You are on page 1of 70

บทที่ 4

การออกแบบผังโรงงานอย่างมีระบบ
บทที่ 4
การออกแบบผังโรงงานอย่างมีระบบ
บทที่ 4
การออกแบบผังโรงงานอย่างมีระบบ
ปัญหาในการวางผังโรงงาน

1) การออกแบบและวางผังโรงงานใหม่
2) การออกแบบและปรับปรุงผังโรงงานเก่า
หลักการออกแบบผังโรงงานอย่างมีระบบ
(Systematic layout planning, SLP)
ขั้นตอนที่ 1 เลือกทาเลที่ตั้งโรงงาน

ขั้นตอนที่ 2 ออกแบบแผนผังอย่างหยาบหรือคร่าวๆ (Block Layout) เพื่อให้ทราบ


ว่าหน่วยงานใดตั้งอยู่ที่ส่วนใดของโรงงาน นการออกแบบ งไง
ใน Process
=
ขั้นตอนที่ 3 ออกแบบแผนผังอย่างละเอียด แสดงให้เห็นถึงตาแหน่งและลักษณะ
การจัดวางของเครื่องจักร เครื่องมือ และสิ่งอานวยความสะดวกต่างๆ เช่น ห้องน้า
ห้องเครื่องมือ โรงอาหาร เป็นต้น โดยกาหนดความกว้างและทิศทางของเส้นทาง
ต่างๆ ที่ใช้เป็นทางเดินและทางขนถ่ายลาเลียงในโรงงานไว้อย่างชัดเจน
<- เส
ด ง จ อง controlและเ อ list
ขั้นตอนที่ 4 ติดตั้ง ติดตามผล และแก้ไข เป็นขั้นตอนการติดตัง้ และดาเนินงานตาม
ผังโรงงานที่ออกแบบ พร้อมติดตามผลการปฏิบัตงิ านจริง และปรับปรุงแก้ไขหาก
พบปัญหาหรือข้อบกพร่อง
ยั
มี
ต้
สื้
นั้
ร็
ติ
ตั้
ตัวอย่างแผนผังอย่างหยาบ
over wie
w
detail

% Plan พน ,กระบวนการอะไร าง

ตัวอย่างแผนผังอย่างละเอียด
บ้
มี
ที่
พื้
มี
information องครบ


เ ง ณภาพ %
เ ง ณภาพ

ขั้นตอนและวิธีการออกแบบ
แผนผังอย่างหยาบ

g4's แวญแผน ง สต
&
วาง
~ น clant

จะ
มาก *
·

ประเ นใ Fair
↳> ควรจะ
คุ
คุ
ที่
สั
ที่
พิ
ที่
ชิ
ห้
สิ้
มิ
ผั
ต้
การเก็บข้อมูลพื้นฐาน PQRST
อักษร P: Product
ชนิดผลิตภัณฑ์หรือสินค้าที่จะผลิต ทั้งในปัจจุบันและในอนาคตทั้งใกล้และไกล
P (Product) อักษร Q: Quantity
จะผลิตอะไร ปริมาณผลิตภัณฑ์หรือสินค้าแต่ละชนิดที่จะผลิต อาจเป็นจานวนน้าหนัก หรือมูลค่า
S (Supporting Service)
ของสินค้าทั้งในปัจจุบันและในอนาคต ซึ่งเป็นข้อมูลที่ได้จากการพยากรณ์หลังการ
มีอะไรช่วยให้การผลิตเป็นไปได้ วิเคราะห์ตลาดทั้งระยะสั้นและยาว
R (Routing) อย่างราบรื่น อักษร R: Routing
ลาดับขั้นตอนการผลิตเป็นอย่างไร T (Time) ลาดับขั้นตอนการผลิต ผู้ออกแบบควรออกแบบให้มีขั้นตอนการผลิตสั้นที่สุด ทาให้
ผลิตเมื่อไหร่ ใช้เวลาเท่าไหร่ การวางแผนการไหลของวัสดุหรือชิ้นส่วนในการผลิตง่ายขึน้ ซึ่งง่ายต่อการออกแบบ
Q (Quantity) วางผังโรงงาน
กุญแจ PQRST เห อน น
ปริมาณ W H Y - งเ บเยอะ error อน

อักษร S: Supporting Service
ar แ ละคน

↳ งเ นเยอะ ง หน่วยสนับสนุนที่ให้บริการการผลิต เช่น หน่วยรับส่งของ โกดัง หน่วยซ่อมบารุง
หน่วยจัดซื้อ หน่วยบริหารจัดการ ห้องน้า ห้องพยาบาล ที่จอดรถ โรงอาหาร บริเวณ
ทิ้งขยะ เป็นต้น โดยปกติหน่วยสนับสนุนจะใช้พื้นที่มากกว่าหน่วยผลิต
อักษร T: Time

WHY: เป็นการย้าให้ผู้ออกแบบตั้งคาถาม เพื่อให้มั่นใจว่าได้ข้อมูล PQRST ที่แม่นยา เที่ยงตรง และ เวลาที่ใช้ในการผลิตแต่ละขั้นตอน ความถี่ในการผลิต เพื่อนามาคานวณหาชนิดและ
จานวนเครื่องจักร จานวนคนงาน และสิ่งอานวยความสะดวกต่างๆ ที่ต้องใช้ ทาให้
น่าเชื่อถือเพียงพอในการออกแบบโรงงาน
สามารถกาหนดขนาดพื้นที่ที่ต้องการได้
น้
ตี
กิ
ก็
ยิ่
ยิ่
มื
ม่
ยิ่
ยิ่
กั
ต่
ความสัมพันธ์ของ P-Q กับชนิดของผังโรงงาน

จะเลือกวางผังโรงงานชนิดใด
A. วางผังแบบตามขัน
้ ตอน/สายการผลิต
B. วางผังแบบผสมผสาน/กลุม

มาก
C. วางผังตามชนิดเครือ่ งจักร/กระบวนการผลิต
A D. วางผังตามตาแหน่งงาน

B
ปริมาณที่ผลิต

C
D
น้อย

น้อย ชนิดที่ผลิต มาก


การเก็บข้อมูลพื้นฐาน PQRST
การวิเคราะห์ P-Q: การวิเคราะห์ชนิดผลิตภัณฑ์และปริมาณในการผลิตจะช่วยให้ผู้ออกแบบในการเลือกชนิดของผังโรงงาน ดังภาพที่ 4.6

การวิเคราะห์ P-Q-R: ทาให้ทราบลักษณะและความถี่ในการไหลของวัสดุระหว่างหน่วยงาน ซึ่งเป็นข้อมูลเชิงปริมาณเพื่อนาไปวิเคราะห์หาความสัมพันธ์


ระหว่างหน่วยผลิต
peac
การวิเคราะห์ P-Q-S: ทาให้ทราบความสัมพันธ์ระหว่างหน่วยผลิตกับหน่วยสนับสนุนการผลิต และระหว่างหน่วยสนับสนุนการผลิตด้วยกัน โดยอาศัย
ข้อมูลเชิงคุณภาพในการวิเคราะห์

การวิเคราะห์ R-T: เพื่อนามาวิเคราะห์หาชนิดและจานวนเครื่องจักร จานวนคนงาน และสิ่งอานวยความสะดวกต่างๆ ที่ต้องใช้ ทาให้ประมาณขนาด


พื้นที่ของหน่วยผลิตได้ ไ
จ เ น อง
As ม
การวิเคราะห์ S: เพื่อนามาวิเคราะห์หาชนิดและขนาดของส่วนสนับสนุนการผลิตที่จาเป็นต้องมี ทาให้ประมาณขนาดพื้นที่ของส่วนสนับสนุนการผลิตได้
มี

ม่
ป็
ท่
ต้
ตัวอย่างการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างหน่วยงาน
ใ เ นท

แผนกผลิต A ความสัมพันธ์ที่มีความใกล้ชิดมากที่สุด จะต้อง


I A ให้อยู่ติดกัน
แผนกผลิต B O ความสัมพันธ์ที่มีความใกล้ชิดน้อยกว่า A
O E E
สานักงาน E A เล็กน้อยมีความจาเป็นมากต่อที่ต้องอยู่ใกล้กัน
O E ความสัมพันธ์ที่มีความใกล้ชิดน้อยกว่า E
ห้องเก็บเครื่องมือ I I เล็กน้อย มีความจาเป็นต้องอยู่ใกล้กัน
O
โกดังวัตถุดิบ O ความสัมพันธ์ธรรมดา
U ไม่มีความสัมพันธ์กันเลย
X ความสัมพันธ์เป็นลบ อยู่ใกล้กันไม่ได้
คู่
ดู
กั
ป็

ห้
ตัวอย่างการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างหน่วยงาน
ไป
1.โกดัง 2.กลึง 3.เจาะ 4 เจียร 5.QC
จาก

1. โกดัง 10
2.กลึง 3 1
3.เจาะ 4
4.เจียร 5
5.QC
ด นใจ
ยาก
อ ล
ณภาพ

การวิเคราะห์ความสัมพันธ์โดยอาศัยข้อมูลเชิงปริมาณ
ทา

เน นแผนก
้ แนว
อาน การวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างหน่วยงานโดยอาศัยข้อมูลเชิงปริมาณหรือการวิเคราะห์การไหลของวัสดุเป็น
เการ


หัวใจสาคัญของการวางผังโรงงาน ดังนั้น ก่อนวิเคราะห์การไหลต้องพิจารณาให้ถี่ถ้วนและรอบคอบก่อนว่า ลาดับขั้นตอนการ
ผลิต (R-Routing) ที่ออกแบบนั้นถูกต้องและมีขั้นตอนในการผลิตสั้นที่สุด การปรับปรุงขั้นตอนการผลิตด้วยการตั้งคาถาม ดังนี้
1) การกาจัด (Elimination) หน่วยงานนี้สาคัญหรือไม่ สามารถกาจัดหรือตัดทิ้งได้หรือไม่
2) การรวม (Combination) สามารถรวมหน่วยงานเข้าด้วยกันได้หรือไม่ <ใ เยอะ)

3) การเปลี่ยนหรือสลับลาดับขั้นตอน (Rearrangement) สามารถเปลี่ยนหรือสลับขั้นตอนการทางานเพื่อให้ทางาน


cycle time?
ได้เร็วขึ้นได้หรือไม่ และเปลี่ยนหรือจัดสถานที่ คน หรือสิ่งของใหม่ได้หรือไม่
4) การปรับปรุงรายละเอียดเพื่อให้ทางานง่ายขึ้น (Simplification) สามารถปรับปรุงวิธีการทางาน หรือเครื่องมือ
อุปกรณ์ เพื่อให้ทางานเร็วและง่าย หรือเคลื่อนที่น้อยลงได้หรือไม่ ป บป งใ เ ยน detail ค บ ย
ระ
ข้
ตั
คุ
มี
นิ
รี
มั้
ห้
รั
รั
มู
อื่
ห้
สิ
รุ
เครื่องมือทีใ่ ช้ในการวิเคราะห์การไหลของวัสดุ

สัญลักษณ์ ความหมาย ตัวอย่าง


าส
เ ต การเป ยนแปลง
การทางาน/Operation การตอกตะปู การผสม การพิมพ์ดีด ·


ใน
การขนส่ง/ ขนย้ายวัสดุด้วยสายพานลาเลียง,คนงานหรือ ส เค อน ง ดห ง (คนา

ลาเลียง/Transportation รถเข็น -> โดยไ เ ด เป ยนแพด


การ ง

วัตถุดิบในไซโล สินค้าในคลังสินค้า เอกสารใน งาน อ บ


การเก็บรักษา/Storage น อง

ตู้เก็บเอกสาร %

รอลิฟท์ วัสดุรอนาไปผลิตต่อ เอกสารรอการ งาน ผ ต ไจบ


~ น

การคอย/Delay
จัดเก็บ
อง การตรวจสอบ ตรวจdimation
สายตา
ตรวจสอบคุณภาพ อ่านอุณหภูมิบนแผง 4

การตรวจสอบ/Inspection ↳o

ควบคุม ตรวจสอบข้อมูล เ ต - ขา ~

converyont
การขนถ่าย/Handling ขนของขึ้นรถเข็น ขนของขึ้นสายพานลาเลียง La
วั
ถ้
วั
จุ
จุ
ต้
ยั
มี
ต้
สี
กิ
น็
กิ
ลิ
สิ้
ยู่
ม่
ทึ่
ลื่
ลี่
กั
ดุ
นึ่
ดุ
ที่
นั้
ลี่
ที่
ม่
1) ไม่ควรมีเส้นตัดกัน ถ้าจาเป็นให้เขียนดังนี้
chart
02 process

กฎเกณฑ์ในการเขียนแผนภูมิการ
ท - ตา รวด

ใ พบในการ ท
2) เมื่อนาของเสียกลับเข้าไปยัง 3) มีการทางานขนานกันไป
กระบวนการใหม่

ทางาน

4) มีการประกอบ 5) ทางานพร้อมกัน ถอด และประกอบ

6) มีการทาซ้า 7) มีทางเลือก


ห้
แผนภูมิการทางาน (Operation Process Chart, OPC)
time
เ น วก หนดcycle
ตั
พ้

แผนภูมิการทางานของการประกอบ
ตัวหมุนของสวิตซ์
การบ้าน

◦ ให้เขียนแผนภูมิการทางานสาหรับขั้นตอนการประกอบอาหารที่ท่านชื่นชอบมา 1 เมนู
สนขอมา
เต ยมพบ flow าน แ วท ตาม ไ เลย
าน ไ ออกมา เ น นงาน

เย
กระ
กั
อ่
ชี
มื้
สี
ม้
ด้
ด้
รี

ล้
อ่
เค อน ไ เป ยนแปลง

แผนภูมิการไหล (Flow Process Chart, FPC)


Transport

แผนภูมิการไหลใช้ในการศึกษาการไหลของวัสดุระหว่างหน่วยงานอย่างละเอียดตั้งแต่เป็นวัตถุดิบจนกระทั่งเป็นสินค้า
สาเร็จรูป การสร้างแผนภูมิการไหลเหมาะกับการศึกษาขั้นตอนการทางานของผลิตภัณฑ์ที่กาลังผลิตอยู่ โดยแผนภูมิจะให้ข้อมูล
เวลาที่ใช้ในการทางาน เวลาในการรอคอย และเวลา/ระยะทางในการขนส่ง/ลาเลียง เวลาที่ใช้ในการขนถ่าย และจานวนขั้นตอน
ทั้งหมด เพื่อใช้ตรวจสอบความถูกต้องของลาดับขั้นตอนการผลิต และใช้วิเคราะห์เพื่อหาวิธีการปรับปรุงขั้นตอนการผลิต
ม่
ลี่
ลื่
ที่
แผนภูมิการไหล (Flow Process Chart, FPC)

Chart
เ นความ Flow Process

ไ ความ ผ
อง ต ณ

ชนิดที่มีแบบฟอร์ม
ต้
ดิ
ด้
ลิ
ภั
ฑ์
แผนภูมิการไหล (Flow Process Chart, FPC)

ชนิดสำหรับงำนประกอบ
แผนภูมิการทางานหลายผลิตภัณฑ์
(Multi-Product Process Chart, MPPC)
แผนภูมิการทางานชนิดนี้ใช้กับการศึกษาขั้นตอนการผลิตหรือการไหลของวัสดุของโรงงานที่มีผลิตภัณฑ์อยู่ระหว่าง 6-10 ชนิด โดยจะแสดงขั้นตอนการผลิต
ของผลิตภัณฑ์ทั้งหมดอยู่ในแผนภูมิเดียวกันซึ่งสะดวกในการวิเคราะห์การไหล ในขณะที่ถ้าใช้แผนภูมิการทางานหรือแผนภูมิการไหลจะแสดงขั้ นตอนการผลิตของแต่ละ
ผลิตภัณฑ์แยกกัน อย่างไรก็ตามเราจะไม่ใช้แผนภูมิการทางานหลายผลิตภัณฑ์นี้กับผลิตภัณฑ์ที่มีงานประกอบ

แผนภูมิการทางานหลายผลิตภัณฑ์
แผนภูมิการทางานหลายผลิตภัณฑ์
(Multi-Product Process Chart, MPPC)
ตารางความหนาแน่นของการไหล
นprocess ระห างProcess
การ ด อ
กั
ว่
ติ
ต่
แผนภูมิการไหลไป – กลับ
(From – to – Chart, Travel Chart)
แผนภูมินี้เป็นแผนภูมทิ ี่ใช้ในการศึกษาหรือวางแผนการผลิตสินค้ามากกว่า 10 ชนิด แผนภูมินี้จะแสดงถึงความหนาแน่นของการไหลระหว่าง
หน่วยงานต่อวัน ซึ่งอาจเป็นหน่วย จานวนเที่ยว/วัน น้าหนักหรือปริมาตร/วัน จานวนชิ้น/วัน

ตัวอย่าง แผนภูมิการไหลไป – กลับ


ไรา
ตาล ของ ผ ต ณ

แผนผังการไหล (Flow Diagram)


กา

การวิเคราะห์การไหลจะใช้แผนภาพแสดงการไหลของชิ้นส่วนแต่ละชิ้นที่
เกิดขึ้น ตั้งแต่การรับวัตถุดิบหรือชิ้นส่วนเข้าคลังสินค้า และผ่านกระบวนการผลิตจนได้
สินค้าสาเร็จรูปและนาไปเก็บในโกดังสินค้า แผนผังการไหลแสดงถึงลักษณะการไหลของ
โรงงานว่ามีการลาเลียงวัสดุมากน้อยเพียงใดและมีระยะทางเท่าไร มีการไหลกลับไป
กลับมาหรือไม่ มีการไหลที่สับสนหรือแออัดเกินไปหรือไม่ และสามารถจัดการอย่างไร
เพื่อให้การไหลภายในโรงงานดีขึ้น แผนผังดังกล่าวมีประโยชน์อย่างมากสาหรับการ
ออกแบบโรงงานใหม่และหรือปรับปรุงผังโรงงานเดิม เพราะแสดงปัญหาของเส้นทางการ
ไหลอย่างชัดเจน
ตู
ลิ
ภั
ฑ์
แผนผังการไหล (Flow Diagram)
แผนผังการไหล (Flow Diagram)
แผนผังสตริง (String Diagram) |4
ตมาก
ความส ญมาก

แผนผั ง สตริ ง จะแสดงภาพการไหลของวั ส ดุ


ภายในโรงงานเช่นเดียวกับ “แผนผังการไหล” โดยใช้
หมุดหรือตะปูปักลงไปบนหน่วยงานที่มีการไหลเกิดขึ้น
และใช้เชือกแสดงทิศทางและระยะทางการไหลของวัสดุ
แผนผั ง สตริ ง ท าให้ เ ห็ น ว่ า การไหลที่ เ กิ ด ขึ้ น ยุ่ ง เหยิ ง
เพียงใด มีคอขวดที่ใด และสามารถจัดการอย่างไรให้
การไหลภายในโรงงานดีขึ้น แผนผังดังกล่าวมีประโยชน์
อย่ า งมากส าหรั บ การออกแบบโรงงานใหม่ แ ละหรื อ
ปรับปรุงผังโรงงานเดิม เพราะแสดงปัญหาของเส้นทาง
การไหลอย่างชัดเจน
มี
มี

คั
การเลือกใช้แผนภูมิในการวิเคราะห์การไหลของวัสดุ
symbol คาอ ิ าย แผนภูมิ ควร วิเคราะห์การไหล
จะเลือกใช้แผนภูมิชนิดใด
A. -ใช้แผนภูมิการไหลของกระบวนการผลิต A ผลิตภัณฑ์ไม่เกิน 5 ชนิด แต่ละชนิดผลิต แผนภูมิการไหล
ปริมาณมากๆ ผังโรงงาน ออกแบบตามชนิด
มาก

A B. -ใช้แผนภูมิการทางานหลายผลิตภัณฑ์
ของผลิตภัณฑ์
C. -จัดกลุม
่ ผลิตภัณฑ์แล้วใช้ตามแบบ A หรือ B B ผลิตภัณฑ์ 5 - 10 ชนิด แต่ละชนิดผลิตปริมาณ แผนภูมิการทางานหลายผลิตภัณฑ์
D. -ใช้แผนภูมิการไหลไป-กลับ มากพอสมควร ถ้าผลิตภัณฑ์มีลักษณะคล้ายกัน
B สามารถจัดเป็นกลุ่มผลิตภัณฑ์ ได้ ผังโรงงาน
ปริมาณ

ควรออกแบบเป็นกลุ่มหรือแบบเซล
C C ผลิตภัณฑ์มากกว่า 10 ชนิด แต่ไม่มากจนเกินไป เมื่อจัดกลุ่มผลิตภัณฑ์แล้วใช้ตาม
D นัก แต่ละชนิดผลิตปริมาณมากพอสมควร ถ้า แบบ A หรือB
น้อย

ผลิตภัณฑ์มีลักษณะคล้ายกัน สามารถจัดเป็น
น้อย ชนิดผลิตภัณฑ์ มาก กลุ่มผลิตภัณฑ์ได้ ผังโรงงานควรออกแบบเป็น
กลุ่มหรือแบบเซล
D ผลิตภัณฑ์มากชนิด แต่ละชนิดผลิตปริมาณไม่ แผนภูมิการไหลไป-กลับ
มาก ผังโรงงาน ควรออกแบบตามกระบวนการ
ผลิต
ตัวอย่างการสร้างแผนภูมิการไหลไป – กลับ (จานวนเที่ยว/วัน)
From – to – Chart, Travel Chart

Flow Process Chart Multi-Product Process Chart


ตัวอย่างการสร้างแผนภูมิการไหลไป – กลับ (จานวนเที่ยว/วัน)
1) สรุปความหนาแน่นของการไหลระหว่างแผนก (จากมาก – น้อย)

ระหว่างหน่วยงาน ความหนาแน่นของการไหลระหว่างแผนก (จานวนเ ยว/วัน) การไหล


A-B 365 จาก - ไป
E-F 345 จาก - ไป
C-E 260 (140+120) คิดไป - กลับ
D-E 245 จาก - ไป
B-C 220 (160+60) คิดไป - กลับ
B-D 195 จาก - ไป
B-E 130 (30+100) คิดไป - กลับ
C-D 90 จาก - ไป
A-E 50 จาก - ไป
D-F 40 จาก - ไป
C-F 30 จาก - ไป
ตัวอย่างการสร้างแผนภูมิการไหลไป – กลับ (จานวนเที่ยว/วัน)
2) ระดับความสัมพันธ์จากการวิเคราะห์การไหลของวัสดุ

ไ เ น20%
หมายเหตุ : ในการแปลงความหนาแน่นในการไหลเป็ นระดับความสัมพันธ์ A E I O U
A – ความเข้มการไหลสูงพิเศษ E - ความเข้มการไหลสูงมาก
I - ความเข้มการไหลสูง O – ความเข้มการไหลธรรมดา
U - ความเข้มการไหลน้อย หรือแทบไม่มี
ก็
ม่
กิ
ระหว่าง
ระดั ความสัมพัน ์จากการวิเคราะห์การไหลของวัสดุ
หน่วยงาน ให้ถือกฎการแบ่งกลุ่มหน่ วยงานเป็ นหลัก คือ กลุ่มหน่ วยงานที่มคี วาม
ใกล้เคียงกันควรจับเข้ากลุม่ เดียวกัน โดยมีระดับความสัมพันธ์ A ประมาณ 10%
A-B A

E-F A

C-E E

เ งป มาณ
D-E E

B-C E

B-D E

B-E I

C-D I

A-E O

D-F O

C-F O
ชิ
ริ
การวิเคราะห์ความสัมพันธ์โดยอาศัย
ข้อมูลเชิงคุณภาพ
เครื่องมือสาหรับการวิเคราะห์ความสัมพันธ์โดยอาศัยข้อมูลเชิงคุณาาพ
ขั้นตอนในการวิเคราะห์ความสัมพันธ์จากข้อมูลเชิงคุณภาพ
1) กาหนดกิจกรรมหรือหน่วยงาน โดยทั่วไปไม่ควรเกิน 45 กิจกรรม ต่อ 1 แผนภูมิ
2) กาหนดระดับความสัมพันธ์ A E I O U X ให้กับคู่หน่วยงาน พร้อมระบุเหตุผล
ความสัมพันธ์ A ประมาณ 2 – 5%
ความสัมพันธ์ E ประมาณ 3 – 10%
ความสัมพันธ์ I ประมาณ 5 – 15%
ความสัมพันธ์ O ประมาณ 10 – 25%
ความสัมพันธ์ U เป็นกิจกรรมที่เป็นอิสระต่อกัน
ความสัมพันธ์ X ขึ้นอยู่กับธรรมชาติของหน่วยงาน
เครื่องมือสาหรับการวิเคราะห์ความสัมพันธ์โดยอาศัยข้อมูลเชิงคุณาาพ
อัตราส่วนของการกาหนดความสัมพันธ์เพื่อป้องกันไม่ให้ความสัมพันธ์ระดับ A มากเกินไป

ถ จกรรม -
จ นวนทงหมด 11
55

โดยจานวนคู่หน่วยงาน หรือ จานวนระดับความสัมพันธ์ทั้งหมด คานวณได้จาก

ตัวอย่างเช่น เมื่อจานวนกิจกรรมทั้งหมด (N) เท่ากับ 11 กิจกรรม จานวนคู่


หน่วยงาน หรือ จานวนระดับความสัมพันธ์ทงั้ หมดเท่ากับ 55 คู่
คู่
กิ
คู

เครื่องมือสาหรับการวิเคราะห์ความสัมพันธ์โดยอาศัยข้อมูลเชิงคุณาาพ
ขั้นตอนในการวิเคราะห์ความสัมพันธ์จากข้อมูลเชิงคุณภาพ
3) สร้างแผนภูมิความสัมพันธ์

การกาหนดระดับความสัมพันธ์ให้กับคู่หน่วยงาน สามารถทาในลักษณะต่างๆ ได้ดังนี้

• ผู้ออกแบบผังโรงงานเป็นผู้กาหนดระดับความสัมพันธ์เอง เนื่องจากเป็นผู้มีความรู้ในการดาเนินงานของกิจกรรมหรือการดาเนินงานระหว่างหน่ วยงาน


เป็นอย่างดี

• ศึกษาข้อมูลการไหลเป็นแนวทางในการกาหนดความสัมพันธ์ระหว่างหน่วยงาน

• ขอความเห็นจากบุคคลที่เกี่ยวข้องหรือส่งแบบสอบถามไปยังบุคคลที่เกี่ยวข้องกับการดาเนินงานของกิจกรรมหรือหน่วยงานนั้นๆ เพื่อถามความ เห็น


เรื่องระดับความสัมพันธ์ และสรุปเพื่อกาหนดระดับความสัมพันธ์

• จัดประชุมกับบุคคลที่มีหน้าที่ดาเนินกิจกรรมโดยตรงหรือประชุมระหว่างหน่วยงาน เพื่อตัดสินใจกาหนดความสัมพันธ์ระหว่างหน่วยงานร่วมกัน
การให้เหตุผล
ในการกาหนดความสัมพันธ์ระหว่างหน่วยงานที่ไม่มีข้อมูลเชิงปริมาณ ผู้ออกแบบจาเป็นต้องใช้ข้อมูลเชิงคุณภาพโดยกาหนดความสัมพันธ์
คือ การใช้เหตุผล ทั้งนี้ ผู้ออกแบบต้อ งอธิบายเหตุผลของการกาหนดระดับความสัมพันธ์ระหว่างคู่กิจกรรมได้ โดยเฉพาะเหตุผลที่ กาหนดระดับ
ความสัมพันธ์ A E I O และ X เพื่อสร้างความมั่นใจว่าความสัมพันธ์ที่กาหนดมีความสมเหตุสมผล โดยไม่ได้ใช้ความรู้สึกของผู้ออกแบบเป็นเกณฑ์
ระดั คู่หน่วย/กิจกรรม เหตุผล
ความสัมพัน ์
A โกดังเก็บเหล็กและหน่วยตัด เคลื่อนย้ายของมาก
หน่วยตรวจสอบและหน่วยแพ็ค ปัญหาการขนถ่ายเหมือนกัน
หน่วยทาความสะอาดและหน่วยพ่นสี การเสียหายต่อหน่วยที่ยังไม่ได้
แพ็ค ใช้อุปกรณ์/คนร่วมกัน
E หน่วยรับและที่จอดรถ สะดวกและปลอดภัย
หน่วยซ่อมบารุงและหน่วยประกอบย่อย บริการบ่อยและเร่งด่วน
I หน่วยตัดและหน่วยปัม เคลื่อนย้ายของมาก
หน่วยประกอบย่อยและหน่วยประกอบ ลาเลียงของจานวนมาก
ขั้นสุดท้าย ใช้คนงานร่วมกัน
O หน่วยซ่อมบารุงและหน่วยรับ การขนถ่ายลาเลียง
หน่วยรับส่งหนังสือและสานักงานโรงงาน มีการติดต่อกัน
U หน่วยซ่อมบ รุงและโรงอาหาร ต้องการการบริการน้อย
ายวิศวกรรมและหน่วยรับส่ง มีการติตต่อกันน้อย
X หน่วยเชื่อมและหน่วยพ่นสี สกปรก
หน่วยปัมและห้องเครื่อง อันตรายจากไฟ
การสั่นสะเทือน
ระดั ความสัมพัน ์ คู่กิจกรรม/หน่วยงาน เหตุผล
A แผนก A - แผนก B การไหลของวัสดุ
แผนก A – โกดังวัตถุดิบ การไหลของวัสดุ

แผนก F - โกดังสินค้า การไหลของวัสดุ

สานักงาน - โกดังสินค้า ง่ายต่อการควบคุม


E แผนก B - แผนก C การไหลของวัสดุ ตัวอย่างการสร้างแผนผัง
แผนก B - แผนก D การไหลของวัสดุ
I แผนก A – ห้องเก็บเครื่องมือ
แผนก B – ห้องเก็บเครื่องมือ
ใช้เครื่องมือร่วมกัน
ใช้เครื่องมือร่วมกัน
ความสัมพันธ์จากข้อมูลเชิงคุณาาพ
แผนก C - แผนก D การไหลของวัสดุ

แผนก D - แผนก E การไหลของวัสดุ ◦ 1) พิจารณาหน่วยงานที่เกี่ยวข้องทั้งหมด ซึ่งในตัวอย่างนีม้ ี 12 หน่วยงาน ได้แก่ แผนก


แผนก E - แผนก F การไหลของวัสดุ A แผนก B แผนก C แผนก D แผนก E แผนก F โกดังวัตถุดิบ โกดังสินค้า ห้องเก็บ
สานักงาน – โรงอาหาร สะดวก มีการไหลของพนักงานจานวนมาก เครื่องมือ สานักงาน โรงอาหาร และห้องน้า
โกดังสินค้า - โรงอาหาร สะดวก มีการไหลของพนักงานจานวนมาก
O แผนก A - ห้องน้า สะดวก มีการไหลของพนักงานจานวนมาก ◦ 2) กาหนดระดับความสัมพันธ์ A E I O U X ให้กับคู่หน่วยงาน พร้อมระบุเหตุผล
แผนก B - ห้องน้า สะดวก มีการไหลของพนักงานจานวนมาก
แผนก C - ห้องน้า สะดวก มีการไหลของพนักงานจานวนมาก

แผนก D - ห้องน้า สะดวก มีการไหลของพนักงานจานวนมาก


แผนก E - ห้องน้า สะดวก มีการไหลของพนักงานจานวนมาก

แผนก F – ห้องน้า สะดวก มีการไหลของพนักงานจานวนมาก

แผนก C - ห้องเก็บเครื่องมือ ใช้เครื่องมือร่วมกัน

แผนก D - ห้องเก็บเครื่องมือ ใช้เครื่องมือร่วมกัน

แผนก E - ห้องเก็บเครื่องมือ ใช้เครื่องมือร่วมกัน

↳ าม
อ ใก บ
แผนก F - ห้องเก็บเครื่องมือ ใช้เครื่องมือร่วมกัน

สานักงาน - โกดังวัตถุดิบ ง่ายต่อการควบคุม


X - -
กั
ล้
ยู่
ห้
1

ออก

◦ 3) สร้างแผนาูมคิ วามสัมพันธ์

ณภาพ
เ ง

เด
จาก

ความ ม น
ฟั
ที่
คุ
ริ
กิ
สั
พั
ธ์
◦ 4) การวิเคราะห์ความสัมพันธ์โดยรวม
2: 1
1:1 3:2

สัดส่วนการให้ความสาคัญระหว่างการไหลของวัสดุและข้อมูลเชิงคุณภาพ
หน่วยผลิต หน่วยสนับสนุนการผลิต ช่วง A เป็นการออกแบบและจัดวางโรงงานเมื่อมีการผลิตผลิตภัณฑ์หรือวัสดุที่หนัก หรือปริมาณการผลิต
มาก

ค่อนข้างมาก เช่น โรงงานผลไม้กระป๋อง โรงงานรถยนต์ โรงงานผลิตตู้เย็น โรงงานผลิต


คอมพิวเตอร์
ระดับความสาคัญ

การไหลของสิ่งของ
ช่วง B เป็นการออกแบบและจัดวางผังโรงงานที่มีการผลิตตามใบสั่งครั้งละไม่มาก มีการไหลหรือ
ความสัมพันธ์ของกิจกรรม
เคลื่อนย้ายวัสดุไม่แน่นอน เช่น โรงงานผลิตแม่พิมพ์ โรงหล่อ โรงกลึง
นอกเหนือการไหล
ช่วง C เป็นการออกแบบและจัดวางผังโรงงานของสถานที่ที่ให้บริการที่มีการไหลของงานกระดาษมาก
หรือมีการไหลของวัสดุไปตามขั้นตอนที่แน่นอน เช่ม โรงซ่อม โรงพยาบาล
A C
น้อย

B D
ช่วง D เป็นการออกแบบและจัดวางผังของสานักงานทั่วไป เช่น สานักงานบริหารทั่วไป ห้องทดลอง
น้อย ความผันแปรของชนิดผลิตภัณฑ์ที่ผลิต มาก
ระดับคะแนนความสัมพันธ์ระหว่างการไหลของวัสดุและข้อมูลเชิงคุณภาพ

ระดั ความสัมพัน ์ คะแนน


A 4
E 3
I 2
O 1
U 0
X -1
ระหว่างหน่วยงาน ระดั ความสัมพัน ์จากการวิเคราะห์การไหลของวัสดุ
A-B A คิด จาก - ไป
E-F A คิด จาก - ไป
C-E E คิด ไป กลับ
D-E E คิด จาก - ไป
B-C E คิด ไป กลับ
B-D E คิด จาก - ไป
B-E I คิด ไป กลับ
C-D I คิด จาก - ไป
A-E O คิด จาก - ไป
D-F O คิด จาก - ไป
C-F O คิด จาก - ไป
ตัวอย่างการวิเคราะห์ความสัมพันธ์โดยรวมของระดับความสัมพันธ์จากการวิเคราะห์การไหล
ของวัสดุ
1 แผนก A A
1 U
2 แผนก B E 5I U
1 E 5 U
3 แผนก C I 1 U 5 U
1 U 5 U 5 U
4 แผนก D I 5 U 5 U 5 A
1 U 5 U 5 U 1 U
5 แผนก E I 5 U 5 U 5 U 5 U
1 U 5 U 5 U 5 U 5 O
6 แผนก F U 5 U 5 U 5 U 5 O 4 I
5 U 5 U 5 U 5 O 4 I 3
7 สานักงาน O 5 A 5 U 5 O 4 O 3
2 A 1 U 5 O 4 O 3
8 โกดังวัตถุดิบ U 1 I 5 O 4 O 3
5 U 4 U 4 O 3
9 โกดังสินค้า I 5 U 5 U 3
4 U 5 U 5
10 โรงอาหาร U 5 U 5
5 U 5
11 ห้องนา้ U 5
5
12 ห้องเก็บเครื่องมือ
ออก
ณภาพเ

ไร
อกมลา
เ ง ก หนด มา
อาจ

ใหเกณา #

เ น2 เ


คุ
ซื้
ที
ชิ
ท่
ห็


พิ่
สรุปเกณฑ์การตรวจสอบและรับรองแผนภูมิ
ก่ อ นน าแผนภู มิ ค วามสั ม พั น ธ์ ไ ปใช้ ใ นออกแบบผั ง โรงงานในขั้ น ต่ อ ไปนั้ น ต้ อ ง
ตรวจสอบความถูกต้องและความเหมาะสมของแผนภูมิ สามารถตรวจสอบได้หลาย
รูปแบบ ดังนี้
1) ผู้ออกแบบตรวจสอบความสัมพันธ์ด้วยตนเอง
2) ผู้ อ อกแบบน าแผนภู มิ ค วามสั ม พั น ธ์ ใ ห้ หั ว หน้ า แผนกหรื อ บุ ค คลที่ เ กี่ ย วข้ อ ง
ทบทวนและตรวจสอบความเหมาะสมของความสัมพันธ์ดังกล่าว หรือนาแผนภูมิ
ความสัมพันธ์ส่งแจ้งเวียนไปยังบุคคลที่เกี่ยวข้องในส่วนต่างๆ เพื่อ พิจารณาขอลง
นามอนุมัติหรือคาแนะนาเพื่อแก้ไขต่อไป
มคะแนน บ เ งณ
/ป มาณ เ

รั
น่
คุ
ติ
ทิ
ริ
แผนาูมคิ วามสัมพันธ์จากการวิเคราะห์ความสัมพันธ์โดยรวม

(เป ยนให )
ลี่
ม่
การสร้างแผนผังความสัมพันธ์หรือแผนภาพความสัมพันธ์
ตัวอย่างการเขียนแผนภาพความสัมพันธ์จากแผนภูมิความสัมพันธ์
ตัวอย่างการเขียนแผนภาพความสัมพันธ์ จากข้อมูลการขนถ่ายลาเลียงวัสดุ
ระหว่างหน่วยงาน (กก. /วัน) โดยกาหนดให้มกี ารขนถ่ายได้ 100 กก./วัน
◦ ขั้นตอนที่ 1: หาระดับความสัมพันธ์วิเคราะห์การไหลของวัสดุ สร้างแผนภูมิการไหลไป – กลับ (จานวนเที่ยว/วัน) Travel Chart

จ นวน

&

2.

1 1 2 1 1 &

◦ หลังจากได้แผนภูมิการไหลไป – กลับ (จานวนเที่ยว/วัน) ให้สรุปความหนาแน่นของการไหลระหว่างหน่วยงานจากมากไปน้อย และหาระดับ
ความสัมพันธ์จากการวิเคราะห์การไหลของวัสดุจาก MAX ->
Min
◦ หลังจากได้แผนภูมิการไหลไป – กลับ (จานวนเที่ยว/วัน) ให้สรุปความหนาแน่นของการไหลระหว่างหน่วยงานจากมากไปน้อย และหาระดับ
ความสัมพันธ์จากการวิเคราะห์การไหลของวัสดุ
◦ ขั้นตอนที่ 2 วิเคราะห์ความสัมพันธ์โดยรวม ·เ า
ท่
◦ ขั้นตอนที่ 3 เขียนแผนภาพความสัมพันธ์
◦ 1) สรุปความสัมพันธ์ที่ได้จากแผนภูมิความสัมพันธ์ของแต่ละหน่วยงานก่อน เพื่อป้องกันความผิดพลาดในการเขียนแผนภาพความสัมพันธ์
◦ 2) เขียนแผนภาพความสัมพันธ์โดยใช้สัญลักษณ์
ที่
พื้
ต้
องบอก

สรุป
ปัจจัยในการพิจารณาในการวางแผนผังโรงงาน มีข้อพิจารณา ดังนี้
1. ความต้องการของผลิตภัณฑ์ การวางแผนผังควรมีความยืดหยุ่นเพื่อการเปลี่ยนแปลงการใช้เครื่องจักร
2. การเสี่ยงต่อความล้าสมัยของเครื่องจักร จากความต้องการผู้บริโภคที่ต้องการผลิตภัณฑ์รูปแบบใหม่ๆ
3. คุณภาพของผลผลิต การวางแผนผังไม่ถูกต้องอาจมีผลให้คุณภาพของสินค้าลดลง
4. ค่าใช้จ่ายในการบารุงรักษา ควรคานึงถึงการผลิตที่ต่อเนื่องกันเพื่อลดต้นทุนในการบารุงรักษา
ในการวางผังโรงงานนั้น ผู้วางผังโรงงาน หรือ วิศวกร ควรมีการวางให้ละเอียด รอบคอบ และคานึงถึงผลต่างๆที่อาจจะเกิดขึ้น จึงจะทาให้
การวางผังโรงงานเกิดประสิทธิผล และได้ใช้ประโยชน์จากพื้นที่โรงงานอย่างมีประสิทธิภาพ การวางผังโรงงานในแต่ละธุรกิจอาจมีข้อจากัดทีแ่ ตกต่าง
ดังนั้น ผู้บริหารอาจจะเลือกระบบการวางผังโรงงานแบบต่างๆ ก็ต้องขึ้นอยู่กับระบบการผลิตในโรงงานเป็นหลักในการพิจารณา

You might also like