You are on page 1of 20

8/31/2021

TU 102 Social Life Skills


อ่านสภาพแวดล้อมสรรค์สร้าง
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ท่าพระจันทร์

รศ. สันติรักษ์ ประเสริฐสุข


คณะสถาปั ตยกรรมศาสตร์และการผังเมือง

มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ท่าพระจันทร์

1
8/31/2021

ประวัติศาสตร์ของพืน้ ที่ อยุธยา - รัตนโกสินทร์ตอนต้น


• การขุดคลองลัดสมัยอยุธยา เพื่อเดินทางจากอ่าวไทยไปกรุงศรีอยุธยาได้สะดวก
• พระเจ้ากรุงธนบุรีสร้างวังหลวง (วังเดิม) ฝั่ งตะวันตกของแม่นา้
• รัชกาลที่ 1 สร้างวังหลวง วังหน้า และวังท่าพระฝั่ งตะวันออกของแม่น้า สร้างกาแพงเมืองและป้ อม 14 ป้ อม
พร้อมขุดคูเมือง 2 ชั้น และสร้างวังหลังที่ฝ่ั งตะวันตกของแม่น้า (ปั จจุบันเหลือ 2 ป้ อม – ป้ อมมหากาฬและ
ป้ อมพระสุเมรุ)

สมัยรัชกาลที่ 1 – 5
• "วั ง หน้ า " หรื อ ที่ ป ระทั บ ของกรม
พระราชวังบวรสถานมงคล ระหว่าง
วังหน้า พ.ศ. 2325-2428

ทุง่ พระเมรุ /ท้อง


สนามหลวง

2
8/31/2021

การสร้างความเป็ นสยามใหม่

สถาปั ตยกรรมสมัยรัชกาลที่ 5 (พ.ศ. 2411-2453)


• ระบอบสมบูรณาญาสิทธิราช และ รู ปแบบการปกครองสมัยใหม่
• “สยามใหม่” – ความศิวิไลซ์ตามแบบอย่างตะวันตก ปะทะการล่าอาณานิคม
• การแต่งกาย วิถีปฏิบัติ การพัฒนาบ้านเมืองให้ทนั สมัย ฯลฯ
• นาเข้าสถาปนิกจากตะวันตก (อิตาลี เยอรมนี ฝรั่งเศส ฯลฯ) – รู ปแบบสถาปั ตยกรรม
ตะวันตกในอาคารสาคัญของชาติ (พระทีน่ ่ังอนันตสมาคม สถานีรถไฟหัวลาโพง)

พระทีน่ ่ังจักรีมหาปราสาท - หลังคาทรงไทยจตุรมุขบนสถาปั ตยกรรมตะวันตก

3
8/31/2021

สถาปั ตยกรรมสมัยรัชกาลที่ 6 (พ.ศ. 2453-2468)


• เกิด “วิกฤติทางอัตลักษณ์เชิงวัฒนธรรม” - นิยาม “เอกลักษณ์ไทยประจาชาติ” จาก
รู ปแบบจารีต (ตัวแทนราชาชาตินิยม)
• รูปแบบสถาปั ตยกรรมตะวันตก (วังพญาไท) และ สถาปั ตยกรรมไทยประยุกต์ (อาคาร
คณะอักษรศาสตร์ จุฬาฯ)

สถาปั ตยกรรมสมัยรัชกาลที่ 7 (พ.ศ. 2468-2477)


• เศรษฐกิจตกต่าทั่วโลก – “The Great Depression” (ทศวรรษที่ 1930s)
• งานสมโภชน์กรุ งรัตนโกสินทร์ 150 ปี – บูรณะพระบรมมหาราชวังและวัดสาคัญ ไม่มีการ
สร้างวัดประจารัชกาล
• สร้างสะพานพุทธและพระบรมราชานุสาวรียร์ ัชกาลที่ 1
• สถาปั ตยกรรมไทยประยุกต์ เริ่มถูกลดทอนการประดับตกแต่งลวดลายแบบจารีต (ระเบียบ
แบบแผนของฐานานุศักดิ์ในสังคมไทย) = การตกต่าของระบบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ และ
สถานะของพระมหากษัตริยท์ อี่ ่อนแอลง

4
8/31/2021

ความเป็ นสยามใหม่/ไทยใหม่ หลังพ.ศ. 2475


ศิลปะและสถาปั ตยกรรมสมัยคณะราษฎร พ.ศ. 2475
• คณะราษฎรเปลี่ยนแปลงรูปแบบการปกครอง – รัฐธรรมนูญ
• ลดทอนพระราชอานาจของกษัตริย ์ – กษัตริยอ์ ยู่ใต้รัฐธรรมนูญ
• หลัก 6 ประการ - เอกราช ปลอดภัย เศรษฐกิจ เสมอภาค เสรีภาพ การศึกษา
• สถาปั ตยกรรม - สะท้อนอุดมคติเรื่อง “ความเสมอภาค” – ความเรียบง่าย การตัดทอน
ลวดลายประดับอาคาร (ฐานานุศักดิ์)
• สถาปั ตยกรรมโมเดิรน์ ตามแบบตะวันตก/สถาปั ตยกรรมไทยเครื่องคอนกรีต
• สัญลักษณ์ – พานรัฐธรรมนูญ และตัวเลขทีส่ ัมพันธ์กับคณะราษฎร
• ประติมากรรม – เนือ้ หาเกี่ยวกับประชาชนทั่วไป – แสดงกล้ามเนือ้ แข็งกร้าว ดุดัน
(ชาตินิยม)

เสา 6 ต้น = หลัก 6 ประการ

ศาลากลาง จังหวัดอยุธยา กระทรวงยุติธรรม

ถนนราชดาเนินกลาง (พ.ศ. 2480)


• สถาปั ตยกรรมโมเดิรน์ บนถนนราชดาเนินกลาง สะท้อนถึงความเสมอภาค
• ระบอบสมบูรณาญาสิทธิราช (รูปสัญญะของหลังคาจั่ว) ระบอบประชาธิปไตย (หลังคาแบนราบ)

5
8/31/2021

มหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมือง (27 มิถุนายน พ.ศ. 2477)


การกาเนิดมหาวิทยาลัยเป็ นไปตามหลักประการที่ 6 ในการสร้างระบบการศึกษาที่มีการพัฒนาและเท่าเทียม
อาคารโรงเรียนกฎหมาย เชิงสะพานผ่านพิภพลีลา ถนนราชดาเนิน

ก่อนจะเป็ นมหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมือง (2325-2477)

• สมัยรัชกาลที่ 1 เป็ น "วังหน้า”


ชั้นนอก/ชั้นกลาง/ชั้นใน
• สมัยรัชกาลที่ 5 ยุบตาแหน่งวังหน้า พืน้ ที่นี้
กลายเป็ นกรมทหารราบที่ 11 ชั้นกลาง
• สมัยรัชกาลที่ 6 กลายเป็ นกองพันทหาร
ราบที่ 4

ชั้นใน
ชั้นนอก

6
8/31/2021

ผังของกองพันทหารราบที่ 4 ในสมัยรัชกาลที่ 6

ยุคสมัยของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
ชาญวิทย์ เกษตรศิริ แบ่งยุคสมัยของธรรมศาสตร์เป็ น 7 สมัย (สานักนั้นธรรมศาสตร์และ
การเมือง 2477-2511, ธรรมศาสตร์และการเมืองเรื่องพืน้ ที)่

ยุคที่ 1: ยุคก่อร่างสร้างตัว (2477-2490)


ยุคที่ 2: ยุคมรสุมการเมือง (2491-2500)
ยุคที่ 3: ยุคสายลมและแสงแดด (2501-2510)
ยุคที่ 4: ยุคขบวนการนักศึกษา (2511-2519)
ยุคที่ 5: ยุคฟื้ นฟูธรรมศาสตร์ (2520-2529)
ยุคที่ 6: ยุคขยายการศึกษา (2530-2536)
ยุคที่ 7: ยุคของคาถามการย้าย/ไม่ย้าย (2537-2547)
ยุคที่ 8: ปั จจุบัน

7
8/31/2021

ผังมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 8 ยุค 2477 – ปั จจุบัน


Ground plan (presumed plan in 1934 before Aerial Photograph in 1979 Ground plan
construction of the Dome Building)

Rehabilitation Era (1977-1986)


Period 1: Building up Era (1934-

Period 5: Thammasat
1947)

Aerial Photograph in 1952 Ground plan Aerial Photograph in 1987 Ground plan
Period 2: Political Disturbance Era

Period 6: Education Extension Era


(1987-1993)
(1948-1957)

Aerial Photograph in 1958 Ground plan Aerial Photograph in 2002 Ground plan

Period 7: Questioning Whether to


Period 3: Wind and Sunshine Era

Move or Stay Era (1994-2004)


(1958-1967)

Aerial Photograph in 1973 Ground plan Aerial Photograph in 2017 Ground plan
Period 4: Student Movement Era

Period 8: Current Period Era


(2005-present)
(1968-1976)

ยุคที่ 1: ยุคก่อร่างสร้างตัว (2477-2490)


• หลักสูตร “ธรรมศาสตรบัณฑิต” (ธ.บ.)
• ผู้ประศาสน์การ ปรีดี พนมยงค์ (หลวงประดิษฐ์มนูธรรม)
• รวมที่ดินสองแปลงเป็ นมหาวิทยาลัย พ.ศ. 2479
• ดัดแปลงอาคารโรงทหารเก่าสูงสองชั้น จานวน 4 หลัง โดยสถาปนิก หมิว อภัยวงศ์ สร้างอาคารโดมยอด
แหลมตรงกลางระหว่างอาคาร 2 และ 3 เป็ นสถาปั ตยกรรมรูปแบบนีโอกอทิก (Neo-Gothic) ของ
ยุโรป สื่อความหมายถึง ยอดดินสอ ที่แหลมคมดุจปั ญญาที่หลักแหลม ชีข้ นึ้ ไปยังท้องฟ้ า คอยเขียนฟ้ าให้
งามเสมอ

8
8/31/2021

• หลักสูตรเตรียมมธก. พ.ศ. 2481-2488


• มธ.เป็ นสถานที่กักกันเชลยสัมพันธมิตร/ อาคารโดมเป็ นที่
ทาการเสรีไทย

พิธีเปิ ดอาคารโดมโดยสมเด็จเจ้าฟ้ ากรมพระยานริศรานุวัตติวงศ์


ผู้สาเร็จราชการแทนพระองค์ รัชกาลที่ 7 พ.ศ. 2479

ยุคที่ 2: ยุคมรสุมการเมือง (2491-2500)


• ปรีดี พนมยงค์ลี้ภัยออกนอกประเทศ พ.ศ. 2490
• ยกเลิกหลักสูตรธรรมศาสตรบัณฑิต จัดตั้ง 4 คณะคือ นิติศาสตร์ รัฐศาสตร์ พาณิชยศาสตร์และการบัญชี
และเศรษฐศาสตร์ พ.ศ. 2492
• ร่างพรบ. เปลี่ยนชื่อมหาวิทยาลัยเป็ น “มหาวิทยาลัยกรุงเทพ” พ.ศ. 2492 - ไม่สาเร็จ
• เสนอให้เปลี่ยนมหาวิทยาลัยเป็ นโรงแรมรับนักท่องเที่ยวต่างชาติที่มาชมงานแสดงสินค้าศิลปหัตถกรรม
นานาชาติ พ.ศ. 2493 - ไม่สาเร็จ
• กองทัพบกยึดมหาวิทยาลัยชั่วคราว พ.ศ. 2494
• อธิการบดีคนแรก จอมพล ป. พิบูลสงคราม เปลี่ยนชื่อ มธก. เป็ น “มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์” และยุบ
ตาแหน่งผู้ประศาสน์การ พ.ศ. 2495

กาแพงชรา (กาแพงวังหน้าเดิม)

9
8/31/2021

จอมพล ป. พิบูลสงคราม (2481-2487) (2491-2500)


• นโยบาย “ความเป็ นไทย” และ “ชาตินิยม” ในระบอบประชาธิปไตย –
เพลงชาติ การเคารพธงชาติ แบบเรียน เครื่องแต่งกาย ภาษาไทย
ภาษากลาง อาหาร ฯลฯ
• ยกเลิกการใช้ราชาศัพท์ และพระราชพิธีสาคัญ
• ตั้งกรมศิลปากร – หลวงวิจิตรวาทการ เป็ นอธิบดี ใช้วัฒนธรรมเป็ น
กลไกขับเคลื่อนประเทศ
• เปลี่ยนชื่อประเทศจาก “สยาม” เป็ น “ประเทศไทย” พ.ศ. 2482
• สนับสนุนฝ่ ายอักษะในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2
• แผนย้ายเมืองหลวงไปจังหวัดเพชรบูรณ์

รูปแบบสถาปั ตยกรรมไทยเครื่องคอนกรีต
สมัยจอมพล ป. พิบูลสงคราม
รูปแบบไทยประยุกต์ที่นาเอาคอนกรีตเสริมเหล็กเป็ นวัสดุ
ก่อสร้างหลัก มีการลดทอนรายละเอียดของลวดลายให้
เรียบง่ายและสอดคล้องกับวัสดุคอนกรีต กาหนดให้ใช้
สาหรับอาคารราชการทั่วประเทศ
• หอประชุมจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
• พระอุโบสถแบบ ก. ข. ค.
• เมรุเผาศพแบบทันสมัย

10
8/31/2021

วัดประชาธิ ปไตย/วัดพระศรี
มหาธ าตุ บางเ ขน พ .ศ .
2484

อาคารกระทรวงเกษตรและสหกรณ์

• จัดตั้งคณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ พ.ศ. 2497


• วางศิลาฤกษ์หอประชุมใหญ่มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ พ.ศ. 2497 เป็ นหอประชุมที่ทันสมัยที่สุดใน SEA
- สถาปั ตยกรรมไทยเครื่องคอนกรีต

11
8/31/2021

“สิ่งเหล่านี้ ทีโ่ ดม โหมจิตข้า


ให้แกร่งกล้า เดือนปี ไม่มีหวั่น
ถ้าขาดโดม เจ้าพระยา ท่าพระจันทร์
ก็เหมือนขาด สัญลักษณ์ พิทกั ษ์ธรรม”
เปลือ้ ง วรรณศรี พฤษภาคม 2495

ยุคที่ 3: ยุคสายลมและแสงแดด (2501-2510)


• สร้างอาคารคณะรัฐประศาสนศาสตร์ (ปั จจุบันคือคณะวารสารศาสตร์) และ
อาคารคณะนิติศาสตร์
• เปลี่ยนจากมหาวิทยาลัยเปิ ด (ตลาดวิชา) เป็ นมหาวิทยาลัยปิ ด พ.ศ. 2503
• นายกสภามหาวิทยาลัย จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ พ.ศ. 2503
• อธิการบดี จอมพลถนอม กิตติขจร พ.ศ. 2503

12
8/31/2021

จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ (2501-2506)


• รัฐประหารยึดอานาจรัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงคราม พ.ศ. 2500
• ฟื้ นฟูระบอบราชาชาตินิยม – พระราชพิธี
• แผนพัฒนาเศรษฐกิจแห่งชาติ ฉบับที่ 1 (2504-2509)
• แบบเรียนวิชาภาษาไทย “ชุดนิทานร้อยบรรทัด” ส่งเสริม ‘ความรัก’ ชาติ
ศาสนา และพระมหากษัตริย ์ ปลูกฝั งให้เด็กมีความรักและภูมิใจในประเทศ
ของตน อันมีประวัติความเป็ นมาอย่างยาวนาน อุดมสมบูรณ์ด้วยทรัพยากร
มีทรัพย์ในดินสินในนา้ ทาไร่นาได้ผลดี

• เปิ ดหอประชุมมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ รื้อกาแพงชราด้าน


สนามหลวง พ.ศ. 2503
• ด้านหน้าของมหาวิทยาลัยเปลี่ยนเป็ นด้านสนามหลวง
• สร้างอาคารคณะศิลปศาสตร์ และโรงยิมเนเซียม
• เพลงพระราชนิพนธ์ “ยูงทอง” เป็ นเพลงประจามหาวิทยาลัย พ.ศ.
2506
• แผนขยายไปรังสิต พ.ศ. 2510

13
8/31/2021

ยุคที่ 4: ยุคขบวนการนักศึกษา (2511-2519)


• ก่อสร้างอาคารเรียนคณะต่าง ๆ ได้แก่ คณะพาณิชยศาสตร์และ
การบัญชี หอเก็บนา้ คณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ คณะรัฐศาสตร์
อาคารเอ.ที (รื้อถอนอาคาร 4 ของอาคารโดม) คณะ
เศรษฐศาสตร์ คณะวารสารศาสตร์และสื่อสารมวลชน อาคารส่วน
ขยายคณะนิติศาสตร์ สถาบันภาษา อาคารส่วนขยายคณะศิลป
ศาสตร์ ทางเดินริมแม่นา้ อาคารส่วนใหญ่เป็ น สถาปั ตยกรรม
รูปแบบโมเดิรน์ (Modern Architecture)
• ผังมหาวิทยาลัยเปลี่ยนแปลงมากที่สุด

14
8/31/2021

ฉากหลังของเหตุการณ์ 14 ตุลาคม 2516


และ 6 ตุลาคม 2519

ยุคที่ 5: ยุคฟื้ นฟูธรรมศาสตร์ (2520-2529)


• ไม่มีการก่อสร้างอาคารใหม่มากนัก รื้อตึกกิจกรรม
นักศึกษาเดิม เพื่อสร้างอาคารกิจกรรมนักศึกษาใหม่
• สร้างอาคารเอนกประสงค์ 1 (รื้อถอนอาคาร 1 ของ
อาคารโดม) พ.ศ. 2520
• เปิ ดอาคารสมาคมธรรมศาสตร์ในพระบรมราชูปถัมภ์
พ.ศ. 2523

15
8/31/2021

• จัดงาน “ธรรมศาสตร์ครบรอบ 50 ปี ” สร้างอนุสรณ์สถานปรีดี พนมยงค์ และสร้างอนุสาวรียท์ ี่ลานริมนา้


พ.ศ. 2527 ออกแบบโดยคณาจารย์มหาวิทยาลัยศิลปากร
• สร้างประตูป้อมใหม่ ขุดพบปื นใหญ่โบราณ 10 กระบอก พ.ศ. 2528
• แผนเปิ ดศูนย์รังสิตสาหรับนักศึกษาปี ที่ 1

ยุคที่ 6: ยุคขยายการศึกษา (2530-2536)


• เปิ ดศูนย์รังสิต พ.ศ. 2529
• ท่าพระจันทร์ไม่มีความเปลี่ยนแปลงมาก

16
8/31/2021

• พ.ศ.2530 คณะรัฐมนตรีได้มีมติให้รื้อ
ถอนโรงภาพยนตร์ศาลาเฉลิมไทย
(สถาปั ตยกรรมแบบคณะราษฎร์)
เพื่อให้พนื้ ที่ดังกล่าวเพื่อเปิ ดโล่งให้
เห็นโลหะปราสาท วัดราชนัดดา ป้ อม
มหากาฬ ภูเขาทอง และสร้างพระบรม
ราชานุสรณ์ของพระบาทสมเด็จพระ
นั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว พร้อมกับลาน
พลับพลาเจษฎามหาบดินทร์
(สถาปั ตยกรรมแบบจารีตประเพณี)

ยุคที่ 7: ยุคของคาถามการย้าย/ไม่ยา้ ย (2537-2547)


• จัดงาน “ธรรมศาสตร์ครบรอบ 60 ปี ” พ.ศ. 2537 มีแผนสร้างอาคาร 60 ปี ธรรมศาสตร์ (อเนกประสงค์ 2)
และหอสมุดปรีดี พนมยงค์
• แผนอนุรักษ์เกาะรัตนโกสินทร์ 2540 โดยกรรมการเกาะรัตนโกสินทร์ พัฒนาพืน้ ที่ริมแม่นา้ เจ้าพระยา
• กระแส “ชาตินิยมแบบประชาชน” หลังวิกฤติเศรษฐกิจ พ.ศ. 2540
• ย้าย/ขยายการเรียนการสอนปริญญาตรีทั้งหมดไปยังศูนย์รังสิต ในพ.ศ. 2543
• ความขัดแย้งของการย้าย/ไม่ย้ายไปศูนย์รังสิต พ.ศ. 2543-2545 – “จิตวิญญาณธรรมศาสตร์”

17
8/31/2021

อาคาร 60 ปี ธรรมศาสตร์ (อเนกประสงค์ 2) และหอสมุดปรีดี พนมยงค์ ออกแบบโดยสถาปนิกและศิลปิ นแห่งชาติ


สุเมธ ชุมสาย เป็ นสถาปั ตยกรรมรูปแบบโพสต์โมเดิรน์ (Postmodern architecture) ที่นาอดีตสมัย
รัตนโกสินทร์ตอนต้นเป็ นองค์ประกอบ – จาลองกาแพงเมือง สถาปั ตยกรรมสมัย ร. 5

18
8/31/2021

• การรื้อถอนอาคารศาลฎีกา (สถาปั ตยกรรมแบบคณะราษฎร) พ.ศ. 2535

ยุคปั จจุบัน
• ปรับปรุงภูมิทัศน์โดยรอบ พ.ศ. 2548-2550
• สร้างอาคารวิทยาลัยสหวิทยาการ

19
8/31/2021

อนาคตของธรรมศาสตร์ ท่าพระจันทร์
• แผนปรับปรุงอาคารโดมเป็ นสานักบริหารและศูนย์การเรียนรู้ธรรมศาสตร์และการเมืองแผนปรับปรุง
• แผนปรับปรุงหอสมุดปรีดี พนมยงค์
• พืน้ ที่กับการแสดงออกทางการเมือง

20

You might also like