใช้กับ ผู้ประกอบกิจการโรงงานจาพวกที่ 3 12 ประเภทโรงงาน


 การขอรับใบอนุญาตประกอบกิการโรงงาน
 การขยายโรงงาน
 การเริ่มประกอบกิจการโรงงาน หรือเริ่มขยายโรงงาน
(สาหรับโรงงานใน กนอ. และเขตประกอบการฯ)
 การเปลี่ยนแปลงใด ๆ ในการประกอบกิจการโรงงาน
ที่ทาให้เข้าข่ายเป็นโรงงานจาพวกที่ 3
ตามบัญชีท้ายประกาศ 12 ประเภทโรงงาน
 ทุก ๆ 5 ปี ทบทวนรายงาน
กองส่งเสริมเทคโนโลยีความปลอดภัยโรงงาน
กฎหมายด้านการประเมินความเสี่ยง กรมโรงงานอุตสาหกรรม

ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม (ฉบับที่ 5) พ.ศ. 2566 กองส่งเสริมเทคโนโลยีความปลอดภัยโรงงาน
กรมโรงงานอุตสาหกรรม
เรื่อง มาตรการคุ้มครองความปลอดภัยในการดาเนินงาน

ยกเลิกเฉพาะ ข้อ 1
ในประกาศ อก. ฉบับที่ 3
กองส่งเสริมเทคโนโลยีความปลอดภัยโรงงาน
กฎหมายด้านการประเมินความเสี่ยง กรมโรงงานอุตสาหกรรม

ระเบียบกรมโรงงานอุตสาหกรรม
รายงานวิเคราะห์ความเสี่ยง
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม (ฉบับที่ 3) พ.ศ.2542 และ ข้อมูลรายละเอียดการประกอบกิจการ คุณสมบัติผู้จัดทารายงานประเมินความเสี่ยง
(ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2552
▪ เพื่อใหเหมาะสมกับการปองกันอันตรายตามระดับความรุนแรงของ ▪ แผนที่สถานที่ตั้งต่างๆโดยรอบ 500 เมตร ▪ มีความรู้เกี่ยวกับกระบวนการผลิตในโรงงาน
ผลกระทบที่จะมีตอประชาชนและสิ่งแวดล้อม ▪ แผนผังโรงงาน ▪ มีความรู้เกี่ยวกับความปลอดภัยและอาชีวอนามัย
▪ โรงงานที่มีความเสี่ยง 12 ประเภท ▪ ขั้นตอนกระบวนการผลิต ของโรงงาน
▪ รายงานวิเคราะห์ความเสี่ยงจากอันตรายที่อาจเกิดจากการประกอบ ▪ จานวนผู้ปฏิบัติงาน ▪ มีความรู้เกี่ยวกับการจัดทารายงานประเมินความ
กิจการโรงงาน ▪ ข้อมูลอื่นๆ เช่น สถิติการเกิดอุบัติเหตุ เสี่ยง
▪ ขั้นตอนวิธีการชี้บ่งอันตรายและการประเมินความเสี่ยง
▪ ความถี่ในการทบทวนรายงานวิเคราะห์ความเสี่ยงฯ

ข้อบังคับ ข้อมูลใช้วิเคราะห์ ผู้บ่งชี้อันตรายและประเมินความเสี่ยง แจกแจงความเป็นอันตราย


▪ ทุกกิจกรรมภายในโรงงาน
▪ Check ▪ FMEA
วิธีการ
list ▪ Event บัญชีรายการ ▪ กิจกรรมในกระบวนการผลิต
▪ What if tree
▪ HAZOP ▪ มอก. สิ่งที่เป็นอันตราย ▪ กิจกรรมอื่น ๆ ที่นอกเหนือการผลิต
▪ Fault ▪ อื่นๆ
Tree

ระดับความเสี่ยงอันตราย
การประเมินความเสี่ยง วิธีการชี้บ่งอันตรายตามข้อกาหนด
(โอกาส x ความรุนแรง)
▪ ระดับ 1: ความเสี่ยงเล็กน้อย
▪ ระดับ 2: ความเสี่ยงยอมรับได้ ดาเนินการตามแผนงาน
▪ ระดับ 3: ความเสี่ยงสูง (ต้องมีแผนบริหาร
ความเสี่ยง) แผนงานบริหารจัดการความเสี่ยง บริหารจัดการความเสี่ยง
▪ ระดับ 4: ความเสี่ยงยอมรับไม่ได้ (ต้องมี ▪ แผนลดความเสี่ยง
การปรับปรุงเพื่อลดความเสี่ยง) (1) แผนลดความเสี่ยง (2) แผนควบคุมความเสี่ยง ▪ แผนควบคุมความเสีย่ ง
▪ เพื่อสร้างมาตรการจัดการกับ ▪ เพื่อสร้างมาตรการจัดการกับ
ความเสี่ยงสู่ระดับที่ยอมรับได้ ความเสี่ยงนั้นๆ
▪ (ควบคุมโดยแผนควบคุมความเสีย่ ง)
▪ ระยะเวลาในการจัดการความเสี่ยง
การประเมินความเสีย
่ ง
การกาหนดหลักเกณฑ์ทว
ั่ ไป บัญชีรายการสิง่ ทีเ่ ป็ น การประเมินความเสีย
่ ง แผนงานบริหารจัดการความเสีย
่ ง
ข้อมูลรายละเอียดการประกอบกิจการ ความเสีย
่ งและอันตราย ระดับความเสี่ยงอันตราย ▪ มาตรการป้องกันและควบคุมสาเหตุของ
▪ แผนที่สถานที่ตั้งต่างๆโดยรอบ 500 (โอกาส x ความรุนแรง) การเกิดอันตราย
เมตร ▪ ระดับ 1: ความเสี่ยงเล็กน้อย ▪ มาตรการระงับและฟื้นฟู เหตุการณ์
▪ แผนผังโรงงาน เพื่อทาการแจกแจงความเป็น
▪ ระดับ 2: ความเสี่ยงยอมรับได้ ▪ แผนงานปรับปรุงแก้ไข
▪ ขั้นตอนกระบวนการผลิต อันตราย
▪ ระดับ 3: ความเสี่ยงสูง
▪ ทุกกิจกรรมภายในโรงงาน
▪ จานวนผู้ปฏิบัติงาน (ต้องมีแผนบริหารความเสี่ยง) โดยแบ่งออกเป็ น
▪ กิจกรรมในกระบวนการผลิต
▪ ข้อมูลอื่นๆ เช่น สถิติการเกิดอุบัติเหตุ ▪ กิจกรรมอื่น ๆ ที่นอกเหนือการ ▪ ระดับ 4: ความเสี่ยงยอมรับ 1. แผนลดความเสีย ่ ง
ผลิต ไม่ได้ (ต้องมีการปรับปรุงเพื่อ ▪ เพื่อสร้างมาตรการจัดการกับ
คุณสมบัตผ ิ จ
ู้ ด
ั ทารายงานประเมินความ ลดความเสี่ยง) ความเสี่ยงสู่ระดับที่ยอมรับได้
เสี่ยง (อย่างน้อย 3 คน) ▪ (ควบคุมโดยแผนควบคุมความเสี่ยง)
▪ มีความรู้เกี่ยวกับกระบวนการผลิตใน การบ่งชีอ
้ ันตราย ▪ ระยะเวลาในการจัดการความเสี่ยง
โรงงาน
▪ มีความรู้เกี่ยวกับความปลอดภัยและ ▪ Check list 2. แผนควบคุมความเสี่ยง
อาชีวอนามัยของโรงงาน ▪ What if เพื่อสร้างมาตรการจัดการกับความเสี่ยง
▪ มีความรู้เกี่ยวกับการจัดทารายงาน ▪ HAZOP นั้นๆ
ประเมินความเสี่ยง ▪ Fault Tree
▪ FMEA ดาเนินการตามแผนงานบริหารจัดการความ
▪ Event tree เสี่ยง
▪ มอก.
▪ อื่นๆ
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม (ฉบับที่ 5) พ.ศ. 2566 กองส่งเสริมเทคโนโลยีความปลอดภัยโรงงาน
กรมโรงงานอุตสาหกรรม
เรื่อง มาตรการคุ้มครองความปลอดภัยในการดาเนินงาน

ฝ่าฝืนไม่ปฏิบัติตาม มีโทษ ปรับไม่เกิน 200,000 บาท ตามมาตรา 45 (พ.ร.บ. โรงงาน พ.ศ. 2535)

พนักงานเจ้าหน้าที่ตรวจสอบข้อเท็จจริง และพิจารณาสั่งการตามมาตรา 37 และ 39 ได้ตามกรณี ดังนี้


ประกอบกิจการโรงงานตามกรณีที่ - โดย ไม่ยื่นรายงานฯ
ประกอบกิจการโรงงานตามกรณีที่ - โดย ยื่นรายงานฯ แต่ยังไม่ได้รับความเห็นชอบจาก กรอ.
ประกอบกิจการโรงงานตามกรณีที่  รายงานฯ ฉบับทบทวนยังไม่ได้รับความเห็นชอบจาก กรอ.
(ก่อนวันสิ้นปีที่ 5 นับถัดจากปีที่แจ้งเริ่มประกอบกิจการโรงงาน)
ประกอบกิจการโรงงานโดย ไม่ปฏิบัติตามรายงานฯ ที่ได้รับความเห็นชอบจาก กรอ.

มีผลบังคับใช้นับถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษา 365 วัน








You might also like