You are on page 1of 60

คำนำ

ในปี พ.ศ. ๒๕๖๔ ช่วงเดือนตุลาคมถึงเดือนพฤศจิกายน ภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทยได้รับ


อิทธิพลจากพายุโซนร้อน จานวน ๒ ลูก ได้แก่ พายุโซนร้อน “เตี้ยนหมู่” และ พายุโซนร้อน “คมปาซุ” ส่งผลให้
เกิดน้าท่วมฉับพลัน และน้าป่าไหลหลากในพื้นที่หลายจังหวัด โดยจังหวัดมหาสารคามเป็นจังหวัดหนึ่งที่ได้รับ
ผลกระทบเนื่องจากมีสภาพพื้นที่ที่ติดกับแม่น้าชี เป็นพื้นที่รองรับมวลน้าจานวนมากจากจังหวัดชัยภูมิซึ่งไหลตาม
ลาน้าชีผ่านจังหวัดขอนแก่น มาสมทบกับมวลน้าจากลาน้าพองที่ระบายจากเขื่อนอุบลรัตน์ จังหวัดขอนแก่น
ส่งผลให้น้าในแม่น้าชีล้นตลิ่งอย่างรวดเร็วและไหลเข้าท่วมบ้านเรือนของประชาชน พื้นที่เกษตรกรรม เส้นทาง
คมนาคม ตลอดจนสิ่งสาธารณูปโภค ฯลฯ ก่อให้เกิดความเสียหายทั้งต่อชีวิตและทรัพย์สินของประชาชนเป็นวงกว้าง
รวมพื้นที่ที่ได้รับ ความเสียหายหรือผลกระทบจากอิทธิพลของพายุโซนร้อนดังกล่าว ทั้งสิ้นจานวน ๕ อาเภอ
๓๑ ตาบล ๒๙๗ หมู่บ้าน ทั้งนี้ ในการป้องกันและแก้ไขสถานการณ์การเกิดอุทกภัยดังกล่าว ทั้งในช่วงก่อนเกิดภัย
ระหว่างเกิดภัย และหลังเกิดภัย จังหวัดมหาสารคามได้บูรณาการการทางานร่วมกับหน่วยงานทุกภาคส่วน มีการ
ระดมทรัพยากรจากทั้งภายในและภายนอกจังหวัดเข้าให้การช่วยเหลือประชาชนในพื้นที่รองรับน้าเพื่อบรรเทา
ความเดือดร้อนตามแนวทางการจัดการในภาวะฉุกเฉิน ครอบคลุมทุกมิติที่กาหนดในแผนป้องกันและบรรเทา
สาธารณภัยแห่งชาติ
จากปฏิบัติการแก้ไขสถานการณ์อุทกภัยดังกล่าวข้างต้น เพื่อให้เกิดการทบทวนผลการปฏิบัติงานที่ผ่านมา
และเกิดการเตรียมความพร้อมรับมือกับสถานการณ์สาธารณภัยที่อาจเกิดขึ้นในอนาคต สามารถป้องกันผลกระทบ
หรือบรรเทาความเดือดร้อนให้กับประชาชนได้อย่างรวดเร็ว และมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น จังหวัดมหาสารคาม
โดยกองอานวยการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย จึงได้ดาเนินการถอดบทเรียนการป้องกันและแก้ไขปัญหา
อุทกภัยจังหวัดมหาสารคาม พ.ศ. ๒๕๖๔ ขึ้น โดยมีความมุ่งหวังเป็นอย่างยิ่งว่า ผลการถอดบทเรียนดังกล่าวจะเป็น
ประโยชน์ต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการนาปรับใช้เป็นแนวทางการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยตามภารกิจ
ของหน่วยงานและตามบริบทของแต่ละพื้นที่ ตลอดจนสามารถป้องกันและบรรเทาความเดือดร้อนของประชาชน
ที่อาจได้รับหรือได้รับผลกระทบจากสถานการณ์การเกิดอุทกภัยในอนาคตได้อย่างเป็นรูปธรรมและยั่งยืนภายใต้
สภาวะความเสี่ยงและข้อจากัดของแต่ละพื้นที่ต่อไป

(นายเกียรติศักดิ์ ตรงศิริ)
ผู้ว่าราชการจังหวัดมหาสารคาม
ผู้อานวยการจังหวัด

ถอดบทเรียนการป้องกันและแก้ไขปัญหาอุทกภัยจังหวัดมหาสารคาม พ.ศ. 2564


สำรบัญ
เนื้อหำ หน้ำ
คานา................................................................................................................................................................ ก
สารบัญ ............................................................................................................................................................ ข
บทที่ 1 สถานการณ์อุทกภัยในจังหวัดมหาสารคาม ......................................................................................... 1
1.1 ลักษณะภูมิประเทศ ............................................................................................................................... 1
1.2 สาเหตุการเกิดอุทกภัย ........................................................................................................................... 1
1.3 ผลกระทบจากอุทกภัย........................................................................................................................... 5
1.3.1 หมู่บ้านถูกตัดขาด .......................................................................................................................... 5
1.3.2 เส้นทางคมนาคม............................................................................................................................ 5
1.3.3 สถานที่สาคัญ ................................................................................................................................. 8
1.3.4 ความเสียหายด้านการเกษตร..................................................................................................... 10
1.3.5 ผู้เสียชีวิต ..................................................................................................................................... 11
บทที่ 2 การบริหารจัดการอุทกภัย ................................................................................................................ 12
2.1 หลักการ .............................................................................................................................................. 12
2.2 การบริหารจัดการ ............................................................................................................................... 13
2.2.1 ก่อนเกิดภัย .................................................................................................................................. 13
1) การวิเคราะห์และประเมินสถานการณ์ .......................................................................................... 13
2) ติดตามข้อมูลสถานการณ์น้าฝนและน้าท่า ..................................................................................... 17
3) จัดทาแผนเผชิญเหตุอุทกภัย.......................................................................................................... 17
4) ฝึกการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย ........................................................................................ 18
5) การตรวจสอบความมั่นคงแข็งแรงสถานที่ใช้กักเก็บน้า/ กั้นน้า และประตูระบายน้า ..................... 18
6) การระบายน้าและการเพิ่มพื้นที่รองรับน้า ..................................................................................... 19
7) การแจ้งเตือนภัย ........................................................................................................................... 20
2.2.2 ขณะเกิดภัย.................................................................................................................................. 20
1) จัดตั้งศูนย์บัญชาการเหตุการณ์อุทกภัยจังหวัดมหาสารคาม .......................................................... 20
2) กาหนดแนวทางในการปฏิบัติงาน.................................................................................................. 21
3) การออกประกาศเขตพื ้ น ที ่ ป ระสบสาธารณภั ย และออกประกาศเขตการให้ ค วามช่ ว ยเหลื อ
ผู้ประสบภัยพิบัติกรณีฉุกเฉิน ............................................................................................................. 22

ถอดบทเรียนการป้องกันและแก้ไขปัญหาอุทกภัยจังหวัดมหาสารคาม พ.ศ. 2564


4) การบัญชาการเหตุการณ์ในการเผชิญเหตุ ...................................................................................... 23
2.2.3 หลังเกิดภัย................................................................................................................................... 35
1) การฟื้นฟูพื้นที่ประสบภัย............................................................................................................... 35
2) ให้ความช่วยเหลือเกษตรกรผู้ประสบภัยพิบัติกรณีฉุกเฉิน (อุทกภัย) .............................................. 36
3) การฟื้นฟูสุขภาวะของผู้ประสบภัย................................................................................................. 36
4) การสงเคราะห์ผู้เสียชีวิตจากอุทกภัย ............................................................................................. 38
5) สนับสนุนเงินทดรองราชการให้ความช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติ (กรณีอุทกภัย) ด้านการดารงชีพ ........ 38
บทที่ 3 ปัจจัยความสาเร็จและความพึงพอใจ ................................................................................................ 39
3.1 ปัจจัยความสาเร็จ ................................................................................................................................ 39
3.2 ความพร้อมของหน่วยงานในการช่วยเหลือผู้ประสบอุทกภัย ................................................................ 39
3.3 สรุปผลการสารวจความคิดเห็นจากประชาชนที่ได้ผลกระทบอุทกภัย .................................................. 41
บทที่ 4 ปัญหา/อุปสรรค และข้อเสนอแนะ ................................................................................................... 43
4.1 ด้านข้อมูล ........................................................................................................................................... 43
4.2 ด้านทรัพยากรในการจัดการสาธารณภัย.............................................................................................. 43
4.3 ด้านการสร้างการรับรู้ ความเข้าใจ....................................................................................................... 44
4.4 การจัดการสถานการณ์ในระดับพื้นที่ ................................................................................................... 44
4.5 การฟื้นฟู ............................................................................................................................................. 45
บทที่ 5 แผนงาน/ โครงเพื่อแก้ไขปัญหาอุทกภัยจังหวัดมหาสารคาม ............................................................. 46
ภาคผนวก ...................................................................................................................................................... 47
ภาคผนวก 1 สถานการณ์ ........................................................................................................................... 47
ภาคผนวก 2 หน่วยงาน/ เครื่องจักร/ ยานพาหนะ/ เครื่องมือ/ อุปกรณ์ .................................................... 50
ภาคผนวก 3 คณะทางานถอดบทเรียนการป้องกันและแก้ไขปัญหาอุทกภัยจังหวัดมหาสารคาม ................ 53

ถอดบทเรียนการป้องกันและแก้ไขปัญหาอุทกภัยจังหวัดมหาสารคาม พ.ศ. 2564


บทที่ 1
สถำนกำรณ์อุทกภัยในจังหวัดมหำสำรคำม

1.1 ลักษณะภูมิประเทศ
จังหวัดมหาสารคาม ตั้งอยู่ในบริเวณตอนกลางภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย มีสภาพพื้นที่
โดยทั่วไปค่อนข้างราบเรียบถึงลูกคลื่นลอนลาด ความสูงจากระดับน้าทะเล 120 - 230 เมตร ด้านทิศตะวันตก
และทิศเหนือของจังหวัดอยู่ในเขตอาเภอโกสุมพิสัย อาเภอเชียงยืน และอาเภอกันทรวิชัย เป็นที่สูงและพื้นที่
ราบเรียบถึงค่อนข้างเรียบ ส่วนใหญ่เป็นที่ราบลุ่มริมแม่น้าชีในบริเวณอาเภอเมืองมหาสารคาม อาเภอโกสุมพิสัย
ซึ่งรับน้าต่อจากอาเภอแวงน้อย อาเภอชนบท อาเภอบ้านไผ่ อาเภอบ้านแฮด อาเภอเมืองขอนแก่น จังหวัด
ขอนแก่น โดยไหลผ่านในช่วงตอนบนของจังหวัด 3 อาเภอ เป็นระยะทาง 125 กิโลเมตร ดังนี้
1. อาเภอโกสุมพิสัย จานวน 7 ตาบล ได้แก่ ต.หนองบัว ต.โพนงาม ต.ยางท่าแจ้ง ต.หนองบอน ต.หัวขวาง
ต.แก้งแก และ ต.เลิงใต้
2. อาเภอกันทรวิชัย จานวน 4 ตาบล ได้แก่ ต.เขวาใหญ่ ต.ขามเรียง ต.ท่าขอนยาง และ ต.มะค่า
3. อาเภอเมืองมหาสารคาม จานวน 4 ตาบล ได้แก่ ต.ท่าสองคอน ต.เกิ้ง ต.ลาดพัฒนา และ ต.ท่าตูม
1.2 สำเหตุกำรเกิดอุทกภัย
ในช่วงเดือนกันยายน - ตุลาคม 2564 ประเทศไทย ได้รับอิทธิพลของพายุโซนร้อนที่เคลื่อนที่ผ่าน
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จานวน 4 ลูก โดยส่งผลกระทบดังนี้
วัน/เดือน/ปี พายุ ผลกระทบ
12 - 15 กันยายน 2564 พายุโซนร้อน “โกเซิน” มีฝนเล็กน้อยเฉลี่ย 7.4 มม. ไม่มีรายงานผลกระทบ
ในพื้นที่จังหวัดมหาสารคาม
23 - 25 กันยายน 2564 พายุโซนร้อน “เตี้ยนหมู”่ เกิดฝนตกหนักมาก โดยเฉพาะที่ จังหวัดชัยภูมิวัด
ปริ ม าณน ้ า ฝนได้ 357.4 มม. ส่ ง ผลให้ ม ี ม วลน ้า
1,328 ล้าน ลบ.ม. เกิดน้าท่ว มอย่างกว้างขวางใน
เขตจังหวัดชัยภูมิ มวลน้าได้ไหลมาตามลาน้าชีและ
ไหลเอ่อเข้าท่ว มพื้นที่ 2 ฝั่งล าน ้าชีในเขตจังหวัด
มหาสารคาม
10 - 12 ตุลาคม 2564 พายุโซนร้อน “ไลออนร็อก” ไม่มีรายงานผลกระทบในพื้นที่จังหวัดมหาสารคาม
13 - 17 ตุลาคม 2564 พายุโซนร้อน “คมปาซุ” มี ผ ลกระทบต่ อ จั ง หวั ด ชั ย ภู ม ิ จั ง หวั ด ขอนแก่ น
จังหวัดหนองบัวลาภู ซึ่งเป็นพื้นที่ต้นน ้าของเขื่อน
อุบลรัตน์
2

จากสถานการณ์ข้างต้นโดยเฉพาะอิทธิพลของพายุโซนร้อน “เตี้ยนหมู่” และพายุโซนร้อน “คมปาซุ”


ส่งผลให้จังหวัดมหาสารคามเกิดสถานการณ์อุทกภัยในพื้นที่โดยเฉพาะบริเวณริมสองฝั่งแม่น้าชี ดังนี้
1. อิทธิพลของพายุโซนร้อน “เตี้ยนหมู”่ (23 - 25 กันยายน 2564) ทาให้เกิดฝนตกหนัก โดยเฉพาะที่
จังหวัดชัยภูมิวัดปริมาณน้าฝนได้ 357.4 มม. ส่งผลให้มีมวลน้า 1,328 ล้าน ลบ.ม. เกิดน้าท่วมอย่างกว้างขวาง
ในเขตจังหวัดชัยภูมิ มวลน้าได้ไหลมาตามลาน้าชี เอ่อล้นตลิ่งเข้าท่วมพื้นที่ลุ่มต่า 2 ฝั่งลาน้าชี ในเขตจังหวัด
ขอนแก่นตั้งแต่ปลายเดือนกันยายน 2564 และไหลเอ่อเข้าท่วมพื้นที่ 2 ฝั่งลาน้าชีในเขตจังหวัดมหาสารคามดังนี้
วันที่ 3 ตุลาคม 2564 เกิดอุทกภัยในพื้นที่ อ.โกสุมพิสัย ได้แก่ ต.หนองบัว ต.โพนงาม ต.เขวาไร่
ต.หนองบอน ต.ยางท่าแจ้ง ต.หัวขวาง ต.เลิงใต้ ต.แก้งแก
วันที่ 9 ตุลาคม 2564 เกิดอุทกภัยในพื้นที่ อ.กันทรวิชัย ได้แก่ ต.เขวาใหญ่ ต.มะค่า ต.ขามเรียง
ต.ท่าขอนยาง, อ.เชียงยืน ได้แก่ ต.เหล่าบัวบาน ต.กู่ทอง ต.นาทอง, อ.เมืองมหาสารคาม ได้แก่ ต.ท่าสองคอน
ต.เกิ้ง ต.ลาดพัฒนา ต.ท่าตูม
วันที่ 11 ตุลาคม 2564 เกิดอุทกภัยในพื้นที่ อ.กุดรัง ได้แก่ ต.ห้วยเตย
เนื่องจากลักษณะภูมิประเทศและความจุลาน้าของแม่น้าชี ทาให้ปริมาณน้าท่าส่วนที่เกินความจุลาน้า
เกิดภาวะล้นตลิ่ง โดยปัญหาน้าล้นตลิ่งจะก่อให้เกิดความเสียหายอย่างมากบริเวณชุมชนที่อยู่ติดริมลาน้าสาขา
ลาน้าสายหลัก และตามลักษณะภูมิประเทศริมน้าที่มีลักษณะเป็นหุบเขามีลาน้าเป็นจุดต่าสุด ทาให้เกิดลักษณะ
ของพื้นที่น้าท่วมถึงมีน้าหลากไหลผ่าน (Flood Plain) ตลอดลาน้าชีและลุ่มน้าสาขาเกือบทุกสาย
ภาพข้อมูลจากดาวเทียม COSMO-SkyMed-1 บันทึกข้อมูลวันที่ 6 ตุลาคม 2564 เวลา 05.58 น.

ทีม่ า : https://flood.gistda.or.th/ServerScripts/flood/thumbflood.py?width=&source=cm1_20211006_01_hv

ถอดบทเรียนการป้องกันและแก้ไขปัญหาอุทกภัยจังหวัดมหาสารคาม พ.ศ. 2564


3

2. อิทธิพลของพายุโซนร้อน “คมปาซุ” (13 - 17 ตุลาคม 2564) ทาให้มีปริมาณฝนสูงด้านต้นน้า


ของเขื่อนอุบลรัตน์ ประกอบกับในพื้นที่จังหวัดประสบสบปัญหาน้าท่วมในพื้นที่ เมื่อรวมกับที่เขื่อนอุบลรัตน์
ระบายน้าเพิ่มออกสู่ลาน้าพอง จนส่งผลให้ระดับน้าล้นตลิ่งบริเวณลาน้าพองและจุดบรรจบลาน้าพองกับลาน้าชี
เนื่องจากมีน้าจากลาน้าพองไหลลงสู่แม่น้าชีจานวนมาก น้าจากลุ่มน้าสาขาต่าง ๆ ไหลลงสู่แม่น้าชีเพิ่มเติมทาให้
น้าท่วมตลอดแนวแม่น้าชี รวมทั้งจุดบรรจบลุ่มน้าสาขาต่าง ๆ ในเขตจังหวัดมหาสารคาม
ภาพข้อมูลจากดาวเทียม Sentinel-1 บันทึกข้อมูลวันที่ 16 ตุลาคม 2564 เวลา 06.00 น.

ที่มา : https://flood.gistda.or.th/ServerScripts/flood/thumbflood.py?width=&source=S1A_IW_GRDH_1SDV_20211016
3. ปริมาณน้าชีหนุน บริเวณรอยต่อจังหวัดมหาสารคาม-ร้อยเอ็ด (จุดเชื่อมของลาน้าปาวกับน้าชี
หน้าฝายร้อยเอ็ด)
4. พื้นที่น้าท่วมส่วนที่เกิดจากน้าเท้อหรือจากการที่พื้นที่มีลักษณะเป็นแอ่งริมน้า พื้นที่ส่วนนี้ไม่ได้
เป็นทางน้าไหลผ่านหลักในเชิงอัตราการไหลจะพบว่าน้าที่ไหลเข้าพื้นที่จะเท้อขึ้นจากลาน้า
5. การก่อสร้างอาคารและสาธารณูปโภคกีดขวางทางน้า
6. วัชพืชจานวนมาก กีดขวางทางน้า
7. ประตูระบายน้าชารุด/ ความมั่นคงของพนังกั้นน้า
8. การลอบวางท่อลอดพนังกั้นน้า ทาให้พนังกั้นน้าเป็นโพรงและพังทลาย

ถอดบทเรียนการป้องกันและแก้ไขปัญหาอุทกภัยจังหวัดมหาสารคาม พ.ศ. 2564


4

ภาพข้อมูลจากดาวเทียม Sentinel-1 บันทึกข้อมูลวันที่ 15 พฤศจิกายน 2564 เวลา 06.00 น.

ที่มา : https://flood.gistda.or.th/ServerScripts/flood/thumbflood.py?width=&source=S1B_IW_GRDH_1SDV_20211115_2

ถอดบทเรียนการป้องกันและแก้ไขปัญหาอุทกภัยจังหวัดมหาสารคาม พ.ศ. 2564


5

1.3 ผลกระทบจำกอุทกภัย
จังหวัดมหาสารคาม ประสบปัญหาน้าท่วมโดยเฉพาะบริเวณริมสองฝั่งแม่น้าชี เนื่องจากมวลน้า จาก
แม่น้าชีจังหวัดชัยภูมิ และมวลน้าจากล าน้าพองเนื่องจากการระบายน้าจากเขื่อนอุบรัตน์ จังหวัดขอนแก่น
ไหลมารวมกัน ก่อนเคลื่อนตัวเข้าจังหวัดมหาสารคาม เกินกว่าช่องลาน้าจะรับได้ ทาให้มวลน้าส่ว นเกินไหลล้น
เข้าท่วมพื้นที่ลุ่มต่าและล้นตลิ่งทั้งสองฝั่งแม่น้าชีในพื้นที่จังหวัดมหาสารคามมีพื้นที่ได้รับผลกระทบจากอุทกภัย
5 อาเภอ 31 ตาบล 297 หมู่บ้าน โดยมีรายละเอียดดังนี้
1.3.1 หมู่บ้ำนถูกตัดขำด
หมู่บ้านถูกตัดขาดต้องสัญจรด้วยรถยกสูงและเรือ ในพื้นที่ 3 อาเภอ 8 ตาบล 30 หมู่บ้าน คือ
(1) อ.โกสุมพิสัย ได้แก่ ต.โพนงาม ต.ยางท่าแจ้ง ต.หัวขวาง
(2) อ.กันทรวิชัย ได้แก่ ต.มะค่า ต.ขามเรียง ต.เขาใหญ่
(3) อ.เมืองมหาสารคาม ได้แก่ ต.เกิ้ง ต.ลาดพัฒนา

ที่มา : อ.กันทรวิชัย
1.3.2 เส้นทำงคมนำคม
(1) ถนนทางหลวง 3 สายทาง
(1.1) ทางหลวงหมายเลข 2391 ตอน กู่ทอง - บ้านเขื่อน
• ระหว่าง กม.11+200 - 11+700 (หน้าโรงเรียนบ้านกอกหนองผือ) ต.หนองบัว
อ.โกสุมพิสัย
• ระหว่าง กม.14+800 - 15+200 ด้านขวา (ทุ่งนา บ้านหนองผือ อ.โกสุมพิสัย
• ระหว่าง กม.17+100 - กม.18+000 (ช่วงบ้านสาโรง - บ้านปลาปัด ต.ยางท่าแจ้ง
อ.โกสุมพิสัย)

ถอดบทเรียนการป้องกันและแก้ไขปัญหาอุทกภัยจังหวัดมหาสารคาม พ.ศ. 2564


6

ที่มา : แขวงทางหลวงมหาสารคาม
(1.2) ทางหลวงหมายเลข 213 ตอน มหาสารคาม - หนองขอน ที่ กม.5+530 (อุโมงค์
ท่าขอนยาง)

ที่มา : แขวงทางหลวงมหาสารคาม
(1.3) ทางหลวงหมายเลข 2367 ตอน มหาสารคาม - บ้านม่วง
• ระหว่าง กม.3+650 - 3+750 ด้านซ้ายทาง
• ระหว่าง กม.5+000 - 7+500 ด้านซ้ายทาง
• ระหว่าง กม.16+100 ด้านซ้ายทาง

ที่มา : แขวงทางหลวงมหาสารคาม

ถอดบทเรียนการป้องกันและแก้ไขปัญหาอุทกภัยจังหวัดมหาสารคาม พ.ศ. 2564


7

(2) ถนนทางหลวงชนบท 6 สายทาง


(2.1) ถนนเชิงลาดสะพานลดาวัลย์ สาย มค.005 ข้ามล าน ้าชี ต.โพนงาม อ.โกสุมพิสัย
ทั้งสองฝั่ง รถผ่านไม่ได้
(2.2) ถนนเชิงลาดสะพานบ้านคุยเชือก สาย มค.009 ข้ามลาน้าชี ต.หนองบัว อ.โกสุมพิสัย
ทั้งสองฝั่ง รถผ่านไม่ได้
(2.3) สาย มค.3062 แยก ทล.208 - บ.หนองผือ อ.โกสุมพิสัย จาก กม. 7+500 ถึง กม.
8+450 รถผ่านไม่ได้
(2.4) ถนนเชิงลาดสะพานบ้านท่าตูม ข้ามลาน้าชี สาย มค.012 ต.ท่าตูม อ.เมืองมหาสารคาม
รถสัญจรได้
(2.5) สาย มค.3001 แยก ทล.213 - บ.มะค่า อ.กันทรวิชัย จาก กม.8+900 - กม.9+800
รถสัญจรผ่านไม่ได้
(2.6) ถนนเชิงลาดสะพาน มค.007 ท่าสองคอน-ขามเรียง อ.กันทรวิชัย รถสัญจรผ่านได้
ภาพแสดงถนนทางหลวงชนบทที่ประสบอุทกภัย ข้อมูล ณ วันที่ 8 พฤศจิกายน 2564

ที่มา : แขวงทางหลวงชนบทมหาสารคาม
(3) ถนนในความรับผิดชอบขององค์การบริหารส่วนจังหวัดมหาสารคาม 7 สายทาง
(3.1) ถนนบ้านคุ้มกลาง - บ้านโพนงาม (ต.โพนงาม อ.โกสุมพิสัย)
(3.2) ถนนบ้านท่าสองคอน - บ้านคุยเชือก (ต.หนองบัว อ.โกสุมพิสัย)
(3.3) ถนนบ้านขี-บ้านหนองโน - บ้านบ่อน้อย (ต.เขวาใหญ่ อ.กันทรวิชัย - ต.ท่าสองคอน
อ.เมืองมหาสารคาม)
(3.4) บ้านขี - บ้านดอนเงิน (ต.เขวาใหญ่ อ.กันทรวิชัย)
(3.5) ถนนบ้านท่าขอนยาง - บ้านส้มโฮง (ต.ท่าขอนยาง อ.กันทรวิชัย)

ถอดบทเรียนการป้องกันและแก้ไขปัญหาอุทกภัยจังหวัดมหาสารคาม พ.ศ. 2564


8

(3.6) ถนนบ้านเกิง้ - บ้านเปลือยน้า (ต.เกิ้ง อ.เมืองมหาสารคาม - ต.มะค่า อ.กันทรวิชัย)


(3.7) ถนนบ้านคุยเชือก - ทางหลวงหมายเลข 2237 (ต.เขวาใหญ่ อ.กันทรวิชัย)
(4) ถนนเชื่อมต่อหมู่บ้าน 18 สายทาง ได้แก่ อ.โกสุมพิสัย 11 สายทาง, อ.กันทรวิชัย 6 สายทาง,
อ.เมืองมหาสารคาม 1 สายทาง
1.3.3 สถำนที่สำคัญ
(1) โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบล (รพ.สต.) 5 แห่ง
(1.1) รพ.สต.ดอนจ าปา ม.7 ต.โพนงาม อ.โกสุมพิสัย เปิดให้บริการชั้น 2 เมื่อวันที่
10 ตุลาคม 2564 และเปิดให้บริการได้ตามปกติ วันที่ 13 พฤศจิกายน 2564
(1.2) รพ.สต.หนองผื อ ม.1 ต.หนองบัว อ.โกสุมพิสัย เปิดให้บริการชั้น 2 เมื่อวันที่
10 ตุลาคม 2564 และเปิดให้บริการได้ตามปกติ วันที่ 30 พฤศจิกายน 2564
(1.3) รพ.สต.ท่าเดื่อ ม.2 ต.หนองบอน อ.โกสุมพิสัย ปิดให้บริการวันที่ 9 ตุลาคม 2564
ย้ายที่ทาการชั่วคราว ไปตั้งจุดบริการที่วัดบ้านหนองผือ เปิดให้บริการตามปกติ วันที่ 2 ธันวาคม 2564
(1.4) รพ.สต.มะกอก ม.19 ต.ขามเรียง อ.กันทรวิชัย ปิดให้บริการวันที่ 11 ตุลาคม 2564
ย้ายที่ทาการชั่วคราว ไปตั้งจุดบริการที่วัดจันทร์ประดิษฐ์บ้านมะกอก ต.ขามเรียง อ.กันทรวิชัย
(1.5) รพ.สต.เกิ้ง ม.5 ต.เกิ้ง อ าเภอเมืองมหาสารคาม เปิดให้บริการชั้น 2 เมื่อวันที่
12 ตุลาคม 2564 สามารถเปิดให้บริการได้ปกติ เมื่อวันที่ 13 ตุลาคม 2564

ที่มา : สานักงานสาธารณสุขจังหวัดมหาสารคาม

ถอดบทเรียนการป้องกันและแก้ไขปัญหาอุทกภัยจังหวัดมหาสารคาม พ.ศ. 2564


9

(2) โรงเรียน 14 แห่ง อ.โกสุมพิสัย 6 แห่ง, อ.กันทรวิชัย 5 แห่ง, อ.เมืองมหาสารคาม 3 แห่ง

ที่มา : แขวงทางหลวงมหาสารคาม, โครงการชลประทานมหาสารคาม


(3) วัด 39 แห่ง ได้แก่ อ.โกสุมพิสัย 9 แห่ง, อ.กันทรวิชัย 12 แห่ง และ อ.เมืองมหาสารคาม 18
แห่ง

ที่มา : ประชาสัมพันธ์จังหวัดมหาสารคาม, อ.เมืองมหาสารคาม

ถอดบทเรียนการป้องกันและแก้ไขปัญหาอุทกภัยจังหวัดมหาสารคาม พ.ศ. 2564


10

1.3.4 ควำมเสียหำยด้ำนกำรเกษตร
(1) ความเสียหายด้านพืช 5 อาเภอ 123,288.12 ไร่ เกษตรกร 11,694 ราย
อาเภอ ความเสียหายด้านการเกษตร (ไร่) เกษตรกร (ราย)
อาเภอเมืองมหาสารคาม 4,187.27 590
อาเภอโกสุมพิสัย 54,114.50 5,261
อาเภอกันทรวิชัย 55,607.11 4,962
เชียงยืน 9,219.50 853
กุดรัง 159.75 28
(ทีม่ า : สานักงานเกษตรจังหวัดมหาสารคาม)
(2) ความเสียหายด้านประมง 315.725 ไร่ 3,490 ตารางเมตร เกษตรกร 509 ราย
ความเสียหายด้านประมง
อาเภอ เกษตรกร (ราย)
บ่อดิน นาข้าว ร่องสวน (ไร่) กระชัง บ่อซีเมนต์ (ตร.ม.)
อาเภอเมืองมหาสารคาม 1.500 - 3
อาเภอโกสุมพิสัย 29.750 130 20
อาเภอกันทรวิชัย 269.150 3,360 472
เชียงยืน 15.325 - 14
(ที่มา : สานักงานประมงจังหวัดมหาสารคาม)
(3) ความเสียหายด้านปศุสัตว์ ประกอบด้วยจ านวนสัตว์ตาย ได้แก่ โค 3 ตัว สุกร 27 ตัว
ไก่พื้นเมือง 17,438 ตัว ไก่ไข่ 1,282 ตัว ไก่เนื้อ 2,895 ตัว เป็ดไข่ 1,995 ตัว เป็ดเนื้อ 4,686 ตัว ห่าน 24 ตัว
นกกระทา 43 ตัว แปลงหญ้าสัตว์เลี้ยง 23 ไร่ เกษตรกร 404 ราย (ที่มา : สานักงานปศุสัตว์จังหวัดมหาสารคาม)

ที่มา : อ.กันทรวิชัย, โครงการชลประทานมหาสารคาม


ถอดบทเรียนการป้องกันและแก้ไขปัญหาอุทกภัยจังหวัดมหาสารคาม พ.ศ. 2564
11

1.3.5 ผู้เสียชีวิต
ลาดับ วัน เดือน ปี ข้อมูลผู้เสียชีวิต/ สถานที่เสียชีวิต
1 3 ตุลาคม 2564 เพศหญิง อายุ 60 ปี หนองน ้าบ้านหนองปลาเดิด ม.8 ต.ยางท่าแจ้ง
อ.โกสุมพิสัย
2 9 ตุลาคม 2564 เพศชาย อายุ 12 ปี พนังกั้นน้า บ้านปลาเดิด ม.2 ต.ยางท่าแจ้ง
อ.โกสุมพิสัย
3 15 ตุลาคม 2564 เพศชาย อายุ 63 ปี บ้านบ่อน้อย ม.6 ต.ท่าสองคอน อ.เมืองมหาสารคาม
4 25 ตุลาคม 2564 เพศชาย อายุ 61 ปี ม.16 ต.เขวาใหญ่ อ.กันทรวิชัย
5 14 พฤศจิกายน 2564 เพศชาย อายุ 41 ปี ที่นาน้าท่วมบ้านดอนจาปา ม.7 ต.โพนงาม
อ.โกสุมพิสัย

ถอดบทเรียนการป้องกันและแก้ไขปัญหาอุทกภัยจังหวัดมหาสารคาม พ.ศ. 2564


บทที่ 2
กำรบริหำรจัดกำรอุทกภัย

2.1 หลักกำร
เมื่อมีสาธารณภัยเกิดขึ้ นภายในประเทศไทย จะมีการบริหารจัดการภายใต้พระราชบัญญัติป้องกัน
และบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ พ.ศ. 2550 ซึ่งเป็นกฎหมายหลัก และแผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
จังหวัดมหาสารคาม พ.ศ. 2558 ให้ทุกหน่ว ยงานใช้เป็นกรอบแนวทางในการบริห ารจัด การสาธารณภั ย
อย่างเป็นระบบและใช้กลไกการจัดการความเสี่ยงจากสาธารณภัยระดับปฏิบัติเป็นศูนย์กลางในการอานวยการ
และการประสานการปฏิบัติของหน่วยงานและภาคส่วนต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการจัดการความเสี่ยงจากสาธารณภัย
ภายใต้ แ นวคิ ด “ศู น ย์ ป ฏิ บ ั ต ิ ก ารฉุ ก เฉิ น (Emergency Operation Center : EOC)” โดยเรี ย กชื ่ อ ว่ า
กองบัญชาการป้องกัน และบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ /กองอ านวยการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
แต่ละระดับ (กองอ านวยการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัด / กองอ านวยการป้องกันและบรรเทา
สาธารณภัยอาเภอ/ ศูนย์ปฏิบัติการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น) โดยการจัดการ
สาธารณภัยแบ่งเป็น 4 ระดับ ทั้งนี้ ขึ้นกับพื้นที่ ประชากร ความซับซ้อน หรือความสามารถในการจัดการ
สาธารณภัย ตลอดจนศักยภาพด้านทรัพยากร ที่ผู้มีอานาจตามกฎหมายใช้ดุลยพินิจในการตัดสินใจเกี่ยวกับ
ความสามารถในการเข้าควบคุมสถานการณ์เป็นหลัก ดังนี้
ระดับ กำรจัดกำร ผู้มีอำนำจตำมกฎหมำย
1 สาธารณภัยขนาดเล็ก ผู้อานวยการอาเภอ ผู้อานวยการท้องถิ่น ควบคุมและสั่งการ
2 สาธารณภัยขนาดกลาง ผู้อานวยการจังหวัด ควบคุม สั่งการและบัญชาการ
3 สาธารณภัยขนาดใหญ่ ผู้บัญชาการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ ควบคุม
สั่งการและบัญชาการ
4 สาธารณภัยร้ายแรงอย่างยิ่ง นายกรัฐมนตรีหรือรองนายกรัฐมนตรีที่นายกรัฐมนตรีมอบหมาย
ควบคุม สั่งการและบัญชาการ

กองอานวยการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดมหาสารคาม มีหน้าที่ในการจัดการความเสี่ยง
จากสาธารณภัยด้วยการบังคับบัญชา อานวยการ ควบคุม กากับ และประสานการปฏิบัติ ระหว่างภาคส่วน
ตั้งแต่ภาวะปกติจนถึง เมื่อคาดว่าจะเกิดหรือเกิดสาธารณภัย โดยมีการกาหนดโครงสร้าง อานาจหน้าที่ และ
มอบหมายเจ้าหน้าที่ปฏิบัติงานในภารกิจหน้าที่ต่าง ๆ ดังนี้
13

โครงสร้ำงกองอำนวยกำรป้องกันและบรรเทำสำธำรณภัยจังหวัด

ผู้อำนวยกำรจังหวัด

ศูนย์ประสำนกำรปฏิบัติ
ที่ปรึกษำ/ผู้เชี่ยวชำญ
ศูนย์ข้อมูล
ประชาสัมพัน์ธ

ส่วนปฏิบัติกำร ส่วนอำนวยกำร ส่วนสนับสนุน

หน่วยสถำนกำรณ์ แผนกสนับสนุน แผนกบริกำร แผนกกำรเงิน


พื้นที่ กลุ่มภำรกิจ
หน่วยทรัพยำกร หน่วยจัดหำ หน่วยสื่อสำร หน่วยกำรเงิน บัญชี
ศูนย์บัญชำกำรเหตุกำรณ์อำเภอ สิ่งอุปกรณ์
หน่วยเอกสำร หน่วยแพทย์ หน่วยจัดซื้อ จัดจ้ำง
หน่วยสถำนที่
หน่วยเสบียง หน่วยพัสดุ
หน่วยสนับสนุน
ภำคพื้น

แผนภำพ โครงสร้างกองอานวยการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัด

2.2 กำรบริหำรจัดกำร
เหตุการณ์อุทกภัย พ.ศ. 2564 กองอานวยการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดมหาสารคาม
มีการบริหารจัดการภายใต้พระราชบัญญัติป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ พ.ศ. 2550 แผนการ
ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดมหาสารคาม พ.ศ. 2558 โดยใช้ระบบบัญชาการเหตุการณ์ (Incident
Command System: ICS) ท าให้มีการจัดการในภาวะฉุกเฉินภายใต้รูปแบบ ระบบ และความเข้าใจที่เป็น
มาตรฐานเดียวกัน อย่างเป็นเอกภาพ และมีความยืดหยุ่น มี การสั่งการ ควบคุม และประสานงานความร่วมมือ
ของแต่ละหน่วยงานในการบริหารสถานการณ์ฉุกเฉิน ในการระดมทรัพยากรไปยังที่เกิดเหตุ ให้สามารถปกป้อง
ชีวิต ทรัพย์สินและสิ่งแวดล้อมได้อย่างบรรลุเป้าหมายและมีประสิทธิภาพ โดยดาเนินการดังนี้
2.2.1 ก่อนเกิดภัย
กองอ านวยการป้ อ งกั น และบรรเทาสาธารณภั ย จั ง หวั ด มหาสารคาม ได้ ม ี ก ารประเมิ น
สถานการณ์และคาดว่าจะเกิดอุทกภัยจึงได้ดาเนินการ ดังนี้
1) การวิเคราะห์และประเมินสถานการณ์
โดยคณะทางานติดตามสถานการณ์ร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องและอาเภอที่คาดว่าจะ
ได้รับผลกระทบ เฝ้าระวังและติดตามสถานการณ์ เพื่อร่วมทาหน้าที่ติดตามข้อมูลสภาพอากาศ สถานการณ์น้า
และเหตุการณ์ที่อาจส่งผลให้เกิดอุทกภัย รวมทั้งวิเคราะห์และประเมินสถานการณ์น้าในพื้นที่ เพื่อใช้เป็นข้อมูล

ถอดบทเรียนการป้องกันและแก้ไขปัญหาอุทกภัยจังหวัดมหาสารคาม พ.ศ. 2564


14

สนับสนุนการตัดสินใจของผู้อ านวยการแต่ละระดับส าหรับใช้ในการสื่อสาร แจ้งเตือนประชาชน ตลอดจน


การเตรียมความพร้อมในการเผชิญเหตุได้อย่างเหมาะสมกับสถานการณ์และสภาพพื้นที่ ซึ่งกรมอุตุนิยมวิทยา
ประกาศ เริ่มต้นเข้าสู่ฤดูฝนในวันที่ 15 พฤษภาคม พ.ศ.2564 และคาดว่าปี พ.ศ. 2564 จะมีพายุหมุนเขตร้อน
จะเคลื่อนเข้าสู่ประเทศไทยจานวน 2-3 ลูก โดยมีโอกาสสูงที่จะเคลื่อนผ่านบริเวณภาคตะวันออกเฉีย งเหนือ
และภาคเหนือ ช่วงเดือน สิงหาคม หรือ กันยายน 2564 โดยกองอานวยการน้าแห่งชาติได้คาดการณ์พื้นที่เสี่ยง
น้าท่วมของจังหวัดมหาสารคามจะเกิดขึ้นในเดือนกันยานและตุลาคม 2564 ซึง่ คณะทางานติดตามสถานการณ์
ได้มีการวิเคราะห์สถานการณ์อุทกภัยดังนี้
• การคาดการณ์สภาพฝนว่าคล้าย ปี พ.ศ. 2551
• การคาดการณ์ปริมาณน้าฝนเฉลี่ยสะสมจะมีค่ามากกว่าเฉลี่ย 5 - 10 %
• การคาดการณ์ ปริมาณน้าท่าในแม่น้าในแม่น้าชีจะมีสภาพใกล้เคียง ปี พ,ศ. 2554
• วิเคราะห์ผลกระทบเชิงพื้นที่ โดยนาข้อมูลเชิงแผนที่ ได้แก่ พื้นที่เสี่ยงอุทกภัยของจังหวัด
มหาสารคามโดยสานักงานชลประทานที่ 6 แผนที่น้าท่วมซ้าซากของจังหวัดมหาสารคาม
และตารางข้ อ มู ล พื ้ น ที ่ เ สี ่ ย งน ้ า ท่ ว มริ ม สองฝั ่ ง แม่ น ้ า ชี ข องโครงการชลประทาน
มหาสารคามมาวิเคราะห์พื้นที่เสี่ยงภัย เพื่อระบุพื้นที่จะได้รับผลกระทบ โดยแยกระดับ
ความรุนแรงสูง ปานกลาง หรือต่า และลาดับก่อน – หลังของพื้นที่ที่คาดว่าจะได้รับ
ผลกระทบจากอุทกภัย
• พื้นที่เสี่ยงอุทกภัย ได้แก่ พื้นที่ลุ่มต ่าที่ไม่มีระบบป้องกัน , น ้าล้นตลิ่งท่วมพื้นที่ และ
บริเวณริมสองฝั่งแม่น้าชี
แผนที่คาดการเสี่ยงน้าท่วมเดือนตุลาคม ปี พ.ศ. 2564

ที่มา: กองอานวยการน้าแห่งชาติ

ถอดบทเรียนการป้องกันและแก้ไขปัญหาอุทกภัยจังหวัดมหาสารคาม พ.ศ. 2564


15

ภาพแผนที่น้าท่วมซ้าซากของจังหวัดมหาสารคาม

ที่มา : โครงการชลประทานมหาสารคาม

ถอดบทเรียนการป้องกันและแก้ไขปัญหาอุทกภัยจังหวัดมหาสารคาม พ.ศ. 2564


16

ตารางข้อมูลพื้นที่เสี่ยงน้าท่วมริมสองฝั่งแม่น้าชี ของ โครงการชลประทานมหาสารคาม

ที่มา : โครงการชลประทานมหาสารคาม

ถอดบทเรียนการป้องกันและแก้ไขปัญหาอุทกภัยจังหวัดมหาสารคาม พ.ศ. 2564


17

2) ติดตามข้อมูลสถานการณ์น้าฝนและน้าท่า
โดยโครงการชลประทานมหาสารคาม เป็นหน่วยงานหลักในการติดตามข้อมูล ทุกวัน
โดยรวบรวมเป็นฐานข้อมูลแต่ละเรื่อง ดังนี้
2.1) ข้อมูลปริมาณน้าฝน (ชลประทาน) จากจุดวัดน้าฝนที่อ่างเก็บน้าขนาดกลาง 16 แห่ง
จะรับข้อมูลจากสนามรายงานผ่านทางไลน์ และรับข้อมูลผ่านระบบโทรมาตร ทุกวัน
2.2) ข้อมูลน้าท่า ได้แก่
2.2.1) ข้อมูลระดับน้าและปริมาณน้าอ่างเก็บน้าขนาดกลาง 17 แห่ง จะรับข้อมูลจาก
ภาคสนามผ่านทางไลน์ และระบบโทรมาตร ทุกวัน
2.2.2) ข้อมูลน้าท่าในแม่น้าชี ลาน้าพองจะรับข้อมูลผ่านทางไลน์ และ www.hydro-
3.rid.go.th ทุกวัน ได้แก่
• ปริมาณน้าเขื่อนอุบลรัตน์และเขื่อนลาปาว
• ระดับน้าและปริมาณน้าของเขื่อนระบายน้า 4 แห่ง (เขื่อนระบายน้าชนบท,
เขื่อนระบายน้ามหาสารคาม, เขื่อนระบายน้าวังยาง และเขื่อนระบายน้าร้อยเอ็ด)
• ระดับน้าและอัตราการไหลในแม่น้าชี ลาน้าพอง 8 จุด (E23, E21 จ.ชัยภูมิ,
E9, E16A, E22B จ.ขอนแก่น, E91, E8A จ.มหาสารคาม และ E66A จ.ร้อยเอ็ด)
3) จัดทาแผนเผชิญเหตุอุทกภัย
กองอานวยการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยทุกระดับ และของหน่วยงาน โดยทบทวน
และปรับปรุงแผนเผชิญเหตุอุทกภัยให้เหมาะสมสอดคล้องกับสถานการณ์ปัจจุบันและให้ความสาคัญกับการจัดทา
รายละเอียดในประเด็น ดังนี้
3.1) ข้อมูลพื้นที่เสี่ยงอุทกภัยในระดับหมู่บ้าน/ชุมชน โดยการประเมินสถานการณ์ความเสี่ยง
ปัจจุบัน ประกอบกับข้อมูลการเกิดอุทกภัยที่เคยเกิดขึ้นในพื้นที่ เพื่อให้ข้อมูลพื้นที่เสี่ยงอุทกภัยสอดคล้อง
กับสถานการณ์ปัจจุบันมากที่สุด
3.2) รายการเครื่องมือ วัสดุอุปกรณ์เ ครื่องจักรกลสาธารณภัยของหน่วยงานต่าง ๆ ที่มี
ความพร้อมใช้งานและเหมาะสมตามลักษณะของภัย
3.3) ก าหนดจุด/พื้นที่ปลอดภัยประจ าหมู่บ้าน/ชุมชน เส้นทางการอพยพ การเตรียม
แผนรองรับการอพยพประชาชน การจัดเตรียมสิ่งอานวยความสะดวกให้เพียงพอเหมาะสมระหว่างการอพยพ
การจัดเตรียมแผนการจัดตั้งศูนย์พักพิงชั่วคราวในพื้นที่ปลอดภัย เพื่อรองรับกรณีผู้ประสบภัยที่ไม่สามารถ
กลับเข้าที่พักอาศัยได้ และให้สอดคล้องกับมาตรการป้องกันโรคของกระทรวงสาธารณสุข ในการป้องกันการแพร่
ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID19)

ถอดบทเรียนการป้องกันและแก้ไขปัญหาอุทกภัยจังหวัดมหาสารคาม พ.ศ. 2564


18

4) ฝึกการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
กองอ านวยการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดมหาสารคามร่วมกับหน่วยงาน
ที่เกี่ยวข้อง เพื่อเน้นย้าบทบาทหน้าที่ ตลอดจนสร้างความเข้าใจถึงกลไกการทางานร่วมกันตามแนวทางของระบบ
บัญชาการเหตุการณ์เมื่อเกิดสถานการณ์อุทกภัย
5) การตรวจสอบความมั่นคงแข็งแรงสถานที่ใช้กักเก็บน้า/ กั้นน้า และประตูระบายน้า
โดยมอบหมายหน่วยงานรับผิดชอบเข้าส ารวจตรวจสอบอ่างเก็บน ้า พนังกั้นน ้า และ
ปรับปรุงให้เกิดความมั่นคงแข็งแรงเพื่อให้สามารถรองรับกรณีฝนตกหนัก หรือน้าไหลเข้า/ผ่านในปริมาณมาก
รวมทั้งสร้างความมั่นใจให้กับประชาชนในพื้นที่ดังนี้
5.1) พนังกั้นน้าชีฝั่งซ้าย (ต.หนองบัว, ต.ยางท่าแจ้ง, ต.หัวขวาง และ ต.เลิงใต้ อ.โกสุมพิสัย)
ความยาว 38 กม. พร้อมประตูระบายน้า, สถานีสูบน้าด้วยไฟฟ้าห้วยน้าเค็ม (ต.ยางท่าแจ้ง) และประตูระบายน้า,
สถานีสูบน้าด้วยไฟฟ้าห้วยเชียงส่ง (ต.เลิงใต้)
5.2) พนังกั้นน้าชีฝั่งซ้าย (ต.เขวาใหญ่ อ.กันทรวิชัย) ความยาว 1 กม. พร้อมประตูระบายน้า,
สถานีสูบน้าด้วยไฟฟ้าห้วยสามสัตย์ (ต.เขวาใหญ่)
5.3) พนังกั้นน ้าชีฝั่งขวา (ต.ท่าสองคอน, ต.เกิ้ง, ต.ลาดพัฒนา และ ต.ท่าตูม อ.เมือง
มหาสารคาม) ความยาว 38 กม. พร้อมประตูระบายน ้า, สถานีสูบน ้าด้วยไฟฟ้าท่าสองคอน (ต.ท่าสองคอน),
ท่อระบายน้ากุดแดง (ต.เกิ้ง) และประตูระบายน้า, สถานีสูบน้าด้วยไฟฟ้าท่าตูม (ต.ท่าตูม)
5.4) ฝั่งซ้ายแม่น้าชี ประตูระบายน้า กุดเดือยไก่ (ต.มะค่า อ.กันทรวิชัย) และประตูระบายน้า
กุดใส้จ่อ (ต.มะค่า)
5.5) พนังกั้นน้ากุดเชียงสา แม่น้าชีฝั่งซ้าย (ต.ท่าตูม อ.เมืองมหาสารคาม) พร้อมประตู
ระบายน้า, สถานีสูบน้าด้วยไฟฟ้ากุดเชียงสา (ต.ท่าตูม)
5.6) อ่างเก็บน้าขนาดกลาง 17 แห่ง

ถอดบทเรียนการป้องกันและแก้ไขปัญหาอุทกภัยจังหวัดมหาสารคาม พ.ศ. 2564


19

ที่มา: โครงการชลประทานมหาสารคาม, โครงการส่งน้าและบารุงรักษาชีกลาง


6) การระบายน้าและการเพิ่มพื้นที่รองรับน้า
โดยหน่วยงานที่เกี่ยวข้องดาเนินการ ดังนี้
6.1) พื้นที่เสี่ยงในเขตชุมชน พื้นที่สาคัญทางเศรษฐกิจ และเส้นทางคมนาคมที่มักเกิดอุทกภัย
เป็นประจา ให้เร่งทาการขุดลอกท่อระบายน้า ดูดเลน ทาความสะอาดร่องน้า เพื่อกาจัดสิ่งกีดขวางออกจากทาง
ระบายน้า
6.2) คูคลอง แหล่ งน้าต่าง ๆ ให้เร่งกาจัดวัชพืช ขยะ สิ่งกีดขวางทางน้า เพื่อให้สามารถ
รองรับน้าฝนและน้าจากท่อระบายน้าได้อย่างเต็มประสิทธิภาพ
6.3) กาหนดแนวทางและวิธีการในการระบายน้าให้มีการลาเลียงน้าไปยังพื้นที่รองรับน้า
ต่าง ๆ อาทิการเปิดทางน้า การสูบส่งน้าไปยังแหล่งน้าสาธารณะ เป็นต้น เพื่อประโยชน์ในการกักเก็บน้าไว้ใช้
ในฤดูแล้ง
6.4) เพื่อป้องกันและลดผลกระทบต่อพื้นที่การเกษตร ที่อยู่อาศัย ของประชาชนที่อยู่
บริ เ วณแม่ น ้า ชี อ.โกสุ ม พิ ส ัย อ.กั น ทรวิ ช ัย อ.เชี ย งยื น และ อ.เมื อ งมหาสารคาม โครงการชลประทาน
มหาสารคามดาเนินการสูบน้าด้วยโรงสูบน้าด้วยไฟฟ้าโดยใช้เงินทดรองราชการในเชิงป้องกันหรือยับยั้งภัยพิบัติ
กรณีฉุกเฉินระหว่างวันที่ 29 กันยายน – 2 ตุลาคม 2564 ดังนี้
6.4.1) สถานีสูบน้าด้วยไฟฟ้าและ ปตร. น้าห้วยน้าเค็ม ต.หนองบัว อ.โกสุมพิสัย
6.4.2) สถานีสูบน้าด้วยไฟฟ้าและ ปตร. ห้วยเชียงส่ง ต.เลิงใต้ อ.โกสุมพิสัย
ถอดบทเรียนการป้องกันและแก้ไขปัญหาอุทกภัยจังหวัดมหาสารคาม พ.ศ. 2564
20

6.4.3) สถานีสูบน้าด้วยไฟฟ้าและ ปตร. ห้วยสามสัตย์ ต.เขวาใหญ่ อ.กันทรวิชัย


6.4.4) สถานีสูบน้าด้วยไฟฟ้าและ ปตร. ท่าสองคอน ต.ท่าสองคอน อ.เมืองมหาสารคาม
6.4.5) สถานีสูบน้าด้วยไฟฟ้าและ ปตร. กุดเชียงสา ต.ท่าตูม อ.เมืองมหาสารคาม
6.4.6) สถานีสูบน้าด้วยไฟฟ้าและ ปตร. ท่าตูม ต.ท่าตูม อ.เมืองมหาสารคาม
6.4.7) ทรบ. กุดแดง ต.เกิ้ง อ.เมืองมหาสารคาม ติดตั้งเครื่องสูบน้า จานวน 2 เครื่อง
7) การแจ้งเตือนภัย
เมื่อมีแนวโน้มการเกิดสถานการณ์อุทกภัย ในพื้นที่ โดยดาเนินการดังนี้
7.1) แจ้ ง เตื อ นไปยั ง กองอ านวยการป้ อ งกั น และบรรเทาสาธารณภั ย ในแต่ ล ะระดั บ
ตลอดจนหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อเตรียมบุคลากร วัสดุอุปกรณ์เครื่องจักรกลสาธารณภัยให้พร้อมเผชิญเหตุ
7.2) แจ้งเตือนให้ประชาชนทราบในทุกช่ องทาง ทั้งในรูปแบบที่เป็ นทางการและไม่ เป็น
ทางการ อาทิ สื่อสังคมออนไลน์ วิทยุชุมชน หอกระจายข่ าวประจาหมู่บ้าน เพื่อให้ประชาชนรับทราบข้อมูล
ข่าวสาร ตลอดจนแนวทางการปฏิบัติตนให้เกิดความปลอดภัย ช่องทางการแจ้งข้อมูล และการขอรับความช่วยเหลือ
จากภาครัฐ
7.3) แนวทางปฏิบัติในการแจ้งเตือนภัยของหน่วยงานภาครัฐในการจัดการสาธารณภัย
กาหนดระดับของสถานการณ์สาธารณภัย นการแจ้งเตือนภัย เพื่อเป็นแนวทางให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องน าไป
ปรับใช้ตามภารกิจ/ หน้าที่ของหน่วยงานในการจัดการสาธารณภัย โดยกาหนดความหมายของสีตามสถานการณ์
ของสาธารณภัยไว้ 5 ระดับ ดังนี้
สีแดง หมายถึง สถานการณ์อยู่ในภาวะอันตรายสูงสุด ให้อาศัยอยู่แต่ในสถานที่ปลอดภัยหรือ
ต้องอพยพไปยังสถานที่ปลอดภัย และปฏิบัติตามข้อสั่งการ
สีสม้ หมายถึง สถานการณ์อยู่ในภาวะเสี่ยงอันตรายสูง เจ้าหน้าที่กาลังควบคุมสถานการณ์
ให้อพยพไปยังสถานที่ปลอดภัย และปฏิบัติตามแนวทางที่กาหนด
สีเหลือง หมายถึง สถานการณ์อยู่ในภาวะเสี่ยงอันตราย มีแนวโน้มที่สถานการณ์จะรุนแรงมากขึ้น
ให้จัดเตรียมความพร้อมรับสถานการณ์ และปฏิบัติตามคาแนะนา
สีน้ำเงิน หมายถึง สถานการณ์อยู่ในภาวะเฝ้าระวัง ให้ติดตามข้อมูลข่าวสารอย่างใกล้ชิด
สีเขียว หมายถึง สถานการณ์อยู่ในภาวะปกติ ให้ติดตามข้อมูลข่าวสารเป็นประจา

2.2.2 ขณะเกิดภัย
1) จัดตั้งศูนย์บัญชาการเหตุการณ์อุทกภัยจังหวัดมหาสารคาม
ศูนย์บัญชาการเหตุการณ์จังหวัดมหาสารคาม เป็นศูนย์กลางในการสั่งการ และ การระดม
สรรพกาลังจากทุกภาคส่วน โดยแบ่งโครงสร้างการจัดการ ได้แก่

ถอดบทเรียนการป้องกันและแก้ไขปัญหาอุทกภัยจังหวัดมหาสารคาม พ.ศ. 2564


21

- ส่วนอานวยการ ทาหน้าที่ในการติดตาม สถานการณ์ การวิเคราะห์แนวโน้มสถานการณ์


การแจ้งเตือนภัย การประสานข้อมูล การกาหนดหรือออกแผนเผชิญเหตุ เพื่อให้ส่วนปฏิบัติการใช้ในการเผชิญเหตุ
และอานวยการ สั่งการ ตลอดจนการประเมิน ความต้องการความจาเป็นในการสนับสนุน ทรัพยากรในภาวะฉุกเฉิน
- ส่วนปฏิบัติการ ท าหน้าที่ในการกู้ภั ย การบรรเทาสาธารณภัย หรือเผชิญเหตุ โดยมี
แผนเผชิญเหตุที่กาหนดโดยส่วนอานวยการเป็นแผนการปฏิบัติการกู้ภัยการบรรเทาสาธารณภัยการควบคุ ม
สถานการณ์เพื่อรักษาชีวิต ปกป้องทรัพย์สิน และการฟื้นฟูสู่สภาวะปกติ
- ส่วนสนับสนุน ทาหน้าที่ในการตอบสนอง การร้องขอรับ การสนับสนุนในด้านต่าง ๆ ที่จาเป็น
เพื่อให้การจัดการในภาวะฉุกเฉิน เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ เช่น การส่งกาลังบารุง การสนับสนุนงบประมาณ
เป็นต้น
- ศูนย์ประสานการปฏิบัติของศูนย์บัญชาการเหตุการณ์จังหวัดรวบรวมข้อมูลของอาสาสมัคร
องค์การสาธารณกุศลภาคเอกชน และประชาชนจิตอาสาร่วมสนับสนุนภารกิจในแต่ละพื้นที่
- ศูนย์ข้อมูลข่าวสาร (Joint Information Center : JIC) ระดับจังหวัด
โดยมีการประชุมศูนย์บัญชาการเหตุการณ์จังหวัดมหาสารคาม ร่วมกับ บัญชาการเหตุการณ์อาเภอผ่านระบบ
web conference โดยมีประเด็นทีค่ วรนาเสนอในการประชุมประกอบด้วย
- สถานการณ์ และการคาดการณ์พื้นที่เสี่ยงแบบระบุพื้นที่
- ข้อมูลทรัพยากรในพื้นที่
- การเผชิญเหตุ ภารกิจที่ต้องดาเนินและหน่วยรับผิดชอบ
- แผนขอรับการสนับสนุนทรัพยากรจากพื้นที่ (กรณีมีความจาเป็น)
- ประเด็นอื่น ๆ ตามบริบทพื้นที่/สถานการณ์ อาทิ มาตรการทางสาธารณสุขควบคู่ไปกับ
การปฏิบัติการ เป็นต้น

ที่มา : สานักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดมหาสารคาม
2) กาหนดแนวทางในการปฏิบัติงาน
2.1) ศูนย์บัญชาการเหตุการณ์จังหวัดมหาสารคาม กาหนดแนวทางและพื้นที่ปฏิบัติการ
โดยให้ศูนย์บัญชาการเหตุการณ์อาเภอ/ ศูนย์ปฏิบัติการฉุกเฉินท้องถิ่น ติดตาม เฝ้าระวัง วิเคราะห์และประเมิน
สถานการณ์ ในพื้นที่ที่เกิดอุทกภัย รับผิดชอบการบริหารจัดการเหตุในพื้นที่ โดยกาหนด ตัวบุคคล หรือหน่วยงาน
ที่เหมาะสมรกับภารกิจ พร้อมทั้งก าหนดสายการบังคับบั ญชาที่ชัดเจน เพื่อช่วยควบคุม ก ากับการปฏิบัติ

ถอดบทเรียนการป้องกันและแก้ไขปัญหาอุทกภัยจังหวัดมหาสารคาม พ.ศ. 2564


22

ในภารกิจที่ส าคัญ โดยพิจารณาจากสถานการณ์สาธารณภัยที่เกิดขึ้นว่ามีผลกระทบเป็นวงกว้างเพียงไรแล้ว


จึงกาหนดพื้นที่เป็นเขตต่าง ๆ เพื่อใช้วางแผนในการส่งเจ้าหน้าที่ อุปกรณ์ ยานพาหนะที่เหมาะสมเข้าปฏิบัติการ
2.2) กาหนดช่องทางการสื่อสารทางไลน์ เนื่องจากสามารถเชื่อมต่อ ใช้ร่วมกันได้ทุกหน่วย
รวมทั้งกาหนดรูปแบบ ระยะเวลา และตัวบุคคลสาหรับการรายงานต่อผู้บริหารระดับสูงในทุกระดับ
2.3) ศูนย์บัญชาการเหตุการณ์จังหวัดมหาสารคาม โดยส านักงานป้องกันและบรรเทา
สาธารณภัยจังหวัด มหาสารคาม ประสานกับศูนย์บัญชาการเหตุการอ าเภอ/ศูนย์ปฏิบัติการฉุกเฉินท้องถิ่ น
เตรียมพร้อมทรัพยากรทั้งกาลังคน เครื่องมือ อุปกรณ์วัสดุ เครื่องจักรกลสาธารณภัย ในการปฏิบัติการแก้ไขปัญหา
เพื่อให้การสนับสนุนการปฏิบัติในการแก้ไขปัญหาสาธารณภัยแก่ศูนย์บัญชาการเหตุการณ์ศูนย์ปฏิบัติการฉุกเฉิน
ท้องถิ่นและรายงานสถานการณ์ เป็นไปอย่างต่อเนื่ องได้ตลอด 24 ชั่วโมงหากได้รับการร้องขอ กรณีทรัพยากร
ที่มีอยู่ไม่เพียงพอ
3) การออกประกาศเขตพื้นที่ประสบสาธารณภัย และออกประกาศเขตการให้ความช่วยเหลือ
ผู้ประสบภัยพิบัติกรณีฉุกเฉิน
เมื่อเกิดภัยพิบัติกรณีฉุกเฉิน (อุทกภัย) ในพื้นที่ นายอ าเภอได้รายงานเป็นเหตุด่วนต่อ
ผู้ว่าราชการจังหวั ดมหาสารคาม (ผู้อานวยการจังหวัด ) ทราบ เพื่อออกประกาศเขตพื้นที่ประสบสาธารณภัย
ซึ่งเป็นประโยชน์ต่อการจัดการสาธารณภัยในพื้นที่ และออกประกาศเขตการให้ความช่วยเหลือผู้ประสบภัย
พิบัติกรณีฉุกเฉิน เป็นกรณีฉุกเฉินและจาเป็นต้องให้ความช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิ บัติจากเงินทดรองราชการ
ตามระเบียกระทรวงการคลังว่าด้วยเงินทดรองราชการเพื่อช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติกรณีฉุกเฉิน พ.ศ. 2562
ภาพแสดงหมู่บ้านที่ประสบอุทกภัยตามลาดับการประกาศเขตพื้นที่ประสบสาธารณภัย

ที่มา : สานักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดมหาสารคาม

ถอดบทเรียนการป้องกันและแก้ไขปัญหาอุทกภัยจังหวัดมหาสารคาม พ.ศ. 2564


23

4) การบัญชาการเหตุการณ์ในการเผชิญเหตุ
โดยศูนย์บัญชาการเหตุการณ์จังหวัดมหาสารคามได้มีการควบคุมสั่งการและปฏิบัติภารกิจ
ในช่วงเกิดอุทกภัย ดังนี้
4.1) ภารกิจด้านการอพยพ การจัดตั้งจุดอพยพ และเตรียมการจัดตั้งศูนย์พักพิงชั่วคราว
ศูนย์บัญชาการเหตุการณ์จังหวั ดมหาสารคาม ได้ติดตามและประเมินสถานการณ์ภัย
ในพื้นทีว่ ่ามีแนวโน้มหรือคาดว่าประชาชนผู้ประสบภัยจะได้รับผลกระทบจากอุทกภัยพิบัติ จึงให้ศูนย์บัญชาการ
อาเภอ/องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในพื้นที่ประสบภัย จัดตั้งจุดอพยพ และเตรียมการจัดตั้งศูนย์พักพิงชั่วคราว
ที่กาหนดตามแผนป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยอาเภอ/องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นโดยพิจารณาถึงความเหมาะสม
และความปลอดภัยของผู้ประสบภัยเป็นสาคัญ โดย ประสานหน่วยงานราชการและภาคส่วนต่าง ๆ ในการบริหาร
จัดการจุดอพยพ อาทิ การจัดระบบการขนส่งบุคคลผู้อพยพ การรักษาความปลอดภัย การดูแลสุขอนามัย อาหาร
ความเป็นอยู่ รวมถึงการดูแลสุขภาพของผู้ประสบภัยระหว่างที่พักอาศัยอยู่ที่จุดอพยพ นอกจากนี้ ศูนย์บัญชาการ
เหตุการณ์อาเภอ/ ศูนย์ปฏิบัติการฉุกเฉินท้องถิ่นได้เตรียมการจัดตั้งศูนย์พักพิงชั่วคราวเพื่อรองรับผู้อพยพในกรณี
ที่ไม่สามารถอยู่อาศัยในพื้นที่ได้
ตารางแสดงจุดอพยพ
ที่ จุดอพยพ หมู่ที่ ตาบล อาเภอ หมายเหตุ
1 ริมถนนทางหลวงหมายเลข 2391 (บ้านเขื่อน - กู่ทอง) 1 - 4 ยางท่าแจ้ง โกสุมพิสัย 257 ครัวเรือน
2 ลานสาธารณะหนองลิง บ้านหนองบัวเรียน 8 ยางท่าแจ้ง โกสุมพิสัย 70 ครัวเรือน
3 ทางเข้าหนองตีนบ้าน บ้านท่าขอนยาง 3 ท่าขอนยาง กันทรวิชัย 4 ครัวเรือน
4 บ้านกุดหัวช้าง 11 ขามเรียง กันทรวิชัย
5 บ้านโขงกุดเวียน 14 ขามเรียง กันทรวิชัย
6 โรงเรียนบ้านบ่อน้อยหนองงัวสว่างวิทย์ 6 ท่าสองคอน เมืองมหาสารคาม
7 โรงเรียนชุมชนบ้านลาด 1 ลาดพัฒนา เมืองมหาสารคาม
8 โรงเรียนบ้านบุ่งคล้าท่างาม 11 ลาดพัฒนา เมืองมหาสารคาม
9 ศาลาบ้านโนนตูม 1 เกิ้ง เมืองมหาสารคาม
10 โรงเรียนบ้านเกิ้ง 5 เกิ้ง เมืองมหาสารคาม
11 ศาลาเอนกประสงค์บา้ นโนนสวรรค์ 10 เกิ้ง เมืองมหาสารคาม
12 องค์การบริหารส่วนตาบลท่าตูม 5 ท่าตูม เมืองมหาสารคาม

ถอดบทเรียนการป้องกันและแก้ไขปัญหาอุทกภัยจังหวัดมหาสารคาม พ.ศ. 2564


24

ที่มา : อ.โกสุมพิสัย, อ.กันทรวิชัย, อ.เมืองมหาสารคาม


4.2) ภารกิจด้านการใช้ทรัพยากร/ เครื่องจักรสาธารณภัย
หน่วยทรัพยากรในศูนย์บัญชาการเหตุก ารณ์จังหวัด ทาการรวบรวมฐานทรัพยากร
จากหน่วยงานที่เกี่ยวข้องภายในจังหวัด ติดตามสถานะของทรัพยากรที่ลงไปปฏิบั ติในพื้นที่ วางแผนการจัดส่ง
กาลังสนับสนุนหากมีความจาเป็น วางแผนการสับเปลี่ยนกาลัง
4.3) ภารกิจด้านการช่วยเหลือและบรรเทาทุกข์ระยะเผชิญเหตุ โดยสามารถให้ความช่วยเหลือ
เป็นด้านต่าง ๆ ได้แก่
4.3.1) ด้านการดารงชีพ โดยให้ศูนย์บัญชาการเหตุการอาเภอ/ ศูนย์ปฏิบัติการฉุกเฉิน
ท้องถิ่น จัดชุดปฏิบัติการให้ความช่วยเหลือด้านการดารงชีพแก่ประชาชนที่ประสบภัยตามวงรอบอย่างต่อเนื่อง
อาทิ การจัดตั้งโรงครัว ความช่วยเหลือด้านอาหาร น้าดื่ม ไม่ให้เกิดความซ้าซ้อนในการปฏิบัติ และเชิญชวน
หน่วยงานราชการ สถาบันการศึกษา ภาคเอกชน มูลนิธิ ประชาชนจิตอาสามีส่วนร่วมในการให้ความช่วยเหลือ
ประชาชนที่ประสบภัย

ถอดบทเรียนการป้องกันและแก้ไขปัญหาอุทกภัยจังหวัดมหาสารคาม พ.ศ. 2564


25

ที่มา : อ.โกสุมพิสัย, อ.กันทรวิชัย, อ.เมืองมหาสารคาม, สนง.เกษตรและสหกรณ์จังหวัดมหาสารคาม,


สนง.พัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัดมหาสารคาม
ถอดบทเรียนการป้องกันและแก้ไขปัญหาอุทกภัยจังหวัดมหาสารคาม พ.ศ. 2564
26

ทั้งนี้ วันที่ 4 พฤศจิกายน 2564 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณา


โปรดเกล้าฯ ให้ พลอากาศเอก จอม รุ่งสว่าง องคมนตรี ร่วมกับมูลนิธิราชประชานุเคราะห์ ในพระบรม
ราชูปถัมภ์ เชิญสิ่งของพระราชทานจานวน 2,495 ชุด มอบแก่ผู้ว่าราชการจังหวัดมหาสารคาม และนายอาเภอ
เพื่อนาไปมอบให้ประชาชนที่ประสบอุทกภัย และเชิญพระราชกระแสรับสั่งของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
และสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินี ที่ทรงห่วงใยราษฎรที่ประสบอุทกภัยในพื้นที่จังหวัดมหาสารคาม

ที่มา : สานักงานประชาสัมพันธ์จังหวัดมหาสารคาม
4.3.2) ด้านปศุสัตว์ ศูนย์บัญชาการเหตุการอาเภอ/ ศูนย์ปฏิบัติการฉุกเฉินท้องถิ่น
หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง จัดชุดปฏิบัติการให้ความช่วยเหลือด้านการดารงชีพแก่ประชาชนที่ประสบภัยตามวงรอบ
อย่างต่อเนื่อง อาทิ อพยพเคลื่อนย้ายสัตว์เลี้ยงไปยังที่ปลอดภัย จัดหาอาหารให้สัตว์เลี้ยง
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่ห ัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อม
พระราชทานพระบรมราชานุญาตให้กรมปศุสัตว์นาหญ้าอาหารสัตว์ จานวน 200 ฟ่อน (4,000 กิโลกรัม) และ
เวชภัณฑ์สัตว์ จานวน 50 ชุด มอบแก่เกษตรกรผู้ได้รับผลกระทบจากอุทกภัย

ที่มา : อ.กันทรวิชัย
4.3.3) ด้านการแพทย์และการสาธารณสุข โดยศูนย์บัญชาการเหตุการณ์จ ั งหวั ด
มหาสารคามมอบมหายให้สานักงานสาธารณสุขจังหวัดมหาสารคามดาเนินการตามแผนเผชิญเหตุดังนี้
(1) จัดทีมบริการทางการแพทย์ฉุกเฉิน (EMS) ระดับจังหวัด จานวน 1 ทีม
(2) ส ารวจกลุ ่ ม เป้ า หมาย ได้ แ ก่ เด็ ก 0-5 ปี , ผู ้ ส ู ง อายุ , ผู ้ ป ่ ว ยติ ด เตี ย ง,
ผู้ด้อยโอกาส, ผู้พิการ และหญิงตั้งครรภ์ เพื่อให้ความช่วยเหลือกรณีเกิดอุทกภัย
ถอดบทเรียนการป้องกันและแก้ไขปัญหาอุทกภัยจังหวัดมหาสารคาม พ.ศ. 2564
27

(3) ประสานขอรับการสนับสนุนเสื้อชูชีพจากสานักงานควบคุมป้องกันโรคที่ 7
(4) ที ม ภารกิ จ Logistic and Stockpiling ส านั ก งานสาธารณสุ ข จั ง หวั ด
มหาสารคาม ลงพื้นที่ พร้อมทั้งมอบยาสามัญประจ าบ้าน เจลแอลกอฮอล์ ยากันยุงซอง หน้ากากอนามัย
ให้ผู้ประสบภัยทั้ง 3 อาเภอ
(5) จัดหน่วยแพทย์เคลื่อนที่ จานวน 8 หน่วย ได้แก่ อาเภอโกสุมพิสัย จานวน
4 หน่วย อาเภอกันทรวิชัย จานวน 3 หน่วย และอาเภอเมืองมหาสารคาม จานวน 1 หน่วย มีจานวนผู้ใช้บริการ
ทั้งสิ้น 518 คน
(6) ประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนป้องกันตนเองจากโรคที่มากับน้าท่วมและน้าลด
ได้แก่ โรคระบบทางเดินหายใจ, โรคระบบทางเดินอาหาร, โรคฉี่หนู (โรคเลปโตสไปโรซิส), โรคน ้ากัดเท้า,
โรคตาแดง, ไข้เลือดออก, อุบัติเหตุและการถูกสัตว์ร้ายมีพิษกัดต่อย เป็นต้น
(7) ทีมช่วยเหลือเยียวยาจิตใจ (MCATT) ระดับจังหวัด/ระดับอาเภอ ลงพื้นที่
เยียวยาจิตใจประชาชนในหมู่บ้านที่ถูกตัดขาดและหมู่ที่บ้านที่น้าท่วมครอบคลุมทุกหมู่บ้านที่ถูกตัดขาดและมี
น้าท่วมในหมู่บ้านทั้ง 3 อาเภอ ในช่วงวันที่ 11-12 ตุลาคม 2564 ในเขต รพ.สต.ดอนจาปา และ รพ.สต.หนองผือ
อ.โกสุมพิสัย และ วันที่ 14 ตุลาคม 2564 ในเขต ต.มะค่า อ.กันทรวิชัย
(8) โรงพยาบาลในพื้นที่/รพ.สต. ในพื้นที่ประสบภัย สนับสนุนเวชภัณฑ์ย า
ช่วยเหลือประชาชนที่มีปัญหาเกี่ยวกับโรคที่มากับน ้าท่วม เช่น น ้ากัดเท้าหรือฮ่องกงฟุต โรคอุจจาระร่วง
โรคตาแดง เป็นต้น
(9) ให้การสนับสนุนคลอรีนและสารส้ม เพื่อแก้ไขปัญหาน้าอุปโภคเน่าเหม็น
และการสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมหลังน้าลดแก่พื้นที่ประสบภัย
4.3.3) ด้านบรรเทาสาธารณภัยและด้านการปฏิบัติงานให้ความช่วยเหลือผู้ประสบภัย
(1) เส้นทางคมนาคมได้รับความเสียหาย หรือถูกน้าท่วมจนประชาชนไม่สามารถ
ใช้ยานพาหนะสัญจรได้หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ แขวงทางหลวงมหาสารคาม แขวงทางหลวงชนบทมหาสารคาม
องค์การบริหารส่วนจังหวัดมหาสารคาม จัดทาป้ายแจ้งเตือนพร้อมทั้งจัดเจ้าหน้าที่อานวยความสะดวกการจราจร
แนะนาเส้นทางเลี่ยงที่ปลอดภัย และเร่งซ่อมแซมเส้นทางที่ชารุด/ถูกตัดขาด เพื่อให้ประชาชนใช้สัญจรได้โดยเร็ว

ถอดบทเรียนการป้องกันและแก้ไขปัญหาอุทกภัยจังหวัดมหาสารคาม พ.ศ. 2564


28

ที่มา : แขวงทางหลวงมหาสารคาม
(2) การให้ความช่วยเหลือผู้ประสบภัย โดยบูรณาการหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
จัดยานพาหนะที่เหมาะสม อาทิ เรือ รถยกสูง พร้อมเจ้าหน้าที่ เพื่อให้ความช่วยเหลือประชาชน โดยขอรับการ
สนับสนุนจากศูนย์ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย เขต 6 ขอนแก่น, ศูนย์ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย เขต 7
สกลนคร, หน่วยทหาร (พล ร.6, หน่วยพัฒนาการเคลื่อนที่ 52)

ถอดบทเรียนการป้องกันและแก้ไขปัญหาอุทกภัยจังหวัดมหาสารคาม พ.ศ. 2564


29

ที่มา : ศูนย์ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย เขต 7 สกลนคร, กองพันทหารสื่อสารที่ 6 กองพลทหารราบที่ 6


(3) ซ่อมแซมพนังแม่น้าชีชารุด
(3.1) ปตร.ห้วยสามสัตย์ บ้านส้มโฮง ต.เขวาใหญ่ อ.กันทรวิชัย
สาเหตุเนื่องจากอิทธิพลของพายุเตี้ยนหมู่ เมื่อวันที่ 6 ตุลาคม 2564
ทาให้มวลน้าจานวนมากจากจังหวัดชัยภูมิ และจังหวัดของแก่น ไหลลงมาตามลาน้าชี จนล้นตลิ่งเข้าท่วมพื้นที่ของ
จังหวัดมหาสารคาม ทาให้ระดับน้าที่ ปตร.ห้วยสามสัตย์ สูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง และมีกระแสน้าที่ไหลรุนแรง และเศษ
วัสดุไหลมากระแทกบานระบายน้าจนทาให้บานระบายหลุดออกจากกรอบบาน จานวน 3 บาน ส่งผลให้พื้นที่
การเกษตรที่อยู่สองฝั่งลาห้วยสามสัตย์ ประมาณ 5,000 ไร่ แนวทางแก้ไขปัญหา โดยทาการอุดช่องน้าเพื่อไม่ให้
มวลน้าจานวนมากไหลเข้าลาห้วยสามสัตย์ โดยการใช้บานเดิม และบาน blanket ใส่ในช่อง stop lock ตาม
ด้วยนากล่องเกเบี้ยน และบิ๊กแบ็ก วางลงหน้าบานระบายเพื่อปิดช่องว่างด้านล่างให้สนิท โดยได้รับการสนับสนุน
เครื่องจักเครื่องมือจาก สานักชลประทานที่ 6 ขอนแก่น ส่วนบริหารเครื่องจักรกลที่ 3 และสานักเครื่องจักรกล
หน่วยงานราชการต่าง ๆ พร้อมด้วยชาวบ้านในพื้นที่ ซ่อมแซมแล้วเสร็จเมื่อวันที่ 12 ตุลาคม 2564

ที่มา : โครงการชลประทานมหาสารคาม
(3.2) คันกั้นน้า A1 ขาด บ้านปลาปัด ต.ยางท่าแจ้ง อ.โกสุมพิสัย
สาเหตุเนื่องจากพนังกั้นน้าได้ถูกกัดเซาะจนขาดตั้งแต่วันที่ 9 ตุลาคม
2564 เนื่องจากมวลน้าในแม่น้าชีไหลล้นตลิ่งและย้อนเข้ามาปะทะคันพนังกั้นน้า ทาให้พนังกั้นน้าเสียหายส่งผล
ให้น้าไหลเข้าท่วมพื้นที่การเกษตรเสียหายประมาณ 15,000 ไร่ จึงดาเนินการแก้ไขโดยโครงการส่งน้าและบารุง
รักษาหนองหวายร่วมกับหน่วยงานราชการต่าง ๆ บูรณาการซ่อมแซม และติดตั้งเครื่องสูบน้าเคลื่อนที่ เพื่อเร่ง
ระบายน้าออกจากนาข้าว บรรเทาความเดือดร้อนของเกษตรกร ซ่อมแซมแล้วเสร็จเมื่อวันที่ 14 ตุลาคม 2564

ถอดบทเรียนการป้องกันและแก้ไขปัญหาอุทกภัยจังหวัดมหาสารคาม พ.ศ. 2564


30

ที่มา : โครงการชลประทานมหาสารคาม
(3.3) คันกั้นน้าชีขาดช่วงบริเวณบ้านท่าตูม – บ้านม่วง ต.ท่าตูม อ.เมือง
มหาสารคาม
สาเหตุเนื่องจากเมื่อวันที่ 22 ตุลาคม 2564 ที่พนังกั้นแม่น้าชีช่วง
บริเวณบ้านท่าตูม - บ้านม่วง ห่างจากประตูระบายน้าท่าตูม ประมาณ 300 เมตร น้าชีได้กัดเซาะเกิดรอยรั่ว
ขนาดใหญ่ ทาให้น้าทะลักเข้าท่วมพื้นที่นาข้าวของชาวบ้านหนองหวาย หมู่ 9 ต.ลาดพัฒนา อย่างรวดเร็ว พื้นที่
การเกษตรเสียหายประมาณ 5,000 ไร่ จึงดาเนินการแก้ไขโดยเจ้าหน้าที่โครงการชลประทาน ทหาร หน่วยงาน
ราชการต่าง ๆ ตลอดจนชาวบ้าน ต่างเร่งช่วยปักไม้ยูคาและเสาไฟฟ้าวางกวางกั้นทางน้า กรอกกระสอบทราย
แล้ววางทับด้วยกล่องแกเบี้ยนเพื่อป้องกันการขยายตัวของคันกั้น ซ่อมแซมแล้วเสร็จ ภายใน 22 ตุลาคม 2564
ระยะเวลาดาเนินการ 15 ชั่วโมง

ที่มา : โครงการชลประทานมหาสารคาม
ถอดบทเรียนการป้องกันและแก้ไขปัญหาอุทกภัยจังหวัดมหาสารคาม พ.ศ. 2564
31

3.4) จุดพนังกั้นน ้ารั่ว ด าเนินการแก้ไขโดยเจ้า หน้า ที่ช ลประทาน ทหาร


หน่วยงานราชการต่าง ๆ ตลอดจนชาวบ้าน ต่างเร่งช่วยปักไม้ยูคา และเสาไฟฟ้าวางกวางกั้นทางน ้า กรอก
กระสอบ แล้ววางทับด้วยกล่องแกเบี้ยนเพื่อป้องกันการขยายตัวของคันกั้น
จุดที่ 1 จุดน้ารั่วของท่อลอดบริเวณบ้ านคุยโพธิ์ ต.ลาดพัฒนา อ.เมื อง-
มหาสารคาม วันที่ 15 ตุลาคม 2564
จุดที่ 2 จุดน้าชีลอดเข้าพนังกั้นน ้าบ้ านคุยโพธ์ ต.ลาดพัฒนา อ.เมือง-
มหาสารคาม วันที่ 16 ตุลาคม 2564
จุดที่ 3 จุดน้ารั่วลอดพนังกั้นน้าบ้ านหนองหวาย ต.ลาดพัฒนา อ.เมือง-
มหาสารคาม วันที่ 16 ตุลาคม 2564
จุ ด ที ่ 4 จุ ด น ้ า รั ่ ว ของท่ อ ลอดบ้ า นบุ ่ ง คล้ า ต.ลาดพั ฒ นา อ.เมื อ ง-
มหาสารคาม วันที่ 17 ตุลาคม 2564
จุดที่ 5 จุดน้ารั่วของท่อลอดบริเวณบ้านหนองหวาย ต.ลาดพัฒนา อ.เมือง-
มหาสารคาม วันที่ 17 ตุลาคม 2564
จุดที่ 6 จุดน้ารั่วลอดพนังกั้นน้าบ้ านหนองหวาย ต.ลาดพัฒนา อ.เมือง-
มหาสารคาม วันที่ 22 ตุลาคม 2564
จุดที่ 7 จุดน้ารั่วลอดพนังกั้นน้าบ้ านหนองหวาย ต.ลาดพัฒนา อ.เมือง-
มหาสารคาม วันที่ 25 ตุลาคม 2564
จุดที่ 8 จุดน้ารั่วของท่อลอดบริเวณบ้านท่าประทายโนนตูม ต.เกิ้ง อ.เมือง-
มหาสารคาม
จุดที่ 9 จุดน้ารั่วลอดพนังกั้นน้าบ้ านหนองหวาย ต.ลาดพัฒนา อ.เมือง-
มหาสารคาม วันที่ 6 พฤศจิกายน 2564
จุดที่ 10 จุดน้ารั่วพนังกั้นน้าชี เขื่อนวังยาง บ้ านท่าตูม ต.ท่าตูม อ.เมือง-
มหาสารคาม วันที่ 12 พฤศจิกายน 2564
3.4) การบริหารจัดการน้า
3.4.1) ดาเนินการสูบระบายน้าโดยใช้เครื่องสูบน้าด้วยไฟฟ้า จานวน 6 สถานี โดยใช้
เงินทดรองราชการเพื่อช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติกรณีฉุกเฉิน (เชิงบรรเทาความเดือดร้อน) ได้แก่
(1) โรงสูบน้าห้วยน้าเค็ม ต.หนองบัว อ.โกสุมพิสัย สูบน้าตั้งแต่วันที่ 3 ตุลาคม –
20 พฤศจิกายน 2564 รวม 49 วัน
(2) โรงสูบน้าห้วยเชียงส่ง ต.เลิงใต้ อ.โกสุมพิสัย สูบน้าตั้งแต่วันที่ 3 ตุลาคม –
20 พฤศจิกายน 2564 รวม 49 วัน
(3) โรงสูบน้าห้วยสามสัตย์ ต.เขวาใหญ่ อ.กันทรวิชัย สูบน้าตั้งแต่วันที่ 9 ตุลาคม –
20 พฤศจิกายน 2564 รวม 43 วัน

ถอดบทเรียนการป้องกันและแก้ไขปัญหาอุทกภัยจังหวัดมหาสารคาม พ.ศ. 2564


32

(4) โรงสูบน้าท่าสองคอน ต.ท่าสองคอน อ.เมืองมหาสารคาม สูบน้าตั้งแต่วันที่


9 ตุลาคม – 20 พฤศจิกายน 2564 รวม 43 วัน
(5) โรงสูบน้ากุดเชียงสา ต.ท่าตูม อ.เมืองมหาสารคาม สูบน้าตั้งแต่วันที่ 9 ตุลาคม
– 20 พฤศจิกายน 2564 รวม 43 วัน
(6) โรงสูบน้าท่าตูม ต.ท่าตูม อ.เมืองมหาสารคาม สูบน้าตั้งแต่วันที่ 9 ตุลาคม –
20 พฤศจิกายน 2564 รวม 43 วัน
3.4.2) สนับสนุนเครื่องผลักดันน้าเพื่อเร่งระบายน้าในแม่น้าชี บริเวณที่มีสภาวะการ
ไหลลดลง โดยติดตั้งเครื่องผลักดันน้าเพิ่มเติมที่สะพานข้ามแม่น้าชี อ.โกสุมพิสัย เขื่อนมหาสารคาม และเขื่อน
วังยาง รวม 56 เครื่อง ควบคู่ไปกับการกาจัดวัชพืช สิ่งกีดขวางทางน้า เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการระบายน้าใน
แม่น้าชี

ที่มา : โครงการชลประทานมหาสารคาม
3.4.3) ดาเนินการสูบน้าออกจากพื้นที่การเกษตรถูกน้าท่วม
(1) ศูนย์ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย เขต 6 ขอนแก่น สนับสนุนเครื่องสูบน้า
เคลื่อนที่ ดังนี้
(1.1) วันที่ 31 ตุลาคม - 24 พฤศจิกายน 2564 ณ ต.ยางท่าแจ้ง อ.โกสุมพิสัย
สนับสนุนรถปฏิบัติการเคลื่อนย้ายผู้ประสบภัย 1 คัน เครื่องสูบน้าติดตั้งเทรลเลอร์ (14 นิ้ว) จานวน 1 คัน
รถบรรทุกขนาดเล็กแบบตอนครึ่ง จานวน 1 คัน เข้าปฏิบัติภารกิจบรรเทาปัญหาอุทกภัย ด้วยการสูบพร่องน้า
ในพื้นที่การเกษตร
(1.2) วันที่ 31 ตุล าคม – 24 พฤศจิกายน 2564 ณ ต.ขามเรียง และ
ต.ท่าขอนยาง อ.กันทรวิชัย สนับสนุนรถปฏิบัติการเคลื่อนย้ายผู้ประสบภัย 1 คัน รถปฏิบัติการบรรเทาอุทกภัย
พร้อมเครื่องสูบน้าขนาดใหญ่ จานวน 1 คัน รถบรรทุกลากเรือยนต์พร้อมอุปกรณ์ จานวน 1 คัน เข้าปฏิบัติ
ภารกิจบรรเทาปัญหาอุทกภัย ด้วยการสูบพร่องน้าท่วมขังในเขตบ้านเรือนประชาชน
(1.3) วันที่ 9 พฤศจิกายน – 18 พฤศจิกายน 2564 ณ ต.เกิ้ง อ.เมือง-
มหาสารคาม สนับสนุนรถบรรทุกลากเรือยนต์พร้อมอุปกรณ์ จานวน 1 คัน เครื่องสูบน้าติดตั้งเทรลเลอร์ (14 นิ้ว)
จานวน 1 คัน เข้า ปฏิบัติภารกิจบรรเทาปัญหาอุทกภัย ด้วยการสูบพร่องน้าท่วมขังในเขตบ้านเรือนประชาชน
ถอดบทเรียนการป้องกันและแก้ไขปัญหาอุทกภัยจังหวัดมหาสารคาม พ.ศ. 2564
33

(1.4) วันที่ 9 พฤศจิกายน – 18 พฤศจิกายน 2564 ณ ต.ท่าขอนยาง อ.เมือง


มหาสารคาม สนับสนุนรถปฏิบัติการเคลื่อนย้ายผู้ประสบภัย 1 คัน รถกู้ภัยเคลื่อนที่เร็วพร้อมอุปกรณ์ 1 คัน
เครื่องสูบน้าติดตั้งเทรลเลอร์ (14 นิ้ว) จานวน 1 คัน เข้า ปฏิบัติภารกิจบรรเทาปัญหาอุทกภัย ด้วยการสูบพร่อง
น้าท่วมขังในเขตบ้านเรือนประชาชน

ที่มา : ศูนย์ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย เขต 6 ขอนแก่น


3.4.4) โครงการชลประทานมหาสารคาม สนับสนุนเครื่องสูบน้า จานวน 19 เครื่อง
3.5) ภารกิจด้านการสื่อสารและประชาสัมพัน ธ์ข่าวสาร จัดตั้งศูนย์ข้อมูลข่าวสาร (Joint
Information Center : JIC) ระดับจังหวัด ณ สานักงานประชาสัมพันธ์จังหวัด มหาสารคาม เพื่อเป็นศูนย์กลาง
บูรณาการข้อมูลข่าวสารและการประชาสัมพันธ์ในภาวะฉุกเฉินที่มีเอกภาพ ผู้แทนหน่วยงานที่เกี่ยวข้องโดยตาม
โครงสร้างศูนย์บัญชาการฯ ระดับจังหวัดจะประสานข้อมูลและสนับสนุนการปฏิบัติของศูนย์ข้อมูลข่าวสารร่วม
โดยแนวทางการสื่อสารกับกลุ่มเป้าหมาย ดังนี้
3.5.1) สื่อสารกับ หน่ว ยงานที ่เ กี่ย วข้ อ ง น าข้อมูล จากที ่ป ระชุ ม ศู นย์บ ัญ ชาการ
เหตุการณ์จังหวัดมหาสารคาม ซึ่งอาจเป็นมติที่ประชุม นโยบายการปฏิบัติ การมอบหมายภารกิจให้หน่วยงาน
มาจัดทาสื่อประชาสัมพันธ์ หรือประสานงานร่วมกันกับสานักงานป้องกันและบรรเทาสารธารณภัยจังหวัด
เพื่อให้เกิดการบูร ณาการร่ว มกัน เพื่อลดความขัดแย้งด้านข้อมูล ข่าวสารจากการท างานร่ว มกันระหว่า ง
เจ้าหน้าที่จากหน่วยงานต่าง ๆ

ถอดบทเรียนการป้องกันและแก้ไขปัญหาอุทกภัยจังหวัดมหาสารคาม พ.ศ. 2564


34

3.5.2) สื่อสารกับประชาชนกลุ่มทั่วไป และกลุ่มเสี่ยงประสบภัย ประสานงานร่วมกับ


ศูนย์บัญชาการเหตุการณ์จังหวัดมหาสารคาม และหน่วยงานเจ้าของข้อมูลต่าง ๆ ที่เกี่ยว เพื่อเร่งดาเนินการ
ผลิตสื่อประชาสัมพันธ์ให้เร็วที่สุด เพื่อแจ้งเตือนภัยให้กับประชาชนที่อาศัยในพื้นที่เสี่ยง และเพิ่มความถี่ในการ
แจ้งเตือนมากยิ่งขึ้น โดยขอความร่วมมือจากเครือข่ายด้านการประชาสัมพันธ์ หอกระจายข่าว สถานีวิทยุชุมชน
เผยแพร่ข่าวให้เข้าถึงประชาชนกลุ่มเสี่ยงให้มากที่สุด
3.6) ภารกิจด้านรับบริจาค
3.6.1) จัดตั้งศูนย์รับบริจาคทุกระดับ โดยในพื้นที่ให้ศูนย์บัญชาการณ์เหตุการณ์
อาเภอรับผิดชอบในการบริหารจัดการสิ่งของบริจาคเพื่อให้ความช่วยเหลือผู้ประสบภัย

ที่มา: อ.โกสุมพิสัย, อ.กันทรวิชัย, อ.เมืองมหาสารคาม, สานักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดมหาสารคาม

ถอดบทเรียนการป้องกันและแก้ไขปัญหาอุทกภัยจังหวัดมหาสารคาม พ.ศ. 2564


35

3.6.2) กองทุนเงินช่วยเหลือผู้ประสบสาธารณภัยสานักนายกรัฐมนตรี
จังหวัดมหาสารคาม ได้รับเงินช่วยเหลือจากคณะกรรมการกองทุนเงินช่วยเหลือ
ผู้ประสบสาธารณภัย สานักนายกรัฐมนตรี เพื่อจัดหาถุงยังชีพให้แก่ผู้ได้รับผลกระทบจากอุทกภัย ตามระเบียบ
สานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการรับบริจาคและการให้ความช่วยเหลือผู้ประสบสาธารณภัย พ.ศ. 2542 และ
ที่แก้ไขเพิ่มเติม โดยที่ทาการปกครองจังหวัดมหาสารคาม รับผิดชอบในการจัดหาถุงยังชีพผู้ได้รับผลกระทบ
จากอุทกภัย จานวน 300 ชุด ให้แก่ผู้ได้รับผลกระทบจากอุทกภัยในพื้นที่จังหวัดมหาสารคาม จานวน 4 จุด
ดังนี้
จุดที่ 1 ณ บริเวณองค์การบริหารส่วนตาบลลาดพัฒนา อ.เมืองมหาสารคาม
จานวน 114 ครัวเรือน
จุดที่ 2 ณ บริเวณโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจาตาบลบุ่งคล้า ต.ลาดพัฒนา
อาเภอเมืองมหาสารคาม จานวน 75 ครัวเรือน
จุดที่ 3 ณ บริเวณวัดวารินทราวาส บ้านท่าตูม ต.ท่าตูม อ.เมืองมหาสารคาม
จานวน 69 ครัวเรือน
จุดที่ 4 ณ บริเวณบ้านกุดเวียน ต.ท่าตูม อ.เมืองมหาสารคาม จานวน 53 ครัวเรือน
2.2.3 หลังเกิดภัย
1) การฟื้นฟูพื้นที่ประสบภัย
เป็นการบูรณะที่อยู่อาศัย โครงสร้างพื้นฐานต่าง ๆ ที่ได้รับความเสียหายจากเหตุการณ์
สาธารณภัยให้กลับสู่สภาพที่สามารถใช้งานได้ดังเดิม ดังนี้
1.1) ทาความสะอาดบ้านเรือน ชุมชน และสิ่งสาธารณประโยชน์ ในพื้นที่ประสบภัยและ
ขนย้ายขยะมูลฝอย
1.2) หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงสร้างพื้นฐานนั้น ๆ ดาเนินการฟื้นฟู ซ่อมแซม และบูรณะ
โครงการที่ได้รับความเสียหายโดยให้หน่วยงานสารวจความเสียหายของหน่วยงานและรายงานผลการส ารวจ
ความเสียหายจากภัยพิบัติกรณีฉุกเฉินต่อคณะกรรมการช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติจังหวัด (ก.ช.ภ.จ.) เพื่อพิจารณา
รับรองความเสียหายและขอรับการสนับสนุนงบประมาณในการซ่อมแซมจากต้นสังกัดต่อไปดังนี้
1.2.1) ทางหลวงแผ่ น ดิ น และเส้ น ทางคมนาคม ด าเนิ น การโดยแขวงทางหลวง
มหาสารคาม แขวงทางหลวงชนบทมหาสารคาม สานักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัดมหาสารคาม องค์การ
บริหารส่วนจังหวัดมหาสารคาม และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในพื้นที่
1.2.2) ระบบไฟฟ้า ดาเนินการโดยการไฟฟ้าส่วนภูมิภาคจังหวัดมหาสารคาม
1.2.3) ระบบประปา ดาเนินการโดยการประปาส่วนภูมิภาคสาขามหาสารคาม
1.2.4) ระบบชลประทาน พนั ง กั ้ น น ้ า ด าเนิ น การโดยโครงการชลประทาน
มหาสารคาม
1.2.5) ระบบโทรคมนาคมและการติดต่อสื่อสาร ดาเนินการโดยบริษัท โทรคมนาคม
แห่งชาติ สาขามหาสารคาม
ถอดบทเรียนการป้องกันและแก้ไขปัญหาอุทกภัยจังหวัดมหาสารคาม พ.ศ. 2564
36

1.2.6) ซ่อมแซมสถานที่ราชการ โรงเรียน สถานศึกษา วัด โบราณสถาน และสถานที่


ท่องเที่ยวให้ใช้งานได้ดังเดิม

ที่มา : แขวงทางหลวงมหาสารคาม
2) ให้ความช่วยเหลือเกษตรกรผู้ประสบภัยพิบัติกรณีฉุกเฉิน (อุทกภัย)
อาเภอและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องประสานการปฏิบัติกับคณะกรรมการช่วยเหลือผู้ประสบภัย
พิบัตกิ รณีฉุกเฉินอาเภอ (ก.ช.ภ.อ.) สารวจความเสียหายจากภัยพิบัติกรณีฉุกเฉินโดยเร็ว เพื่อพิจารณาช่วยเหลือ
ผู้ประสบภัยตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่กระทรวงการคลังกาหนด และรายงานผลการสารวจความเสียหาย
จากภัยพิบัติกรณีฉุกเฉินต่อคณะกรรมการช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติจังหวัด (ก.ช.ภ.จ.) เพื่อพิจารณาดาเนินการ
ช่วยเหลือผู้ประสบภัย โดยมีการดาเนินการให้ความช่วยเหลือ ดังนี้
2.1) สานักงานเกษตรจังหวัดมหาสารคาม รายงานการให้ความช่วยเหลือเกษตรกรผู้ประสบภัย
พิบัติกรณีฉุกเฉิน (อุทกภัย) ด้านพืช 5 อาเภอ พื้นที่การเกษตรเสียหาย 123,288.12 ไร่ เกษตรกร 11,694 ราย
วงเงินให้ความช่วยเหลือ 167,921,928.95 บาท
2.2) ส านักงานประมงจังหวัดมหาสารคาม รายงานการให้ความช่ว ยเหลือเกษตรกร
ผู้ประสบภัยพิบัติกรณีฉุกเฉิน (อุทกภัย) ด้านประมง 4 อาเภอ พื้นที่การเกษตรด้านประมงเสียหาย 315,725 ไร่
เกษตรกร 509 ราย วงเงินให้ความช่วยเหลือ 2,762,544.45 บาท
2.3) ส านักงานปศุส ัตว์ จังหวัดมหาสารคาม รายงานการให้ความช่ว ยเหลือเกษตรกร
ผู้ประสบภัยพิบัติกรณีฉุกเฉิน (อุทกภัย) ด้านปศุสัตว์ 3 อาเภอ วงเงินให้ความช่วยเหลือ 1,955,460 บาท
3) การฟื้นฟูสุขภาวะของผู้ประสบภัย
สานักงานสาธารณสุขจังหวัดมหาสารคาม โรงพยาบาลในเขตพื้นที่ประสบภัยเป็นหน่วยงานหลัก
ร่วมกับทีมเขตสุขภาพที่ 7 และทีม MCATT ในพื้นที่ 3 อาเภอ ที่ได้รับผลกระทบดาเนิน การฟื้นฟูสุขภาวะ
ของผู้ประสบภัย ได้แก่ ด้านสมรรถภาพทางกายของผู้ประสบภัย (การตรวจรักษา ป้องกัน ควบคุมโรค และ
การฟื้นฟูความแข็งแรงทางร่างกาย) รวมถึงการฟื้นฟูด้านสภาพจิตใจและจิตสังคมของผู้ได้รับผลกระทบตลอดจน
การกระตุ้นและช่วยเหลือให้เกิดการปรับตัวให้เข้ากับการเปลี่ยนแปลงตามความจาเป็น โดย ออกปฏิบัติการ
เยียวยาจิตใจประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากอุทกภัย ดังนี้
ถอดบทเรียนการป้องกันและแก้ไขปัญหาอุทกภัยจังหวัดมหาสารคาม พ.ศ. 2564
37

วันที่ 14 ตุลาคม 2564 ออกปฏิบัติงานในพื้นที่บ้านปลาปัด หมู่ 3 ต.ยางท่าแจ้ง อ.โกสุมพิสัย


วันที่ 16 ตุลาคม 2564 ออกปฏิบัติงานในพื้นที่ ต.เกิ้ง, ต.ลาดพัฒนาและต.ท่าตูม อ.เมือง-
มหาสารคาม
วันที่ 20 ตุลาคม 2564 ออกปฏิบัติงานในพื้นที่บ้านใคร่นุ่น หมู่ 10 และ 15, บ้านกุดเวียง
หมู่ 6, หนองหญ้าม้า หมู่ 11, โขงใหญ่ หมู่ 12, และโนนทัน หมู่ 14 ต.มะค่า อ.กันทรวิชัย
วันที่ 25 ตุลาคม 2564 ออกปฏิบัติงานในพื้นที่บ้านเลิงบัว หมู่ 1 หมู่ 4 และหมู่ 11 ต.เลิงใต้
อ.โกสุมพิสัย

ที่มา: สานักงานสาธารณสุขจังหวัดมหาสารคาม
ผลการดาเนินงาน พบว่า มีผู้เข้ารับบริการสุขภาพกายและจิตรวม 198 ราย ทางด้านจิตใจ
พบผู้มีภาวะเครียดระดับน้อย 91 ราย คิดเป็นร้อยละ 45.95, เครียดปานกลาง 4 ราย คิดเป็นร้อยละ 2.02,
จิตแพทย์และนักจิตวิทยาให้ค าปรึกษาจึงได้ให้ค าปรึกษาด้านเบื้องต้นทุกรายและค าปรึกษา “จิตบ าบัด
ประคับประคอง” 27 ราย, ให้ยาทางด้านจิตเวช 35 ราย, นาเข้าสู่ระบบการส่งต่อเพื่อการรักษาทางจิต 10 ราย,
ปรับระบบการรักษาทางจิตเวช 1 ราย, เยี่ยมบ้าน 24 ราย โดยเป็นผู้ป่วยทางจิต 5 ราย ที่เหลือเป็นผู้ป่วยติดเตียง
และกลุ่มเปราะบาง 19 ราย, ด้านร่างกาย พบว่า มีประชาชน 5 ราย ที่ได้รับการส่งต่อเพื่อการรักษาเนื่องจาก
มีอาการเท้าบวมอักเสบ เป็นแผล, เบาหวาน, ความดันโลหิตสูง เป็นต้น สุดท้าย ประชาชนที่ได้รับผลกระทบ
จากอุทกภัย มีความพึงพอใจต่อการให้บริการสุขภาพจิตและกาย ในระดับมากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 100

ถอดบทเรียนการป้องกันและแก้ไขปัญหาอุทกภัยจังหวัดมหาสารคาม พ.ศ. 2564


38

4) การสงเคราะห์ผู้เสียชีวิตจากอุทกภัย
4.1) วันที่ 16 มีนาคม 2565 กองทุนช่วยเหลือผู้ประสบสาธารณภัย สานักนายกรัฐมนตรี
โดย นายเกียรติศักดิ์ ตรงศิริ ผู้ว่าราชการจังหวัดมหาสารคาม ได้มอบเงินช่วยเหลือให้แก่ครอบครัวผู้เสียชีวิต
จากอุทกภัย จานวน 4 ราย เพื่อเป็นค่าจัดการศพรายละ 50,000 บาท เป็นเงิน 200,000 บาท และเงินทุนเลี้ยง
ชีพแก่ครอบครัวผู้เสียชีวิต จ านวน 4 ราย ๆ ละ 30,000 บาท เป็นเงิน 120,000 บาท รวมเป็นเงินทั้งสิ้น
320,000 บาท
4.2) วันที่ 5 เมษายน 2565 นายเกียรติศักดิ์ ตรงศิริ ผู้ว่าราชการจังหวัดมหาสารคาม
ประธานมูลนิธิราชประชานุเคราะห์ในพระบรมราชูปถัมภ์ประจาจังหวัดมหาสารคาม เป็นประธานพิธีมอบเงิน
เงินสารองจ่ายมูลนิธิราชประชานุเคราะห์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ เพื่อช่วยเหลือครอบครัวผู้เสียชีวิตจากเหตุ
อุทกภัย จานวน 5 ราย ครอบครัวละ 10,000 บาท (หนึ่งหมื่นบาทถ้วน)

ที่มา : สานักงานประชาสัมพันธ์จังหวัดมหาสารคาม
5) สนับสนุนเงินทดรองราชการให้ความช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติ (กรณีอุทกภัย) ด้านการดารงชีพ
คณะกรรมการให้ความช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติจังหวัดมหาสารคาม (ก.ช.ภ.จ.มค.) มีมติ
เห็นชอบสนับสนุนเงินทดรองราชการให้ความช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติ (กรณี อุทกภัย) ด้านการดารงชีพ
เพื่อเป็นค่าวัสดุซ่อมแซมที่อยู่อาศัยประจา และค่าวัสดุซ่อมแซมหรือก่อสร้างยุ้งข้าว/โรงเรือน/คอกสัตว์ ในพื้นที่
3 อาเภอ ดังนี้
5.1 อ.กันทรวิชัย จานวน 4 ตาบล 46 หมู่บ้าน ราษฎรประสบภัย 714 ครัวเรือน
5.2 อาเภอโกสุมพิสัย จานวน 6 ตาบล 33 หมู่บ้าน ราษฎรประสบภัย 505 ครัวเรือน
5.3 อาเภอเมืองมหาสารคาม จานวน 11 หมู่บ้าน ราษฎรประสบภัย 343 ครัวเรือน

ถอดบทเรียนการป้องกันและแก้ไขปัญหาอุทกภัยจังหวัดมหาสารคาม พ.ศ. 2564


39

บทที่ 3
ปัจจัยควำมสำเร็จและควำมพึงพอใจ
3.1 ปัจจัยควำมสำเร็จ
3.1.1 มีการบริห ารจัดการสาธารณภัยอย่างเป็นระบบ โดยน าระบบบัญชาการเหตุการณ์มาใช้
ในการบริหารจัดการตามพระราชบัญญัติป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ. 2550 ซึ่งเป็นกฎหมายหลั ก
ในการบริ ห ารจั ด การสาธารณภั ย และตามแผนเผชิ ญ เหตุ ท ี ่ ไ ด้ ก าหนดไว้ โดยมี ผ ู ้ บ ั ญ ชาการเหตุ ก ารณ์
คือ ผู้ว่าราชการจังหวัดมหาสารคาม เป็นผู้ควบคุม ตัดสินใจ และสั่ งการอย่างเป็นระบบ ทาให้กลไกการจัดการ
สาธารณภัยมีความชัดเจนในด้านโครงสร้างองค์กร ตั้งแต่การเฝ้าระวัง ติดตามสถานการณ์ การแจ้งเตือน
การเผชิญเหตุ การจัดการในภาวะฉุกเฉิน และการให้ความช่วยเหลือและบรรเทาทุกข์ทั้งขณะเกิดเหตุการณ์
จนถึงการเยียวยา ฟื้นฟูผู้ประสบภัยและประสบภัย
3.1.2 หน่วยงานทุกภาคส่วนทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน องค์กรสาธารณกุศล มูลนิธิ จิตอาสา ได้ร่วม
ปฏิบัติงานอย่างเต็มกาลัง เป็นระบบ มีเอกภาพ ไม่เกิดความซ้าซ้อนในการปฏิบัติงาน แม้ว่าจะมีปัญหาขาดแคลน
บุคลากรในการใช้เครื่องมือ เครื่องจักรในการแก้ไขปัญหาอุทกภัย ก็ได้รับความร่วมมือจากบุคลากรด้านสาธารณภัย
ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเข้ามามีส่วนร่วม และฝึกการใช้เรือและอุปกรณ์ จนสามารถใช้งานเองได้
3.1.3 ผู้บริหารระดับนโยบายให้ความส าคัญในการจัดการสาธารณภัย โดยมีการประชุมติดตาม
สถานการณ์ ร ่ว มกับ อ าเภอที ่เ กิด อุ ท กภั ยเป็ น ประจ าทุก วั น ผ่า นระบบ Web Conference เพื ่ อ รั บ ทราบ
สถานการณ์ ปัญหา และอุปสรรคในการดาเนินการ ทาให้ กระบวนการจัดการมีประสิทธิภาพสามารถแก้ไข
ปัญหาได้อย่างทันท่วงที
3.1.4 มีการบูรณาการการช่วยเหลือ เยียวยา และฟื้นฟูของหน่วยงานต่าง ๆ ทาให้ลดความซ้าซ้อน
ในการปฏิบัติและครอบคลุมทุกพื้นที่ประสบภัย
3.1.5 ประชาชนส่วนใหญ่มีความเชื่อมั่นในการปฏิบัติงานของหน่วยงานที่เข้าไปช่วยเหลือ และ
ให้ความร่วมมือเจ้าหน้าที่เป็นอย่างดี

3.2 ควำมพร้อมของหน่วยงำนในกำรช่วยเหลือผู้ประสบอุทกภัย
จังหวัดมหาสารคาม โดยสานักงานสถิติจังหวัดมหาสารคาม ได้สรุปผลการสารวจความคิดเห็น จาก
หน่วยงานราชการ/หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เกี่ยวกับแนวทางให้ความช่วยเหลือผู้ประสบอุทกภัยของประชาชนใน
จังหวัดมหาสารคาม พ.ศ. 2564 โดยท าการส ารวจ จ านวน 48 หน่วยงาน หน่วยงานละ 1 ตัวอย่าง พบว่า
เป็นหน่วยงานสนับสนุน ร้อยละ 79.1 หน่วยงานหลัก ร้อยละ 16.7 และอื่น ๆ ร้อยละ 4.2
เมื่อสอบถามหน่วยงานหลักถึงการวางแผนเตรียมการล่วงหน้าเพื่อช่วยเหลือผู้ประสบอุทกภัยไว้
หรือไม่ พบว่า ได้เตรียมการไว้แล้ว

ถอดบทเรียนการป้องกันและแก้ไขปัญหาอุทกภัยจังหวัดมหาสารคาม พ.ศ. 2564


40

เมื่อสอบถามถึงหน่วยงานของท่านมีความพร้อมที่จะช่วยเหลือผู้ประสบอุทกภัยในปี 2564 ในระดับใด


พบว่า มีความพร้อมมาก ร้อยละ 43.8, มีความพร้อมปานกลาง ร้อยละ 35.4, มีความพร้อมมากที่สุด ร้อยละ
10.4, มีความพร้อมน้อย ร้อยละ 8.3 และมีความพร้อมน้อยที่สุด ร้อยละ 2.1

ที่มา : สานักงานสถิติจังหวัดมหาสารคาม
เมื่อสอบถามถึงการช่วยเหลือผู้ประสบอุทกภัยในปี 2564 ว่าได้ช่วยเหลือผู้ประสบอุทกภัยในด้านใดบ้าง
พบว่าให้การช่วยเหลือในด้านต่าง ๆ ดังนี้
1. ด้านประชาสัมพันธ์แจ้งข้อมูลข่าวสาร การติดตามสถานการณ์น้า ผ่านช่องทางการสื่อสารทุกช่องทาง
2. มอบถุงยังชีพ เครื่องอุปโภค-บริโภคให้แก่ผู้ประสบอุทกภัย
ถอดบทเรียนการป้องกันและแก้ไขปัญหาอุทกภัยจังหวัดมหาสารคาม พ.ศ. 2564
41

3. ด้านการแพทย์ และสาธารณสุข เช่น การดูแลผู้ป่วย การฟื้นพูสุขภาพ และด้านเวชภัณฑ์และมิใช่ยา


4. การช่วยเหลือลงทะเบียนเกษตรแก่ผู้ประสบอุทกภัย ด้านพืช
5. การปรับปรุงสาธารณูปโภค เช่น ซ่อมแซมถนน ซ่อมแซมพาหนะ และซ่อมแซมบ้านเรือน เป็นต้น
6. ด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม และอาชีวอนามัยและความปลอดภัย เช่น การกาจัดขยะ ดูแลน้าเสีย และ
สภาพแวดล้อม เป็นต้น
7. สนับสนุนเครื่องจักร/เครื่องมือ เช่น เครื่องสูบน้าเคลื่อนที่ รถขุด รถยกสูง เรือ เป็นต้น
8. สารวจพื้นที่บริเวณที่มีการกัดเซาะตลิ่ง เพื่อดาเนินการปรับปรุงแก้ไขต่อไป
9. ด้านอานวยความสะดวกการจราจรและการเดินทาง (บริการพาหนะ)
10. ให้คาปรึกษาในด้านการประกอบอาชีพการทางาน
11. ให้ข้อมูลสถิติ และข้อมูลเกี่ยวกับมิจฉาชีพทางออนไลน์
12. ฟื้นฟูพันธุ์พืชหลังน้าลด

3.3 สรุปผลกำรสำรวจควำมคิดเห็นจำกประชำชนที่ได้ผลกระทบอุทกภัย
จังหวัดมหาสารคาม โดยส านักงานสถิ ติจังหวัดมหาสารคาม ได้สรุปผลการส ารวจความคิ ดเห็ น
จากประชาชน ประสบอุทกภัยในปี พ.ศ. 2564 ในพื้นที่ 3 อาเภอ 15 ตาบล 93 หมู่บ้าน ที่ตั้งอยู่ติดแม่น้าชี
โดยสารวจความคิดเห็นของประชาชนที่อยู่ในพื้นที่อุทกภัยจานวน 370 ตัวอย่าง ดังนี้
เมื่อสอบถามถึงความพึงพอใจของประชาชนในพื้นที่ที่ได้รับผลกระทบจากอุทกภัย เกี่ยวกับการได้รับ
ความช่วยเหลือในภาพรวมจากหน่วยงานต่าง ๆ ในจังหวัดมหาสารคาม ว่าอยู่ในระดับใด พบว่า ความพึงพอใจ
ที่ได้รับความช่วยเหลือเกื้อกูลกันภายในชุมชน/หมู่บ้าน/ตาบล/อาเภอ ในระดับปานกลาง ร้อยละ 42.8 และระดับมาก
ร้อยละ 41.1 โดยมีค่าเฉลี่ยความพึงพอใจ ร้อยละ 70.8 (พอใจระดับมาก)
เมื่อสอบถามถึงความพึงพอใจต่อหน่วยงานต่าง ๆ ที่ให้ความช่วยเหลือในขั้นตอนการให้บริการ ในระดับ
ปานกลาง ร้อยละ 44.0 และระดับมาก ร้อยละ 39.5 โดยมีค่าเฉลี่ยความพึงพอใจ ร้อยละ 69.4 (พอใจระดับมาก)
เมื่อสอบถามถึง ความพึงพอใจต่อบริการของเจ้าหน้าที่ผู้ให้บริการ (ก่อนน้าท่วม ช่วงน้าท่วม และ
หลังน้าท่วม) ในระดับปานกลาง ร้อยละ 44.6 และระดับมาก ร้อยละ 34.6 โดยมีค่าเฉลี่ยความพึงพอใจ ร้อยละ
69.2 (พอใจระดับมาก)
เมื่อสอบถามถึงความพึงพอใจต่อเครื่องมือ/เครื่องจักร/อุปกรณ์ ที่ใช้สาหรับช่วยเหลือผู้ประสบอุทกภัย
ในระดับปานกลาง ร้อยละ 44.6 และระดับมาก ร้อยละ 33.8 และ โดยมีค่าเฉลี่ยความพึงพอใจ ร้อยละ 67.8 (พอใจ
ระดับมาก)
เมื่อสอบถามถึงความพึงพอใจในภาพรวมต่อหน่วยงานและคณะบุคคลต่าง ๆ ที่ให้ความช่วยเหลือในระดับ
ปานกลาง ร้อยละ 44.1 และระดับมาก ร้อยละ 39.5 โดยมีค่าเฉลี่ยความพึงพอใจ ร้อยละ 71.0 (พอใจระดับมาก)

ถอดบทเรียนการป้องกันและแก้ไขปัญหาอุทกภัยจังหวัดมหาสารคาม พ.ศ. 2564


42

ที่มา : สานักงานสถิติจังหวัดมหาสารคาม

ถอดบทเรียนการป้องกันและแก้ไขปัญหาอุทกภัยจังหวัดมหาสารคาม พ.ศ. 2564


43

บทที่ 4
ปัญหำ/อุปสรรค และข้อเสนอแนะ
4.1 ด้ำนข้อมูล
ปัญหำ/ อุปสรรค
1) การคาดการณ์สถานการณ์น้าฝน – น้าท่า เป็นเพียงแนวทางในการเตรียมตัวเบื้องต้นเท่านั้น เนื่องจาก
มีโอกาสคลาดเคลื่อนค่อนข้างสูง เนื่องจากมีเหตุปัจจัยหลายด้าน เช่น ปริมาณน้าฝนจะต้องเชื่อมโยงหลายจังหวัด
ที่เกี่ยวข้อง, ปริมาณน้าท่า จากพื้นที่ทางตอนเหนือ จากพื้นที่จังหวัดมหาสารคาม และปริมาณการระบายน้า
เขื่อนอุบลรัตน์
2) หน่วยงานในพื้นที่ เช่น ที่ทาการปกครองอาเภอที่ติดแม่น้าชีขาดข้อมูลด้านความแข็งแรงของบานประตู
ระบายน้าต่าง ๆ ตามลาน้าชี
3) การรายงานข้อมูลสาธารณภัย ทั้งสถานการณ์และการการให้ความช่วยเหลือของแต่ละหน่วยงาน
ที่เข้าไปดาเนินการยังไม่ชัดเจนและเพียงพอต่อการนาข้อมูลมาวิเคราะห์สถานการณ์ปัจจุบัน
ข้อเสนอแนะ
1) การวิเคราะห์พื้นที่เสี่ยงภัยจะต้องใช้ข้อมูลจานวนมาก ซึ่งปัจจุบัน สานักทรัพยากรน้าแห่งชาติ มีการ
คาดการณ์สถานการณ์น้าในช่วงฤดูฝนแล้ว ควรนาข้อมูลมาประกอบการพิจารณาคาดการณ์ และต้องวิเคราะห์
สถานการณ์น้าจากข้อมูลน้าฝน – น้าท่า ในปัจจุบันเทียบกับข้อมูลสถิติที่มีอยู่ว่ามีแนวโน้มที่คาดการณ์ไว้หรือไม่
โดยจัดทาแบบจาลองเพื่อให้สามารถวิเคราะห์ประเมินและจัดทาเป็นข้อมูลพื้นที่ที่ได้รับผลกระทบเชิงแผนที่ได้
แม่นยาขึ้น สามารถใช้วางแผนการแก้ไขป้องกันบรรเทาอุทกภัยได้ทันเหตุการณ์
2) ระดับน้า อัตราการไหลของน้าในแม่น้าชี มีหลายหน่วยงานภาครัฐและภาคประชาชน ที่ติดตามและ
รายงานสถานการณ์ ควรจัดทาให้มาตรฐาน ให้สามารถ เชื่อมโยง ข้อมูล ซึ่งจะให้ข้อมูลละเอียดขึ้น
3) จัดท าฐานข้อมูลเครื่องมือ เครื่องจักร เช่น เครื่องสูบน ้าขนาดต่าง ๆ ของส่วนราชการและองค์กร
ปกครองส่วนท้องถิ่น
4) ควรมีการแปลข้อมูลทางวิชาการที่หน่วยงานรายงานสถานการณ์ อุทกภัยให้ประชาชนทั่วไปสามารถ
เข้าใจได้ง่าย

4.2 ด้ำนทรัพยำกรในกำรจัดกำรสำธำรณภัย
ปัญหำ/ อุปสรรค
1) องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น บางแห่งที่มีพื้นที่ติดกับแม่น ้า ชี ที่มีพื้นที่ประสบอุทกภัยหลายหมู่บ้าน
มีงบประมาณ บุคลากรและเครื่องมือ เครื่องจักร ด้านการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยไม่เพียงพอ
2) อาเภอไม่มีงบประมาณสาหรับใช้ในการบริหารจัดการเมื่อเกิดสาธารณภัยในพื้นที่
3) หน่วยงานที่เกี่ยวข้องในจังหวัด เช่น โครงการชลประทานมหาสารคาม ไม่มีเครื่องจักรขนาดใหญ่ เช่น
รถแบ๊คโฮว์แขนยาว เครนรถยกวัสดุต่าง ๆ แผ่นกรอบบานเหล็กสารอง และไม่มีวัสดุอุปกรณ์ที่จาเป็นในการ
ถอดบทเรียนการป้องกันและแก้ไขปัญหาอุทกภัยจังหวัดมหาสารคาม พ.ศ. 2564
44

แก้ไขปัญหา เช่น ถุงบิ๊กแบ็ค ไม้ยูคา ปูนซีเมนต์ ดินส าหรับใช้ถมกลับ ต้องประสานขอความร่วมมื อจาก


หน่วยงานภายนอก ได้แก่ สานักงานชลประทานที่ 6 จากภาคเอกชน
4) ในเวลาเร่งด่วน (ช่วงเช้าไปทางาน) เรือรับส่งจะไม่ค่อยเพียงพอ ผู้ปฏิบัติงานมักจะโดนตาหนิเรื่องไป
ทางานไม่ทัน
ข้อเสนอแนะ
1) หากมีการคาดการณ์แล้วว่าในช่วงฤดูฝนนั้น ๆ จะเกิดน้าท่วมใหญ่ หน่วยงานที่เกี่ยวข้องควรมีการขอ
งบประมาณเพื่อรองรับในการจัดหาวัสดุอุปกรณ์ในการแก้ไขปัญหา และควรจัดหาชุดเครื่องจักรหนักให้ในพื้นที่
หากมีผลกระทบสามารถเคลื่อนตัวไปแก้ไขได้เร็ว
2) ควรจัดบุคลากรทางการแพทย์ ตรวจและฉีดวัคซีนป้องกันโรคระบาดให้กับผู้ปฏิบัติงาน ผู้สนับสนุน
ช่วยเหลือและผู้ประสบภัย

4.3 ด้ำนกำรสร้ำงกำรรับรู้ ควำมเข้ำใจ


ปัญหำ/ อุปสรรค
1) ประชาชนบางส่วนมีความชะล่าใจเนื่องจากขาดการติดตามข้อมูลข่าวสาร และเข้าใจผิดว่าบ้านพัก
อาศัยของตนจะไม่ถูกน้าท่วมถึงเพราะในอดีตไม่เคยประสบภัย
2 ผู้ประสบภัยไม่ยินยอมเคลื่อนย้ายไปอยู่จุดพักพิงชั่วคราว หรือจุดอพยพสัตว์เลี้ยงที่อ าเภอก าหนด
เนื่องจากต้องการอยู่ใกล้กับบ้านพักอาศัย หรือไม่ต้องการขนย้ายทรัพย์สินออกจากบ้านพักอาศัย
ข้อเสนอแนะ
ประชาชนควรได้รับข้อมูลข่าวสารล่วงหน้าก่อน และควรจัดตั้งหน่วยงานหรือให้ความรู้ประชาชนเพื่อเฝ้า
สังเกตระดับน้าของพื้นที่เสี่ยงภัยโดยมีการรายงานเตือนภัยเป็นระยะ ๆ

4.4 กำรจัดกำรสถำนกำรณ์ในระดับพื้นที่
ปัญหำ/ อุปสรรค
1) ประชาชนตามแนวพนังกั้นน้าชีได้มีการจัดทาท่อ PVC ลอดพนังกั้นน้าเพื่อสูบน้ามาใช้ ในการเกษตร
เมื่อน้าท่วมจะเกิดเกิดจุดน้ารั่วลอดพนังกั้นน้าทะลุเป็นโพรงกว้างทาให้ถนนที่เป็นพนังกั้นน้าทรุดตัว
2) ตัวเขื่อนดินหรือพนังกั้นน้า สามารถตรวจสอบสภาพได้เฉพาะภายนอกด้วยสายตา เท่านั้น ถ้าตรวจพบ
เช่น ลาดตัวเขื่อน หรือลาดพนัง มีร่องรอยการกัดเซาะ สามารถซ่อมแซมบารุงรักษาได้ แต่ภายในตัวเขื่อนดิน
หรือพนังกั้นน้าชี ต้องเกิดเหตุจึงจะมองเห็น
ข้อเสนอแนะ
1) ควรมีการบริหารจัดการน้าก่อนถึงฤดูฝน เช่น การขุดคลองคูคลอง หนองน้า กาจัดวัชพืช และการปล่อยน้า
ในเขื่อนก่อนฤดูฝน เป็นต้น
2) ตัวเขื่อนดินที่มีการเก็บกักน้าที่มีความสูงมาก ๆ ควรมีการติดตั้งเครื่องมือตรวจวัดพฤตกรรมของเขื่อน
เพื่อตรวจสอบคุณสมบัติ คุณลักษณะของเขื่อนดิน เช่น ระดับน้าในตัวเขื่อนดิน อัตราการซึมของน้าผ่านตัวเขื่อน

ถอดบทเรียนการป้องกันและแก้ไขปัญหาอุทกภัยจังหวัดมหาสารคาม พ.ศ. 2564


45

การทรุดตัว หรือ การเลื่อนไถลของตัวเขื่อน ซึ่งปัจจุบันนี้ มีอยู่ที่ อ่างเก็บน้าห้วยขอนสัก อ.โกสุมพิสัย และ


อ่างเก็บน้าห้วยค้อ อ.นาเชือก แล้ว
3) พนังกั้น น ้า ต้องได้ร ับ การบ ารุงรักษา อย่างต่อเนื่อง กรณีมีการฝังท่อ เช่น PVC แบบไม่ถูกต้อง
เมื่อทราบข้อมูลต้องรีบแก้ไขทันทีและให้ดาเนินการปิดท่อ PVC ที่ไม่ได้รับอนุญาตอย่างถาวร
4) ปรับปรุงระบบทางเดินของน้าไม่ให้ติดขัด เช่น การสร้างประตูระบายน้าที่มีขนาดใหญ่ขึ้น การสร้าง
พนังกั้นน้าตลอดริมตลิ่งของแม่น้าชีเพื่อที่จะระบายน้าให้สะดวกและรวดเร็วขึ้น และจัดทาแก้มลิงรองรับน้าไว้ใช้
ในช่วงขาดแคลน/ปลูกพืชฤดูแล้ง
5) พิจารณาบริหารพื้นที่การเกษตรที่ลุ่มต่า เพื่อตัดยอดน้าที่เกินความจุช่องลาน้า เช่นบริเวณพื้นที่การเกษตร
ที่ลุ่มต่า ต.โพนงาม อ.โกสุมพิสัย , บริเวณที่ลุ่มต่า ต.ท่าสองคอน อ.เมืองมหาสารคาม, บริเวณพื้นที่การเกษตร
ที่ลุ่มต่า ต.มะค่า อ.กันทรวิชัย พื้นที่ราบลุ่มต่าน้าท่วมถึง ต.ลาดพัฒนา ต.ท่าตูม อ.เมืองมหาสารคาม เป็นต้น
6) ยกระดับถนนให้สัญจรไปมาได้สะดวกระหว่างน้าท่วม

4.5 กำรฟื้นฟู
ปัญหำ/ อุปสรรค
1) ความเสียหายของระบบชลประทานเพื่อป้องกันบรรเทาภัยอันเกิดจากน้า (อุทกภัย) เป็นเหตุการณ์ที่
เกิดขึ้น เฉพาะหน้า จึงไม่ได้ตั้งงบประมาณไว้ อาจทาให้ไม่สามารถดาเนินการซ่อมแซมบารุงรักษาให้คืนสภาพ
ได้ทันที และหากเป็นงานปรับปรุงจาเป็นจะต้องมีกระบวนงานและการจัดหาเงินงบประมาณ จะใช้เวลาหลายปี
2) การสารวจความเสียหายจากอุทกภัยยังมีความล่าช้า
ข้อเสนอแนะ
1) ควรช่วยเหลือในเรื่องเงินทุน จัดหาแหล่งเงินกู้ยืมเงินต่าง การลดหย่อนภาษีดอกเบี้ย ชะลอการชาระ
หนี้สิน
2) แนะนาอาชีพให้ความรู้และฝึกอบรมอาชีพให้แก่ชุมชน
3) ควรช่วยเหลือเยียวยาในเรื่อง การซ่อมแซมบ้านเรือน ถนนสัญจร และเครื่องอุปโภคบริโภค
4) ควรช่วยเหลือผู้ที่ได้รับผลกระทบอุทกภัย ที่ได้รับความเสียหายให้ทั่วถึงตามความเหมาะสมของแต่ละพื้นที่
โดยสอบถามจากชาวบ้านในพื้นที่ที่ได้รับผลกระทบจากอุทกภัยจริง ๆ เพื่อแก้ไขปัญหาให้ตรงจุด
5) ช่วยเหลือลดราคาต้นทุนทางการเกษตร เช่น เมล็ดพันธุ์พืช (ข้าว) เพื่อเพาะปลูก พันธุ์ไม้ และพันธุ์ปลา
และเพิ่มราคาผลผลิตทางการเกษตร

ถอดบทเรียนการป้องกันและแก้ไขปัญหาอุทกภัยจังหวัดมหาสารคาม พ.ศ. 2564


46

บทที่ 5
แผนงำน/ โครงเพื่อแก้ไขปัญหำอุทกภัยจังหวัดมหำสำรคำม

1. พัฒนาแก้มลิงสองฝั่งแม่น้าชี เช่น บึงแพง บึงกุย กุดเดือยไก่ กุดใส้จ่อ เป็นต้น


2. ซ่อมแซมปรับปรุง พนังกั้นน้าชี ให้สูงขึ้นและมีความมั่นคงแข็งแรง
3. ปรับปรุงเพิ่มเติมพนังกั้นน้าชีฝั่งซ้าย เพื่อป้องกันพื้นที่น้าท่วมในเขต ต.เลิงใต้ อ.โกสุมพิสัย ต.นาสีนวล ต.เขวาใหญ่
ต.ขามเรียง อ.กันทรวิชัย ประมาณ 40,000 ไร่ จากบริเวณห้วยสามสัตย์ ต.เขวาใหญ่ ไปตามถนนบ้านกุดหัวช้าง
ต.ขามเรียง เพื่อไปเชื่อมกับพนังกั้นน้าชี บ.โขงกุดเวียน ต.ขามเรียง ความยาวพนังประมาณ 3 - 4 กม.
4. สถานีสูบน้าด้วยไฟฟ้า ขนาด 3.00 ลูกบาศก์เมตร/วินาที จานวน 2 เครื่อง บ้านท่าสองคอน ต.ท่าสองคอน
อ.เมืองมหาสารคาม
5. ปรับปรุงคลองผันน้าแก่งเลิงจาน - ท่าสองคอน จานวน 1 แห่ง
6. สถานีสูบน้าด้วยไฟฟ้า ขนาด 3.00 ลูกบาศก์เมตร/วินาที จานวน 2 เครื่อง บ้านวังยาว (กุดแดง)
7. สถานีสูบน้าด้วยไฟฟ้า ขนาด 3.00 ลูกบาศก์เมตร/วินาที จานวน 4 เครื่อง บ้านท่าตูม ต.ท่าตูม อ.เมืองมหาสารคาม
8. โครงการก่อสร้างประตูระบายน้าชี บ้านแก้งน้อย ต.แก้งแก อ.โกสุมพิสัย หรือ บ้านท่าสองคอน ต.ท่าสองคอน
อ.เมืองมหาสารคาม

ถอดบทเรียนการป้องกันและแก้ไขปัญหาอุทกภัยจังหวัดมหาสารคาม พ.ศ. 2564


47

ภำคผนวก
ภำคผนวก 1 สถำนกำรณ์
วัน/เดือน/ปี สถำนกำรณ์
1 - 6 กันยายน 2564 กรมอุตุนิยมวิทยา จะมีร่องมรสุมเลื่อนขึ้นไปพาดผ่านภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ทาให้มีฝนตกหนักร้อยละ 60-70 ของพื้นที่ เริ่มมีฝนตกหนักในพื้นที่ ในวันที่
3-6 กันยายน 2564 แต่ด้วยฝนสะสมในพื้นที่มีระดับต่า ก่อให้เกิดผลดีในพื้นที่ ทาให้
เกษตรกรมีน้าสาหรับใช้ในพื้นที่เพาะปลูก
8, 9, 12 กันยายน 2564 เกิดฝนตกหนักในพื้นที่ ฝนสะสม 194, 502 และ 119 มม.ตามลาดับ ทาให้มี
ปริมาณฝนสะสมในพื้นที่จานวนมาก ทาให้เกิดน้าไหลหลากจากร่องมรสุมพาดผ่าน
12 - 14 กันยายน 2564 กรมอุตุนิยมวิทยาได้แจ้งว่า จังหวัดมหาสารคามมีแนวโน้มได้รับผลกระทบจากฝนตก
หนักจากอิทธิพลของพายุ “โกนเซิน”
วันที่ 12 กันยายน 2564 มีฝนเล็กน้อยเฉลี่ย 7.4 มม. ยังไม่มีรายงานผลกระทบในพื้นที่
23 - 25 กันยายน 2564 กรมอุตุนิยมวิทยาแจ้งว่าพายุ “เตี้ยนหมู”่ ทาให้เกิดฝนตกหนักในพื้นที่จังหวัด
มหาสารคาม ทาได้ประชาชนได้รับผลกระทบเล็กน้อย
28 กันยายน 2564 จังหวัดมหาสารคาม ประชุมเตรียมความพร้อมในการรับมือมวลน้าที่จะเดินทาง
มาถึงจังหวัดมหาสารคาม โดยการเตรียมความพร้อมของเครื่องสูบน้า ระบบสูบน้า
ด้วยไฟฟ้า พนังกั้นน้า และประตูระบายน้าให้มีความพร้อมก่อนมวลน้าเดินทางมาถึง
3 - 5 ตุลาคม 2564 โครงการส่งน้าและบารุงรักษาชีกลาง แจ้งว่าในช่วงมวลน้าจากจังหวัดชัยภูมิและ
ขอนแก่นกาลังเดินทางมาถึงจังหวัดมหาสารคาม จะส่งผลให้ระดับน้าสูงขึ้น และมี
โอกาสจะล้นตลิ่ง
3 ตุลาคม 2564 เริ่มมีมวลน้าจากจังหวัดชัยภูมิส่วนแรกเดินทางมาถึงพื้นที่จังหวัดมหาสารคาม
ทาให้เกิดอุทกภัยในพื้นที่ อ.โกสุมพิสัย ได้แก่ ต.หนองบัว ต.โพนงาม ต.เขวาไร่
ต.หนองบอน ต.ยางท่าแจ้ง ต.หัวขวาง ต.เลิงใต้ ต.แก้งแก
6 ตุลาคม 2564 ระดับน้าที่ ปตร.ห้วยสามสัตย์ สูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง และมีกระแสน้าที่ไหลรุนแรงจน
ทาให้บานระบายหลุดออกจากกรอบบาน จานวน 3 บาน
7 ตุลาคม 2564 มวลน้าขนาดใหญ่เดินทางมาถึงส่งผลกระทบต่อพื้นที่ ต.โพนงาม อ.โกสุมพิสัย
หลายหมู่บ้านถูกตัดขาด น้าท่วมบ้านเรือนประชาชน จึงจัดตั้งศูนย์ประสานงาน
ส่วนหน้า ณ ที่ทาการ อบต.โพนงาม อาเภอโกสุมพิสัย เพื่อเตรียมทรัพยากรเข้าให้
ความช่วยเหลือพื้นที่ประสบภัย และประสานการปฏิบัติ
7 ตุลาคม 2564 เกิดอุทกภัยในสายทางที่รับผิดชอบ แขวงทางหลวงชนบทมหาสารคาม จานวน
2 สายทางดังนี้

ถอดบทเรียนการป้องกันและแก้ไขปัญหาอุทกภัยจังหวัดมหาสารคาม พ.ศ. 2564


48

วัน/เดือน/ปี สถำนกำรณ์
1. สาย ถนนเชิงลาดสะพานลดาวัลย์ มค.005 ข้ามลาน้าชี ต.โพนงาม อ.โกสุมพิสัย
จ.มหาสารคาม ระดับน้า 70 cm. ทั้งสองฝั่ง รถผ่านไม่ได้
2. สาย ถนนเชิงลาดสะพานบ้านคุยเชือก มค.009 ข้ามลาน้าชี ต.หนองบัว
อ.โกสุมพิสัย จ.มหาสารคาม กม. ระดับน้า 60 cm. ทั้งสองฝั่ง รถผ่านไม่ได้
8 ตุลาคม 2564 มวลน้าเคลื่อนเข้าสู่ตาบลหนองบัว อาเภอโกสุมพิสัย ทาให้หมู่บ้านริมตลิ่งต้องทา
การอพยพ
9 ตุลาคม 2564 พนังกั้นน้าห้วยน้าเค็มทรุดตัว (คันกั้นน้า A1) บ้านปลาปัด ต.ยางท่าแจ้ง
อ.โกสุมพิสัย ทาให้มวลน้าทะลักเข้าสู่พื้นที่ทางการเกษตรเนื่องจากมวลน้าในแม่น้าชี
ไหลล้นตลิ่งและย้อนเข้ามาปะทะคันพนังกั้นน้าทาให้พนังกั้นน้าเสียหายส่งผลให้
พื้นที่การเกษตรเสียหาย ประมาณ 15,000 ไร่ จึงดาเนินการแก้ไขโดยโครงการ
ส่งน้าและบารุงรักษาหนองหวายร่วมกับหน่วยงานราชการต่าง ๆ บูรณาการ
ซ่อมแซม และติดตั้งเครื่องสูบน้าเคลื่อนที่ เพื่อเร่งระบายน้าออกจากนาข้าวของ
เพื่อบรรเทาความเดือดร้อนของเกษตรกร
9 ตุลาคม 2564 เกิดอุทกภัยในพื้นที่
1. อ.กันทรวิชัย ได้แก่ ต.เขวาใหญ่ ต.มะค่า ต.ขามเรียง ต.ท่าขอนยาง
2. อ.เชียงยืน ได้แก่ ต.เหล่าบัวบาน ต.กู่ทอง ต.นาทอง
3. อ.เมืองมหาสารคาม ได้แก่ ต.ท่าสองคอน ต.เกิ้ง ต.ลาดพัฒนา ต.ท่าตูม
9 – 13 ตุลาคม 2564 เขื่อนอุบลรัตน์ปรับลดการระบายน้าจากเขื่อนลง จากวันละ 20 ล้าน ลบ.ม.
เหลือวันละ 15 ล้าน ลบ.ม.
11 ตุลาคม 2564 มวลน้าเคลื่อนเข้าสู่อาเภอกุดรัง ได้แก่ ต.ห้วยเตย
13 ตุลาคม 2564 เขื่อนอุบลรัตน์ปรับลดการระบายน้าลงจากวันละ 15 ล้าน ลบ.ม. ให้เหลือวันละ
10 ล้าน ลบ.ม. แบบขั้นบันได
14 ตุลาคม 2564 พนังกั้นน้าห้วยน้าเค็ม ต.ยางท่าแจ้ง อ.โกสุมพิสัย ซ่อมแซมแล้วเสร็จ
13 - 17 ตุลาคม 2564 เกิดฝนตกหนักเนื่องจากอิทธิพลของพายุโซนร้อน “คมปาซุ” มีผลกระทบต่อจังหวัด
ชัยภูมิ จังหวัดขอนแก่น จังหวัดหนองบัวลาภู
15 ตุลาคม 2564 จุดที่ 1 จุดน้ารั่วของท่อลอดบริเวณบ.คุยโพธิ์ ต.ลาดพัฒนา อ.เมืองมหาสารคาม
16 ตุลาคม 2564 จุดที่ 2 จุดน้าชีลอดเข้าพนังกั้นน้า บ.คุยโพธ์ ต.ลาดพัฒนา อ.เมืองมหาสารคาม
จดที่ 3 จุดน้ารั่วลอดพนังกั้นน้าบ.หนองหวาย ต.ลาดพัฒนา อ.เมืองมหาสารคาม
17 ตุลาคม 2564 เขื่อนอุบลรัตน์ปรับการระบายน้าลงจากวันละ 10 ล้าน ลบ.ม. ให้เป็นวันละ 15 ล้าน
ลบ.ม. แบบขั้นบันได
17 ตุลาคม 2564 จุดที่ 4 จุดน้ารั่วของท่อลอด บ.บุ่งคล้า ต.ลาดพัฒนา อ.เมืองมหาสารคาม

ถอดบทเรียนการป้องกันและแก้ไขปัญหาอุทกภัยจังหวัดมหาสารคาม พ.ศ. 2564


49

วัน/เดือน/ปี สถำนกำรณ์
จุดที่ 5 จุดน้ารั่วของท่อลอดบริเวณบ.หนองหวาย ต.ลาดพัฒนา อ.เมือง
มหาสารคาม
17 ตุลาคม 2564 มวลน้าสูงสุดเคลื่อนตัวผ่านตาบลท่าพระ อาเภอเมืองขอนแก่น จังหวัดขอนแก่น
เคลื่อนตัวออกจากจงหวัดมหาสารคามแล้ว
18 ตุลาคม 2564 ที่ประชุมคณะกรรมการทรัพยากรน้าจังหวัดขอนแก่น ครั้งที่ 9/2564 มีมติปรับเพิ่ม
การระบายน้า ดังนี้
18 ตุลาคม 2564 ระบายวันละ 18 ล้าน ลบ.ม
19 ตุลาคม 2564 ระบายวันละ 20 ล้าน ลบ.ม
20 ตุลาคม 2564 ที่ประชุมคณะกรรมการทรัพยากรน้าจังหวัดขอนแก่น ครั้งที่ 10/2564 มีมติปรับ
เพิ่มการระบายน้า ดังนี้
วันที่ 20 ตุลาคม 2564 ระบายน้าวันละ 21 ล้าน ลบ.ม
วันที่ 21 ตุลาคม 2564 ปรับเพิ่มระบายเป็นวันละ 24 ล้าน ลบ.ม.
วันที่ 22 ตุลาคม 2564 เป็นต้นไป ระบายวันละ 25 ล้าน ลบ.ม
22 ตุลาคม 2564 พนังกั้นแม่น้าชี ช่วงบริเวณบ้านท่าตูม-บ้านม่วง ห่างจากประตูระบายน้าท่าตูม
ประมาณ 300 เมตร น้าชีได้กัดเซาะเกิดรอยรั่วขนาดใหญ่ ทาให้น้าทะลักเข้าพื้นที่
นาข้าวของชาวบ้านหนองหวาย หมู่ 9 ต.ลาดพัฒนา อย่างรวดเร็ว
23 ตุลาคม 2564 ที่ประชุมคณะกรรมการทรัพยากรน้าจังหวัดขอนแก่น ครั้งที่ 11/2564 มีมติปรับ
เพิ่มการระบายน้า ดังนี้
วันที่ 23 ตุลาคม 2564 ระบายน้าวันละ 28 ล้าน ลบ.ม
วันที่ 24 ตุลาคม 2564 ปรับเพิ่มระบายเป็นวันละ 31 ล้าน ลบ.ม.
วันที่ 25 ตุลาคม 2564 เป็นต้นไป ระบายวันละ 24 ล้าน ลบ.ม
วันที่ 26 ตุลาคม 2564 เป็นต้นไป ระบายวันละ 35 ล้าน ลบ.ม
25 ตุลาคม 2564 จุดที่ 7 จุดน้ารั่วลอดพนังกั้นน้า บ.หนองหวาย ต.ลาดพัฒนา อ.เมืองมหาสารคาม
จุดที่ 8 จุดน้ารั่วของท่อลอดบริเวณ บ.ท่าประทายโนนตูม ต.เกิ้ง อ.เมือง
มหาสารคาม
6 พฤศจิกายน 2564 จุดที่ 9 จุดน้ารั่วลอดพนังกั้นน้า บ.หนองหวาย ต.ลาดพัฒนา อ.เมืองมหาสารคาม
6 พฤศจิกายน 2564 จุดที่ 10 จุดน้ารั่วพนังกั้นน้าชี เขื่อนวังยาง บ.ท่าตูม ต.ท่าตูม อ.เมืองมหาสารคาม
30 พฤศจิกายน 2564 สิ้นสุดสถานการณ์อุทกภัย อ.กันทรวิชัย และ อ.กุดรัง
1 ธันวาคม 2564 สิ้นสุดสถานการณ์อุทกภัย อ.เชียงยืน
4 ธันวาคม 2564 สิ้นสุดสถานการณ์อุทกภัย อ.โกสุมพิสัย และ อ.เมืองมหาสารคาม

ถอดบทเรียนการป้องกันและแก้ไขปัญหาอุทกภัยจังหวัดมหาสารคาม พ.ศ. 2564


50

ภำคผนวก 2 หน่วยงำน/ เครื่องจักร/ ยำนพำหนะ/ เครื่องมือ/ อุปกรณ์


ลาดับที่ หน่วยงาน/ เครื่องจักร/ ยานพาหนะ/ เครื่องมือ/ อุปกรณ์ จานวน หมายเหตุ
1. โครงการชลประทานมหาสารคาม
1.1 เครื่องสูบน้าเคลื่อนที่ 17 เครื่อง
รถบรรทุกน้า 6,000 ลิตร 1 คัน
รถตักหน้าขุดหลัง JCB จานวน 1 คัน
เรือกาจัดวัชพืช 2 ลา
รถบรรทุก 6 ตัน 1 คัน
2. ศูนย์ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย เขต 6 ขอนแก่น
2.1 รถปฏิบัติการเคลื่อนย้ายผู้ประสบภัย 1 คัน ศขก. 03 - 28
2.2 รถปฏิบัติการเคลื่อนย้ายผู้ประสบภัย 1 คัน ศขก. 03 - 29
2.3 รถปฏิบัติการเคลื่อนย้ายผู้ประสบภัย 1 คัน ศขก. 03 - 33
2.4 รถปฏิบัติการเคลื่อนย้ายผู้ประสบภัย 1 คัน ศขก. 03 - 36
2.5 รถปฏิบัติการเคลื่อนย้ายผู้ประสบภัย 1 คัน ศขก. 03 - 40
2.6 รถปฏิบัติการเคลื่อนย้ายผู้ประสบภัย 1 คัน ศขก. 03 - 46
2.7 รถปฏิบัติการเคลื่อนย้ายผู้ประสบภัย 1 คัน ศขก. 03 - 50
2.8 รถปฏิบัติการเคลื่อนย้ายผู้ประสบภัย 1 คัน ศขก. 03 - 53
2.9 รถกู้ภัยเคลื่อนที่เร็วพร้อมอุปกรณ์ 1 คัน ศขก. 26 - 13
2.10 รถกู้ภัยเคลื่อนที่เร็วพร้อมอุปกรณ์ 1 คัน ศขก. 26 - 14
2.11 รถกู้ภัยเคลื่อนที่เร็วพร้อมอุปกรณ์ 1 คัน ศขก. 26 - 15
2.12 รถบรรทุกลากเรือยนต์กู้ภยั พร้อมอุปกรณ์ 1 คัน ศขก. 26 - 07
2.13 รถบรรทุกลากเรือยนต์กู้ภยั พร้อมอุปกรณ์ 1 คัน ศขก. 26 - 11
2.14 รถบรรทุกเล็กแบบที่นั่งตอนครึ่ง 1 คัน ศขก. 02 - 46
2.15 รถผลิตและบริการน้าดืม่ 1 คัน ศขก. 05 - 37
2.16 รถประกอบอาหารพร้อมอุปกรณ์ 1 คัน ศขก. 05 - 43
2.17 รถปฏิบัติการบรรเทาอุทกภัยพร้อมเครื่องสูบนา้ ขนาดใหญ่ 1 คัน ศขก. 03 - 42
2.18 เครื่องสูบน้าติดตั้งเทรลเลอร์ (14 นิ้ว) 1 เครื่อง ศขก. 25 - 41
2.19 เครื่องสูบน้าติดตั้งเทรลเลอร์ (14 นิ้ว) 1 เครื่อง ศขก. 25 - 44
2.20 เครื่องสูบน้าติดตั้งเทรลเลอร์ (14 นิ้ว) 1 เครื่อง ศขก. 25 - 49
3 ศูนย์ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย เขต 7 สกลนคร
3.1 รถปฏิบัติการเคลื่อนย้ายผู้ประสบภัย 1 คัน ศสน 03 - 34
3.2 รถปฏิบัติการเคลื่อนย้ายผู้ประสบภัย 1 คัน ศสน 03 - 35
3.3 รถปฏิบัติการเคลื่อนย้ายผู้ประสบภัย 1 คัน ศสน 03 - 36
3.4 รถปฏิบัติการเคลื่อนย้ายผู้ประสบภัย 1 คัน ศสน 03 - 40
3.5 รถบรรทุกเรือยนต์กภู้ ัยพร้อมอุปกรณ์ 1 คัน ศสน 26 - 26
3.6 รถบรรทุกเรือยนต์กภู้ ัยพร้อมอุปกรณ์ 1 คัน ศสน 26 - 27
3.7 รถยนต์กู้ภยั เคลื่อนที่เร็วพร้อมอุปกรณ์ 1 คัน ศสน 26 - 31
ถอดบทเรียนการป้องกันและแก้ไขปัญหาอุทกภัยจังหวัดมหาสารคาม พ.ศ. 2564
51

ลาดับที่ หน่วยงาน/ เครื่องจักร/ ยานพาหนะ/ เครื่องมือ/ อุปกรณ์ จานวน หมายเหตุ


3.8 เรือท้องแบน 1 ลา ศสน 29 - 32
3.9 เรือท้องแบน 1 ลา ศสน 29 - 36
3.10 เรือท้องแบน 1 ลา ศสน 29 - 38
3.11 เรือท้องแบน 1 ลา ศสน 29 - 44
3.12 เรือท้องแบน 1 ลา ศสน 29 - 48
3.13 เรือท้องแบน 1 ลา ศสน 29 - 49
3.14 เรือท้องแบน 1 ลา ศสน 29 - 50
3.15 เรือท้องแบน 1 ลา ศสน 29 - 109
3.16 เรือท้องแบน 1 ลา ศสน 29 - 116
3.17 เรือท้องแบน 1 ลา ศสน 29 - 119
3.18 เครื่องยนต์แบบหางสั้น 1 เครื่อง ศสน 31 - 39
3.19 เครื่องยนต์แบบหางสั้น 1 เครื่อง ศสน 31 - 47
3.20 เครื่องยนต์แบบหางสั้น 1 เครื่อง ศสน 31 - 48
3.21 เครื่องยนต์แบบหางสั้น 1 เครื่อง ศสน 31 - 54
3.22 เครื่องยนต์แบบหางสั้น 1 เครื่อง ศสน 31 - 55
3.23 เครื่องยนต์แบบหางสั้น 1 เครื่อง ศสน 31 - 145
3.24 เครื่องยนต์แบบหางสั้น 1 เครื่อง ศสน 31 - 148
3.25 เครื่องยนต์แบบหางสั้น 1 เครื่อง ศสน 31 - 151
3.26 เครื่องยนต์แบบหางสั้น 1 เครื่อง ศสน 31 - 162
3.27 เครื่องยนต์แบบหางสั้น 1 เครื่อง ศสน 31 - 165
3.28 เสื้อชูชีพ 20 ชุด ศสน 03 - 34
3.29 ถุงโยนเชือกพร้อมเชือกกู้ภัยทางนา้ 5 ชุด ศสน 03 - 35
3.30 ห่วงช่วยชีวิต 5 ชุด ศสน 03 - 36
4. กองพันทหารสื่อสารที่ 6 กองพลทหารราบที่ 6 เจ้าหน้าที่ 35 นาย
ร.ท.นริศพล โทร. 099-2965121
รถยนต์บรรทุก ¼ ตัน แบบ 50 3 คัน
รถยนต์บรรทุก 2 ½ ตัน อีซูซุ FTS 5 คัน
เรืออลูมเิ นียม 1 ลา
เรือยาง 8 ลา
5. มูลนิธิคณุ วีโรกุศลสงเคราะห์ (เอ็ง เต็ก ตึ๊ง) มหาสารคาม เจ้าหน้าที่ 7 นาย
5.1 ผู้ประสานงาน โทร. 089-4222481
5.2 เรืออลูมเิ นียม 1 ลา
5.3 ชุดดาน้า 4 ชุด
6. กู้ภัยประจิม อ.บรบือ เจ้าหน้าที่ 7 นาย
7. สมาคมกูภ้ ัย 245 พุทธธรรม อ.โกสุมพิสยั เจ้าหน้าที่ 12 นาย
ผู้ประสานงาน โทร. 088-6105929
ถอดบทเรียนการป้องกันและแก้ไขปัญหาอุทกภัยจังหวัดมหาสารคาม พ.ศ. 2564
52

ลาดับที่ หน่วยงาน/ เครื่องจักร/ ยานพาหนะ/ เครื่องมือ/ อุปกรณ์ จานวน หมายเหตุ


รถตู้พยาบาล 1 คัน
เรืออลูมเิ นียม 1 ลา
8. สมาคมเมตตาธรรมทิพยสถาน "เต็กก่า" จีโหงวเกาะ จ.กาฬสินธุ์ เจ้าหน้าที่ 12 นาย
8.1 นายเก่งกาจ บ้งกาวงศ์ โทร. 087-2167711
8.2 นางสาวทักษพร หมั่นชิทวน โทร. 099-4657975
8.3 รถตู้พยาบาล 1 คัน
8.4 รถกู้ภัย 2 คัน
8.5 เรือไฟเบอร์ + เครื่อง 40 แรง 1 ลา
8.6 เรือไฟเบอร์ + เครื่อง 60 แรง 1 ลา
8.7 เจ็ตสกี 1 ลา
8.8 โรงพยาบาลสนาม 1 แห่ง
8.9 โดรน 1 เครื่อง
8.10 เชือกทางน้า 11 เส้น
9. สมาคมกูภ้ ัยอาเซียน จ.ชัยภูมิ เจ้าหน้าที่ 40 นาย
9.1 นายบรรเจิด ภูห่ ยัด โทร. 088-6434576
9.2 เรืออลูมเิ นียม 3 ลา
9.3 โดรน 1 เครื่อง
10. กู้ภัยอุดมเวทย์ จ.ร้อยเอ็ด เจ้าหน้าที่ 4 นาย
10.1 นายสมบัติ พารารัมย์ โทร. 085-1405207
10.2 นายสารอง ระวีโรจน์ โทร. 098-2161136
11. มูลนิธิพุทธธรรม 31 จ.นครราชสีมา เจ้าหน้าที่ 7 นาย
11.1 ผู้ประสานงาน 1 โทร. 080-1669402
11.2 ผู้ประสานงาน 2 โทร. 095-8153470
11.3 ผู้ประสานงาน 3 โทร. 081-8778305
12.4 รถยกสูง 1 คัน
หน่วยกู้ภัยจีตัมเกาะอุบลราชธานี เจ้าหน้าที่ 15 นาย
รถบรรทุกยกสูง 1 คัน
กู้ภัยกกไทร หล่มสัก เจ้าหน้าที่ 7 นาย

ถอดบทเรียนการป้องกันและแก้ไขปัญหาอุทกภัยจังหวัดมหาสารคาม พ.ศ. 2564


53

ภำคผนวก 3 คณะทำงำนถอดบทเรียนกำรป้องกันและแก้ไขปัญหำอุทกภัยจังหวัดมหำสำรคำม

ถอดบทเรียนการป้องกันและแก้ไขปัญหาอุทกภัยจังหวัดมหาสารคาม พ.ศ. 2564


54

ถอดบทเรียนการป้องกันและแก้ไขปัญหาอุทกภัยจังหวัดมหาสารคาม พ.ศ. 2564


55

ถอดบทเรียนการป้องกันและแก้ไขปัญหาอุทกภัยจังหวัดมหาสารคาม พ.ศ. 2564

You might also like