You are on page 1of 4

การออกแบบ อาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก ในประเทศไทย

วิศวกรรมสถานแหงประเทศไทย

การออกแบบอาคาร คสล. ในประเทศไทยในยุคสมัยปจจุบนั ตองเปนไปตามขอบัญญัติของกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2522


และสัดสวนราชการทองถิน่ ทัว่ ไปก็ไดนําไปเปนกรอบใชทวั่ ประเทศ ขอบัญญัติดังกลาวกําหนดวิธีการออกแบบลอตามวิธีของ
American Concrete Institute (ACI) รวม 2 วิธีคือ
วิธีแรกเปนไปตามวิธหี นวยแรงใชงาน (Working Stress Design) ของ ACI 318-63 หมายเลข 2 ตัวหลังเปนป ค.ศ. ของ
Code นั้นซึ่งก็หมายความวาเปนมาตรฐานเมื่อป ค.ศ. 1963 ตรงกับพุทธศักราช 2506 ในป พ.ศ. 2515 วิศวกรรมสถานฯได
จัดทํามาตรฐานขึ้นมาหนึ่งเลม เพื่อใชในการออกแบบอาคาร คสล. โดยมีบางสวนที่ใชในการออกแบบโดยวิธกี ําลังประลัยดวย
และไดรับความนิยมนําไปพิมพจําหนายเพิ่มเติมขึ้นอีกกวา 10 ครั้ง ตอมาไดมีการปรับปรุงและแยกสวนของงานออกแบบโดย
วิธีประลัยออกไป จัดทําเปนมาตราฐานเลมใหมฉบับปรับปรุง ไดแก ว.ส.ท. 1007-34 (พ.ศ. 2543) การออกแบบโดยวิธหี นวย
แรงใชงานนี้ มีพื้นฐานแนวคิดจากการจัดใหขนาดขององคอาคาร และปริมาณของเหล็กเสริมซึง่ เมื่อรับน้ําหนักบรรทุกใชงาน
แลว หนวยแรงที่เกิดขึ้นตองไมเกินคาที่ยอมใหสําหรับคอนกรีต และเหล็กเสิรมโดยมีคาอัตราสวนความปลอดภัย (Factor of
Safety) แตกตางกันออกไป คากําลังอัดของคอนกรีตตามวิธหี นวยแรงใชงานของ ว.ส.ท. ฉบับแรก (พ.ศ. 2515) ไดกําหนดคา
กําลังอัดของคอนกรีตไวเปน 2 คา โดยมีคาเปนไปตาม ACI 318-63 (ไมเกินรอยละ 45 ของกําลังประลัย) ในกรณีทั่วไป และให
ปรับคากําลังอัดลดลง ดวยตัวคูณ (ß) เทากับ 0.85 ในกรณีที่การควบคุมไมเขมขนซึง่ ถือวาเปนการแนะนํา และสรางแนวคิดใน
การออกแบบที่เหมาะสมกับสภาพของประเทศในขณะนั้น ที่ทําคุณภาพของคอนกรีตและวิธีการกอสรางใหไดคุณภาพยังมี
ความไมแนนอนนัก
อยางไรก็ดีขอบัญญัติของกรุงเทพมหานคร (พ.ศ. 2522) กําหนดคากําลังอัดของคอนกรีตต่ํากวาคาของมาตรฐาน ว.ส.ท.
ลงไปอีก กลาวคือ คากําลังอัดที่จะใชในการออกแบบตองไมเกินรอยละ 37.5 และหากไมมีผลการทดสอบคอนกรีต คากําลังอัด
ที่ใชตองไมเกิน 65 กก./ซม.2 เฉพาะวิธีการออกแบบโดยวิธหี นวยแรงใชงานนี้ วิศวกรรมสถานฯมีความเห็นเสนอไปทาง
คณะกรรมาธิการปรับปรุงขอบัญญัติฯ สภากรุงเทพมหานครใหใชคากําลังอัดตาม ว.ส.ท. 1007-34 พรอมกับเสนอใหยกคา
กําลังอัดที่ไมใหใชเกิน 65 กก./ซม.2 กรณีไมมีผลทดสอบใหใชไดไมเกิน 80 กก./ซม.2 ขอเสนอดังกลาวจะมีผลทําใหการ
ออกแบบมีการใชคอนกรีตนอยและลดตนทุนอาคาร ทั้งนี้ดวยเล็งเห็นวาในปจจุบันความรูดานคอนกรีตเทคโนโลยีของวิศวกรใน
ประเทศ มีความทันสมัยตามความเจิรญของโลกแลว
อยางไรก็ตาม ความรูความเขาใจพืน้ ฐานของการเลือกใชวัสดุโดย พิจารณาคุณสมบัติทางกลมี ความจําเปนอยางยิง่
วิศวกรจะตองเปนผูมีความเขาใจ ในการกําหนดคาตาง ๆ ของวัสดุที่จะใชใหสอดคลองกับสภาพงาน ตรงนี้จงึ สามารถตอบ
คําถามไดวา การกําหนดคา กําลังอัดประลัยของคอนกรีตควรเปนคาทีว่ ิศวกรคาดหวังถึงคุณภาพงาน (ซึ่งไมใชเฉพาะคอนกรีต
เทานัน้ ) งานทีน่ าเชื่อวาจะมีคุณภาพต่ําจึงควรกําหนด คากําลังอัดต่ําในการออก แบบเพื่อที่จะไดขนาดขององคอาคารโตขึ้นไป
ชดเชย กับความไมสม่ําเสมอในคุณภาพของงาน
วิธที ี่ 2 เริ่มเมือป ค.ศ. 1917 (พ.ศ. 2514 ) เปนตนมา ACI 318 ไดกําหนดวิธกี ารออกแบบใหมเรียกเปนวิธี Ultimate
Strength Design โดยแนวคิดใหมนี้ไดพบวา วิธกี ารออกแบบโดยวิธหี นวยแรงใชงานมีขอสังเกตุหลายประการ ที่ไมตอบสนอง
วิธีการออกแบบ อาทิ
ประการแรก น้ําหนักบรรทุกที่จใชในการออกแบบตามวิธหี นวยแรงใชงาน เปนน้าํ หนักบรรทุกรวม ซึ่งแตกตางไปจากวิธี
ใหมที่เห็นความสําคัญของน้าํ หนักบรรทุกจร (L) ที่จะมีบทบาทสําคัญ (Influence) กวาน้าํ หนักบรรทุกคงที่ (D) ในการ
คํานวณหาภาระรับแรงสูงสุดขององคอาคาร ซึ่งเห็นไดจากการจัดน้ําหนักบรรทุกประลัย (U) ของวิธีการใหม (ACI 318-71)
เทากับ
U = 1.7 D + 2.0 L (1)
ประการที่สอง วิธีการของหนวยแรงใชงานไมสามารถแสดงใหเห็นชัดเจน ถึงอัตราสวนความปลอดภัยขององคอาคาร
โดยรวม เนื่องจากการกําหนดอัตรากําลังใชงานในวัสดุตาง ๆ มีคาไมเทากัน
ประการที่สาม วิธีการของหนวยแรงใชงานไมสามารถพิจารณาไดถึงความสําคัญขององคอาคารนัน้ ๆ รวมทั้งคุณภาพฝมือ
การทํางาน (Workmanship) ได
แนวคิดของวิธกี าร Ultimate Strength Design จําแนกพิจารณาเปนสองสวน สวนแรกคือภาระการรับแรง ซึ่งไดแกนา้ํ หนัก
บรรทุกออกแบบ (Design Load) ซึ่งปรับสูงขึ้นโดยกําหนดคาตัวคูณน้าํ หนักบรรทุกเพิ่มไวแยกตามประเภท และความสําคัญที่
แตกตางกัน ดังทีก่ ลาวมาแลว
สวนที่สองเปนกําลังขององคอาคารทีค่ ํานวณจากคุณสมบัติของคอนกรีต และเหล็กเสริมที่กาํ ลังประลัยและกําลังคราก
ตามลําดับ (Ø) ซึ่งใหเปนไปตามความสําคัญขององคอาคารและวิธกี ารทําการกอสราง อาทิเชน เสามีความสําคัญมากกวาและ
กอสรางไดยากกวาคาน จึงกําหนดคาตัวคูณลดกําลังต่าํ กวาคาน เปนตน เมื่อเพิ่มน้ําหนักบรรทุกออกแบบใหสูงขึ้น แตลดกําลัง
ขององคอาคาร ลงสมการซึ่งหมายถึง จับเอาปริมาณสองฝงมาเทากัน ไดออกมาเปนวิธีการออกแบบ ซึ่งสามารถกําหนด
อัตราสวนความปลอดภัยไดอยางชัดเจน วิศวกรผูออกแบบจึงสามารถกําหนดคาตัวคูณน้ําหนักบรรทุกเพิม่ ที่มีคา สูงกวาที่
แนะนําไวได หากตองการความปลอดภัยมากขึ้น หรือกําหนดตัวคูณลดกําลังใหนอยลงเพื่อใหไดขนาดขององคอาคารที่โตขึน้
ในกรณีที่ไมมคี วามมัน่ ใจในคุณภาพของงานกอสราง
วิธี Ultimate Strength Design ไดรับการพัฒนาเรื่อยมา ตั้งแตป ค.ศ. 1977 ที่มีการลดคาตัวคูณน้ําหนักบรรทุกเพิม่ จนป
1983 และ 1989 (พ.ศ. 2532) ซึ่งตอมาไดเปนตนแบบของมาตรฐานอาคารคอนกรีตเสริมเหล็กของวิศวกรรมสถานฯ โดยวิธี
กําลัง (Strength Design- ไมเรียกวิธีกาํ ลังประลัย) เปนมาตราฐาน ว.ส.ท. 1008-38 และไดแยกอาคารคอนกรีตอัดแรงออกไป
เปนมาตรฐานหนึง่ ตางหาก ตัวคูณน้ําหนักบรรทุกเพิม่ ที่สรุปไวใน ว.ส.ท. 1008-38 เปนไปตาม ACI 318 - 89 ไดคาน้ําหนัก
บรรทุกออกแบบ (U) ดังสมการ (2)

U = 1.4 D + 1.7 L (2)


และไดแนะนําใหเลือกใชคาตัวคูณลดกําลังไว 2 ชุด เพื่อประโยชนในการพิจารณาใชกับงานที่มีคุณภาพตางกัน และ
แตกตางจากขอกําหนดตามขอบัญญัติของกรุงเทพมหานครที่กาํ หนดไวตาม ACI 318 - 71 ดังสมการ (1) จึงมีความเห็นที่จะ
ใหกรุงเทพมหานครพิจารณากําหนดคาน้าํ หนัก บรรทุกออกแบบใหเปนไปตามสมการ (2) ซึ่งแมจะมีการโตแยงกันหลายฝายที่
ตองการจะ กําหนดคาใหสงู กวานัน้ เชน U = 1.5 D + 1.8 L ก็ตาม ทัง้ นี้เพราะเห็นวาวิศวกร ผูออกแบบไดมากกวาคากําหนดที่
เปนคาต่ําสุดตามมาตรฐานอยูแลว การออกแบบโดยวิธีกาํ ลังนี้เปนที่นยิ มแพรหลายมานานแลว แมแตกลุมผูออกแบบ
โครงสรางเหล็ก ซึ่งมีอยูชว งหนึง่ ไดเพิ่มมาตรฐานการออกแบบจาก Allowable Stress Design เปน Plastic Design ซึ่งตอง
วิเคราะหโครงสรางในพฤติกรรมหลังอีลาสติกอยูพักหนึ่ง ก็หนั กลับมาพิจารณา และกําหนดมาตรฐานใหมเปนแบบการกําหนด
กําลัง และเพิม่ น้ําหนักบรรทุกที่เรียกกันวาเปน LRFD (Load and Resistant Factor Design) เชนกัน
กลาวโดยสรุปวาการออกแบบอาคารในประเทศไทยมีอยู 2 วิธหี ลักขางตนคําตอบที่ไดคือผลของการออกแบบอาจเทียบกัน
ไดตามความจริง ของตัวเลขแตไมสามารถเปรียบเทียบกันไดตามความเปนจริงทางวิศวกรรม เนื่องจากแนวคิดในการออกแบบ
ไมเหมือนกัน วิศวกรจึงควรเปนผูมีความสามารถในการแยกแยะ วิธีการออกแบบใหเหมาะสมกับความตองการของการใช
อาคารเชนเดียวกัน แตหากพิจารณาถึงความปลอดภัยในเกณฑคุณภาพของงานปกติ วิธีการออกแบบโดยกําลังมีแนวโนมที่จะ
ใหคําตอบที่ใกลเคียงพฤติกรรมจริง และมีขนาดเล็กลงและยิ่งเมื่อไปพิจารณาถึง ACI 318-95 (ลาสุดจะมีฉบับป 2001แลว) มี
แนวโนมวาจะพิจารณาใชวสั ดุใหสิ้นเปลืองนอยลง เชน ยอมใหกิดรอยราวในคอนกรีตสวนรับแรงดึงไดในกรณีที่ทาํ การทดสอบ
การับน้าํ หนักบรรทุกทดสอบขององคอาคารในขณะที่ ACI 318 -89 ไมยินยอม หรือแนวโนมของการพิจารณาใหองคอาคารมี
พฤติกรรม ตามที่ผูออกแบบตองการตามปจจัย และสภาพของอาคารนัน้ ๆ
ยอนกลับมาดูงานออกแบบของประเทศไทย กวารอยละ 90 ไดรับการออกแบบโดยใชวิธหี นวยแรงใชงานมูลเหตุสําคัญ 2-
3 ประการ คือ การกําหนดคาน้าํ หนักบรรทุกออกแบบตามกฎหมายทีส่ ูงเกินไปจึงไมจูงใจใหตอง คํานวณออกแบบตามวิธกี ําลัง
อีกทั้งการวิเคราะหโครงสรางโดยวิธีกาํ ลังสรางความยุง ยาก มากขึ้นเนื่องจากตอง แยกคํานวณน้าํ หนักบรรทุกแตละประเภท
ในขณะทีว่ ิธีหนวยแรงใชงานไมตองทํา ยิง่ ไปกวานัน้ ก็คอื แบบมาตรฐานที่ใชอยูในสวนราชการตาง ๆ เกือบทัง้ หมดออกแบบ
ดวยวิธหี นวยแรงใชงาน
ในโรงเรียนวิศวกรรมโยธามีจาํ นวนมากทีย่ ังคงใหนา้ํ หนักกับการเรียน การสอนดวยวิธหี นวยแรงใชงานแมวาจะหาตํารามา
อางอิงยากมากขึ้น หลายโรงเรียนสอนแยกเปน 2 วิชา แลวปลอยใหทกั ษะการออกแบบเปนไปตามกระแส ของงานที่จะไปทําใน
อนาคต ทีพ่ ระจอมเกลาธนบุรี จะเริ่มตนยุบวิชาออกแบบอาคาร คสล. 2 วิชาคงเหลือ 1 วิชาในปการศึกษานี้ การเรียนการ
สอนจะเนนไปที่วิธกี ําลังอยางเดียวและจัดการบรรยายแนวคิดของวิธีหนวย แรงใชงานขนานไปดวยกัน โดยมีความเชื่อวาเปน
ความจําเปนตองเตรียมวิศวกรใหสามารถทําใหราคา ของอาคารที่ออกแบบในอนาคตแขงขันไดกับผูออกแบบจากตางประเทศ
ที่คุนเคยแตการออกแบบสมัยใหม การปลอยใหนกั เรียนสามารถเลือกที่จะออกแบบโดยวิธีใดก็ได คงจะไมไดงานที่ดที ี่ตองการ
ความเปนวิศวกรรมคุณคา (Valued engineering)
ในสวนราชการเอง ตองพยายามที่จะสงเสริมการออกแบใหมีความทันสมัยขึ้น แบงภาระของการกํากับตรวจสอบใหกับ
วิศวกรอาวุโสที่อาจตองจดทะเบียนกับราชการ เปนผูรบั ผิดชอบแทนรื้อแบบมาตรฐานที่มีอยูในขณะนี้ กําหนดวิธีการสรางงาน
ออกแบบที่ประหยัด (หมายถึงการออกแบบรายละเอียดและจัดเก็บไวใน disk โดยยังไมตองจัดพิมพลงในกระดาษ) ใหกับ
บริษัทวิศวกรผูออกแบบที่กาํ ลังขนาดแคลนงาน ในอัตราคาออกแบบที่เหมาะสม (ตนทุนนอยลง) กับเศรษฐกิจในขณะนี้ และ
สําหรับตัววิศวกรเองตองพิจารณาศึกษาหาความรูเพิ่มเติมใหทนั สมัย เพราะโอกาสของงานวิศวกรรมแมวาจะมีอยูมากมายใน
อนาคตที่เปนขาขึ้นของเศรษฐกิจ แตสํารองไวใหกบั วิศวกรผูมีทกั ษะดี รูเทาทันเทคโนโลยีสมัยใหมเทานัน้

You might also like