You are on page 1of 15

คริปโทเคอร์เรนซี

โดย

นางสาวณิ ชกานต์ สันติ สขุ เลขทะเบียน 6506610697

โครงงานนี้ เป็ นส่วนหนึ่ งของวิ ชา บ.387 โปรแกรมด้านกราฟิ ก


Sec/Gr 780001 ภาคการศึกษาที่ 1 ปี การศึกษา 2565
หลักสูตรวิ ชาบรรณารักษศาสตร์ คณะศิ ลปะศาสตร์
มหาวิ ทยาลัยธรรมศาสตร์
I

คานา
ในยุคทีเ่ ทคโนโลยีก้าวขึน้ มาเป็ นส่วนสาคัญของชีวติ ประจาวัน เราจะได้เห็นการเปลีย่ นแปลง
ทางด้านการเงินอย่างมหาศาลทีถ่ ูกนาโดยคริปโทเคอร์เรนซี หรือสกุลเงินดิจทิ ลั ทีก่ าลังเป็ นทีส่ นใจของ
สาธารณชนทัวไปในปั
่ จจุบนั . กล่าวถึงมูลค่าทางตลาดทีก่ ว่า 92 พันล้านดอลลาร์สหรัฐในปี พ.ศ. 2565
คริปโทเคอร์เรนซีกลายเป็ นกาลังสาคัญทีม่ ศี กั ยภาพในการเปลีย่ นแปลงทิศทางของระบบการเงินโลก

บทความนี้จะนาเสนอเกีย่ วกับความรูพ้ น้ื ฐานเกี่ยวกับคริปโทเคอร์เรนซี การทาความเข้าใจ


เกีย่ วกับสกุลเงินดิจทิ ลั นี้ทม่ี ศี กั ยภาพในการเปลีย่ นแปลงวิถกี ารใช้เงินและการทาธุรกรรม เราจะสารวจ
ทัง้ ความไว้วางใจในเทคโนโลยีบล็อกเชน ระบบการเงินแบบไม่มตี วั กลาง (DeFi) และความผันผวนของ
มูลค่าทางตลาดทีอ่ าจมีผลต่อการลงทุน โดยการทบทวนประวัตแิ ละพัฒนาการของคริปโทเคอร์เรนซี เรา
จะได้เสริมสร้างความเข้าใจทีล่ กึ ซึง้ เพือ่ ให้ผอู้ ่านมีขอ้ มูลทีเ่ ต็มทีแ่ ละเข้าใจถึงแนวโน้มทีอ่ าจเกิดขึน้ ใน
อนาคต การศึกษาดีๆ ก่อนการลงทุนคือก้าวแรกทีส่ าคัญ และเราหวังว่าบทความนี้จะเป็ นแหล่งข้อมูลที่
เต็มไปด้วยข้อมูลคุม้ ค่าและเป็ นประโยชน์สาหรับผูท้ ส่ี นใจและต้องการสารวจโลกของคริปโทเคอร์เรนซี
II

สารบัญ
สารบัญเนื้อหา
1. บทเบือ้ งต้น.................................................................................................................................... 1
2. คริปโทเคอร์เรนซี ........................................................................................................................... 3
3. คริปโทเคอร์เรนซีกบั ระบบเศรษฐกิจไทย ........................................................................................ 7
บรรณานุกรม .................................................................................................................................... III

สารบัญภาพ
ภาพที่ 1 ลักษณะของคริปโทเคอร์เรนซี .............................................................................................. 1
ภาพที่ 2 คริปโทเคอร์เรนซี ................................................................................................................. 3

สารบัญตาราง
ตารางที่ 1 การทากาไรของคริปโทเคอร์เรนซี ..................................................................................... 3
1

คริปโทเคอร์เรนซี

ภาพที่ 1 ลักษณะของคริปโทเคอร์เรนซี

1. บทเบือ้ งต้น
ในปั จจุบนั “คริปโทเคอร์เรนซี” หรือสกุลเงินดิจทิ ลั ได้รบั ความสนใจจากสาธารณะอย่างแพร่หลาย เห็นได้จาก
ในปี พ.ศ. 2565 มีมลู ค่าราคาตลาด (Market Cap) สูงถึง 92 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ1 (ประมาณ 3,091 ล้านล้านบาท)2
คิดเป็ นสัดส่วนครึง่ หนึ่งของมูลค่าตามราคาตลาดโดยรวมของหลักทรัพย์จดทะเบียน (Market capitalization)3 ของ
ตลาดทุน SET504 ในอนาคตคริปโทเคอร์เรนซีอาจจะเป็ นสื่อกลาง ในการแลกเปลีย่ นมูลค่าทีอ่ าจจะเข้ามาแทนทีก่ ารใช้

1ในปี 2561 มีมูลค่าราคาตลาด (Market Cap) สูงถึง 350 พันล้านดอลลาร์ (ประมาณ 11.02 ล้านล้านบาท); เว็บไซต์ https:// coinmarketcap.com/ เข้าสืบค้นเมื่อ 13
พฤศจิกายน 2566.

2 อัตราแลกเปลีย่ นธนาคารแห่งประเทศไทย ณ วันที่ 13 พฤศจิกายน 2566 (1 ดอลลาร์สหรัฐ = 36.09 บาท)

3มูลค่าตามราคาตลาดโดยรวมของหลักทรัพย์จดทะเบียนเป็ นค่าทีค่ านวณจากการนาราคาปิ ดของหลักทรัพย์จดทะเบียนคูณกับจานวนหลักทรัพย์ จดทะเบียน ปั จจุบนั


การคานวณมูลค่าตามราคาตลาดรวมของหลักทรัพย์จดทะเบียน ครอบคลุมหลักทรัพย์ประเภทหุน้ สามัญ หุน้ บุรมิ สิทธิ หุน้ กู้ และใบส าคัญในการจองซื้อหุน้ สามัญ (วอร์
แรนท์), ดู ใน สืบค้นจาก: https://www.setinvestnow.com/th/glossary/market-capitalization สืบค้นเมื่อ 13 พฤศจิกายน 2566

4 SET50 คือดัชนีราคาหลักทรัพย์ทม่ี มี ลู ค่าตลาดสูงสุด 50 อันดับแรก โดยคัดเลือกกลุ่มหลักทรัพย์ทม่ี มี ูลค่าตามราคาตลาด (Market Capitalization) และสภาพคล่อง


ในการซื้อขายสูงสุด 50 อันดับแรก ซึง่ มีทงั ้ หุ้นระยะยาว และหุน้ ระยะสัน้ ให้เลือกลงทุน; เว็บไซต์ https://www.set.or.th/th/products/index/setindex_pm.html สืบค้น
เมื่อ 13 พฤศจิกายน 2566.
2

สกุลเงินประเทศ (fiat money หรือ sovereign currency)5 ซึง่ ออกโดยภาครัฐ หรือเงินอิเล็กทรอนิกส์ (e-money) ทีอ่ อก
โดยภาคเอกชนได้ในอนาคต เนื่องจาก ศักยภาพของเทคโนโลยีการประมวลผลแบบกระจายศูนย์ของเทคโนโลยีบล็อก
เชน (Blockchain) ทีท่ าให้เกิด ความปลอดภัยและความเชื่อมั ่นจากผูใ้ ช้งาน ส่งผลให้เกิดระบบการเงินแบบไม่มี
ตัวกลาง (Decentralized finance: DeFi)6 ซึง่ สามารถลดบทบาทตัวกลางในระบบการเงินทีผ่ ่านตัวกลาง (Centralized
Finance: CeFi) เช่น ธนาคารพาณิชย์ สถาบันการเงินอื่น ๆ รวมถึงผูใ้ ห้บริการทางการเงินทีไ่ ม่ใช่สถาบันการเงิน
(non-bank) ด้วย7 ทัง้ นี้ เพื่อช่วยเสริมประสิทธิภาพ อานวยความสะดวก ลดต้นทุน ค่าใช้จ่ายในการบริหารจัดการของ
ผูใ้ ช้งานลดลงด้วย แต่อย่างไรก็ตามเมื่อมีขอ้ ดีกย็ ่อมมีขอ้ จากัด เนื่องจากมูลค่าของคริปโทเคอร์เรนซียงั มีความผันผวน
สูง ถึงแม้จะได้รบั ความนิยมอย่างแพร่หลายก็ตามซึง่ อาจส่งผลต่อความเชื่อมั ่นของนักลงทุน จึงควรมีการศึกษาประวัติ
ความเป็ นมา ตลอดจนพัฒนาการของคริปโทเคอร์เรนซีอย่างลึกซึ้งก่อน เพื่อให้ได้รบั ใช้ประโยชน์อย่างยั ่งยืนต่อไป

1. การทางานของเทคโนโลยีบล็อกเชน (Blockchain Technology):


1.1. การอธิบายวิธก ี ารทางานของเทคโนโลยีบล็อกเชนทีเ่ ป็ นพืน้ ฐานของคริปโทเคอร์เรนซี.
1.2. ประโยชน์และความสามารถของบล็อกเชนในการจัดเก็บข้อมูลและทาธุรกรรม.
2. ความปลอดภัยในโลกของคริปโทเคอร์เรนซี:
2.1. การอธิบายมาตรการทีท ่ าให้คริปโทเคอร์เรนซีเป็ นระบบทางการเงินทีป่ ลอดภัย.
2.2. การใช้เทคโนโลยีการเข้ารหัสและลายเซ็นดิจท ิ ลั .
3. การก้าวขึ้นของ DeFi (Decentralized Finance):
3.1. การเสนอภาพรวมเกีย ่ วกับระบบการเงินแบบไม่มตี วั กลางและทาไมมันกลายเป็ นทีน่ ิยม.
3.2. โครงสร้างและบริการทีม ่ ใี น DeFi.
4. ความผันผวนของราคาคริปโทเคอร์เรนซี:
4.1. การวิเคราะห์ปัจจัยทีส ่ ่งผลต่อความผันผวนของราคา.
4.2. แนวโน้มทางตลาดและปั จจัยทีส ่ ่งผลในระยะยาว.
5. การใช้งานของคริปโทเคอร์เรนซีในสังคมและธุรกิ จ:
5.1. การวิเคราะห์วธิ ท ี ค่ี ริปโทเคอร์เรนซีได้รบั การนาไปใช้ในการทาธุรกรรมและการเงินในสังคม.
5.2. การใช้งานในธุรกิจและอุตสาหกรรม.
6. ความสามารถและความจาเป็ นของการตรวจสอบคริปโทเคอร์เรนซี (Cryptocurrency Regulation):
6.1. ความสาคัญของการประกอบกฎหมายในการให้ความเชื่อถือในคริปโทเคอร์เรนซี.
6.2. ประสบการณ์จากทัวโลกเกี ่ ย่ วกับการตรวจสอบและกฎหมายทีเ่ กีย่ วข้อง.
7. การดาเนิ นการและข้อจากัดของ DeFi:
7.1. วิเคราะห์วธิ ก
ี ารทางานของ DeFi และการทาธุรกรรมทีส่ ามารถทาได้.
7.2. ความสามารถทางเทคนิคและความเชื่อถือของ DeFi.

5 ฐิตมิ า ชูเชิด, “สามเส้าทีเ่ ข้ากันไม่ได้....ในโลกการเงินได้ตวั กลาง” (สืบค้นจาก: https://www.bot.or.th/Thai/ResearchAndPublications/articles/Pages/Article Mayoooo.aspx สืบค้นเมื่อ 13 พฤศจิกายน
2566.
6 ระบบเศรษฐกิจการเงินแบบเดิม (Centralized finance: CeFi) แบ่งเงินเป็ น 2 ประเภท ได้แก่ 1) เงินทีอ ่ อกโดยภาครัฐ (Public money หรือ Fiat money) เช่น ธนบัตรและเหรียญกษาปณ์สาหรับประชาชน
ทั ่วไปและบัญชีเงินฝากทีธ่ นาคารกลางสาหรับธนาคารพาณิชย์ และ 2) เงินทีอ่ อก โดยภาคเอกชน (Private money) ทีม่ าต่อยอด เช่น การสร้างเงินฝากของระบบธนาคารพาณิชย์ รวมถึงการสร้าง e-money ที่
ผูใ้ ห้บริการ e-money ผูกโยงการออกเงินนี้กบั บัญชีเงินฝากธนาคารอีกทอดหนึ่ง โดยมีธนาคารกลางคอยดูแลให้ระบบเศรษฐกิจและการเงินเติบโตอย่างมีเสถียรภาพ ดูเ พิม่ ใน สุพริศร์ สุวรรณิก, “สกุลเงินดิจทิ ลั
ของธนาคารกลางในระดับรายย่อย : บริบทของไทย” (30 สิงหาคม 2564). สืบค้นจาก https://www.pier.or.th/abridged/2o21/11/ สืบค้นเมื่อ 13 พฤศจิกายน 2566.

7ฐิตมิ า ชูเชิด, “สามเส้าทีเ่ ข้ากันไม่ได้...ในโลกการเงินไร้ตวั กลาง” (สืบค้นจาก : https://www.bot.or.th/Thai/ResearchAndPublications/ articles/Pages/Article_dMay2021.aspx สืบค้นเมื่อ 13 พฤศจิกายน
2566.
3

ภาพที่ 2 คริปโทเคอร์เรนซี

2. คริ ปโทเคอร์เรนซี
สกุลเงินดิจทิ ลั หรือคริปโทเคอร์เรนซี (Cryptocurrency) หมายถึง เงินตราเข้ารหัสลับซึง่ เป็ นสินทรัพย์ ดิจทิ ลั
(Digital Asset) ทีเ่ ป็ นสื่อกลางในการทาธุรกรรม ซึง่ ใช้วทิ ยาการเข้ารหัสลับสาหรับรับประกัน ความถูกต้องของธุรกรรม
นัน้ เพื่อควบคุมการสร้างหน่วยเงินดิจทิ ลั เพิม่ และเพื่อยืนยันความถูกต้องของการโอน
day# 1% per day Random 1% Random 1% Random 1% Random 1%
and -1% and -2% and -3% and -4%
1 1,000.00 1,000.00 1,000.00 1,000.00 1,000.00
2 1,010.00 990.00 1,000.00 980.00 990.00
3 1,020.10 999.90 1,010.00 960.40 999.90
4 1,030.30 999.90 999.90 931.59 969.90
5 1,040.60 1,009.90 989.90 940.90 960.20
6 1,051.01 1,020.00 999.80 940.90 921.80
7 1,061.52 1,020.00 999.80 940.90 912.58
8 1,072.14 1,009.80 989.90 931.49 885.20
9 1,082.86 1,019.90 989.90 922.18 876.35
10 1,093.69 1,009.70 979.90 903.74 885.11
355 33,866.19 833.80 235.48 17.82 3.79
356 34,204.85 833.80 233.13 18.00 3.83
357 34,546.90 825.47 230.80 17.46 3.83
358 34,892.37 825.47 226.18 16.93 3.87
359 35,241.29 825.47 223.92 16.43 3.71
ตารางที่ 1 การทากาไรของคริปโทเคอร์เรนซี
4

สินทรัพย์ ธปท. ระบุว่า สินทรัพย์ดจิ ทิ ลั มี 2 ส่วน ได้แก่ (1) Central Bank Digital Currency (CBDC) ทีอ่ อกโดย
ธนาคารกลาง และ (2) Private Digital Currency ทีอ่ อกโดยเอกชนซึง่ ประกอบด้วย (2.1) ประเภททีม่ สี นิ ทรัพย์หนุน
หลัง หรือมีกลไกรักษามูลค่า (Stablecoin) ได้แก่ เงินตราหนุนหลัง (Fiat-Backed) สินทรัพย์อ่นื หนุนหลัง (Asset-
Backed) และใช้กลไก Smart Contract รักษามูลค่า (Algorithmic) และ (2.2) ประเภททีไ่ ม่มสี นิ ทรัพย์หนุนหลัง (Blank
Coin) ได้แก่ บิทคอยน์ (Bitcoin) และ อีเธอ (Ether)8 คริปโทเคอร์เรนซีจงึ ถือเป็ นเงินดิจทิ ลั รูปแบบหนึ่งทีค่ วบคุม โดย
กระจายศูนย์กลางผ่านบล็อกเชน9 สอดคล้องกับความหมายตามพระราชกาหนดการประกอบธุรกิจสินทรัพย์ ดิจทิ ลั
พ.ศ. 2561 มาตรา 3 ซึง่ ได้นิยามคริปโทเคอร์เรนซีว่าเป็ นหน่วยข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ซง่ึ ถูกสร้างขึน้ บนระบบหรือ
เครือข่ายอิเล็กทรอนิกส์ เพื่อใช้เป็ นสื่อกลางในการแลกเปลีย่ นให้ได้มาซึง่ สินค้า บริการ สิทธิต่าง ๆ หรือแลกเปลีย่ น
ระหว่างสินทรัพย์ดจิ ทิ ลั (digital asset) และรวมถึงหน่วยข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์อ่นื ใด ตามทีค่ ณะกรรมการกากับ
หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ก.ล.ต.) ประกาศกาหนด10 จึงสามารถพิจารณา ได้ว่า คริปโทเคอร์เรนซีเป็ นสกุลเงินที่
เข้ารหัสเสมือนจริงในระบบดิจทิ ลั ซึง่ ถือเป็ นสินทรัพย์ดจิ ทิ ลั และจะทางาน บนพืน้ ฐานระบบการกระจายอานาจ
(Decentralize) ของเทคโนโลยีบล็อกเชนทีท่ ุกคนในระบบสามารถรูข้ อ้ มูล ธุรกรรมชุดเดียวกันได้โดยไม่ตอ้ งผ่าน
ตัวกลาง (Centralized ledger) ทาให้สามารถตรวจสอบได้ และมีความปลอดภัย มากขึน้ เมื่อเทียบกับการทาธุรกรรม
ผ่านสถาบันทางการเงินรวมศูนย์แบบเดิม ระบบดังกล่าวยังช่วยลดต้นทุน ทางการเงิน ทาให้ธุรกรรมโอนมูลค่าระหว่าง
ประเทศเป็ นไปได้อย่างสะดวกผ่านระบบสัญญาอัจฉริยะ (Smart Contract) ทีเ่ ป็ นโปรแกรมคอมพิวเตอร์ขนาดเล็กหรือ
ชุดคาสั ่งทีช่ ว่ ยอานวยความสะดวกในการทาธุรกรรม เพราะชุดคาสั ่งนี้เขียนขึน้ ให้สามารถดาเนินการได้โดยอัตโนมัติ
ตามคาสั ่ง เมื่อมีการทาธุรกรรมระบบก็สามารถระบุผซู้ ้อื ผูข้ าย ชัดเจน ตรวจสอบ ยืนยัน และบังคับใช้ได้ผ่านระบบ
ดิจทิ ลั ปรากฏบนบล็อกเชน โดยไม่จาเป็ นต้องมีตวั กลาง (Decentralized ledger) เช่น ธนาคาร รัฐบาล ตัวแทนต่าง ๆ
อีกต่อไป ทาให้บทบาทของการควบคุมดูแล การเงินของธนาคารไปอยู่ทผ่ี ใู้ ช้งานมากกว่าตัวกลางทีค่ อยกาหนด11 และ
ทีส่ าคัญจะไม่สามารถย้อนกลับมาแก้ไข รายการทีเ่ กิดขึน้ ไปแล้วได้อกี ข้อมูลประวัตธิ ุรกรรมนี้จะถูกส่งเก็บไว้ในเครื่อง
คอมพิวเตอร์ทุกเครื่อง ทีร่ ว่ มในเครือข่ายสกุลเงินนี้12
คริปโทเคอร์เรนซีไม่มลี กั ษณะทางกายภาพเหมือนสกุลเงินทัวไปอย่
่ างดอลลาร์สหรัฐ หรือเงินบาท แต่อย่างไร
ก็ตาม ในปั จจุบนั มีเพียงธนาคารกลางของสาธารณรัฐเอลซัลวาดอร์ทเ่ี ป็ นประเทศแรกและประเทศ เดียวในโลกทีไ่ ด้

8 ธนาคารแห่งประเทศไทย (ธปท.), “ประเด็นการใช้สนิ ทรัพย์ดจิ ทิ ลั เพื่อการชาระค่าสินค้าและบริการ” (7 ธันวาคม 2564) สืบค้นจาก:


https://www.bot.or.th/Thai/AboutBOT/Activities/Documents/MediaBriefing2021/071264 Briefing.pdf สืบค้นเมื่อ 13 พฤศจิกายน 2566.

9 AR Group. “ราชบัณฑิตยสภา เผยแพร่คาศัพท์คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ” (The knowledge Provider, 15 สิงหาคม 2560) แหล่งทีม่ า:


https://www.ar.co.th/news_content/en/1160 สืบค้นเมื่อ 13 พฤศจิกายน 2566.

10 พระราชกาหนดการประกอบธุรกิจสินทรัพย์ดจิ ทิ ลั พ.ศ. 2561 มาตรา 3.

11 จิรเมธ ประเสริฐสุข และปั ทมพร โวหาร “การรับมือของแบงก์ชาติในโลกการเงินสมัยใหม่” สานักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจทิ ลั , สืบค้นจาก


https://www.depa.or.th/th/article-view/digital-currency สืบค้นเมื่อ 13 พฤศจิกายน 2566.

12 สานักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจทิ ลั . (ม.ป.ป.) “รูจ้ กั กับเงินสกุลดิจทิ ลั (Getting to Know Cryptocurrency)” สืบค้นจาก: https://www.depa.or.th/th/article-


view/article-getting-know-cryptocurrency สืบค้นเมื่อ 13 พฤศจิกายน 2566.
5

ยอมรับบิตคอยน์เป็ นสกุลเงินทางการทีส่ ามารถใช้ชาระหนี้ได้ตามกฎหมายได้13 ซึง่ เดิมประเทศนี้ กาหนดให้เงิน


ดอลลาร์สหรัฐเป็ นเงินทีใ่ ช้ในประเทศเป็ นหลักเนื่องจากค่าเงินท้องถิน่ ของประเทศเดิมมีค่าเงินผันผวน
ตลอดจนการไม่มวี นิ ัยทางการเงิน จึงได้หนั มาใช้สกุลเงินทีม่ คี วามผันผวนน้อยคือเงินสกุลดอลลาร์สหรัฐ แต่กรณีน้ี ถือ
ว่าเป็ นกรณีทป่ี ระเทศมีการใช้เงินสกุลทีธ่ นาคารกลางของประเทศไม่สามารถควบคุมได้ (Dollarization)
ทัง้ นี้ เพื่อเป็ นการสร้างความเชื่อมั ่นในระบบการเงินของประเทศ ในกรณีทป่ี ระเทศมีปัญหาเรื่องความเชื่อมั ่นทางการ
เงิน อยู่เดิม แต่ขอ้ จากัดของนโยบายนี้ ธนาคารกลางไม่สามารถทีจ่ ะดูแลภาวะการเงินในประเทศให้สอดคล้อง กับ
สถานการณ์ทางเศรษฐกิจของประเทศ เนื่องจากไม่ได้เป็ นผูค้ วบคุมค่าเงิน (ดอลลาร์สหรัฐ) ได้เต็มที14 ่ และคริปโทเคอร์
เรนซียงั คงเป็ นเพียงสิง่ สมมติทส่ี ร้างขึน้ เพื่อใช้เป็ นสื่อกลางในการแลกเปลีย่ นเพื่อให้ได้สนิ ค้า
หรือบริการซึง่ สามารถใช้เป็ นสื่อกลางได้กต็ ่อเมื่อผูใ้ ช้ทงั ้ สองฝ่ ายตกลงและยอมรับซึง่ กันและกัน คริปโทเคอร์เรนซี ตัว
แรกถือกาเนิดขึน้ อย่างเป็ นทางการในช่วงปลายปี ค.ศ. 2008 (พ.ศ. 2551) โดยผูเ้ ขียนซอฟต์แวร์คนหนึ่ง ทีใ่ ช้นามแฝง
ว่า Satoshi Nakamoto15 ได้ลงบทความทางอินเทอร์เน็ตชื่อ “Bitcoin-A Peer to Peer Electronic Cash System” ใน
กลุ่มด้านเทคโนโลยีการเข้ารหัสและชักชวนให้บุคคลทัวไปน ่ าโปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์ ระดับสูงทีต่ นเองได้
พัฒนาขึน้ ติดตัง้ ในเครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลเพื่อร่วมในเครือข่ายของการตรวจสอบ และเก็บข้อมูลธุรกรรม16 ซึง่ ได้
เสนอแนวคิดว่า “บิทคอยน์ไม่มใี ครเป็ นเจ้าของ ไม่มรี ปู ร่าง และไม่สามารถจับ ต้องได้เหมือนธนบัตรหรือเหรียญเงิน
ปกติ ระบบของบิทคอยน์ถูกประมวลผลโดยคอมพิวเตอร์ของผูใ้ ช้งานทัวโลก ่
บล็อกเชนจึงถูกนามาใช้ในการเก็บรายละเอียดของบิทคอยน์ทส่ี ามารถตรวจได้ตงั ้ แต่การโอนครัง้ แรก เมื่อเริม่ มีบทิ
คอยน์เป็ นเสมือนสมุดบัญชีธนาคารกลางทีแ่ จ้งการเคลื่อนไหวของบัญชีบทิ คอยน์ทวโลก
ั่ ถ้าผูม้ บี ญ
ั ชี
บิทคอยน์ทเ่ี คยใช้ส่งหรือรับบิทคอยน์ ทุกคนก็สามารถทีจ่ ะเข้ามาตรวจสอบได้ว่าแต่ละบัญชีเคยมีการเคลื่อนไหว ของ
จานวนบิทคอยน์เข้าออกมาแล้วก็บทิ คอยน์”17
คริปโทเคอร์เรนซี จึงแตกต่างกับ “เงินดิจทิ ลั (Digital Currency) ทีใ่ ช้กนั ในแพลตฟอร์มต่าง ๆ เช่น แอปพลิเค
ชัน (Application) ในโทรศัพท์มอื ถือ เนื่องจากเงินดิจทิ ลั มีมลู ค่าเท่ากับสกุลเงินทีแ่ ลกเปลีย่ นเข้าในระบบซึง่ มูลค่านี้ จะ
ไม่แปรผันไปตามอัตราแลกเปลีย่ นของเงินในแต่ละวันด้วย แต่คริปโทเคอร์เรนซีซง่ึ เป็ นเงินเสมือน (Virtual Currency)
รูปแบบหนึ่ง เช่น บิทคอยน์ (Bitcoin: BTC) เป็ นต้น ในแต่ละประเทศต่างมี เช่น ในกฎหมาย US Uniform Regulation
of Virtual-Currency Business Act (URVCBA) ของสหรัฐใช้คาว่า “สกุลเงินเสมือน (Virtual Currency) เช่นเดียวกับ

13 โจ ไทดี, “บิตคอยน์ : เอลซัลวาดอร์เป็ นชาติแรกในโลกทีใ่ ช้เงินดิจทิ ลั ชาระหนี้ได้ตามกฎหมาย” (BBC News, 7 กันยายน 2564) สืบค้นจาก
https://www.bbc.com/thai/international-58475067 สืบค้นเมื่อ 13 พฤศจิกายน 2566.

14 ธนาคารแห่งประเทศไทย (ธปท.). “ประเด็นการใช้สนิ ทรัพย์ดจิ ทิ ลั เพื่อการชาระค่าสินค้าและบริการ” (7 ธันวาคม 2564) สืบค้นจาก:


https://www.bot.or.th/Thai/AboutBOT/Activities/Documents/MediaBriefing2o21/071264 Briefing.pdf สืบค้นเมื่อ 13 พฤศจิกายน 2566.

15 Satoshi Nakamoto, “Bitcoin: A Peer-to-Peer Electronic Cash System Retrieved from: https://bitcoin.org/bitcoin.pdf accessed 13 November 2023.

16 เว็บไซต์: https://www.set.or.th/set/education/glossary.do?contentId=121 สืบค้นเมื่อ 13 พฤศจิกายน 2566.

17
Siam Blockchain. “Bitcoin คืออะไร” สืบค้นจาก: https://siamblockchain.com/bitcoin-%E0%B8%84%E0%B6%B9%E0%B8%AD-
%E0%B8%AD%E0%B8%B0%E0%B9%84%E0%B8%A3/ สืบค้นเมื่อ 13 พฤศจิกายน 2566.
6

กฎหมาย Revised Payment Services Act of Japan (PSA) ของญีป่ ่ นุ ใช้คา ว่า “สกุลเงินเสมือน (Virtual Currency)
เช่นเดียวกับสหรัฐ ในสิงคโปร์ใช้คาว่า “โทเคน” (Payment Token) ทีส่ ามารถใช้เพื่อการชาระหนี้ได้ ส่วนประเทศไทย
ตาม พ.ร.ก. การประกอบธุรกิจสินทรัพย์ดจิ ติ อล พ.ศ. 2561 มาตรา 3 ได้ใช้คาว่า “คริปโทเคอร์เรนซี”
(Cryptocurrency)18
คริปโทเคอร์เรนซีมมี ลู ค่าทีส่ ามารถแลกเปลีย่ นกับเงินตราแท้จริงได้ โดยเป็ นไปตามความต้องการ ของตลาด
ทีม่ กี ารพลวัตร (dynamic) ตลอดเวลา เช่น BTC ในช่วงปี 2551 ทีเ่ ริม่ มีการขุด BTC จากในระบบ นัน้ มูลค่า 1 BTC มี
ราคาเพียง 1.39 ดอลลาร์สหรัฐเท่านัน้ และเมื่อเดือนธันวาคม 2560 อัตราแลกเปลีย่ น 1 BTC มีราคาถึง 17,549
ดอลลาร์สหรัฐ แต่เมื่อเดือนกุมภาพันธ์ 2561 อัตราแลกเปลีย่ น 1 BTC มูลค่ากลับลดลงเหลือเพียง 7,964 ดอลลาร์
สหรัฐ

ลดลงต่อเนื่องถึงเดือนเมษายน 2563 อัตราแลกเปลีย่ น 1 BTC มีมลู ค่า 7,130 ดอลลาร์สหรัฐ19 ต่อมาเมื่อเดือน


กรกฎาคม 2564 อัตราแลกเปลีย่ น 1 BTC ราคาพุ่งสูง ถึง 67,553 ดอลลาร์สหรัฐ และในเดือนเมษายน 2565 อัตรา
แลกเปลีย่ น 1 BTC กลับมาลดลงเหลือราคา 40,407 ดอลลาร์สหรัฐ (ประมาณ 1,364,699 บาท)20 และ ณ วันที่ 1
มิถุนายน 2565 อัตราแลกเปลีย่ น 1 BTC กลับมาลดลงเหลือราคา 29,794 ดอลลาร์สหรัฐ (ประมาณ 1,024,157
บาท)21 จึงพิจารณาได้ว่า คริปโทเคอร์เรนซี เช่น BTC มีความผันผวนสูงมากเมื่อเปรียบเทียบกับอัตราแลกเปลีย่ นสกุล
เงินตราแบบอื่น (Fiat Currency) ธนาคารแห่งประเทศไทย (ธปท.) กาหนดลักษณะของเงินตราทีด่ ี (Means of
Payment) ควรมีลกั ษณะทีป่ ระชาชนทัวไปสามารถเข้
่ าถึงได้ (Ubiquity) สามารถคงมูลค่าได้ (Store of Value) และ
ปลอดภัย รวมถึงได้รบั การยอมรับจากผูใ้ ช้และผูร้ บั (Trust)22 แต่อย่างไรก็ตาม ในปัจจุบนั ธปท. ยังมีนโยบาย “ไม่”
สนับสนุนการนาเงินดิจทิ ลั ไปใช้ชาระค่าสินค้าและบริการ
คริปโทเคอร์เรนซีและบล็อกเชนมีความเกีย่ วข้องสัมพันธ์กนั และทาให้เกิดการเปลีย่ นแปลงระบบเงินตราของ
โลกอย่างเห็นได้ชดั คริปโทเคอร์เรนซีจงึ ถือว่าเป็ นสินทรัพย์ดจิ ทิ ลั รูปแบบหนึ่งทีใ่ ช้เทคโนโลยี บล็อกเชนพลิกโฉม
(Disruptive Technology) เพื่อให้มคี วามสอดคล้องกับนโยบายของรัฐบาลทีจ่ ะผลักดัน ด้านการพัฒนาด้านเทคโนโลยี
และนวัตกรรมประเทศไทย 4.0 ซึง่ ทาให้มศี กั ยภาพและความพร้อมในการแข่งขัน กับต่างประเทศได้ ผูน้ าภาครัฐและ

18สานักงานคณะกรรมการกากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ก.ล.ต.) กาหนดหน่ วยข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์อ่นื ทีม่ ฐี านะเป็ นคริปโทเคอร์เรนซี จานวน 7 สกุลเงิน


ได้แก่ Bitcoin (BTC), Bitcoin Cash (BCH), Ethereum (ETH), Ethereum Classic (ETC), Litecoin (LTC), Ripple (XRP) และ Stellar (XLM); ดูเพิม่ สมพัฒน์ มี
มานัส และเสถียรภาพ นาหลวง, “มาตรการทางกฎหมายในการจัดเก็บภาษีคริปโทเคอร์เรนซีในประเทศไทย” วารสาร การบริหารปกครอง (Governance Journal) ปี ท่ี
ฉบับที่ 1 (มกราคม - มิถุนายน 2564) หน้า 134.

19 เว็บไซต์ Buy Bitcoin Worldwide สืบค้นจาก: https://www.buybitcoinworldwide.com/ สืบค้นเมื่อ 13 พฤศจิกายน 2566.

20 เว็บไซต์ https://www.bitkub.com/market สืบค้นจาก: https://th.investing.com/crypto/bitcoin/historical-data สืบค้นเมื่อ 13 พฤศจิกายน 2566.

21 เว็บไซต์ Investing.com สืบค้นเมื่อ 13 พฤศจิกายน 2566.

22 ธนาคารแห่งประเทศไทย (ธปท.), “ประเด็นการใช้สนิ ทรัพย์ดจิ ทิ ลั เพื่อการชาระค่าสินค้าและบริการ” (7 ธันวาคม 2564) สืบค้นจาก:


https://www.bot.or.th/Thai/AboutBOT/Activities/Documents/MediaBriefing2021/071264 Briefing.pdf สืบค้นเมื่อ 13 พฤศจิกายน 2566.
7

ภาคธุรกิจทีท่ าหน้าทีก่ าหนดนโยบายควรให้ความเข้าใจเทคโนโลยีดงั กล่าว ซึง่ อาจมีผลกระทบต่อความเป็ นอยู่ของ


ประชาชนชาวไทย

3. คริ ปโทเคอร์เรนซี กบั ระบบเศรษฐกิ จไทย


ในปั จจุบนั ภาคเอกชนได้มคี วามพยายามพัฒนาคริปโทเคอร์เรนซีดว้ ยการอิงมูลค่ากับสินทรัพย์ หรือเงินตรา
เพื่อลดจุดอ่อนของคริปโทเคอร์เรนซีโดยมีวตั ถุประสงค์ให้เป็ นคริปโทเคอร์เรนซีทม่ี ลู ค่าผันผวน น้อยลง โดยเรียกคริป
โทเคอร์เรนซีประเภทนี้มชี ่อื ว่า “Stablecoin” และได้พฒั นา Stablecoin นี้ไปประยุกต์ใช้ กลไกสัญญาอัจฉริยะในการ
เทียบมูลค่าให้เท่ากับสกุลเงินตราต่าง ๆ เช่น Stablecoin ทีช่ ่อื ว่า THT บนแพลตฟอร์มเทอรา (Terra Platform) ทีอ่ ยู่
ในต่างประเทศทีก่ าหนดให้ 1 หน่วยของมูลค่า THT เป็ น 1 บาท23 ธปท. ระบุว่า แม้ยงั ไม่ได้มกี ารใช้ THT เป็ นสื่อกลาง
ในการแลกเปลีย่ น แต่ถา้ THT หรือ Stablecoin ทีม่ ลี กั ษณะ คล้ายกันได้ถูกนามาใช้แทนเงินไทยบาทแล้วทาให้ระบบ
เงินตราของไทยจะมีมากกว่าหนึ่งระบบ ซึง่ อาจส่งผลกระทบต่อความเชื่อมั ่นของคนไทยและความมั ่นคงของระบบ
เงินตราของประเทศต่อนานาชาติเนื่องจากระบบเงินตราเป็ นรากฐานสาคัญของเศรษฐกิจ การกระทาดังกล่าวอาจเข้า
ข่ายเป็ นการกระทาทีข่ ดั ต่อ พ.ร.บ. เงินตรา พ.ศ. 2501 ก็ได้24
ธนาคารกลางในหลายประเทศอยู่ระหว่างการพัฒนาคริปโทเคอร์เรนซีหรือสกุลเงินดิจทิ ลั ของธนาคารกลาง
(Central Bank Digital Currency: CBDC) โดยเฉพาะเงินบาททีเ่ ปลีย่ นรูปแบบจากธนบัตรมาเป็ นรูปแบบดิจทิ ลั ซึง่ ออก
โดยธนาคารกลางทีจ่ ะทาให้ประชาชนสามารถเข้าถึงเงินในรูปดิจทิ ลั และนาไปใช้จ่ายในชีวติ ประจาวัน ได้สะดวกและ
รวดเร็วยิง่ ขึน้ เพื่อส่งเสริมการเข้าถึงโครงสร้างพืน้ ฐานระบบชาระเงินได้งา่ ยขึน้ (Retail CBDC)25 ส่วน ธปท. เริม่ พัฒนา
CBDC สาหรับการทาธุรกรรมระหว่างสถาบันการเงิน (Wholesale CBDC) รวมถึง Retail CBDC ตัง้ แต่เดือนสิงหาคม
2561 แล้ว ดังนัน้ จึงพิจารณาได้ว่าคริปโทเคอร์เรนซีประเภท Stablecoin นัน้ มีทงั ้ ข้อดีทอ่ี าจเป็ นอีกทางเลือกสาหรับ
ประเทศและประชาชนในด้านการลดค่าใช้จ่ายในการแลกเปลีย่ น ชาระหนี้ หรือทาธุรกรรมได้ ลดต้นทุนการโอนเงิน
23 ธนาคารแห่งประเทศไทย (ธปท.) ระบุว่า Stablecoin เป็ นหนึ่งในประเภทของคริปโทเคอร์เรนซีทถ่ี ูกพัฒนาเพื่อให้มลู ค่าใกล้เคียงเงินตรา หรือสินทรัพย์ท่ตี อ้ งการ
อ้างอิง แบ่งเป็ น 3 ประเภท ได้แก่ 1) ประเภททีอ่ า้ งอิงกับเงินทัวไปในอั
่ ตราส่วน 1.1 เช่น Stablecoin THT ซึง่ ถูกสร้างบน แพลตฟอร์มชื่อว่า Terra ในต่างประเทศ
และใช้กลไกในการทาให้มลู ค่าของเหรียญคงทีเ่ พื่อทาให้ THT 1 หน่ วย มีมูลค่าใกล้เคียงกับเงินไทย 1 บาท ผ่านการแลกเปลีย่ นระหว่าง THT กับ Luna ซึง่ Luna
เป็ นคริปโทเคอร์เรนซีอกี สกุลของ Terra blockchain ทีใ่ ช้ในการสร้าง THT 2) ประเภท ทีอ่ งิ มูลค่ากับสินทรัพย์ต่าง ๆ และ 3) ประเภทที่ไม่ได้องิ มูลค่ากับเงินทัวไปหรื
่ อ
สินทรัพย์ใด ๆ แต่ประยุกต์ใช้กลไกสัญญาอัจฉริยะในการเทียบมูลค่า ให้เท่ากับสกุลเงินตราต่าง ๆ ทีอ่ ยู่ในบล็อกเชนในการกาหนดมูลค่าของเหรียญให้คงทีเ่ สมอ ดูเพิม่
ธนาคารแห่งประเทศไทย, ข่าว ธปท. ฉบับที่ 15/2564 เรื่อง Stablecoin ทีม่ กี ารระบุหน่วยมูลค่าเป็ นบาท.” (17 มีนาคม 2564). สืบค้นจาก:
https://www.bot.or.th/Thai/ PressandSpeeches/Press/2o21/Pages/no564.aspx สืบค้นเมื่อ 13 พฤศจิกายน 2566.

24 พระราชบัญญัตเิ งินตรา พ.ศ. 2501 มาตรา 9 “ห้ามมิให้ผใู้ ดทา จาหน่าย ใช้ หรือนาออกใช้ซงึ่ วัตถุหรือเครื่องหมายใด ๆ แทนเงินตรา เว้นแต่จะได้รบั อนุญาตจาก
รัฐมนตรี

25 ธนาคารแห่งประเทศไทย (ธปท.). “Retail CBDC PromptpPay และ Cryptocurrency แตกต่างกันอย่างไร” (BOT Magazine) สืบค้นจาก:
https://www.bot.or.th/Thai/BOTMagazine/Pages/25650
Theknowledge.aspx#:~:text=A%bo%mA%2oretail%2oCBDC%20%E0%B4%84%E0%B8%B9%E0%B8%AD%90%E0%B9%80%E0%B4%87%E0%B8%B4
%E0%B4%99,%E0%B9%80%E0%B8%8
7%E0%B8%B4%E0%B4%99%E0%B4%97%E0%B8%B%E0%B4%88%E0%B9%80%E0%B4%42%E0%B9%89%E0%B8%
B0%E0%B8%96%E0%B8%B5%E0%B8%87%E0%B8%87%E0%B8%88%E0%B8%B9%E0%B8%A5%90%E0%B8%A9%E0%B8%B5 สืบค้น เมื่อ 2
มิถุนายน 2565.
8

ระหว่างประเทศ เพิม่ รูปแบบการระบบทุนทีห่ ลากหลาย เพิม่ โอกาสการแข่งขันให้ผเู้ ล่นหน้าใหม่ ลดการครอบครอง


ตลาดและผูกขาดของธุรกิจการเงินภาคเอกชนรายใด รายหนึ่ง อีกทัง้ ยังอาจช่วยสร้างอุปสรรคต่อการดาเนินกิจกรรม
ของเหล่าอาชญากร เช่น ผูก้ ระทาความผิดฐาน ฟอกเงินและสนับสนุ นการก่อการร้าย หรือนักค้ายาเสพติดทีน่ ิยมใช้เงิน
สดในการทาธุรกรรมเพื่อหลบเลีย่ ง การตรวจสอบของเจ้าหน้าทีร่ ฐั ได้ รวมถึงยังเป็ นการช่วยสนับสนุนให้รฐั บาลส่งเสริม
กระตุน้ เศรษฐกิจโดยภาครัฐ (Goverment Transfers) ซึง่ ทาให้ภาครัฐมีขอ้ มูลอ้างอิงของผูใ้ ช้ในภาพรวมจาก Retail
CBDC ในการดาเนินนโยบาย การคลังได้ตรงจุดมากขึน้ อีกทัง้ Stablecoin ยังมีการรักษามูลค่าให้คงทีท่ าให้มคี วามผัน
ผวนต่ากว่าคริปโทเคอร์ เรนซีประเภทอื่น เนื่องจาก ไม่ใช่สนิ ทรัพย์ทม่ี วี ตั ถุประสงค์หลักเพื่อการเก็งกาไร” ใน
ขณะเดียวกันข้อเสียของคริป โทเคอร์เรนซียงั คงเป็ นช่องทางทีเ่ หล่าอาชญากรพยายามทีจ่ ะใช้เป็ นเครื่องมือในการ
สนับสนุนการฟอกเงิน และการสนับสนุนทางการเงินแก่การก่อการร้าย ค้ายาเสพติด หรือก่ออาชญากรรมทางไซเบอร์
อย่างต่อเนื่อง รวมถึงการขุดเหรียญคริปโทเคอร์เรนซียงั ได้สร้างภาวะโลกร้อน การสิน้ เปลืองพลังงาน เป็ นต้น ดังนัน้
การลงทุน ในลักษณะนี้อาจมีความเสีย่ ง ประชาชนจึงควรพิจารณาข้อมูลอย่างรอบครอบเพื่อป้ องกันมิให้เกิดความ
เสียหาย ต่อประชาชนและเศรษฐกิจของประเทศไท
III

บรรณานุกรม
บรรณานุกรม
กองกฎหมายต่างประเทศ สานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา. “Digital Currency: แนวนโยบายและกฎหมาย เกีย่ วกับ
สกุล
เงินดิจทิ ลั ” สืบค้นจาก: https://lawforasean.krisdika.go.th/File/files/Digital%eoCurrency.pdf สืบค้นเมื่อ 13
พฤศจิกายน 2566.
เกรียงไกร โภคานุกรม, (2560) มาตรการการจัดเก็บภาษีทเ่ี กีย่ วกับสกุลเงินดิจทิ ลั (Cryptocurrency) วิทยานิพนธ์
ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชากฎหมายเศรษฐกิจ คณะนิตศิ าสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
จิรเมธ ประเสริฐสุข และปั ทมพร โวหาร “การรับมือของแบงค์ชาติในโลกการเงินสมัยใหม่” (สานักงานส่งเสริม เศรษฐกิจ
ดิจทิ ลั ) สืบค้นจาก: https://www.depa.or.th/th/article-view/digital-currency สืบค้นเมื่อ 13 พฤศจิกายน
2566.
โจ ไทดี. “บิตคอยน์: เอลซัลวาดอร์เป็ นชาติแรกในโลกทีใ่ ช้เงินดิจทิ ลั ชาระหนี้ได้ตามกฎหมาย” (BBC News, 7
กันยายน
2564) สืบค้นจาก: https://www.bbc.com/thai/international-58475067 สืบค้นเมื่อ 13 พฤศจิกายน 2566.
ฐิตมิ า ชูเชิด. “สามเส้าทีเ่ ข้ากันไม่ได้...ในโลกการเงินไร้ตวั กลาง” สืบค้นจาก: https://www.bot.or.th/Thai/
ResearchAndPublications/articles/Pages/Article dMay2021.aspx สืบค้นเมื่อ 13 พฤศจิกายน 2566.
ธนาคารแห่งประเทศไทย (ธปท.), “ข่าว ธปท. ฉบับที่ 15/2564 เรื่อง Stablecoin ทีม่ กี ารระบุหน่วยมูลค่า เป็ น
บาท” (17 มีนาคม 2564). สืบค้นจาก: https://www.bot.or.th/Thai/ PressandSpeeches/ Press/2o21/
Pages/n1564.aspx สืบค้นเมื่อ 13 พฤศจิกายน 2566.
ธนาคารแห่งประเทศไทย (ธปท.). “ประเด็นการใช้สนิ ทรัพย์ดจิ ทิ ลั เพื่อการชาระค่าสินค้าและบริการ” (2 ธันวาคม 2564)
สืบค้นจาก: https://www.bot.or.th/Thai/AboutBOT/Activities/Documents/ MediaBriefing2021/271264
Briefing.pdf สืบค้นเมื่อ 13 พฤศจิกายน 2566.
ธนาคารแห่งประเทศไทย (ธปท.). “Retail CBDC PromptpPay และ Cryptocurrency แตกต่างกันอย่างไร” ( BOT
Magazine) สืบค้นจาก : https://www.bot.or.th/Thai/BOTMagazine/
Pages/256501Theknowledge.aspx#:~:text=A%20%mA%2oretail%20CBDC%20%E0%B8%84%E0%B
8%B9%E0%
B8%AD%20%E0%B9%80%E0%B4%87%E0%B8%B4%E0%B4%99,%E0%B9%80%E0%B4%87%E0
%B8%B4%E0%B8%99%E0%B4%97%E0%B8%B5%E0%B9%88%E0%B9%80%E0%B8%82%E0%B
IV

%89%E0%B8%B0%E0%B8%96%E0%B8%B5%E0%B8%87%E0%B8%87%E0%B9%88%E0%B8%B
9%E0%B8%A5%90%E0%B8%A9%E0%B6%B5 สืบค้นเมื่อ 13 พฤศจิกายน 2566.
นกนวลพรรณ ภวสันต์, “รูจ้ กั Stablecoin” สานักงานคณะกรรมการกากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ก.ล.ต.)
(อีไฟแนนซ์ไทย, 5 พฤษภาคม 2564).
วราภรณ์ สหัสโพธิ,์ ภคเชษ มีพนั ลม, รัฐวิชย์ อนันตวิทยานนท์, ปุณยวัจน์ มาลากุล ณ อยุธยา และนุชพร มัชปา โต.
“บล็อกเชน (Blockchain)” รายงานการฝึกอบรมตามหลักสูตรกฎหมายเกีย่ วกับคดีพาณิชย์และเศรษฐกิจ
ระหว่างวันที่ 31 สิงหาคม ถึง 14 กันยายน 2562 ณ มหาวิทยาลัยคิวชู ญีป่ ่ นุ แหล่งทีม่ า:
https://oia.coj.go.th/th/file/get/file/201909270751910fecfa54aceb681fofe647695145335.pdf สืบค้นเมื่อ
13 พฤศจิกายน 2566.
สมพัฒน์ มีมานัส และเสถียรภาพ นาหลวง, “มาตรการทางกฎหมายในการจัดเก็บภาษีคริปโทเคอร์เรนซี ในประเทศ
ไทย”
วารสารการบริหารปกครอง (Governance Journal) ปี ท่ี 10 ฉบับที่ 1 (มกราคม - มิถุนายน 2564) หน้า 134.
สุพริศร์ สุวรรณิก, “สกุลเงินดิจทิ ลั ของธนาคารกลางในระดับรายย่อย: บริบทของไทย” (30 สิงหาคม 2564)
สืบค้นจาก: https://www.pier.or.th/abridged/2021/11/ สืบค้นเมือ่ 13 พฤศจิกายน 2566.
สานักข่าวอีไฟแนนซ์ไทย, “รูจ้ กั บล็อกเชน-คริปโต เทคโนโลยี ปฏิบตั โิ ลก!” (18 ตุลาคม 2561)
สืบค้นจาก:
https://www.efinancethai.com/Spinterview/SpinterviewMain.aspx?release=y&name=i_bitkub สืบค้นเมื่อ
13 พฤศจิกายน 2566.
สานักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจทิ ลั . (ม.ป.ป.). “รูจ้ กั กับเงินสกุลดิจทิ ลั (Getting to Know Cryptocurrency)”
สืบค้นจาก: https://www.depa.or.th/th/article-view/article-getting-know-cryptocurrency สืบค้นเมื่อ 13
พฤศจิกายน 2566.
อริญชัย วีรดุษฎีนนท์, “สกุลเงินดิจทิ ลั มูลค่าแท้จริงอยู่ทค่ี วามเชือ่ มั ่น” [ออนไลน์], 24 มกราคม 2561.
แหล่งทีม่ า https://themomentum.co/cryptocurrency-bitcoin-feature/ สืบค้นเมื่อ 13 พฤศจิกายน 2566.
อาณัติ ลีมคั เดช. “แนวทางประเมินมูลค่า Cryptocurrency” วารสารสังคมวิจยั และพัฒนา ปี ท่ี 3 ฉบับที่ 2
(2564), หน้า 2.
AR Group, “ราชบัณฑิตยสภา เผยแพร่คาศัพท์คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ”
(The knowledge Provider, 15 สิงหาคม 2560) แหล่งทีม่ า: https://www.ar.co.th/news_content/en/1160
สืบค้นเมื่อ 13 พฤศจิกายน 2566.
Lake, J. “Understanding cryptography's role in blockchains”
V

(Comparitech, 10 April 2019) April 2022. From: https://www.comparitech.com/crypto/cryptography-


blockchain/#:~:text=One%2oof%2othe%2okey%bocontrasts
rather%eothan%bostone%e0and%eacement.
Massie, G. "No regrets": Meet the crypto developer who spent $m. billion in Bitcoin on pizza.
(Independent, 26 May 2021). Retrieved 17 April https://www.independent.co.uk/tech/bitcoin-pizza-
sell-crypto-jeremy-sturdivant-b1854212.html.
Nakamoto, S. “Bitcoin: A Peer-to-Peer Electronic Cash System" Retrieved https://bitcoin.org/bitcoin.pdf
accessed 22 May 2022.

You might also like