You are on page 1of 130

รายละเอียดข้ อกําหนดประกอบแบบ

งานวิศวกรรมระบบปรับอากาศและระบายอากาศ
RE00-(24-03-2023)

โครงการ โรงไฟฟ้าปลวกแดง
(Pluak Daeng Power Plant)
GLUF PD VISITOR CENTER

บริษัท เอ พลัส อี ดีไซน์ แอนด์ คอนซัลแตนท์ จํากัด


244/3 ถนนลาดพร้ าว แขวงจอมพล เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร 10900
โทร : 0 2938 6338 โทรสาร : 0 2938 8313
สารบัญ
หน้ า
1. ข้ อกาหนดทั่วไป
1.1 บทนำ M-1
1.2 คำจำกัดควำม M-1
1.3 สถำบันมำตรฐำน M-2
1.4 สถำบันตรวจสอบ M-3

2. หน้ าที่ และความรับผิดชอบ


2.1 พนักงำน M-4
2.2 เครื่ องมือเครื่ องใช้ M-4
2.3 กำรสำรวจบริ เวณก่อสร้ำง M-4
2.4 กำรตรวจสอบแบบ รำยกำร และข้อกำหนด M-4
2.5 กำรจัดทำตำรำงแผนงำน M-5
2.6 กำรจัดทำรำยงำนผลควำมคืบหน้ำของงำน M-5
2.7 กำรทำงำนนอกเวลำทำกำรปกติ M-6
2.8 กำรเสนอรำยละเอียด วัสดุ-อุปกรณ์ เพื่อขออนุมตั ิ M-6
2.9 กำรติดตั้ง วัสดุ-อุปกรณ์ M-6
2.10 กำร แก้ไข-ซ่อมแซม M-6
2.11 กำรทดสอบเครื่ อง และระบบ M-6
2.12 กำรฝึ กอบรมเจ้ำหน้ำที่ M-7
2.13 กำรส่งมอบงำน M-7
2.14 กำรรับประกัน M-8
2.15 กำรบริ กำร M-8

3. การดาเนินงานที่เกี่ยวข้องกับงานสถาปัตยกรรม และโครงสร้ าง
3.1 กำรทำช่องเปิ ด และ กำรตัด-เจำะ M-9
3.2 กำรอุดปิ ดช่องว่ำง M-9
3.3 ช่องเปิ ดเพื่อกำรซ่อมบำรุ ง M-9
3.4 กำรจัดทำแท่นเครื่ อง M-9
3.5 กำรยึดท่อ และอุปกรณ์กบั โครงสร้ำงอำคำร M - 10
3.6 งำนติดตั้งในห้องเครื่ อง M - 10
3.7 กำรป้ องกันน้ ำเข้ำอำคำร M - 10

I
สารบัญ (ต่ อ)
หน้ า
4. การประสานงาน
4.1 กำรให้ควำมร่ วมมือต่อผูค้ ุมงำน และวิศวกร M - 11
4.2 กำรประชุมโครงกำร M - 11
4.3 กำรประสำนงำนในด้ำนมัณฑนำกำร M - 11
4.4 กำรติดต่อประสำนงำนกับผูร้ ับจ้ำงรำยอื่นๆ M - 11
4.5 สำธำรณูปโภค เพื่อใช้ระหว่ำงกำรก่อสร้ำง M - 11
4.6 กำรรักษำควำมสะอำด M - 11
4.7 กำรรักษำควำมปลอดภัย M - 11
4.8 กำรติดต่อหน่วยงำนรัฐ และค่ำธรรมเนียม M - 12

5. แบบ และเอกสาร
5.1 ระยะ ขนำด และตำแหน่งที่ปรำกฏในแบบ M - 13
5.2 ข้อขัดแย้งของแบบ M - 13
5.3 แบบประกอบสัญญำ M - 13
5.4 แบบใช้งำน (SHOP DRAWINGS) M - 13
5.5 แบบก่อสร้ำงจริ ง (AS-BUILT DRAWINGS) M - 14
5.6 หนังสื อคู่มือกำรใช้งำน และ บำรุ งรักษำเครื่ อง อุปกรณ์ M - 14

6. เครื่อง วัสดุ และอุปกรณ์


6.1 เครื่ อง วัสดุ และอุปกรณ์ ที่นำมำใช้งำน M - 16
6.2 กำรขนส่ง และกำรนำเครื่ อง วัสดุ และอุปกรณ์เข้ำยังหน่วยงำน M - 16
6.3 กำรจัดเตรี ยมสถำนที่เก็บพัสดุ M - 16
6.4 กำรเก็บรักษำเครื่ อง วัสดุ และอุปกรณ์ M - 16
6.5 ตัวอย่ำง วัสดุ-อุปกรณ์ และกำรติดตั้ง M - 16
6.6 กำรแก้ไข เปลี่ยนแปลงแบบ รำยกำร วัสดุและอุปกรณ์ M - 17

7. การป้ องกันการผุกร่ อน และการทาสี


7.1 ควำมต้องกำรทัว่ ไป M - 18
7.2 กำรเตรี ยม และทำควำมสะอำดผิวงำน M - 18
7.3 วิธีกำรทำสี M - 18

II
สารบัญ (ต่ อ)
หน้ า
8. รหัส สัญลักษณ์ และป้ ายชื่อ
8.1 ควำมต้องกำรทัว่ ไป M - 20
8.2 รหัส M - 20
8.3 สัญลักษณ์ M - 20
8.4 ตำแหน่งของ รหัส และสัญลักษณ์ M - 20
8.5 ขนำดของแถบรหัส และสัญลักษณ์ M - 21
8.6 สี และอักษรสัญลักษณ์ M – 21
8.7 ข้อกำหนดพิเศษสำหรับกำรทำสี M – 22

9. อุปกรณ์ ป้องกันการสั่นสะเทือน (Vibration Isolator)


9.1 ข้อกำหนดทัว่ ไป M- 23
9.2 ข้อกำหนดของอุปกรณ์ป้องกันกำรสั่นสะเทือน M - 23

10. การป้ องกันไฟและควันลาม


10.1 ควำมต้องกำรทัว่ ไป M - 25
10.2 ขอบเขตของงำน M - 25
10.3 คุณสมบัติทวั่ ไปของวัสดุ M - 25
10.4 วัสดุป้องกันไฟและควันลำม M - 26
10.5 กำรดูแลจัดส่งและเก็บรักษำวัสดุ M - 27
10.6 กำรติดตั้งระบบกันไฟและควันลำม M - 27
10.7 กำรควบคุมคุณภำพ M - 28
10.8 เอกสำรที่ตอ้ งนำส่ง M –28
10.9 กำรรับประกันผลงำน M - 29

11. เครื่องปรับอากาศแบบปรับปริมาณน้ายาอัตโนมัติ (Variable Refrigerant Volume System)


11.1 ข้อกำหนดทัว่ ไป M - 32
11.2 รำยละเอียดเครื่ องปรับอำกำศ M - 33
11.3 ระบบควบคุมส่วนกลำง M - 38
11.4 ระบบไฟฟ้ ำสำหรับระบบปรับอำกำศ M - 39
11.5 กำรปรับปริ มำณอำกำศและกำรทดสอบ M - 40
11.6 กำรบำรุ งรักษำเครื่ องปรับอำกำศรำยปี M - 40
11.7 กำรส่งมอบ M – 43

III
สารบัญ (ต่ อ)
หน้ า

12. เครื่องปรับอากาศแบบแยกส่ วน
12.1 ข้อกำหนดทัว่ ไป M – 44
12.2 รำยละเอียดอุปกรณ์ปรับอำกำศ M – 45
12.3 เครื่ องระบำยควำมร้อน (CONDENSING UNIT) M - 45
12.4 เครื่ องเป่ ำลมเย็น (FAN COIL UNIT) M - 46
12.5 กำรบำรุ งรักษำเครื่ องปรับอำกำศรำยปี ตลอดระยะเวลำรับประกัน 2 ปี M – 47
12.6 กำรส่งมอบ M – 48

13. พัดลมระบายอากาศ (VENTILATION AND EXHAUST FANS)


13.1 ควำมต้องกำรทัว่ ไป M - 49
13.2 พัดลมแบบ CENTRIFUGAL M - 49
13.3 พัดลมแบบ MINI SIROCCO M - 50
13.4 พัดลมแบบ LOW NOISE CABINET M - 50
13.5 พัดลมระบำยอำกำศแบบ AXIAL FLOW DIRECT DRIVE M - 50
13.6 พัดลมระบำยอำกำศแบบ COMPACT AXIAL FLOW FANS M – 51
13.7 พัดลมแบบ PROPELLER TYPE M - 51
13.8 พัดลมระบำยอำกำศแบบ CEILING MOUNTED M – 52
13.9 ม่ำนอำกำศ (AIR CURTAIN) M - 53
13.10 พัดลม JET FAN M - 53

14. ท่ อสารทาความเย็น ท่ อน้าทิง้ และอุปกรณ์


14.1 ท่อสำรทำควำมเย็น ท่อน้ ำทิ้ง และอุปกรณ์ M - 55
14.2 ฉนวนท่อสำรทำควำมเย็น และท่อน้ ำทิ้ง M - 56
14.3 ฉนวนท่อสำรทำควำมเย็น ชนิดติดตั้งใต้ดิน M - 57
14.4 กำรดำเนินกำรหุ้มฉนวน M - 58
14.5 กำรดำเนินกำรติดตั้งท่อ M - 59

IV
สารบัญ (ต่ อ)
หน้ า

15. ระบบส่ งลมและอุปกรณ์ (Air Distribution And Accessories)


15.1 ท่อส่งลม M - 62
15.2 กำรดำเนินกำรติดตั้งท่อลม M - 64
15.3 ฉนวนหุ้มท่อลม (DUCT INSULATION) M - 65
15.4 ฉนวนบุภำยในท่อลม (DUCT LINER) กรณี ที่ระบุในแบบเท่ำนั้น M - 67
15.5 หน้ำกำกลม M - 67
15.6 DAMPER M – 68
15.7 กล่องควบคุมและปรับปริ มำณลมอัตโนมัติ (AIR TERMINAL UNITS) M - 69
15.8 อุปกรณ์ลดเสี ยงในท่อลม (SILENCER, SOUND ATTENUATOR) M - 70
15.9 ผนังดูดซับเสี ยง (SOUNDPROOF WALL) M – 70
15.10 กำรทำควำมสะอำดท่อลม M - 70
15.11 กำรทดสอบและปรับปริ มำณลม M - 71

16. ระบบไฟฟ้ า
16.1 ควำมต้องกำรทัว่ ไป M - 72
16.2 มำตรฐำนวัสดุ อุปกรณ์และกำรติดตั้ง M - 72
16.3 ระบบแรงดันไฟฟ้ ำและรหัส M - 72
16.4 กำรต่อลงดิน M - 73
16.5 กำรเดินสำยไฟฟ้ ำ M - 73
16.6 แผงควบคุม M - 73
16.7 กำรตรวจสอบและทดสอบระบบไฟฟ้ ำ M - 73

17. แผงสวิตช์ ไฟฟ้ าแรงต่าทั่วไป และอุปกรณ์


17.1 ควำมต้องกำรทัว่ ไป M - 74
17.2 แผงสวิตช์กระจำยไฟฟ้ ำ (DISTRIBUTION BOARD) M – 74
17.3 พิกดั ของแผงสวิตช์ M – 75
17.4 ลักษณะโครงสร้ำงและกำรจัดสร้ำงแผงสวิตช์ฯ M - 76
17.5 บัสบำร์และกำรติดตั้งแผงสวิตช์ฯ M - 77
17.6 สำยไฟฟ้ ำสำหรับภำยในแผงสวิตช์ฯ M – 78
17.7 MIMIC BUS และ NAMEPLATE M - 79
17.8 เครื่ องวัด และอุปกรณ์ M - 80
17.9 แผงสวิตช์ยอ่ ย (PANEL BOARD) M - 83
17.10 DISCONNECTING SWITCH หรื อ SAFETY SWITCH M - 84
17.11 ISOLATOR SWITCH M - 85

V
สารบัญ (ต่ อ)
หน้ า
17.12 CIRCUIT BREAKER BOX (ENCLOSED CIRCUIT BREAKER) M - 85
17.13 กำรติดตั้ง M - 86
17.14 กำรทดสอบ M - 86

18. แผงสวิตช์ ควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้ า


18.1 ควำมต้องกำรทัว่ ไป M - 87
18.2 แผงสวิตช์ควบคุมมอเตอร์ไฟฟ้ ำ (MOTOR CONTROL CENTER) M - 87
18.3 พิกดั ของแผงสวิตช์ M - 88
18.4 ลักษณะโครงสร้ำงและกำรจัดสร้ำงแผงสวิตช์ M - 89
18.5 บัสบำร์และกำรติดตั้งแผงสวิตช์ฯ M - 91
18.6 สำยไฟฟ้ ำสำหรับภำยในแผงสวิตช์ฯ M - 92
18.7 MIMIC BUS และ NAMEPLATE M – 92
18.8 MOTOR STARTER แบบ DIRECT-ON-LINE และ STAR-DELTA M – 93
18.9 MOTOR STARTER แบบ SOLID-STATE REDUCED VOLTAGE STARTER M – 93
18.10 MOTOR STARTER แบบ VARIABLE SPEED DRIVE (VSD) M – 94
18.11 เครื่ องวัด และอุปกรณ์ M – 97
18.12 REMOTE AND LOCAL CONTROL PANEL M – 99
18.13 กำรติดตั้ง M – 100
18.14 กำรทดสอบ M – 100

19. สายไฟฟ้ าแรงต่า


19.1 ควำมต้องกำรทัว่ ไป M - 101
19.2 ชนิดของสำยไฟฟ้ ำแรงต่ำทัว่ ไป M – 101
19.3 สำยไฟฟ้ ำแรงต่ำชนิดทนไฟและสำยไฟฟ้ ำแรงต่ำชนิดต้ำนกำรลำมไฟ M - 102
19.4 ลักษณะและวิธีกำรติดตั้ง M – 103
19.5 กำรทดสอบ M - 104

20. อุปกรณ์ เดินสายไฟฟ้ า


20.1 ควำมต้องกำรทัว่ ไป M - 106
20.2 ท่อร้อยสำยไฟฟ้ ำ M – 108
20.3 CABLE TRAY & CABLE LADDER M - 112
20.4 WIREWAY M – 113
20.5 กล่องต่อสำย M – 114

VI
สารบัญ (ต่ อ)
หน้ า
20.6 กำรติดตั้ง M - 115
20.7 กำรทดสอบ M - 115

21. ตัวอย่างอุปกรณ์ มาตรฐาน


21.1 วัตถุประสงค์ M - 116
21.2 รำยชื่อผูผ้ ลิตและผลิตภัณฑ์ของวัสดุ และอุปกรณ์มำตรฐำน M – 116

VII
รายละเอียดข้อกาหนดประกอบแบบ
งานวิศวกรรมระบบปรับอากาศและระบายอากาศ

1. ข้ อกำหนดทั่วไป

1.1 บทนำ
1.1.1 บริ ษทั กัลฟ์ พีดี จากัด ในฐานะเจ้าของโครงการ มีความประสงค์จะว่าจ้างจัดหา พร้อมติดตั้งวัสดุและ
อุปกรณ์ สาหรับงานวิศวกรรมระบบประกอบอาคาร ตลอดจนระบบงานอื่นๆ สาหรับการใช้งานของโครงการ โรงไฟฟ้ า
ปลวกแดง GULF PD VISITOR CENTER สถานที่ต้ งั โครงการ สวนอุตสาหกรรมปลวกแดง ตาบลมาบยางพร อาเภอ
ปลวกแดง จังหวัดระยอง ให้แล้วเสร็ จอย่างสมบูรณ์ตามรายละเอียดที่ระบุ หรื อแสดงไว้ในแบบและรายละเอียดประกอบ
แบบนี้ทุกประการ
1.1.2 วัสดุและอุปกรณ์ตลอดจนการติดตั้งระบบต่างๆ ตามข้อกาหนดต้องมีความเหมาะสมกับการใช้งาน
ภายใต้สภาพภูมิอากาศแวดล้อมที่เหมาะสมกับสถานที่ต้งั ของโครงการ
1.1.3 ถ้ามิได้กาหนดเป็ นอย่างอื่น สภาวะที่ใช้เป็ นข้อมูลในการออกแบบโดยเฉพาะงานวิศวกรรมระบบปรับ
อากาศและระบายอากาศของโครงการนี้ มีดงั ต่อไปนี้
1.1.3.1 อุณหภูมิอากาศภายนอก 35°C db/83° Fwb
1.1.3.2 อุณหภูมิภายในห้องปรับอากาศโดยทัว่ ไป 25 °C ± 2°C
1.1.3.3 ความชื้นสัมพัทธ์ในห้องปรับอากาศโดยทัว่ ไป 55 ± 10%

1.2 คำจำกัดควำม
คานาม คาสรรพนาม ที่ปรากฏในข้อกาหนดสัญญาและรายการก่อสร้าง รวมทั้งเอกสารอื่นที่แนบสัญญา ให้มี
ความหมายตามที่ระบุไว้ในหมวดนี้ นอกจากจะมีการระบุเฉพาะไว้เป็ นอย่างอื่น
เจ้าของโครงการ หมายถึง เจ้าของงานก่อสร้างโครงการนี้ ตามที่ลงนามในสัญญา และมี
อานาจตามที่ระบุในสัญญา
วิศวกร หมายถึง สถาปนิ ก หรื อวิศวกรผูม้ ี อานาจซึ่ งปรากฏอยู่ในแบบและใน
เอกสารต่ า งๆ ในฐานะเป็ นผูอ้ อกแบบ และก าหนดรายการ
ก่อสร้าง
ผูค้ วบคุมงาน หมายถึง ผูแ้ ทนเจ้าของโครงการ ที่ได้รับการแต่งตั้งให้ควบคุมงาน
ผูร้ ับจ้าง หมายถึง นิ ติบุคคล และตัวแทน หรื อลูกจ้างของนิ ติบุคคลที่ลงนามเป็ น
คู่สัญญากับเจ้าของโครงการ
งานก่อสร้าง หมายถึง งานต่างๆ ที่ ได้ระบุในแบบก่ อสร้ างประกอบสัญญา รายการ
ก่อสร้าง และเอกสารแนบสัญญา รวมทั้งงานประกอบอื่นๆ ที่
เกี่ยวข้อง
แบบประกอบสัญญา หมายถึง แบบก่ อ สร้ า งทั้ง หมดที่ มี ป ระกอบในการท าสั ญ ญาจ้างเหมา
รวมถึ ง แบบที่ มี ก ารแก้ไ ข และเพิ่ ม เติ ม ที่ ไ ด้รั บ การอนุ มัติ
เห็นชอบจากเจ้าของโครงการ และผูค้ วบคุมงาน
รายละเอียดประกอบแบบ หมายถึง ข้อความและรายละเอียดที่กาหนด เพื่อควบคุมคุณภาพของ

โครงการ : Gulf PD Visitor Center หน้า M - 1


รายละเอียดข้อกาหนดประกอบแบบ
งานวิศวกรรมระบบปรับอากาศและระบายอากาศ

หรื อข้อกาหนด วัสดุ-อุปกรณ์ เทคนิค และข้อตกลงต่างๆ ที่เกี่ยวกับงานก่อสร้าง


ที่มีปรากฏ หรื อไม่มีปรากฏในแบบก่อสร้างตามสัญญานี้
การอนุมตั ิ หมายถึง การอนุ มัติ เ ป็ นลายลักษณ์ อ ักษร จากผูม้ ี อ านาจหน้าที่ ใ นการ
อนุมตั ิ
ระบบประกอบอาคาร หมายถึง ระบบไฟฟ้ าก าลัง และไฟฟ้ าสื่ อ สาร ระบบปรั บ อากาศและ
ระบายอากาศ ระบบสุ ขาภิ บาลและระบบดับเพลิง และระบบ
อื่ น ๆ ที่ น อกเหนื อ งานสถาปั ต ยกรรม และงานวิ ศ วกรรม
โครงสร้าง

1.3 สถำบันมำตรฐำน
นอกเหนือจากข้อบังคับ และ/หรื อ ข้อบัญญัติแห่งกฎหมายท้องถิ่น ตลอดจนกฎระเบียบของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
ต่างๆ แล้ว ถ้ามิได้กาหนดไว้เป็ นอย่างอื่น มาตรฐานทัว่ ไปของ วัสดุ-อุปกรณ์ การประกอบและการติดตั้ง ที่ระบุไว้ใน
แบบ และรายละเอียดประกอบแบบ เพื่อใช้อา้ งอิงสาหรับงานโครงการนี้ ให้ถือตามมาตรฐานของสถาบันที่เกี่ยวข้อง
ดังต่อไปนี้
1.3.1 พ.ร.บ.ควบคุมอาคาร กฎกระทรวง และประกาศกระทรวงมหาดไทย
1.3.2 มาตรฐานการพลังงานแห่งชาติ
1.3.3 กฎ ระเบียบ และมาตรฐานของการไฟฟ้ าท้องถิ่นได้แก่ การไฟฟ้ านครหลวง หรื อการไฟฟ้ าส่วนภูมิภาค
1.3.4 สานักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม (มอก.)
1.3.5 มาตรฐานวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย (ในพระบรมราชูปถัมภ์)
1.3.6 AMERICAN SOCIETY OF HEATING, REFRIGERATING AND AIR CONDITIONING
ENGINEERS (ASHRAE)
1.3.7 ASSOCIATION OF HOME APPLIANCE MANUFACTURERS (AHAM)
1.3.8 AIR MOVING AND CONDITIONING ASSOCIATION (AMCA)
1.3.9 AMERICAN PETROLEUM INSTITUTE (API)
1.3.10 INTERNATIONAL ELECTRO-TECHNICAL COMMISSION (IEC)
1.3.11 UNDERWRITERS’ LABORATORIES, INC. (UL)
1.3.12 NATIONAL FIRE PROTECTION ASSOCIATION (NFPA)
1.3.13 VERBAND DEUTSCHER ELECTROTECHNIKER (VDE)
1.3.14 BRITISH STANDARD (BS)
1.3.15 DEUTSCHE INDUSTRIENORMEN (DIN)
1.3.16 AMERICAN NATIONAL STANDARD INSTITUTE (ANSI)
1.3.17 NATIONAL ELECTRICAL CODE (NEC)
1.3.18 NATIONAL ELECTRICAL MANUFACTURERS ASSOCIATION (NEMA)
1.3.19 JAPANESE INDUSTRIAL STANDARD (JIS)
1.3.20 FACTORY MUTUAL (FM)

โครงการ : Gulf PD Visitor Center หน้า M - 2


รายละเอียดข้อกาหนดประกอบแบบ
งานวิศวกรรมระบบปรับอากาศและระบายอากาศ

1.4 สถำบันตรวจสอบ
ในกรณี ที่ตอ้ งทดสอบคุณภาพ วัสดุ-อุปกรณ์ ที่ใช้งานตามสัญญานี้ อนุมตั ิให้ทดสอบในสถาบันที่เป็ นที่
ยอมรับโดยทัว่ ไป และได้รับความเห็นชอบจากเจ้าของโครงการ

โครงการ : Gulf PD Visitor Center หน้า M - 3


รายละเอียดข้อกาหนดประกอบแบบ
งานวิศวกรรมระบบปรับอากาศและระบายอากาศ

2. หน้ ำที่ และควำมรับผิดชอบ

2.1 พนักงำน
2.1.1 ผูร้ ับจ้างต้องจัดหาวิศวกร หัวหน้าช่าง และช่างชานาญงานที่มีประสบการณ์ ความสามารถเหมาะสมกับ
งานที่ได้รับมอบหมาย โดยมีจานวนเพียงพอสาหรับการปฏิบตั ิงานได้ทนั ทีเพื่อให้งานแล้วเสร็ จทันตามกาหนดการของ
เจ้าของโครงการ
2.1.2 วิศวกรผูร้ ับผิดชอบโครงการของผูร้ ับจ้าง ต้องได้รับใบอนุญาตประกอบวิชาชี พ วิศวกรควบคุม ตาม
พระราชบัญญัติควบคุมวิชาชีพวิศวกรรม เป็ นผูร้ ับผิดชอบในการดาเนินงาน และควบคุมการติดตั้งให้เป็ นไปตามแบบ
รายละเอียด และข้อกาหนด ให้ถูกต้องตามหลักวิชาและวิธีปฏิบตั ิซ่ ึงเป็ นที่ยอมรับ การลงนามในเอกสารขณะปฏิบตั ิงาน
จะถื อเป็ นความผูกพันของผูร้ ั บจ้างไม่ ว่ากรณี ใดๆ ผูร้ ั บจ้างจะยกข้ออ้างถึ งการที่ ตนไม่ทราบข้อเท็จจริ งต่ างๆ เพื่อ
ประโยชน์ของตนมิได้
2.1.3 ในกรณี ที่ผคู ้ วบคุมงานพิจารณาเห็นว่า พนักงานของผูร้ ับจ้างมีคุณสมบัติไม่เหมาะสม เจ้าของโครงการ
สงวนสิ ทธิที่จะสั่งการให้ผรู ้ ับจ้าง จัดหาบุคคลที่เหมาะสมกว่ามาทดแทนได้

2.2 เครื่องมือเครื่องใช้
ผูร้ ับจ้างต้องมีเครื่ องมือ เครื่ องใช้ และเครื่ องผ่อนแรง ที่มีประสิ ทธิ ภาพและความปลอดภัย สาหรับใช้ในการ
ปฏิ บัติงาน เป็ นชนิ ดที่ เหมาะสม อีกทั้งจานวนเพียงพอกับปริ มาณงาน เจ้าของโครงการมี สิทธิ์ ที่ จะขอให้ผูร้ ั บ จ้า ง
เปลี่ยนแปลง หรื อเพิ่มจานวนให้เหมาะสมกับการใช้งาน

2.3 กำรสำรวจบริเวณก่อสร้ ำง
ผูร้ ับจ้างต้องสารวจตรวจสอบสถานที่ก่อสร้างก่อนการติดตั้ง วัสดุ-อุปกรณ์ต่างๆ เพื่อศึกษาถึงลักษณะและสภาพ
ทัว่ ไป ขอบเขตสิ่ งก่อสร้างที่มีอยู่ สาธารณูปโภคต่างๆ มีความเข้าใจเป็ นอย่างดีไม่ว่ากรณี ใดๆ ผูร้ ับจ้างจะยกข้ออ้างถึง
การที่ตนไม่ทราบข้อเท็จจริ ง และ/หรื อ ข้อมูลที่กล่าวข้างต้น เพื่อประโยชน์ของตนมิได้

2.4 กำรตรวจสอบแบบ รำยกำร และข้ อกำหนด


2.4.1 ผูร้ ับจ้างต้องตรวจสอบรายละเอียดจากแบบสถาปั ตย์ และโครงสร้างพร้อมไปกับแบบทางวิศวกรรม
ต่างๆ ที่ปรากฏในโครงการนี้ก่อนการติดตั้ง วัสดุ-อุปกรณ์ เสมอ เพื่อขจัดข้อขัดแย้ง
2.4.2 ผูร้ ับจ้างต้องตรวจสอบแบบ รายการ และข้อกาหนดต่างๆ จนเข้าใจถึงเงื่อนไขต่างๆ โดยละเอียด เมื่อมี
ข้อสงสัยหรื อพบข้อผิดพลาด ให้สอบถามจากผูค้ วบคุมงานโดยตรง
2.4.3 ในกรณี ที่เกิดมีความคลาดเคลื่อน ขัดแย้ง หรื อไม่ชดั เจนในแบบประกอบสัญญา รายการเครื่ องวัสดุ -
อุปกรณ์ และเอกสารสัญญาอื่นๆ ผูร้ ั บจ้างต้องรี บแจ้งให้ผูอ้ อกแบบและผูค้ วบคุมงานทราบเพื่อขอคาวินิจฉัยทันที
ผูอ้ อกแบบและผูค้ วบคุมงานจะพิจารณาตัดสิ นโดยถือเอาส่วนที่ดีกว่า ถูกต้องกว่าเป็ นเกณฑ์
2.4.4 ระยะ ขนาด และตาแหน่งที่ปรากฏในแบบประกอบสัญญา ให้ถือตัวเลขเป็ นสาคัญ ห้ามใช้วิธีวดั จาก
แบบโดยตรง ในส่ วนที่ไม่ได้ระบุตวั เลขไว้ เป็ นการแสดงให้ทราบเป็ นแนวทางที่ควรจะเป็ นไปได้เท่านั้น ผูร้ ับจ้างต้อง
ตรวจสอบจากเครื่ องวัสดุ-อุปกรณ์ ที่ได้รับอนุมตั ิให้ใช้ในโครงการ และสถานที่ติดตั้งจริ ง

โครงการ : Gulf PD Visitor Center หน้า M - 4


รายละเอียดข้อกาหนดประกอบแบบ
งานวิศวกรรมระบบปรับอากาศและระบายอากาศ

2.5 กำรจัดทำตำรำงแผนงำน
ถ้าผูค้ วบคุมงานมิได้กาหนด หรื อตกลงกันไว้เป็ นอย่างอื่น ผูร้ ับจ้างต้องจัดทาตารางแผนงาน จัดส่ งผูค้ วบคุมงาน
เพื่อประกอบการประสานงาน ดังต่อไปนี้
2.5.1 แผนงานล่วงหน้ารายสัปดาห์ ประกอบด้วย
2.5.1.1 กาหนดการขนส่งเครื่ อง และอุปกรณ์เข้าหน่วยงาน ในรอบสัปดาห์ถดั ไป
2.5.1.2 กาหนดการติ ดตั้ง และการแล้วเสร็ จของงานแต่ละขั้นตอน ในรอบสัปดาห์ถดั ไปจัดส่ ง
แผนงานรายสั ป ดาห์ แ ก่ ผูค้ วบคุม งาน จ านวน 2 ชุ ด ภายในวัน สุ ด ท้ายของแต่ ล ะสั ปดาห์ หรื อ ตามที่ ผูค้ วบคุมงาน
กาหนดให้
2.5.2 แผนงานล่วงหน้ารายเดือน ประกอบด้วย
2.5.2.1 กาหนดการขนส่งเครื่ อง และอุปกรณ์ เข้าหน่วยงาน ในรอบเดือนถัดไป
2.5.2.2 กาหนดการติดตั้ง และแล้วเสร็ จ ของงานแต่ละขั้นตอน ในรอบเดือนถัดไป
2.5.2.3 แผนการเพิ่ม/ลดจานวนพนักงาน และตาแหน่งหน้าที่ ในรอบเดือนถัดไป จัดส่ งแผนงาน
รายเดือนแก่ผคู ้ วบคุมงาน จานวน 4 ชุด ภายในสัปดาห์สุดท้ายของเดือน หรื อตามที่ผคู ้ วบคุมงานกาหนดให้
2.5.3 การวางแผนงานล่วงหน้าตลอดโครงการ แสดงรายละเอียด จานวนพนักงาน การขนส่ งเครื่ อง และ
อุปกรณ์เข้าสถานที่ติดตั้ง การติดตั้งและการแล้วเสร็ จ ของงานแต่ละขั้นตอน ตั้งแต่ตน้ จนจบโครงการโดยจัดส่ งให้ผู ้
ควบคุมงาน จานวน 4 ชุด หรื อตามที่ผคู ้ วบคุมงานกาหนดให้

2.6 กำรจัดทำรำยงำนผลควำมคืบหน้ ำของงำน


ถ้าผูค้ วบคุมงานมิ ได้กาหนดหรื อตกลงกันไว้เป็ นอย่างอื่น ผูร้ ั บจ้ างต้องจัดทารายงาน จัดส่ งให้ผูค้ วบคุมงาน
ดังต่อไปนี้
2.6.1 รายงานประจาวัน ประกอบด้วย
2.6.1.1 รายละเอียดงานที่ปฏิบตั ิได้จริ งในแต่ละวัน (ปริ มาณงาน และตาแหน่งของงาน)
2.6.1.2 รายละเอียดงานแก้ไขเปลี่ยนแปลง ตามที่ผคู ้ วบคุมงานสั่งดาเนินการ
2.6.1.3 รายละเอียดงานแก้ไขเปลี่ยนแปลง ตามความต้องการของเจ้าของงาน (งานเพิ่ม/งานลด) จัดส่ง
รายงานแก่ผคู ้ วบคุมงานจานวน 2 ชุด ภายหลังเลิกงานของวันนั้นๆ หรื อก่อนเริ่ มงานวันถัดไป หรื อตามที่ผคู ้ วบคุมงาน
กาหนดให้
2.6.2 รายงานประจาสัปดาห์ ประกอบด้วย
2.6.2.1 สรุ ปงานที่ปฏิบตั ิได้จริ ง ในรอบสัปดาห์
2.6.2.2 สรุ ปงานแก้ไขเปลี่ยนแปลง ตามที่ผคู ้ วบคุมงานสั่งดาเนินการในรอบสัปดาห์
2.6.2.3 สรุ ปงานแก้ไขเปลี่ยนแปลง ตามความต้องการของเจ้าของงาน (งานเพิ่ม/งานลด) ในรอบ
สัปดาห์
2.6.2.4 จานวนวัสดุ อุปกรณ์ที่นาเข้ามายังหน่วยงานในรอบสัปดาห์ จัดส่ งรายงานแก่ผคู ้ วบคุมงาน
จานวน 2 ชุด ภายในวันแรกของสัปดาห์ถดั ไป หรื อตามที่ผคู ้ วบคุมงานกาหนดไว้
2.6.3 รายงานประจาเดือน ประกอบด้วย
2.6.3.1 สรุ ปงานที่ปฏิบตั ิได้จริ ง ในรอบเดือน
2.6.3.2 สรุ ปงานแก้ไขเปลี่ยนแปลง ตามที่ผคู ้ วบคุมงานสั่งดาเนินการในรอบเดือน

โครงการ : Gulf PD Visitor Center หน้า M - 5


รายละเอียดข้อกาหนดประกอบแบบ
งานวิศวกรรมระบบปรับอากาศและระบายอากาศ

2.6.3.3 สรุ ปงานแก้ไขเปลี่ยนแปลงความต้องการของเจ้าของงาน (งานเพิ่ม/งานลด) ในรอบเดือน


2.6.3.4 สรุ ปจานวนวัสดุ-อุปกรณ์ ที่นาเข้ามาในหน่วยงานในรอบเดือน
2.6.3.5 จานวนและตาแหน่งหน้าที่ ของพนักงานทั้งหมดที่เข้าปฏิบตั ิงาน ในรอบเดือนจัดส่ งรายงาน
แก่ผคู ้ วบคุมงาน จานวน 4 ชุด ภายในสัปดาห์แรกของเดือนถัดไป หรื อตามที่ผคู ้ วบคุมงานกาหนดให้

2.7 กำรทำงำนนอกเวลำทำกำรปกติ
หากผูร้ ับจ้างมีความประสงค์ที่จะทางานในช่วงเวลาทางานที่เกินเวลา 8 ชัว่ โมง ในวันทางานปกติ (วันจันทร์ ถึง
วันเสาร์) และทางานล่วงเวลาในวันอาทิตย์ วันหยุดนักขัตฤกษ์ หรื อวันที่ทางราชการกาหนดให้เป็ นวันหยุดราชการ ผูร้ ับ
จ้างต้องแจ้งให้ผูค้ วบคุมงานทราบล่วงหน้าอย่างน้อย 1 วัน เพื่อขออนุ มตั ิทางานล่วงเวลาเป็ นลายลักษณ์ อกั ษรโดยผู ้
ควบคุมงานจะพิจารณาอนุมตั ิตามความเหมาะสม ในกรณี ที่การทางานนั้นจาเป็ นต้องมีผคู ้ วบคุมงานอยูค่ วบคุม ผูร้ ับจ้าง
ต้องเป็ นผูร้ ับภาระออกค่าใช้จ่ายในการทางานล่วงเวลาของผูค้ วบคุมงาน

2.8 กำรเสนอรำยละเอียด วัสดุ-อุปกรณ์ เพือ่ ขออนุมัติ


2.8.1 ผูร้ ั บจ้างต้องจัดทารายละเอียด (SUBMITTAL DATA) ของ วัสดุ -อุปกรณ์ เสนอผูค้ วบคุมงาน เพื่อ
อนุมตั ิก่อนดาเนินการใด ๆ รายการใดที่ยงั ไม่อนุมตั ิ ห้ามนาเข้ามายังบริ เวณหน่วยงานโดยเด็ดขาด
2.8.2 รายละเอียด วัสดุ -อุปกรณ์ แต่ละอย่าง ให้เสนอแยกกัน โดยรวบรวมข้อมูล จัดทาตารางเปรี ยบเทียบ
คุณสมบัติของอุปกรณ์ที่จะขออนุมตั ิกบั รายละเอียดประกอบแบบอย่างละเอียดและเรี ยงลาดับให้เข้าใจง่าย พร้อมทั้งแนบ
เอกสารสนับสนุน เช่น แคตตาล็อก รายละเอียดด้านเทคนิค รายการคานวณ (ถ้ามี) และมีเครื่ องหมายชี้ บอกรุ่ น ขนาด
และความสามารถเพื่อประกอบการพิจารณา จานวน 4 ชุด (หรื อ ตามที่ผคู ้ วบคุมงาน หรื อผูอ้ อกแบบกาหนดให้)

2.9 กำรติดตั้ง วัสดุ-อุปกรณ์


ในกรณี ที่ผคู ้ วบคุมงานไม่ได้กาหนด หรื อไม่ได้มีการตกลงกันไว้เป็ นประการอื่น ทันทีที่ได้รับการว่า จ้าง ผูร้ ับ
จ้างต้องจัดทาแบบใช้งาน (SHOP DRAWING) ซึ่ งแสดงรายละเอียดของเครื่ องอุปกรณ์ ทั้งขนาด ตาแหน่ง และวิธีการ
ติดตั้ง ยื่นขออนุ มตั ิดาเนิ นการต่อผูค้ วบคุมงานล่วงหน้าอย่างน้อย 30 วัน ก่อนดาเนิ นการเพื่อติดตั้ง โดยเสนอจานวน
ทั้งสิ้น 4 ชุด (หรื อตามที่ผคู ้ วบคุมงานกาหนดให้)

2.10 กำร แก้ไข-ซ่ อมแซม


2.10.1 ในกรณี ที่ผรู ้ ับจ้าง ละเลยเพิกเฉยในการดาเนิ นการ และ/หรื อ เตรี ยมการใดๆ จนมีผลทาให้ตอ้ งมีการ
เปลี่ยนแปลง วัสดุ-อุปกรณ์ตลอดจนวิธีการติดตั้ง ผูร้ ับจ้างต้องรับผิดชอบต่อค่าใช้จ่ายที่อาจเกิดขึ้นทั้งหมดในทุกกรณี
2.10.2 ผู ้รั บ จ้า งต้อ งยอมรั บ และด าเนิ น การโดยมิ ชัก ช้า เมื่ อ ได้ รั บ รายการให้ แ ก้ไ ขข้อ บกพร่ อ งในการ
ปฏิบตั ิงานจากผูค้ วบคุมงาน เพื่อให้เป็ นไปตามข้อกาหนดในสัญญา และถูกต้องตามหลักวิชา โดยต้องรับผิดชอบต่อ
ค่าใช้จ่ายในการแก้ไข เนื่องจากความบกพร่ องต่างๆ ทั้งสิ้น

2.11 กำรทดสอบเครื่อง และระบบ


2.11.1 ผูร้ ับจ้างต้องจัดทาตารางแผนงานแสดงกาหนดการทดสอบเครื่ องและระบบ รวมทั้งจัดเตรี ยมเอกสาร
แนะนาจากผูผ้ ลิตในการทดสอบ (OPERATION MANUAL) เสนอผูค้ วบคุมงานก่อนทาการทดสอบ

โครงการ : Gulf PD Visitor Center หน้า M - 6


รายละเอียดข้อกาหนดประกอบแบบ
งานวิศวกรรมระบบปรับอากาศและระบายอากาศ

2.11.2 ผูร้ ั บจ้างต้องทาการทดสอบเครื่ องและระบบ ตามหลักวิชาการและข้อกาหนด โดยมี ผูแ้ ทนเจ้าของ


โครงการอยูร่ ่ วมขณะทดสอบด้วย
2.11.3 รายงานข้อมูลในการทดสอบ (TEST REPORT) ให้ทาเป็ นแบบฟอร์ มเสนออนุ มตั ิ ต่อผูค้ วบคุมงาน
ก่อนทาการทดสอบ และหลังการทดสอบ ผูร้ ับจ้างต้องกรอกข้อมูลตามที่ได้จากการทดสอบจริ ง ส่ งให้ผูค้ วบคุมงาน
จานวน 4 ชุด หรื อ ตามที่ผคู ้ วบคุมงานกาหนดให้
2.11.4 ค่าใช้จ่ายต่างๆ ในการปรับตั้งและทดสอบระบบเพื่อความสมบูรณ์ในการทางาน เช่น ค่าพลังงานไฟฟ้ า
ค่าน้ าประปา ค่าแรง ค่าน้ ามันเครื่ อง ค่าน้ ามันเชื้อเพลิง ค่าเครื่ องมือ และค่าทดสอบพิเศษ ฯลฯ ในระหว่างการปรับตั้ง
การทดสอบเครื่ องและทดสอบระบบ อยู่ในความรับผิดชอบของผูร้ ับจ้างทั้งสิ้ นจนกว่าระบบจะมีการทางานที่สมบูรณ์
พร้อมใช้งาน

2.12 กำรฝึ กอบรมเจ้ ำหน้ ำที่


ผูร้ ับจ้างต้องดาเนินการฝึ กอบรมเจ้าหน้าที่ ที่ควบคุมและบารุ งรักษาเครื่ องวัสดุ อุปกรณ์ ของเจ้าของโครงการ ให้
มีความรู ้ ความสามารถในการใช้งานและการบารุ งรักษาเครื่ อง โดยในระหว่างการฝึ กอบรมทุกครั้งให้ผรู ้ ับจ้างทาการ
บันทึกการฝึ กอบรมทุกขั้นตอนด้วยวีดีโอ และส่งมอบให้เจ้าของโครงการ จานวน 4 ชุด

2.13 กำรส่ งมอบงำน


2.13.1 ผูร้ ับจ้างต้องเปิ ดใช้งานเครื่ องและอุปกรณ์ต่างๆ ในระบบให้อยู่ในสภาพที่ใช้งานได้เต็มประสิ ทธิภ าพ
หรื อพร้อมที่จะใช้งานได้เต็มความสามารถ โดยค่าใช้จ่ายที่มีท้งั หมด อยูใ่ นความรับผิดชอบของผูร้ ับจ้างทั้งสิ้น
2.13.2 ผูร้ ับจ้างต้องทาการทดสอบเครื่ องอุปกรณ์และระบบ ตามที่ผคู ้ วบคุมงานจะกาหนดให้ทดสอบจนกว่า
จะได้ผลเป็ นที่พอใจ และแน่ใจว่าการทางานของระบบที่ทาการทดสอบถูกต้องตามความประสงค์ของเจ้าของโครงการ
2.13.3 รายการสิ่ งของต่างๆ ที่ผรู ้ ับจ้างต้องส่งมอบงานให้แก่เจ้าของโครงการในวันส่งมอบงาน ซึ่งถือเป็ นส่วน
หนึ่งของการตรวจรับมอบงานด้วยดังนี้
2.13.3.1 แบบสร้างจริ งกระดาษไข จานวน 1 ชุด
2.13.3.2 แบบสร้างจริ งพิมพ์ขาว เป็ นรู ปเล่ม พร้อมปกแข็งสี จานวน 4 ชุด
2.13.3.3 หนังสื อคู่มือการใช้และบารุ งรักษาเครื่ อง อุปกรณ์ จานวน 4 ชุด
2.13.3.4 ข้อมูลในรู ปแบบไฟล์บรรจุลงใน EXTERNAL HARDDISK (SSD) จานวน 4 ชุด
- แบบก่อสร้างจริ ง (AUTO CAD File และ PDF File)
- คู่มือการใช้และบารุ งรักษาเครื่ อง, อุปกรณ์ (PDF File)
2.13.3.5 เครื่ องมือพิเศษสาหรับใช้ในการปรับแต่ง ซ่อมบารุ งเครื่ องจักร อุปกรณ์ ซึ่ งโรงงานผูผ้ ลิต
ส่งมาให้
2.13.3.6 อะไหล่ต่างๆ ตามข้อกาหนด

โครงการ : Gulf PD Visitor Center หน้า M - 7


รายละเอียดข้อกาหนดประกอบแบบ
งานวิศวกรรมระบบปรับอากาศและระบายอากาศ

2.14 กำรรับประกัน
2.14.1 หากมิได้ระบุไว้เป็ นอย่างอื่น ผูร้ ับจ้างต้องรับประกันคุณภาพ ความสามารถการใช้งานของเครื่ องวัสดุ -
อุปกรณ์ และการติดตั้งเป็ นเวลำ 2 ปี นับจากวันลงนามในเอกสารรับมอบงานแล้ว
2.14.2 ระหว่างเวลารับประกัน หากเจ้าของโครงการตรวจพบว่าผูร้ ับจ้างจัดนาวัสดุ อุปกรณ์ที่ไม่ถูกต้องหรื อ
คุณภาพต่ากว่าข้อกาหนดมาติดตั้ง ตลอดจนงานติดตั้งไม่ถูกต้องหรื อไม่เรี ยบร้อย ผูร้ ับจ้างต้องดาเนิ นการเปลี่ยนหรื อ
แก้ไขให้ถูกต้อง
2.14.3 ในกรณี ที่ เครื่ อง วัสดุ -อุปกรณ์ ต่างๆ เกิดชารุ ดเสี ยหายหรื อเสื่ อมคุณภาพอันเนื่องมาจากข้อผิดพลาด
ของผูผ้ ลิต หรื อการติดตั้งในระหว่างเวลารับประกัน ผูร้ ับจ้างต้องดาเนินการเปลี่ยนหรื อแก้ให้อยู่ในสภาพใช้งานได้ดี
เช่นเดิม โดยมิชกั ช้า
2.14.4 ผูร้ ับจ้างต้องดาเนินการโดยทันทีที่ได้รับแจ้งจากเจ้าของโครงการให้ เปลี่ยน หรื อแก้ไขเครื่ องอุปกรณ์
ตามสัญญารับประกัน มิฉะนั้นเจ้าของโครงการสงวนสิ ทธิ์ ที่จะจัดหาผูอ้ ื่นมาดาเนินการ โดยค่าใช้จ่ายทั้งสิ้นผูร้ ับจ้างต้อง
เป็ นผูร้ ับผิดชอบ
2.14.5 วัสดุหรื ออุปกรณ์ที่มีการระบุระยะเวลาการรับประกันมากกว่าที่ระบุใน 2.14.1 ผูร้ ับจ้างจะต้องส่งมอบ
หลักฐานการรับประกันจากผูผ้ ลิตหรื อผูจ้ ดั จาหน่าย ให้กบั เจ้าของโครงการพร้อมกับเอกสารส่งมอบงาน

2.15 กำรบริกำร
ผูร้ ับจ้างต้องจัดเตรี ยมช่างผูช้ านาญในแต่ละระบบไว้สาหรับตรวจสอบ ซ่ อมแซม และบารุ งรักษาเครื่ องและ
อุปกรณ์ ให้อยู่ในสภาพใช้งานได้ดีเป็ นประจาทุก 2 เดือน เป็ นระยะเวลำ 2 ปี โดยผูร้ ับจ้างต้องจัดทารายงานผลการ
ตรวจสอบเครื่ อง อุปกรณ์ ระบบ และการบารุ งรักษา เสนอเจ้าของโครงการภายใน 7 วัน นับจากวันตรวจสอบทุกครั้ง

โครงการ : Gulf PD Visitor Center หน้า M - 8


รายละเอียดข้อกาหนดประกอบแบบ
งานวิศวกรรมระบบปรับอากาศและระบายอากาศ

3. กำรดำเนินงำนที่เกีย่ วข้องกับงำนสถำปัตยกรรมและโครงสร้ ำง

3.1 กำรทำช่ องเปิ ด และกำรตัด-เจำะ


3.1.1 ผู ้รั บ จ้า งต้อ งตรวจสอบช่ อ งเปิ ดต่ า งๆ ส าหรั บ ติ ด ตั้ง งานระบบในความรั บ ผิ ด ชอบ จากแบบ
สถาปัตยกรรมและโครงสร้าง เพื่อยืนยันความต้องการและความถูกต้อง
3.1.2 กรณี ที่ มี ค วามต้อ งการแก้ไ ข ขนาด-ต าแหน่ ง ของช่ อ งเปิ ด หรื อ ต้อ งการช่ อ งเปิ ดเพิ่ ม จากที่ ไ ด้จัด
เตรี ยมการให้ตามแบบสถาปัตยกรรม และโครงสร้าง ผูร้ ับจ้างต้องเสนอขอพร้อมจัดทาแบบ และ/หรื อ รายละเอียดแสดง
การติดตั้งต่อผูค้ วบคุมงานล่วงหน้าอย่างน้อย 30 วัน ก่อนที่ผรู ้ ับจ้างงานก่อสร้างจะดาเนินการในช่วงงานที่เกี่ยวข้องนั้นๆ
3.1.3 การสกัด ตัด หรื อ เจาะ ส่ วนหนึ่ ง ส่ วนใดของอาคาร ผูร้ ั บ จ้างต้อ งจัด ท ารายละเอี ย ดของกรรมวิธี
ดาเนินงาน เพื่อป้ องกันผลกระทบที่อาจก่อให้เกิดความเสี ยหายต่อส่ วนอื่นๆ และเสนอขออนุมตั ิจากผูค้ วบคุมงานก่อน
การดาเนินการอย่างน้อย 7 วัน
3.1.4 การเจาะผนังและฝ้ าเพดานเพื่อติดอุปกรณ์ต่างๆ รวมทั้งวิธีการการเข้าถึง เพื่อซ่อมบารุ งในงานระบบ
วิ ศ วกรรมทั้ง หมด ค่ า ใช้จ่ า ยผู ้รั บ จ้า งจะต้อ งเป็ นผู ้รั บ ผิ ด ชอบด าเนิ น การ โดยรู ป แบบจะต้อ งสอดคล้อ งกับ งาน
สถาปัตยกรรมและงานตกแต่งภายใน

3.2 กำรอุดปิ ดช่ องว่ำง


3.2.1 ภายหลังการติดตั้ง วัสดุ-อุปกรณ์ ผ่านช่องเปิ ด หรื อช่องเจาะใดๆ ก็ตาม ผูร้ ับจ้างต้องดาเนินการอุดปิ ด
ช่องว่างที่เหลือ ด้วยวัสดุและกรรมวิธีที่เหมาะสม โดยต้องได้รับอนุมตั ิจากผูค้ วบคุมงาน
3.2.2 การเลือกใช้วสั ดุ และกรรมวิธีในการอุดช่องว่างที่กล่าวข้างต้น นอกจากต้องคานึงถึงการตรวจซ่อมใน
อนาคตแล้ว ยังต้องคานึงถึงการป้ องกันไฟและควันลาม ตลอดจนการป้ องกันเสี ยงเล็ดลอดโดยตรง การป้ องกันแมลง
หรื อสัตว์ต่างๆ อีกด้วย
3.2.3 การอุดช่องว่างในส่วนหนึ่งส่ วนใดของอาคาร ไม่ว่าจะเป็ นพื้นหรื อผนังที่เป็ นโครงสร้างคอนกรี ตเสริ ม
เหล็กและส่ วนที่เป็ นโครงสร้างเพื่อกันไฟ รวมถึงแนวผนังกั้นห้องเพื่อป้ องกันไฟลามข้ามห้องต้องใช้วสั ดุ และกรรมวิธี
ที่สามารถทนไฟได้ไม่ น้อยกว่ำ 2 ชั่วโมง เว้นแต่จะได้ระบุไว้เป็ นอย่างอื่น

3.3 ช่ องเปิ ดเพือ่ กำรซ่ อมบำรุง


ผูร้ ั บจ้างต้องตรวจสอบ และแสดงความต้องการช่ องเปิ ดที่ ใช้เพื่อการตรวจซ่ อม (SERVICE PANEL) เครื่ อง
วัสดุ-อุปกรณ์ ภายหลังการติดตั้งงานแล้วเสร็ จ โดยต้องเสนอขนาดและตาแหน่งตามความจาเป็ นต่อผูค้ วบคุมงาน เพื่อ
พิจารณาดาเนิ นการตามความเหมาะสม รู ปแบบจะต้องสอดคล้องกับงานสถาปั ตยกรรมและงานตกแต่งภายใน โดย
ค่าใช้จ่ายโดยการทาช่องเปิ ดเพื่อการซ่อมบารุ งอุปกรณ์ท้งั หมดผูร้ ับจ้างต้องเป็ นผูร้ ับผิดชอบ
3.4 กำรจัดทำแท่ นเครื่อง
ผูร้ ับจ้างต้องเป็ นผูจ้ ดั ทาแท่นฐาน และอุปกรณ์รองรับน้ าหนักเครื่ องและอุปกรณ์ต่างๆให้มีความแข็งแรง สามารถ
ทนการสั่นสะเทือนของ เครื่ อง/อุปกรณ์ ขณะใช้งานได้เป็ นอย่างดี โดยข้อมูลรายละเอียดขนาด และตาแหน่งที่จะจัดทา
ต้องเสนอขออนุมตั ิจากผูค้ วบคุมงานอย่างน้อย 15 วัน ก่อนดาเนินการ

โครงการ : Gulf PD Visitor Center หน้า M - 9


รายละเอียดข้อกาหนดประกอบแบบ
งานวิศวกรรมระบบปรับอากาศและระบายอากาศ

3.5 กำรยึดท่ อ และอุปกรณ์ กบั โครงสร้ ำงอำคำร


3.5.1 ผูร้ ั บจ้างต้องจัดหาอุปกรณ์ ยึด แขวนท่อ เครื่ องและอุปกรณ์ ที่ เหมาะสมกับโครงสร้ างอาคาร การ
ประกอบโครงเหล็กต้องทาด้วยความประณี ตไม่มีเหลี่ยมคมอันอาจก่อให้เกิดอันตรายได้ ผูร้ ับจ้างต้องได้รับการอนุมตั ิ
จากผูค้ วคุมงานก่อนดาเนินการยึดแขวนใดๆ
3.5.2 EXPANSION SHIELD ที่ใช้เจาะยึดในคอนกรี ตต้องเป็ นโลหะตามมาตรฐานของผูผ้ ลิต และต้องได้รับ
อนุมตั ิจากผูค้ วบคุมงาน
3.5.3 ขนาดและชนิ ดของอุปกรณ์ ยึด แขวน จะต้องเป็ นที่ รับรองว่าสามารถรั บน้ าหนักได้ โดยมี ค่าความ
ปลอดภัยไม่ต่ากว่า 3 เท่าของน้ าหนักใช้งาน (SAFETY FACTOR = 3)
3.5.4 การยึดแขวนกับโครงสร้างอาคารต้องแน่ ใจว่าจะไม่ก่อให้เกิดความเสี ยหาย หรื อกีดขวางงานระบบ
อื่นๆ

3.6 งำนติดตั้งในห้ องเครื่อง


3.6.1 ผูร้ ับจ้างต้องวางแผนการติดตั้งเครื่ องและอุปกรณ์ต่างๆ รวมทั้งแท่นเครื่ องต่างๆ โดยไม่เป็ นอุปสรรค
ต่อการดาเนินงานของผูร้ ับจ้างอื่น โดยเฉพาะอย่างยิ่งผูร้ ับจ้างก่อสร้างอาคาร
3.6.2 แผนงาน ข้อมูล และความต้องการตามความจาเป็ น ต้องแจ้งให้ผรู ้ ับจ้างก่อสร้างอาคารทราบล่วงหน้า
เป็ นเวลานานพอ เพื่อเตรี ยมการก่อนการติดตั้งเครื่ องและอุปกรณ์ หากผูร้ ับจ้างละเลยหน้าที่ดงั กล่าวโดยมิได้แจ้งให้ทราบ
ล่วงหน้า หรื อแจ้งให้ทราบล่าช้าเกินควร ผลเสี ยหายที่เกิดขึ้นผูร้ ับจ้างต้องเป็ นผูร้ ับผิดชอบทั้งสิ้น
3.6.3 ผู ้รั บ จ้า งต้อ งติ ด ตั้ง SPRING รองรั บ ท่ อ และอุ ป กรณ์ ต่ า งๆ ที่ มี ก ารสั่ น สะเทื อ น เพื่ อ มิ ใ ห้ ค วาม
สั่นสะเทือนนั้นผ่านไปยังพื้นที่ส่วนอื่นๆ นอกห้องเครื่ อง
3.6.4 ในกรณี ที่อุปกรณ์ หรื อท่อที่นามาติดตั้ง อาจเกิดการทรุ ดตัว/แตกหักเนื่องจากกายภาพโครงสร้างของ
อาคาร ทางผูร้ ับจ้างต้องจัดหา FLEXIBLE JOINT CONNECTION ติดตั้งไว้กบั อุปกรณ์/ท่อดังกล่าวด้วยวัสดุที่เหมะสม
เป็ นกรณี ๆไป
3.6.5 ในกรณี ในแบบระบุห้องเครื่ องมีระบบป้ องกันเสี ยงโดยการติดตั้งวัสดุดูดซับเสี ยงในห้อง ให้ดาเนินการ
ติดตั้งที่ผนังห้องทั้ง 4 ด้าน รวมประตูห้องเครื่ อง และเพดานห้องเครื่ องรวมทั้งหมด 5 ด้านเป็ นมาตรฐาน โดยรายละเอียด
วัสดุซบั เสี ยงจะระบุไว้ในแบบ

3.7 กำรป้ องกันน้ำเข้ ำอำคำร


การติดตั้ง วัสดุ-อุปกรณ์ ที่ใกล้ชิดกับบริ เวณที่มีความชื้นสู ง หรื อเชื่อมโยงกับภายนอกอาคาร ผูร้ ับจ้างต้องจัดทา
รายละเอียดแสดงวิธีการติดตั้งและเสริ มเพิ่มเติมวัสดุ-อุปกรณ์ต่างๆ ให้ผคู ้ วบคุมงานอนุมตั ิก่อนดาเนินการใดๆ เพื่อให้
การป้ องกันน้ าเข้าอาคารเป็ นไปอย่างสมบูรณ์

โครงการ : Gulf PD Visitor Center หน้า M - 10


รายละเอียดข้อกาหนดประกอบแบบ
งานวิศวกรรมระบบปรับอากาศและระบายอากาศ

4. กำรประสำนงำน

4.1 กำรให้ ควำมร่ วมมือต่ อผู้ควบคุมงำน และวิศวกร


ผูร้ ับจ้างต้องให้ความร่ วมมือต่อผูค้ วบคุมงาน และวิศวกรในการทางานตรวจสอบ วัด เทียบ จัดทาตัวอย่าง และ
อื่นๆ ตามสมควรแก่กรณี

4.2 กำรประชุมโครงกำร
ผูร้ ับจ้างต้องเข้าร่ วมประชุมโครงการ และประชุมในหน่วยงานซึ่ งจัดให้มีข้ นึ เป็ นระยะๆ โดยผูร้ ับจ้างงานอาคาร
หรื อผูค้ วบคุมงาน ผูเ้ ข้าร่ วมประชุมต้องมีอานาจในการตัดสิ นใจสั่งการ และทราบรายละเอียดของโครงการเป็ นอย่างดี

4.3 กำรประสำนงำนในด้ ำนกำรตกแต่ งภำยใน


หากพื้นที่ ใดของอาคารที่เกี่ ยวข้องกับการตกแต่งภายใน ทั้งที่ ระบุไว้ในแบบก่ อสร้ าง หรื อทราบว่าจะมี การ
ตกแต่งในภายหลัง ผูร้ ับจ้างต้องประสานงานกับสถาปนิก และมัณฑนากรโดยใกล้ชิดตามที่ผคู ้ วบคุมงานร้องขอ

4.4 กำรติดต่ อประสำนงำนกับผู้รับจ้ ำงรำยอื่นๆ


ผูร้ ั บจ้างต้องให้ ความร่ วมมื อในการประสานงานกับผูร้ ั บจ้างอื่นๆ เพื่อให้สอดคล้องกับแผนงาน และความ
คืบหน้าของโครงการ หากเป็ นการจงใจละเลยต่อความร่ วมมือดังกล่าว ที่ทาให้มีผลเสี ยหายต่อโครงการ เจ้าของโครงการ
สงวนสิ ทธิ์ที่จะเรี ยกร้องความเสี ยหายที่เกิดขึ้นจากผูร้ ับจ้าง

4.5 สำธำรณูปโภค เพือ่ ใช้ ระหว่ำงกำรก่อสร้ ำง


4.5.1 ถ้ามิได้กาหนดไว้เป็ นอย่างอื่น ผูร้ ับจ้างต้องเป็ นผู ้ดาเนินการจัดหาน้ าประปา ไฟฟ้ า โทรศัพท์ ฯลฯ ซึ่ ง
เกี่ ย วพัน กั บ ระบบงานในความรั บ ผิ ด ชอบของผู ้รั บ จ้า งส าหรั บ ใช้ ใ นการก่ อ สร้ า งในโครงการ ในกรณี ไ ม่ มี
ผูร้ ับเหมาก่อสร้าง(หลัก) ผูร้ ับจ้างต้องจัดสร้างสานักงานสนาม พร้อมห้องน้ าไว้ให้เพียงพอต่อการใช้งานของผูร้ ับจ้าง
และผูว้ ่าจ้าง
4.5.2 ผูร้ ับจ้าง ต้องประสานงานกับผูร้ ับจ้างงานอาคาร เกี่ยวกับค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นระหว่างการก่อสร้าง ซึ่ งอยู่
ในความรับผิดชอบของผูร้ ับจ้าง

4.6 กำรรักษำควำมสะอำด
4.6.1 ผูร้ ับจ้าง ต้องขนขยะมูลฝอย เศษวัสดุ และสิ่ งของเหลือใช้ ออกจากพื้นที่ปฏิบตั ิงานทุกวัน โดยนาไปทิ้ง
รวมกันในบริ เวณส่วนกลางที่จดั ไว้ให้
4.6.2 ถ้ามิได้กาหนดไว้เป็ นอย่างอื่น ผูร้ ับจ้างต้องร่ วมเป็ นผูอ้ อกค่าใช้จ่ายในการกาจัดขยะมูลฝอยต่างๆ ออก
จากบริ เวณโครงการ

4.7 กำรรักษำควำมปลอดภัย
ผูร้ ับจ้างต้องรับผิดชอบในการรักษาความปลอดภัยด้านต่างๆ ภายในสถานที่ก่อสร้าง โดยถ้ามิได้กาหนดไว้เป็ น
อย่างอื่น ผูร้ ับจ้างต้องเฉลี่ยค่าใช้จ่ายที่มีข้ นึ ร่ วมกับผูร้ ับจ้างงานอื่นๆ

โครงการ : Gulf PD Visitor Center หน้า M - 11


รายละเอียดข้อกาหนดประกอบแบบ
งานวิศวกรรมระบบปรับอากาศและระบายอากาศ

4.8 กำรติดต่ อหน่ วยงำนรัฐ และค่ำธรรมเนียม


ถ้ามิได้กาหนดไว้เป็ นอย่างอื่น ผูร้ ับจ้างต้องมีหน้าที่เป็ นผูต้ ิดต่อประสานงานกับหน่วยงานของรัฐ (และ/หรื อ
เอกชน) ในระบบที่ เกี่ ยวข้องกับผูร้ ั บจ้าง เพื่อให้ได้มาซึ่ งความสมบูรณ์ ของระบบประกอบอาคารนั้นสาหรั บใช้ใน
โครงการ โดยค่าใช้จ่ายค่าธรรมเนียมและค่าดาเนินการที่เรี ยกเก็บโดยหน่วยงานของรัฐ เจ้าของโครงการจะเป็ นผูจ้ ่ายให้
ตามหลักฐานใบเสร็ จการรับเงินของหน่ วยงานนั้นๆ ส่ วนค่าใช้จ่ายในการติดต่อดาเนินงาน รวมถึงค่าจัดทาเอกสารใน
การยืน่ ขออนุญาตในระบบต่างๆเป็ นส่วนที่ผรู ้ ับจ้างเป็ นผูร้ ับผิดชอบทั้งหมด

โครงการ : Gulf PD Visitor Center หน้า M - 12


รายละเอียดข้อกาหนดประกอบแบบ
งานวิศวกรรมระบบปรับอากาศและระบายอากาศ

5. แบบ และเอกสำร

5.1 ระยะ ขนำด และตำแหน่ งที่ปรำกฏในแบบ


ระยะ ขนาด และตาแหน่งที่ปรากฏในแบบประกอบสัญญาให้ถือตัวเลขเป็ นสาคัญ ห้ามใช้วิธีวดั จากแบบโดยตรง
ในส่ วนที่ไม่ได้ระบุตวั เลขไว้ เป็ นการแสดงให้ทราบเป็ นแนวทางที่ควรจะเป็ นไปได้เท่านั้น ผูร้ ับจ้างต้องตรวจสอบจาก
เครื่ อง วัสดุ และอุปกรณ์ ที่ได้รับอนุมตั ิให้ใช้ในโครงการและสถานที่ติดตั้งจริ ง

5.2 ข้ อขัดแย้งของแบบ
ในกรณี ที่เกิดความคลาดเคลื่อน ขัดแย้ง หรื อไม่ชดั เจน ในแบบประกอบสัญญารายการ เครื่ อง วัสดุ อุปกรณ์และ
เอกสารสัญญา ในระหว่างการเสนอราคาผูร้ ับจ้างต้องรี บสอบถามผูอ้ อกแบบเพื่อเป็ นที่เข้าใจในการเสนอราคา ทั้งนี้ให้
ถือว่าผูร้ ับจ้างได้เสนอราคาครอบคลุมแล้ว ยกเว้นในกรณี ปัญหาที่เกิดจากการประสานงานในระหว่างก่อสร้าง ผูร้ ับจ้าง
ต้องรี บแจ้งให้ผคู ้ วบคุมงานและผูอ้ อกแบบทราบ เพื่อขอคาวินิจฉัยทันที โดยผูค้ วบคุมงานและผูอ้ อกแบบจะถือเอาส่วน
ที่ดีกว่า ถูกต้องกว่าเป็ นเกณฑ์ หากผูค้ วบคุมงานยังไม่แจ้งผลการพิจารณา ห้ามผูร้ ับจ้างดาเนินการในส่ วนนั้น มิฉะนั้นผู ้
รับจ้างจะต้องรับผิดชอบข้อผิดพลาดที่เกิดขึ้น และผูค้ วบคุมงานอาจจะเปลี่ยนแปลงงานส่ วนนั้นได้ตามความเหมาะสม
ในกรณี ผรู ้ ับจ้างต้องดาเนินการแก้ไขจะคิดค่าใช้จ่ายเพิ่มและเป็ นเหตุให้ขอต่อสัญญาไม่ได้

5.3 แบบประกอบสัญญำ
แบบประกอบสัญญาจ้างเหมาเป็ นเพียงแผนผังที่ออกแบบไว้เพื่อเป็ นแนวทางในการคิดราคาจ้างเหมา ตามความ
ต้องการของเจ้าของโครงการเท่านั้น ในการติดตั้งจริ งผูร้ ับจ้างต้องตรวจสอบกับแบบสถาปั ตย์ แบบโครงสร้าง, แบบ
ตกแต่งภายในและงานระบบอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องประกอบกันไปด้วย ทั้งนี้หากจะต้องทาการปรับปรุ งงานบางส่ วนจากแบบ
ที่ได้แสดงไว้ โดยที่เห็นว่าเป็ นความจาเป็ นที่จะทาให้การติดตั้งงานระบบให้ถูกต้อง ได้คุณภาพตามความต้องการแล้ว
ผูร้ ับจ้างต้องดาเนินการโดยไม่คิดค่าใช้จ่ายเพิ่มเติม

5.4 แบบใช้ งำน (SHOP DRAWINGS)


5.4.1 ทันทีที่ได้รับการว่าจ้าง ผูร้ ับจ้างต้องจัดทาแบบใช้งาน จานวน 4 ชุด ซึ่ งแสดงรายละเอียดของเครื่ อง
อุปกรณ์ และตาแหน่งที่จะทาการติดตั้ง ยื่นเสนอขออนุมตั ิดาเนินการต่อผูค้ วบคุมงานอย่างน้อย 30 วันก่อนการติดตั้ง
5.4.2 ผูร้ ับจ้างจะต้องจัดทาแบบรายละเอียดการติดตั้ง แบบใช้งาน (SHOP DRAWING) โดยแยกแต่ละระบบ
ออกจากกัน และให้ผรู ้ ับจ้างเสนอสารบัญแบบ SHOP DRAWING แต่ละระบบ ยื่นเสนอขออนุมตั ิต่อผูค้ วบคุมงานก่อน
ดาเนินการ และแบบใช้งาน (SHOP DRAWING) ต้องมีการทาแบบประสานงาน (COMBINE DRAWING) แต่ละระบบ
ที่จาเป็ นเข้าด้วยกัน เพื่อสะดวกในการดูระยะทางานจริ ง ตามที่ผคู ้ วบคุมงานเห็นสมควร
5.4.3 วิศวกรผูร้ ับผิดชอบของผูร้ ับจ้าง ต้องตรวจสอบแบบใช้งานให้ถูกต้อง ตามความต้องการใช้งานและการ
ติดตั้ง พร้อมทั้งลงนามรับรอง และลงวันที่กากับบนแบบที่เสนอขออนุมตั ิทุกแผ่น
5.4.4 ในกรณี ที่แบบใช้งานของผูร้ ั บจ้างแตกต่างไปจากแบบประกอบสัญญา ผูร้ ั บจ้างต้องจัดทาสารบัญ
รายการที่แตกต่าง และใส่เครื่ องหมายแสดงการเปลี่ยนแปลงกากับ

โครงการ : Gulf PD Visitor Center หน้า M - 13


รายละเอียดข้อกาหนดประกอบแบบ
งานวิศวกรรมระบบปรับอากาศและระบายอากาศ

5.4.5 ผูร้ ับจ้างต้องศึกษาทาความเข้าใจแบบสถาปัตย์ แบบโครงสร้าง แบบตกแต่งภายใน และแบบงานระบบ


อื่นๆ ที่เกี่ยวข้องประกอบกัน รวมทั้งตรวจสอบสถานที่ติดตั้งจริ ง เพื่อให้การจัดทาแบบใช้งานเป็ นไปโดยถูกต้อง และไม่
เกิดอุปสรรคกับผูร้ ับจ้างอื่นๆ จนเป็ นสาเหตุให้หมายกาหนดงานโครงการต้องล่าช้า
5.4.6 แบบใช้งานต้องมี ขนาด และมาตราส่ วนเท่ากับแบบประกอบสัญญา นอกจากแบบขยายเพื่อแสดง
รายละเอียดที่ชดั เจน และทาความเข้าใจได้ถูกต้อง ให้ใช้ขนาดและมาตราส่ วนที่เหมาะสมตามสากลนิยม ทั้งนี้ข้ ึนอยูก่ บั
ดุลยพินิจของผูค้ วบคุมงาน
5.4.7 ผูค้ วบคุมงานมีอานาจและหน้าที่สั่งการให้ผรู ้ ับจ้างจัดเตรี ยมแบบขยายแสดงการติดตั้งส่วนหนึ่งส่วนใด
ของงานระบบที่เห็นว่าจาเป็ น
5.4.8 ผูร้ ับจ้างต้องไม่ดาเนิ นการใดๆ ก่อนที่แบบใช้งานจะได้รับการอนุ มตั ิจากผูค้ วบคุมงาน มิฉะนั้นแล้ว
หากผูค้ วบคุมงานมีความเห็นให้แก้ไขเพื่อความเหมาะสม ซึ่ งแตกต่างไปจากแบบ และ/หรื อ การติดตั้งที่ได้ขออนุมตั ิไว้
ผูร้ ับจ้างต้องดาเนินการแก้ไขให้ โดยไม่มีเงื่อนไขใดๆ ทั้งสิ้น
5.4.9 แบบใช้งานที่ ได้รับอนุ มัติแล้ว มิ ได้หมายความว่าเป็ นการพ้นความรั บผิดชอบของผูร้ ั บจ้าง หากผู ้
ควบคุมงานตรวจพบข้อผิดพลาดในภายหลัง ผูร้ ับจ้างต้องดาเนินการแก้ไขใหม่ให้ถูกต้อง
5.4.10 แบบใช้งานที่ไม่มีรายละเอียดเพียงพอ ผูค้ วบคุมงานจะแจ้งให้ผรู ้ ับจ้างทราบ และอาจส่ งคืน โดยไม่มี
การพิจารณาแต่ประการใด
5.5 แบบก่อสร้ ำงจริง (AS-BUILT DRAWINGS)
5.5.1 ในระหว่างดาเนินการติดตั้ง ผูร้ ับจ้างต้องจัดทาแบบตามที่ติดตั้งจริ ง แสดงตาแหน่งของเครื่ องอุปกรณ์
รวมทั้งการแก้ไขอื่นๆ ที่ปรากฏในงานระหว่างการติดตั้งแยกแต่ละระบบออกจากกันส่ งให้ผคู ้ วบคุมงานตรวจสอบเป็ น
ระยะๆ
5.5.2 แบบก่อสร้างจริ งต้องมีขนาดและมาตราส่วน เท่ากับแบบประกอบสัญญา และ/หรื อ แบบใช้งาน ยกเว้น
แบบขยายให้ใช้มาตราส่วนตามแบบใช้งานที่ได้รับอนุมตั ิ
5.5.3 แบบก่อสร้างจริ งต้องจัดสารบัญแบบ อาจจาแนกเป็ นส่ วนๆ เพื่อสะดวกในการค้นหา เมื่อต้องการใช้
งาน
5.5.4 แบบก่อสร้างจริ งทั้งหมด ต้องลงนามรับรองความถูกต้องโดยวิศวกรของผูร้ ับจ้าง และส่ งให้ผคู ้ วบคุม
งาน 1 ชุด เพื่อตรวจสอบก่อนกาหนดการทดสอบเครื่ องและการใช้งานของระบบ อย่างน้อย 30 วัน
5.5.5 แบบก่อสร้างจริ งทั้งหมด จะต้องทาการบันทึกลงใน EXTERNAL HARDDISK (SSD) ในรู ปแบบไฟล์
โปรแกรม AUTO CAD และ PDF ส่งมอบให้แก่เจ้าของโครงการในวันส่งมอบงาน จานวน 4 ชุด
5.6 หนังสือคู่มือกำรใช้ งำน และบำรุงรักษำอุปกรณ์
5.6.1 หนังสื อคู่มือการใช้งาน และบารุ งรักษาเครื่ อง อุปกรณ์ เป็ นเอกสารประกอบการส่ งมอบงาน ผูร้ ับจ้าง
ต้อ งจัด เตรี ย มเข้าเล่ ม (HARDCOPY) ให้ เ รี ย บร้ อ ย พร้ อ มทั้ง จัด ท าให้ อ ยู่ใ นรู ป แบบไฟล์บ รรจุ ล งใน EXTERNAL
HARDDISK (SSD) โดยให้สามารถเปิ ดอ่านได้โดยใช้ COMPUTER ในรู ปแบบของ FILE HTML หรื อ PDF ซึ่ งจะต้อง
ส่งมอบให้เจ้าของโครงการในวันส่งมอบงาน
5.6.2 หนังสื อคู่มือ ควรแบ่งออกเป็ น 4 ส่วน คือ
ส่วนที่ 1 ประกอบด้วยเอกสาร รายละเอียด ข้อมูลของเครื่ อง อุปกรณ์ท้ งั หมดที่ได้ยื่นเสนอ และ
ได้รับการอนุ มัติให้ใช้ในโครงการ (SUBMITTAL DATA) ประกอบด้วยแคตตาล็อ ก

โครงการ : Gulf PD Visitor Center หน้า M - 14


รายละเอียดข้อกาหนดประกอบแบบ
งานวิศวกรรมระบบปรับอากาศและระบายอากาศ

เครื่ อง/อุปกรณ์ แยกเป็ นหมวดหมู่ พร้อมทั้งเอกสารแนะนาวิธีการติดตั้ง ซ่อมบารุ ง แนบ


มาด้วย (INSTALLATION, OPERATION AND MAINTENANCE MANUAL) รวมทั้ง
รายชื่อบริ ษทั ผูแ้ ทนจาหน่ายเครื่ องและอุปกรณ์
ส่วนที่ 2 ประกอบด้วยรายงานการทดสอบเครื่ อง และระบบตามความเป็ นจริ ง (TEST REPORT)
ส่วนที่ 3 ประกอบด้วยรายการเครื่ อง อะไหล่ และข้อแนะนาชิ้ นส่ วนอะไหล่ที่ควรมี สารองไว้
ขณะใช้งาน (RECOMMEND SPARE PARTS LIST)
ส่วนที่ 4 ประกอบด้วยรายการตรวจสอบ และบารุ งรักษาเครื่ องอุปกรณ์แต่ละชนิด
5.6.3 หนังสื อคู่มือนี้ ควรแบ่งหมวดเฉพาะสาหรับ เครื่ องจักร และ/หรื อ อุปกรณ์แต่ละชนิด/ประเภท

โครงการ : Gulf PD Visitor Center หน้า M - 15


รายละเอียดข้อกาหนดประกอบแบบ
งานวิศวกรรมระบบปรับอากาศและระบายอากาศ

6. เครื่อง วัสดุ และอุปกรณ์

6.1 เครื่อง วัสดุ และอุปกรณ์ ที่นำมำใช้ งำน


6.1.1 เครื่ อง วัสดุ และอุปกรณ์ ที่นามาติดตั้งต้องเป็ นของใหม่ และไม่เคยถูกนาไปใช้งานมาก่อน ทางเจ้าของ
โครงการมีสิทธิ์ ที่จะไม่รับสิ่ งที่เห็นว่ามีคุณสมบัติและคุณภาพไม่ดีพอ หรื อไม่เทียบเท่าตามที่ได้อนุมตั ิให้นามาใช้ใน
โครงการดังกล่าว ในกรณี ที่เจ้าของโครงการต้องการให้สถาบันที่เชื่อถือได้เป็ นผูต้ รวจสอบ ผูร้ ับจ้างต้องดาเนินการ โดย
จะต้องเป็ นผูร้ ับผิดชอบเรื่ องค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นด้วย
6.1.2 หากมีความจาเป็ นอันกระทาให้ผรู ้ ับจ้างไม่สามารถจัดหา วัสดุ -อุปกรณ์ ตามที่ได้แจ้งไว้ในรายละเอียด
หรื อแสดงตัวอย่างไว้แ ก่ เจ้าของโครงการ ผูร้ ั บจ้างต้องจัดหาผลิ ตภัณฑ์อื่นมาทดแทน พร้ อมทั้งชี้ แจงเปรี ยบเที ย บ
รายละเอียดต่างๆ ของผลิตภัณฑ์ดงั กล่าวเพื่อประกอบการขออนุมตั ิต่อ ผูอ้ อกแบบและเจ้าของโครงการก่อนดาเนินการ
จัดหา
6.1.3 ความเสี ยหายที่เกิดขึ้นระหว่าง การขนส่ง ติดตั้ง หรื อการทดสอบ ต้องดาเนินการซ่อมแซม หรื อเปลี่ยน
ให้ใหม่ตามความเห็นชอบของเจ้าของโครงการหรื อผูค้ วบคุมงาน

6.2 กำรขนส่ ง และกำรนำเครื่อง วัสดุ และอุปกรณ์ เข้ ำยังหน่ วยงำน


6.2.1 ผูร้ ับจ้างต้องรับผิดชอบค่าใช้จา่ ย และความเสี ยหายที่เกิดขึ้น ในการขนส่งเครื่ อง วัสดุ และอุปกรณ์มายัง
หน่วยงานและสถานที่ติดตั้ง
6.2.2 ผูร้ ับจ้างต้องจัดทาหมายกาหนดการนาเครื่ อง วัสดุ และอุปกรณ์เข้ายังหน่วยงาน และแจ้งให้ผคู ้ วบคุม
งานทราบล่วงหน้า พร้อมทั้งจัดเตรี ยมสถานที่สาหรับเก็บรักษาโดยประสานงานกับผูร้ ับจ้างอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
6.2.3 เมื่อเครื่ องอุปกรณ์มาถึงหน่วยงาน ผูร้ ับจ้างต้องนาเอกสารการส่งของให้ผคู ้ วบคุมงานทราบ เพื่อที่จะได้
ตรวจสอบให้ถูกต้องตามที่ได้อนุมตั ิไว้

6.3 กำรจัดเตรียมสถำนที่เก็บพัสดุ
ผูร้ ับจ้างต้องเป็ นผูจ้ ดั เตรี ยมสถานที่เก็บ เครื่ อง วัสดุ และอุปกรณ์ต่างๆ ในบริ เวณที่เหมาะสม และกว้างขวาง
พอที่จะสามารถทาการตรวจสอบ เคลื่อนย้ายได้โดยสะดวก หากมิได้มีการเตรี ยมการล่วงหน้า เมื่อเครื่ อง วัสดุ และ
อุปกรณ์มาถึงหน่วยงาน ผูค้ วบคุมงานอาจไม่อนุญาตให้ทาการขนส่งเข้ายังบริ เวณสถานที่เก็บ

6.4 กำรเก็บรักษำเครื่อง วัสดุ และอุปกรณ์


ผูร้ ับจ้างต้องเก็บรักษาเครื่ อง วัสดุ และอุปกรณ์ ทั้งในที่เก็บพัสดุเพื่อรอการติดตั้ง และที่ติดตั้งแล้วให้อยูใ่ นสภาพ
เรี ย บร้ อ ย ทั้ง นี้ เครื่ อ ง วัส ดุ และอุ ป กรณ์ ทั้ง หมดยัง เป็ นกรรมสิ ทธิ์ ของผูร้ ั บจ้า ง ซึ่ ง ต้อ งรั บ ผิ ดชอบต่ อ การสู ญหาย
เสื่ อมสภาพหรื อชารุ ด จนกว่าจะได้ส่งมอบงานแล้ว

6.5 ตัวอย่ำง วัสดุ-อุปกรณ์ และกำรติดตั้ง


6.5.1 ผูร้ ั บจ้างต้องจัดหาตัวอย่าง วัสดุ -อุปกรณ์ รวมทั้งเอกสารของผูผ้ ลิ ตที่ แสดงรายละเอียดทางเทคนิ ค
ขนาด และรู ปร่ างที่ชดั เจนของ วัสดุ-อุปกรณ์ แต่ละชิ้นตามที่ผคู ้ วบคุมงานต้องการ

โครงการ : Gulf PD Visitor Center หน้า M - 16


รายละเอียดข้อกาหนดประกอบแบบ
งานวิศวกรรมระบบปรับอากาศและระบายอากาศ

6.5.2 ในกรณี ที่ผูค้ วบคุมงานมี ความประสงค์ให้ผูร้ ั บจ้า งแสดงวิ ธีก ารติ ดตั้ง เพื่อเป็ นตัวอย่างหรื อความ
เหมาะสมแล้วแต่กรณี ผูร้ ับจ้างต้องแสดงการติดตั้ง ณ สถานที่ติดตั้งจริ งตามที่ผคู ้ วบคุมงานกาหนด เมื่อวิธีและการติดตั้ง
นั้นๆ ได้รับอนุมตั ิแล้ว ให้ถือเป็ นมาตรฐานในการปฏิบตั ิต่อไป

6.6 กำรแก้ไข เปลี่ยนแปลงแบบ รำยกำร วัสดุและอุปกรณ์


6.6.1 การเปลี่ยนแปลงแบบ รายการ วัสดุและอุปกรณ์ ที่ผิดไปจากข้อกาหนด และเงื่อนไขตามสัญญาด้วย
ความจาเป็ น หรื อความเหมาะสมก็ดี ผูร้ ับจ้างต้องแจ้งเป็ นลายลักษณ์อกั ษรต่อ ผูอ้ อกแบบและเจ้าของโครงการ เพื่อขอ
อนุมตั ิเป็ นเวลาอย่างน้อย 30 วัน ก่อนดาเนินการจัดซื้อหรื อทาการติดตั้ง
6.6.2 ในกรณี ที่ผลิตภัณฑ์ของผูร้ ับจ้าง มีคุณสมบัติอนั เป็ นเหตุให้อุปกรณ์ตามรายการที่ผูอ้ อกแบบกาหนดไว้
เกิดความไม่เหมาะสม หรื อทางานโดยไม่ถูกต้อง ผูร้ ับจ้างต้องไม่เพิกเฉยละเลยที่จะแจ้งขอความเห็นชอบจากผูอ้ อกแบบ
และผูค้ วบคุมงานในการแก้ไข เปลี่ยนแปลงให้ถูกต้องตามความประสงค์ โดยชี้ แจงแสดงเหตุผล และหลักฐานจาก
บริ ษทั ผูผ้ ลิต
6.6.3 ค่าใช้จ่ายที่เพิ่มขึ้นในกรณี ดงั กล่าวข้างต้น ผูร้ ับจ้างต้องเป็ นผูร้ ับผิดชอบเองทั้งสิ้น

โครงการ : Gulf PD Visitor Center หน้า M - 17


รายละเอียดข้อกาหนดประกอบแบบ
งานวิศวกรรมระบบปรับอากาศและระบายอากาศ

7. กำรป้ องกันกำรผุกร่ อน และกำรทำสี

7.1 ควำมต้ องกำรทั่วไป


7.1.1 วัสดุ - อุ ป กรณ์ ทุ กชนิ ด ต้อ งผ่านกรรมวิ ธีป้องกันการผุกร่ อ น และ/หรื อ การท าสี ต ามที่ ร ะบุไว้ใน
ข้อกาหนดนี้ ซึ่งเป็ นกรรมวิธีที่แนะนาวิธีหนึ่ง อาจมีวิธีที่ดีและเหมาะสมกว่าตามข้อแนะนาของผูผ้ ลิตวัสดุ และ/หรื อ สี ที่
ใช้น้ นั ๆ โดยได้รับการเห็นชอบจากผูค้ วบคุมงาน
7.1.2 การป้ องกันการผุกร่ อน และการทาสี ต้องดาเนินการก่อนนาวัสดุ-อุปกรณ์น้ นั ๆ เข้าติดตั้งยังสถานที่ใช้
งาน เพื่อป้ องกันปัญหาการกีดขวางในภายหลัง เว้นแต่ผคู ้ วบคุมงานจะพิจารณาความเหมาะสม
7.1.3 ท่อร้อยสาย และรางวางสายตลอดจนอุปกรณ์ประกอบต่างๆ ที่ปรากฏแก่สายตา ต้องทาสี ทบั หน้าด้วยสี
ขาว หรื อสี อื่นที่ผคู ้ วบคุมงานเห็นชอบโดยตลอด
7.1.4 ท่ออโลหะทุกชนิดที่ติดตั้งภายนอกอาคาร และไม่ฝังดิน ที่ได้รับผลกระทบจากรังสี อลั ตร้าไวโอเลต
ต้องทาสี ป้องกันรังสี อลั ตร้าไวโอเลตตลอดแนวท่อและข้อต่อ
7.1.5 เมื่อติดตั้งวัสดุ-อุปกรณ์ต่างๆ เรี ยบร้อยแล้วหากพบว่ามีการชารุ ดเสี ยหายของผิวงาน ผูร้ ับจ้างต้องทาการ
ซ่อมแซมให้ดีดงั เดิม
7.1.6 ผูร้ ับจ้างจะต้องใช้ตวั แทนสี ที่ โครงการยอมรับเท่านั้นและในการทดสอบสี ทุกครั้งจะต้องมีเจ้าหน้าที่
เทคนิคสี ที่มีความชานาญของตัวแทนสี น้ นั ๆ ประจาตลอดในการทดสอบทุกครั้ง

7.2 กำรเตรียม และทำควำมสะอำดผิวงำน


7.2.1 พื้นผิวโลหะที่เป็ นเหล็ก หรื อโลหะที่มีส่วนผสมของเหล็ก ให้ใช้เครื่ องขัดสนิ มตามรอยต่อเชื่อมและ
ตาหนิ ต่าง ๆ เพื่อกาจัดคราบสนิมและเศษวัตถุแปลกปลอมออก จนได้ผิวของโลหะหรื อโลหะที่มีส่วนผสมของเหล็ก
เทียบเท่าค่ามาตรฐานการเตรี ยมผิว ที่ค่า Sa 2.5 จากนั้นจึงทาความสะอาดผิวงานให้ปราศจากคราบไขมัน โดยใช้น้ ามัน
ประเภทระเหยไว (VOLATILE SOLVENT) เช่น ทินเนอร์ หรื อน้ ามันก๊าดเช็ดถูหลายๆครั้ง ใช้น้ าสะอาดล้างอีกครั้งหนึ่ง
จนผิวงานสะอาดแล้วจึงเช็ด หรื อเป่ าลมให้แห้งสนิท
7.2.2 พื้นผิวโลหะที่เป็ นเหล็กดา (BLACK STEEL) โดยเฉพาะที่อยู่ในบริ เวณที่มีความชื้ นสู งให้ใช้วิธีการ
ขจัดสนิ มด้วยวิธีพ่นทราย (SAND BLAST) ที่ค่า Sa 2.5 ตามมาตรฐาน ISO 8501-1 แล้วจึงทาการทาสี ตามกรรมวิ ธีที่
กาหนด โดยรายละเอียดในการทาสี แต่ละขั้นตอนให้ปฏิบตั ิตามคาแนะนาของผูผ้ ลิตสี น้ นั ๆ
7.2.3 พื้นผิวโลหะที่ไม่มีส่วนผสมของเหล็ก ให้ทาความสะอาดโดยใช้กระดาษทราย (ห้ามใช้เครื่ องขัด หรื อ
แปรงลวดโดยเด็ดขาด) แล้วเช็ดด้วยน้ ามันสน
7.2.4 พื้นผิวสังกะสี และเหล็กที่เคลือบสังกะสี ให้ใช้น้ ายาเช็ดถูเพื่อขจัดคราบไขมันและฝุ่ นจนสะอาด
7.2.5 พื้นผิวทองแดง ตะกัว่ พลาสติก และทองเหลือง ให้ขดั ด้วยกระดาษทราย แล้วใช้น้ ายาเช็ดถูทาความ
สะอาด

7.3 วิธีกำรทำสี
7.3.1 การทาหรื อพ่นสี แต่ละขั้น ต้องให้สีที่ทาหรื อพ่นไปแล้วแห้งสนิทก่อน
7.3.2 สี ที่ใช้ทา หรื อพ่น ประกอบด้วยสี 2 ส่วน คือ
7.3.2.1 สี รองพื้นใช้สาหรับป้ องกันสนิม และ/หรื อ เพื่อให้ยดึ เกาะระหว่างสี ทบั หน้ากับผิวงาน

โครงการ : Gulf PD Visitor Center หน้า M - 18


รายละเอียดข้อกาหนดประกอบแบบ
งานวิศวกรรมระบบปรับอากาศและระบายอากาศ

7.3.2.2 สี ทบั หน้าใช้สาหรับเป็ นสี เคลือบขั้นสุ ดท้าย เพื่อใช้เป็ นการแสดงรหัสของระบบต่างๆ ชนิดสี


ที่ใช้ข้ นึ อยูก่ บั สภาวะแวดล้อม
7.3.3 ประเภท หรื อชนิดของสี ที่ใช้ ขึ้นกับผิวงานและสภาวะแวดล้อม โดยมีกรรมวิธีตามกาหนดในตาราง
ชนิดของผิววัสดุ บริเวณทั่วไป บริเวณที่มีควำมชื้นสู ง
• BLACK STEEL ชั้นที่ 1 RED LEAD PRIMER ชั้นที่ 1 EPOXY POLYAMINE
• BLACK STEEL ชั้นที่ 2 RED OXIDE PRIMER ชั้นที่ 2 EPOXY POLYAMINE
HANGER & SUPPORT ชั้นที่ 3 สี ทบั หน้า ALKYD ชั้นที่ 3 สี ทบั หน้า EPOXY
• BLACK STEEL SHEET ชั้นที่ 4 สี ทบั หน้า ALKYD ชั้นที่ 4 สี ทบั หน้า EPOXY
• SWITCH BOARD, PANEL
BOARD ซึ่งทาจาก BLACK
STEEL SHEET
• GALVANIZED STEEL ชั้นที่ 1 ETCHING PRIMER ชั้นที่ 1 ETCHING PRIMER
• GALVANIZED STEEL ชั้นที่ 2 ZINC PHOSPHATE ชั้นที่ 2 EPOXY POLYAMINE
HANGER & SUPPORT ชั้นที่ 3 สี ทบั หน้า ALKYD ชั้นที่ 3 สี ทบั หน้า EPOXY
• GALVANIZED STEEL SHEET ชั้นที่ 4 สี ทบั หน้า ALKYD ชั้นที่ 4 สี ทบั หน้า EPOXY
• STAINLESS STEEL ชั้นที่ 1 ETCHING PRIMER ชั้นที่ 1 ETCHING PRIMER
• STAINLESS STEEL PIPE ชั้นที่ 2 สี ทบั หน้า ALKYD ชั้นที่ 2 สี ทบั หน้า ALKYD
• ALUMINIUM ชั้นที่ 3 สี ทบั หน้า ALKYD ชั้นที่ 3 สี ทบั หน้า ALKYD
• ALUMINUM STEEL PIPE
• LIGHT ALLOY
• COPPER
• COPPER TUBE
• PVC ชั้นที่ 1 WASH PRIMER ชั้นที่ 1 WASH PRIMER
• PLASTIC ชั้นที่ 2 สี ทบั หน้า ACRYLIC RESIN ชั้นที่ 2 สี ทบั หน้า ACRYLIC RESIN
ชั้นที่ 3 สี ทบั หน้า ACRYLIC RESIN ชั้นที่ 3 สี ทบั หน้า ACRYLIC RESIN
• CAST IRON ชั้นที่ 1 COAL TAR EPOXY ชั้นที่ 1 COAL TAR EPOXY
ชั้นที่ 2 COAL TAR EPOXY ชั้นที่ 2 COAL TAR EPOXY

7.3.4 วัสดุที่เป็ นโลหะ และใช้งานฝังดิน ให้เคลือบด้วย COAL TAR EPOXY อย่างน้อย 2 ชั้น
7.3.5 ในกรณี ที่มีการซ่อม หรื อทาสี ใหม่ อันเป็ นผลมาจากการเชื่อม การตัด -เจาะ และการทาเกลียว ให้ใช้สี
รองพื้นจาพวก ZINC RICH PRIMER ก่อนลงสี ทบั หน้า
7.3.6 ส าหรั บ สี ท าบนฉนวนเป็ นสี น้ า อะคริ ลิ ค มี ค วามยื ด หยุ่นสู ง กว่ า 400% มี คุ ณสมบัติ ใ นการยึ ดเกาะ
ระหว่างชั้นสี กบั ผิวฉนวนได้ดี ไม่หลุดร่ อนหรื อแตกลายงาเมื่อบีบกดหรื อดึงฉนวนยาง สามารถทนต่อรังสี อลั ตร้าไวโอ
เลต และเชื้อราได้ดี

โครงการ : Gulf PD Visitor Center หน้า M - 19


รายละเอียดข้อกาหนดประกอบแบบ
งานวิศวกรรมระบบปรับอากาศและระบายอากาศ

8. รหัส สัญลักษณ์ และป้ำยชื่อ

8.1 ควำมต้ องกำรทั่วไป


ผูร้ ับจ้างต้องจัดทารหัส สัญลักษณ์ ตลอดจนป้ ายชื่อบนวัสดุ -อุปกรณ์ และท่อ-ทางต่างๆ ในระบบที่รับผิดชอบ
เพื่อความสะดวกในการตรวจซ่อมบารุ งในภายหลัง ซึ่ งต้องจัดทาให้เรี ยบร้อยสมบูรณ์ก่อนการส่ งมอบงาน ทั้งนี้ในกรณี
ที่มีการระบุให้ทาสี ท่อ -ทางต่างๆ ด้วยสี ที่กาหนดไว้โดยตลอดแนวความยาว และให้จดั ทารหัส สัญลักษณ์ ไว้ภายใน
กล่องต่อสาย หรื อจุดอื่นๆ ตามที่ผคู ้ วบคุมงานกาหนด

8.2 รหัส
8.2.1 ถ้ามิได้กาหนดไว้เป็ นอย่างอื่น กาหนดให้ท่อร้อยสาย บ่อพักสาย และกล่องพักสายต่างๆ ทุกระบบต้อง
ทาหรื อพ่นสี ทบั หน้าตามรหัสสี ที่กาหนดโดยตลอดทั้งแนว ยกเว้นท่อที่ตอ้ งหุ้มฉนวนกันความร้อน และ/หรื อ วัสดุอื่นใด
8.2.2 ท่อร้อยสายและกล่องพักสายต่างๆ ทุกระบบที่ตอ้ งมีการหุ้มด้วยวัสดุอื่นๆ ให้ทาหรื อพ่นเฉพาะสี รอง
พื้นอย่างน้อย 2 ชั้น ก่อนการดาเนินการหุ้ม ยกเว้นท่อที่ได้ผา่ นการชุบผิวป้ องกันการผุกร่ อนแล้วเป็ นอย่างดี
8.2.3 ในกรณี ที่ผูค้ วบคุมงานพิจารณาเห็นว่า การทาหรื อพ่นสี ทบั หน้าตลอดแนวตามกาหนด ไม่สามารถ
กระทาได้ หรื อไม่เหมาะสมด้วยประการใดก็ตาม ต้องกาหนดรหัสไว้ที่อุปกรณ์ยึดจับท่อทั้งหมด และให้ทารหัสเป็ นแถบ
สี รอบท่อ มีความกว้างที่เหมาะสมตามขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางท่อ

8.3 สัญลักษณ์
8.3.1 ท่อร้ อยสายและกล่องพักสายทุกชนิ ด และ/หรื อ ท่อทุกระบบ ต้องมี สัญลักษณ์ และอักษรย่อ โดยมี
ขนาดที่เหมาะสม
8.3.2 ท่อร้อยสายไฟฟ้ าตลอดจนรางวางสายไฟฟ้ าต่างๆ ให้กากับเฉพาะอักษรสัญลักษณ์

8.4 ตำแหน่ งของ รหัส และสัญลักษณ์


8.4.1 รหัสที่เป็ นแถบสี และสัญลักษณ์ซ่ ึงโดยทัว่ ไปจะอยูค่ ู่กนั ต้องอยูใ่ นตาแหน่งที่สามารถสังเกตเห็นได้ง่าย
8.4.2 รหัส และสัญลักษณ์ ที่กล่าว ซึ่งแสดงไว้บนท่อน้ ายาและท่อน้ าทิ้ง ต้องมีในตาแหน่งอย่างน้อยดังนี้
8.4.2.1 ทุกๆ ระยะ ไม่เกิน 3 เมตร (10 ฟุต) ในแนวตรง
8.4.2.2 ทุกๆ ตาแหน่งที่ติดกับประตูน้ า (VALVE) ทั้งด้านเข้าและด้านออก
8.4.2.3 ทุกๆ ด้านของท่อที่มีการเปลี่ยนทิศทาง และ/หรื อ มีท่อแยก
8.4.2.4 ทุกด้านที่มีการติดตั้งท่อ ผ่านทะลุผนัง และ/หรื อ พื้น
8.4.2.5 บริ เวณช่องเปิ ดบริ การ (SERVICE DOOR AND SERVICE PANEL)
8.4.3 สาหรับท่อร้อยสาย และ/หรื อรางวางสายไฟฟ้ า และสายสัญญาณใดๆ ให้มีแถบสี รหัส และสัญลักษณ์
ตามตาแหน่งอย่างน้อยดังนี้
8.4.3.1 ทุกๆ ระยะ ไม่เกิน 3 เมตร
8.4.3.2 บนฝากล่อง ต่อ-แยก สาย (PULL BOX AND JUNCTION BOX)
8.4.3.3 ภายในกล่อง ต่อ-แยก สาย ให้มีเฉพาะรหัส
8.4.3.4 บนฝาบ่อพัก และอุปกรณ์ทุกชิ้นภายในบ่อพัก

โครงการ : Gulf PD Visitor Center หน้า M - 20


รายละเอียดข้อกาหนดประกอบแบบ
งานวิศวกรรมระบบปรับอากาศและระบายอากาศ

8.5 ขนำดของแถบรหัส และสัญลักษณ์


ขนาดความกว้างของแถบสี รหัส ความยาวของลูกศรสัญลักษณ์ ความหนาของเส้นลูกศร และความสูงของอักษร
สัญลักษณ์ ต้องเป็ นไปตามกาหนดดังนี้
ขนำดเส้ นผ่ำนศูนย์กลำงท่ อ ควำมกว้ำงแถบสี ควำมสู งตัวอักษร
และ และ และ
ควำมหนำรำงวำงสำยไฟฟ้ ำ ควำมยำวลูกศร ควำมหนำเส้ นลูกศร
20 มม. (¾") – 32 มม. (1") 200 มม. (8") 15 มม. (½")
40 มม. (1") – 50 มม. (2") 200 มม. (8") 20 มม. (¾")
65 มม. (2") – 150 มม. (6") 300 มม. (12") 32 มม. (1")
200 มม. (8") – 250 มม. (10") 300 มม. (12") 65 มม. (2")
300 มม. (12") – มากกว่า 500 มม. (20") 90 มม. (3")

8.6 สี และอักษรสัญลักษณ์
สี ที่ใช้ทาหรื อพ่น สาหรั บ เป็ นรหัส และทาสัญลักษณ์ ต่างๆ รวมทั้งอักษรสัญลักษณ์ ที่ใช้ในระบบต่างๆ ให้
เป็ นไปตามกาหนดดังนี้

ตัวอักษรมีลญ

รำยละเอียด สีสัญลักษณ์ รหัสสี
ลักษณ์
• REFRIGERANT LIQUID PIPE RL ขาว ฟ้ า
• REFRIGERANT GAS PIPE RG ขาว ฟ้ า
• CONDENSATE DRAIN CD ขาว ฟ้ า
• CHILLED WATER SUPPLY CHS ขาว ฟ้ า
• CHILLED WATER RETURN CHR ขาว ฟ้ า
• CONDENSER WATER SUPPLY CDS ขาว ฟ้ า
• CONDENSER WATER RETURN CDR ขาว ฟ้ า
• COLD WATER SUPPLY CWS ขาว เขียว
• COLD WATER SUPPLY TO WATER STORAGE CWT ขาว เขียว
TANK
• SOFT WATER SF ขาว เขียว
• DRINKING WATER DW ดา เขียวอ่อน
• RAIN WATER RL ดา เขียวอ่อน
• WASTE W ขาว น้ าตาล
• SOIL S ขาว ดา

โครงการ : Gulf PD Visitor Center หน้า M - 21


รายละเอียดข้อกาหนดประกอบแบบ
งานวิศวกรรมระบบปรับอากาศและระบายอากาศ

ตัวอักษรมีลญ

รำยละเอียด สีสัญลักษณ์ รหัสสี
ลักษณ์
• VENT WASTE V(W) ดา เหลือง
• VENT SOIL V(S) ดา เหลือง
• VENT KITCHEN V(KW) ดา เหลือง
• VENT LAUNDRY V(LAUNDRY) ดา เหลือง
• VENT GREASE TRAP V(GT) ดา เหลือง
• VENT WASTE WATER TREATMENT V(WTT) ดา เหลือง
• VENT U-TRAP V (U-TRAP) V(U-TRAP) ดา เหลือง
KW ขาว ม่วง
• KITCHEN WASTE
• FIRE PROTECTION FP ขาว แดง
• DRAIN PIPE สาหรับระบบดับเพลิง DF ดา เขียว
• HOT WATER HW ขาว ส้ม
• HOT WATER RETURN HWR ขาว ส้ม
• GAS G ดา เหลือง
• ท่อ/ราง สายไฟฟ้ าควบคุม / ไฟฟ้ ากาลัง สาหรับระบบ AC ขาว ฟ้ า
ปรับอากาศ
• ท่อ/ราง สายไฟฟ้ าควบคุม / ไฟฟ้ ากาลัง สาหรับระบบ SAN ขาว ฟ้ า
สุ ขาภิบาล
• ท่อ/ราง สายไฟฟ้ าควบคุม / ไฟฟ้ ากาลัง สาหรับระบบ FP ขาว ฟ้ า
ป้ องกันเพลิงไหม้
L1 ขาว น้ าตาล
• BUSBAR และสายไฟฟ้ า เฟส A (R)
• BUSBAR และสายไฟฟ้ า เฟส B (S) L2 ขาว ดา
• BUSBAR และสายไฟฟ้ า เฟส C (T) L3 ดา เทา
• BUSBAR และสายไฟฟ้ าสายศูนย์ N ดา ฟ้ า
• BUSBAR และสายไฟฟ้ าสายดิน E ขาว เขียว

กรณี ที่มิได้กาหนดไว้ในรายการข้างต้น ให้ผรู ้ ับจ้างเสนอขอความเห็นชอบจากผูค้ วบคุมงาน

8.7 ข้ อกำหนดพิเศษสำหรับกำรทำสี
8.7.1 ท่อน้ าเย็น, ท่อลม, หัวจ่ายลมทุกชนิด รวมถึงเหล็กแขวนในส่ วนพื้นที่ตกแต่งภายในอาคารทั้งหมด ให้
ทาสี ตามงานตกแต่งภายในที่จะระบุภายหลัง
8.7.3 หัวจ่ายลมทุกชนิดที่ติดตั้งกับผนังอาคารภายนอก ให้ใช้สีตามงานสถาปัตย์ที่จะระบุภายหลัง
พื้นที่นอกเหนือจากที่กล่าวมาข้างต้น การกาหนดสี ให้ข้ นึ กับดุลยพินิจของผูค้ วบคุมงาน

โครงการ : Gulf PD Visitor Center หน้า M - 22


รายละเอียดข้อกาหนดประกอบแบบ
งานวิศวกรรมระบบปรับอากาศและระบายอากาศ

9. อุปกรณ์ป้องกันกำรสั่นสะเทือน (Vibration Isolator)

9.1 ข้ อกำหนดทั่วไป
9.1.1 ขอบเขตของงาน
9.1.1.1 ในส่ วนของอุปกรณ์เครื่ องจักรที่มีการสั่นสะเทือน ที่ได้ระบุไว้ในตารางอุปกรณ์หรื อใน
แบบข้อกาหนด ต้องทาการยึดหรื อแขวนอุปกรณ์ป้องกันการสั่นสะเทือน (VIBRATION ISOLATOR) เพื่อป้ องกันการ
ส่ งผ่านของแรงสั่นสะเทือนและเสี ยงไปยังโครงสร้างของอาคาร อุปกรณ์ป้องกันการสั่นสะเทือนต้องถูกเลือกให้ถูก
ประเภทการใช้งาน เหมาะสมกับการรับแรงของน้ าหนักเครื่ องจักร และมีค่า Static Deflection ที่เหมาะสมตามตาราง 42
ของ ASHRAE Applications Handbook ปี 1995 หรื อใหม่กว่า
9.1.1.2 VIBRATION ISOLATOR ที่ใช้ควรจะเป็ นจากผูผ้ ลิตรายเดียว
9.1.2 การขออนุมตั ิ
ผูผ้ ลิตอุปกรณ์ลดการสั่นสะเทือน (VIBRATION ISOLATOR) ต้องทาการส่งรายละเอียดของอุปกรณ์ที่
ใช้เพื่อขออนุมตั ิ ดังนี้
9.1.2.1 ตารางรายละเอียดการคานวณการเลือกใช้ VIBRATION ISOLATOR โดยระบุค่าของการ
รับน้ าหนัก และค่า Static Deflection ที่ถูกต้องเหมาะสม โดยต้องมีค่ามากกว่า STATIC DEFLECTION ของพื้น
9.1.2.2 รายละเอี ย ดของอุ ป กรณ์ ป้ องกัน การสั่ น สะเทื อ นตาม CATALOG ที่ สอดคล้อ งกับ การ
คานวณ และการเลือกใช้รวมทั้งเป็ นไปตามข้อกาหนดในส่ วนที่ 9.2 ไม่ควรใช้เป็ นเอกสารชี้แจงจากทางผูผ้ ลิตในการขอ
อนุมตั ิ
9.1.2.3 เอกสารประกอบของผูจ้ ดั จาหน่ ายและผูผ้ ลิตที่ยืนยันถึ งความมีประสบการณ์ และความ
พร้อมของอุปกรณ์ ในการวัดและการแก้ไขปัญหาเรื่ องเสี ยงและการสั่นสะเทือน

9.2 ข้ อกำหนดของอุปกรณ์ ป้องกันกำรสั่นสะเทือน


อุปกรณ์ ป้องกันการสั่นสะเทื อนทั้งหมดต้องมาจากผูผ้ ลิ ตรายเดี ยว ผลิ ตภัณฑ์เที ยบเท่า MASON, KINETIC,
VMC, TOZEN ผูผ้ ลิตต้องส่ งตัวอย่างที่เป็ นไปตามข้อกาหนดทั้งหมด เพื่อพิจารณาขออนุมตั ิจากวิศวกรผูอ้ อกแบบ และ
วิศวกรผูค้ วบคุมงาน
9.2.1 ลูกยางป้ องกันการสั่นสะเทือน ( RUBBER MOUNTS ISOLATOR )
ลูกยางกันการสั่นสะเทือนเป็ นประเภท DOUBLE DEFLECTION ทาจากยางสังเคราะห์ NEOPRENE
มีค่า STATIC DEFLECTION 8-10 มิลลิเมตร มีรูสาหรับยึดกับเครื่ องจักรทางด้านบนและยึดกับพื้นที่ฐานของลูกยาง
ด้านบนและฐานของตัวลูกยางออกแบบให้เป็ น FRICTION PAD เพื่อใช้ในกรณี ที่ไม่สามารถทาการยึดติดตั้งด้วยสกรู
และนอตได้
9.2.2 สปริ งตั้งพื้น (SPRING ISOLATOR) สาหรับรองปั๊มน้ า, AHU, FAN
สปริ ง ตั้ง พื้ น ประกอบไปด้ว ย ตัว สปริ ง ฝา และฐานสปริ ง ตัว สปริ ง ต้อ งมี อ ัต ราส่ ว นของเส้นผ่าน
ศูนย์กลางเทียบกับความสู งของสปริ งที่ยุบตัว ที่ระยะใช้งานไม่นอ้ ยกว่า 0.8 เพื่อความมีเสถียรภาพ และมีระยะยุบตัวได้
มากกว่าค่า Static Deflection ของตัวสปริ งเองอีกไม่นอ้ ยกว่า 50% เพื่อเป็ นค่า Safety Factor ฝาสปริ งทาด้วยเหล็กพร้อม
นอตปรั บระดับ ตัวฐานสปริ งหล่ อติ ดกับ ยาง NEOPRENE ACOUSTICE FRICTION PAD หนาอย่า งน้อย ¼ นิ้ ว (6

โครงการ : Gulf PD Visitor Center หน้า M - 23


รายละเอียดข้อกาหนดประกอบแบบ
งานวิศวกรรมระบบปรับอากาศและระบายอากาศ

มิลลิเมตร) เพื่อป้ องกันเสี ยงที่ความถี่สูง การขออนุมตั ิตอ้ งส่งเอกสาร (CATALOG) แสดงรายละเอียดของตัวสปริ งที่บอก
ถึงรายละเอียดของน้ าหนักที่รับ, ระยะยุบตัวใช้งาน (COMPRESSED SPRING HEIGHT), ระยะยุบตัวมากที่สุด (SOLID
SPRING HEIGHT), เส้นผ่านศูนย์กลางสปริ ง และค่า STATIC DEFLECTION ที่ถูกต้องเหมาะสมเพื่อพิจารณา
9.2.3 สปริ งตั้งพื้นที่ป้องกันแรงลมปะทะและมี LIMIT STOP สาหรับรอง CHILLER, COOLING TOWER
ในกรณี ที่อุปกรณ์เครื่ องจักรมีความแตกต่างมากของน้ าหนักในช่วงติดตั้ง และช่วงเครื่ องจักรทางาน
จริ ง เช่น CHILLERS, BOILER และที่ตอ้ งปะทะกับแรงลม เช่น COOLING TOWER คุณสมบัติของสปริ งที่ใช้ให้เป็ นไป
ตามข้อกาหนด ข้อ 9.2.2 แต่ตวั โครงสร้าง (HOUSING) รับตัวสปริ งต้องมีตวั LIMIT STOP เพื่อป้ องกันการยืดตัวมาก
เกินไปของตัวสปริ ง ในกรณี ที่อาจมีการปล่อยน้ าออกจากตัวอุปกรณ์ CHILLER หรื อ BOILER อันเป็ นสาเหตุที่ทาให้
อุปกรณ์และระบบท่อเสี ยหาย ตัวโครงสร้างต้องสามารถรับแรงปะทะ เนื่องจากแรงลมในกรณี ที่ติดตั้งบนดาดฟ้ าอาคาร
สู ง โดยมีขอ้ มูลทางวิศวกรรมแสดงค่าป้ องกันแรงลมปะทะไว้ใน CATALOG อย่างชัดเจน การขออนุมตั ิตอ้ งส่ งเอกสาร
(CATALOG) แสดงรายละเอียดของตัวสปริ งที่ บอกถึ งรายละเอียดของน้ าหนักที่รับ, ระยะยุบตัวมากที่ สุด (SOLID
SPRING HEIGHT), เส้นผ่านศูนย์กลางของสปริ ง และค่า STATIC DEFLECTION ที่ถูกต้องเหมาะสมเพื่อพิจารณา
9.2.4 สปริ งแขวน (SPRING HANGER ISOLATOR)
ใช้แขวนท่อที่ระยะแนวนอนเหนื อปั๊ มน้ าและตัว CHILLER จานวนประมาณ 4 จุดแรก สปริ งแขวน
ประกอบไปด้วยตัวโครงสร้า ง (HOUSING) รับตัวสปริ ง ด้านบนประกอบไปด้วยลูกยาง NEOPRENE ที่ความหนาไม่
น้อยกว่า 1¼ นิ้ว (32 มิลลิเมตร) ตัวสปริ งเป็ นไปตามข้อกาหนดในข้อ 9.2.2 ตัวโครงสร้าง (HOUSING) ต้องมีรูร้อย Rod
ที่ใช้แขวนให้กว้างพอที่จะให้เกิดการเหวี่ยง (SWING) ของตัว ROD ได้ไม่นอ้ ยกว่า 30° เพื่อป้ องกันแรงสั่นสะเทือนที่จะ
ทาให้ ROD กระทบกับตัวโครงสร้าง (HOUSING) สปริ งและทาให้แรงสั่นสะเทือนถูกส่งผ่านไปได้

โครงการ : Gulf PD Visitor Center หน้า M - 24


รายละเอียดข้อกาหนดประกอบแบบ
งานวิศวกรรมระบบปรับอากาศและระบายอากาศ

10. กำรป้ องกันไฟและควันลำม

10.1 ควำมต้ องกำรทั่วไป


ข้อกาหนดนี้ใช้กบั งานด้านการออกแบบงานระบบวิศวกรรมทุกระบบ ในการเลือกใช้วสั ดุป้องกันไฟและควัน
ลามเพื่อรั กษาและเพิ่มประสิ ทธิ ภาพในการป้ องกันการแพร่ กระจายของเปลวไฟ ควัน และแก๊สพิษ รวมถึ งป้ องกัน
อันตรายที่จะเกิดขึ้นแก่ชีวิตและทรัพย์สินที่อยู่ภายในอาคาร อันเนื่องมาจากการลุกลามของเปลวไฟและการแพร่ กระจาย
ของควันไฟจากบริ เวณหนึ่ งไปยังอีกบริ เวณหนึ่ ง โดยอาศัยช่ องเปิ ด ช่ องท่อ ช่ องลอด ประเภททะลุผ่าน (Through
Penetrations) อันได้แก่ ช่องเปิ ดงานระบบไฟฟ้ า งานระบบสุ ขาภิบาล งานระบบเครื่ องกลและปรับอากาศ และงานระบบ
ป้ องกันอัคคีภยั หมายรวมถึงช่องเปิ ดประเภทรอยต่องานก่อสร้าง (Construction Joint: Expansion joints, floor to wall
และ wall to wall joints) ช่ องเปิ ดประเภทรอยต่องานผนัง Curtain Wall และช่ องเปิ ดประเภทรอยต่อรอบพื้นอาคาร
(Perimeter Joints) จึงกาหนดให้ใช้วสั ดุป้องกันไฟและควันลาม ตามมาตรฐานการทดสอบ ASTM

10.2 ขอบเขตของงำน
ผูร้ ับจ้างจะต้องจัดหาและติดตั้งวัสดุป้องกันไฟและควันลาม ให้เป็ นไปตามรู ปแบบที่ระบุไว้ในระบบการกันไฟ
และควันลามสาหรับช่องเปิ ด ช่องท่อ ช่องลอด รวมถึง รอยต่อใดๆที่ตอ้ งปิ ดเพื่อการกันไฟและควันลามแต่มิได้กาหนด
ในแบบ อาทิเช่น
10.2.1 ช่องเปิ ดทุกช่องไม่ว่าจะอยูท่ ี่ใดของผนัง พื้น คาน หรื ออื่นๆ
10.2.2 ช่องท่อต่างๆซึ่ งได้เตรี ยมไว้สาหรับการใช้ในงานติดตั้งระบบท่อหลังจากที่ได้ติดตั้งท่อไปแล้วและมี
ช่องว่างเหลืออยู่
10.2.3 ช่องเปิ ด ช่องท่อ หรื อช่องลอดที่เตรี ยมไว้สาหรับติดตั้งระบบท่อในอนาคต
10.2.4 ช่องเปิ ด ช่องท่อ หรื อช่องลอดสาหรับสายไฟฟ้ า สายเคเบิลหรื อสายอื่นๆ ท่อร้อยสายไฟฟ้ า สายเคเบิล
หรื อสายอื่นๆ หรื อรางสายไฟฟ้ า สายเคเบิลหรื อสายอื่นๆ ที่มีช่องว่างอยู่
10.2.5 ภายในช่องเปิ ด ช่องท่อ หรื อช่องลอดที่ทะลุพ้นื ทนไฟ ผนังทนไฟหรื อเพดานทนไฟ

10.3 คุณสมบัติทั่วไปของวัสดุ
10.3.1 ระบบป้ องกันไฟและควันลามต้องใช้วสั ดุ ป้องกันไฟและควันลามที่ ได้รับการทดสอบตามวิธีการ
ทดสอบของมาตรฐาน ASTM E 814 (Standard Test Method for Fire Tests of Through – Penetration Fire Stops) และ
ได้รั บ การรั บ รองตามมาตรฐาน (Certificate of Compliance) UL1479 (Fire Tests of Through-Penetration Firestops)
รวมถึงมาตรฐาน Factory Mutual (FM) และ LPCB (Loss Prevention Certification Board) สถาบันทดสอบที่ได้รับการ
รับรองจากมาตรฐานต่างๆในข้างต้น UL (Underwriter’ Laboratories Inc)
10.3.2 วัสดุป้องกันไฟและควันลามต้องมีรูปแบบการติดตั้งที่สอดคล้องกับหน้างานโดยมี test UL report no.
มาอ้างอิงในส่วนการติดตั้ง ซึ่งแบ่งตามลักษณะหน้างานดังนี้
- งานไฟฟ้ า หากติดตั้งก่อนจ่ายไฟ อ้างอิงตาม UL test report no. C-AJ-1140, C-AJ-4017, C-AJ-6006
- งานไฟฟ้ า หากติดตั้งหลังจ่ายไฟ อ้างอิงตาม UL test report no. C-AJ-1140, C-AJ-4017, C-AJ-6017
- งานระบบเครื่ องกล สุ ขาภิบาล และงาน fire protection อ้างอิงตาม UL test report no. C-AJ-1140, C-
AJ-1453, C-AJ-2055, C-AJ-2305, C-AJ-2342, C-AJ-2371, C-AJ-2420, C-AJ-5090, C-AJ-5091

โครงการ : Gulf PD Visitor Center หน้า M - 25


รายละเอียดข้อกาหนดประกอบแบบ
งานวิศวกรรมระบบปรับอากาศและระบายอากาศ

10.3.3 วัสดุป้องกันไฟและควันลามต้องสามารถปิ ดช่องว่างสาหรับวัสดุร้อยผ่านหลากหลายชนิดได้ (ducts,


pipes, cable trays, conduits, electrical busways, Wireways and raceways etc.) รวมถึ งรอยต่องานก่ อสร้ าง รอยต่องาน
ผนัง และรอยต่อรอบอาคารเพื่อป้ องกันเปลวไฟ ควัน และแก๊สพิษ โดยมีค่าความต้านทานไฟไม่ น้อยกว่ำ 2 ชั่วโมง
10.3.4 วัสดุป้องกันไฟและควันลามต้องไม่เกิดเชื้อรา (Mold and Mildew resistant)
10.3.5 วัสดุป้องกันไฟและควันลาม จะต้องมีความยืดหยุ่น (Movement) เพื่อรองรับการเคลื่อนไหวในภาวะ
ปกติของรอยต่องานโครงสร้างและวัสดุร้อยผ่าน โดยไม่มีผลกระทบเรื่ องการยึดติดหรื อการเกาะติดกันของวัสดุป้องกัน
ไฟและควันลามกับส่วนโครงสร้าง
10.3.6 วัสดุป้องกันไฟและควันลามต้องไม่มีส่วนประกอบของ Solvent, Halogen และไม่มีส่วนประกอบของ
แร่ ใยหิน(Asbestos) รวมถึงไม่ก่อให้เกิด Toxic ทั้งขณะเกิดและหลังเพลิงไหม้โดยต้องมีเอกสารรับรองตามมาตรฐานการ
ทดสอบสากล และไม่เปลี่ยนแปลงคุณสมบัติหรื อเกิดผลกระทบใดๆ จากสภาวะอากาศ นอกจากนี้ตอ้ งมีผลการทดสอบ
การจาลองอายุการใช้งาน 30 ปี
10.3.7 วัสดุป้องกันไฟและควันลามต้องมีความแข็งแรง ไม่หลุดร่ อน ทั้งก่อนและหลังเพลิงไหม้ โดยต้องผ่าน
การทดสอบด้วย Hose stream Test
10.3.8 วัสดุป้องกันไฟและควันลามจะต้องได้รับการอนุ มตั ิจากผูค้ วบคุมงานก่อน หากวัสดุป้องกันไฟและ
ควันลามที่นามาใช้ไม่สอดคล้องตามข้อกาหนด จะต้องได้รับการอนุญาตจากผูอ้ อกแบบเพื่อให้เป็ นไปตามมาตรฐาน
10.3.9 กรณี ตอ้ งการทาสี ทบั วัสดุป้องกันไฟและควันลาม สี ที่ใช้ในการทาต้องมีส่วนผสมเป็ น Water-based
painting หรื อ เป็ นไปตามคาแนะนาของผูผ้ ลิต

10.4 วัสดุป้องกันไฟและควันลำม
ก่อนการติดตั้งระบบการป้ องกันไฟและควันลามทุกตาแหน่ ง ผูร้ ับจ้างมีหน้าที่นาเสนอ Shop drawing ระบบ
ป้ องกันไฟและควันลาม โดยแสดงรายละเอียดของวัสดุที่ใช้ท้งั หมด พร้อมสาเนาเอกสารอ้างอิง (Test Report) เพื่อให้ผู ้
ควบคุมงานพิจารณาอนุ มตั ิตามที่ผูร้ ับจ้างนาเสนอ โดยรายละเอียดใน Shop Drawing ต้องเป็ นไปตามผลการทดสอบ
ระบบป้ องกันไฟและควันลามตามมาตรฐานที่ ทางผูอ้ อกแบบกาหนด โดยต้องสอดคล้องกับลักษณะหน้างานจริ ง
หลัง จากนั้น ต้อ งติ ด ตั้ง วัส ดุ ป้องกันไฟและควันลามในช่ อ งเปิ ด ช่ อ งท่ อ ช่ อ งลอด และรอยต่ อ ทั้ง หมด โดยให้ได้
ความสามารถในการกันไฟ (F-Rating) ตามที่กาหนด โดยกลุ่มวัสดุที่สามารถเลือกใช้ได้ มีดงั นี้
10.4.1 วัสดุป้องกันไฟและควันลามชนิดที่ขยายตัวภายใต้สภาวะเพลิงไหม้ (Intumescent reaction) เป็ นวัสดุที่
ขยายตัวเมื่อได้รับความร้อนจากการเกิดเพลิงไหม้ โดยวัสดุดงั กล่าวจะขยายตัวไปแทนที่ช่องว่างในช่องเปิ ดที่เกิดขึ้น เช่น
กรณี การยุบตัวของท่อพลาสติก หรื อฉนวนที่ใช้หุ้มท่อ เป็ นต้น
10.4.2 วัสดุป้องกันไฟและควันลามชนิดที่เปลี่ยนเป็ นเถ้าถ่านภายใต้สภาวะเพลิงไหม้ (Carbonization reaction
) เป็ นวัสดุที่เปลี่ยนเป็ นเถ้าถ่านเมื่อได้รับความร้อนจากการเกิดเพลิงไหม้แล้วจะกลายเป็ นขี้เถ้าในภายหลัง แต่ใช้เวลานาน
มาก วัสดุประเภทนี้สามารถใช้งานกับ รอยต่อระหว่างชิ้นส่ วนโครงสร้าง (Construction joint) เช่น ผนังกับพื้น และช่อง
เปิ ดซึ่งท่อ สายไฟฟ้ าเปลือย หรื อวัตถุที่ลอดผ่านไม่มีการยุบตัวหรื อเสี ยรู ปขณะเกิดเพลิงไหม้ เช่น ท่อเหล็ก เป็ นต้น
10.4.3 วัสดุป้องกันไฟและควันลามชนิ ดที่คายสารหล่อเย็นภายใต้สภาวะเพลิงไหม้ (Endothermic reaction)
วัสดุป้องกันไฟลามชนิดนี้จะคายสารหล่อเย็นออกมา โดยจะทางานร่ วมกับแผ่นฉนวนใยหิน (Mineral wool) เหมาะกับ
การใช้งานในช่องเปิ ดขนาดใหญ่ เช่น ช่องเปิ ดงานไฟฟ้ า ช่องเปิ ดงานสุ ขาภิบาล ช่องเปิ ดงานระบบปรับอากาศ เป็ นต้น

โครงการ : Gulf PD Visitor Center หน้า M - 26


รายละเอียดข้อกาหนดประกอบแบบ
งานวิศวกรรมระบบปรับอากาศและระบายอากาศ

10.4.4 วัสดุป้องกันไฟและควันลามชนิดที่ไม่เปลี่ยนแปลงสภาพภายใต้สภาวะเพลิงไหม้ (Insulation reaction)


วัสดุป้องกันไฟชนิดนี้จะไม่เปลี่ยนแปลงสภาพ เหมาะกับการใช้งานในช่องเปิ ดขนาดใหญ่ เช่น ช่องเปิ ดงานไฟฟ้ า ช่อง
เปิ ดงานสุ ขาภิบาล ช่องเปิ ดงานระบบปรับอากาศ เป็ นต้น

10.5 กำรดูแลจัดส่ งและเก็บรักษำวัสดุ


10.5.1 วัสดุป้องกันไฟและควันลามที่ใช้ ต้องบรรจุในบรรจุภณ ั ฑ์ที่สมบูรณ์แข็งแรงเพียงพอต่อการขนส่ ง มี
ป้ ายบอกชื่อสิ นค้า ชนิดของวัสดุป้องกันไฟและควันลาม หมายเลขการผลิต และวันที่ผลิต
10.5.2 การจัดเก็บวัสดุป้องกันไฟและควันลามต้องเป็ นไปตามคาแนะนาของผูผ้ ลิตเพื่อป้ องกันความเสี ยหาย
จากความชื้น อุณหภูมิ แสงแดด การปนเปื้ อน และอื่นๆ

10.6 กำรติดตั้งระบบกันไฟและควันลำม
10.6.1 ก่อนการติดตั้งระบบกันไฟและควันลามทุกตาแหน่ง ผูร้ ับจ้างมีหน้าที่นาเสนอ Shop drawing ระบบกัน
ไฟและควันลาม (Request for Shop drawing approval) โดยแสดงรายละเอียดของวัสดุที่ใช้กนั ไฟและควันลาม รวมถึง
รายละเอียดของวัสดุท้ งั หมดในระบบในช่องเปิ ด ช่องท่อ ช่องลอด ประเภททะลุผ่าน(Through Penetrations) หรื อช่อง
เปิ ดประเภทรอยต่องานก่อสร้าง (Construction Joint) หรื อช่องเปิ ดประเภทรอยต่องานผนัง Curtain Wall และพื้นอาคาร
(Perimeter Joints) พร้อมสาเนาเอกสารอ้างอิงเพื่อให้ผูค้ วบคุมงานพิจารณาอนุ มตั ิระบบกันไฟและควันลามที่ผรู ้ ับจ้าง
นาเสนอสอดคล้องกับระบบกันไฟและควันลามตามวิธีการมาตรฐานดังนี้
10.6.1.1 สาเนาเอกสาร UL test ที่ใช้อา้ งอิง
10.6.1.2 เอกสาร EJ (Engineering Judgment) ตามคาแนะนาจากผลิตภัณฑ์ที่นามาใช้
10.6.2 ผูร้ ับจ้างต้องดาเนินการจัดส่ งรายการตรวจสอบ (Inspection Checklist) ทั้งก่อนการติดตั้ง ระหว่างการ
ติดตั้ง และหลังการติดตั้ง ให้ผคู ้ วบคุมงานพิจารณาอนุมตั ิก่อนดาเนินการติดตั้งวัสดุป้องกันไฟและควันลาม
10.6.3 หลังจากผูค้ วบคุมงานพิจารณาอนุ มตั ิเอกสาร Shop drawing และ Inspection checklist แล้ว ก่อนการ
ติดตั้งวัสดุป้องกันไฟและควันลาม ผูร้ ับจ้างต้องดาเนินการจัดเตรี ยมพื้นที่ที่จะทาการติดตั้งระบบกันไฟและควันลามให้
เป็ นไปตามข้อ บ่ ง ใช้ข องผลิ ต ภัณฑ์ รวมถึ ง ข้อ แนะน าในรายงานผลทดสอบมาตรฐาน UL ก่ อ นจัด ส่ ง เอกสารนัด
ตรวจสอบงาน (Request for Inspection) ให้ผคู ้ วบคุมงาน โดยมีรายการจัดเตรี ยมพื้นที่โดยสังเขปดังนี้
10.6.3.1 ผูร้ ับจ้างต้องดาเนินการตรวจสอบและแก้ไขส่ วนประกอบของช่องเปิ ด ช่องท่อ ช่องลอด
หรื อรอยต่อที่จะทาการติดตั้งวัสดุป้องกันไฟและควันลามให้เป็ นไปตามข้อกาหนดของผูผ้ ลิต
10.6.3.2 ผูร้ ับจ้างต้องดาเนินการตรวจสอบและแก้ไขพื้นผิววัสดุที่จะทาการติดตั้งระบบกันไฟและ
ควันลาม โดยต้องไม่ให้มีน้ ามัน จารบี ฝุ่ น หรื อสิ่ งสกปรกอื่นๆ ที่ทาให้ความสามารถในการยึดเกาะของวัสดุป้องกันไฟ
และควันลามลดลง
10.6.3.3 ผูร้ ับจ้างต้องดาเนินการป้ องกันพื้นผิววัสดุบริ เวณใกล้เคียงด้วยการติดเทปหรื อคลุมด้วยผ้า
หรื อผืนพลาสติก
10.6.3.4 ผูร้ ับจ้างต้องดาเนิ นการตรวจสอบอุณหภูมิ ความชื้ น สภาพอากาศ และการระบายอากาศ
บริ เวณที่จะทาการติดตั้งให้เป็ นไปตามข้อบ่งใช้ของผลิตภัณฑ์ก่อนการติดตั้งวัสดุป้องกันไฟและควันลาม

โครงการ : Gulf PD Visitor Center หน้า M - 27


รายละเอียดข้อกาหนดประกอบแบบ
งานวิศวกรรมระบบปรับอากาศและระบายอากาศ

10.6.4 เมื่อผูร้ ับจ้างได้ดาเนินการตรวจสอบ แก้ไข ข้อบกพร่ องต่างๆ เรี ยบร้อยแล้ว ก่อนดาเนินการติดตั้งวัสดุ


ป้ องกันไฟและควันลาม ผูร้ ับจ้างมีหน้าที่จดั ส่ งเอกสารนัดตรวจสอบงาน (Request for Inspection) ให้ผคู ้ วบคุมงานเป็ น
การล่วงหน้า พร้อมแนบเอกสารประกอบดังต่อไปนี้
10.6.4.1 เอกสารนัดตรวจสอบงาน (Request for Inspection)
10.6.4.2 Shop drawings พร้อมเอกสารอ้างอิงที่ได้รับการอนุมตั ิแล้วจากผูค้ วบคุมงาน
10.6.4.3 รายการตรวจสอบ (Inspection Checklist) ที่ได้รับการอนุมตั ิแล้วจากผูค้ วบคุมงาน
10.6.5 ในกรณี ที่ผคู ้ วบคุมงานได้ทาการตรวจสอบสภาพพื้นที่หน้างานแล้วและไม่อนุมตั ิให้ทาการติดตั้งวัสดุ
ป้ องกันไฟและควันลามผูร้ ับจ้างต้องดาเนินการแก้ไขให้ถูกต้อง และต้องไม่ติดตั้งระบบกันไฟลามหากข้อบกพร่ องของ
การก่อสร้างไม่ได้รับการแก้ไข
10.6.6 เมื่อผูค้ วบคุมงานได้ทาการตรวจสอบสภาพพื้นที่หน้างานแล้วและอนุมตั ิให้ทาการติดตั้งวัสดุป้องกัน
ไฟและควัน ลามผูร้ ั บ จ้างต้อ งด าเนิ น การตามเอกสาร Shop-drawing เอกสาร UL test และข่ อ บ่ ง ใช้ผ ลิ ต ภัณฑ์อ ย่าง
เคร่ งครัด โดยจะต้องติดตั้งวัสดุป้องกันไฟและควันลามให้สัมผัสและยึดเกาะได้ดีกบั พื้นผิววัสดุรอบข้างอย่างสมบูรณ์
10.6.7 สาหรั บวัสดุ ป้องกันไฟและควันลามที่สามารถมองเห็นได้หลังการติ ดตั้งเสร็ จสิ้ น ผูร้ ั บจ้างมีหน้าที่
ตกแต่งผิววัสดุป้องกันไฟและควันลามให้เรี ยบร้อย โดยให้ระนาบพื้นผิวเสมอเป็ นแนวเดียวกับวัสดุรอบข้าง
10.6.8 หลังการติดตั้งระบบกันไฟลามให้ติดป้ ายระบุ “ระบบกันไฟลาม ห้ามรื้ อถอนหรื อทาลาย หากเสี ยหาย
โปรดแจ้งฝ่ ายบารุ งรักษาอาคาร” รวมถึงต้องมีการติดป้ ายหรื อฉลากถาวร ให้มีระยะห่ างที่เหมาะสมเห็นได้ชดั เจน ซึ่ งมี
รายละเอียดดังนี้ ชื่อบริ ษทั ผูจ้ ดั จาหน่าย/บริ ษทั ผูต้ ิดตั้ง ชื่อผลิตภัณฑ์ เลขที่อา้ งอิงรายละเอียด อัตราการทนไฟ และวันที่
ก่อสร้างแล้วเสร็ จ
10.6.9 ต้องดูแลให้ผลิตภัณฑ์ป้องกันไฟลามที่มีการติดตั้ง มีการใช้งานตามสภาพแวดล้อมที่ผผู ้ ลิตกาหนด โดย
ต้องไม่มีผลกระทบจากการสั่นสะเทือนหรื อสภาพแวดล้อมที่ใช้งาน และต้องเปลี่ยนวัสดุและผลิตภัณฑ์ป้องกันการลาม
ไฟใหม่ เมื่อติดตั้งไปแล้ว 30 ปี

10.7 กำรควบคุมคุณภำพ
10.7.1 ผูต้ ิ ดตั้งระบบกันไฟและควันลาม ต้องเป็ นผูไ้ ด้รับ และผ่านการอบรมวิธีการติ ดตั้งจากผูผ้ ลิ ตวัส ดุ
ป้ องกันไฟและควันลาม โดยต้องแสดงสาเนาเอกสารรับรองจากผูผ้ ลิตในรายการตรวจสอบ (Inspection Checklist) ให้ผู ้
ควบคุมงานพิจารณาก่อนการดาเนินการ
10.7.2 วัสดุป้องกันไฟและควันลามที่ใช้ท้ งั ระบบต้องเป็ นผลิตภัณฑ์ที่เป็ นยี่ห้อเดียวกัน เว้นแต่จะได้รับการ
รับรองจากผูผ้ ลิตว่าสามารถนามาใช้ร่วมกันได้ โดยผูร้ ับ จ้างต้องแสดงเอกสารดังกล่าวนาเสนอในเอกสารขออนุมตั ิวสั ดุ
(Request for Material Approval) ด้วย

10.8 เอกสำรที่ต้องนำส่ ง
10.8.1 เอกสารขออนุมตั ิวสั ดุ (Request for Material Approval)
10.8.1.1 รายละเอียดทางเทคนิคของวัสดุป้องกันไฟและควันลามทุกประเภท
10.8.1.2 เอกสารข้อแนะนาวิธีการติดตั้งและวิธีการควบคุมคุณภาพที่ถูกต้องสาหรับวัสดุป้องกันไฟ
และควันลามแต่ละประเภทจากผูผ้ ลิต

โครงการ : Gulf PD Visitor Center หน้า M - 28


รายละเอียดข้อกาหนดประกอบแบบ
งานวิศวกรรมระบบปรับอากาศและระบายอากาศ

10.8.1.3 เอกสารแผ่นข้อมูลความปลอดภัย (MSDS) ของวัสดุป้องกันไฟและควันลามทุกประเภทที่


ใช้
10.8.1.4 รายการมาตรฐานที่ผลิตภัณฑ์ได้รับการรับรอง
10.8.1.5 เอกสารรับรอง ผูต้ ิดตั้งได้ผา่ นการอบรมวิธีการติดตั้งจากผูผ้ ลิต
10.8.2 แบบรายละเอียดในการทางานที่จะติดตั้งจริ ง (Shop Drawing) ที่มีรายละเอียดของช่องเปิ ด ช่องท่อ ช่อง
ลอด หรื อรอยต่อและวัสดุที่เกี่ยวข้อง ซึ่งต้องเป็ นไปตามมาตรฐานที่นามาใช้อา้ งอิงในหน้างานนั้นๆ
10.8.2.1 เอกสารระบบกันไฟและควันลามที่ผา่ นการรับรองจาก UL ที่สอดคล้องกับหน้างานจริ ง ทั้ง
ในส่วนของขนาดช่องเปิ ด ชนิดของวัสดุอุปกรณ์ที่ผา่ นช่องเปิ ด
10.8.2.2 เอกสาร Engineering Judgment (EJ) จากผูผ้ ลิตในกรณี ที่ไม่มีระบบกันไฟและควันลามที่
ผ่านการรับรองจาก UL
10.8.3 เอกสารขออนุ มัติ ร ายละเอี ย ดขั้น ตอนการติ ด ตั้ง (Installation method statement) พร้ อ มรายการ
ตรวจสอบ (Inspection Checklist) ทั้งก่อนติดตั้ง ขณะติดตั้ง และหลังการติดตั้ง
10.8.4 เอกสารขออนุมตั ิดาเนินการติดตั้ง (Request for Inspection)
10.8.5 เอกสารขอตรวจสอบความเรี ยบร้อยสมบูรณ์หลังดาเนินการติดตั้ง (Request for Inspection)
10.8.6 แบบก่ อสร้ างจริ ง (As-built drawings) โดยระบุตาแหน่ ง เลขอ้างอิงของ shop drawing ลงใน Floor
layout ของแต่ละชั้น พร้อมรายละเอียดที่ได้รับการอนุมตั ิให้ใช้
10.8.7 เอกสารรับประกันผลการติดตั้ง

10.9 กำรรับประกันผลงำน
10.9.1 ผูร้ ับจ้างต้องรับประกันคุณภาพของวัสดุกนั ไฟลามและการติดตั้งตามมาตรฐานของผูผ้ ลิตวัสดุป้องกัน
ไฟและควันลาม และการติดตั้งตามวิธีการติดตั้งที่ระบุไว้ในระบบกันไฟและควันลามที่ผ่านการรับรองจาก UL เป็ นเวลา
อย่างน้อย 2 ปี
10.9.2 เมื่อติดตั้งแล้วหากมีการหลุดร่ อนหรื อมีขอ้ บกพร่ องใดๆ ไม่ว่าจะเกิดจากความผิดพลาดของการติดตั้ง
และ/หรื อ ผลิตภัณฑ์ที่นามาใช้ ผูร้ ับจ้างต้องทาการแก้ไขและซ่อมแซมให้อยูใ่ นสภาพดี โดยไม่คิดมูลค่าใดๆ ทั้งสิ้น
10.9.3 ผูร้ ับจ้างมีหน้าที่จดั เตรี ยมการป้ องกันความเสี ยหายที่อาจเกิดขึ้นกับวัสดุป้องกันไฟและควันลามทั้ง
ขณะติดตั้งและหลังติดตั้งเพื่อให้มนั่ ใจว่าจะไม่เกิดความบกพร่ องต่อส่ วนหนึ่ งส่ วนใดของระบบป้ องกันอัคคีภยั ของ
โครงการ ซึ่ งหากมีการตรวจพบความบกพร่ องเกิดขึ้นกับวัสดุป้องกันไฟและควันลามในส่ วนใดส่ วนหนึ่งของจุดติดตั้ง
ผูร้ ับจ้างจะต้องทาการรื้ อถอน ทาความสะอาด และติดตั้งใหม่ท้งั หมดในตาแหน่งที่พบความบกพร่ องดังกล่าว โดยมิให้
นาวัสดุที่ถูกรื้ อถอนกลับมาใช้ใหม่โดยเด็ดขาด
10.9.4 ภายในระยะประกัน ผูร้ ับจ้างต้องทาการซ่อมแซมให้อยูใ่ นสภาพที่สมบูรณ์โดยไม่คิดมูลค่าใดๆ ทั้งสิ้น

โครงการ : Gulf PD Visitor Center หน้า M - 29


รายละเอียดข้อกาหนดประกอบแบบ
งานวิศวกรรมระบบปรับอากาศและระบายอากาศ

ตัวอย่ำงกำรติดตั้งวัสดุป้องกันไฟและควันลำมในลักษณะงำนประเภทต่ ำงๆ

โครงการ : Gulf PD Visitor Center หน้า M - 30


รายละเอียดข้อกาหนดประกอบแบบ
งานวิศวกรรมระบบปรับอากาศและระบายอากาศ

หมำยเหตุ : ตัวอย่างการติดตั้งวัสดุป้องกันไฟและควันลามข้างต้น เป็ นเพียงรู ปแบบที่เหมาะสมกับลักษณะงานที่ มี


รายละเอียดตามภาพเท่านั้น เนื่องจากรู ปแบบการติดตั้งที่ถูกต้องขึ้นอยู่กบั ประเภทของวัสดุฐาน วัสดุร้อย
ผ่าน และชนิดของวัสดุป้องกันไฟและควันลาม ดังนั้นก่อนดาเนินการจักต้องปรึ กษาผูเ้ ชี่ยวชาญของเจ้าของ
ผลิตภัณฑ์เพื่อแนะนารู ปแบบการติดตั้งที่ถูกต้องทุกครั้ง

โครงการ : Gulf PD Visitor Center หน้า M - 31


รายละเอียดข้อกาหนดประกอบแบบ
งานวิศวกรรมระบบปรับอากาศและระบายอากาศ

11. เครื่องปรับอำกำศแบบปรับปริมำณน้ำยำอัตโนมัติ
(Variable Refrigerant Volume System)

11.1 ข้ อกำหนดทั่วไป
11.1.1 ขอบเขตของงาน
ผูร้ ับจ้างจะต้องดาเนินการจัดหาและติดตั้งระบบปรับอากาศ รวมทั้งวัสดุและอุปกรณ์ประกอบที่แสดง
หรื อระบุในแบบและในข้อกาหนดประกอบแบบ เครื่ องปรับอากาศ วัสดุ และอุปกรณ์ประกอบทั้งหมดที่นามาติดตั้ง
จะต้องเป็ นของใหม่ที่ไม่เคยผ่านการใช้งานมาก่อน พร้อมทั้งทาการทดสอบการทางานของระบบปรับอากาศให้ใช้งาน
ได้สมบูรณ์ ถูกต้องตามความประสงค์ของแบบและโครงการ
11.1.2 คุณสมบัติของผูร้ ับจ้างติดตั้งระบบปรับอากาศและผลิตภัณฑ์เครื่ องปรับอากาศ
11.1.2.1 ผูร้ ับจ้างติดตั้งระบบปรับอากาศ จะต้องเป็ นผูแ้ ทนจาหน่ายที่ได้รับการแต่งตั้งโดยตรง จาก
บริ ษทั ผูผ้ ลิตหรื อผูแ้ ทนจาหน่ายหลักของเครื่ องปรับอากาศ ทั้งนี้ ผูร้ ับจ้างจะต้องติดตั้งระบบปรับอากาศรวมทั้งระบบ
ไฟฟ้ าของระบบปรับอากาศโดยช่างผูช้ านาญ และมีวิศวกรเครื่ องกลผูช้ านาญเป็ นผูค้ วบคุมการติดตั้ง อีกทั้งระบบปรับ
อากาศและผลิตภัณฑ์เครื่ องปรับอากาศที่เสนอใช้ในโครงการจะต้องเป็ นยี่ห้อที่ใช้แพร่ หลายในประเทศไทยมาแล้วไม่
น้อยกว่า 15 ปี และคิดเป็ นจานวนตันความเย็นไม่นอ้ ยกว่า 5,000 ตันความเย็น
11.1.2.2 ผูร้ ับจ้างต้องมีความเข้าใจในมาตรฐานการติดตั้งระบบปรับอากาศ VRV ที่ถูกต้อง ซึ่ งผูร้ ับ
จ้างจะต้องผ่านการฝึ กอบรมระบบ VRV และเคยผ่านการตรวจสอบการติดตั้งจากบริ ษทั ผูผ้ ลิตระบบปรับอากาศระบบ
VRV ในโครงการที่ติดตั้งจริ ง ทั้งนี้ ผูร้ ับจ้างหรื อผูร้ ับเหมาช่วงจะต้องเป็ นตัวแทนในการติดตั้งอย่างเป็ นทางการจาก
บริ ษทั ผูผ้ ลิตและมีเอกสารยืนยันการเป็ น “Authorized VRV Engineering Dealer” และ “Authorized VRV Engineering
Installation” ภายในนามบริ ษทั ผูผ้ ลิตนั้นๆ มาแสดงแก่ผคู ้ วบคุมงานด้วย เพื่อให้ทางโครงการมีความมัน่ ใจในคุณภาพ
การติดตั้งว่าเป็ นไปตามมาตรฐานและค่าการใช้พลังงานเป็ นไปตามมาตรฐานของผูผ้ ลิตกาหนดไว้
11.1.2.3 ผูร้ ับจ้างจะต้องเสนอรายละเอียดต่างๆ เพื่อประกอบการพิจารณา ดังต่อไปนี้
- แคตตาล็อกตัวจริ ง ที่แสดงรายละเอียดทางวิศวกรรมของตัวเครื่ องปรับอากาศ วัสดุ
และอุปกรณ์ต่างๆ ตามที่กาหนดในแบบ และรายการประกอบแบบทั้งหมด
- ก่ อ นเข้า ด าเนิ น การติ ด ตั้ง ให้ ผู ้รั บ จ้า งเสนอแบบรายละเอี ย ดการติ ด ตั้ง (SHOP
DRAWING) มาให้ ผู ้ค วบคุ ม งานหรื อวิ ศ วกรผู ้อ อกแบบ เพื่ อ ตรวจสอบก่ อ น
ดาเนินการติดตั้ง โดยต้องแนบสาเนาใบประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุมของวิศวกร
เครื่ องกลที่ควบคุมการติดตั้ง เพื่อประกอบการพิจารณาด้วย ในกรณี ที่ไม่เสนอแบบ
รายละเอียดการติดตั้ง (SHOP DRAWING) เพื่อขออนุมตั ิ จะไม่ได้รับอนุญาตให้เข้า
ดาเนินการติดตั้ง
11.1.3 การดาเนินงาน
ผูร้ ับจ้างจะต้องใช้วิศวกรเครื่ องกลที่มีใบประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุมของวิศวกร ซึ่งเป็ นบุคลากร
ของบริ ษทั เอง มาทาการควบคุมการติดตั้งหรื อว่าจ้างผูท้ ี่มีความชานาญการติดตั้งมาควบคุมการติดตั้ง ตามแบบแปลนที่
ได้รับการอนุมตั ิเรี ยบร้อยแล้ว ผูร้ ับจ้างจะต้องจัดส่ งตัวอย่างวัสดุที่จะใช้งานทุกอย่างมาขออนุมตั ิการใช้งาน จากวิศวกร
ผูอ้ อกแบบและผูค้ วบคุมงานก่อนทาการติดตั้ง

โครงการ : Gulf PD Visitor Center หน้า M - 32


รายละเอียดข้อกาหนดประกอบแบบ
งานวิศวกรรมระบบปรับอากาศและระบายอากาศ

11.1.4 การรับประกันและการบารุ งรักษา


11.1.4.1 ผูร้ ับจ้างจะต้องรับประกันระบบปรับอากาศทั้งระบบ ที่ทาการติดตั้งเป็ นระยะเวลำ 2 ปี นับ
จากวันส่งมอบงานงวดสุ ดท้าย โดยระบบปรับอากาศจะต้องทางานได้ถูกต้องทุกประการ
11.1.4.2 ผูร้ ับจ้างจะต้องส่งช่างเข้าบริ การตรวจเช็คระบบและทาความสะอาดพร้อมปรับตั้งระบบทุก
3 เดือน หลังการส่งมอบงานและเปิ ดใช้งาน พร้อมจัดส่งเอกสารการตรวจเช็คให้ผวู ้ ่าจ้างรับรองการเข้าบริ การทุกครั้ง จน
ครบกาหนดการรับประกัน ตามข้อ 11.1.4.1
11.1.4.3 ในส่ วนของอุปกรณ์ Compressor (CDU) จะต้องมี การรั บประกันจากผูผ้ ลิ ตหรื อเจ้าของ
ผลิตภัณฑ์ ระยะเวลาที่รับประกันไม่นอ้ ยกว่า 5 ปี และชิ้นส่วนอื่นๆรับประกัน 2 ปี

11.2 รำยละเอียดเครื่องปรับอำกำศ
เครื่ องปรับอากาศเป็ นระบบแบบรวมศูนย์ ระบายความร้อนด้วยอากาศ ซึ่ งคอนเดนซิ่ งยูนิต (CONDENSING
UNIT) 1 ชุดสามารถต่อกับเครื่ องส่ งลมเย็น (FAN COIL UNIT) ได้หลายชุด ใช้สารทาความเย็น R-410A และสามารถ
ควบคุมได้จากระบบควบคุมกลาง (CENTRAL CONTROL UNIT) โดยคอนเดนซิ่ งยูนิต (CONDENSING UNIT) และ
เครื่ องส่งลมเย็น (FAN COIL UNIT) ทั้งชุดประกอบมาเสร็ จเรี ยบร้อยจากโรงงานผูผ้ ลิตในประเทศไทย, ยุโรป หรื อญี่ปนุ่
ภายใต้ลิขสิ ทธิ์ ของผลิตภัณฑ์น้ นั และต้องเป็ นยี่ห้อเดียวกันทุกอุปกรณ์ โรงงานของผูผ้ ลิตจะต้องได้รับมาตรฐาน ได้แก่
ISO 14001, ISO 9001 เป็ นต้น
ผลิ ต ภัณฑ์เ ครื่ อ งปรั บ อากาศที่ ใ ช้ใ นโครงการจะต้อ งมี สมรรถนะตามที่ ก าหนดในแบบและมี ร ายละเอี ย ด
ข้อกาหนดของตัวเครื่ องปรับอากาศ ดังต่อไปนี้
11.2.1 คอนเด็ น ซิ่ ง ยูนิ ต แบบเป่ าบน (CONDENSING UNIT VERTICAL FLOW) ระบายความร้ อ นด้วย
อากาศ ประกอบเรี ยบร้อยทั้งชุดมา จากโรงงานผูผ้ ลิตในประเทศไทย, ยุโรป หรื อญี่ปุ่น โดยมีรายละเอียดดังนี้
11.2.1.1 ส่ วนโครงภายนอก (CASING, CARBINET) ทาด้วยแผ่นเหล็กที่ผ่านกระบวนการกันสนิม
และกระบวนการเคลือบอบสี หรื อวัสดุที่ทนต่อการเป็ นสนิม เช่น ไฟเบอร์ กลาส หรื อพลาสติกอัดแข็งที่ เหมาะสาหรับ
การติดตั้งกลางแจ้ง ตัวโครงจะต้องมัน่ คงแข็งแรงไม่สั่นสะเทือน หรื อเกิดเสี ยงดังเมื่อใช้งาน
11.2.1.2 วัสดุ ที่ใช้ในการผลิ ตชิ้ นส่ วนต่างๆที่ ประกอบเป็ นเครื่ องปรับอากาศ ต้องผ่านมาตรฐาน
RoHS (Restriction of Hazardous Substances) สาหรับอุปกรณ์ไฟฟ้ าและอุปกรณ์อิเลคโทรนิคส์ มาตรฐานนี้มีจุดประสงค์
เพื่อจากัดการใช้สารเคมีอนั ตรายบางชนิด (สารตะกัว่ , แคดเมียม, เฮกซะวาเลนท์, สารปรอท, โพลีโบรมิเนต ไบเฟนนิลส์
(PBB), โพลีโบรมิเนต ไดเฟนนิล อีเธอร์ (PBDE)) ในอุปกรณ์ไฟฟ้ าและอิเลคโทรนิคส์
11.2.1.3 คอนเด็นซิ่งยูนิทสามารถทางานเป็ นโมดูลเดี่ยวๆได้หรื อจะประกอบกันเป็ น SYSTEM ก็ได้
โดยควรประกอบได้สูงสุ ด 3 โมดูลรวมเป็ น 1 SYSTEM กรณี ที่ประกอบด้วย 2 โมดูลหรื อ 3 โมดูล หากมี 1 โมดูลเสี ย
โมดูลที่เหลือสามารถจ่ายความเย็นให้ท้งั ระบบได้โดย ผูใ้ ช้งานสามารถเปิ ดเองได้ดว้ ย Remote Control ปกติ
ในแต่ละโมดูลต้องมีชุด INVERTER เป็ นตัวควบคุมการเปลี่ยนความเร็ วรอบของมอเตอร์ โดยที่ชุด
INVERTER เป็ นแบบ IGBT (INSULATED GATE BIPOLAR TRANSISTER) และยี่ ห้ อ ของผลิ ต ภั ณ ฑ์ ที่ ใ ช้ ใ น
โครงการนี้ จะต้องเป็ นยี่ห้อที่มีประสบการณ์ในการใช้ชุด INVERTER เป็ นตัวควบคุมการปรับเปลี่ยนปริ มาณสารทา
ความเย็น ซึ่งถูกติดตั้งและใช้อย่างแพร่ หลายในประเทศไทยมาแล้วไม่นอ้ ยกว่า 10 ปี
นอกจากนี้ จะต้อ งรองรั บ กับ ระบบการเปลี่ ย นอุ ณ หภู มิ ข องสารท าความเย็น ด้ว ย VRT (Variable
Refrigerant Temperature) สาหรับรุ่ นเป่ าบน [VENTICAL FLOW]

โครงการ : Gulf PD Visitor Center หน้า M - 33


รายละเอียดข้อกาหนดประกอบแบบ
งานวิศวกรรมระบบปรับอากาศและระบายอากาศ

- คอมเพรสเซอร์ (COMPRESSOR) เป็ นแบบก้นหอยมอเตอร์หุม้ ปิ ด (HERMETIC SCROLL


TYPE) ระบายความร้อนด้วยน้ ายา และที่มอเตอร์ มีอุปกรณ์ป้องกันในกรณี ที่เกิดความร้อน
สู ง เกิ น เกณฑ์ หรื อ คอมเพรสเซอร์ (COMPRESSOR) เป็ นแบบสวิ ง ,มอเตอร์ หุ้ ม ปิ ด
(HERMETICALLLY SEALED SWING TYPE ) หรื อ แบบก้ น หอยมอเตอร์ หุ้ ม ปิ ด
(HERMETICALLY SEALED SCROLL TYPE) และที่มอเตอร์มีอุปกรณ์ป้องกันในกรณี ที่
เกิดความร้อนสูงเกินเกณฑ์
- คอยล์ข องคอนเด็ น เซอร์ (CONDENSER COIL) เป็ นท่ อ ทองแดงที่ ถู ก อัด เข้า กับ ครี บ
อะลูมิเนี ยมที่ เคลื อบสาร PE ป้ องกันการกัดกร่ อนซึ่ งจะต้อ งเรี ยงเป็ นระเบี ยบเรี ยบร้ อย
ยึดแน่นกับท่อทองแดง และผ่านการทดสอบรอยรั่วและขจัดความชื้นมาจากโรงงานผูผ้ ลิต
- ครี บอลูมิเนียมของคอยล์แลกเปลี่ยนความร้อนต้องเคลือบฟิ ล์มอคริ ลิคเรซิ่น (PE) หนา
ระหว่าง 2-3 ไมครอน เพื่อป้ องกันการกัดกร่ อน และยืดอายุของคอยล์แลกเปลี่ยนความร้อน
ชั้นเคลือบโลหะพิเศษ (Metallic coating) และชั้นเคลือบใสอยูด่ า้ นบนสุ ด
- พัด ลมของคอนเด็ น เซอร์ เป็ นแบบใบพัด แฉก (PROPELLER) ได้รั บ การถ่ ว งสมดุ ล
มาเรี ยบร้อยแล้วจากโรงงานผูผ้ ลิต ขับเคลื่อนโดยตรงจากมอเตอร์ มีตะแกรงโปร่ งป้ องกัน
อุบตั ิเหตุ
- มอเตอร์ พดั ลม เป็ นแบบหุ้มปิ ดมิ ดชิ ด มี อุปกรณ์ ป้องกันการเกิดความร้ อนสู งเกินเกณฑ์
มีระบบรองลื่นแบบตลับลูกปื นหรื อแบบปลอก ที่มีการหล่อลื่นระยะยาว
- ระบบควบคุม แผงควบคุม (PC BOARD) แผงวงจรหลักต้องใช้เทคโนโลยีการผลิตแบบ
วางอุปกรณ์ อิเลคทรอนิ คส์ ลงบนพื้นผิวแผงวงจร (SMT- Surface Mounted Technology)
เพื่ อ ลดความหนาแน่ น ของตัว อุ ป กรณ์ อิ เ ลคทรอนิ ค ส์ บ นแผงวงจรหลัก และช่ ว ยลด
ผลกระทบจากฝุ่ นผงและสภาวะอากาศ แผงวงจรหลักต้องใช้การระบายความร้อนด้วยสาร
ทาความเย็น เพื่อลดผลกระทบจากความร้อนสะสมในแผงวงจรหลัก และมีอุปกรณ์ป้องกัน
ความดันสูงเกินเกณฑ์ (HIGH PRESSURE CUT OUT) และมีฟิวส์ป้องกันวงจรควบคุม
- ระบบไฟฟ้ า 380 V / 3 Ø / 50 Hz
นอกจากนี้ ตัว คอนเด็ น ซิ่ ง ยูนิ ต จะต้อ งมี AUTOMATIC TEST OPERATION เพื่ อ ตรวจสอบการ
เดินสายระหว่าง CONDENSING UNIT และ FAN COIL UNIT, ระยะท่อ และสถานะของ STOP VALVE
11.2.2 คอนเด็นซิ่งยูนิทแบบเป่ าข้าง [HORIZONTAL FLOW] มีขนาดตั้งแต่ 41,300 BTU สามารถทางานเป็ น
โมดูลเดี่ยวในแต่ละโมดูลต้องมีชุด INVERTER เป็ นตัวควบคุมการเปลี่ยนความเร็ วรอบของมอเตอร์
โดยที่ชุด INVERTER เป็ นแบบ IGBT (INSULATED GATE BIPOLAR TRANSISTER) มีขนาดทา
ความเย็นตั้งแต่ 41,300BTU - 81,900BTU และยี่ห้อของผลิตภัณฑ์ที่ใช้ในโครงการนี้ จะต้องเป็ นยี่ห้อ
ที่มีประสบการณ์ในการใช้ชุด INVERTER เป็ นตัวควบคุมการปรับเปลี่ยนปริ มาณสารทาความเย็น ซึ่ง
ถูกติดตั้งและใช้อย่างแพร่ หลายในประเทศไทยมาแล้วไม่นอ้ ยกว่า 10 ปี
11.2.2.1 คอยล์ข องคอนเด็ น เซอร์ (CONDENSER COIL) เป็ นท่ อ ทองแดงที่ ถู ก อัด เข้า กับ ครี บ
อะลูมิเนียมที่เคลือบสาร PE ป้ องกันการกัดกร่ อนซึ่ งจะต้องเรี ยงเป็ นระเบียบเรี ยบร้อยยึดแน่นกับท่อทองแดง และผ่าน
การทดสอบรอยรั่วและขจัดความชื้นมาจากโรงงานผูผ้ ลิต

โครงการ : Gulf PD Visitor Center หน้า M - 34


รายละเอียดข้อกาหนดประกอบแบบ
งานวิศวกรรมระบบปรับอากาศและระบายอากาศ

11.2.2.2 คอมเพรสเซอร์ (COMPRESSOR) เป็ นแบบสวิง ,มอเตอร์ หุ้มปิ ด ( HERMETICALLLY


SEALED SWING TYPE ) หรื อ แบบก้น หอยมอเตอร์ หุ้ม ปิ ด (HERMETICALLY SEALED SCROLL TYPE) และที่
มอเตอร์มีอุปกรณ์ป้องกันในกรณี ที่เกิดความร้อนสูงเกินเกณฑ์
11.2.2.3 คอยล์ ข องคอนเด็ น เซอร์ (CONDENSER COIL) เป็ นท่ อ ทองแดงที่ ถู ก อัด เข้า กับ ครี บ
อะลูมิเนียมที่เคลือบสาร PE ป้ องกันการกัดกร่ อนซึ่ งจะต้องเรี ยงเป็ นระเบียบเรี ยบร้อยยึดแน่นกับท่อทองแดง และผ่าน
การทดสอบรอยรั่วและขจัดความชื้นมาจากโรงงานผูผ้ ลิต
11.2.2.4 พัด ลมของคอนเด็น เซอร์ เป็ นแบบใบพัดแฉก (PROPELLER) ได้รั บ การถ่ วงสมดุ ล มา
เรี ยบร้อยแล้วจากโรงงานผูผ้ ลิต ขับเคลื่อนโดยตรงจากมอเตอร์ มีตะแกรงโปร่ งป้ องกันอุบตั ิเหตุ
11.2.2.5 มอเตอร์ พดั ลม เป็ นแบบหุ้มปิ ดมิดชิด มีอุปกรณ์ป้องกันการเกิดความร้อนสู งเกินเกณฑ์ มี
ระบบรองลื่นแบบตลับลูกปื นหรื อแบบปลอก ที่มีการหล่อลื่นระยะยาว
11.2.2.6 นอกจากนี้ จะต้องมีตวั ป้ องกันเมื่อความดันสู งเกินเกณฑ์ (HIGH PRESSURE CUT OUT)
และมีฟิวส์ป้องกันวงจรควบคุม
11.2.2.7 ระบบไฟฟ้ า 220 V / 1 Ø / 50 Hz ในรุ่ นขนาดไม่เกิ น 56,400 BTU และ 380 V / 3 Ø / 50
Hz ในรุ่ นขนาดมากกว่า 56,400 BTU ขึ้นไป
11.2.3 เครื่ องส่งลมเย็น (FAN COIL UNIT) ประกอบเรี ยบร้อยทั้งชุดมาจากโรงงานผูผ้ ลิตในประเทศไทย หรื อ
ญี่ปุ่น และเป็ นผลิตภัณฑ์ยี่ห้อเดียวกับคอนเด็นซิ่งยูนิต โดยมีรายละเอียดดังนี้
11.2.3.1 ส่วนโครงภายนอก เป็ นแบบที่ตกแต่งเสร็ จ ทาด้วยแผ่นเหล็กที่ผา่ นกระบวนการเคลือบและ
อบสี หรื อวัสดุที่ทนต่อการเป็ นสนิม เช่น ไฟเบอร์กลาส พลาสติกอัดแรง ภายในบริ เวณที่จาเป็ นให้บุดว้ ยฉนวนยาง หรื อ
ฟองน้ า หรื อวัสดุเทียบเท่า มีถาดน้ าทิ้งที่หุ้มด้วยฉนวนดังกล่าว ในการใช้งานปกติจะต้องไม่เกิดหยดน้ าเกาะที่ภายนอก
ของตัวโครง และถ้าเป็ นชนิ ดเป่ าลมเย็นโดยตรง (FREE BLOW) ต้องมีหน้ากากจ่ายลม สามารถปรับทิศทางการจ่ายลม
ได้
11.2.3.2 พัดลมส่ งลมเย็น เป็ นพัดลมแบบหอยโข่ง (CENTRIFUGAL, TURBO FAN) หรื อแบบ
ใบพัดยาว (CROSS FLOW FAN) ขับเคลื่อนโดยตรงหรื อผ่านสายพานด้วยมอเตอร์ ซึ่งสามารถปรับความเร็ วได้ไม่นอ้ ย
กว่า 2 อัตรา
11.2.3.3 มอเตอร์ เป็ นชนิ ด INDUCTION HOLD IC CONTROL หรื อ SPLIT CAPACITOR ที่ มี
อุปกรณ์ภายในป้ องกันความร้อนสูงเกินเกณฑ์
11.2.3.4 คอยล์เย็น (EVAPORATOR COIL) เป็ นท่อทองแดงที่ถูกอัดเข้ากับครี บอลูมิเนียม ซึ่งจะต้อง
เรี ยงเป็ นระเบียบเรี ยบร้อยยึดแน่นกับท่อทองแดง และผ่านการทดสอบรอยรั่วจากโรงงานผูผ้ ลิต
11.2.3.5 อุปกรณ์ จ่ายสารทาความเย็นเป็ นแบบอิเล็กทรอนิ กส์ เอ็กแปนชั่นวาล์ว (ELECTRONIC
EXPANSION VALVE)
11.2.3.6 เครื่ องส่ งลมเย็นชนิ ดซ่ อนในฝ้ า (CEILING MOUNTED DUCT TYPE) ขนาดความเย็น
ตั้งแต่ 24,000 BTU/H ขึ้นไป แต่ไม่เกิน 54,000 BTU/H สามารถปรับ External Static ได้มากกว่า 7 ขั้นขึ้นไปจากรี โมท
คอนโทรล
11.2.3.7 เครื่ องส่ งลมเย็นชนิดซ่อนในฝ้ า CASSETTE TYPE เป็ นรุ่ น Round Flow และมี Silver ions
เพื่อลดการเจริ ญเติบโตของแบคทีเรี ยในถาดน้ าทิ้ง

โครงการ : Gulf PD Visitor Center หน้า M - 35


รายละเอียดข้อกาหนดประกอบแบบ
งานวิศวกรรมระบบปรับอากาศและระบายอากาศ

11.2.3.8 เครื่ องเป่ าลมเย็นชนิดตั้งพื้นแบบเป่ าขึ้นต่อท่อลม มีขนาดตั้งแต่ 48,000 BTU/H ถึง 190,000
BTU/H สามารถต่อช่อง Fresh Air และ ปรับขนาด Pully เพื่อปรับระดับ External Static ได้
11.2.3.9 เครื่ องส่งลมเย็นชนิดติดผนัง(Wall Type) ขนาดทาความเย็นตั้งแต่ 7,500 BTU/H ถึง 24,200
BTU/H สามารถปรับแรงลมได้ 2 ระดับ โดยมีระดังเสี ยงระหว่างการทางานไม่เกิน 47 dBa
11.2.3.10 ระบบควบคุม มีสวิตช์ เปิ ด-ปิ ดเครื่ องและปรับความเร็ วรอบพัดลม พร้อมทั้งสวิตช์เทอร์
โมสแตตอยู่ที่เครื่ อง หรื อเป็ นแบบตั้งแยก (REMOTE TYPE) ที่ต่อสายส่ งสัญญานควบคุมการทางาน ระหว่างเครื่ องส่ง
ลมเย็นกับชุดควบคุมการทางาน (CONTROLLER) เป็ นแบบ NON POLARITY ด้วยสาย 2 แกน
11.2.3.11 แผงกรองอากาศเป็ นแบบอลูมิเนียม, ใยสังเคราะห์ หรื อ RESIN NET ที่สามารถถอดล้างทา
ความสะอาดได้
▪ เครื่ องส่ งลมเย็น (Fan coil unit) ชนิ ดซ่ อนใต้ฝ้า (Duct type) แผงกรองอากาศเป็ นแบบใย
สังเคราะห์ สามารถถอดล้างทาความสะอาดได้ Filter ที่ใช้ตอ้ งมีความละเอียดในการกรอง
ไม่ต่ากว่า Merv 4 (ANSI/ASHRAE Standard 52.2)
▪ เครื่ องส่งลมเย็น (Fan coil unit) ชนิดติดผนัง (Wall type), ชนิดเป่ าลมเย็นสี่ ทิศทาง (Cassette
type), ชนิ ด แขวนใต้ฝ้ า (Ceiling suspended), ชนิ ด ตู้ต้ ัง เป่ าลมเย็น (Floor Standing type)
เป็ นแบบ Resin net สามารถถอดล้างทาความสะอาดได้ Filter ที่ใช้ตอ้ งมีความละเอียดใน
การกรองไม่ต่ากว่า Merv 4 (ANSI/ASHRAE Standard 52.2)
11.2.3.12 ระบบไฟฟ้ า 220 V / 1 Ø / 50 Hz
11.2.4 เครื่ องส่งลมเย็น AHU ของระบบ VRV
11.2.4.1 เครื่ องส่ งลมเย็น (Air Handling Unit-AHU) ต้องเป็ นผลิตภัณฑ์ยี่ห้อเดียวกันกับคอนเด็นซิง
ยูนิตและเป็ นผลิตภัณฑ์ที่ผลิตและจาหน่ายเป็ นมาตรฐานอยู่แล้ว เพื่อให้ระบบสามารถทางานได้อย่างเต็มประสิ ทธิ ภาพ
คอยล์ร้อนที่นามาต่อกับเครื่ องส่ งลมเย็นจะต้องเป็ นแบบระบายความร้อนด้วยอากาศและใช้สารทาความเย็นชนิด R-
410A เท่านั้น
11.2.4.2 เครื่ องส่งลมเย็นต้องมีความสามารถในการทาความเย็นตั้งแต่ 6HP ถึง 120HP และจ่ายลมได้
ตั้งแต่ 3,240 CMH ถึง 59,760 CMH
11.2.4.3 AHU ของระบบ VRV ต้อ งสามารถใช้ร่ ว มกับ ระบบควบคุ ม ส่ ว นกลางได้ และต้อ งมี
อุ ป กรณ์ เสริ ม ที่ สามารถทาให้ AHU ถู กควบคุม โดยระบบบควบคุม อาคาร (BMS) ได้ โดยเลื อกได้ร ะหว่างระบบ
BACnet หรื อ LonWorks
11.2.4.4 รู ปแบบของเครื่ องส่ งลมเย็นต้องสามารถเลือกคุณสมบัติต่างๆได้ เช่น ชนิ ดของตัวกรอง
อากาศ, ทิศทางของช่องอากาศเข้าและออก, ตาแหน่งของประตูบริ การ, ชนิดของโคมไฟบริ การ, รู ปแบบของใบพัด และ
ลักษณะของการขับเคลื่อน เป็ นต้น
11.2.4.5 เครื่ องส่ งลมเย็นต้องสามารถควบคุมได้ท้ งั อุณหภูมิ และความชื้ นสัมพัทธ์ ตามที่กาหนด
และสามารถทางานร่ วมกับ ชุ ด ขดลวดความร้ อ น (Electrical Heater) โดยประกอบสาเร็ จจากโรงงานภายใต้ผูผ้ ลิ ต
เดียวกันกับเครื่ องส่งลมเย็น (ในกรณี ที่แบบกาหนดว่าต้องมีชุดขดลวดความร้อน)
11.2.4.6 ผนังของเครื่ องส่งลมเย็นต้องมีให้เลือกทั้งแบบผนังชั้นเดียวและผนังสองชั้น เพื่อให้เหมาะ
กับลักษณะการใช้งาน ดังนี้

โครงการ : Gulf PD Visitor Center หน้า M - 36


รายละเอียดข้อกาหนดประกอบแบบ
งานวิศวกรรมระบบปรับอากาศและระบายอากาศ

11.2.4.6.1 ชนิ ดผนังชั้นเดี ยวหนา 13 มิ ลลิ เมตร, ผนังภายนอกเป็ นแผ่นเหล็กหนา 1.0


มิลลิเมตร อาบด้วยสี ฝนที ุ่ ่ความหนา 40-60 ไมครอน, ความหนาของโฟมโพลี
ยูรีเทนแบบ Open cell หนา 13 มิลลิเมตร ความหนาแน่ น 18 kg/m3 สาหรับ
ติ ด ตั้ง เครื่ อ งส่ ง ลมเย็น ภายในอาคาร และเป็ นพื้ น ที่ ป รั บอากาศที่ อุ ณหภูมิ
ภายนอกเครื่ องส่งลมเย็นไม่เกิน 27 องศา
11.2.4.6.2 ชนิดผนังสองชั้นหนา 25 มิลลิเมตร, ผนังภายนอกเป็ นแผ่นเหล็กแบบเคลือบสี
หนา 0.5 มิลลิเมตร, ผนังภายในเป็ นแผ่นเหล็กหนา 0.5 มิลลิเมตร ประกบโฟม
โพลียูรีเทนตรงกลางหนา 25 มิลลิเมตร ความหนาแน่ น 40 kg/ m3. สาหรับ
ติดตั้งเครื่ องส่ งลมเย็นภายในอาคาร ที่อุณหภูมิภายนอกเครื่ องส่ งลมเย็นไม่
เกิน 30 องศา
11.2.4.6.3 ชนิดผนังสองชั้นหนา 50 มิลลิเมตร, ผนังภายนอกเป็ นแผ่นเหล็กแบบเคลือบสี
หนา 0.5 มิลลิเมตร, ผนังภายในเป็ นแผ่นเหล็กหนา 0.5 มิลลิเมตร ประกบโฟม
โพลี ยูรีเทนตรงกลางหนา 50 มิ ลลิ เ มตร ความหนาแน่ น 40 kg/ m3.สาหรั บ
ติ ดตั้งเครื่ องส่ งลมเย็น ได้ท้ งั ภายในอาคารและภายนอกอาคาร ที่ อุณหภูมิ
ภายนอกเครื่ องส่งลมเย็นไม่เกิน 35 องศา
11.2.4.7 เครื่ องส่ งลมเย็นต้องใช้คอยล์เย็นแบบขยายตัวโดยตรง หนึ่ งหรื อหลายชุ ดประกอบกัน
คอยล์แต่ละชุดต้องต่อกับชุดวาล์วลดความดันที่ค วบคุมโดยชุ ดควบคุม และคอยล์ทุกชุ ดที่อยู่ในเครื่ องส่ งลมเย็นชุด
เดียวกันต้องสามารถควบคุมจากรี โมทคอนโทรลเพียงชุดเดียว
11.2.4.8 ระบบควบคุม มีสวิตช์ เปิ ด-ปิ ดเครื่ องและปรับความเร็ วรอบพัดลม พร้อมทั้งสวิตช์เทอร์
โมสแตตอยู่ที่เครื่ อง หรื อเป็ นแบบตั้งแยก (REMOTE TYPE) ที่ต่อสายส่ งสัญญานควบคุมการทางาน ระหว่างเครื่ องส่ง
ลมเย็นกับชุดควบคุมการทางาน (CONTROLLER) เป็ นแบบ NON POLARITY ด้วยสาย 2 แกน
11.2.4.9 แผงกรองอากาศ (Pre Filter) เป็ นแบบใยสังเคราะห์ความละเอียดในการกรองไม่ต่ ากว่า
Merv 7 (ANSI/ASHRAE Standard 52.2)
11.2.4.10 เครื่ อ งส่ ง ลมเย็น ต้อ งติ ด ตั้ง ระบบ AIR DISINFECTION (UVGI) โดยใช้ห ลอด UVC ที่
ออกแบบมาเพื่อให้สามารถติดตั้งได้ในบริ เวณด้านลมออกของหน้าคอลย์เย็นของ AHU ของระบบปรับอากาศ (กรณี ที่
แบบระบุว่าต้องติดตั้ง)
• โรงงานผูผ้ ลิตต้องได้รับการรับรองมาตรฐาน ISO 9001 : 2015 และ ISO 14001 : 2015
• หลอด UVC และอุปกรณจ่ายไฟ ต้องได้รับการรับรองมาตรฐาน UL
• อุปกรณ์ จ่ายไฟฟ้ า (Power Supply) ต้องได้รับการรั บรองมาตรฐาน มอก. เลขที่ 1995-
2551
• UVC Emitter ต้องเป็ นชนิด Single Ended Emitter ขนาด T5 ผลิตรังสี ที่มีความยาวคลื่น
253.7 (254) nm ไม่ก่อให้เกิดโอโซน ตัวหลอดทาจากแร่ quartz เพื่อประสิ ทธิ ภาพการ
แผ่รังสี ขั้วหลอดต้องเป็ นชนิ ด IP67 และต้องสามารถใช้งานได้ในกระแสอากาศ ที่
อุณหภูมิ 2ºC – 25ºC ความเร็ วลมถึง 2000 f/m หรื อ 10 m/s

โครงการ : Gulf PD Visitor Center หน้า M - 37


รายละเอียดข้อกาหนดประกอบแบบ
งานวิศวกรรมระบบปรับอากาศและระบายอากาศ

ชุดอุปกรณ์จ่ายไฟฟ้ า (Power supply) สามารถใช้ในกระแสอากาศเย็นได้ที่ 2ºC–25ºC,



100%RH ติดตั้งอยูใ่ นกล่องผลิตจากวัสดุที่ไม่เกิดการกัดกร่ อน (non-corrosive) สามารถ
ใช้กับ ระบบไฟฟ้ า 120-277 Vac. 50/60 Hz. ชุ ด อุ ป กรณ์ จ่ ายไฟฟ้ า และหลอด UVC
จะต้องเป็ นยี่ห้อเดี ยวกัน ไม่ อนุ ญาตให้ใช้ผลิ ตภัณฑ์ต่างยี่ห้อ เพื่อควบคุมมาตรฐาน
ความเข้มของรังสี
• ความเข้มของรังสี (Intensity) UVC ต้องมีค่าความเข้มเฉลี่ย 1,000 µW/cm² ทัว่ บริ เวณผิว
คอยล์ โดยต้องแนบรายการแสดง Intensity Field Modeling จาก software ของผูผ้ ลิต
• ระบบ UVGI จะต้องสามารถสร้าง Dose UV ได้ไม่ต่ากว่า 611 µW.sec /cm² โดยจะต้อง
จ าลอง Intensity Field Modeling ของรั ง สี UVC แบบ Multilayer อย่างน้อ ย 24 layer
เพื่ อ ประกอบการค านวณ ค่ า Dose ของการก าจัด เชื้ อ ในกระแสลม (อ้า งอิ ง ตาม
ASHRAE Epidemic Task force update 05-25-2021)
• กรณี ใ นแบบระบุ ใ ห้ ติด ตั้งหลอด UVC ในท่อ ลม ของระบบปรั บ อากาศ ค่ าพลัง งาน
dose ที่สัมผัสอนุ ภาคอากาศจะต้องมีค่าสู งกว่า 611 µW.sec/cm² และหลอดต้องติดตั้ง
อย่างแน่นหนา ติดตั้งหลอดโดยเจาะท่อส่ งลมจากด้านข้างมีชุด power supply สาเร็ จรู ป
ประกอบพร้อมกับหลอด
• การติดตั้งตามคาแนะนาของผูผ้ ลิต โดยติดตั้งในสภาวะแวดล้อมปิ ดและจัดเตรี ยม Limit
switch เพื่อตัดวงจรเมื่อมีการเปิ ดประตู AHU รวมถึงมีป้ายแสดงคาเตือน ทั้งนี้ผรู ้ ับจ้าง
ต้องส่งแบบและรายละเอียดการติดตั้งชุด UVC ให้พิจารณาก่อนการติดตั้งทุกครั้ง
• การทดสอบตรวจวัด ค่ า ความเข้ม ของระบบ UVGI ให้ ไ ด้ต ามค่ า Intensity software
modeling
• กรณี ติดตั้งบริ เวณหน้าคอยล์เย็น ต้องใช้ เรดิ โอมิ เตอร์ ตรวจวัดค่าความเข้มของรั ง สี
UVC ให้ได้ตามข้อกาหนด โดยวัด ณ ตาแหน่งที่ไกลจากหลอดมากที่สุดหรื อจุดที่มีค่า
ความเข้มต่าที่สุด โดยมีค่าความเข้มเป็ นไปตามข้อกาหนดทางเทคนิค
11.2.5 เครื่ องส่งลมเย็นชนิดซ่อนในฝ้ าแบบเติมอากาศจากภายนอก (OUTDOOR AIR PROCESSING UNIT :
OAU) ขนาดความเย็นตั้งแต่ 47,800 BTU/H ขึ้นไป แต่ไม่เกิน 95,500 BTU/H สามารถจ่ายลมที่เย็นได้ 18˚C ที่อุณหภูมิ
ภายนอกไม่เกิน 33 ˚C และต้องติดตั้ง Filter เป็ นแบบใยสังเคราะห์ สาหรับกรองฝุ่ น และติดตั้ง PM 2.5 Filter Box ให้มี
ประสิ ทธิภาพในการกรองฝุ่ น Arrestance ไม่นอ้ ยกว่า 95% โดยต้องเป็ นผลิตภัณฑ์ที่มาจากผูผ้ ลิตเดียวกัน

11.3 ระบบควบคุมส่ วนกลำง


เป็ นอุปกรณ์ที่สามารถควบคุมการทางานของเครื่ องส่งลมเย็นได้ดงั นี้
11.3.1 ต้องเป็ นยี่ห้อเดียวกันกับระบบปรับอากาศ
11.3.2 สามารถควบคุมระบบปรับอากาศบนหน้าจอคอมพิวเตอร์ อื่นๆ ผ่านระบบ Network พร้อมทั้งแสดง
Layout ตาแหน่งเครื่ องปรับอากาศนั้นๆ ได้ เพื่อความสะดวกในการควบคุม
11.3.3 สามารถเก็บข้อมูลการควบคุมส่ วนกลาง (Back Up) ผ่าน port USB เพื่อป้ องกันการสู ญหายของข้อมูล
ได้
11.3.4 เชื่อมต่อระบบ Fire Alarm เพื่อสั่งปิ ดระบบปรับอากาศ เมื่อได้รับสัญญาณจากระบบ Fire Alarm ได้

โครงการ : Gulf PD Visitor Center หน้า M - 38


รายละเอียดข้อกาหนดประกอบแบบ
งานวิศวกรรมระบบปรับอากาศและระบายอากาศ

11.3.5 เปิ ด-ปิ ด


11.3.6 ปรับอุณหภูมิ
11.3.7 ปรับปริ มาณลม
11.3.8 ตั้งเวลาได้เป็ นนาที ล่วงหน้าได้ 1 ปี
11.3.9 ล็อกอุณหภูมิข้นั ต่าของเครื่ องส่งลมเย็นแต่ละเครื่ อง
11.3.10 ล็อกการทางานของเครื่ องส่งลมเย็นแต่ละเครื่ องได้ เช่น ห้ามเปิ ด, ห้ามปิ ด, ห้ามปรับอุณหภูมิ,ห้ามปรับ
ปริ มาณลม, ล็อกอุณหภูมิข้นั ต่า
11.3.11 สามารถแจ้งเตือน Error Code โดยบอกอาการเสี ยหายได้ว่าเสี ยหายที่ส่วนไหน
11.3.12 บันทึกประวัติการทางานที่เกิดขึ้นในอดีต 5,000,000 ครั้ง ย้อนหลังได้
11.3.13 ระบบควบคุมแบบมีสาย (Individual Wired Remote Controller) สามารถกาหนดช่วงอุณหภูมิการใช้
งานของผูใ้ ช้งาน เพื่อการประหยัดพลังงานมากยิ่งขึ้น

11.4 ระบบไฟฟ้ ำสำหรับระบบปรับอำกำศ


11.4.1 ผูร้ ั บจ้างจะต้องจัดหา และติ ดตั้งอุปกรณ์ ไฟฟ้ าสาหรั บระบบปรั บอากาศตามแบบ และข้อกาหนด
ประกอบแบบ และอื่นๆ ที่จาเป็ นที่มิอาจได้กาหนดไว้ โดยการติดตั้งทั้งหมดต้องเป็ นไปมาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้ า
สาหรับประเทศไทยหรื อมาตรฐาน IEC
11.4.2 มอเตอร์ เป็ นผลิตภัณฑ์ของประเทศไทย ญี่ปุ่น สหรัฐอเมริ กา หรื อยุโรป และมอเตอร์ ขนาดใหญ่กว่า
746 วัตต์ ต้องเป็ นแบบ TOTALLY ENCLOSED ส่วนมอเตอร์ในคอนเด็นซิ่งยูนิตต้องเป็ นแบบ TOTALLY ENCLOSED
เท่านั้น และถ้ามอเตอร์เป็ นผลิตภัณฑ์ของประเทศไทย จะต้องมีผลงานและคุณภาพเหมาะสมตามข้อพิจารณาของผูว้ ่าจ้าง
11.4.3 สายไฟฟ้ าทั้งหมดให้ใช้สายทองแดงหุ้มฉนวน ที่ได้รับอนุญาตแสดงเครื่ องหมาย มอก.11-2553 ,
11-2559 หรื อ IEC60227
11.4.4 ชนิดของสายไฟฟ้ า หากมิได้กาหนดไว้เป็ นอย่างอื่นให้ใช้ดงั นี้
- สายไฟฟ้ าเมนให้ใช้ชนิด IEC 01 450/750 V.
- สายไฟฟ้ าคอนโทรลให้ ใ ช้ ช นิ ด 2C -17 AWG. “TWISTED PAIR SHIELDED”, IN EMT 1/2”
/IMC 1/2’’ กรณี ใช้ภายนอกอาคารหรื อบริ เวณที่มีความชื้น
- สายไฟฟ้ ารี โมทให้ใช้สายชนิด 2C-1 Sq.mm. “VCT”, IN EMT ½”
11.4.5 ขนาดสายไฟฟ้ าเมนสาหรับเครื่ องปรับอากาศ หากมิได้ระบุในแบบให้เลือกใช้ขนาดสายไฟฟ้ าที่รับ
กระแสได้ไม่ต่ากว่า 125% ของกระแสใช้งานเต็มที่ (FULL LOAD) และขนาดไม่เล็กกว่า 2.5 ตารางมิลลิเมตร
11.4.6 ขนาดสายไฟฟ้ าสาหรับมอเตอร์ปรับความเร็ วลม ให้ใช้สายไฟฟ้ าขนาดไม่เล็กกว่า 1.5 ตารางมิลลิเมตร
11.4.7 สายไฟฟ้ าคอนโทรลห้ามติดตั้งเกิน 1,000 เมตร
11.4.8 สายไฟฟ้ ารี โมทห้ามติดตั้งเกิน 500 เมตร
11.4.9 การติดตั้งระบบสายดินของตัวเครื่ องปรับอากาศที่เป็ นโลหะ ในการทางานปกติตอ้ งไม่มีกระแสไฟฟ้ า
ผ่าน (NON CURRENT - CARRYING METAL PARTS OF SYSTEM OF EQUIPMENT) ขนาดสายดินให้เป็ นไปตาม
มาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้ าสาหรับประเทศไทยหรื อที่กาหนดในแบบ
11.4.10 ท่อร้อยสายไฟฟ้ า ให้ใช้ผลิตภัณฑ์ที่ได้รับอนุญาตแสดงเครื่ องหมาย มอก.770-2533 ชนิดที่ 2

โครงการ : Gulf PD Visitor Center หน้า M - 39


รายละเอียดข้อกาหนดประกอบแบบ
งานวิศวกรรมระบบปรับอากาศและระบายอากาศ

11.4.11 การเดินสายไฟฟ้ า หากไม่ได้กาหนดไว้ ต้องเดินสายในท่อ EMT หรื อ IMC ขนาดและจานวนสายใน


ท่อ ให้เป็ นไปตามมาตรฐานของมาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้ าสาหรับประเทศไทยหรื อที่กาหนดในแบบ
11.4.12 การตัดต่อสายไฟฟ้ า ต้องทาในกล่องต่อสาย กล่องสวิตช์ หรื อรางเดินสายเท่านั้น ตาแหน่งที่ทาการต่อ
สายไฟฟ้ า ต้องอยูใ่ นตาแหน่งที่สามารถทาการตรวจสอบหรื อซ่อมบารุ งได้ง่าย
11.4.13 การเชื่อมต่อสายไฟฟ้ าขนาดไม่เกิน 10 ตารางมิลลิเมตร ให้ใช้ WIRE NUT หรื อ SCOTT LOCK ขนาด
โตกว่าให้ใช้ SPLIT BOLT หรื อ BOLT หรื อ SLEEVE พันด้วยเทปไฟฟ้ า ให้มีฉนวนเทียบเท่าฉนวนของสายไฟฟ้ า
11.4.14 การเดิ น สายไฟฟ้ าเข้า กับ มอเตอร์ ข องแฟนคอยล์ยูนิ ต หรื อ คอนเด็ น ซิ่ ง ยูนิ ต ให้ เ ดิ น ร้ อ ยสายใน
LIQUIDTIGHT FLEXIBLE METAL CONDUIT
11.4.15 ท่อร้อยสายไฟฟ้ า ที่เดินซ่อนไว้เหนือฝ้ าเพดาน หรื อเดินเกาะเพดาน หรื อฝังในผนังให้ใช้ท่อ EMT
11.4.16 ท่อร้อยสายไฟฟ้ า ที่เดินฝังในคอนกรี ตหรื อนอกอาคาร ให้ใช้ท่อ IMC

11.5 กำรปรับปริมำณอำกำศและกำรทดสอบ
11.5.1 เมื่ อ ติ ด ตั้ง ระบบปรั บ อากาศเสร็ จ เรี ย บร้ อ ยแล้ว ถ้า มี ร ะบบท่ อ ลมและหัว จ่ า ยลมแล้ว ผูร้ ั บ จ้า งจะ
ต้องปรับปริ มาณอากาศให้เท่ากับปริ มาณที่กาหนดไว้ในแบบ โดยที่ยอมให้มีค วามแตกต่างได้ไม่เกินร้อยละ 10 และ
อากาศที่ออกมาจากแต่ละหัวจ่าย จะต้องสมดุลกันทุกทิศทาง การปรับปริ มาณลมนั้นให้ปรับที่แผ่นของลมเลี้ยวหรื อ
อาจจะปรับที่ชุดแผ่นรับปริ มาณลมที่หวั จ่ายลมก็ได้ แต่ตอ้ งไม่ให้เกิดเสี ยงดัง
11.5.2 การทดสอบ ให้กระทาโดยตรวจวัดข้อมูลต่างๆ ทางวิศวกรรมที่สาคัญๆ เช่น ความดันของสารทาความ
เย็น กระแสไฟฟ้ าที่ใช้ของมอเตอร์ ทุกตัว ปริ มาณลมที่หวั จ่ายลมทุกหัว ปริ มาณลมรั่วจากท่อลม(LOW LEAK) อุณหภูมิ
ในห้องปรับอากาศ อุณหภูมิที่ออกจากคอยล์เย็น อุณหภูมิภายนอก อุณหภูมิก่อนเข้าและออกจากคอนเด็นซิ่ งยูนิต การ
ทางานของเทอร์ โมสแตท และสวิตช์คอนโทรลต่างๆ เป็ นต้น โดยผูร้ ับจ้างจะต้องดาเนิ นการทดสอบดังกล่าว โดยมี
ตัวแทนของผูว้ ่าจ้างมาทาการควบคุมและลงนามกากับแบบฟอร์ มการทดสอบ เพื่อเสนอต่อผูว้ ่าจ้าง ในการส่ งมอบงาน
ระบบปรับอากาศงวดสุ ดท้าย ค่าใช้จ่ายในการทดสอบ ซึ่งรวมถึงค่ากระแสไฟฟ้ า ผูร้ ับจ้างจะต้องเป็ นผูร้ ับผิดชอบทั้งสิ้น

11.6 กำรบำรุงรักษำเครื่องปรับอำกำศรำยปี ตลอดระยะเวลำรับประกัน 2 ปี


11.6.1 ความต้องการทัว่ ไป
ผูร้ ับจ้างต้องเสนอการบารุ งรักษาเครื่ องปรับอากาศรายปี ให้แก่ผวู ้ ่าจ้าง โดยต้องเข้าไปบริ การ 4 ครั้งต่อปี แบ่งเป็ น
การบริ การย่อย 2 ครั้งและการบริ การใหญ่ 2 ครั้งต่อปี และมีกาหนดระยะ 2 ปี
11.6.2 CHECK & CLEANING AIR FILTER / การบริ การย่อย

รำยกำร/ITEMS กำรดำเนินกำร / PROCESSING


FAN COIL UNIT (FCU) - ตรวจสอบการทางานของรี โมท
& - ล้างทาความสะอาดแผ่นกรองอากาศ (FILTER)
OUT DOOR UNIT (OAU) - วัดอุณหภูมิลมส่ง (SUPPLY AIR) และ ลมกลับ (RETURN AIR)
- ตรวจเช็คสภาพท่อน้ าทิ้งเบื้องต้น

โครงการ : Gulf PD Visitor Center หน้า M - 40


รายละเอียดข้อกาหนดประกอบแบบ
งานวิศวกรรมระบบปรับอากาศและระบายอากาศ

AIR HANDING UNIT - ตรวจสอบการทางานของรี โมท


(AHU) - ล้างทาความสะอาดแผ่นกรองอากาศ (FILTER)
- วัดอุณหภูมิลมส่ง (SUPPLY AIR) และ ลมกลับ (RETURN AIR)
- ตรวจเช็คสภาพท่อน้ าทิ้งเบื้องต้น
- ตรวจเช็คสภาพมอเตอร์
-ตรวจเช็คสภาพ Pulley&Belt
-ตรวจเช็คสภาพสายไฟและขั้วต่อไฟ (WIRING TERMINAL), วัดแรงดัน (VOLTAGE
และกระแส (AMPERE) ของมอเตอร์
-ตรวจเช็คสภาพสายไฟและขั้วต่อไฟของชุดขดลวดความร้อน (Electrical Heater)
-ตรวจเช็คค่าความต้านทานของ ชุดขดลวดความร้อน (Electrical Heater)
CONDENSING UNIT - ตรวจเช็คการทางานของมอเตอร์พดั ลม (FAN MOTOR), คอมเพรสเซอร์
(CDU) (COMPRESSOR), แมกเนติก (MAGNETIC CONTRACTOR), คาปาซิเตอร์พดั ลม
(CAPACITOR FOR FAN MOTOR)
- ตรวจเช็คสภาพสายไฟและขั้วต่อไฟ (WIRING TERMINAL), วัดแรงดัน (VOLTAGE
และกระแส (AMPERE)

11.6.3 CHECK & CLEANING HEAT EXCHANGER / การบริ การใหญ่


รำยกำร/ITEMS กำรดำเนินกำร / PROCESSING
FAN COIL UNIT (FCU) - ตรวจสอบการทางานของรี โมท
& - ล้างทาความสะอาดแผ่นกรองอากาศ (FILTER)
OUT DOOR UNIT (OAU) - ล้างแผงคอยล์เย็น (EVAPORATOR COIL) ด้วยปั๊มน้ าแรงดันสูง (HIGH
PRESSURE PUMP)
- เช็ดทาความสะอาดตัวเครื่ อง
- วัดอุณหภูมิลมส่ง (SUPPLY AIR) และ ลมกลับ (RETURN AIR)
- วัดอุณหภูมิห้อง (ROOM TEMP)
- ล้างทาความสะอาดถาดน้ าทิ้ง
- ทาความสะอาดชุดท่อน้ าทิ้ง (ดูดทาความสะอาดภายในท่อเพื่อลดการอุดตันภายใน
ท่อ)
- ตรวจเช็คสภาพท่อน้ าทิ้ง
AIR HANDING UNIT - ตรวจสอบการทางานของรี โมท
(AHU) - ล้างทาความสะอาดแผ่นกรองอากาศ (FILTER)

โครงการ : Gulf PD Visitor Center หน้า M - 41


รายละเอียดข้อกาหนดประกอบแบบ
งานวิศวกรรมระบบปรับอากาศและระบายอากาศ

- ล้างแผงคอยล์เย็น (EVAPORATOR COIL) ด้วยปั๊มน้ าแรงดันสูง (HIGH


PRESSURE PUMP)
- เช็ดทาความสะอาดตัวเครื่ อง
- วัดอุณหภูมิลมส่ง (SUPPLY AIR) และ ลมกลับ (RETURN AIR)
- วัดอุณหภูมิห้อง (ROOM TEMP)
- ล้างทาความสะอาดถาดน้ าทิ้ง
- ทาความสะอาดชุดท่อน้ าทิ้ง (ดูดทาความสะอาดภายในท่อเพื่อลดการอุดตันภายใน
ท่อ)
- ตรวจเช็คสภาพท่อน้ าทิ้ง
- ตรวจเช็คสภาพมอเตอร์
- ตรวจเช็คสภาพ Pulley&Belt
- ตรวจเช็คสภาพสายไฟและขั้วต่อไฟ (WIRING TERMINAL), วัดแรงดัน
(VOLTAGE และกระแส (AMPERE) ของมอเตอร์
-ตรวจเช็คสภาพสายไฟและขั้วต่อไฟของชุดขดลวดความร้อน (Electrical Heater)
-ตรวจเช็คค่าความต้านทานของ ชุดขดลวดความร้อน (Electrical Heater)
CONDENSING UNIT - ล้างทาความสะอาดตัวเครื่ องและแผงคอยล์ร้อน (CONDENSER COIL) ด้วยปั๊มน้ า
(CDU) แรงดันสูง (HIGH PRESSURE PUMP)
- ตรวจเช็คการทางานของมอเตอร์พดั ลม (FAN MOTOR), คอมเพรสเซอร์
(COMPRESSOR) , แมกเนติก (MAGNETIC CONTRACTOR), คาปาซิเตอร์พดั ลม
(CAPACITOR FOR FAN MOTOR)
- ตรวจเช็คสภาพสายไฟและขั้วต่อไฟ (WIRING TERMINAL), วัดแรงดัน
(VOLTAGE) และกระแส (AMPERE)
- ตรวจเช็คเสี ยงดังผิดปกติ
REFRIGERANT SYSTEM - วัดแรงดันน้ ายาด้านส่ง (DISCHARGE PRESSURE) และ ด้านกลับ (SUCTION
PRESSURE) ให้อยูใ่ นเกณฑ์มาตรฐาน
- ตรวจเช็คสภาพท่อน้ ายาและสภาพฉนวนเบื้องต้น (PIPING & INSULATOR)
- ทาการตรวจเช็ค คุณภาพของโดยรวมของระบบ พร้อมทั้งมีผลการรายงาน Pressure
ของน้ ายา การระบายอากาศของ CDU ค่าอุณหภูมิของ FCU ภายในห้อง

โครงการ : Gulf PD Visitor Center หน้า M - 42


รายละเอียดข้อกาหนดประกอบแบบ
งานวิศวกรรมระบบปรับอากาศและระบายอากาศ

11.7 กำรส่ งมอบ


ผู ้รั บ จ้า ง ต้อ งแนบรายการ และรายละเอี ย ดของการทดสอบ พร้ อ มทั้ง แสดงการติ ด ตั้ง จริ ง (ASBUILT
DRAWING) ทั้งระบบพร้อมทั้งคู่มือการใช้งาน หากระบบคอนโทรลเป็ นระบบพิเศษ หรื อมีขนาดใหญ่กว่า 15 ตันความ
เย็นจะต้องทา DIAGRAM แสดงวิธีการควบคุมการทางานของเครื่ องปรับอากาศ เคลือบด้วยพลาสติกใสติดไว้ที่ตคู้ วบคุม
และนาส่งมาพร้อมกับหนังสื อส่งมอบงานอีก อย่างน้อย 4 ชุด

โครงการ : Gulf PD Visitor Center หน้า M - 43


รายละเอียดข้อกาหนดประกอบแบบ
งานวิศวกรรมระบบปรับอากาศและระบายอากาศ

12. เครื่องปรับอำกำศแบบแยกส่ วน

12.1 ข้ อกำหนดทั่วไป
12.1.1 ขอบเขตของงาน
ผูร้ ับจ้างจะต้องดาเนินการจัดหาและติดตั้งระบบปรับอากาศ รวมทั้งวัสดุและอุปกรณ์ประกอบที่แสดง
หรื อระบุในแบบและในข้อกาหนดประกอบแบบ เครื่ องปรับอากาศ วัสดุ และอุปกรณ์ประกอบทั้งหมดที่นามาติดตั้ง
จะต้องเป็ นของใหม่ที่ไม่เคยผ่านการใช้งานมาก่อน พร้อมทั้งทาการทดสอบการทางานของระบบปรับอากาศให้ใช้งาน
ได้สมบูรณ์ ถูกต้องตามความประสงค์ของแบบและโครงการ
12.1.2 คุณสมบัติของผูร้ ับจ้างติดตั้งระบบปรับอากาศและผลิตภัณฑ์เครื่ องปรับอากาศ
12.1.2.1 ผูร้ ั บจ้างติ ดตั้งระบบปรั บอากาศจะต้องติ ดตั้งระบบปรั บอากาศรวมทั้งระบบไฟฟ้ าของ
ระบบปรับอากาศโดยช่างผูช้ านาญ และมีวิศวกรเครื่ องกลผูช้ านาญเป็ นผูค้ วบคุมการติดตั้ง อีกทั้งระบบปรับอากาศและ
ผลิตภัณฑ์เครื่ องปรับอากาศที่เสนอใช้ในโครงการจะต้องเป็ นยี่ห้อที่ใช้แพร่ หลายในประเทศไทยมาแล้วไม่นอ้ ยกว่า 15 ปี
และคิดเป็ นจานวนตันความเย็นไม่นอ้ ยกว่า 5,000 ตันความเย็น
12.1.2.2 ผูร้ ับจ้างจะต้องเสนอรายละเอียดต่างๆ เพื่อประกอบการพิจารณา ดังต่อไปนี้
- แคตตาล็อกตัวจริ ง ที่แสดงรายละเอียดทางวิศวกรรมของตัวเครื่ องปรับอากาศ วัสดุ
และอุปกรณ์ต่างๆ ตามที่กาหนดในแบบ และรายการประกอบแบบทั้งหมด
- ก่ อ นเข้า ด าเนิ น การติ ด ตั้ง ให้ ผู ้รั บ จ้า งเสนอแบบรายละเอี ย ดการติ ด ตั้ง (SHOP
DRAWING) มาให้ ผู ้ค วบคุ ม งานหรื อวิ ศ วกรผู ้อ อกแบบ เพื่ อ ตรวจสอบก่ อ น
ดาเนินการติดตั้ง โดยต้องแนบสาเนาใบประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุมของวิศวกร
เครื่ องกลที่ควบคุมการติดตั้ง เพื่อประกอบการพิจารณาด้วย ในกรณี ที่ไม่เสนอแบบ
รายละเอียดการติดตั้ง (SHOP DRAWING) เพื่อขออนุมตั ิ จะไม่ได้รับอนุญาตให้เข้า
ดาเนินการติดตั้ง
12.1.3 การดาเนินงาน
ผูร้ ับจ้างจะต้องใช้วิศวกรเครื่ องกลที่มีใบประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุมของวิศวกร ซึ่งเป็ นบุคลากร
ของบริ ษทั เอง มาทาการควบคุมการติดตั้งหรื อว่าจ้างผูท้ ี่มีความชานาญการติดตั้งมาควบคุมการติดตั้ง ตามแบบแปลนที่
ได้รับการอนุมตั ิเรี ยบร้อยแล้ว ผูร้ ับจ้างจะต้องจัดส่ งตัวอย่ างวัสดุที่จะใช้งานทุกอย่างมาขออนุมตั ิการใช้งาน จากวิศวกร
ผูอ้ อกแบบและผูค้ วบคุมงานก่อนทาการติดตั้ง
12.1.4 การรับประกันและการบารุ งรักษา
12.1.4.1 ผูร้ ับจ้างจะต้องรับประกันระบบปรับอากาศทั้งระบบ ที่ทาการติดตั้งเป็ นระยะเวลำ 2 ปี นับ
จากวันส่งมอบงานงวดสุ ดท้าย โดยระบบปรับอากาศจะต้องทางานได้ถูกต้องทุกประการ
12.1.4.2 ผูร้ ับจ้างจะต้องส่งช่างเข้าบริ การตรวจเช็คระบบและทาความสะอาดพร้อมปรับตั้งระบบทุก
3 เดือน หลังการส่งมอบงานและเปิ ดใช้งาน พร้อมจัดส่งเอกสารการตรวจเช็คให้ผวู ้ ่าจ้างรับรองการเข้าบริ การทุกครั้ง จน
ครบกาหนดการรับประกัน ตามข้อ 12.1.4.1
12.1.4.3 ในส่ วนของอุปกรณ์ Compressor (CDU) จะต้องมี การรั บประกันจากผูผ้ ลิ ตหรื อเจ้าของ
ผลิตภัณฑ์ ระยะเวลาที่รับประกันไม่นอ้ ยกว่า 5 ปี และชิ้นส่วนอื่นๆรับประกัน 2 ปี

โครงการ : Gulf PD Visitor Center หน้า M - 44


รายละเอียดข้อกาหนดประกอบแบบ
งานวิศวกรรมระบบปรับอากาศและระบายอากาศ

12.2 รำยละเอียดเครื่องปรับอำกำศ
เครื่ องปรับอากาศชุดหนึ่งๆ ประกอบด้วยเครื่ องระบายความร้อน (CONDENSING UNIT) ซึ่ งใช้คู่กนั กับเครื่ อง
เป่ าลมเย็น (FAN COIL UNIT) ทั้งชุด ประกอบมาเสร็ จเรี ยบร้อยจากโรงงานผูผ้ ลิตในต่างประเทศ หรื อประกอบภายใน
ประเทศ ภายใต้ลิขสิ ทธิ์ ของผลิต ภัณฑ์น้ นั โดยที่เครื่ องระบายความร้อนเป็ นแบบระบายความร้อนด้วยอากาศ (AIR-
COOLED CONDENSING UNIT) เมื่อใช้คู่กบั เครื่ องเป่ าลมเย็นตามที่ผูผ้ ลิตแนะนา และมีหลักฐานยืนยันแล้วจะต้อง
สามารถทาความเย็นรวม (MATCHING CAPACITY) ได้ตามข้อกาหนดในรายการอุปกรณ์ที่สภาวะอากาศเข้าคอยล์เย็น
ที่อุณหภูมิ 27 ºCDB, 19.5 ºCWB และอากาศก่อนเข้าคอยล์ร้อนที่อุณหภูมิ 35 oCDB และอุณหภูมิน้ ายาทางด้านดูดกลับ
(Saturated Suction Temperature) ไม่เกิน 7.2 ºC และใช้ระบบไฟฟ้ า 380 V/3 PHASE /50 Hz หรื อ 220 V/1 PHASE /50
Hz ตามที่กาหนดในแบบ สาหรับเครื่ องปรับอากาศ
เป็ นผลิตภัณฑ์ที่ได้รับรองมาตรฐานการผลิต มอก.1155 สาหรับชนิดเครื่ องปรับอากาศแบบแยกส่วน
เป็ นผลิตภัณฑ์ที่ตอ้ งสามารถต่อเข้ากับระบบควบคุมเครื่ องปรับอากาศส่ วนกลาง (VRV) ได้โดยไม่ตอ้ งติดตั้ง
อุปกรณ์เพิ่มเติม โดยเป็ นมาตรฐานจากผูผ้ ลิต

12.3 เครื่องระบำยควำมร้ อน (CONDENSING UNIT)


เป็ นแบบเป่ าลมร้ อนขึ้นด้านบนหรื อด้านข้าง ประกอบด้วย คอมเพรสเซอร์ ชนิ ด Sealed Hermetic Type หรื อ
Semi-Hermetic Type แบบ Rotary, Scroll หรื อตามที่กาหนดในแบบ และมีวงจรน้ ายาเป็ นแบบ Single หรื อ Dual Circuits
ใช้กบั ระบบน้ ายา R32 และระบบไฟฟ้ า 380 โวลต์ 3 เฟส 50 เฮิรตซ์ หรื อ 220 โวลต์ 1 เฟส 50 เฮิรตซ์ ตามมาตรฐาน
ผูผ้ ลิต โดยห้ามทาการดัดแปลงหรื อใช้หม้อแปลง แปลงแรงดันไฟฟ้ าอีกทีหนึ่ง รายละเอียดอื่นๆ มีดงั ต่อไปนี้
12.3.1 คอมเพรสเซอร์ แต่ละชุดต้องติดตั้งอยู่บนฐานที่แข็งแรง และมีลูกยางกันสะเทือนรองรับ ในขณะที่
เครื่ องระบายความร้อนกาลังทางาน จะต้องมีเสี ยงเงียบ ไม่รบกวนบริ เวณข้างเคียง
12.3.2 ตัวถังเครื่ องระบายความร้อน ทาด้วยเหล็กอาบสังกะสี หรื อเหล็กดา โดยมีความหนาไม่น้อยกว่า 0.6
มิลลิเมตร โดยพ่นสี กนั สนิ มและสี ภายนอกอย่างดี ตามมาตรฐานผูผ้ ลิต และต้องทนทานต่อสภาพแวดล้อมภายนอก
อาคารได้เป็ นอย่างดี
12.3.3 พัด ลมระบายความร้ อ นแบบ Propeller Type หรื อ Centrifugal Type ขับ ด้วยมอเตอร์ ชนิ ด Weather
Proof
12.3.4 แผงระบายความร้อน (Condensing coil) ทาด้วยทองแดง มีครี บระบายความร้อนทาด้วยอลูมิเนียมชนิด
Plate Fin Type อัดติดแน่นกับท่อด้วยวิธีกล จานวนครี บระบายความร้อนไม่น้อยกว่า 480 ครี บต่อเมตร (12 ครี บต่อนิ้ว)
เคลือบด้วย Chromate film และ Organic resin film หรื อ Hydrophilic silica gel หรื อเทียบเท่า เพื่อให้สามารถทนทานต่อ
สภาพแวดล้อมที่มีความเป็ นกรดและเกลือได้เป็ นอย่างดี
12.3.5 อุปกรณ์อื่นๆ ในเครื่ องระบายความร้อนมีดงั นี้
12.3.5.1 Thermal Overload Protection Devices for Compressor
12.3.5.2 Overload Protection for Fan Motor
12.3.5.3 Compressor Contactor
12.3.5.4 Hi/Low Pressure Sensor
12.3.5.5 Refrigerant Charging Port
12.3.5.6 Timer Delay Relay

โครงการ : Gulf PD Visitor Center หน้า M - 45


รายละเอียดข้อกาหนดประกอบแบบ
งานวิศวกรรมระบบปรับอากาศและระบายอากาศ

12.4 เครื่องเป่ ำลมเย็น (FAN COIL UNIT)


12.4.1 เครื่ องเป่ าลมเย็นแต่ละชุด จะต้องสามารถส่ งปริ มาณลมและให้ความดันลม (External Static Pressure)
ได้ไม่นอ้ ยกว่าที่ระบุในรายการอุปกรณ์
12.4.2 พัดลมเป่ าลมเย็นเป็ นแบบ CENTRIFUGAL BLOWER ลมเข้าได้ 2 ทาง (DWDI) พัดลมตัวเดียวหรื อ
สองตัว ตั้งอยู่บนช่องเปิ ดเดียวกัน มอเตอร์ ขบั พัดลมที่มีขนาดใหญ่กว่า 1 แรงม้าขึ้นไป ต้องมีเครื่ องช่วยสตาร์ ทแบบ
DIRECT-ON-LINE STARTER หรื อตามที่กาหนดในแบบ
12.4.3 มอเตอร์ ข ับ พัด ลมแบบ DIRECT-DRIVE หรื อ ผ่ า นสายพาน มู่ เ ล่ ย ์ ตัว ขับ เป็ นแบบปรั บ ความเร็ ว
สายพานได้ ตัวพัดลมจะต้องได้รับการตรวจหรื อปรับทางด้าน STATICALLY และ DYNAMICALLY BALANCED
มาแล้วจากโรงงานผูผ้ ลิต
12.4.4 ตัวถังเครื่ องเป่ าลมเย็น ทาด้วยเหล็กอาบสังกะสี หรื อเหล็กดาพ่นสี กันสนิ ม และสี ภายนอกอย่างดี
ภายในตัวเครื่ องบุดว้ ยฉนวน NEOPRENE COATED FIBER-GLASS ถาดรองน้ าทิ้งบุดว้ ยฉนวนกันความร้อน ประกอบ
มาเสร็ จเรี ยบร้อยจากโรงงานผูผ้ ลิต
12.4.5 แผงคอยล์เย็นเป็ นแบบ DIRECT EXPANSION COIL ทาด้วยทองแดง มีครี บระบายความร้อนทาด้วย
อะลูมิเนียมชนิด PLATE FIN TYPE อัดติดแน่ นกับท่อด้วยวิธีกล และแผงคอยล์เย็นแต่ละชุด จะต้องสามารถจ่ายความ
เย็นได้ตามขนาดของเครื่ องระบายความร้อนแต่ละชุดตามข้อกาหนด
12.4.6 อุปกรณ์ประกอบของเครื่ องเป่ าลมเย็นมีดงั ต่อไปนี้
ก. THERMOSTATIC EXPANSION VALVE และSOLENOID VALVE (เฉพาะสาหรับเครื่ องขนาด
ตั้งแต่ 5 ตันความเย็นขึ้นไป)
ข. CAPILLARY TUBE (อาจใช้สาหรับเครื่ องขนาด ตั้งแต่ 5 ตันความเย็นลงมา)
ค. OVERLOAD PROTECTION FOR FAN MOTOR
ง. DRAIN AND DRAIN PAN
จ. ½ INCH THICK CLEANABLE TYPE AIR FILTER (ALUMINIUM TYPE)
12.4.7 เครื่ องส่ งลมเย็นชนิ ดติดผนัง (Wall Type) ขนาดทาความเย็นตั้งแต่ 9,000 BTU/H ถึง 20,500 BTU/H
สามารถปรับแรงลมได้อย่างน้อย 3 ระดับ โดยมีระดังเสี ยงระหว่างการทางานที่ระดับแรงลมสูงที่สุดไม่เกิน 48 dB(A)
ที่เครื่ องปรับอากาศขนาดตั้งแต่ 9,000 BTU/H ถึง 15,000 BTU/H สามารถเดินท่อน้ ายาได้ไกลสู งสุ ด 15 เมตร และขนาด
ตั้งแต่ 18,000 BTU/H ขึ้นไปสามารถเดินท่อน้ ายาได้ไกลสู งสุ ด 30 เมตร และต้องมีอตั ราส่ วนประสิ ทธิ ภาพพลังงานตาม
ฤดูกาล SEER ต้องไม่นอ้ ยกว่า 20 หน่วย หรื อตามที่ระบุในแบบ
12.4.8 เครื่ องส่ งลมเย็นชนิ ดฝั งในฝ้ า (CASSETTE TYPE) ขนาดทาความเย็นตั้งแต่ 9,000 BTU/H ถึ ง 48,000
BTU/H สามารถปรับแรงลมได้อย่างน้อย 3 ระดับโดยมีระดังเสี ยงระหว่างการทางานที่ระดับแรงลมสู งที่สุดไม่เกิน 46
dB(A)ที่เครื่ องปรับอากาศขนาดไม่เกิน 24,000 BTU/H สามารถเดินท่อน้ ายาได้ไกลสู งสุ ด 30 เมตร และที่ขนาดทาความ
เย็นเกิ นกว่า 24,000 BTU/H สามารถเดิ นท่อน้ ายาได้ไกลสู งสุ ด 50 เมตร ต้องมี อตั ราส่ วนประสิ ทธิ ภาพพลังงานตาม
ฤดูกาล SEER กรณี ขนาดไม่เกิ น 18,000 บี ทียูต่อชั่วโมง ต้องไม่น้อยกว่า 20 หน่ วย และกรณี ขนาดมากกว่า 18,001-
48,000 บีทียตู ่อชัว่ โมง ต้องไม่นอ้ ยกว่า 15 หน่วย หรื อตามที่ระบุในแบบ
12.4.9 เครื่ องส่งลมเย็นชนิดแขวนใต้ฝ้า (CEILING SUSPENDED TYPE) ขนาดทาความเย็นตั้งแต่ 9,000 BTU/H
ถึง 48,000 BTU/H สามารถปรับแรงลมได้อย่างน้อย 2 ระดับโดยมีระดังเสี ยงระหว่างการทางานที่ระดับแรงลมสู งที่สุด

โครงการ : Gulf PD Visitor Center หน้า M - 46


รายละเอียดข้อกาหนดประกอบแบบ
งานวิศวกรรมระบบปรับอากาศและระบายอากาศ

ไม่เกิน 46 dB(A)ที่เครื่ องปรับอากาศขนาดไม่เกิน 24,000 BTU/H สามารถเดินท่อน้ ายาได้ไกลสู งสุ ด 30 เมตร และที่
ขนาดทาความเย็นเกินกว่า 24,000 BTU/H สามารถเดินท่อน้ ายาได้ไกลสู งสุ ด 50 เมตร ต้องมีอตั ราส่ วนประสิ ทธิ ภาพ
พลังงานตามฤดูกาล SEER กรณี ขนาดไม่เกิน 18,000 บีทียตู ่อชัว่ โมง ต้องไม่น้อยกว่า 21 หน่วย และกรณี ขนาดมากกว่า
18,001-48,000 บีทียตู ่อชัว่ โมง ต้องไม่นอ้ ยกว่า 14 หน่วย หรื อตามที่ระบุในแบบ
12.4.10 เครื่ องส่ งลมเย็นชนิ ดซ่ อนใต้ฝ้า (CEILING DUCT TYPE) ขนาดทาความเย็นตั้งแต่ 9,000 BTU/H ถึ ง
48,000 BTU/H สามารถปรับแรงลมได้อย่างน้อย 3 ระดับโดยมีระดังเสี ยงระหว่างการทางานที่ระดับแรงลมสู งที่สุดไม่
เกิน 40 dB(A) และสามารถปรับ Step Static Pressure ได้ต้ งั แต่ (30PA-130PA) เพื่อให้ง่ายต่อการปรับตั้งเครื่ องกับงาน
ระบบท่อลม ที่เครื่ องปรับอากาศขนาดไม่เกิน 24,000 BTU/H สามารถเดินท่อน้ ายาได้ไกลสูงสุ ด 30 เมตร และที่ขนาดทา
ความเย็นเกินกว่า 24,000 BTU/H สามารถเดินท่อน้ ายาได้ไกลสูงสุ ด 50 เมตร ต้องมีอตั ราส่วนประสิ ทธิภาพพลังงานตาม
ฤดูกาล SEER กรณี ขนาดไม่เกิ น 18,000 บี ทียูต่อชั่วโมง ต้องไม่น้อยกว่า 20 หน่ วย และกรณี ขนาดมากกว่า 18,001-
48,000 บีทียตู ่อชัว่ โมง ต้องไม่นอ้ ยกว่า 15 หน่วย หรื อตามที่ระบุในแบบ
12.4.11 รุ่ นที่ใช้ในโครงการต้องสามารถต่อเข้ากับระบบควบคุมเครื่ องปรับอากาศส่ วนกลาง (VRV) ได้โดยไม่
ต้องติดตั้งอุปกรณ์เพิ่มเติม โดยเป็ นมาตรฐานจากผูผ้ ลิต

12.5 กำรบำรุงรักษำเครื่องปรับอำกำศรำยปี ตลอดระยะเวลำรับประกัน 2 ปี


12.5.1 ความต้องการทัว่ ไป
ผูร้ ับจ้างต้องเสนอการบารุ งรักษาเครื่ องปรับอากาศรายปี ให้แก่ผวู ้ ่าจ้าง โดยต้องเข้าไปบริ การ 4 ครั้งต่อปี แบ่งเป็ น
การบริ การย่อย 2 ครั้งและการบริ การใหญ่ 2 ครั้งต่อปี และมีกาหนดระยะ 2 ปี
12.5.2 CHECK & CLEANING AIR FILTER / การบริ การย่อย
รำยกำร/ITEMS กำรดำเนินกำร / PROCESSING
FAN COIL UNIT (FCU) - ตรวจสอบการทางานของรี โมท
- ล้างทาความสะอาดแผ่นกรองอากาศ (FILTER)
- วัดอุณหภูมิลมส่ง (SUPPLY AIR) และ ลมกลับ (RETURN AIR)
- ตรวจเช็คสภาพท่อน้ าทิ้งเบื้องต้น
CONDENSING UNIT - ตรวจเช็คการทางานของมอเตอร์พดั ลม (FAN MOTOR), คอมเพรสเซอร์
(CDU) (COMPRESSOR), แมกเนติก (MAGNETIC CONTRACTOR), คาปาซิเตอร์พดั ลม
(CAPACITOR FOR FAN MOTOR)
- ตรวจเช็คสภาพสายไฟและขั้วต่อไฟ (WIRING TERMINAL), วัดแรงดัน (VOLTAGE)
และกระแส (AMPERE)

โครงการ : Gulf PD Visitor Center หน้า M - 47


รายละเอียดข้อกาหนดประกอบแบบ
งานวิศวกรรมระบบปรับอากาศและระบายอากาศ

12.5.3 CHECK & CLEANING HEAT EXCHANGER / การบริ การใหญ่


รำยกำร/ITEMS กำรดำเนินกำร / PROCESSING
FAN COIL UNIT (FCU) - ตรวจสอบการทางานของรี โมท
- ล้างทาความสะอาดแผ่นกรองอากาศ (FILTER)
- ล้างแผงคอยล์เย็น (EVAPORATOR COIL) ด้วยปั๊มน้ าแรงดันสูง (HIGH
PRESSURE PUMP)
- เช็ดทาความสะอาดตัวเครื่ อง
- วัดอุณหภูมิลมส่ง (SUPPLY AIR) และ ลมกลับ (RETURN AIR)
- วัดอุณหภูมิห้อง (ROOM TEMP)
- ตรวจเช็คสภาพท่อน้ าทิ้งเบื้องต้น
CONDENSING UNIT - ล้างทาความสะอาดตัวเครื่ องและแผงคอยล์ร้อน (CONDENSER COIL) ด้วยปั๊มน้ า
(CDU) แรงดันสูง (HIGH PRESSURE PUMP)
- ตรวจเช็คการทางานของมอเตอร์พดั ลม (FAN MOTOR), คอมเพรสเซอร์
(COMPRESSOR) , แมกเนติก (MAGNETIC CONTRACTOR), คาปาซิเตอร์พดั ลม
(CAPACITOR FOR FAN MOTOR)
- ตรวจเช็คสภาพสายไฟและขั้วต่อไฟ (WIRING TERMINAL), วัดแรงดัน
(VOLTAGE) และกระแส (AMPERE)
- ตรวจเช็คเสี ยงดังผิดปกติ
REFRIGERANT SYSTEM - วัดแรงดันน้ ายาด้านส่ง (DISCHARGE PRESSURE) และ ด้านกลับ (SUCTION
PRESSURE) ให้อยูใ่ นเกณฑ์มาตรฐาน
- ตรวจเช็คสภาพท่อน้ ายาและสภาพฉนวนเบื้องต้น (PIPING & INSULATOR)
12.6 กำรส่ งมอบ
ผู ้รั บ จ้า ง ต้อ งแนบรายการ และรายละเอี ย ดของการทดสอบ พร้ อ มทั้ง แสดงการติ ด ตั้ง จริ ง (ASBUILT
DRAWING) ทั้งระบบพร้อมทั้งคู่มือการใช้งาน หากระบบคอนโทรลเป็ นระบบพิเศษ จะต้องทา DIAGRAM แสดง
วิธีการควบคุมการทางานของเครื่ องปรับอากาศ เคลือบด้วยพลาสติกใสติดไว้ที่ตูค้ วบคุม และนาส่ งมาพร้อมกับหนังสื อ
ส่งมอบงานอีก อย่างน้อย 4 ชุด

โครงการ : Gulf PD Visitor Center หน้า M - 48


รายละเอียดข้อกาหนดประกอบแบบ
งานวิศวกรรมระบบปรับอากาศและระบายอากาศ

13. พัดลมระบำยอำกำศ (VENTILATION AND EXHAUST FANS)

13.1 ควำมต้ องกำรทั่วไป


13.1.1 พัดลมระบายอากาศต้องเป็ นรุ่ นมาตรฐาน (Standard Model) ของผูผ้ ลิตที่ออกแบบมาสาหรับใช้กบั ระบบ
ไฟฟ้ า 50 เฮิร์ท และมีความสามารถในการระบายอากาศได้ไม่นอ้ ยกว่าข้อกาหนดในรายการอุปกรณ์
13.1.2 Gravity Shutter ต้องเป็ นแบบที่ทนทานต่อการใช้งานภายนอกอาคารได้เป็ นอย่างดี (Weather Proof) ใบ
ปิ ด-เปิ ด ทาด้วยเหล็กพ่นสี หลายใบเรี ย งซ้อนกันประกอบอยู่ในโครงเหล็กแข็งแรง ปลายใบในส่ วนที่ปิดซ้อนกันต้อง
แนบสนิท สามารถป้ องกันลมและฝนภายนอกไม่ให้ ผ่านเข้าในอาคารได้
13.1.3 โดยทั่ว ไปความดัง ของเสี ย ง (Sound Pressure Level) จะต้อ งไม่ เ กิ น 65 dBA (RE 10-12 WATTS) ที่
OCTAVE BAND 2-8 และสาหรับพัดลมที่ติดตั้งในลักษณะ Freeblow จะต้องดังไม่เกิน 50 dB(A) (RE 10-12 WATTS)
ที่ Octave Band 2-8 ที่ระยะ 1.5 เมตรจากพัดลม ถ้าหากเสี ยงดังเกินกว่านี้จะต้องติดตั้ง อุปกรณ์เก็บเสี ยงที่เหมาะสมเพื่อ
ลดระดับเสี ยงให้อยูใ่ นระดับที่เทียบเท่ากันนี้
13.1.4 ถ้าไม่ได้ระบุเป็ นอย่างอื่น มอเตอร์ ที่ใช้ขบั เคลื่ อนพัดลมผ่านชุ ดสายพานขับเคลื่ อนเป็ นแบบ TEFC,
Squirrel cage, Induction motorใช้กับ ระบบไฟฟ้ า 380 โวลท์ 3 เฟส 50 เฮิ ร์ ท หรื อ 220 โวลท์ 1 เฟส 50 เฮิ ร ท์ ตามที่
ก าหนดในแบบมาตรฐาน IEC , Synchronous speed 1,450 RPM, Insulation Class B, Degree of Protection ไม่ ต่ า กว่ า
IP55, Mounting Arrangement จะต้องเป็ นแบบประสิ ทธิภาพสูง (IE3) และเหมาะสมกับลักษณะการติดตั้งพัดลม
13.1.5 พัดลมผ่านการรับรองตามมาตรฐาน AMCA หรื อ JIS STANDARD

13.2 พัดลมแบบ CENTRIFUGAL


13.2.1 ตัวถัง (Casing) ทาด้วยเหล็กกล้า (Mild Steel) ความหนาของ Casing ต้องไม่ต่ากว่าข้อกาหนดดังนี้
เส้นผ่าศูนย์กลางใบพัด ไม่เกิน 9 นิ้ว Side 1.0 มม. Scroll 0.6 มม.
เส้นผ่าศูนย์กลางใบพัด 12-15 นิ้ว Side 1.2 มม. Scroll 1.0 มม.
เส้นผ่าศูนย์กลางใบพัด 18-24 นิ้ว Side 1.6 มม. Scroll 1.2 มม.
เส้นผ่าศูนย์กลางใบพัด 27-36 นิ้ว Side 2.3 มม. Scroll 2.3 มม.
เส้นผ่าศูนย์กลางใบพัด 42 นิ้วขึ้นไป Side 3.2 มม. Scroll 2.3 มม.
Side Plate ยึดต่อกันแบบ Continuous Weld Seam อย่างต่อเนื่องตลอดแนวตะเข็บ ผ่านกรรมวิธี ป้ องกัน
สนิ ม และพ่ น สี ภ ายนอกตามมาตรฐานโรงงานผู ้ผ ลิ ต ได้รั บ การรั บ รองตามมาตรฐาน AMCA Standard ทั้ง Air
Performance และ Sound Performance
13.2.2 ใบพัด (Fan Wheel) เป็ นแบบ Backward หรื อ Forward Curve ท าด้ว ยเหล็ ก กล้า (Mild Steel) ผ่ า น
กรรมวิธีป้องกันสนิ มตามมาตรฐานโรงงานผูผ้ ลิต ชุดใบพัดมีการเสริ มความแข็งแรงไม่บิดเสี ยรู ปเนื่ องจากการเร่ ง
ความเร็ ว (Acceleration) และแรงดัน อากาศ ใบพัด ต้อ งได้รั บการปรั บสมดุ ล ย์ท้ งั ในขณะ หยุด นิ่ ง และขณะหมุน
(Statically and Dynamically Balanced) มาจากโรงงานผูผ้ ลิต
13.2.3 การประกอบใบพัด ต้องเชื่อมใบพัดติดกับตัวโครง ด้วยการเชื่อมตลอดแนวตะเข็บเพื่อให้ใบพัดไม่เสี ย
รู ปตลอดอายุการใช้งาน

โครงการ : Gulf PD Visitor Center หน้า M - 49


รายละเอียดข้อกาหนดประกอบแบบ
งานวิศวกรรมระบบปรับอากาศและระบายอากาศ

13.2.4 ตลับลูกปื น (Bearing) เป็ นชนิด Ball Bearing หรื อ Pillow block แบบ Self Alignment มีอายุการใช้งาน
เฉลี่ย (Average Bearing Life, L10) ไม่นอ้ ยกว่า 20,000 ชัว่ โมง การอัดจาระบีสามารถทาได้โดยง่าย ตาแหน่งตลับลูกปื น
ของพัดลมที่ใช้ดูดควันหรื อไอน้ าจากห้องครัวจะต้องอยูด่ า้ นตรงข้ามปากทางดูดอากาศเข้า
13.2.5 ความเร็ วลมที่ปากพัดลม (Fan Outlet) ต้องไม่เกิน 10 เมตรต่อวินาที
13.2.6 สาหรับพัดลมที่ต้งั นอกอาคาร ตัวถังพัดลมต้องมีรูระบายน้ าที่อาจขังอยูภ่ ายในและมีปลัก๊ อุดไว้
13.2.7 ที่ ตัวถังพัดลมขนาดใหญ่ ที่ มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางใบพัดตั้งแต่ 30 นิ้ วขึ้นไป มี Access Door ไว้
สาหรับเปิ ดออกตรวจสอบทาความสะอาดภายในพัดลมได้โดยไม่ตอ้ งถอดท่อลม
13.2.8 สายพานที่ ใ ช้ข ับ เคลื่ อ น ต้อ งไม่ ต่ ากว่ า 2 เส้ น ติ ด ตั้ง โดยมี เ บลท์ก าร์ ดครอบด้า นนอกเพื่ อ ป้ องกัน
อันตราย โดย มอเตอร์ และ เบลท์การ์ ดติดตั้งอยูบ่ นฐานเดียวกับตัวพัดลม
13.3 พัดลมแบบ MINI SIROCCO
13.3.1 ตัวถัง (Casing) ทาด้วย Galvanized steel sheet ผ่านกรรมวิธี ป้ องกันสนิม ตามมาตรฐานโรงงานผูผ้ ลิต
13.3.2 ใบพัดเป็ น Centifugal Fan, forward curve ทาด้วย galvanized steel ได้รับการปรับสมดุลทั้งทาง Static
และ Dynamic ตามมาตรฐานโรงงานผูผ้ ลิต
13.3.3 พัดลมมีการทดสอบวัดค่าปริ มาณลม ตามมาตรฐาน JIS B 8330 หรื อ ตามมาตรฐาน AMCA
13.3.4 การขับเคลื่อนใบพัด เป็ นแบบ Direct Drive มอเตอร์ เป็ นแบบ Total-Enclosed, squirrel cage induction
motor รอบพัดลมไม่เกิน 1450 รอบต่อนาที เพื่อควบคุมระดับเสี ยงให้อยูใ่ นเกณฑ์ต่า
13.3.5 สามารถเลือกทิศทางการหมุน และ การต่อท่อลมได้ทุกทิศทางโดยไม่ตอ้ งดัดแปลงพัดลมมีหน้าแปลน
ทั้งด้านดูด และ ด้านจ่าย ที่ขนาดเท่ากัน เพื่อความสะดวกในการติดตั้ง
13.4 พัดลมแบบ LOW NOISE CABINET
13.4.1 ตัวถัง (Casing) ทาด้วยเหล็กแผ่น (Metal sheet) ผ่านกรรมวิธีป้องกันสนิมตามมาตรฐานโรงงานผูผ้ ลิต
ภายในบุดว้ ยฉนวนกันเสี ยง เพื่อช่วยดูดซับเสี ยงให้อยูใ่ นเกณฑ์ต่าเหมาะสมกับบริ เวณใช้งาน
13.4.2 ใบพัด เป็ นแบบ Forward Curve, Double Inlet ท าจากเหล็ก ผ่า นการปรั บ สมดุ ล ทั้ง ทาง Static และ
Dynamic จากโรงงานผูผ้ ลิต
13.4.3 พัดลมเป็ นแบบไหลตามแนวแกน (Inline Type) การขับเคลื่ อนเป็ นแบบ Direct Drive มอเตอร์ ตาม
มาตรฐานของผูผ้ ลิต
13.4.4 ระดับเสี ยงอยู่ในเกณฑ์ต่า พัดลมที่ ส่งลมไม่เกิน 500 CFM ที่ Free blow จะต้องมีระดับเสี ยงไม่เกิน 35
dB(A) และไม่เกิน 45 dB(A) สาหรับพัดลมที่ส่งลมไม่เกิน 3,000 CFM โดยวัดที่ระยะ 1.5 เมตรจากด้านข้างพัดลม
13.4.5 พัดลมต้องเป็ นชนิ ดที่ออกแบบมาสาหรับติดตั้งที่ฝ้าเพดานโดยเฉพาะ ซึ่ งมีเนื้ อที่ภายในจากัด ระดับ
ความสูงของพัดลม ไม่เกิน 45 เซนติเมตร

13.5 พัดลมระบำยอำกำศแบบ AXIAL FLOW DIRECT DRIVE


13.5.1 ตัวถัง (Casing) ทาด้วยเหล็กกล้าผ่านกรรมวิธีป้องกันสนิ มและพ่นสี ภายนอกตามมาตรฐานโรงงาน
ผูผ้ ลิต ได้รับการรับรองตามมาตรฐาน AMCA Standard ทั้ง Air Performance และ Sound Performance
13.5.2 ใบพัดลมเป็ นแบบ Air Foil ทาด้วยอลูมิเนียมอัลลอยด์ (Cast Aluminum Alloy Airfoil Blade) เป็ นชนิด
Adjustable Pitch สามารถปรับมุมองศาใบพัดได้ ผ่านการปรับสมดุลย์ท้งั ทาง Static และ Dynamic มาจากโรงงานผูผ้ ลิต

โครงการ : Gulf PD Visitor Center หน้า M - 50


รายละเอียดข้อกาหนดประกอบแบบ
งานวิศวกรรมระบบปรับอากาศและระบายอากาศ

13.5.3 การขับเคลื่อนใบพัดเป็ นแบบ Direct Drive มอเตอร์ 4,6,8 pole ตามมาตรฐาน (Standard Model) ของ
ผูผ้ ลิต โดยมอเตอร์เป็ นแบบ Totally Enclosed Air Over (TEAO) เพื่อลดกระแสหมุนวนที่เกิดจากใบพัดมอเตอร์
13.5.4 พัดลมควรมีประสิ ทธิภาพไม่นอ้ ยกว่า 70 %

13.6 พัดลมระบำยอำกำศแบบ COMPACT AXIAL FLOW FANS


13.6.1 ตัวถัง (Casing) ทาด้วยแผ่นเหล็ก ผ่านกรรมวิธี พ่นสี กนั สนิม ตามมาตรฐาน JIS G 3141 ของโรงงาน
ผูผ้ ลิต โดยออกแบบมาให้มีระดับเสี ยงต่า
13.6.2 ใบพัดทาด้วยอลูมิเนียม หรื อ พลาสติกทนความร้อน ผ่านการปรับการปรับสมดุลย์ท้ งั ทาง Static และ
Dynamic ตามมาตรฐานโรงงานผูผ้ ลิต
13.6.3 มอเตอร์ เป็ นชนิ ด 2 speed เพื่อให้สามารถเลื อกปรั บ ระดับความเร็ ว Hi-Lo ให้ปริ มาณลมใกล้เ คี ย ง
ข้อกาหนดมากที่สุด
13.6.4 พัดลมมีขายึดลักษณะ T groove ทั้ง 2 ด้าน เพื่อให้ง่ายต่อการติดตั้ง
13.6.5 การขับเคลื่อนใบพัด เป็ นแบบ Direct Drive รอบพัดลมไม่เกิน 1,500 รอบต่อนาที

13.7 พัดลมแบบ PROPELLER TYPE


13.7.1 ชนิด Commercial Type
13.7.1.1 ใบพัดและโครงทาด้วยพลาสติกทนความร้อนชนิดแข็ง (Polypropylene) พื้นผิวภายนอกทนต่อ
รอยขีดข่วนได้ดี มีลกั ษณะสวยงามเหมาะสมสาหรับใช้ในอาคารสานักงาน
13.7.1.2 มอเตอร์ เป็ นชนิด HP motor (Haft Pitch motor) เพื่อประหยัดพลังงาน และ เพิ่มประสิ ทธิ ภาพ
ของมอเตอร์ มีแบร์ ริ่งชนิดไม่ตอ้ งอัดจาระบีอยู่ภายในเพื่อลดแรงสัมผัสและยืดอายุการใช้งาน ขดลวดมอเตอร์ ผลิตตาม
มาตรฐาน UL อายุการใช้งานของมอเตอร์ ไม่นอ้ ยกว่า 60,000 ชัว่ โมง มี Thermo fuse ภายในเพื่อป้ องกันมอเตอร์เสี ยหาย
หากอุณหภูมิภายในมอเตอร์สูงผิดปกติ
13.7.1.3 มี Condenser Box เพื่อป้ องกันการลามไฟ สายไฟและปลัก๊ มีฉนวน 2 ชั้น ตามมาตรฐาน IEC
Standard
13.7.1.4 วัสดุ ทุกชิ้ นต้องได้ตามมาตรฐาน RoHS (Restriction of Hazardous Substances) เพื่อเป็ นมิตร
สิ่ งแวดล้อม
13.7.1.5 Gravity Shutter ติ ด ตั้ง ไว้ที่ ด้า นลมออกขณะพัด ลมหยุด หมุ น สามารถปิ ดได้ส นิ ท เป็ นแบบ
Multiblade Gravity Shutter
13.7.2 ชนิด Industrial Type
13.7.2.1 ใบพัดและโครงพัดลมทาจากเหล็กพ่นสี อย่างดี ตามมาตรฐานโรงงานผูผ้ ลิ ตใบพัดเป็ นแบบ
Wave shape เพื่อให้ระดับเสี ยงอยูใ่ นเกณฑ์ต่า
13.7.2.2 พัดลมสามารถใช้งานได้ท้งั Intake และ Exhuast ได้ โดยการกลับตาแหน่งใบพัด ก่อนการติดตั้ง
13.7.2.3 มอเตอร์ที่ใช้เป็ นแบบ Totally enclosed มี Thermo fuse ภายในเพื่อป้ องกันมอเตอร์เสี ยหายหาก
อุณหภูมิภายในมอเตอร์สูงผิดปกติ
13.7.2.4 Gravity Shutter ติ ด ตั้ง ไว้ที่ ด้า นลมออกขณะพัด ลมหยุด หมุ น สามารถปิ ดได้ส นิ ท เป็ นแบบ
Multiblade Gravity Shutter

โครงการ : Gulf PD Visitor Center หน้า M - 51


รายละเอียดข้อกาหนดประกอบแบบ
งานวิศวกรรมระบบปรับอากาศและระบายอากาศ

13.7.2.5 ระดับเสี ยงอยูใ่ นเกณฑ์ต่า พัดลมที่ส่งลมไม่เกิน 2500 CFM ที่ Free blow จะต้องมีระดับเสี ยงไม่
เกิน 50 dB(A) และไม่เกิน 55 dB(A) สาหรับพัดลมที่ส่งลมไม่เกิน 6000 CFM โดยวัดที่ระยะ 1.5 เมตรจากด้านข้างพัดลม
13.8 พัดลมระบำยอำกำศแบบ CEILING MOUNTED
13.8.1 พัดลมระบายอากาศแบบ CEILING MOUNTED STANDARD TYPE
13.8.1.1 ใบพัด เป็ นแบบ Centrifugal ลัก ษณะแบบ Taper blade เพื่ อ ช่ ว ยลดการหมุ น วนของอากาศ
โดยรอบ ให้ระดับเสี ยงต่า ทาจากพลาสติกแข็งทนความร้อน พร้อมทั้งมี Outlet Gravity Damper เพื่อป้ องกันลมไหล
ย้อนกลับ
13.8.1.2 ตัวถัง (Casing) เป็ นกล่อง 2 ชั้นเพื่อดูดซับเสี ยง กล่องชั้นนอกทาจากเหล็กพ่นสี หรื อ ZAM Alloy
ตามมาตรฐานโรงงานผูผ้ ลิต กล่องชั้นในทาจาก พลาสติกแข็งทนความร้อน
13.8.1.3 มีระดับเสี ยงอยู่ในเกณฑ์ต่า เพื่อไม่ให้เกิดเสี ยงรบกวนแก่ผอู ้ ยู่อาศัย พัดลมที่ส่งลมไม่เกิน 200
CFM จะต้องมีระดับเสี ยงไม่เกิน 35 dB(A) และไม่เกิน 50 dB(A) สาหรับพัดลมที่ส่งลมไม่เกิน 500 CFM โดยวัดที่ระยะ
1 เมตรจากพัดลม
13.8.1.4 พัดลมต้องเป็ นชนิดที่ออกแบบมาสาหรับติดตั้งที่ฝ้าเพดานโดยเฉพาะและสามารถถอดออกซ่อม
ได้โดยไม่ตอ้ งเปิ ดช่องบริ การ
13.8.1.5 มอเตอร์ เป็ นชนิด HP motor (Haft Pitch motor) เพื่อประหยัดพลังงาน และ เพิ่มประสิ ทธิ ภาพ
ของมอเตอร์ มีแบร์ ริ่งชนิดไม่ตอ้ งอัดจาระบีอยู่ภายในเพื่อลดแรงสัมผัสและยืดอายุการใช้งาน ขดลวดมอเตอร์ ผลิตตาม
มาตรฐาน UL อายุการใช้งานของมอเตอร์ ไม่น้อยกว่า 60,000 ชัว่ โมงมี Thermo fuse ภายในเพื่อป้ องกันมอเตอร์ เสี ยหาย
หากอุณหภูมิภายในมอเตอร์สูงผิดปกติ
13.8.1.6 มี Condenser Box เพื่อป้ องกันการลามไฟ สายไฟและปลัก๊ มีฉนวน 2 ชั้น ตามมาตรฐาน IEC
Standard
13.8.1.7 วัสดุ ที่ผลิ ตต้องได้ตามมาตรฐาน RoHS (Restriction of Hazardous Substances) เพื่อเป็ นมิ ตร
สิ่ งแวดล้อม
13.8.2 พัดลมระบายอากาศแบบ CEILING MOUNTED, SENSOR TYPE
13.8.2.1 ตัวถัง (Casing) เป็ นกล่อง 2 ชั้น ภายนอกทาจากเหล็กพ่นสี ตามมาตรฐานโรงงานผูผ้ ลิต ภายใน
ทาจากพลาสติกแข็งทนความร้อนเพื่อดูดซับเสี ยง ให้อยูใ่ นเกณฑ์ต่าเหมาะสมกับบริ เวณใช้งาน
13.9.2.2 ใบพัด เป็ นแบบ Centrifugal ท าจากพลาสติ ก แข็ง ทนความร้ อ น พร้ อ มทั้ง มี Outlet Gravity
Damper เพื่อป้ องกันลมไหลย้อนกลับ
13.8.2.3 มอเตอร์ เป็ น HP motor (Haft Pitch motor) หรื อ DC Motor (Direct Current Motor) มี Motion
sensor หรื อ Humidity sensor เพื่อสั่งการทางานของพัดลม
13.8.2.4 มี Delay timer เพื่อหน่วงเวลาการทางานได้ 15 นาที เพื่อให้มีอตั ราการระบายอากาศที่เหมาะสม
และประหยัดพลังงาน และ สอดคล้องกับมาตรฐาน ASHRAE 62.2
13.8.2.5 มี Condenser Box เพื่อป้ องกันการลามไฟ สายไฟและปลัก๊ มีฉนวน 2 ชั้น ตามมาตรฐาน IEC
Standard
13.8.2.6 วัสดุ ที่ผลิ ตต้องได้ตามมาตรฐาน RoHS (Restriction of Hazardous Substances) เพื่อเป็ นมิ ตร
สิ่ งแวดล้อม

โครงการ : Gulf PD Visitor Center หน้า M - 52


รายละเอียดข้อกาหนดประกอบแบบ
งานวิศวกรรมระบบปรับอากาศและระบายอากาศ

13.8.3 พัดลมระบายอากาศแบบ RECESSED FAN LIGHT


13.8.3.1 พัดลมดูดระบายอากาศชนิ ดฝังฝ้ า ซึ่ งมีหลอดไฟส่ องสว่างรวมอยู่ในชุดเดียวกัน โดยดูด
อากาศเข้าผ่านทางหลอดไฟ เพิ่มความสวยงามให้แก่บริ เวณใช้งาน เนื่องจากไม่มีหน้ากากพัดลมระบายอากาศ
13.8.3.2 ใบพัดเป็ นแบบ Centrifugal ลักษณะแบบ Taper blade เพื่อช่วยลดการหมุนวนของอากาศ
โดยรอบ ให้ระดับเสี ยงต่าสุ ด ทาจากพลาสติกแข็งทนความร้อน พร้อมทั้งมี Outlet Gravity Damper เพื่อป้ องกันลมไหล
ย้อนกลับ
13.8.3.3 ตัวถัง (Casing) เป็ นกล่องเหล็ก เพื่อความคงทนแข็งแรงและดูดซับเสี ยง ภายนอกพ่นสี ตาม
มาตรฐานโรงงานผูผ้ ลิต ทิศทาง
13.8.3.4 พัดลมต้องเป็ นชนิดที่ออกแบบมาสาหรับติดตั้งที่ฝ้าเพดานโดยเฉพาะและสามารถถอดออก
ซ่อมได้โดยไม่ตอ้ งเปิ ดช่องบริ การ
13.8.3.5 มอเตอร์ เป็ นชนิ ด HP motor (Haft Pitch motor) เพื่ อ ประหยั ด พลั ง งาน และ เพิ่ ม
ประสิ ทธิ ภาพของมอเตอร์ มีแบร์ ริ่งชนิ ดไม่ตอ้ งอัดจาระบีอยู่ภายในเพื่อลดแรงสัมผัสและยืดอายุการใช้งาน ขดลวด
มอเตอร์ผลิตตามมาตรฐาน UL อายุการใช้งานของมอเตอร์ ไม่นอ้ ยกว่า 60,000 ชัว่ โมงมี Thermo fuse ภายในเพื่อป้ องกัน
มอเตอร์เสี ยหายหากอุณหภูมิภายในมอเตอร์สูงผิดปกติ

13.9 ม่ ำนอำกำศ (AIR CURTAIN)


13.9.1 ม่านอากาศติดตั้งบริ เวณเหนือประตู โดยอาศัยความเร็ วลมที่เป่ าลงตรงบริ เวณประตู เพื่อให้เกิดความ
ดันแตกต่างของอากาศ ในบริ เวณหน้าประตู และ ปิ ดกั้นไม่ให้อากาศระหว่างภายในและภายนอกห้องเคลื่อนสู่ กนั โดย
ความเร็ วลมที่พ้นื ไม่นอ้ ยกว่า 2.5 เมตรต่อวินาที
13.9.2 โครงตัวถังภายในทาจากโลหะมีความแข็งแรง ตัวถังภายนอกทาด้วยพลาสติก มีความสวยงามสามารถ
ถอดได้ เพื่อตรวจสอบอุปกรณ์ใบพัด และมอเตอร์ได้ โดยสะดวก
13.9.3 พัดลมเป็ นแบบ Forward Curve Centrifugal fan
13.9.4 ใบพัด ลมเป็ นแบบ Self-cleaning cross flow without fan shroud ติ ด ตั้ง อยู่บ นแกนเพลาชุ ด เดี ย วกัน
ใบพัดลมทาจากพลาสติกชนิดแข็งทนความร้อนได้รับการถ่วงสมดุลทั้งทางด้าน Static และ Dynamic ความดังของเสี ยง
ไม่เกิน 56 dB(A)
13.9.5 มอเตอร์เป็ นแบบ 2 speed สามารถปรับระดับความเร็ วลม และ มีสวิตช์ ปิ ด- เปิ ด ที่ชุดพัดลม
13.9.6 มอเตอร์เป็ นชนิดที่ใช้กบั ระบบไฟฟ้ า 220 V, 1 PHASE, 50 Hz. ฉนวนไฟฟ้ า CLASS B

13.10 พัดลม JET FAN


13.10.1 พัดลมแบบ CENTRIFUGAL JET FAN (SLIM TYPE)
13.10.1.1 พัดลมเป็ นแบบ Jet Fan ผลิตสาเร็ จรู ปจากโรงงานผูผ้ ลิต ตัวถัง (Casing) ทาด้วยเหล็กกล้า
ผ่านกรรมวิธีกนั สนิมและพ่นสี ภายนอกตาม มาตรฐานโรงงานผูผ้ ลิต
13.10.1.2 มีการติดตั้งมอเตอร์ เหมาะสมกับขนาดพัดลม เพื่อให้สร้าง Velocity profile ได้ไม่น้อยกว่า
0.25 เมตรต่อวินาที และต้องปรับแรงลมเพื่อส่งลมได้ไกล 20 เมตร
13.10.1.3 ใบพัดลมต้องป็ นแบบ Centrifgal fan จานวน 2 ใบพัด ได้รับการปรับสมดุลทั้งทาง Static
และ Dynamic จากโรงงานผูผ้ ลิต

โครงการ : Gulf PD Visitor Center หน้า M - 53


รายละเอียดข้อกาหนดประกอบแบบ
งานวิศวกรรมระบบปรับอากาศและระบายอากาศ

13.10.1.4 พัดลมมีขายึดลักษณะ T- groove ทั้ง 2 ด้าน เพื่อให้ง่ายต่อการติดตั้ง


13.10.1.5 พัดลมต้องมีความสูง ไม่เกิน 15 ซม. เพื่อลดพื้นที่การติดตั้ง
13.10.1.6 การขับเคลื่อนใบพัดต้องเป็ นแบบ Direct Drive ปรับรอบพัดลมได้ต้งั แต่ 1500-2900 รอบ
ต่อนาที เพื่อให้สามารถควาบคุมแรงลมและระดับเสี ยงอยูใ่ นเกณฑ์ที่เหมาะสมกับการใช้งาน
13.10.1.7 มอเตอร์ และใบพัดลมต้องประกอบสาเร็ จรู ปจากโรงงาน ชนิดมอเตอร์ เป็ นแบบ EC motor
ใช้กบั ระบบไฟ 1 เฟส 50 เฮิรท์ 220 โวลท์ และ สามารถปรับความเร็ วรอบมอเตอร์ได้
13.10.2 พัดลมแบบ JET FAN AXIAL TYPE
13.10.2.1 ตัวถัง (Casing) ทาด้วยเหล็กกล้าพ่นสี หรื อเหล็กอาบสังกะสี ผ่านกรรมวิธีกนั สนิมและพ่น
สี ภายนอกตาม มาตรฐานโรงงานผูผ้ ลิต
13.10.2.2 ใบพัด (Fan Impeller) ทาด้วย Aluminium Alloy ได้รับการปรับสมดุลทั้งทาง Static และ
Dynamic มาจากโรงงานผูผ้ ลิต
13.10.2.3 ติดตั้งอุปกรณลดเสี ยง (Sound Attenuator) ทั้งทางเขาและทางออกของพัดลม โดยพัดลม
ต้องมี ความดังของเสี ยงที่ระยะ 1 เมตรไม่เกิน 71 dBA
13.10.2.4 มอเตอร์ ที่ ใ ช้ จ ะต้อ งมี Class of Protection ไม่ ต่ า กว่ า IP 55 ตลับ ลู ก ปื นเป็ นชนิ ด Ball
Bearing แบบ Self Alignment มีอายุการใช้งานเฉลี่ยไม่นอ้ ยกว่า L10 - 20,000 ชัว่ โมง การอัดจาระบีสามารถทาได้โดยง่าย
13.10.2.5 มอเตอร์ใช้กบั ระบบไฟฟา 380 โวลท์ 1 เฟส 50 เฮิรท์
13.10.2.6 ผูร้ ับจ้างจะต้องนาเสนอการจาลองการทางานของระบบระบายอากาศของลานจอดรถ
(Computational Fluid Dynamics) โดยใช้ขอมูลจาเพาะของผูผ้ ลิตพัดลมที่ต้องการเสนออนุ มตั ิ ให้ ผูอ้ อกแบบพิจารณา
จานวน, ตาแหน่ ง และยืนยันประสิ ทธิ ภาพการระบายอากาศในลานจอดรถแต่ ละชั้น ก่อนการเสนอรายละเอียดทาง
เทคนิคของพัดลมที่ตอ้ งการเสนอขออนุมตั ิ โดยผูร้ ับจ้างจะต้อง รับผิดชอบในการเพิ่มจานวน และ/หรื อปรับตาแหน่งพัด
ลมให้ได้ประสิ ทธิภาพในการระบายอากาศ ตามที่ผอู ้ อกแบบกาหนดไว้ แต่ตอ้ งไม่ต่ากว่าที่ระบุดงั นี้
13.10.2.7 ภายในที่จอดรถต้องมีความเข้มข้นของก๊าซคาร์ บอนมอนนอกไซด์ไม่เกิน 35 ppm นาน
ต่อเนื่องเกินหนึ่งชัว่ โมง และต้องไม่เกิน 120 ppm ไม่ว่าเวลาใดๆ โดยตรวจวัดที่ระดับความ สูงจากพื้น 0.90 – 1.20 เมตร
13.10.2.8 ระบบควบคุม Jet Fan ต้องเป็ นมาตรฐานของผูผ้ ลิต โดยจะต้องมีความสามารถอย่างน้อย
คือควบคุม Jet Fan แต่ละตัวได้ ควบคุม Jet Fan เป็ นกลุ่มได้ โดยผูผ้ ลิตต้องนาเสนอกลุ่มพัดลมเพื่อให้การ ทางานของ Jet
Fan สามารถเลือกให้ทางานตามโซนที่ตอ้ งการได้ โดยการใช้ CO sensor หรื อ Timer Control
13.10.2.9 ผูร้ ับจ้างต้องติดตั้งอุปกรณ์อุปกรณ์วดั ก๊าซคาร์ บอนมอนนอกไซด์ (CO) อย่างละชุดทุกๆ
พื้นที่ ไม่เกิน 700 ตารางเมตร และต้องสามารถส่ งข้อมูลไปยังระบบควบคุม Jet Fan เพื่อควบคุมการ ทางาน Jet Fan
ตามที่กาหนดไว้ได้

โครงการ : Gulf PD Visitor Center หน้า M - 54


รายละเอียดข้อกาหนดประกอบแบบ
งานวิศวกรรมระบบปรับอากาศและระบายอากาศ

14. ท่อสำรทำควำมเย็น ท่ อน้ำทิง้ และอุปกรณ์


14.1 ท่ อสำรทำควำมเย็น ท่ อน้ำทิง้ และอุปกรณ์
14.1.1 ท่อสารทาความเย็นให้ใช้ท่อทองแดง Hard Drawn Type L ผลิตตามมาตรฐาน ASTM B88 โดยมีขนาด
ไม่นอ้ ยกว่าที่ระบุในแบบ และดังตารางต่อไปนี้
ขนำดเส้ นผ่ำนศูนย์กลำงภำยนอก ชนิดของท่อทองแดง
6.4 มม. หรื อ ¼" O1 or ½ H
9.5 มม. หรื อ ⅜" O1 or ½ H
12.7 มม. หรื อ ½" O1 or ½ H
15.9 มม. หรื อ ⅝" O2 or ½ H
19.1 มม. หรื อ ¾" ½H
22.2 มม. หรื อ ⅞" ½H
25.4 มม. หรื อ 1" ½H
28.6 มม. หรื อ 1 ⅛" ½H
31.8 มม. หรื อ 1 ¼" ½H
34.9 มม. หรื อ 1 ⅜" ½H
38.1 มม. หรื อ 1 ½" ½H
41.3 มม. หรื อ 1 ⅝" ½H
หมายเหตุ
O1 = Soft Drawn (ท่อม้วน) ความหนาขั้นต่า 0.80 มิลลิเมตร
O2 = Soft Drawn (ท่อม้วน) ความหนาขั้นต่า 0.99 มิลลิเมตร
½ H = Hard Drawn (ท่อตรง) Type L
14.1.2 ข้อต่อทองแดงสามทางสาหรับแยกสารทาความเย็น ให้ใช้ Refnet Joint ซึ่ งจะมีลกั ษณะคล้ายตัว Y ซึ่ ง
สามารถแบ่งจ่ายสารทาความเย็นได้อย่างสม่าเสมอ ไม่อนุญาตให้ใช้ขอ้ ต่อสามทางรู ปตัว T ซึ่ งการแบ่งจ่ายสารทาความ
เย็นอาจจะไม่สม่าเสมอ
14.1.3 ท่อน้ าทิ้งใช้ท่อ PVC ตามมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุ ตสาหกรรม มอก. 17-2532 Class 8.5 และ Class 13.5
กรณี ติต้ งั ฝังใต้ดิน อุปกรณ์ขอ้ ต่อท่อจะต้องใช้ชนิดที่มีความหนาตามประเภทท่อที่ใช้ โดยท่อน้ าทิ้งต้องมีขนาดไม่น้อย
กว่าที่ระบุในแบบ
14.1.4 ข้อต่ออ่อนสาหรับระบบท่อน้ าทิ้ง ต้องติดตั้งทุกจุดที่ท่อน้ าทิ้งออกสู่ภายนอกอาคาร โดยให้ใช้เป็ นแบบ
Flexible Rubber Joint แบบ Insert Type รัดด้วย Stainless Clamp ด้านละ 2 ตัว หรื อแบบอื่นที่สามารถ ให้ระยะการเคลื่อน
ตัว(Lateral Movement) ได้ไม่น้อยกว่า 100 มิลลิเมตร โดยถ้าท่อเดินฝังใต้ดิน ให้ใช้เป็ นข้อต่ออ่อนชนิ ด Underground
โดยมีวงแหวนเหล็กเสริ มความแข็งแรง (Reinforced Ring) บริ เวณ Bellow เพื่อสามารถทนแรงกดทับของดินได้ลึกไม่
น้อยกว่า 1.5 เมตร โดยไม่เสี ยรู ป

โครงการ : Gulf PD Visitor Center หน้า M - 55


รายละเอียดข้อกาหนดประกอบแบบ
งานวิศวกรรมระบบปรับอากาศและระบายอากาศ

14.2 ฉนวนท่ อสำรทำควำมเย็น และท่ อน้ำทิง้


14.2.1 ท่อสารทาความเย็น และท่อน้ าทิ้งต้องหุ้มฉนวนเพื่อป้ องกันการเกิดหยดเหงื่อ (CONDENSATION)
และการประหยัดพลังงาน โดยใช้ฉนวนประเภท Closed cell EPDM Elastomeric Thermal Insulation ชนิดที่ไม่เป็ นเทอร์
โมพลาสติกและไม่ลามไฟ ฉนวนทาจากวัสดุที่ปราศจากสาร CFC และ Formaldehyde โดยมีคุณสมบัติดงั นี้
- วัสดุทาจาก EPDM
- อุณหภูมิการใช้งาน -57๐C ถึง 125๐C
- มีความหนาแน่น 3 – 5 lb/ft3หรื อ 48 – 80 kg/m3ตามมาตรฐาน ASTM D1667
- ค่าสัมประสิ ทธิ์การนาความร้อน ( Thermal Conductivity) 0.031 – 0.037 W/m.K
ที่อุณหภูมิเฉลี่ย -20๐C ถึง 40๐C ตามมาตรฐาน ASTM C177, ASTM C518
- มีค่าดูดซึมน้ าน้อยกว่า 10% โดยน้ าหนัก ตามมาตรฐาน ASTM D1056
- มีค่าแทรกซึมความชื้นน้อยกว่า 0.10 Perm-inch ตามมาตรฐาน ASTM E96
- ป้ องกันก๊าชโอโซน/UV ได้ตามมาตรฐาน ASTM D1171, ASTM G 154
- ไม่เป็ นเชื้อรา ตามมาตรฐาน UL181, ASTM C1338
- Fire Reting ไฟดับได้เอง และไม่เกิดหยดไฟ ตามมาตรฐาน ASTM D635 และ UL94
- ผ่านการรับรองค่าการปลดปล่อย Carbon Footprint For Product & Carbon Footprint Organization
จากองค์การบริ หารจัดการก๊าชเรื อนกระจก (องค์การมหาชน)
- ผ่านการรับรองมาตรฐาน UL Greenguard การปลดปล่อยค่าสารระเหยอินทรี ย ์ (Volatile Organic
Compound) ที่ต่ากว่า 1 mg/ m3 จากสถาบัน UL Environment ในระดับ Gold rating
14.2.2 ขนาดความหนาของฉนวนที่ใช้หุ้มจะต้องเพียงพอเพื่อป้ องกันการเกิดหยดเหงื่อ (Condensation) บน
ผิวฉนวน เมื่ อท่อน้ ายามี อุณหภูมิที่ผิวท่อ 6 OC และสภาพอากาศมี ความชื้ นที่ไม่เกิ น 85% RH ที่ อุณหภูมิห้อง 35 OC
ฉนวนที่ใช้ตอ้ งมีความหนาไม่นอ้ ยกว่าที่ระบุไว้ดงั นี้

รำยกำร ขนำดท่ อ ควำมหนำฉนวน


ท่อสารทาความเย็น ( REFRIGERANT PIPE ) - 3⁄ ” (19 mm.)
4
ท่อน้ าทิ้ง ไม่เกิน 3” 1⁄ ” (12.7 mm.)
2
( CONDEN SATE DRAIN PIPE ) 3” ขึ้นไป 3⁄ ” (19 mm.)
4

14.2.3 ในกรณี ที่สถานที่ก่อสร้างอยูใ่ นบริ เวณที่มีความชื้นสูง เช่น จังหวัดในภาคใต้ต้งั แต่ จังหวัดเพชรบุรีลง


มา หรื อบริ เวณริ มแม่น้ า ทะเลสาบ อ่างเก็บน้ า ทะเล และเป็ นพื้นที่ที่มีความชื้นสัมพัทธ์สูง ให้ใช้ความหนาของฉนวนไม่
น้อยกว่าที่ระบุไว้ดงั นี้

รำยกำร ขนำดท่ อ ควำมหนำฉนวน


ท่อสารทาความเย็น ( REFRIGERANT PIPE ) - 1” (25 mm.)
ท่อน้ าทิ้ง ไม่เกิน 3” 1⁄ ” (12.7 mm.)
2
( CONDEN SATE DRAIN PIPE ) 3” ขึ้นไป 3⁄ ” (19 mm.)
4

โครงการ : Gulf PD Visitor Center หน้า M - 56


รายละเอียดข้อกาหนดประกอบแบบ
งานวิศวกรรมระบบปรับอากาศและระบายอากาศ

14.3 ฉนวนท่ อสำรทำควำมเย็น ชนิดติดตั้งใต้ ดิน


ในกรณี ท่อติดตั้งใต้ดิน ติดตั้งในรางคอนกรี ตระดับดิน หรื อในพื้นที่ที่แบบกาหนดไว้ ท่อน้ ายาต้องหุ้ม
ฉนวนโฟมแข็ง Rigid PU Foam Pre-Insulated Pipe โดยมีรายละเอียดของฉนวนดังนี้
- งานระบบท่อที่ ตอ้ งรั กษาอุณหภูมิท่อที่ อยู่ภายนอกอาคารหรื ออยู่ใต้ดินจะต้องเป็ นระบบท่อหุ้มฉนวน
สาเร็ จรู ป (ชนิดของท่อภายใน เป็ นไปตามที่แบบระบุ)
- การหุ้มฉนวน เป็ นการหุ้มฉนวนสาเร็ จรู ปจากโรงงานผูผ้ ลิต โดยไม่มีช่องว่างอากาศระหว่างตัวท่อ
กับฉนวน และฉนวนต้องมีคุณสมบัติยึดเกาะติดแน่นกับท่อลาเลียงสาร
- ต้องมีใบรับรองผลการทดสอบจากองค์กรหรื อสถาบันที่เชื่อถือได้ ในเรื่ องต่างๆ ดังนี้ ค่าการนาความ
ร้อนของฉนวน (ค่า k), ผลการทดสอบสภาพการไหม้ไฟและการลามไฟได้ตามมาตรฐานความ
ปลอดภัยของวัสดุที่ใช้ภายในอาคาร และโรงงาน (Class 0), และในกรณี การเกิดอัคคีภยั ระบบท่อหุ้ม
ฉนวนต้องสามารถรองรับการเผาไหม้ได้ไม่นอ้ ยกว่า 2 ชม. ตามมาตรฐาน ASTM E119-05
- เปลือกหุ้มภายนอก (Outer Casing) เป็ นวัสดุโพลีอีธีรีนความหนาแน่นสูง (HDPE PIPE PE.80
PN.10, TIS 982-2556) สาหรับงานเดินท่อใต้ดิน หรื อเป็ นวัสดุโลหะสังกะสี แบบเกลียวล็อคตะเข็บ
(Galvanized Spiral) ความหนาอย่างต่า 0.45 มม. สาหรับงานภายนอกอาคารที่ไม่ได้ฝังใต้ดิน
- วัสดุที่เป็ นฉนวนเป็ นสูตรพิเศษ MDI โฟมโพลียรู ี เทนชนิดแข็ง ซึ่งถูกฉีดด้วยเครื่ องฉีดพิเศษเข้าไป
ในช่องว่างที่เป็ นวงรอบระหว่างท่อลาเลียงสารและเปลือกหุ้มภายนอก โดยฉีดครั้งเดียวจนสาเร็ จจาก
โรงงานผูผ้ ลิต และต้องมีคุณสมบัติดงั นี้
• ความหนาแน่นไม่ต่ากว่า 45 ก.ก./ลูกบาศก์เมตร (ASTM D 1622)
• ค่าสัมประสิ ทธิ์การนาความร้อน (K Value) = 0.022 W/m K
ที่ mean temperature 30 OC (Tested to ASTM C518)
• แรงอัด (Comperssive Strengrh) ไม่ต่ากว่า 285 kPa
• ปริ มาณเซลปิ ด (Closed Cell) ไม่ต่ากว่า 90% ของปริ มาตร
• การซึมผ่านความชื้น/ไอน้ า (ASTM E96 หรื อ DIN 52615)
1.8 x 10-5 metric perms (2.4x10-3 perm inch)
• ไม่ลามไฟ จัดอยูใ่ น Class 0 tested to BS476 : Part 7,
(Surface spread of flame test) and BS476 : Part 6 , (Fire propagation test)
• ในกรณี การเกิดอัคคีภยั ระบบท่อหุ้มฉนวนต้องสามารถรองรับการเผาไหม้ ไม่นอ้ ยกว่า 2
ชม. ตามมาตรฐาน ASTM E119-16a
• ความหนาของวัสดุฉนวนต้องสามารถป้ องกันการเกิด Condensation ภายใต้สภาวะ
อากาศ
[อุณหภูมิภายนอก 35 oC (95 oF) , Rh%:75 , Fluid Temp : 6 oC (43 oF)] , [อุณหภูมิ
ภายนอก 30 oC (86 oF) , Rh%:80 , Fluid Temp : 6 oC (43 oF)]

โครงการ : Gulf PD Visitor Center หน้า M - 57


รายละเอียดข้อกาหนดประกอบแบบ
งานวิศวกรรมระบบปรับอากาศและระบายอากาศ

ขนำดท่ อลำเลียงสำร ควำมหนำของฉนวน ขนำดท่ อลำเลียงสำร ควำมหนำของฉนวน


มม. นิว้ มม. นิว้ มม. นิว้ มม. นิว้
15 ½ 32 1¼ 150 6 39 1½
20 ¾ 32 1¼ 200 8 50 2
25 1 32 1¼ 250 10 50 2
32 1¼ 32 1¼ 300 12 50 2
40 1½ 32 1¼ 350 14 50 2
50 2 32 1¼ 400 16 50 2
65 2½ 32 1¼ 450 18 50 2
80 3 39 1½ 500 20 50 2
100 4 39 1½ 600 24 50 2
125 5 39 1½

การติดตั้ง ให้ติดตั้งตามวิธีการและข้อแนะนาของผูผ้ ลิตเท่านั้น สาหรับการติดตั้งฉนวนและปลอก (Jacket) จุด


เชื่อมต่อท่อตรง, วาล์ว และข้อต่อข้องอของท่อ สามารถทาที่หน้างาน โดยสารเคมีที่ใช้ในการผสมต้องเป็ นผลิตภัณฑ์จาก
ผูผ้ ลิตรายเดียวกับผูผ้ ลิตท่อหุ้มฉนวนสาเร็ จรู ปเท่านั้น

14.4 กำรดำเนินกำรหุ้มฉนวน
14.4.1 ฉนวนที่เลือกใช้อาจเป็ นแบบ Preformed Tube หรื อแบบ Sheet โดยเลือกใช้ตามความเหมาะสมของ
ความหนาของฉนวนและขนาดท่อ ซึ่ งรอยต่อของฉนวนจะต้องไม่มีรอยพับ รอยหักเกิดที่ดา้ นวงในของฉนวนที่หุ้มรอบ
ท่อ และรอยต่อจะต้องไม่เป็ นรอยบากรู ปตัววี ยกเว้น ท่อเล็กกว่าเส้นผ่าศูนย์กลาง 80 มม. (3 นิ้ว)
14.4.2 ก่อนการหุ้มฉนวน จะต้องทาความสะอาดผิวนอกของท่อเป็ นอย่างดี ไม่มีคราบ สะเก็ดวัสดุอื่นจับติดอยู่
ที่ทาให้ผิวท่อขรุ ขระรอยเชื่อมที่เป็ นคลื่นมากต้องแต่งให้เรี ยบ
14.4.3 ใช้กาวตามที่ ผูผ้ ลิ ตฉนวนชนิ ดนั้นแนะนา ทาตรงรอยต่อของฉนวนติ ดให้สนิ ทไม่มีรอยปริ รอยต่อ
จะต้องได้แนวเรี ยบร้อยไม่เอียงหรื อคด ฉนวนที่หุ้มตัวอุปกรณ์ต่ างๆ จะทากาวที่ผิวฉนวนให้ติดสัมผัสกับผิวอุปกรณ์
ไม่ให้มีโพรงอากาศ และหุ้มทับให้เข้ารู ปอย่างเรี ยบร้อย
14.4.4 ฉนวนที่หุ้มแล้วจะต้องมีความตึงพอดี ไม่หย่อนหรื อตึงจนสังเกตได้ชดั ฉนวนแบบ Preformed Tube ที่
ใช้ ห้ามไม่ให้มีขนาดใหญ่กว่าท่อที่จะหุ้ม และหากต้องทาสี ที่ผิวฉนวนยางให้ใช้สีที่ผผู ้ ลิตฉนวนแนะนาเท่านั้น
14.4.5 ท่ อ ภายในอาคารติ ด ตั้ง บริ เ วณมี ฝ้ าเพดาน ท่ อ ต้อ งหุ้ ม ด้ว ยฉนวนยางประเภท Closed Cell EPDM
Elastomeric Thermal Insulation หุ้มด้วยอลูมิเนียมฟอยล์ปิดภายนอก สาเร็ จรู ปจากโรงงานผูผ้ ลิต
14.4.6 ท่อภายในอาคารติดตั้งบริ เวณไม่มีฝ้าเพดานหรื อผนังปิ ด ท่อต้องหุ้มด้วยฉนวนยางประเภท Closed Cell
EPDM Elastomeric Thermal Insulation หุ้มด้วยอลูมิเนี ยมฟอยล์ปิดภายนอก สาเร็ จรู ปจากโรงงานผูผ้ ลิต และหุ้มด้ วย
Aluminium Jacketing เบอร์ 22 อีกชั้นหนึ่ง
14.4.7 ท่อภายนอกอาคารติดตั้งบริ เวณพื้นที่ ที่สัมผัสอากาศภายนอก, แสงแดดและน้ า ท่อต้องหุ้มด้วยฉนวน
ยางประเภท Closed Cell EPDM Elastomeric Thermal Insulation หุ้ ม ด้วยอลู มิ เ นี ย มฟอยล์ปิดภายนอก สาเร็ จ รู ป จาก
โรงงานผูผ้ ลิต และหุ้มด้ วย Aluminium Jacketing เบอร์ 22 อีกชั้นหนึ่ง

โครงการ : Gulf PD Visitor Center หน้า M - 58


รายละเอียดข้อกาหนดประกอบแบบ
งานวิศวกรรมระบบปรับอากาศและระบายอากาศ

14.4.8 ท่อภายนอกอาคารติดตั้งบริ เวณ CDU YARD ท่อต้องหุ้มด้วยฉนวนยางประเภท Closed Cell EPDM


Elastomeric Thermal Insulation หุ้มด้วยอลูมิเนียมฟอยล์ปิดภายนอก สาเร็ จรู ปจากโรงงานผูผ้ ลิต ติดตั้งในราง CABLE
TRAY (HOT-DIP GALVANIZE หนาไม่น้อยกว่า 2 mm.) ปิ ดด้วย CHECKER PLATE (HOT-DIP GALVANIZE) ทา
slope กันน้ าขัง
14.4.9 ท่อภายนอกอาคารติดตั้งใต้ดิน ติดตั้งในรางคอนกรี ตระดับดิน หรื อในพื้นที่ที่แบบกาหนดไว้ ท่อน้ ายา
ต้องหุ้มฉนวนโฟมแข็ง Rigid PU Foam Pre-Insulated Pipe เปลือกนอกหุ้มด้วย HDPE หรื อโลหะสังกะสี

14.5 กำรดำเนินกำรติดตั้งท่ อ
14.5.1 การติดตั้งท่อสารทาความเย็น จะต้องเดินให้ขนานหรื อได้ฉากกับตัวอาคาร หรื อตามแนวในแบบ ใน
ส่ วนที่ผ่านคาน กาแพง หรื อพื้น จะต้องมีการวางปลอก (SLEEVE) ถ้าปลอกติดตั้งในส่ วนที่ติดกับด้านนอกของอาคาร
จะต้องอุดช่องว่างระหว่างท่อสารทาความเย็นและปลอกด้วยวัสดุ ยาง หรื อวัสดุ อื่นที่เทียบเท่า พร้อมทั้งตกแต่งอย่าง
เรี ยบร้อย และท่อสารทาความเย็นต้องยึดอยู่กบั อุปกรณ์รองรับอย่างมัน่ คง ระบบการทางานของคอนเด็นซิ่ งยูนิตและ
เครื่ องส่ งลมเย็นจะต้องสามารถทาให้น้ ามันหล่อลื่นกลับไปที่คอมเพรสเซอร์ ได้โดยไม่เกิดปั ญหาต่อระบบ โดยไม่ตอ้ ง
ติดตั้ง OIL TRAP ที่ท่อสารความเย็น ท่อสารทาความเย็นต้องมีขนาดพอเหมาะคือ ให้ค่าความดันตกในท่อไม่เกินกว่า
ค่าที่ทาให้อุณหภูมิควบแน่นเปลี่ยนไปเกินกว่า 1 - 2 ºC หรื อมีขนาดตามที่กาหนดในแบบ ผูต้ ิดตั้งไม่จาเป็ นต้องติดตั้ง
Sight Glass เพื่อตรวจสอบความชื้ นและสารความเย็นในระบบ แต่ผูต้ ิดตั้งจาเป็ นต้องทาการเชื่ อม ทดสอบรั่ว และทา
สุ ญญากาศในระบบท่ออย่างถูกต้อง ซึ่งจะกล่าวถึงรายละเอียดในข้อ 11.5.4 , 11.5.5 , 11.5.6
14.5.2 ท่อสารทาความเย็นทั้งหมด จะต้องติดตั้งอยู่บนอุปกรณ์รองรับ (SUPPORT, HANGER) ทุกระยะไม่
เกิน 1.5 เมตร โดยให้เรี ยงท่อ Gas และท่อ Liquid คนละระดับตามแนว เพราะเมื่อถึงจุดที่ติดตั้ง Refnet Joint ท่อที่แยก
ออกไปของท่อ Gas และท่อ Liquid จะอยู่คนละระดับ จึงไม่จาเป็ นต้องยกท่อเส้นหนึ่งเพื่อหลบท่ออีกเส้นหนึ่ง ซึ่ งปกติ
การยกท่อหลบนี้จะต้องใช้ขอ้ งอ 4 ตัว และเชื่อม 8 รอย การจัดเรี ยงท่อตามแนวดิ่งจะช่วยลดรอยเชื่อมได้ถึง 8 รอย ภาพ
ต่อไปนี้เป็ นตัวอย่างการติดตั้งดังกล่าวโดยรวมท่อน้ าทิ้งไว้ดว้ ยโดยใช้ Hanger เพียงตัวเดียว เจาะรู ยึดเข้ากับเพดานเพียง
จุดเดียว โดยระดับของท่อน้ าทิ้งสามารถปรับได้เพื่อให้มีความลาดเอียง

กรณี ที่ระดับเนื้อที่บนฝ้ ามีไม่เพียงพอ ให้แยกท่อน้ าทิ้งออกแล้วใช้ Hanger ต่างหาก ถ้าระดับเนื้อที่บนฝ้ ายังคงไม่


พอสาหรับการจัดเรี ยงท่อ Gas กับท่อ Liquid ให้อยู่คนละระดับ จึงให้จดั เรี ยงท่อทั้งหมดในระดับเดียวกันได้ การยึดท่อ
เข้ากับ Support หรื อ Hanger แยกเป็ น 2 กรณี ดังนี้

โครงการ : Gulf PD Visitor Center หน้า M - 59


รายละเอียดข้อกาหนดประกอบแบบ
งานวิศวกรรมระบบปรับอากาศและระบายอากาศ

- บริ เวณที่แขวนที่รับที่ยึดและรองรับท่อ เพื่อป้ องกันไม่ให้น้ าหนักกดทับฉนวนก่อให้เกิดปั ญหาหยดเหงื่อ


(Condensation) ให้ใช้ฉนวนโฟมแข็ง (Polymeric rigid foam) ซึ่ งมีความแข็งแรงไม่ยุบตัว โดยลักษณะของฉนวนโฟม
แข็งต้องขึ้นรู ปเป็ นวงแหวนรองรับด้านบนและด้านล่างซึ่ งรัดรู ปท่อได้พอดี ประกบติดด้วยเทปกาวรองรับน้ าหนักท่อ
ซึ่ งอาจเป็ นการรองรับด้านบน(แนวแขวน) หรื อด้านล่าง (แบบแนวตั้ง) ฉนวนโฟมแข็งต้องใส่ ชิ้นงานให้เข้ารู ปอุปกรณ์
อย่างเรี ยบร้อย และไม่มีโพรงอากาศขังอยู่ภายใน สามารถใช้งานที่อุณหภูมิ -200ºC ถึง 125ºC มีค่าการนาความร้อนที่
< 0.050W/MºK ที่ อุณหภูมิ 24ºC ตามมาตรฐาน ASTM C518 มี ค่าดูดซึ มน้ าน้อยกว่า 5% โดยน้ าหนักตามมาตรฐาน
ASTM D1056 และมี ความหนาแน่ นตามมาตรฐาน ASTM D1622 มี ผลทดสอบการลามไฟตามมาตรฐาน ASTM
D635, UL94 มีผลทดสอบค่าความต้านทานแรงกดตามมาตรฐาน ASTM D1621
- การต่อเชื่ อมฉนวนโฟมแข็งกับฉนวนยาง CLOSED CELL EPDM ให้ใช้กาวยางคลอโรฟรี น ตามที่ผูผ้ ลิต
แนะนา ทากาวทั้งด้านฉนวนโฟมแข็งและฉนวนยางทิ้งให้กาวแห้งหมาดแล้วประกบติดกันให้แน่ น โดยไม่ดึงหรื อยึด
ฉนวนยาง และทุกรอยต่อต้องปิ ดทับด้วยแผ่นเทปกาวที่มีคุณสมบัติและสี เดียวกับฉนวน
14.5.3 ในการติดตั้งท่อสารความเย็น ผูร้ ับจ้างต้องระมัดระวังมิให้สิ่งสกปรกฝุ่ นผงเข้าไปในท่อโดยใช้วสั ดุที่
เหมาะสมปิ ดปลายท่อไว้ ถ้าการปิ ดปลายท่อใช้วิธีหุ้มด้วยพลาสติกแล้วพันด้วยกระดาษกาว หรื อเทปพันสายไฟ หรื อ
วัสดุที่มีความเหนียว ให้พนั ในระยะที่ห่างจากปลายท่ออย่างน้อย 3” มิเช่นนั้นเวลาเชื่อมปลายท่อ รอยเชื่อมอาจจะไม่ดีอนั
เกิดจากคราบกาวที่ติดอยูท่ ี่ผิวท่อ
ถ้าหากสิ่ งสกปรกฝุ่ นผงได้เข้าไปแล้วให้ทาความสะอาดภายในท่อโดยใช้ฟองน้ าชุบน้ ายา R141B เช็ด
ภายในท่อทองแดงหลายๆครั้ง โดยในแต่ละครั้งให้เปลี่ยนฟองน้ าโดยใช้ฟองน้ าที่สะอาด จนกว่าฟองน้ าที่เช็ดแล้วจะไม่
มีคราบสกปรกติดออกมา
14.5.4 ในการเชื่ อมท่อทองแดงให้ผ่านก๊าซไนโตรเจนภายในท่อตลอดเวลาขณะเชื่ อมเพื่อป้ องกันมิให้เกิ ด
เขม่าอ๊อกไซด์ของทองแดงขึ้นภายในท่อซึ่งจะเป็ นฝุ่ นผงที่ก่อให้เกิดความเสี ยหายแก่อุปกรณ์ภายในต่อไปในอนาคตได้
14.5.5 ภายหลังการเชื่อมระบบท่อสารทาความเย็นแล้ว ให้ทาการทดสอบหารอยรั่วด้วยการอัดก๊าซไนโตรเจน
เข้าไปภายในท่อ ใช้ Regulator ปรับให้มีความดันตามลาดับ ดังนี้
ขั้นที่ 1 ความดันไม่ต่ากว่า 42 PSI หรื อ 3 kgf/cm2 เป็ นเวลาอย่างน้อยกว่า 3 นาที
ขั้นที่ 2 ความดันไม่ต่ากว่า 213 PSI หรื อ 15 kgf/cm2 เป็ นเวลาอย่างน้อยกว่า 3 นาที
ขั้นที่ 3 ความดันไม่ต่ากว่า 540 PSI หรื อ 38 kgf/cm2 เป็ นเวลาอย่างน้อยกว่า 24 ชัว่ โมง
ให้ บัน ทึ ก อุ ณ หภู มิ บรรยากาศก่ อ นและหลัง ทดสอบไว้ด้ว ย เนื่ อ งจากความดันภายในท่อ จะมี การ
เปลี่ยนแปลงได้ตามอุณหภูมิบรรยากาศที่เปลี่ยนไปในอัตราประมาณ 1 kgf/cm2 ต่อ 0.1 ºC

โครงการ : Gulf PD Visitor Center หน้า M - 60


รายละเอียดข้อกาหนดประกอบแบบ
งานวิศวกรรมระบบปรับอากาศและระบายอากาศ

14.5.6 หลังจากทดสอบหารอยรั่วแล้วไม่พบว่ามีรอยรั่ว ให้ทาการดูดความชื้นออกจากภายในท่อโดยทาให้


เป็ นสูญญากาศด้วยปั๊มดูดสูญญากาศ (VACUUM PUMP) โดยมีข้นั ตอน ดังนี้
ขั้นที่ 1 ทาสูญญากาศ จนมีความดัน -755 mmHg หรื อ -1 kgf/cm2 ทาต่อให้ครบ 2 ชัว่ โมง
ขั้นที่ 2 อัดก๊าซไนโตรเจนจนมีความดัน 0.05 MPa หรื อ 0.51 kgf/cm2
ขั้นที่ 3 ทาสูญญากาศอีกครั้ง จนมีความดัน -755 mmHg หรื อ -1 kgf/cm2 หลังจากนั้นรักษาความ
ดันที่ระดับนี้เป็ นเวลาอย่างน้อย 1 ชัว่ โมง
ขั้นที่ 4 เติมสารความเย็นเข้าไปในระบบท่อ

โครงการ : Gulf PD Visitor Center หน้า M - 61


รายละเอียดข้อกาหนดประกอบแบบ
งานวิศวกรรมระบบปรับอากาศและระบายอากาศ

15. ระบบส่ งลมและอุปกรณ์ (Air Distribution And Accessories)


15.1 ท่ อส่ งลม
15.1.1 ท่อส่ งลมไม่ว่าจะเป็ นท่อกลมหรื อ ท่อลมรู ปสี่ เหลี่ยม ประกอบขึ้นจากแผ่นเหล็กเรี ยบเคลือบสังกะสี ท้ งั
สองด้านปริ มาณมวลสารที่ เคลื อบต่อด้านต้องไม่น้อยกว่าที่ ระบุในตาราง โดยสังกะสี ที่เคลื อบต้องมีส่วนผสมของ
อะลู มิ เ นี ย ม 11% และแมกนี เ ซี ย ม 3% รอยตัด รอยพับ ที่ ท าให้ สัง กะสี ที่ อ าบไว้ แตกหลุ ด จะต้อ งทาทับ ด้วย ZINC
CHROMATE และสี ทาภายนอก
15.1.2 มีค่าความต้านทานแรงดึง ณ จุดคราก (MINIMUM YIELD STRENGTH) เกรด SGMCC ตามมาตรฐาน
JIS 3323
15.1.3 มาตรฐานอ้างอิง ดังนี้
15.1.3.1 มอก.2981-2562 : มาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมเหล็กกล้าทรงแบนเคลือบสังกะสี ผสม
อะลูมิเนียม 5-13% และ แมกนีเซียม 2-4% โดยวิธีจุ่มร้อน
15.1.3.2 AS 1397 : Continuous hot-dip metallic coated steel sheet and strip – Coat of zinc and zinc
alloyed with aluminium and magnesium
15.1.3.3 JIS 3323 : Hot-dip zinc-aluminium-megnesium alloy-coated steel sheet and strip
15.1.3.4 JIS 4009 : Components of air duct
15.1.4 ผ่านการทดสอบการทนไอเกลือ (salt spray test) ไม่ต่ากว่า 2,000 ชัว่ โมง โดยใช้มีดกรี ดชิ้นทดสอบตาม
แนวเส้นทแยงมุม เป็ นรู ปกากบาทให้ลึกถึ งเนื้ อเหล็กยาว 10 เซนติ เมตร โดยไม่เกิ ดสนิ มแดง ตามมาตรฐาน ASTM
B117:2016
15.1.5 รับประกันการไม่ผเุ ป็ นรู พรุ นอันเนื่องมาจากการกัดกร่ อน 5 ปี
15.1.6 ความหนาของแผ่ น สั ง กะสี ที่ ร ะบุ ใ ช้ ต ามขนาดเบอร์ เกจ์ (GAUGE NUMBER) จะหมายถึ ง
BIRMINGHAM WIRE GAUGE (B.W.G) ผูร้ ับจ้างสามารถเลือกใช้แผ่นสังกะสี ตามมาตรฐานอื่นได้ แต่จะต้องเทียบให้
ได้ความหนาไม่ต่ากว่าเบอร์ B.W.G. เกจ์ที่ระบุให้ใช้ ดังนี้
ตำรำงแสดงคุณสมบัติและควำมหนำของเหล็กแผ่นประกอบท่ อลม
ควำมหนำเหล็กแผ่น อำบสังกะสี
ขนำดควำมกว้ำงของท่ อลม
เบอร์ (B.W.G) มิลลิเมตร (mm.) ปริมำณมวลสำรที่เคลือบ (g/m2)
- 30 0.32 0.06 180
- 28 0.40 0.06 180
ไม่เกิน 12” 26 0.48 0.06 180
เกิน 12” แต่ไม่เกิน 30” 24 0.64 0.07 180
เกิน 30” แต่ไม่เกิน 54” 22 0.80 0.07 180
เกิน 54” แต่ไม่เกิน 85” 20 0.95 0.09 180
เกิน 85” 18 1.27 0.12 180
- 16 1.60 0.12 180

โครงการ : Gulf PD Visitor Center หน้า M - 62


รายละเอียดข้อกาหนดประกอบแบบ
งานวิศวกรรมระบบปรับอากาศและระบายอากาศ

15.1.7 ท่อลมอ่อนแบบกลม (Flexible Aluminium Air Duct)


- ท่อส่งลมอ่อนจะต้องประกอบสาเร็ จมาจากโรงงาน โดยประกอบขึ้นรู ปจากแผ่นอลูมิเนียมฟอยล์
- อลูมิเนียมฟอยล์ประกบกัน 2 หน้า มีความหนาเป็ น 2 ชั้น ความหนารวมไม่นอ้ ยกว่า 70 ไมครอน
- สามารถคงรู ปอยูไ่ ด้โดยโครงลวดสปริ งเคลือบด้วยสารกันสนิม ระยะห่างระหว่างโครงลวดสปริ ง
25 มม.
- มีอุณหภูมิการใช้งาน -20˚C ถึง 120˚C (-4˚F ถึง 250˚F)
- จะต้องสามารถทนความดันใช้งานได้ไม่นอ้ ยกว่า 750 mm.WG. (30” W.G.)
- หุ้ ม ฉนวนสาเร็ จ รู ป ด้วยฉนวนใยแก้วความหนา 25 มม. ความหนาแน่ น 24 kg./m³ ปิ ดทับ ผิ วด้วย
อลูมิเนียมฟอยล์เรี ยบร้อยมาจากโรงงานผูผ้ ลิต (ในกรณี ใช้กบั ระบบปรับอากาศ)
- ทุกรอยต่อของท่อลมจะต้องพันด้วยอลูมิเนียมเทปให้ปิดสนิดและเรี ยบร้อย
- ขนาดของท่อลมกลม หากไม่ได้ระบุให้ใช้ขนาดดังนี้

ปริมำณลม (CFM.) ขนำดท่ อลมกลม (นิว้ )


0 - 50 4
51 - 100 5
101 - 150 6
151 - 300 8
301 - 500 10
501 - 700 12

15.1.8 ท่ อ ลมส าหรั บ KITCHEN HOOD EXHAUST ท่ อ ลมเมนที่ ต่ อ จาก KITCHEN HOOD ในห้ อ งครั ว
ทั้งหมดให้ทาด้วย BLACK STEEL SHEET ความหนาไม่ต่ากว่า 2.0 มิลลิเมตร ประกอบเป็ นท่อลมตามขนาดที่กาหนด
ในแบบ โดยการเชื่อมตามรอยต่อทั้งหมด การต่อท่อลมแต่ละส่ วนเข้าด้วยกันให้ใช้ต่อแบบหน้าแปลนทั้งหมด พร้อมกับ
มี ASBESTOS GASKET อยูร่ ะหว่างหน้าแปลน
กรณี ท่อแยกปลายสุ ดที่จะต่อกับท่อ FLEXIBLE ไปยัง KITCHEN HOOD ให้ใช้ท่อที่ทาด้วยแผ่นเหล็ก
ชุ บสังกะสี โดยใช้สังกะสี เบอร์ 18 USG. บริ เวณรอยต่อของท่อสังกะสี ท้ งั หมดให้อุดด้วย SILICONE SEALANT ที่
สามารถทนอุณหภูมิได้ไม่นอ้ ยกว่า 150C
ท่อ EXHAUST DUCT จาก KITCHEN HOOD จะต้องมี SLOPE ไม่นอ้ ยกว่า 1:500 และติดตั้ง ACCESS
PANEL ขนาด และรายละเอียดตามแสดงในแบบ และติ ดตั้ง GREASE DRAIN COCK ขนาด 1 นิ้ ว ตามตาแหน่ งที่
เหมาะสม
15.1.9 ท่อลมชนิดกลม ROUND DUCT จะต้องขึ้นรู ปด้วยวิธี SPIRAL LOCKED SEAM สาเร็ จรู ปจากโรงงาน
รายละเอียดความหนาของสังกะสี ชนิดของตะเข็บ และเหล็กแขวนแสดงไว้ในแบบ TYPICAL DETAIL

โครงการ : Gulf PD Visitor Center หน้า M - 63


รายละเอียดข้อกาหนดประกอบแบบ
งานวิศวกรรมระบบปรับอากาศและระบายอากาศ

15.2 กำรดำเนินกำรติดตั้งท่ อลม


15.2.1 ท่อลมโดยทัว่ ไปประกอบขึ้นจากแผ่นเหล็กชุบสังกะสี มีความหนา วิธีการประกอบ และการติดตั้งตามที่
ระบุไว้ในแบบ และรายละเอียดส่ วนใดที่ไม่ได้ระบุไว้ในแบบหรื อในรายละเอียดจะต้องเป็ นไปตามมาตรฐานของ
SMACNA และ/หรื อ ASHRAE STANDARD
15.2.2 ให้ตรวจสอบขนาด และแนวทางการเดินท่อลมให้สอดคล้องกับงานติดตั้งในระบบอื่นๆ และจะต้องทา
การแก้ไขเมื่อเกิดปัญหาขัดแย้ง
15.2.3 ข้อโค้งงอต้องเป็ นแบบ FULL RADIUS และมีรัศมีความโค้งที่กลางท่อไม่น้อยกว่า 1.5 เท่าของความ
กว้างท่อลม ถ้าไม่สามารถทาได้เนื่องจากสถานที่ติดตั้งจากัด ให้ใช้ขอ้ งอหักฉาก (MITRE BEND) มี TURNING VANE
ตามรายละเอียดที่ระบุไว้ในแบบ ข้อโค้งงอของท่อลมกลม (ROUND DUCT) อาจใช้ ROUND FLEXIBLE DUCT ขนาด
เดียวกันแทนได้
15.2.4 ท่อลมสี่ เหลี่ยมที่มีดา้ นใหญ่ที่สุดเกินกว่า 300 มิลลิเมตร (12 นิ้ว) จะต้องทา CROSS-BREAK และทุกทาง
แยกของท่อลม (BRANCH DUCT) จะต้องติดตั้ง SPLITTER DAMPER หรื อOPPOSED BLADE VOLUME DAMPER
ณ จุดแยกท่อ
15.2.5 ท่อลมที่ เดิ นทะลุผ่านพื้นหรื อกาแพงต้องมี วงกบ (DUCT SLEEVE) ทาด้วยเหล็กกล่องหนา 2.80mm
ขนาด 50x100mm และหน้ากว้างต้องไม่น้อยกว่า ความหนาพื้นหรื อกาแพง และอุดช่องว่างด้วยวัสดุทนไฟพร้อมทั้งมี
กรอบปิ ดทั้งสองด้าน
15.2.6 ท่อลมที่ไม่ได้หุ้มฉนวน และปรากฏแก่สายตาต้องทาสี ตามรายละเอียด ในหมวดการทาสี ป้องกันการผุ
กร่ อนและรหัสสี
15.2.7 ท่ อ ลมที่ ต่ อ กับ พัด ลมและเครื่ องปรั บ อากาศ หรื อ อุ ป กรณ์ ที่ มี ก ารสั่ น สะเทื อ น ต้อ งใช้ข้อ ต่ อ อ่ อ น
(FLEXIBLE DUCT CONNECTION) ทาด้วยวัสดุ POLYESTER FABRIC
ข้อต่ออ่อนที่ใช้ภายนอกอาคารจะต้องเคลือบด้วย NEOPRENE ให้สามารถกันน้ าได้ ความยาวของช่ วง
ข้อต่ออ่อนประมาณ 15 เซ็นติเมตร (6 นิ้ ว) ในกรณี ที่ระบุให้ใช้ท่อลมกลมอ่อน (ROUND FLEXIBLE DUCT) สาหรับ
ต่อเข้าหัวจ่ายลมความยาวของท่อลมกลมอ่อนที่ใช้ต่อ จะต้องมีความยาวไม่เกิน 3.0 เมตร (10 ฟุต) และมีขนาดไม่ใหญ่
กว่า 200 มิลลิเมตร
15.2.8 รอยต่อท่อลมตามแนวขวาง (TRANSVERSE JOINT) จะต้องเป็ นไปตามที่ระบุไว้ในแบบ หรื อใช้แบบ
CLOSURE-FLANGE โดยท่อลมที่อยูภ่ ายนอกอาคาร ให้ใช้เฉพาะ JOINT แบบ CORNER CLOSURES-FLANGE และ
ท่อลมทั้งหมด จะต้องอุดตลอดแนวด้วยวัสดุทนไฟภายนอก และ/หรื อ ภายในท่อลม
รอยต่อท่อลมระหว่างท่อลมกลมอ่อนกับท่อลมกลมอ่อน หรื อท่อลมกลมจะต้องทาการติดตั้งตาม ที่แสดงในแบบ
รายละเอียดหรื อใช้อุปกรณ์ขอ้ ต่อท่อลมผลิตขึ้นสาหรับใช้ต่อท่อลมกลมอ่อนโดยเฉพาะจากผูผ้ ลิตท่อลมกลมอ่อน และ
ติดตั้งตามคาแนะนาของผูผ้ ลิต
15.2.9 จะต้องมี ช่องเปิ ดบริ การ (ACCESS DOOR) ติ ดตั้งที่ ด้านข้างหรื อด้านใต้ท่อลม ขนาดประมาณ 300
มิลลิเมตร x 300 มิลลิเมตร (12 x 12 นิ้ว) ตาแหน่งทุก ๆ ระยะ 6 – 10 m. สาหรับท่อ KITCHEN EXHAUST และสาหรับ
ท่อลมทัว่ ไปให้วางตาแหน่งตามความเหมาะสมสาหรับเปิ ดบริ การ FIRE DAMPER ทุกชุด, SPLITTER DAMPER และ
VOLUME DAMPER ที่มีขนาดใบโตกว่า 0.1 ตารางเมตรทุกชุด, ACCESS DOOR จะต้องเป็ นแบบบานพับ (HINGE) มี
SASH LOCK อย่างน้อยสองตัว มีขอบเป็ นรู ปหน้าแปลนและมีปะเก็น NEOPRENE ติดที่ขอบโดยรอบกันอากาศรั่ว

โครงการ : Gulf PD Visitor Center หน้า M - 64


รายละเอียดข้อกาหนดประกอบแบบ
งานวิศวกรรมระบบปรับอากาศและระบายอากาศ

และ ACCESS DOOR ที่ติดตั้งบนท่อลมที่มีฉนวนหุ้ม ต้องทาเป็ น 2 ชั้น ระหว่างชั้นบุดว้ ยฉนวนกันความร้อนชนิด


เดียวกับที่ใช้หุ้มท่อลม
15.2.10 ผูร้ ับจ้างต้องเป็ นผูก้ าหนดขนาด และตาแหน่งของช่องเปิ ดบนฝ้ าเพื่อการตรวจซ่อม และบริ การท่อลม ท่อ
น้ ายา เครื่ องและอุปกรณ์ ต่างๆ เสนอขออนุ มัติผูอ้ อกแบบก่ อนการทาฝ้ า ค่าใช้จ่ายในการทาช่ องเปิ ดให้อยู่ในความ
รับผิดชอบของผูร้ ับจ้าง
15.2.11 สกรู (SCREW) สลักเกลียว (BOLT) น๊อต (NUT) และหมุดย้า (RIVET) ที่ใช้กบั งานท่อลมจะต้องทาด้วย
วัสดุปลอดสนิม หรื อชุบด้วยสังกะสี หรื อแคดเมี่ยม
15.2.12 ผูร้ ับจ้างจะต้องเตรี ยมปลัก๊ พร้อมฝาเกลียว ติดตั้งไว้ที่ท่อลมเมนบริ เวณใกล้ท่อเข้าและท่อออกจากพัดลม
และ / หรื อเครื่ องส่งลมเย็น เตรี ยมไว้เพื่อสามารถสอดอุปกรณ์วดั อัตราการไหลของอากาศเพื่อวัดปรับ Balance อากาศให้
ได้ปริ มาณตามที่กาหนดไว้
15.2.13 การแขวนยึดท่อลมให้ใช้ขนาดเหล็กแขวน (HANGER ROD) และเหล็กรอง (SUPPORT) ตามที่ระบุไว้
ในแบบ การแขวนยึดท่อลมห้ามใช้ลวดในการแขวนยึดท่อโดยเด็ดขาด
15.2.14 โครงเหล็กต่างๆ ที่ใช้ในการยึดแขวนท่อลมเหล็กเสริ มคอนกรี ต, INSERT, EXPANSION BOLT และ
อื่นๆ ที่ใช้ถือเป็ นส่วนหนึ่งของงานติดตั้งระบบท่อลม และให้ทาสีตามรายละเอียดในหมวดการทาสี ป้องกันการผุกร่ อน
และรหัสสี
15.2.15 ในกรณี ที่ท่อลมมีขนาดใหญ่ ต้องมี SECONDARY SUPPORT จะต้องเป็ นงานของผูร้ ับจ้างงานระบบ
ทั้งสิ้น

15.3 ฉนวนหุ้มท่ อลม (DUCT INSULATION)


15.3.1 ท่อส่ งลมเย็นและท่อส่ งลมกลับทุกเส้น ทาจากวัสดุแผ่นเหล็กกล้าอาบสังกะสี โดยหุ้มฉนวนเพื่อป้ องกัน
การเกิดหยดเงื่อ (Condensation) ให้ใช้ฉนวนประเภท Closed cell EPDM Elastomeric Thermal Insulation ชนิดที่ไม่เป็ น
เทอร์โมพลาสติก และไม่ลามไฟ ฉนวนทาจากวัสดุที่ปราศจากสาร CFC และ Formaldehyde มีคุณสมบัติดงั นี้
- วัสดุทาจาก EPDM
- อุณหภูมิการใช้งาน 5๐C ถึง 85๐C
- มีความหนาแน่น 3 – 4 lb/ft3หรื อ 48 – 64 kg/m3ตามมาตรฐาน ASTM D1667
- ค่าสัมประสิ ทธิ์การนาความร้อน ( Thermal Conductivity) 0.033 W/m.K
ที่อุณหภูมิ 24๐C ตามมาตรฐาน ASTM C177
- มีค่าดูดซึมน้ าน้อยกว่า 5% โดยน้ าหนัก ตามมาตรฐาน ASTM D1056
- มีค่าแทรกซึมความชื้นน้อยกว่า 0.10 Perm-inch ตามมาตรฐาน ASTM E96
- Fire Reting ไฟดับได้เอง และไม่เกิดหยดไฟ ตามมาตรฐาน ASTM D635
ฉนวนที่ใช้สาหรับท่อส่ งลม ควรเป็ นฉนวนชนิดแผ่น (sheet) หรื อชนิดม้วน มีอลูมิเนียมฟอยล์ ปิดผิวฉนวน 1
ด้ ำน จากโรงงานผูผ้ ลิต นามาตัดให้ได้ขนาดของท่อส่ งลม แล้วจึงนาไปหุ้มที่ท่อส่ งลมให้มีความตึงพอดี และปิ ดทับ
รอยต่อด้วยเทปอลูมิเนียมฟอยล์ให้เรี ยบร้อย

โครงการ : Gulf PD Visitor Center หน้า M - 65


รายละเอียดข้อกาหนดประกอบแบบ
งานวิศวกรรมระบบปรับอากาศและระบายอากาศ

ขนำดควำมหนำที่ใช้
ฉนวนที่ใช้ตอ้ งมีความหนาเพียงพอ เพื่อป้ องกันการเกิดหยดเหงื่อ (Condensation) บนผิวฉนวน ความหนาฉนวน
ที่แนะนาควรมีความหนาไม่นอ้ ยกว่าหรื อเท่ากับรายการต่อไปนี้
อุณหภูมิของลมเย็น
สภำพอำกำศภำยนอก
60°F (15.5°C) 55°F (12.7°C) 50°F (10.0°C) 45°F (7.2°C)
80°F (26.6°C) 50% RH 1/4” (6 mm.) 1/4” (6 mm.) 1/4” (6 mm.) 3/8” (9 mm.)
85°F (29.4°C) 70% RH 3/8” (9 mm.) 3/8” (9 mm.) 3/8” (9 mm.) 1/2” (12 mm.)
90°F (32.2°C) 80% RH 5/8” (15 mm.) 3/4” (19 mm.) 3/4” (19 mm.) 1” (25 mm.)
90°F (32.2°C) 85% RH 1” (25 mm.) 1” (25 mm.) 1” (25 mm.) 1-1/4” (32 mm.)

- ก่อนการหุ้มฉนวน จะต้องทาความสะอาดผิวนอกของท่อส่งลมเป็ นอย่างดี และไม่มีคราบน้ า ปูน สะเก็ดวัสดุ


อื่นจับติดอยูท่ ี่จะทาให้ผิวท่อขุรขระอยูท่ ี่ผิวท่อส่งลม
- ใช้กาวตามที่ผผู ้ ลิตฉนวนชนิดนั้นแนะนา ฉนวนที่หุ้มท่อส่ งลมเย็น จะต้องทากาวที่ผิวฉนวน และผิวท่อส่ ง
ลมเย็นก่อนการหุ้มฉนวน โดยฉนวนต้องหุ้มทับให้เข้ารู ปกับท่อส่ งลมเย็นอย่างเรี ยบร้อย ไม่มีโพรงอากาศขังอยู่ภายใน
และต้องทากาวตรงรอยต่อของฉนวนประกบติดให้แน่ นสนิทจะต้องได้แนวเรี ยบร้อย กรณี ฉนวนที่หุ้มด้วยอลูมิเนียม
ฟอยล์ หลังจากทากาวตรงรอยต่อแล้วให้ปิดทับรอยต่อด้อยอลูมิเนียมฟอยล์เทปให้เรี ยบร้อย
- ทุกๆ จุดที่แขวนรองรับท่อลมจะต้องใช้แผ่นสังกะสี ขนาดกว้าง 15 เซนติเมตร (6 นิ้ว) ความหนาไม่นอ้ ยกว่า
#16 GAUGE รองรับใต้ท่อลมเพื่อป้ องกันไม่ให้ฉนวนได้รับความเสี ยหายหรื อถูกกดแบนจากการแขวน
- ฉนวนที่เก็บกองไว้ไม่ถูกวิธี เสี ยรู ป ฉี กขาด ผิวถลอก หรื อสกปรก จะถูกตัดทิ้งไม่อนุญาตให้นามาใช้ในการ
ติดตั้งโดยเด็ดขาด และสาหรับฉนวนที่หุ้มท่อส่ งลมเย็นเป็ นที่เรี ยบร้อยแล้ว แต่ได้รับความเสี ยหาย มีรอยถลอก รอยกรี ด
ฉี ก ขาด หลายแห่ ง เป็ นพื้นที่มากกว่า 5% ของพื้นที่ฉนวนที่ยงั มีสภาพดีในบริ เวณนั้น ผูร้ ับจ้างจะต้องเปลี่ยนฉนวนให้
ใหม่ และจะไม่อนุญาตให้ทาการ ปะ ซ่อม หรื อหุ้มฉนวนทับโดยเด็ดขาด
15.3.2 ท่ อ ลมส าหรั บ KITCHEN HOOD EXHAUST ทั้ งหมด ให้ หุ้ ม ด้ ว ยฉนวนใยหิ น (ROCK WOOL
INSULATION) ความหนา 2 นิ้ว ความหนาแน่น 60 kg,/cu.m. ปิ ดทับด้วย ALUMINUM FOIL ชนิดไม่ติดไฟ ยึดติดกับ
ท่ อ ลมด้วย MECHANICAL FASTENER ชนิ ด SPINDLE PIN & LOCK WASHER ตามรายละเอี ย ดที่ กาหนดให้ใน
แบบ
ท่อ EXHAUST ที่อยู่ภายในอาคารทั้งหมด ให้หุ้มด้วย JACKET ทับ INSULATION อีกครั้งหนึ่ง โดยใช้
เหล็กแผ่นชุ บสั งกะสี (GALVANIZED STEEL JACKET) เบอร์ 24 สาหรั บ ท่อลมขนาดไม่เกิ น 40 นิ้ ว และเบอร์ 22
สาหรับท่อลมที่มีขนาดใหญ่กว่า 40 นิ้ว
ท่อ EXHAUST ที่อยูภ่ ายนอกอาคาร ไม่ตอ้ งหุ้มฉนวน แต่ให้ทาสี ตามรายละเอียดในหมวดการทาสี

โครงการ : Gulf PD Visitor Center หน้า M - 66


รายละเอียดข้อกาหนดประกอบแบบ
งานวิศวกรรมระบบปรับอากาศและระบายอากาศ

15.4 ฉนวนบุภำยในท่ อลม (DUCT LINER) กรณีที่ระบุในแบบเท่ ำนั้น


15.4.1 ท่อส่ งลมเย็นและลมกลับโดยทัว่ ไปที่ติดตั้งผ่านห้องหรื อโถงที่ไม่มีฝ้า และ/หรื อ ใต้ฝ้าตามที่ระบุไว้ใน
แบบ ให้บุดว้ ยฉนวนไว้ภายใน พื้นที่หน้าตัดของท่อส่ วนที่บุฉนวนภายใน ต้องไม่เล็กกว่าพื้นที่หน้าตัดของท่อลมส่วนที่
หุ้มฉนวนภายนอกที่มีขนาดท่อลมเท่ากัน
15.4.2 ให้ใช้ฉนวนประเภท Closed cell EPDM Elastomeric Thermal Insulation ชนิดที่ไม่เป็ นเทอร์โมพลาสติก
และไม่ลามไฟ ฉนวนทาจากวัสดุที่ปราศจากสาร CFC และ Formaldehyde มีคุณสมบัติดงั นี้
- วัสดุทาจาก EPDM
- อุณหภูมิการใช้งาน 5 ๐C ถึง 85 ๐C
- มีความหนาแน่น 3 – 4 lb/ft3หรื อ 48 – 64 kg/m3ตามมาตรฐาน ASTM D1667
- ค่าสัมประสิ ทธิ์การนาความร้อน ( Thermal Conductivity) 0.033 W/m.K ที่อุณหภูมิ
24 ๐C ตามมาตรฐาน ASTM C177
- มีค่าดูดซึมน้ าน้อยกว่า 5% โดยน้ าหนัก ตามมาตรฐาน ASTM D1056
- มีค่าแทรกซึมความชื้นน้อยกว่า 0.10 Perm-inch ตามมาตรฐาน ASTM E96
- Fire Reting ไฟดับได้เอง และไม่เกิดหยดไฟ ตามมาตรฐาน ASTM D635
ฉนวนที่ใช้สาหรับท่อส่ งลม ควรเป็ นฉนวนชนิดแผ่น (sheet) หรื อชนิ ดม้วน จากโรงงานผูผ้ ลิต นามาตัดให้ได้
ขนาดของท่อส่งลม แล้วจึงนาไปหุ้มที่ท่อส่งลมให้มีความตึงพอดี และปิ ดทับรอยต่อด้วยเทปอลูมิเนียมฟอยล์ให้เรี ยบร้อย
ท่อส่งลมเย็นและลมกลับที่ติดตั้งในพื้นที่ ปรับอากาศให้ใช้ฉนวนความหนาไม่ต่ากว่า 25 ม.ม. และที่ติดตั้งในพื้นที่
ที่ไม่มีการปรับอากาศให้ใช้ฉนวนความหนาไม่ต่ากว่า 40 ม.ม.

15.5 หน้ ำกำกลม


15.5.1 หน้ากากลมที่ติดตั้งภายในอาคารทุกตัว ต้องมีฟองน้ าหรื อยางรองรอบด้านหลังปี ก เพื่อป้ องกันลมรั่ว การ
ติดตั้งต้องแนบสนิทกับผนังหรื อฝ้ าเพดาน
15.5.2 หากไม่ได้ระบุไว้เป็ นอย่างอื่น หน้ากากลมทุกชนิ ดภายในอาคารให้ใช้แบบสี ขาว ส่ วนหน้ากากลมทุก
ชนิดที่ติดตั้งกับผนังภายนอกอาคารทั้งหมดให้ใช้สี NATURAL ANODIZED
15.5.3 หัวจ่ายลมแบบ CEILING DIFFUSER ไม่ว่าจะเป็ นแบบกลมหรื อแบบจ่ายลมได้ต้ งั แต่ 1 ถึง 4 ทิศทาง
ตามที่ ร ะบุ ใ นแบบท าด้ว ย EXTRUDED ALUMINUM, REMOVABLE CORES ติ ด ตั้ง แนบฝ้ าเพดานแบบ FLUSH
MOUNT หรื อถ้าขอบหน้ากากเป็ นแบบยกขอบสูง ให้ติดตั้งเป็ น SURFACE MOUNT มี OPPOSED BLADE VOLUME
DAMPER ทุกหัวจ่ายและมีกา้ นปรับปริ มาณลม สามารถปรับแต่งได้จากด้านหน้าโดยไม่ตอ้ งถอดหน้ากากออก
15.5.4 หน้ากากลมแบบ SUPPLY AIR GRILLE ทาด้วย EXTRUDED ALUMINUM มีใบปรับทิศทางการจ่าย
ลมได้ท้งั ในแนวตั้งและแนวนอน (DOUBLE DEFLECTION) โดยใบปรับวางซ้อนกัน และสามารถปรับทิศทางของแต่
ละใบได้โดยอิสระ ใบปรับด้านหน้าติดตั้งในแนวนอนส่วนด้านหลังติดในแนวตั้ง
15.5.5 หน้ า กากลมแบบ SUPPLY AIR REGISTER ลัก ษณะเหมื อ นกับ SUPPLY AIR GRILLE พร้ อ มทั้ง มี
OPPOSED BLADE VOLUME DAMPER ติดตั้งด้านหลังหน้ากาก สามารถปรับแต่งปริ มาณลมได้จากด้านหน้าโดยไม่
ต้องถอดหน้ากากออก
15.5.6 หัวจ่ายลมแบบ LINEAR SLOT DIFFUSER ทาด้วย EXTRUDED ALUMINUM มีช่องจ่ายลมช่องเดียว
หรื อหลายช่องตามที่ระบุในแบบช่องจ่ายลม แต่ละช่องขนาดไม่เกิน 20 มิลลิเมตร (3/4 นิ้ว)

โครงการ : Gulf PD Visitor Center หน้า M - 67


รายละเอียดข้อกาหนดประกอบแบบ
งานวิศวกรรมระบบปรับอากาศและระบายอากาศ

15.5.7 หน้ า กากลมกลับ (RETURN AIR GRILLE) ท าด้ว ย EXTRUDED ALUMINUM มี ใ บยึ ด ติ ด แน่ น กับ
หน้ากากในแนวนอน ทามุมประมาณ 45 องศา ใช้สาหรับลมกลับโดยทัว่ ไป อาจติดตั้งกับฝ้ าเพดาน หรื อผนังห้องที่อยูต่ ่า
กว่าฝ้ าเพดาน เฉพาะ RETURN AIR GRILLE ที่ติดกับผนังห้อง จะต้องมีความหนาของใบ GRILLE ไม่นอ้ ยกว่า 1นิ้ว
15.5.8 หน้ากากลมกลับแบบ TRANSFER มีลกั ษณะเหมือนกับหน้ากากลมกลับ ถ้าติดตั้งบนผนังต้องมีหน้ากาก
ติดทั้งสองด้านของผนัง
15.5.9 หน้ากากลมบริ สุทธิ์ (FRESH AIR GRILLE) ลักษณะเหมือนกับหน้ากากลมกลับ พร้อมทั้งมี OPPOSED
BLADE VOLUME DAMPER และตาข่ายกันแมลงติดตั้งด้านหลังหน้ากากสามารถปรับแต่งปริ มาณลมได้ โดยไม่ตอ้ ง
ถอดหน้ากากออก
15.5.10 OUTSIDE AIR LOUVRE ทาด้วย EXTRUDED ALUMINUM มีใบยึดติดแน่นกับโครงในแนวนอนทา
มุมประมาณ 45 องศา ปลายใบทั้งด้านในและด้านนอกหักมุมป้ องกันฝนสาดความหนาของโครงจะต้องไม่น้อยกว่า 100
มิลลิเมตร (4 นิ้ว) ด้านในบุดว้ ยตาข่ายกันแมลงสามารถถอดล้างได้ช่องว่างระหว่างโครง กับผนังอาคารอุดด้วยสารกันน้ า
ทั้งสองด้าน
15.5.11 หน้ากากลมระบายอากาศ (EXHAUST AIR GRILLE) ลักษณะเหมือนกับหน้ากากลมกลับ หน้ากาก
ลมระบายอากาศที่ติดตั้งอยู่ ทางด้านดูดของพัดลมระบายอากาศทุกชุดต้องมี OPPOSED BLADE VOLUME DAMPER
ด้วย

15.6 DAMPER
15.6.1 SPLITTER DAMPER จะต้องทาขึ้นโดยมีรายละเอียดดังแสดงในแบบ ตัวใบทาด้วยแผ่นสังกะสี ขนาด
ความหนาตามเบอร์ เกจ์หนากว่าท่อลมช่ วงนั้นอีกสองเบอร์ ความยาวของตัวใบประมาณ 1.10 เท่าของท่อลมที่แยก
ออกมา ก้านเป็ นทองเหลืองหรื อเหล็กชุบสังกะสี (PUSH ROD) สาหรับปรับตาแหน่งใบ ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางไม่นอ้ ย
กว่า 9 มิลลิเมตร (3/8 นิ้ว)
15.6.2 VOLUME DAMPER เป็ นแบบใบเดี่ยว (SINGLE BLADE) โดยใบแบบ SINGLE จะต้องกว้างไม่เกิน
300 มิลลิเมตร (12") ความยาวไม่เกิน 1200 มิลลิเมตร VOLUME DAMPER แบบ หลายใบ (MULTIPLE BLADE) ถ้า
เป็ นการปรับปริ มาณลมให้ใช้แบบ OPPOSED ACTION และ โดยแบบ PARALLEL ให้ใช้ในการปิ ดหรื อเปิ ดโดยใบ
ปรับแต่ละใบของ MULTIPLE BLADE แบบ PARALLEL ACTION จะต้องมีความกว้างไม่เกิน 100 มิลลิเมตร (4 นิ้ว)
ความยาวใบเต็มความกว้างของท่อลมแต่ไม่เกิน 1,000 มิลลิเมตร (40 นิ้ ว) ถ้ามีขนาดใหญ่กว่านี้ ให้แบ่งเป็ น SET การ
ทางานเป็ นแบบ GANG OPERATED ลักษณะใบเป็ นแบบ BALANCE TYPE ตัวใบ ประกอบขึ้นจากแผ่นสังกะสี
หนาไม่ น้ อ ยกว่ า 1.5 มิ ล ลิ เ มตร ขอบใบพับ รอย (HEMMED) เป็ นแบบ INTERLOCKING EDGE แกนปรั บ ใบ
(DAMPER ROD) จะต้องมีปลายด้านหนึ่งเป็ นหัวจัตุรัสยึดทะลุตวั ถังสอดผ่าน BEARING PLATE ชนิดที่เป็ น LEVER
TYPE LOCKING DEVICE แกนใบจะต้องมี NYLON BUSHING หรื อ BRONZE BEARING SLEEVE รองรับ
15.6.3 FIRE DAMPER จะต้องทาขึ้นโดยมีรายละเอียดดังแสดงในแบบ ที่แนวกาแพง ชาฟท์ต่างๆ ต่อกับท่อลม
ที่เดินทะลุผา่ น รวมทั้งที่พ้นื คอนกรี ตที่ท่อลมทะลุผา่ นทุกๆ จุด ไม่ว่าจะมีระบุแสดงตาแหน่งไว้ในแบบหรื อไม่ก็ตาม ตัว
เรื อน (CASING) ทาด้วยเหล็กแผ่น ความหนาไม่นอ้ ยกว่า 3 มิลลิเมตร ทาสี ตามรายละเอียดในหมวดการทาสี ป้องกันการ
ผุกร่ อนและรหัสสี ใบทาด้วยเหล็กแผ่น ความหนาไม่นอ้ ยกว่า 2 มิลลิเมตร, FUSIBLE LINK ของ FIRE DAMPER เป็ น
ชนิ ดหลอด ละลายที่อุณหภูมิ 71 องศาเซลเซี ยส (160 องศาฟาเรนไฮท์) Fire damper ต้องทาจากวัสดุที่ได้มาตรฐาน
NFPA No. 90A และ UL 555 พร้อมทั้งมีหนังสื อรับรองจาก UL เพื่อประกอบในการส่งขออนุมตั ิและต้องมีอตั ราการทน

โครงการ : Gulf PD Visitor Center หน้า M - 68


รายละเอียดข้อกาหนดประกอบแบบ
งานวิศวกรรมระบบปรับอากาศและระบายอากาศ

ไฟอย่างน้อย 2 ชัว่ โมง (2 - Hour Rated) สามารถติดตั้งได้ท้งั ในแนวนอนและแนวตั้ง และอยู่นอกแนวลมผ่าน (Out of


Air Stream) บริ เวณที่ติดตั้งจะต้องทา Access door สาหรับเข้าไปปรับตั้ง และ Service ตัว Damper ได้
15.6.4 CURTAIN TYPE FIRE DAMPER (กรณี มีกาหนดในแบบ)
15.6.4.1 ติดตั้ง FIRE DAMPER แบบ CURTAIN TYPE ตามตาหน่ งที่กาหนดในแบบ หรื อทุกแห่ งที่
ท่อลมเดินทะลุหรื อผ่าน ผนังหรื อกาแพงกันไฟทุกชนิด รวมถึงพื้นทุกแห่ง
15.6.4.2 ตัวโครง (FRAME) ทาด้วย GALVANIZED STEEL CHANNEL ส่วนตัวผนัง (ENCLOSURE)
ทาด้วยเหล็กอาบสังกะสี ความหนาไม่นอ้ ยกว่า #20 GAUGE
15.6.4.3 ชุ ด แผ่ น กั้ น กั น ไฟ ท าด้ ว ยเหล็ ก แผ่ น อาบสั ง กะสี ความหนาไม่ น้ อ ยกว่ า #24 GAUGE
ประกอบด้วยเหล็กแผ่นหลายแผ่น จับยึดต่อกันในลักษณะของบานพับ โดยพับรวมกัน อยูภ่ ายในตัวโครง และยึดไว้ดว้ ย
FUSIBLE LINK ชนิดที่ละลายทที่อุณหภูมิ 74 องศาเซลเซี ยส (165°F) เมื่อ FUSE ขาดเนื่องจากความร้อน แผ่นเหล็กที่
พับไว้จะยืดตกลงมาปิ ดกั้นช่องลมด้วยน้ าหนักของมันเอง ทาหน้าที่ป้องกันไฟลาม โดยจะต้องสามารถทนไฟได้ไม่น้อย
กว่า 3 ชั่วโมงตามที่ระบุไว้ในบทที่ 10 “การป้ องกันไฟและควันลาม” และแผ่นกั้นดังกล่าว เมื่อถูกพับไว้จะต้องอยู่ใน
ตาแหน่งที่ไม่กีดขวางแนวทางลมของท่อลมนั้น
15.6.4.4 กรณี ใช้ CURTAIN TYPE FIRE DAMPER ติดตั้งในแนวนอน เช่น ใช้กบั ท่อลมทะลุพ้ืน เป็ น
ต้น ชุดเหล็กแผ่นที่พบั ไว้จะต้องมี SPRING และ LATCH ติดตั้งไว้เพื่อดึงชุดเหล็กแผ่นออกมาปิ ดช่องเมื่อ FUSE ละลาย

15.7 กล่องควบคุมและปรับปริมำณลมอัตโนมัติ (AIR TERMINAL UNITS)


15.7.1 จัดหาและติ ดตั้งกล่องปรั บปริ มาณลมอัตโนมัติ (AIR TERMINAL UNITS) พร้ อมอุปกรณ์ ตามขนาด
จ านวนและต าแหน่ ง ตามแบบ AIR TERMINAL UNITS อาจเป็ นชนิ ด VARIABLE AIR VOLUME (VAV) หรื อ
CONSTANT AIR VOLUME (CAV) ประกอบด้วย TERMINAL UNIT และ OUTLET PLENUM ผลิ ตตามมาตรฐาน
ARI STANDARD
15.7.2 AIR TERMINAL UNIT ชุดควบคุมการปรับปริ มาณลม ประกอบด้วย
15.7.2.1 TERMINAL HOUSING ประกอบขึ้นรู ปจากแผ่นเหล็กชุ บสังกะสี (GALVANIZED STEEL)
ความหนาไม่ น้ อ ยกว่ า No.22 GAUGE (0.7 มม.) แบบ DOULE CASING บุ ด้ว ยฉนวนกัน ความร้ อ นแบบใยแก้ว
(FIBERGLASS INSULATION) ความหนา 25 มม. ความหนาแน่ นไม่น้อยกว่า 1.5 ปอนด์/ลบ.ฟุต อยู่ระหว่างผนังทั้ง
สองชั้น ส่วนปลายของชุด HOUSING จัดทาไว้สาหรับสวมเข้ากับท่อลมกลมได้โดยสะดวก
15.7.2.2 AIR DAMPER อุปกรณ์ปรับปริ มาณลม มีลกั ษณะเป็ นวงกลมทาด้วยเหล็กแผ่นชุบสังกะสี แบบ
DOUBLE SKIN ยึ ด อยู่ กั บ แกน (DAMPER SHAFT) ซึ่ งติ ดตั้ งกั บ HOUSING โดยมี BEARING แบบ SELF
LUBRICATE พร้ อมกับมี บ่ารั บพร้ อ ม SEALบนผิวภายใน HOUSING เพื่อป้ องกันการรั่ วของลม และมี STOP PIN
สาหรับป้ องกันไม่ให้ DAMPER เคลื่อนที่กลับทาง
15.7.2.3 DAMPER ACTUATOR ติดตั้งอยูใ่ น CONTROL HOUSING ซึ่งทาด้วยเหล็กแผ่นชุบสังกะสี
เพื่อป้ องกันฝุ่ น ACTUATOR เป็ น ELEATRONIC ANALOG CONTROL หรื อ DIRECT DIGITAL CONTROL ตามที่
ก าหนดในแบบ และตาม FUNCTION ของการใช้ ง านตามแบบ ACTUATOR ใช้ กับ ระบบไฟฟ้ า 24 V.AC. ชุ ด
ACTUATOR จะต้องสามารถรับสัญญาณและตอบสนองตาม FUNCTION การทางานของ THERMOSTAT แต่ละชุด
15.7.2.4 AIR FLOW SENSOR ติ ด ตั้ งอยู่ ใ น AIR STREAM LINE เป็ นแบบ MULTIPLE POINT
DIFFERENTAL AIRFLOW SENSOR

โครงการ : Gulf PD Visitor Center หน้า M - 69


รายละเอียดข้อกาหนดประกอบแบบ
งานวิศวกรรมระบบปรับอากาศและระบายอากาศ

15.7.3 OUTLET PLENUM อุ ป กรณ์ ก ระจายอาจเป็ นแบบ SINGLE OUTLET หรื อ MULTIPLE OUTLET
ตามที่กาหนดในแบบ ลักษณะโครงสร้างเช่นเดียวกับ AIR TERMINAL UNIT พร้อมกับมี OUTLET CONNECTION
สาหรับต่อกับท่อ FLEXIBLE ROUND DUCT ไปยังหัวจ่ายลม ในแต่ละ OUTLET จะต้องมี BALANCING DAMPER
ติดตั้งอยูเพื่อปรับปริ มาณลมได้ตามต้องการ

15.8 อุปกรณ์ ลดเสียงในท่ อลม (SILENCER, SOUND ATTENUATOR)


15.8.1 หากต้องมี การติ ดตั้งอุปกรณ์ ลดเสี ยงอุปกรณ์ ลดเสี ยงจะต้องมี โครงสร้ างตามที่ แสดงไว้ในแบบและ
รายละเอียด ความเร็ วลมที่ผ่านอุปกรณ์ ลดเสี ยงต้องไม่เกิน 15 เมตรต่อวินาที (3,000 ฟุตต่อนาที ) โดยมาตรฐานของ
โครงสร้างอุปกรณ์ลดเสี ยงท่อลมสามารถรองรับความดันสูงสุ ด 2,000 pa
15.8.2 กล่ อ ง (CASING) ของอุ ป กรณ์ ล ดเสี ย งพับ ท าขึ้ น จากแผ่น เหล็ก กัล วาไนซ์ ความหนาอย่า งน้อ ย 0.9
มิลลิเมตร
15.8.3 วัสดุดูดซับเสี ยง เป็ นฉนวนใยหิน (ROCK WOOL INSULATION) ความหนาแน่นไม่นอ้ ยกว่า 48 kg/m³
ซึ่ งมีคุณภาพสู งไม่ติดไฟและมีคุณสมบัติตา้ นทานเชื้อราตามมาตรฐาน ASTM C 612 ปิ ดผิวด้วย GLASS CLOTH หรื อ
GLASS TISSUE และมีแผ่นเหล็กกัลวาไนซ์เจาะรู ขนาดความหนา 0.9 มม. ขนาดรู Ø 3 mm.
15.8.4 ท่อเก็บเสี ยงจะต้องเชื่อมต่อกับท่อลมโดยหน้าแปลนจากโรงงานพร้อมปะเก็นและสลักเกลียว อุปกรณ์ลด
เสี ยงในท่อลมต้องได้รับการทดสอบตามมาตรฐาน ASTM E477-13 ระดับของเสี ยงที่เกิดขึ้นของท่อเก็บเสี ยงต้องไม่เกิน
60 เดซิ เ บล ผูร้ ั บ เหมา ผูผ้ ลิ ต และผูจ้ าหน่ ายต้อ งจัด ทาเอกสารผลการทดสอบ การค านวณเสี ย งเพื่ อ ขออนุ มัติ จาก
ผูอ้ อกแบบทุกตัว

15.9 ผนังดูดซับเสียง (SOUNDPROOF WALL)


ผนังและเพดานห้องเครื่ องทาความเย็นและเครื่ องส่งลมเย็นขนาดใหญ่ (AHU & FCU ROOM) ทุกห้องต้องติดตั้ง
ฉนวนดู ด ซับ เสี ย งทั้ง 5 ด้านของห้ อ ง ได้แ ก่ ผนัง ห้ อ งทั้ง 4 ด้านและเพดาน ด้วยแผ่น ฉนวนใยหิ น (ROCK WOOL
INSULATION) ที่ผลิตจากหิ นภูเขาไฟ (หิ นบะซอลด์) ไม่น้อยกว่า 90% โดยแผ่นฉนวนใยหิ นต้องมี ความหนาแน่ นไม่
น้อยกว่า 60 kg/m3 หนาไม่น้อยกว่า 2 นิ้ว ฉนวนต้องมีผลทดสอบการลดการสะท้อนของเสี ยง (Sound Absorption) และ
ไม่ลามไฟ โดยฉนวนชนิดนี้ตอ้ งบุทบั ด้วยผ้าแก้ว (Glass Cloth) ติดตั้งโดยยิงน๊อตสกรู ยึดกับหมุดพินอลูมิเนียมและยึด
ฉนวนด้วยหมุดพินอลูมิเนียมระยะตามมาตรฐานผูผ้ ลิต ปิ ดหมุดพินด้วยหมุดพลาสติกสี ดา ฉนวนติดตั้ง สูงขึ้นมาจากพื้น
5 เซนติเมตรป้ องกันความชื้ น โดยผูร้ ับจ้างจะต้องวัดค่าเสี ยงก่อนติดตั้งและหลังติดตั้งต้องออกใบรับรองผลการติดตั้ง
พร้อมเอกสารให้กบั โครงการ

15.10 กำรทำควำมสะอำดท่ อลม


15.10.1 ในระหว่างการติดตั้ง ผูร้ ับจ้างต้องระวังป้ องกันไม่ให้มีเศษฉนวน เศษไม้และขยะต่าง ๆ ตกค้างอยู่ใน
ระบบท่อลม
15.10.2 ก่อนที่จะมีการติดตั้งฝ้ าเพดาน ผูร้ ับจ้างจะต้องใช้พดั ลมขนาดเล็ก (PORTABLE FAN) หรื อพัดลมของ
เครื่ องปรับอากาศเป่ าลมทาความสะอาดภายในท่อลม ใช้เครื่ องดูดฝุ่ นหรื ออุปกรณ์ที่สามารถขับเศษ ฝุ่ น ผงออกจากท่อ
ลมให้หมด

โครงการ : Gulf PD Visitor Center หน้า M - 70


รายละเอียดข้อกาหนดประกอบแบบ
งานวิศวกรรมระบบปรับอากาศและระบายอากาศ

15.10.3 ในกรณี ที่ใช้พดั ลมของเครื่ องปรับอากาศจะต้องติดตั้งแผงกรองอากาศแบบ THROW AWAY FILTER


เข้าไว้ดว้ ย หลังจากการทาความสะอาดระบบท่อ ลม ผูร้ ับจ้างจะต้องจัดหาและติดตั้งแผงกรองอากาศชุดใหม่ ให้กบั
เจ้าของโครงการ

15.11 กำรทดสอบและปรับปริมำณลม
15.1.1 ภายหลังการติดตั้งระบบปรับอากาศและระบายอากาศเสร็ จเรี ยบร้อย ก่อนการส่ งมอบงานต้องได้รับการ
ทดสอบที่ 120% ของแรงดันใช้ง าน และปรั บ แต่ งปริ มาณลมให้ไ ด้ต ามต้อ งการ ปริ ม าณลมที่ หน้ากากจ่ายลมต้อง
ปรับแต่งให้อยูใ่ นช่วง 5 เปอร์เซ็นต์ของปริ มาณลมที่ระบุไว้ในแบบ
15.1.2 การวัดปริ มาณลมในท่อเมนและท่อแยกที่สาคัญ ให้ใช้วิธี TRAVERSE โดยใช้ PITOT TUBE ช่องเปิ ด
สาหรับสอด PITOT TUBE ต้องมี PLUG อุดกันรั่วทุกจุกหลังจากการปรับแต่งเสร็ จเรี ยบร้อยแล้ว
15.1.3 การปรับปริ มาณลมที่ออกจากเครื่ องปรับอากาศ ให้ใช้วิธีปรับรอบพัดลม ปริ มาณลมในท่อแยกให้ ปรับที่
VOLUME DAMPER หรื อ SPLITTER DAMPER หลังจากปรับแต่ง DAMPER แล้วต้องทาเครื่ องหมายแสดงตาแหน่งที่
แน่นอนทุกๆ แห่ง

โครงการ : Gulf PD Visitor Center หน้า M - 71


รายละเอียดข้อกาหนดประกอบแบบ
งานวิศวกรรมระบบปรับอากาศและระบายอากาศ

16. ระบบไฟฟ้ำ

16.1 ควำมต้ องกำรทั่วไป


ข้อกาหนดนี้ครอบคลุมถึงความต้องการด้านคุณสมบัติ และการติดตั้งวัสดุอุปกรณ์ ระบบไฟฟ้ ากาลัง และไฟฟ้ า
ควบคุม ซึ่ งเป็ นขอบเขตงานที่เกี่ยวข้อง ทั้งนี้ เพื่อให้มีความสอดคล้องกับข้อกาหนดของวัสดุอุปกรณ์ และการติดตั้ง
ระบบไฟฟ้ าทั้งหมดในโครงการ

16.2 มำตรฐำนวัสดุ อุปกรณ์และกำรติดตั้ง


ถ้า มิ ไ ด้ก าหนดไว้เป็ นอย่า งอื่ น มาตรฐานของเครื่ อ งวัส ดุ อุป กรณ์ การประกอบ และการติ ด ตั้ง ต้องถื อตาม
มาตรฐานของสถาบันที่เกี่ยวข้องดังต่อไปนี้
16.2.1 กฎและประกาศกระทรวงมหาดไทย
16.2.2 มาตรฐานวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย (ในพระบรมราชูปถัมภ์)
16.2.3 สานักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม (มอก.)
16.2.4 กฎระเบี ยบ และมาตรฐานของการไฟฟ้ าท้องถิ่ น ได้แก่ การไฟฟ้ านครหลวง หรื อการไฟฟ้ าส่ วน
ภูมิภาค
16.2.5 มาตรฐานการพลังงานแห่งชาติ
16.2.6 INTERNATIONAL ELECTRO-TECHNICAL COMMISSION (IEC)
16.2.7 UNDERWRITERS' LABORATORIES, INC, (UL)
16.2.8 NATIONAL FIRE PROTECTION ASSOCIATION (NFPA)
16.2.9 VERBAND DEUTSCHER ELECTROTECHNIKER (VDE)
16.2.10 BRITISH STANDARD (BS)
16.2.11 DEUTSCHE INDUSTRIENORMEN (DIN)
16.2.12 AMERICAN NATIONAL STANDARD INSTITUTE (ANSI)
16.2.13 NATIONAL ELECTRICAL CODE (NEC)
16.2.14 NATIONAL ELECTRICAL MANUFACTURERS ASSOCIATION (NEMA)
16.2.15 JAPANESE INDUSTRIAL STNADARD (JIS)
16.2.16 FACTORY MUTUAL (FM)

16.3 ระบบแรงดันไฟฟ้ ำและรหัส


16.3.1 ถ้ามิได้กาหนดไว้เป็ นอย่างอื่น ระบบไฟฟ้ าในโครงการนี้เป็ นระบบ 400/230 โวลต์, 3-เฟส, 4-สาย, 50
เฮิรตซ์, Y-CONNECTION, SOLID GROUND
16.3.2 กาหนดให้ใช้รหัสสี ของ BUSBAR, ของสายไฟฟ้ าเป็ นไปตามข้อกาหนดดังต่อไปนี้
- สี น้ าตาล สาหรับเฟส A (R)
- สี ดา สาหรับเฟส B (S)
- สี เทา สาหรับเฟส C (T)
- สี ฟ้า สาหรับสายศูนย์ (NEUTRAL)

โครงการ : Gulf PD Visitor Center หน้า M - 72


รายละเอียดข้อกาหนดประกอบแบบ
งานวิศวกรรมระบบปรับอากาศและระบายอากาศ

- สี เขียวหรื อเขียวคาดเหลือง สาหรับสายดิน


ในกรณี ที่สายไฟฟ้ ามีมาตรฐานการผลิตเป็ นสี เดียว ให้ใช้ปลอก พีวีซี สี ตามกาหนดสรวมไว้ที่ปลายสาย
ทั้งสองด้านและภายในกล่องต่อแยกสายไฟฟ้ าทุกจุด
16.3.3 อุปกรณ์เดินสายไฟฟ้ าต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง ให้เป็ นไปตามข้อกาหนดในหมวดต่อๆ ไป
16.4 กำรต่ อลงดิน
16.4.1 วัสดุ อุปกรณ์ไฟฟ้ าทุกชนิดที่มีส่วนห่อหุ้ม หรื อโครงสร้างภายนอกเป็ นโลหะ อันเป็ นส่วนที่ไม่มี
กระแสไฟฟ้ าไหลผ่าน ต้องต่อลงดินตามกาหนดในมาตรฐานดังต่อไปนี้
16.4.1.1 มาตรฐานการติ ดตั้งทางไฟฟ้ าส าหรั บประเทศไทย ฉบับ ล่ า สุ ด ของวิ ศวกรรมสถานแห่ ง
ประเทศไทย
16.4.1.2 กฎหมายด้านความปลอดถัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน
16.4.1.3 INTERNATIONAL ELECTROTECHNICAL COMMISSION (IEC)
16.4.1.4 มาตรฐานการป้ องกันฟ้ าผ่า ฉบับล่าสุ ดของวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย
16.4.1.5 NATIONAL ELECTRICAL CODE (NEC) ARTICLE 250
16.4.1.6 NATIONAL FIRE PROTECTION ASSOCIATION (NFPA) NO. 78

16.5 กำรเดินสำยไฟฟ้ ำ
ถ้ามิได้ระบุไว้เป็ นอย่างอื่น ให้เดินสายไฟฟ้ ากาลัง และสายไฟฟ้ าควบคุมในอุปกรณ์เดินสายไฟฟ้ า ที่ เหมาะสม
เพื่อการฝังในคอนกรี ตหรื อผนัง หรื อเดินลอยซ่อนในฝ้ าเพดานแล้วแต่กรณี สาหรับการใช้ สายไฟฟ้ า และอุปกรณ์เดิน
สายไฟฟ้ า ให้เป็ นไปตามที่ระบุในหมวดต่อๆ ไป

16.6 แผงควบคุม
แผงควบคุมอุปกรณ์ไฟฟ้ าต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง ให้เป็ นไปตามข้อกาหนดในหมวดต่อๆ ไป

16.7 กำรตรวจสอบและทดสอบระบบไฟฟ้ ำ
การตรวจสอบและทดสอบระบบไฟฟ้ า ให้กระทาครบถ้วนดังต่อไปนี้:-
16.7.1 ตรวจสอบค่าความต้านทานของฉนวนสายไฟฟ้ าและอุปกรณ์ท้งั หมด
16.7.2 ตรวจสอบค่าความต้านทานของการต่อลงดินของอุปกรณ์ท้ งั หมด เพื่อให้แน่ใจว่ามีความต่อเนื่องทาง
ไฟฟ้ าของการต่อลงดิน
16.7.3 ตรวจสอบและทดสอบการทางานของระบบควบคุมต่างๆ
16.7.4 ตรวจสอบและทดสอบการทางานของอุปกรณ์ต่างๆ
16.7.5 จัดทารายการทดสอบต่างๆ อย่างครบถ้วน

โครงการ : Gulf PD Visitor Center หน้า M - 73


รายละเอียดข้อกาหนดประกอบแบบ
งานวิศวกรรมระบบปรับอากาศและระบายอากาศ

17. แผงสวิตช์ ไฟฟ้ำแรงต่ำทั่วไป และอุปกรณ์

17.1 ควำมต้ องกำรทั่วไป


ข้อกาหนดนี้ครอบคลุมคุณสมบัติ และการติดตั้งของแผงสวิตช์กระจายไฟฟ้ าแรงต่า (DISTRIBUTION BOARD
, DB) แผงสวิ ต ช์ ย่ อ ย (PANEL BOARD , LC/CU) และสวิ ต ช์ ตัด วงจรอื่ น ๆ ซึ่ งเป็ นแผงชนิ ด ติ ด ตั้ง ที่ พ้ื น (FLOOR
STANDING) หรื อติดตั้งกับผนัง (WALL MOUNTED)

17.2 แผงสวิตช์ กระจำยไฟฟ้ ำ (DISTRIBUTION BOARD)


17.2.1 แผงสวิตช์กระจายไฟฟ้ าเป็ นแผงสวิตช์ประธานของ LOAD แต่ละส่ วน โดยกระจายกาลังไฟฟ้ าให้แก่
แผงสวิตช์ย่อย (PANEL BOARD) ตามจุดต่างๆ ซึ่ งมีใช้ท้ งั ระบบไฟฟ้ าปกติและระบบไฟฟ้ าฉุ กเฉิ นตามกาหนดในแบบ
และรายละเอียดนี้
17.2.2 ความต้องการทางด้านการออกแบบและการสร้าง
17.2.2.1 DISTRIBUTION BOARD ต้องผลิตตามมาตรฐาน IEC 61439-1/2 และต้องสอดคล้องกับ
มาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้ าสาหรับประเทศไทย โดยใช้กบั ระบบไฟฟ้ า 3 เฟส 4 สาย 230/400 โวลต์ 50 เฮิรตซ์
17.2.2.2 CABINET ต้องเป็ นแบบติดตั้งที่พ้ืนหรื อติ ดตั้งกับผนังตามที่ระบุไว้ในแบบ ตัวตู้ทาด้วย
GALVANIZED CODED GUAGE SHEET WITH ENAMEL FINISH มี ป ระตู ปิ ด-เปิ ดด้า นหน้า เป็ น FLUSH LOCK
รวมทั้งต้องมี CIRCUIT DIRECTORY WITH CLEAR PLASTIC COVERING บอก CIRCUIT ต่างๆ ติดอยู่ที่ฝาประตู
ภายใน
17.2.2.3 BUSBAR ที่ต่อกันกับ CIRCUIT BREAKER ต้องเป็ น PHASE SEQUENCY TYPE
17.2.2.4 MAIN MOUDLED CASE CIRCUIT BREAKER : MCCB ต้อ งผลิ ต ตามมาตรฐาน IEC
60947-2 CAT. B เซอร์กิตเบรกเกอร์ตอ้ งมีความสามารถในการตัดวงจรดังนี้ ตัดวงจรแบบประวิงเวลาผกผัน (INVERSE-
TIME DELAY , LONG TIME DELAY) โดยมี พิกัดกระแสเริ่ มต้นตัดวงจร (Ir,In) ตามที่ ระบุในแบบ , ตัดวงจรแบบ
ประวิงเวลาผกผัน (INVERSE-TIME DELAY , LONG TIME DELAY) โดยมีพิกดั กระแสเริ่ มต้นตัดวงจร (Ir,In) ตามที่
ระบุในแบบ , ตัดวงจรแบบตัดทันที (INSTANTANEOUS TRIP) โดยมีพิกดั กระแสเริ่ มต้นตัดวงจร 12-15xIn มีพิกดั การ
ทนกระแสลัดวงจร (BREAKING CAPACITY : Ic,Icu,Ics) ตามที่ระบุในแบบ โดยค่า Icu ต้องไม่นอ้ ยกว่าในแบบที่ระบุ
และ Ics = 100 %Icu นอกจากนี้ MCCB จะต้องมี คุณสมบัติของ Utilizations category Durability (Close-Open cycles)
ดังต่อไปนี้
- Mechnical
Rated 100-160AF ไม่นอ้ ยกว่า 40,000 cycles
Rated 250AF ไม่นอ้ ยกว่า 20,000 cycles
Rated 400-630AF ไม่นอ้ ยกว่า 15,000 cycles
- Electrical
Rated 100-160AF ไม่นอ้ ยกว่า 20,000 cycles
Rated 250AF ไม่นอ้ ยกว่า 10,000 cycles
Rated 400-630AF ไม่นอ้ ยกว่า 4,000 cycles

โครงการ : Gulf PD Visitor Center หน้า M - 74


รายละเอียดข้อกาหนดประกอบแบบ
งานวิศวกรรมระบบปรับอากาศและระบายอากาศ

17.2.2.5 BRANCH MOUDLED CASE CIRCUIT BREAKER : MCCB ต้องผลิตตามมาตรฐาน IEC


60947-2 CAT. B เซอร์กิตเบรกเกอร์ตอ้ งมีความสามารถในการตัดวงจรดังนี้ ตัดวงจรแบบประวิงเวลาผกผัน (INVERSE-
TIME DELAY , LONG TIME-DELAY) โดยมีพิกดั กระแสเริ่ มต้นตัดวงจร (Ir,In) ตามที่ระบุในแบบ , ตัดวงจรแบบตัด
ทัน ที (INSTANTANEOUS TRIP) โดยมี พิ กัด กระแสเริ่ มต้น ตัด วงจร 12-15xIn , มี พิ กัด การทนกระแสลัด วงจร
(BREAKING CAPACITY : Ic,Icu,Ics) ตามที่ระบุในแบบ โดยค่า Icu ต้องไม่นอ้ ยกว่าในแบบที่ระบุ และ Ics = 100 %Icu
นอกจากนี้ MCCB จะต้องมีคุณสมบัติของ Utilizations category Durability เหมือนกันกับเมนเซอร์กิตเบรกเกอร์
17.2.2.6 NAMEPLATE แผงสวิ ต ช์ ต้อ งบ่ ง บอกด้ว ย NAMEPLATE, NAMEPLATE ต้อ งท าด้ว ย
แผ่นพลาสติกสองชั้น ชั้นนอกเป็ นสี ดาและชั้นในเป็ นสี ขาว การแกะสลักตัวหนังสื อทาบนแผ่นพลาสติกสี ดา เพื่อว่าเมื่อ
ประกอบกันแล้วตัวหนังสื อจะปรากฏเป็ นสี ขาว โดยความสู งของตัวอักษรต้องไม่ น้อยกว่า 20 มิลลิเมตร หรื อตามที่ผู ้
ว่าจ้างเห็นชอบ
17.2.2.7 ผังวงจร แผงสวิตช์ทุกแผงต้องมีผงั วงจรที่อยู่กบั ตูด้ งั กล่าวติดไว้ในฝาตู้ ซึ่ งจะบ่งบอกถึง
หมายเลขวงจร ขนาดสาย ขนาดของ CIRCUIT BREAKER และ LOAD ชนิ ด ใดที่ บ ริ เ วณใดไว้เ พื่ อ สะดวกในการ
บารุ งรักษา โดยผังวงจรต้องทาจากวัสดุที่คงทนถาวร
17.2.3 การติดตั้งให้ติดตั้งกับผนังด้วย EXPANSION BOLT ที่เหมาะสม หรื อติดตั้งบน SUPPORT ที่เหมาะสม
โดยระดับสูง 1.80 เมตร จากพื้นถึงระดับบนของแผงสวิตช์ตามตาแหน่งที่แสดงในแบบ

17.3 พิกัดของแผงสวิตช์
ถ้ามิได้กาหนดไว้เป็ นอย่างอื่นให้แผงสวิตช์ฯ ที่กล่าวถึงรวมทั้งวัสดุอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้องมีการออกแบบสร้างตาม
IEC 61439-1 และมาตรฐานอื่นๆ ตามที่ผูว้ ่าจ้างกาหนดไว้ แต่ตอ้ งไม่ขดั ต่อระเบียบและมาตรฐานการไฟฟ้ าท้องถิ่นที่
กาหนดไว้ แผงสวิตช์ฯ โดยมีคุณสมบัติทางเทคนิคอย่างน้อย ดังต่อไปนี้
17.3.1 RATED SYSTEM VOLTAGE: Us : 230/400 VAC ( PEA ) or 240 /416 VAC ( MEA Rated )
17.3.2 RATED VOLTAGE : 400 VAC
OPERATION(Ue)
17.3.3 NETWORK SYSTEMS : 3-PHASE,4-WIRE
17.3.4 RATED INSULATION : 1000 VDC
VOLTAGE(Ui)
17.3.5 RATED IMPULS VOLTAGE(Uimp) : 12 kVAC
17.3.6 RATED FREQUENCY : 50 Hz
17.3.7 GROUNDING ARRANGEMENT : SOLIDARY GROUND NEUTRAL
17.3.8 RATED NORMAL CURRENT (In) : ไม่นอ้ ยกว่าที่ระบุไว้ในแบบ และ ขนาดบัสบาร์
Neutral ต้องมีขนาดไม่นอ้ ยกว่า 100 % ของบัสบาร์
Phase
17.3.9 RATED SHORT-TIME CURRENT : ไม่นอ้ ยกว่า 50 kA/1 Sec ที่แรงดันใช้งาน
Icw หรื อตามที่กาหนดไว้ในแบบ

โครงการ : Gulf PD Visitor Center หน้า M - 75


รายละเอียดข้อกาหนดประกอบแบบ
งานวิศวกรรมระบบปรับอากาศและระบายอากาศ

17.3.10 RATED PEAKED WITHSTAND : ไม่นอ้ ยกว่า 2.8 เท่าของ RATED SHORT CIRCUIT
CURRENT (Ipk) CAPACITY ของ MAIN CIRCUIT BREAKER
17.3.11 CONTROL VOLTAGE : 220-240 VAC
17.3.12 TEMPERATURE RISE OF BUSBAR : FINAL TEMPRATURE 70C (Present Derating)
[AMBIENT TEMP 40C +TEMP RISE 30C ]
17.3.13 MAX. AMBIENT TEMPERATURE : 40 C
DESIGN
17.3.14 CUBICLE FINISHING : ELECTRO GALVANIZED STEEL SHEET WITH
EPOXY/POLYESTER POWDER PAINT COATING
17.3.15 ENCLOSURE’S DEGREE OF : IP 31 Indoor / IP 54 for Outdoor Refer to IEC 60529
PROTECTION หรื อตามที่กาหนดไว้ในแบบ
17.3.16 TYPICAL FORMS : ตามแบบที่กาหนด

17.4 ลักษณะโครงสร้ ำงและกำรจัดสร้ ำงแผงสวิตช์ ฯ


17.4.1 แผงสวิตช์ฯ ที่ใช้เป็ นแบบตั้งพื้น (Floor Standing) โครงสร้างของแผงสวิตช์ฯ ต้องเป็ นแบบ Modularized
Design ที่สามารถต่อขยายได้ง่าย โดยโครงสร้างรอบนอกที่เป็ นส่ วนเสริ มความแข็งแรงทาด้วยเหล็กหนาอย่างน้อย 2.0
มิ ลลิ เมตรที่ ผ่านกระบวนการป้ องกันการกัดกร่ อนด้วยกระบวนการ Electro-Galvanized Coating ที่ ได้ตามมาตรฐาน
IEC 60068 แล้วจึงพ่นด้วยสี Epoxy/Polyester Powder ที่ความหนาไม่น้อยกว่า 60 ไมครอน โครงสร้างเชื่อมติดกันหรื อ
ยึดติดกันด้วยสลักและ แป้ นเกลียว
17.4.1.1 ภายในของแผงสวิตช์ฯ แต่ละส่ วนต้องจัดแบ่งภายในออกเป็ นช่องๆ (Compartment) ให้ได้ตาม
มาตรฐาน IEC61439-2 โดยให้จดั แบ่งส่วนต่างๆ ภายในแผงเมนสวิตช์ฯ ดังนี้
- Circuit Breaker Compartment สาหรับติดตั้งอุปกรณ์ตดั ตอนวงจรไฟฟ้ าต่างๆ
- Metering & Control Compartment สาหรับติดตั้งอุปกรณ์เครื่ องวัด, อุปกรณ์ป้องกันรวมทั้ง
Terminal Block สาหรับต่อสายระบบควบคุมและสัญญาณเตือน โดยปกติช่องนี้ให้จดั ไว้ที่ส่วนบนของแผงเมนสวิตช์ฯ
- Busbars Compartment เป็ นช่องสาหรับติดตั้ง Busbars ทั้ง Horizontal และ Vertical
17.4.1.2 โครงสร้างของแผงสวิตช์ตอ้ งเป็ นแบบ Self-standing Metal Structure โดยโครงสร้างที่เป็ นส่ วน
เสริ มความแข็งแรงต้องเป็ นเหล็กหนาไม่น้อยกว่า 2.0 มิลลิเมตร ส่ วนฝาทุกด้านต้องเป็ นแผ่นเหล็กหนาไม่น้อยกว่า 1.6
มิลลิเมตร ทั้งนี้ฝาของแผงสวิตช์แต่ละด้านต้องเป็ นไปตามกาหนด ดังนี้
- ประตู ปิ ด-เปิ ดด้า นหน้ า เป็ น FLUSH LOCK และต้อ งมี CIRCUIT DIRECTORY WITH
CLEAR PLASTIC COVERING บอก CIRCUIT ต่างๆ ติ ดอยู่ที่ฝาประตู บานประตูต้องแข็งแรงไม่บิดงอ ฝาสาหรั บ
Metering and Control Compartment ให้แยกเป็ นอีกฝาหนึ่ง
- ในกรณี ที่มีฝาเปิ ด/ปิ ดด้านหลัง ฝาปิ ดด้านหลังทั้งหมดให้ใช้แบบเปิ ดแบบสวิง สามารถ เปิ ด/
ปิ ด ฝาได้ง่าย และให้เจาะรู ระบายอากาศ (Drip–Proof Louver) โดยมีแผ่นเหล็กชนิดรู พรุ น (Pertorated Sheet Metal) ติด
ด้านในที่ฝาปิ ดด้านข้างและที่ฝาปิ ดด้านหลัง

โครงการ : Gulf PD Visitor Center หน้า M - 76


รายละเอียดข้อกาหนดประกอบแบบ
งานวิศวกรรมระบบปรับอากาศและระบายอากาศ

- ฝาด้านข้างริ มนอกทั้ง 2 ด้าน ให้เป็ นแผ่นเหล็กเรี ยบหรื อพับขึ้นขอบรู ปด้านละ 1 ชิ้น ยึดติด
กับโครงสร้างแผงสวิตช์ฯ ด้วยสกรู หรื อสลัก และแป้ นเกลียว ขนาดและจานวนที่เหมาะสมให้มีความแข็งแรง แต่ในกรณี
ที่ตอ้ งใช้แผงสวิตช์ฯ หลายส่ วน (Verticle Section) เรี ยงต่อกันให้ใช้ฝากั้นระหว่างส่ วน (Sheet Metal Safety Partition)
ต้องเป็ นแผ่นเหล็กเรี ยบหนาไม่นอ้ ยกว่า 1.6 มิลลิเมตร โดยมีช่องเจาะทะลุถึงกันเพียงพอตามต้องการ
- ฝาของแผงสวิตช์ฯ ทุกด้านต้องมีสายดินบริ ภณ ั ฑ์ โดยใช้ทองแดงชุบแบบถักต่อลงดินที่โครง
ของแผงสวิตช์
17.4.2 แผงสวิตช์ที่ใช้เป็ นแบบติดลอยที่ผนัง
17.4.2.1 การออกแบบและการสร้ างต้องเป็ นไปตามมาตรฐาน IEC 61439-1/2 เพื่อนามาใช้งานกับ
ระบบไฟฟ้ าที่ 230/400 VAC ( PEA ) or 240 /416 VAC ( MEA Rated) 3 เฟส 4 สาย 50 เฮิรตซ์
17.4.2.2 CABINET ต้อ งเป็ นแบบติ ดลอยที่ ผ นัง ตามที่ ร ะบุ ไ ว้ในแบบ ตัวตู้ท าด้วย GALVANIZED
CODED GUAGE SHEET มีประตูปิด-เปิ ดด้านหน้าเป็ น FLUSH LOCK รวมทั้งต้องมี CIRCUIT DIRECTORY WITH
CLEAR PLASTIC COVERING บอก CIRCUIT ต่างๆ ติดอยูท่ ี่ฝาประตู
17.4.2.3 BUSBAR ที่ต่อกันกับ BREAKER ต้องเป็ น PHASE SEQUENCY TYPE
17.4.2.4 การติ ด ตั้ง แผงสวิ ต ช์ ต้อ งติ ด ตั้ง ดัง แสดงไว้ใ นแบบ แผงสวิ ต ช์ ต้อ งติ ด ตั้ง กับ ผนั ง โดย
EXPANSION BOLTS ที่เหมาะสมและต้องติดตั้งสูง 1.80 เมตร จากพื้นถึงระดับบนของแผงสวิตช์
17.4.3 การประกอบแผงสวิต ช์ ต้องคานึ งถึ งกรรมวิธีร ะบายความร้ อนที่ เกิ ดขึ้นจากอุปกรณ์ ภายในโดยวิ ธี
ไหลเวียนของอากาศตามธรรมชาติ ทั้งนี้ให้เจาะเกร็ ดระบายอากาศอย่างเพียงพอพร้อมติดตั้งตะแกรงกันแมลง (Insect
Screen) โดยยังสามารถคง Degree of Protection ไว้ที่ระดับ IP31 ตามมาตรฐาน IEC 60529
17.4.4 กรรมวิธีป้องกันสนิมและ การพ่นสี โลหะชิ้นส่ วนที่เป็ นเหล็กทุกชิ้น ต้องผ่านกรรมวิธีป้องกันสนิมแล้ว
พ่นสี ทบั ตามกรรมวิธีดงั ต่อไปนี้
- ชิ้นส่ วนที่เป็ นอะลูมิเนียมและโลหะไม่เป็ นสนิมชนิดอื่น ถ้ากาหนดไว้ให้พ่นสี ก็ให้ใช้วิธีการเดียวกัน
กับที่กาหนดแต่ไม่ตอ้ งล้างด้วยน้ ายากันสนิม
- วิธีทาความสะอาดโลหะ
a. ทาการขัดผิวโลหะให้เรี ยบและสะอาด
b. ทาการล้างแผ่นโลหะเพื่อล้างไขมัน หรื อน้ ามันออกจากแผ่นโลหะสะอาด (Degreasing)
c. เฉพาะแผ่นเหล็กถ้ามีร่องรอยของการเกิดสนิ ม และไม่ใช่แผ่นเหล็กใหม่ ต้องล้างด้วยน้ ายา
ล้างสนิมเพื่อให้สนิมเหลืออยู่หลังการขัดหลุดออกทั้งหมด น้ ายาล้างสนิมให้ใช้ของ ICI หรื อ
เทียบเท่า
- การเคลือบผิวชั้นแรกให้ใช้วิธีชุบสังกะสี โดยวิธีชุบไฟฟ้ า (Electro-Galvanized Coating) โดยชิ้นงานที่
ผ่านกระบวนการต้องได้ตามมาตรฐาน IEC60068 หรื อ BS 1706
- การพ่นสี ช้ นั นอกให้ใช้สี Epoxy/Polyester Powder อย่างดีพ่นให้ทวั่ อย่างน้อยความหนาสี 60 ไมครอน
แล้วอบด้วยความร้อน 200 องศาเซลเซียส

17.5 บัสบำร์ และกำรติดตั้งแผงสวิตช์ ฯ


17.5.1 บัสบาร์ ต้องเป็ นทองแดงที่ มีความนาไม่น้อยกว่ า 98.99 %IACS ที่ ผลิ ตขึ้นสาหรั บใช้กับงานไฟฟ้ า
โดยเฉพาะ โดยผลิตตามมาตรฐานที่ผวู ้ ่าจ้างยอมรับ

โครงการ : Gulf PD Visitor Center หน้า M - 77


รายละเอียดข้อกาหนดประกอบแบบ
งานวิศวกรรมระบบปรับอากาศและระบายอากาศ

17.5.2 บัสบาร์ มีขนาดตามที่กาหนดในแบบ และมี ความสามารถในการรับกระแสไฟฟ้ าโดยให้แสดงการ


เลือกใช้งานบัสบาร์ ให้ Derating พิกดั กระแสเป็ นไปตามมาตรฐาน DIN 43671 โดยให้คิดแบบเปลือย ( Bare Rated)
ไม่ใช่ แบบพ่นสี (Bare Rating) และยอมให้อุณหภูมิเพิ่มสู งสุ ด 30 องศาเซลเซี ยส (Temperature Rise) เหนื ออุณหภูมิ
โดยรอบสู งสุ ด 40 องศาเซลเซี ยส โดยตัวนาทาด้วยทองแดง (Copper(CW004A)) ทนกระแสไฟฟ้ าได้ตามที่กาหนดใน
แบบ (Single Line) และมีขนาดไม่น้อยกว่าขนาดเฟรม (Frame Size) ของ CIRCUIT BREAKER การแสดงเฟสทาโดย
การติดตั้งสติกเกอร์ที่ทนอุณหภูมิได้ไม่นอ้ ยกว่า 110 ๐C โดยกาหนดรหัสและสี ดังนี้
เฟส A : L1 (สี น้ าตาล)
เฟส B : L2 (สี ดา)
เฟส C : L3 (สี เทา)
NEUTRAL : N (สี ฟ้า)
GROUND : G (สี เขียว)
17.5.3 ขนาดของบัสบาร์ เส้นศูนย์ให้มีขนาดเท่ากับเส้นเฟสหรื อตามที่กาหนด ขนาดบัสบาร์ เส้นดิน (Ground
Bus) ให้ใช้ทองแดงที่มีความสามารถในการรองรับปริ มาณกระแสลัดวงจร (Icw) ได้ไม่นอ้ ยกว่า 60% ของวงจรเมนหรื อ
เฟส หรื อตามที่กาหนด ที่เวลาไม่นอ้ ยกว่า 0.4 วินาที
17.5.4 การจัดเรี ยงบัสบาร์ในแผงสวิตช์ฯ ให้จดั เรี ยงตาม เฟส N, A, B, C หรื อ N,L1,L2,L3 โดยเมื่อมองเข้ามา
ด้านหน้าของสวิตช์ฯ ให้มีลกั ษณะเรี ยงจากหน้าไปหลังหรื อจากด้านบนลงมาด้านล่าง หรื อจากซ้ายมือไปขวามืออย่างใด
อย่างหนึ่ง กรณี ที่มีการกาหนดเป็ น Code เฟสของตัวนา ให้กาหนดเป็ นสี น้ าตาล, ดา, เทา, นิวทรัลสี ฟ้า และกราวน์สีเขียว
ตามลาดับ
17.5.5 บัสบาร์ ที่ติดตั้งตามแนวนอน (รวมทั้ง Neutral Bus และ Ground Bus) ต้องมีความยาวตลอดเท่าความ
กว้างของแผงสวิตช์ฯ ทั้งชุด
17.5.6 บัสบาร์ เส้นดินต้องต่อกับโครงของแผงสวิตช์ทุกๆ ส่ วน และต้องมีความต่อเนื่ องทางไฟฟ้ าที่มนั่ คง
ถาวร บัสบาร์เส้นดินและเส้นศูนย์ตอ้ งมีพ้นื ที่และสิ่ งอานวยความสะดวกเตรี ยมไว้สาหรับต่อสายดินของบริ ภณ ั ฑ์
17.5.7 BUSBAR HOLDERS ต้องเป็ นวัสดุ ประเภท FIBERGLASS REINFORCED POLYESTER, EPOXY
RESIN หรื อเป็ นผลิตภัณฑ์ชนิดเดียวกันกับตูท้ ี่เคยผ่านการทดสอบ (Photype) ตามาตรฐาน IEC61439-1&2 สาหรับติดตั้ง
ภายใน แบบสองชิ้นประกบ BUSBAR โดยยึดด้วย BOLT และ NUT หุ้ม SPACER ที่เป็ นฉนวนไฟฟ้ า และต้องสามารถ
ทนแรงที่เกิดจากกระแสลัดวงจรได้ตามข้อกาหนด โดยไม่ทาให้เกิดการเสี ยหายเมื่อเกิดกระแสลัดวงจร
17.5.8 BUSBAR และ HOLDERS ต้องมีขอ้ มูลทางเทคนิคและผลการคานวณเพื่อแสดงว่าสามารถทนต่อแรง
ใดๆที่เกิดจากกระแสไฟฟ้ าลัดวงจรได้ไม่นอ้ ยกว่ากระแสไฟฟ้ าลัดวงจรด้านแรงต่าของหม้อแปลงไฟฟ้ า โดยไม่เกิดการ
เสี ยหายใดๆ รวมทั้ง BOLTS และ NUTS ต้องทนต่อแรงเหล่านั้นได้ดว้ ยเช่นกัน
17.5.9 กาหนดให้อุณหภูมิเพิ่มสู งสุ ด (Maximum Temperature Rise) ไม่เกิ น 30 °C เหนื ออุณหภูมิโดยรอบ
สูงสุ ด (Maximum Ambient Temperature) 40 °C

17.6 สำยไฟฟ้ ำสำหรับภำยในแผงสวิตช์ ฯ


17.6.1 สายไฟฟ้ าสาหรับระบบควบคุมและเครื่ องวัด ซึ่งเดินเชื่อมระหว่างอุปกรณ์ไฟฟ้ ากันอุปกรณ์ไฟฟ้ า และ
อุปกรณ์ไฟฟ้ ากับ TERMINAL BLOCK ให้ใช้สายชนิด FLEXIBLE ANNEALED ชนิดทนแรงดันไฟฟ้ าได้ 750 โวลต์
ฉนวนทนความร้อนได้ 105 องศาเซลเซี ยส สายไฟฟ้ าหลายเส้นที่เดินไปด้วยกันให้สีต่ างกันเพื่อความสะดวกในการ

โครงการ : Gulf PD Visitor Center หน้า M - 78


รายละเอียดข้อกาหนดประกอบแบบ
งานวิศวกรรมระบบปรับอากาศและระบายอากาศ

บารุ งรักษา โดยการโยกย้ายต้องระบุไว้ในแบบ (Asbuilt Drawing) ขนาดของสายไฟฟ้ าต้องสามารถนากระแสไฟฟ้ าได้


ตามต้องการแต่ไม่เล็กกว่ากาหนดดังนี้
CURRENT CIRCUIT : 4.0 ตารางมิลลิเมตร
VOLTAGE CIRCUIT : 2.5 ตารางมิลลิเมตร
CONTROL CIRCUIT : 1.5 ตารางมิลลิเมตร
GROUND สาหรับบานประตู : 10.0 ตารางมิลลิเมตร
17.6.2 การต่อวงจรกาลังในแผงจ่ายไฟ เช่น ระหว่างบัสบาร์กบั สวิตช์ตดั ตอนเป็ นต้น ให้ต่อด้วยสายไฟฟ้ าหุ้ม
ฉนวนชนิดทนแรงดันได้ 750 โวลต์ และทนความร้อนได้ไม่นอ้ ยกว่า 105 องศาเซลเซียส หรื อต่อด้วยบัสบาร์ทองแดงหุม้
ฉนวนแบบหดตัวด้วยความร้อน (Heat Shrinkable Tubing) ที่ 40 องศาเซลเซียส ขนาดตามที่กาหนดในแบบ
17.6.3 การเดินสายไฟฟ้ าภายในแผงสวิตช์ฯ ให้เดินในท่อร้อยสายหรื อรางพลาสติก ช่วงที่ต่อเข้าอุปกรณ์ให้
ร้อยในท่อพลาสติกอ่อน การต่อสายไฟฟ้ าเข้าอุปกรณ์ให้ต่ อผ่านขั้วต่อสายชนิ ดสองด้านห้ามต่อตรงกับอุปกรณ์ ถ้ามี
สายไฟฟ้ าส่วนที่ตอ้ งเดินอยูน่ อกให้ใช้สายไฟฟ้ าชนิดหลายแกนมีฉนวนและเปลือกนอก
17.6.4 สายไฟฟ้ าทุกเส้นที่ปลายทั้ง 2 ด้านต้องมีหมายเลขกากับ (Wire Mark) เป็ นแบบปลอกสวม ยากแก่การ
ลอกหรื อหลุดหาย
17.6.5 ขั้วต่อสาย (Terminal) ให้ใช้แบบใช้เครื่ องมือกลบีบ ขั้วต่อสายไฟฟ้ าเป็ นชนิดที่ใช้กบั สายทองแดง
17.6.6 สลักเกลี ย ว แป้ นเกลี ย ว และแหวน (Bolts, Nuts & Washers) สาหรั บ ต่ อ บัสบาร์ ใ ห้ ใ ช้ชนิ ด High–
Tensile, Electro–Galvanized or Chrome – Plated (Class 8.8) ให้ใช้จานวนสลักและแป้ นเกลียวให้เพียงพอแล้วขันด้วย
Torque Wrench ให้เพียงพอตามที่กาหนดไว้
17.6.7 การต่อสายไฟเข้ากับบัสบาร์ ตอ้ งต่อผ่านขั้วต่อสาย การต่อขั้วต่อสายกับบัสบาร์ หรื อต่อบัสบาร์ กบั บัส
บาร์ให้ใช้สลักและแป้ นเกลียวพร้อมแหวนสปริ ง ก่อนต่อต้องทาความสะอาดบริ เวณผิวสัมผัสด้วยแปรงโลหะ

17.7 MIMIC BUS และ NAMEPLATE


แผงสวิตช์ตอ้ งมีขอ้ มูลขั้นต้นแสดงไว้เพื่อความสะดวกในการใช้งานและบารุ งรักษาอย่างน้อยดังนี้
17.7.1 ที่หน้าแผงสวิตช์ฯ ต้องมี Mimic Bus เพื่อแสดงการจ่ายกระแสไฟฟ้ าเข้าและออกทาด้วยแผ่นพลาสติกสี
ดาสาหรับแผงสวิตช์ฯ ระบบไฟฟ้ าปกติ และสี แดงสาหรับแผงสวิตช์ฯ ระบบไฟฟ้ าฉุ กเฉิ น หรื อสิ่ งที่ผวู ้ ่าจ้างเห็นชอบ มี
ความหนาไม่นอ้ ยกว่า 3 มิลลิเมตร และกว้างไม่นอ้ ยกว่า 10 มิลลิเมตร ยึดแน่นกับแผงสวิตช์ฯ
17.7.2 ให้มี Nameplate เพื่อแสดงว่าอุปกรณ์ตดั วงจรไฟฟ้ าใด จ่ายหรื อควบคุมอุปกรณ์ไฟฟ้ าใด หรื อกลุ่มใด
เป็ นแผ่นพลาสติกสองชั้น ชั้นนอกเป็ นสี ดาและชั้นในเป็ นสี ขาว การแกะสลักตัวหนังสื อทาบนแผ่นพลาสติกสี ดา เพื่อว่า
เมื่อประกอบกันแล้วตัวหนังสื อจะปรากฏเป็ นสี ขาวโดยความสู งของตัวอักษรต้องไม่นอ้ ยกว่า 20 มิลลิเมตร หรื อตามที่ผู ้
ว่าจ้างเห็นชอบ
17.7.3 ป้ ายแสดงชื่อและสถานที่ติดต่อของผูผ้ ลิต เป็ นป้ ายที่ทนทานไม่ลบเลือนได้ง่ายติดไว้ที่แผงสวิตช์ดา้ น
นอกตรงที่ๆ เห็นได้ง่ายหลังการติดตั้งแล้ว

โครงการ : Gulf PD Visitor Center หน้า M - 79


รายละเอียดข้อกาหนดประกอบแบบ
งานวิศวกรรมระบบปรับอากาศและระบายอากาศ

17.8 เครื่องวัด และอุปกรณ์


17.8.1 CURRENT TRANSFORMER (CT) SECONDARY RATED CURRENT 5A, PRIMARY RATED
CURRENT ตามที่กาหนดในแบบหรื อเหมาะสมกับ LOAD นั้นๆ ACCURACY CLASS : 1.0 หรื อดีกว่า โดยต้องผลิต
ตามมาตรฐาน IEC 44-1 และ UL94 ซึ่ งต้องมี ค่า SHORT CIRCUIT THERMAL CURRENT (Ith) ไม่น้อยกว่า 60 In,
THERMAL CLASS B (130ºC)
17.8.2 AMMETER และ VOLTMETER ต้องเป็ นแบบ SWITCHBOARD MOUNTED ขนาดหน้าปัทม์ไม่เล็ก
กว่า 96 × 96 มิลลิเมตร, SCALE ชนิด WIDE ANGLE และ ACCURACY CLASS 1.5
17.8.3 KILOWATTMETER ใช้ชนิด 3-PHASE UNBALANCE LOAD แบบ SWITCHBOARD MOUNTED
ขนาดหน้าปัทม์ไม่เล็กกว่า 96 × 96 มิลลิเมตร, SCALE ชนิด WIDE ANGLE และ ACCURACY CLASS 1.5
17.8.4 POWER-FACTOR METER ชนิด 3 เฟส 4 สาย แบบ SWITCHBOARD MOUNTED ขนาดหน้าปั ทม์
ไม่เล็กกว่า 96 × 96 มิลลิเมตร, SCALE ตั้งแต่ 0.5 LEADING ถึง 0.5 LAGGING และ ACCURACY CLASS 0.5
17.8.5 PILOT LAMP หรื อ INDICATING LAMP ใช้ชนิ ดที่ผลิตตามมาตรฐาน VDE หรื อเทียบเท่า มีเลนส์
ด้านหน้า ใช้สาหรับกระแสสลับ 220 โวลต์ ใช้ฐานหลอดแบบ E14 และหลอดนีออน
17.8.6 SELECTOR SWITCH แบบ SWITCHBOARD MOUNTING จ านวน 7 STEP ส าหรั บ VOLT-
SELECTOR SWITCH และ 4 STEP สาหรับ AMP-SELECTOR SWITCH
17.8.7 KILOWATT HOUR METER มิเตอร์ วดั ไฟฟ้ าชนิดจานหมุน ใช้การแสดงผลผ่านลูกล้อตัวเลขไม่นอ้ ย
กว่า 4 หลัก + 1 หลักทศนิยม ผลิตตามมาตรฐาน TIS 2336-2552, IEC 62052-11, IEC 62053-11 โดยมีคุณสมบัติดงั นี้
- ระบบไฟฟ้ า : 1 PHASE 230 V / 3 PHASE 230/400 V
- กระแส : ตามที่ระบุในแบบ
- ความถี่ : 50 Hz
- อุณหภูมิ : 0-55 OC
- ความชื้น : 0-95 %RH
- ความแม่นยาในการวัด : CLASS 2
- การทนต่อแรงดันอิมพัลส์ : ไม่นอ้ ยกว่า 6 kV
- ระดับการป้ องกันน้ าและฝุ่ น : IP 51 Indoor / IP 54 for Outdoor
17.8.8 DIGITAL POWER MULTIMETER เป็ นมิเตอร์ วดั ค่าพารามิเตอร์ ทางไฟฟ้ าซึ่ งสามารถวัดค่าได้หลาย
ประเภทในตัวเดียวกัน แสดงผลเป็ นตัวเลข ติดตั้งใช้งานกับแผงสวิตช์จ่ายไฟใช้กบั ระบบไฟฟ้ าในประเทศไทยได้เป็ น
อย่างดี โดยจะเป็ นระบบ 1 เฟส หรื อ 3 เฟสนั้นให้เป็ นไปตามข้อกาหนดหรื อตาแหน่งที่ใช้งาน มิเตอร์สามารถต่อสื่ อสาร
กับระบบคอมพิวเตอร์ได้จากพอร์ตสื่ อสาร และตัวมิเตอร์ตอ้ งเป็ นผลิตภันฑ์ที่ได้ตามมาตรฐาน IEC
17.8.8.1 มิแตอร์ (PWM3) สาหรับติดตั้งที่แผงสวิตช์ DB
• คุณลักษณะ
ก. เป็ นมิเตอร์ที่สามารถวัดค่าทาง ขนาด 96x96 มม.
อ่านแบบ TRUE RMS ของระบบไฟ 50 Hz. โดยอ่านค่า
- กระแส : แยกเฟส และนิวทรัล
- แรงดัน : แยกเฟสแบบ L – L และ L – N

โครงการ : Gulf PD Visitor Center หน้า M - 80


รายละเอียดข้อกาหนดประกอบแบบ
งานวิศวกรรมระบบปรับอากาศและระบายอากาศ

- กาลัง : kW, kVAR, kVA แยกเฟสและ


รวม 3 เฟส
- พาวเวอร์แฟกเตอร์ : แยกเฟส และเฉลี่ย 3 เฟส
- ความถี่ : Hz
- ค่าความต้องการ (DEMAND) และค่าความต้องการสูงสุ ด (MAX DEMAND)
: ของกระแส (A) และกาลัง (kW,
kVA)
- พลังงาน : kWH, kVARH
- ฮาร์โมนิคส์ : Individual Harmonic distortion:
IHD Up to 63rd
ข. จอแสดงผล (DISPLAY UNIT) เป็ นแบบ LCD Backlit และมี Bar-Graph for power
indication
ค. ระบบสื่ อสาร POWER METER จะต้องมีพอร์ทสื่ อสารแบบ Built-in RS485 MODBUS
Communication โดยมีความเร็ วสูงสุ ดไม่ต่ากว่า 38,400 bps
ง. มี 2 อินพุท (DIGITAL INPUT) / 2 เอาท์พุท (DIGITAL OUTPUT)
จ. การบันทึกข้อมูล
- บันทึกค่าสูงสุ ด (MAX) ของ กาลัง ค่าความต้องการ พลังงานไฟฟ้ า
ฉ. ความถูกต้อง (ACCURACY)
- Accuracy class ตามมาตรฐาน IEC62053-22 :0.5S
- ±0.2% ค่าที่อ่านได้ (กระแสและแรงดัน)
- ความถี่ 0.2% Hz
- ค่ากาลัง พลังงาน เป็ นไปตามมาตรฐานDIN EN 62053-22 หรื อ (VDE 0418 Part 3-
22)
ช. อุณหภูมิใช้งาน : ตัวมิเตอร์ -25ºC ถึง 55ºC
• คุณสมบัติ
- ใช้กบั CT และ VT ทัว่ ไปได้
- CT ใช้แบบต่อ 5/1 A
- สามารถต่อตรงกับระบบไฟฟ้ าโดยแรงดันต้องไม่เกิน 400 VL-L
- อ่านค่าได้สูงสุ ด : กระแส 9999 A แรงดัน 120% ของ 600V
- แรงดันวัด : 50 – 600 V (Line-to-Line)
- ทนแรงดันเกิน : 120%
- Rated impulse withstand voltage: 6kV – 1.2µS waveform
- ไฟเลี้ยง (POWER SUPPLY) : 85– 275 VAC, 11 VA หรื อ 120 – 380 VDC
• มาตรฐานผลิตภัณฑ์ DIN EN62053-22 หรื อเทียบเท่า

โครงการ : Gulf PD Visitor Center หน้า M - 81


รายละเอียดข้อกาหนดประกอบแบบ
งานวิศวกรรมระบบปรับอากาศและระบายอากาศ

17.8.9 SPD3 For DB นอกอาคาร, DB ที่จ่ายโหลดนอกอาคาร, DB บนหลังคา, Elevator control panel, MATV
Amplifier. อุปกรณ์ป้องกันแรงดันเสิ ร์จ (Surge Protection Device) Class I,II / T1/T2 เป็ นอุปกรณ์ป้องกันเสิ ร์จ ที่สร้าง
จาก ระบบ Spark Gap ใช้สาหรับติดตั้งที่ตูค้ วบคุมไฟฟ้ าที่ติดตั้งใกล้หลังคาหรื อตูค้ วบคุมลิฟท์ โดยมีรายละเอียดทาง
เทคนิคดังนี้
Technical Specification
อุปกรณ์ป้องกันแรงดันเสิ ร์จ Class I/II, T1/T2 :
IEC Category, EN Type /VDE I/II, T1/T2
Nominal Voltage Un 230 V AC
Max.Continuous operating voltage Uc ≥255 V AC
Lightning Teste Current (10/350) Iimp ≥25 kA (per pole)
Nominal discharged current (8/20) In ≥25 kA (per Pole)
Temporary Over Voltage withstand (UTOV) 440 V / 120 min (Withstand Mode)
Protection level Up at In (L-N) ≤1.5 kV
Follow Current If ≥50 kA
Max. prospective short-circuit current ≥100 kArms (220 kApeak)
ให้ติดตั้งอุปกรณ์แบบขนานผ่าน ฟิ วส์ ขนาดไม่น้อยกว่า 250 A จุดต่อลงดินให้มีการต่อผ่าน Ground
terminal block ที่มีการต่อลง DIN Rail เพื่อลดผลกระทบต่อความยาวสายและแรงดันป้ องกันโดยรวม
17.8.10 SPD4 For DB ในอาคาร อุปกรณ์ ป้ องกันแรงดันเสิ ร์จ (Surge Protection Device) Class II / T2 เป็ น
อุปกรณ์ป้องกันเสิ ร์จที่สร้างจาก MOV ใช้สาหรับติดตั้งอุปกรณ์ที่ตคู้ วบคุมไฟฟ้ า โดยมีรายละเอียดทางเทคนิคดังนี้
Technical Specification
อุปกรณ์ป้องกันแรงดันเสิ ร์จ Class II : MOV Technology
IEC Category/ EN Type II /T2
Nominal Voltage Un 230 V AC
Max. Continuous operating voltage Uc L-N / N-PE 385 V AC / 255 V AC
TOV behavior at UT (L-N) 440 V / 120 min (Withstand Mode)
Normal. discharged current (8/20) Imax 20 kA
Protection level Up at In (L-N / N-PE) ≤2 kV / ≤1.7 kV
Protection level Up at 5 kA (L-N / N-PE) ≤1.5 kV / ≤ 1.5 kV
Technology Advanced Circuit Interruption (ACI)
/ Safe Energy Control (SEC)
ให้ติดตั้งอุปกรณ์แบบขนานผ่าน ฟิ วส์ ขนาดไม่น้อยกว่า 125 A จุดต่อลงดินให้มีการต่อผ่าน Ground
terminal block ที่มีการต่อลง DIN Rail เพื่อลดผลกระทบต่อความยาวสายและแรงดันป้ องกันโดยรวม
17.8.11 SPD5 ส าหรั บ โหลดเฉพาะจุ ด โดยอุ ป กรณ์ ป้ องกัน แรงดัน เสิ ร์ จ ตัว นี้ (SPD5) ไม่ จ าเป็ นต้อ งเป็ น
ผลิตภัณฑ์เดียวกันกัน SPD ตัวอื่น และเป็ นผลิตภัณฑ์ได้รับรองมาตรฐาน ANSI/IEEE C62.41, UL 1449 3rd Edition และ
UL 1283
Technical Specification

โครงการ : Gulf PD Visitor Center หน้า M - 82


รายละเอียดข้อกาหนดประกอบแบบ
งานวิศวกรรมระบบปรับอากาศและระบายอากาศ

Surge Protection Device Type : Metal Oxide Varistor (MOV)


Nominal Voltage (50/60 Hz) : 230/400VAC
Max Continuous Operating VAC : ≥ 115% ของแรงดันปกติ
Input Power Frequency : 47-420 Hz
System Configuration : 3Phase Y/Star 4Wire+Ground
Nominal Discharge Current (8/20µs) : ≥ 10 kA
Peak Surge Current (8/20µs) : ≥ 80 kA
Short Circuit Current Rating (SCCRR) : ≥ 200 kA
Response time : ≤ 1 nanosecond
Protection Mode : L-N, L-L, L-G, N-G
Diagnostics : 3 LED indicator and Dry Contact
Operating Temperature Range : -40 to 85o C
Circuit Design : Active Tracking Network (ATN)
Sine Wave Tracking, Ul 1283
ลักษณะโครงสร้าง
- Enclosure ทาด้วย Power Coated Steel, Weatherproof NEMA Type 4 ( IP66 )ประกอบสาเร็จ
จากโรงงานผูผ้ ลิต
- มีระบบสัญญาณเสี ยงเตือนเมื่อระบบต้องการให้ตรวจสอบสภาพ
มี LED สาหรับ Phase Loss Indicator

17.9 แผงสวิตช์ ย่อย (PANEL BOARD)


17.9.1 แผงสวิตช์ย่อยเป็ นแผงสวิตช์ที่ใช้ควบคุมการจ่ายกาลังไฟฟ้ าให้แก่ LOAD ต่างๆ โดยมี BRANCH
CIRCUIT BREAKER เป็ นตัวควบคุม LOAD แต่ละกลุ่มหรื อแต่ละตัว ตามกาหนดในแบบหรื อตาม PANEL BOARD
SCHEDULE
17.9.2 ความต้องการทางด้านการออกแบบและการสร้าง
17.9.2.1 PANEL BOARD ต้องผลิตตามมาตรฐาน IEC 61439 และต้องสอดคล้องกับมาตรฐานการ
ติดตั้งทางไฟฟ้ าสาหรับประเทศไทย โดยใช้กบั ระบบไฟฟ้ า 3 เฟส 4 สาย 230/400 โวลต์ 50 เฮิรตซ์ หรื อ 1 เฟส 2 สาย
230 โวลต์ 50 เฮิรตซ์
17.9.2.2 CABINET ต้อ งเป็ นแบบติ ด ลอย ตัว ตู้ท าด้ว ย GALVANIZED CODE GAUGE SHEET
STEEL WITH GREY BAKED ENAMEL FINISH มีประตูปิด-เปิ ดด้านหน้าเป็ นแบบ FLUSH LOCK
17.9.2.3 BUSBAR ที่ต่อกันกับ BREAKER ต้องเป็ น PHASE SEQUENCY TYPE และเป็ นแบบที่
ใช้กบั PLUG-IN หรื อ BOLT-ON CIRCUIT BREAKER
17.9.2.4 MAIN MOUDLED CASE CIRCUIT BREAKER : MCCB ต้อ งผลิ ต ตามมาตรฐาน IEC
60947-2 CAT. A เซอร์กิตเบรกเกอร์ตอ้ งมีความสามารถในการตัดวงจรดังนี้ ตัดวงจรแบบประวิงเวลาผกผัน (INVERSE-
TIME DELAY , LONG TIME DELAY) โดยมีพิกดั กระแสเริ่ มต้นตัดวงจร (Ir,In) ตามที่ระบุในแบบ , ตัดวงจรแบบตัด

โครงการ : Gulf PD Visitor Center หน้า M - 83


รายละเอียดข้อกาหนดประกอบแบบ
งานวิศวกรรมระบบปรับอากาศและระบายอากาศ

ทัน ที (INSTANTANEOUS TRIP) โดยมี พิ กัด กระแสเริ่ มต้น ตัด วงจร 12-15xIn , มี พิ กัด การทนกระแสลัด วงจร
(BREAKING CAPACITY : Ic,Icu,Ics) ตามที่ระบุในแบบ
17.9.2.5 BRANCH MINIATURE CIRCUIT BREAKER : MCB ต้องผลิตตามมาตรฐาน IEC 60947-
2 , IEC 60898 โดยมีพิกดั กกระแสเกินตั้งแต่ 10-63A และพิกดั กระแสลัดวงจรตั้งแต่ 6-10kA เซอร์ กิตเบรกเกอร์ตอ้ งเป็ น
แบบ QUICK-MAKE, QUICK-BREAK, THERMAL MAGNETIC AND TRIP INDICATING และเป็ นแบบ PLUG-IN
หรื อ BOLT-ON TYPE โดย CIRCUIT BREAKER ต้องเป็ นผลิตภัณฑ์เดียวกับ MAIN CIRCUIT BREAKER
17.9.2.6 BRANCH RESIDUAL CURRENT CIRCUIT BREAKER WITH INTEGRAL
OVERCURRENT PROTECTION : RCBO ต้องผลิตตามมาตรฐาน IEC 61009-1 โดยมีพิกดั กกระแสเกินตั้งแต่ 10-63A
และพิกดั กระแสลัดวงจรตั้งแต่ 6-10kA และจะตัดวงจรเมื่อมีกระแสไฟรั่วเท่ากับ 30 mA ภายในเวลาไม่เกิน 0.04 วินาที
เ ซ อ ร์ กิ ต เ บ ร ก เ ก อ ร์ ต้ อ ง เ ป็ น แ บ บ QUICK-MAKE, QUICK-BREAK, THERMAL MAGNETIC AND TRIP
INDICATING และเป็ นแบบ PLUG-IN หรื อ BOLT-ON TYPE โดย CIRCUIT BREAKER ต้องเป็ นผลิตภัณฑ์เดียวกับ
MAIN CIRCUIT BREAKER
17.9.2.7 NAMEPLATE แผงสวิตช์ยอ่ ยต้องบ่งบอกด้วย NAMEPLATE, NAMEPLATE ต้องทาด้วย
แผ่นพลาสติกสองชั้น ชั้นนอกเป็ นสี ดาและชั้นในเป็ นสี ขาว การแกะสลักตัวหนังสื อทาบนแผ่นพลาสติกสี ดา เพื่อว่าเมื่อ
ประกอบกันแล้วตัวหนังสื อจะปรากฏเป็ นสี ขาว โดยความสู งของตัวอักษรต้องไม่น้อยกว่า 20 มิลลิเมตร หรื อตามที่ผู ้
ว่าจ้างเห็นชอบ ข้อความตัวหนังสื อบน NAMEPLATE ให้เป็ นไปดังแสดงไว้ในแบบ
17.9.2.8 ผังวงจร ตูย้ ่อยทุกตูต้ อ้ งมีผงั วงจรที่อยูก่ บั ตูด้ งั กล่าวติดไว้ในฝาตู้ ซึ่ งจะบ่งบอกถึงหมายเลข
วงจร ขนาดสาย ขนาดของ CIRCUIT BREAKER และ LOAD ชนิดใดที่บริ เวณใดไว้เพื่อสะดวกในการบารุ งรักษา
17.9.3 การติดตั้งให้ติดตั้งกับผนังด้วย EXPANSION BOLT ที่เหมาะสม หรื อติดตั้งบน SUPPORT ที่เหมาะสม
โดยระดับสูง 1.80 เมตร จากพื้นถึงระดับบนของแผงสวิตช์ตามตาแหน่งที่แสดงในแบบ

17.10 DISCONNECTING SWITCH หรือ SAFETY SWITCH


17.10.1 DISCONNECTING SWITCH หรื อ SAFETY SWITCH ต้องผลิตขึ้นตามมาตรฐาน NEMA หรื อ IEC
HEAVY DUTY TYPE
17.10.2 SWITCH ตัดวงจรไฟฟ้ าเป็ นแบบ BLADE ทางานตัดต่อวงจรขณะมีโหลดไฟฟ้ าใช้งานอยู่
17.10.3 ENCLOSURE ตามมาตรฐาน NEMA TYPE 1 หรื อ IP10 ส าหรั บ ใช้ภ ายในอาคารทั่ว ไป และตาม
NEMA TYPE 3R หรื อ IP65 สาหรับใช้ภายนอกอาคาร อุปกรณ์สามารถล๊อคกุญแจได้ขณะอยูใ่ นสภาวะ OFFLOAD เพื่อ
ความปลอดภัยในการบารุ งรักษา
17.10.4 ขนาด AMPERE RATING จานวนขั้วสายและจานวน PHASE ให้เป็ นไปตามระบุในแบบหรื อตาม
ขนาด PROTECTION EQUIPMENT ที่ตน้ ทาง
17.10.5 ชุดที่กาหนดให้มี FUSE ให้ใช้ FUSE BASE เป็ นแบบ SPRING REINFORCED
17.10.6 การติ ดตั้งให้ติดตั้งกับผนังตามระบุในแบบ โดยระดับความสู งจากพื้น 1.80 เมตร ถึ งระดับบนของ
สวิตช์ ในกรณี บริ เวณติดตั้งไม่มีผนังหรื อกาแพง ให้ติดตั้งบนขายึดโครงเหล็กที่แข็งแรง ให้สวิตช์สูงจากพื้นไม่นอ้ ยกว่า
1.00 เมตร ถึงระดับบนของสวิตช์

โครงการ : Gulf PD Visitor Center หน้า M - 84


รายละเอียดข้อกาหนดประกอบแบบ
งานวิศวกรรมระบบปรับอากาศและระบายอากาศ

17.11 ISOLATOR SWITCH


17.11.1 DISCONNECTION SWITCH, ISOLATOR SWITCH OR SAFETY SWITCH ต้องผลิตตามมาตรฐาน
มาตรฐานที่รับรองคือ AS3947-3 AC22, BS EN 60529:1992, IEC 60947-3, IEC/EN 60947/3
17.11.2 ROTARY ISOLATOR SWITCH ขนาด AMPERE RATING 20A, 32A, 50A, 63A ขนาดแรงดั น
250/500 V. ต้องมีค่าความสามารถทนต่อสภาพอากาศ กรด ด่าง สารเคมี และป้ องกันน้ าไม่นอ้ ยกว่า IP 65
17.11.3 สวิตช์ตัดวงจรไฟฟ้ าเป็ นแบบ QUICK – MAKE, QUICK – BREAK ระบบตัดวงจรเป็ นสวิตช์สับที่
ออกแบบให้สับง่ายในการใช้งานหรื อกรณี ฉุกเฉิน
17.11.4 ENCLOSURE ทาจากพลาสติ กโพลี คาร์ บอร์ เนตทนต่อแรงกระแทกขนาดสู ง สี GRAY ใช้สาหรั บ
ภายนอกอาคารเพื่อตัดวงจรไฟฟ้ าในงานระบบปรับอากาศแบบแยกส่วน
17.11.5 ขนาด AMPERE RATING 20A, 35A, 63A ขนาดแรงดัน 250-400 V จานวนสายและจานวน PHASE
ให้เป็ นไปตามระบุในแบบหรื อตามขนาดPROTECTING EQIUPMENT ที่ตน้ ทาง
17.11.6 ต้องมีค่าความสามารถทนต่อสภาพอากาศ กรด ด่าง สารเคมีและป้ องกันน้ า ไม่นอ้ ยกว่า IP 65
17.11.7 สวิตช์ตอ้ งมีข้วั ต่อ G และนิวทรอน บรรจุอยูใ่ นตูด้ ว้ ย ขั้วต่อสายเป็ นแบบสกรู ขนั อัด ขนาดขั้วต่อสายไม่
น้อยกว่า 16 มิลลิเมตร
17.11.8 การติดตั้งให้ติดกับผนังหรื อระบุตามแบบ ในกรณี บริ เวณติดตั้งไม่มีผนังหรื อกาแพงให้ติดตั้งบนขายึด
โครงเหล็กที่แข็งแรงให้สูงจากพื้นไม่นอ้ ยกว่า 0.80 เมตร ถึงระดับบนของสวิตช์

17.12 CIRCUIT BREAKER BOX (ENCLOSED CIRCUIT BREAKER)


17.12.1 ให้ใช้ CIRCUIT BREAKER ชนิด MCCB หรื อ RCCB ตามที่ระบุในแบบ โดยมีรายละเอียดของเซอร์
กิตเบรกเกอร์ดงั นี้
17.12.1.1 MOUDLED CASE CIRCUIT BREAKER : MCCB ต้องผลิตตามมาตรฐาน IEC 60947-2
CAT. A มีพิกดั กระแส และทนกระแสลัดวงจร ตามพิกดั ที่ระบุในแบบ โดยค่า Icu ต้องไม่นอ้ ยกว่าในแบบที่ระบุ และ Ics
= 100 % Icu
17.12.1.2 RESIDUAL CURRENT CIRCUIT BREAKER : RCCB ต้องผลิตตามมาตรฐาน IEC 61008
มีพิกดั กระแส และทนกระแสลัดวงจร ตามพิกดั ที่ระบุในแบบ โดยจะตัดวงจรเมื่อมีกระแสไฟรั่วมากกว่าหรื อเท่ากับ 30
mA ภายในเวลาไม่เกิน 0.04 วินาที
15.11.2 ENCLOSURE เป็ นไปตามมาตรฐาน IP โดยที่
17.12.2.1 IP42 ฝา 2 ชั้น พับจาก ZINC COATED STEEL WITH GRAY-BAKED ENAMEL FINISH
สาหรับใช้งานติดตั้งภายในอาคารทัว่ ๆ ไป
17.12.2.2 IP54 พับจาก ZINC COATED STEEL WITH GRAY-BAKED ENAMEL FINISH สาหรับ
ใช้งานติดตั้งภายนอกอาคาร
17.12.3 การติดตั้ง ให้เป็ นไปตามกาหนดในแบบโดยเป็ นแบบ FLUSH MOUNTING สาหรับในอาคาร และ
SURFACE MOUNTED สาหรับภายนอกอาคาร โดยสูงจากพื้น 1.50 เมตร ถึงระดับบนสุ ด

โครงการ : Gulf PD Visitor Center หน้า M - 85


รายละเอียดข้อกาหนดประกอบแบบ
งานวิศวกรรมระบบปรับอากาศและระบายอากาศ

17.13 กำรติดตั้ง
17.13.1 แผงสวิตช์ฯ ที่ติดตั้งในสถานที่ใช้งานจริ งต้องยึดติดกับฐานที่ต้ งั ด้วยนอตจานวนไม่น้อยกว่า 4 จุดตาม
มุมทั้งสี่ อย่างแน่นหนา
17.13.2 ในกรณี ที่เป็ นพื้นคอนกรี ต นอตที่ใช้ตอ้ งเป็ นแบบ EXPANSION BOLT

17.14 กำรทดสอบ
17.14.1 การทดสอบประจาโรงงานผูผ้ ลิต (Routine Test) ตามมาตรฐาน IEC 61439-1 จะต้องทาการทดสอบ
ดังต่อไปนี้
17.14.1.1 ตรวจสอบการทางานตามวงจรควบคุมทางด้านไฟฟ้ า (Wiring, Electrical-Operation)
17.14.1.2 ตรวจสอบค่าความเป็ นฉนวนไฟฟ้ า (Dielectric Test)
17.14.1.3 ตรวจสอบการป้ องกันทางด้านไฟฟ้ า (Protective Measures)
17.14.1.4 ตรวจสอบค่าความต้านทานฉนวนไฟฟ้ า (Insulation Resistance)
17.14.2 นอกจากการทดสอบที่โรงงานผูผ้ ลิตตามความเห็นชอบของผูว้ ่าจ้าง เมื่อมีการติดตั้งในสถานที่ใช้งาน
แล้ว ต้องตรวจทดสอบอย่างน้อยดังนี้
17.14.2.1 ตรวจสอบค่าความเป็ นฉนวนไฟฟ้ าของอุปกรณ์ภายในแผงสวิตช์ท้งั หมด
17.14.2.2 ตรวจสอบค่าความเป็ นฉนวนไฟฟ้ าของสายป้ อน (Feeder) ต่างๆ ที่ออกจากแผงสวิตช์ฯ
17.14.2.3 ตรวจสอบระบบการทางานของอุปกรณ์ต่างๆ เพื่อทดสอบความถูกต้อง
17.14.2.4 ในขั้นตอนการตรวจสอบจะต้องให้ผูค้ วบคุมงานร่ วมตรวจสอบที่โรงงานและเห็น ชอบ
พร้อมอนุมตั ิผลการตรวจสอบ

โครงการ : Gulf PD Visitor Center หน้า M - 86


รายละเอียดข้อกาหนดประกอบแบบ
งานวิศวกรรมระบบปรับอากาศและระบายอากาศ

18 แผงสวิตช์ ควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้ำ

18.1 ควำมต้ องกำรทั่วไป


ข้อกาหนดนี้ ครอบคลุมคุณสมบัติ และการติ ดตั้งของแผงสวิตช์ควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้ า (MOTOR CONTROL
CENTER) ซึ่งเป็ นแผงชนิดติดตั้งที่พ้นื (FLOOR STANDING) หรื อติดตั้งกับผนัง (WALL MOUNTED)

18.2 แผงสวิตช์ ควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้ ำ (MOTOR CONTROL CENTER)


18.2.1 แผงสวิตช์ควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้ าเป็ นแผงสวิตช์ของ LOAD MOTOR โดยกระจายกาลังไฟฟ้ าให้แก่
มอเตอร์ไฟฟ้ าตามจุดต่างๆ ซึ่งมีใช้ท้งั ระบบไฟฟ้ าปกติและระบบไฟฟ้ าฉุกเฉินตามกาหนดในแบบและรายละเอียดนี้
18.2.2 ความต้องการทางด้านการออกแบบและการสร้าง
18.2.2.1 แผงสวิตช์ควบคุมมอเตอร์ไฟฟ้ าต้องผลิตตามมาตรฐาน IEC 61439-1/2 และต้องสอดคล้อง
กับมาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้ าสาหรับประเทศไทย โดยใช้กบั ระบบไฟฟ้ า 3 เฟส 4 สาย 230/400 โวลต์ 50 เฮิรตซ์
18.2.2.2 CABINET ต้องเป็ นแบบติดตั้งที่พ้ืนหรื อติ ดตั้งกับผนังตามที่ระบุไว้ในแบบ ตัวตู้ทาด้วย
GALVANIZED CODED GUAGE SHEET WITH ENAMEL FINISH มี ป ระตู ปิ ด-เปิ ดด้า นหน้า เป็ น FLUSH LOCK
และต้องมี CIRCUIT DIRECTORY WITH CLEAR PLASTIC COVERING บอก CIRCUIT ต่างๆ ติดอยูท่ ี่ฝาประตู
18.2.2.3 BUSBAR ที่ต่อกันกับ CIRCUIT BREAKER ต้องเป็ น PHASE SEQUENCY TYPE
18.2.2.4 MAIN MOUDLED CASE CIRCUIT BREAKER : MCCB ต้อ งผลิ ต ตามมาตรฐาน IEC
60947-2 CAT. A เซอร์กิตเบรกเกอร์ตอ้ งมีความสามารถในการตัดวงจรดังนี้ ตัดวงจรแบบประวิงเวลาผกผัน (INVERSE-
TIME DELAY , LONG TIME DELAY) โดยมีพิกดั กระแสเริ่ มต้นตัดวงจร (Ir,In) ตามที่ระบุในแบบ, ตัดวงจรแบบตัด
ทั น ที (INSTANTANEOUS TRIP) โดยมี พิ กั ด กระแสเริ่ มต้น ตั ด วงจร 12-15xIn มี พิ กั ด การทนกระแสลัด วงจร
(BREAKING CAPACITY : Ic,Icu,Ics) ตามที่ระบุในแบบ โดยค่า Icu ต้องไม่นอ้ ยกว่าในแบบที่ระบุ และ Ics = 100 %Icu
นอกจากนี้ MCCB จะต้องมีคุณสมบัติของ Utilizations category Durability (Close-Open cycles) ดังต่อไปนี้
- Mechnical
Rated 100-160AF ไม่นอ้ ยกว่า 40,000 cycles
Rated 250AF ไม่นอ้ ยกว่า 20,000 cycles
Rated 400-630AF ไม่นอ้ ยกว่า 15,000 cycles
- Electrical
Rated 100-160AF ไม่นอ้ ยกว่า 20,000 cycles
Rated 250AF ไม่นอ้ ยกว่า 10,000 cycles
Rated 400-630AF ไม่นอ้ ยกว่า 4,000 cycles
18.2.2.5 BRANCH MOUDLED CASE CIRCUIT BREAKER : MCCB ต้องผลิตตามมาตรฐาน IEC
60947-2 CAT. A เซอร์กิตเบรกเกอร์ตอ้ งมีความสามารถในการตัดวงจรดังนี้ ตัดวงจรแบบประวิงเวลาผกผัน (INVERSE-
TIME DELAY , LONG TIME-DELAY) โดยมีพิกดั กระแสเริ่ มต้นตัดวงจร (Ir,In) ตามที่ระบุในแบบ , ตัดวงจรแบบตัด
ทันที (INSTANTANEOUS TRIP) โดยมีพิกดั กระเริ่ มต้นตัดวงจร 12-15xIn , มีพิกดั การทนกระแสลัดวงจร (BREAKING

โครงการ : Gulf PD Visitor Center หน้า M - 87


รายละเอียดข้อกาหนดประกอบแบบ
งานวิศวกรรมระบบปรับอากาศและระบายอากาศ

CAPACITY : Ic,Icu,Ics) ตามที่ระบุในแบบ โดยค่า Icu ต้องไม่น้อยกว่าในแบบที่ระบุ และ Ics = 100 %Icu นอกจากนี้
MCCB จะต้องมีคุณสมบัติของ Utilizations category Durability เหมือนกันกับเมนเซอร์กิตเบรกเกอร์
18.2.2.6 NAMEPLATE แผงสวิ ต ช์ ต้อ งบ่ ง บอกด้ว ย NAMEPLATE, NAMEPLATE ต้อ งท าด้ว ย
แผ่นพลาสติกสองชั้น ชั้นนอกเป็ นสี ดาและชั้นในเป็ นสี ขาว การแกะสลักตัวหนังสื อทาบนแผ่นพลาสติกสี ดา เพื่อว่าเมื่อ
ประกอบกันแล้วตัวหนังสื อจะปรากฏเป็ นสี ขาว โดยความสู งของตัวอักษรต้องไม่น้อยกว่า 20 มิลลิเมตร หรื อตามที่ผู ้
ว่าจ้างเห็นชอบ
18.2.2.7 ผังวงจร แผงสวิตช์ทุกแผงต้องมีผงั วงจรที่อยู่กบั ตูด้ งั กล่าวติดไว้ในฝาตู้ ซึ่ งจะบ่งบอกถึง
หมายเลขวงจร ขนาดสาย ขนาดของ CIRCUIT BREAKER และ LOAD ชนิ ด ใดที่ บ ริ เ วณใดไว้เ พื่ อ สะดวกในการ
บารุ งรักษา โดยผังวงจรต้องทาจากวัสดุที่คงทนถาวร
18.2.3 การติดตั้งให้ติดตั้งกับผนังด้วย EXPANSION BOLT ที่เหมาะสม หรื อติดตั้งบน SUPPORT ที่เหมาะสม
โดยระดับสูง 1.80 เมตร จากพื้นถึงระดับบนของแผงสวิตช์ตามตาแหน่งที่แสดงในแบบ

18.3 พิกัดของแผงสวิตช์
ถ้ามิได้กาหนดไว้เป็ นอย่างอื่นให้แผงสวิตช์ฯ ที่กล่าวถึงรวมทั้งวัสดุอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้องมีการออกแบบสร้างตาม
IEC 61439-1 และมาตรฐานอื่นๆ ตามที่ผูว้ ่าจ้างกาหนดไว้ แต่ตอ้ งไม่ขดั ต่อระเบียบและมาตรฐานการไฟฟ้ าท้องถิ่นที่
กาหนดไว้ แผงสวิตช์ฯ โดยมีคุณสมบัติทางเทคนิคอย่างน้อย ดังต่อไปนี้
18.3.1 RATED SYSTEM VOLTAGE:Us : 230/400 VAC ( PEA ) or 240 /416 VAC ( MEA Rated)
18.3.2 RATED VOLTAGE OPERATION(Ue) : 400 VAC
18.3.3 NETWORK SYSTEMS : 3-PHASE,4-WIRE
18.3.4 RATED INSULATION VOLTAGE(Ui) : 1000 VDC
18.3.5 RATED IMPULS VOLTAGE(Uimp) : 12 k VAC
18.3.6 RATED FREQUENCY : 50 Hz
18.3.7 GROUNDING ARRANGEMENT : SOLIDARY GROUND NEUTRAL
18.3.8 RATED NORMAL CURRENT (In) : ไม่นอ้ ยกว่าที่ระบุไว้ในแบบ และขนาดบัสบาร์ Neutral ต้อง
มีขนาดไม่นอ้ ยกว่า 100 % ของบัสบาร์ Phase
18.3.9 RATED SHORT-TIME CURRENT : ไม่นอ้ ยกว่า 50 kA/1 Sec ที่แรงดันใช้งาน
Icw หรื อตามที่กาหนดไว้ในแบบ
18.3.10 RATED PEAKED WITHSTAND : ไม่นอ้ ยกว่า 2.8 เท่าของ RATED SHORT CIRCUIT
CURRENT (Ipk) CAPACITY ของ MAIN CIRCUIT BREAKER
18.3.11 CONTROL VOLTAGE : 220-240 VAC
18.3.12 TEMPERATURE RISE OF BUSBAR : FINAL TEMPRATURE 70C (Present Derating)
[AMBIENT TEMP 40C +TEMP RISE 30C ]

โครงการ : Gulf PD Visitor Center หน้า M - 88


รายละเอียดข้อกาหนดประกอบแบบ
งานวิศวกรรมระบบปรับอากาศและระบายอากาศ

18.3.13 MAX. AMBIENT TEMPERATURE : 40 C


DESIGN
18.3.14 CUBICLE FINISHING : ELECTRO GALVANIZED STEEL SHEET WITH
EPOXY/POLYESTER POWDER PAINT COATING
18.3.15 ENCLOSURE’S DEGREE OF : IP 42 (MIN) Indoor / IP 54 for Outdoor Refer to IEC
PROTECTION 60529 หรื อตามที่กาหนดไว้ในแบบ
18.3.16 TYPICAL FORMS : ตามแบบที่กาหนด

18.4 ลักษณะโครงสร้ ำงและกำรจัดสร้ ำงแผงสวิตช์


18.4.1 แผงสวิตช์ฯ ที่ใช้เป็ นแบบตั้งพื้น (Floor Standing) โครงสร้างของแผงสวิตช์ฯ ต้องเป็ นแบบ Modularized
Design ที่สามารถต่อขยายได้ง่าย โดยโครงสร้างรอบนอกที่เป็ นส่ วนเสริ มความแข็งแรงทาด้วยเหล็กหนาอย่างน้อย 2.0
มิ ลลิ เมตรที่ ผ่านกระบวนการป้ องกัน การกัดกร่ อนด้วยกระบวนการ Electro-Galvanized Coating ที่ ได้ตามมาตรฐาน
IEC 60068 แล้วจึงพ่นด้วยสี Epoxy/Polyester Power ที่ความหนาไม่นอ้ ยกว่า 60 ไมครอน โครงสร้างเชื่อมติดกันหรื อยึด
ติดกันด้วยสลักและ แป้ นเกลียว
18.4.1.1 ภายในของแผงสวิตช์ฯ แต่ละส่ วนต้องจัดแบ่งภายในออกเป็ นช่องๆ (Compartment) ให้ได้ตาม
มาตรฐาน IEC61439-2 โดยให้จดั แบ่งส่วนต่างๆ ภายในแผงเมนสวิตช์ฯ ดังนี้
- Circuit Breaker Compartment สาหรับติดตั้งอุปกรณ์ตดั ตอนวงจรไฟฟ้ าต่างๆ
- Metering & Control Compartment สาหรับติดตั้งอุปกรณ์เครื่ องวัด, อุปกรณ์ป้องกันรวมทั้ง
Terminal Block สาหรับต่อสายระบบควบคุมและสัญญาณเตือน โดยปกติช่องนี้ให้จดั ไว้ที่ส่วนบนของแผงเมน
สวิตช์ฯ
- Busbars Compartment เป็ นช่องสาหรับติดตั้ง Busbars ทั้ง Horizontal และ Vertical
- CABLE COMPARTMENT เป็ นส่วนสาหรับเดินสายไฟฟ้ าไปยังมอเตอร์
- TERMINAL COMPARTMENT เป็ นส่วนติดตั้งขั้วต่อสายไฟฟ้ ากาลัง และสายไฟฟ้ าควบคุม
ที่ตอ้ งต่อกับตูส้ ่ วนอื่น หรื อต่อออกไปภายนอก ควรจัดให้อยู่ส่วนล่างหรื อส่ วนบนของตูแ้ ล้วแต่กรณี เพื่อให้การ
เดินสายได้สะดวก
- UNIT COMPARTMENT เป็ นส่ ว นส าหรั บ ติ ด ตั้ง สวิ ต ช์ ตัด วงจร สตาร์ ท เตอร์ อุ ป กรณ์
ป้ องกันรวมทั้งอุปกรณ์ เครื่ องวัดต่างๆ ส่ วนนี้ ให้แบ่งเป็ น MODULE โดยแต่ละ MODULE ให้บรรจุอุปกรณ์
ควบคุมและป้ องกันของมอเตอร์ไฟฟ้ าแต่ละตัวเป็ นชุดๆ
18.4.1.2 โครงสร้างของแผงสวิตช์ตอ้ งเป็ นแบบ Self-standing Metal Structure โดยโครงสร้างที่เป็ นส่ วน
เสริ มความแข็งแรงต้องเป็ นเหล็กหนาไม่น้อยกว่า 2.0 มิลลิเมตร ส่ วนฝาทุกด้านต้องเป็ นแผ่นเหล็กหนาไม่น้อยกว่า 1.6
มิลลิเมตร ทั้งนี้ฝาของแผงสวิตช์แต่ละด้านต้องเป็ นไปตามกาหนด ดังนี้
- ประตูปิด-เปิ ดด้านหน้าเป็ น FLUSH LOCK ซึ่งเป็ นฝา 2 ชั้นและต้องมี KEY LOCK ด้วย และ
ต้องมี CIRCUIT DIRECTORY WITH CLEAR PLASTIC COVERING บอก CIRCUIT ต่างๆ ติดอยู่ที่ฝาประตูภายใน
บานประตูตอ้ งแข็งแรงไม่บิดงอ ฝาสาหรับ Metering and Control Compartment ให้แยกเป็ นอีกฝาหนึ่ง

โครงการ : Gulf PD Visitor Center หน้า M - 89


รายละเอียดข้อกาหนดประกอบแบบ
งานวิศวกรรมระบบปรับอากาศและระบายอากาศ

- ในกรณี ที่มีฝาเปิ ด/ปิ ดด้านหลัง ฝาปิ ดด้านหลังทั้งหมดให้ใช้แบบเปิ ดแบบสวิง สามารถ เปิ ด/


ปิ ด ฝาได้ง่าย และให้เจาะรู ระบายอากาศ (Drip–Proof Louver) โดยมีแผ่นเหล็กชนิดรู พรุ น (Pertorated Sheet Metal) ติด
ด้านในที่ฝาปิ ดด้านข้างและที่ฝาปิ ดด้านหลัง
- ฝาด้านข้างริ มนอกทั้ง 2 ด้าน ให้เป็ นแผ่นเหล็กเรี ยบหรื อพับขึ้นขอบรู ปด้านละ 1 ชิ้น ยึดติด
กับโครงสร้างแผงสวิตช์ฯ ด้วยสกรู หรื อสลัก และแป้ นเกลียว ขนาดและจานวนที่เหมาะสมให้มีความแข็งแรง แต่ในกรณี
ที่ตอ้ งใช้แผงสวิตช์ฯ หลายส่ วน (Verticle Section) เรี ยงต่อกันให้ใช้ฝากั้นระหว่างส่ วน (Sheet Metal Safety Partition)
ต้องเป็ นแผ่นเหล็กเรี ยบหนาไม่นอ้ ยกว่า 1.6 มิลลิเมตร โดยมีช่องเจาะทะลุถึงกันเพียงพอตามต้องการ
- ฝาของแผงสวิตช์ฯ ทุกด้านต้องมีสายดินบริ ภณ ั ฑ์ โดยใช้ทองแดงชุบแบบถักต่อลงดินที่โครง
ของแผงสวิตช์
18.4.2 แผงสวิตช์ที่ใช้เป็ นแบบติดลอยที่ผนัง
18.4.2.1 การออกแบบและการสร้ างต้องเป็ นไปตามมาตรฐาน IEC 61439-1/2 เพื่อนามาใช้งานกับ
ระบบไฟฟ้ าที่ 230/400 VAC ( PEA ) or 240 /416 VAC ( MEA Rated) 3 เฟส 4 สาย 50 เฮิรตซ์
18.4.2.2 CABINET ต้อ งเป็ นแบบติ ดลอยที่ ผ นัง ตามที่ ร ะบุ ไ ว้ในแบบ ตัวตู้ท าด้วย GALVANIZED
CODED GUAGE SHEET มีประตูปิด-เปิ ดด้านหน้าเป็ น FLUSH LOCK ซึ่ งเป็ นฝา 2 ชั้นและต้องมี KEY LOCK ด้วย
และต้อ งมี CIRCUIT DIRECTORY WITH CLEAR PLASTIC COVERING บอก CIRCUIT ต่ า งๆ ติ ด อยู่ที่ ฝ าประตู
ภายใน
18.4.2.3 BUSBAR ที่ต่อกันกับ BREAKER ต้องเป็ น PHASE SEQUENCY TYPE
18.4.2.4 การติ ด ตั้ง แผงสวิ ต ช์ ต้อ งติ ด ตั้ง ดัง แสดงไว้ใ นแบบ แผงสวิ ต ช์ ต้อ งติ ด ตั้ง กับ ผนั ง โดย
EXPANSION BOLTS ที่เหมาะสมและต้องติดตั้งสูง 1.80 เมตร จากพื้นถึงระดับบนของแผงสวิตช์
18.4.3 การประกอบแผงสวิต ช์ ต้องคานึ งถึ งกรรมวิธีร ะบายความร้ อนที่ เกิ ดขึ้นจากอุปกรณ์ ภายในโดยวิ ธี
ไหลเวียนของอากาศตามธรรมชาติ ทั้งนี้ให้เจาะเกร็ ดระบายอากาศอย่างเพียงพอพร้อมติดตั้งตะแกรงกันแมลง (Insect
Screen) โดยยังสามารถคง Degree of Protection ไว้ที่ระดับ IP42 ตามมาตรฐาน IEC60529
18.4.4 กรรมวิธีป้องกันสนิมและ การพ่นสี โลหะชิ้นส่ วนที่เป็ นเหล็กทุกชิ้น ต้องผ่านกรรมวิธีป้องกันสนิมแล้ว
พ่นสี ทบั ตามกรรมวิธีดงั ต่อไปนี้
- ชิ้นส่ วนที่เป็ นอะลูมิเนียมและโลหะไม่เป็ นสนิมชนิดอื่น ถ้ากาหนดไว้ให้พ่นสี ก็ให้ใช้วิธีการเดียวกัน
กับที่กาหนดแต่ไม่ตอ้ งล้างด้วยน้ ายากันสนิม
- วิธีทาความสะอาดโลหะ
a. ทาการขัดผิวโลหะให้เรี ยบและสะอาด
b. ทาการล้างแผ่นโลหะเพื่อล้างไขมัน หรื อน้ ามันออกจากแผ่นโลหะสะอาด (Degreasing)
c. เฉพาะแผ่นเหล็กถ้ามีร่องรอยของการเกิดสนิ ม และไม่ใช่แผ่นเหล็กใหม่ ต้องล้างด้วยน้ ายา
ล้างสนิมเพื่อให้สนิมเหลืออยู่หลังการขัด หลุดออกทั้งหมด น้ ายาล้างสนิมให้ใช้ของ ICI หรื อ
เทียบเท่า
- การเคลือบผิวชั้นแรกให้ใช้วิธีชุบสังกะสี โดยวิธีชุบไฟฟ้ า (Electro-Galvanized Coating) โดยชิ้นงานที่
ผ่านกระบวนการต้องได้ตามมาตรฐาน IEC60068 หรื อ BS 1706
- การพ่นสี ช้ นั นอกให้ใช้สี Epoxy/Polyester Power อย่างดีพ่นให้ทวั่ อย่างน้อยความหนาสี 60 ไมครอน
แล้วอบด้วยความร้อน 200 องศาเซลเซียส

โครงการ : Gulf PD Visitor Center หน้า M - 90


รายละเอียดข้อกาหนดประกอบแบบ
งานวิศวกรรมระบบปรับอากาศและระบายอากาศ

18.5 บัสบำร์ และกำรติดตั้งแผงสวิตช์ ฯ


18.5.1 บัสบาร์ ต้องเป็ นทองแดงที่ มีความนาไม่น้อยกว่ า 98.99 %IACS ที่ ผลิ ตขึ้นสาหรั บใช้กับงานไฟฟ้ า
โดยเฉพาะ โดยผลิตตามมาตรฐานที่ผวู ้ ่าจ้างยอมรับ
18.5.2 บัสบาร์ มีขนาดตามที่กาหนดในแบบ และมี ความสามารถในการรับกระแสไฟฟ้ าโดยให้แสดงการ
เลือกใช้งานบัสบาร์ ให้ Derating พิกดั กระแสเป็ นไปตามมาตรฐาน DIN 43671 โดยให้คิดแบบเปลือย ( Bare Rated)
ไม่ใช่ แบบพ่นสี (Bare Rating) และยอมให้อุณหภูมิเพิ่มสู งสุ ด 30 องศาเซลเซี ยส (Temperature Rise) เหนื ออุณหภูมิ
โดยรอบสู งสุ ด 40 องศาเซลเซี ยส โดยตัวนาทาด้วยทองแดง (Copper(CW004A)) ทนกระแสไฟฟ้ าได้ตามที่กาหนดใน
แบบ (Single Line) และมีขนาดไม่น้อยกว่าขนาดเฟรม (Frame Size) ของ CIRCUIT BREAKER การแสดงเฟสทาโดย
การติดตั้งสติกเกอร์ที่ทนอุณหภูมิได้ไม่นอ้ ยกว่า 110 ๐C โดยกาหนดรหัสและสี ดังนี้
เฟส A : L1 (สี น้ าตาล)
เฟส B : L2 (สี ดา)
เฟส C : L3 (สี เทา)
NEUTRAL : N (สี ฟ้า)
GROUND : G (สี เขียว)
18.5.3 ขนาดของบัสบาร์ เส้นศูนย์ให้มีขนาดเท่ากับเส้นเฟสหรื อตามที่กาหนด ขนาดบัสบาร์ เส้นดิน (Ground
Bus) ให้ใช้ทองแดงที่มีความสามารถในการรองรับปริ มาณกระแสลัดวงจร (Icw) ได้ไม่นอ้ ยกว่า 60% ของวงจรเมนหรื อ
เฟส หรื อตามที่กาหนด ที่เวลาไม่นอ้ ยกว่า 0.4 วินาที
18.5.4 การจัดเรี ยงบัสบาร์ในแผงสวิตช์ฯ ให้จดั เรี ยงตาม เฟส N, A, B, C หรื อ N,L1,L2,L3 โดยเมื่อมองเข้ามา
ด้านหน้าของสวิตช์ฯ ให้มีลกั ษณะเรี ยงจากหน้าไปหลังหรื อจากด้านบนลงมาด้านล่าง หรื อจากซ้ายมือไปขวามืออย่างใด
อย่างหนึ่ง กรณี ที่มีการกาหนดเป็ น Code เฟสของตัวนา ให้กาหนดเป็ นสี น้ าตาล, ดา, เทา, นิวทรัลสี ฟ้า และกราวน์สีเขียว
ตามลาดับ
18.5.5 บัสบาร์ ที่ติดตั้งตามแนวนอน (รวมทั้ง Neutral Bus และ Ground Bus) ต้องมีความยาวตลอดเท่าความ
กว้างของแผงสวิตช์ฯ ทั้งชุด
18.5.6 บัสบาร์ เส้นดินต้องต่อกับโครงของแผงสวิตช์ทุกๆ ส่ วน และต้องมีความต่อเนื่ องทางไฟฟ้ าที่มนั่ คง
ถาวร บัสบาร์เส้นดินและเส้นศูนย์ตอ้ งมีพ้นื ที่และสิ่ งอานวยความสะดวกเตรี ยมไว้สาหรับต่อสายดินของบริ ภณั ฑ์
18.5.7 BUSBAR HOLDERS ต้องเป็ นวัสดุ ประเภท FIBERGLASS REINFORCED POLYESTER, EPOXY
RESIN หรื อเป็ นผลิตภัณฑ์ชนิดเดียวกันกับตูท้ ี่เคยผ่านการทดสอบ (Photype) ตามาตรฐาน IEC61439-1&2 สาหรับติดตั้ง
ภายใน แบบสองชิ้นประกบ BUSBAR โดยยึดด้วย BOLT และ NUT หุ้ม SPACER ที่เป็ นฉนวนไฟฟ้ า และต้องสามารถ
ทนแรงที่เกิดจากกระแสลัดวงจรได้ตามข้อกาหนด โดยไม่ทาให้เกิดการเสี ยหายเมื่อเกิดกระแสลัดวงจร
18.5.8 BUSBAR และ HOLDERS ต้องมีขอ้ มูลทางเทคนิคและผลการคานวณเพื่อแสดงว่าสามารถทนต่อแรง
ใดๆที่เกิดจากกระแสไฟฟ้ าลัดวงจรได้ไม่นอ้ ยกว่ากระแสไฟฟ้ าลัดวงจรด้านแรงต่าของหม้อแปลงไฟฟ้ า โดยไม่เกิดการ
เสี ยหายใดๆ รวมทั้ง BOLTS และ NUTS ต้องทนต่อแรงเหล่านั้นได้ดว้ ยเช่นกัน
18.5.9 กาหนดให้อุณหภูมิเพิ่มสู งสุ ด (Maximum Temperature Rise) ไม่เกิ น 30 °C เหนื ออุณหภูมิโดยรอบ
สูงสุ ด (Maximum Ambient Temperature) 40 °C

โครงการ : Gulf PD Visitor Center หน้า M - 91


รายละเอียดข้อกาหนดประกอบแบบ
งานวิศวกรรมระบบปรับอากาศและระบายอากาศ

18.6 สำยไฟฟ้ ำสำหรับภำยในแผงสวิตช์ ฯ


18.6.1 สายไฟฟ้ าสาหรับระบบควบคุมและเครื่ องวัด ซึ่งเดินเชื่อมระหว่างอุปกรณ์ไฟฟ้ ากันอุปกรณ์ไฟฟ้ า และ
อุปกรณ์ไฟฟ้ ากับ TERMINAL BLOCK ให้ใช้สายชนิด FLEXIBLE ANNEALED ชนิดทนแรงดันไฟฟ้ าได้ 750 โวลต์
ฉนวนทนความร้อนได้ 105 องศาเซลเซี ยส สายไฟฟ้ าหลายเส้นที่เดินไปด้วยกันให้สีต่างกันเพื่อความสะดวกในการ
บารุ งรักษา โดยการโยกย้ายต้องระบุไว้ในแบบ (Asbuilt Drawing) ขนาดของสายไฟฟ้ าต้องสามารถนากระแสไฟฟ้ าได้
ตามต้องการแต่ไม่เล็กกว่ากาหนดดังนี้
CURRENT CIRCUIT : 4.0 ตารางมิลลิเมตร
VOLTAGE CIRCUIT : 2.5 ตารางมิลลิเมตร
CONTROL CIRCUIT : 1.5 ตารางมิลลิเมตร
GROUND สาหรับบานประตู : 10.0 ตารางมิลลิเมตร
18.6.2 การต่อวงจรกาลังในแผงจ่ายไฟ เช่น ระหว่างบัสบาร์กบั สวิตช์ตดั ตอนเป็ นต้น ให้ต่อด้วยสายไฟฟ้ าหุ้ม
ฉนวนชนิดทนแรงดันได้ 750 โวลต์ และทนความร้อนได้ไม่นอ้ ยกว่า 105 องศาเซลเซียส หรื อต่อด้วยบัสบาร์ทองแดงหุม้
ฉนวนแบบหดตัวด้วยความร้อน (Heat Shrinkable Tubing) ที่ 40 องศาเซลเซียส ขนาดตามที่กาหนดในแบบ
18.6.3 การเดินสายไฟฟ้ าภายในแผงสวิตช์ฯ ให้เดินในท่อร้อยสายหรื อรางพลาสติก ช่วงที่ต่อเข้าอุปกรณ์ให้
ร้อยในท่อพลาสติกอ่อน การต่อสายไฟฟ้ าเข้าอุปกรณ์ให้ต่อผ่านขั้วต่อสายชนิ ดสองด้านห้ามต่อตรงกับอุปกรณ์ ถ้ามี
สายไฟฟ้ าส่วนที่ตอ้ งเดินอยูน่ อกให้ใช้สายไฟฟ้ าชนิดหลายแกนมีฉนวนและเปลือกนอก
18.6.4 สายไฟฟ้ าทุกเส้นที่ปลายทั้ง 2 ด้านต้องมีหมายเลขกากับ (Wire Mark) เป็ นแบบปลอกสวม ยากแก่การ
ลอกหรื อหลุดหาย
18.6.5 ขั้วต่อสาย (Terminal) ให้ใช้แบบใช้เครื่ องมือกลบีบ ขั้วต่อสายไฟฟ้ าเป็ นชนิดที่ใช้กบั สายทองแดง
18.6.6 สลักเกลี ย ว แป้ นเกลี ย ว และแหวน (Bolts, Nuts & Washers) สาหรั บ ต่ อ บัสบาร์ ใ ห้ ใ ช้ชนิ ด High–
Tensile, Electro–Galvanized or Chrome – Plated (Class 8.8) ให้ใช้จานวนสลักและแป้ นเกลียวให้เพียงพอแล้วขันด้วย
Torque Wrench ให้เพียงพอตามที่กาหนดไว้
18.6.7 การต่อสายไฟเข้ากับบัสบาร์ ตอ้ งต่อผ่านขั้วต่อสาย การต่อขั้วต่อสายกับบัสบาร์ หรื อต่อบัสบาร์ กบั บัส
บาร์ให้ใช้สลักและแป้ นเกลียวพร้อมแหวนสปริ ง ก่อนต่อต้องทาความสะอาดบริ เวณผิวสัมผัสด้วยแปรงโลหะ

18.7 MIMIC BUS และ NAMEPLATE


แผงสวิตช์ตอ้ งมีขอ้ มูลขั้นต้นแสดงไว้เพื่อความสะดวกในการใช้งานและบารุ งรักษาอย่างน้อยดังนี้
18.7.1 ที่หน้าแผงสวิตช์ฯ ต้องมี Mimic Bus เพื่อแสดงการจ่ายกระแสไฟฟ้ าเข้าและออกทาด้วยแผ่นพลาสติกสี
ดาสาหรับแผงสวิตช์ฯ ระบบไฟฟ้ าปกติ และสี แดงสาหรับแผงสวิตช์ฯ ระบบไฟฟ้ าฉุ กเฉิ น หรื อสิ่ งที่ผวู ้ ่าจ้างเห็นชอบ มี
ความหนาไม่นอ้ ยกว่า 3 มิลลิเมตร และกว้างไม่นอ้ ยกว่า 10 มิลลิเมตร ยึดแน่นกับแผงสวิตช์ฯ
18.7.2 ให้มี Nameplate เพื่อแสดงว่าอุปกรณ์ตดั วงจรไฟฟ้ าใด จ่ายหรื อควบคุมอุปกรณ์ไฟฟ้ าใด หรื อกลุ่มใด
เป็ นแผ่นพลาสติกสองชั้น ชั้นนอกเป็ นสี ดาและชั้นในเป็ นสี ขาว การแกะสลักตัวหนังสื อทาบนแผ่นพลาสติกสี ดา เพื่อว่า
เมื่อประกอบกันแล้วตัวหนังสื อจะปรากฏเป็ นสี ขาว โดยความสูงของตัวอักษรต้องไม่นอ้ ยกว่า 20 มิลลิเมตร หรื อตามที่ผู ้
ว่าจ้างเห็นชอบ
18.7.3 ป้ ายแสดงชื่อและสถานที่ติดต่อของผูผ้ ลิต เป็ นป้ ายที่ทนทานไม่ลบเลือนได้ง่ายติดไว้ที่แผงสวิตช์ดา้ น
นอกตรงที่ๆ เห็นได้ง่ายหลังการติดตั้งแล้ว

โครงการ : Gulf PD Visitor Center หน้า M - 92


รายละเอียดข้อกาหนดประกอบแบบ
งานวิศวกรรมระบบปรับอากาศและระบายอากาศ

18.8 MOTOR STARTER แบบ DIRECT-ON-LINE และ STAR-DELTA


18.8.1 อุปกรณ์ที่เป็ นชุดประกอบด้วย CONTACTOR, OVERLOAD RELAY และ TIMER RELAY ซึ่ งการ
เปลี่ยน STARTER สามารถกระทาได้ท้งั ชุด
18.8.2 STAR-DELTA STARTER ต้องเป็ นชนิดใช้ CONTACTOR จานวน 3 ชุด
18.8.3 STARTER สาหรับมอเตอร์ 3 เฟส ต้องมี 3-PHASE OVER-AND UNDERVOLTAGE PROTECTION
เว้นแต่จะมีระบบป้ องกันนี้ร่วมกันอยูแ่ ล้ว
18.8.4 CONTACTOR ที่ใช้ตอ้ งมีคุณสมบัติดงั นี้
18.8.4.1 ผลิตและทดสอบตามมาตรฐาน IEC 60947-4-1 หรื อเทียบเท่า
18.8.4.2 อุปกรณ์ภายใน เช่น HOLDING COIL, MOVING CONTACT ต้องสามารถถอดเปลี่ยนได้
เมื่อชารุ ด
18.8.4.3 ต้ อ งมี AUXILIARY CONTACT อย่ า งน้ อ ย NORMALLY-OPENED (NO) 2 ชุ ด และ
NORMALLY-CLOSED (NC) 2 ชุด หรื อมี CHANGEOVER CONTACT 2 ชุด
18.8.4.4 ขนาดต้องมีความเหมาะสม สามารถรับกระแสไฟฟ้ าสาหรับมอเตอร์แต่ละตัวได้ ทั้งในขณะ
สตาร์ท ตามคาแนะนาของผูผ้ ลิต
18.8.5 ต้องมี PUSH BUTTON สาหรับ START-STOP ที่เหมาะสม และครบถ้วยตามกาหนดในแบบ

18.9 MOTOR STARTER แบบ SOLID-STATE REDUCED VOLTAGE STARTER (SOFT START)
18.9.1 ต้องเป็ นชนิ ดที่มีการควบคุมด้วยอุปกรณ์ไทริ สเตอร์ (SCRs) ครบทั้งสามเฟส ผลิตและทดสอบตาม
มาตรฐาน IEC 60947-4-2 Category AC-53a/AC53B หรื อมาตรฐานอื่นที่เทียบเท่าและเหมาะสมกับลักษณะการทางาน
ของมอเตอร์ที่ระบุในแบบ
18.9.2 หลักการทางานของสตาร์ ตเตอร์ ไม่ได้ใช้หลักการลิมิตกระแสหรื อการปรับระดับแรงดันแบบธรรมดา
แต่ใช้หลักการควบคุมแรงบิดของมอเตอร์ (Torque control) ซึ่ งสามารถปรับระดับแรงบิดได้ตลอดช่วงการเร่ งความเร็ ว
นอกจากนี้ยงั สามารถปรับแรงบิดให้มีค่าคงที่ตลอดตั้งแต่สตาร์ตจนถึงความเร็ วสูงสุ ด
18.9.3 สาหรับระบบงานที่ใช้กบั ปั๊ ม สามารถแก้ปัญหาการกระแทกของน้ า (Water hammer) ได้ โดยการลด
ความเร็ วด้วยวิธีการปรับแรงบิด
18.9.4 มีคุณสมบัติตามข้อกาหนดมาตรฐาน IEC 60947-4-2 หรื อเทียบเทียบ
คุณสมบัติทำงเทคนิค
(1) ใช้งานได้กบั ระบบไฟฟ้ า 3 เฟส 380…415 โวลต์ 50/60 เฮิรตซ์ +/-5% และยังสามารถปรับให้เป็ น +/-20%
เมื่อใช้กบั เครื่ องปั่นไฟฟ้ า (Generator)
(2) สามารถปรับตั้งค่าในการทางานได้อย่างน้อย ดังนี้
• Nominal Motor Current : 0.4 –1.3 เท่า
• Current Limited : 150% – 500%
• Acceleration Ramp Time : 1 – 60 วินาที
• Deceleration Ramp Time : 1 – 60 วินาที
• Power Factor : ≥ 0.9 Lagging
(3) มีจานวนชุดควบคุมสัญญาณดังนี้

โครงการ : Gulf PD Visitor Center หน้า M - 93


รายละเอียดข้อกาหนดประกอบแบบ
งานวิศวกรรมระบบปรับอากาศและระบายอากาศ

i. Logic inputs : 4 Inputs


ii. Relay outputs : 3 relays
iii. Logic Outputs : 2 Outputs
iv. Analogue Output : 1 Output ปรับตั้งได้ 4-20mA หรื อ 0-20mA
v. แหล่งจ่ายไฟ 24 Vdc สาหรับ Logic Inputs/Output ภายในตัวเครื่ อง
vi. สามารถใช้งานร่ วมกับหัววัดอุณหภูมิ (PTC Probe) เพื่อป้ องกันความร้อนของมอเตอร์
(5) มีระบบป้ องกันในตัวอย่างน้อย ดังนี้ :-
• Motor Thermal Protection
• Overcurrent (Overload) Protection
• Phase Failure Protection
• Starter Thermal Protection
• Power Supply Protection
• Active filter front end หรื อเทียบเท่า ที่ Limited Hamonic ≤ 3% ( THD)
โดย Fault หรื อ Alarm ที่เกิดขึ้นสามารถเก็บบันทึกในตัวเครื่ องได้อย่างน้อย 4 ค่า
(6) การปรับตั้งค่าต่างๆ ของการทางานสามารถกระทาได้ที่ตวั ของ Starter เอง โดยที่หน้าจอ
ของ Softstart ต้องเป็ น Display เพื่อให้สะดวกต่อการใช้งาน และสามารถแสดงค่าต่างๆ ได้อย่างชัดเจน นอกจากนั้นยัง
สามารถกระทาได้โดยการใช้ Personal Computer หรื อข่ายสายสัญญาณคอมพิวเตอร์ อื่นๆ ผ่าน ขั้วต่อเชื่อมแบบ RJ45/USB
และสามารถ Control/Monitor ผ่าน Profibus หรื อ Fieldbus อื่นๆ ได้
(7) Soft Starter ต้องมี By-Pass Contactor ชนิด AC3 แบบ External ให้ทางานในขณะมอเตอร์
เดิน (Running Period) เพื่อลดภาระการทางานของ Starter
(8) สามารถติดตั้งภายในแผงสวิทซ์ โดยมีระบบระบายความร้อนตามข้อแนะนาของผูผ้ ลิต
(9) พิกดั กระแสของอุปกรณ์ Soft starter จะต้องมีค่าไม่น้อยกว่าพิกดั กระแสของมอเตอร์ และ
ชนิดของโหลดที่ติดตั้งใช้งานแบบ Inline ที่อุณหภูมิ 40 องศาเซลเซียส
(8) หน้าตูค้ วบคุมจะต้องมีสวิทช์และปุ่ มกด เช่น Local-Remote, Start, Stop, Emergency Stop,
Reset เป็ นต้น และหลอดไฟแสดงสถานะการทางาน เช่น เฟส R-S-T, Run, Standby, Fault/Alarm, Hour Meter, Ammeter
เป็ นต้น โดยผูร้ ับจ้างจะต้องนาเสนอรู ปแบบต่อผูค้ วบคุมงาน ในขั้นตอนการขออนุมตั ิ

18.10 MOTOR STARTER แบบ VARIABLE SPEED DRIVE (VSD)


ชุ ด มอเตอร์ สตาร์ ทเตอร์ ด้ ว ย VSD / SOFT STARTER Conforming to category3C2 of IEC 60721-3-3
Pprotection degree IP21 (กรณี ติดตั้งภายใน Enclosure) or Nema type 1) ถึง IP 54 กรณี ติดตั้งภายนอกโดยตรง โดย VSD
จะต้องถูกออกแบบมาเพื่อใช้กบั ระบบปรับอากาศ และระบายอากาศ คือใช้กบั พัดลมโดยเฉพาะ VSD จะต้องสามารถ
ทางานได้ท้งั ในลักษณะ Stand alone คือสามารถทางานได้ดว้ ยตัวเอง มีระบบป้ องกันภายในสมบูรณ์ และสามารถทางาน
ได้ ใ นลั ก ษณะเป็ นส่ ว นหนึ่ งของระบบควบคุ ม อาคาร (Building Management System) โดยผ่ า นระบบ Serial
Communication ใช้สาย RS 485
มำตรฐำนรองรับ
Compliance with international standards and certifications

โครงการ : Gulf PD Visitor Center หน้า M - 94


รายละเอียดข้อกาหนดประกอบแบบ
งานวิศวกรรมระบบปรับอากาศและระบายอากาศ

- Electrical industrial control equipment IEC/EN 61800-2 and IEC/EN 61800-5-1.


- Electromagnetic compatibility IEC/EN 61800-3.
- Standard for functional safety IEC/EN 61508, SIL2 capability (safety
Control-signaling applied to processes and
Systems).
- Control system functions (programming in IEC 61131-3 compliant languages)
ควำมต้ องกำรทำงเทคนิค
1.VSD มี ห น้าที่ แ ปลงกระแสไฟฟ้ าที่ เ ข้า จาก 50 Hz. 3 Phase 380 V + 10% ให้ มี ไ ฟขาออกจ่ ายไป
มอเตอร์ ที่แรงดันและความถี่ แปรเปลี่ ยนVSD จะต้องสามารถจ่ายแรงดันไปยังมอเตอร์ ได้เท่ากับ
แรงดันของไฟเข้า (RMS Fundamental Voltage) ณ ที่ Full load และ Full speed และถ้า Input Voltage
ลดลงในช่วง -10% VSD ยังคงสามารถจ่าย Volt ให้กบั มอเตอร์ ได้เต็ม เพื่อให้มอเตอร์ ไม่ดึงกระแส
สูงเกินไป ในกรณี ไฟตก
2. VSD จะต้องใช้ได้กับมอเตอร์ มาตรฐาน IEC และไม่ทาให้มอเตอร์ ลดความสามารถในการจ่ าย
พลังงานลง หรื อไม่ทาให้มอเตอร์มีอุณหภูมิสูงขึ้นเกินกว่าการทางานปกติ และมอเตอร์ไม่จาเป็ นต้อง
มีพดั ลมระบายความร้อนเพิ่มเติมเพื่อลดอุณหภูมิหรื อระบายความร้อน
3. VSD จะต้องสามารถจ่ายไฟได้เต็มตาม output torque ของมอเตอร์ โดยไม่ทาให้เกิดความร้อนสู ง
ผิดปกติในมอเตอร์ โดยมีประสิ ทธิภาพ ดังนี้
• Input voltage and 200V to 240VAC +10% 1/2HP -60 HP
Power ranges 380V to 480VAC +10% 1HP – 160 HP
0.37 to 75 kW
0.18 to 2,2 kW
0.18 to 15 kW
High Power 0.37 to 500 kW
4 to 1200 kW
0.75 to 315 kW
(3 phase)
• Input frequency 47 Hz to 63 Hz
• Output frequency 0 Hz to 650 Hz
• Power factor >0.9
• Active filter front end หรื อเทียบเท่า ที่ Limited Hamonic ≤ 3% (THD)
• VFD efficiency 96 to 97%
• Overload capability 110% for 60 seconds; 150% for 3 seconds
• Control Method Vector control, torque control, linear V/f (fan curve);
• Skip frequency bands 4, programmable
• Setpoint resolution 0.01 Hz digital

โครงการ : Gulf PD Visitor Center หน้า M - 95


รายละเอียดข้อกาหนดประกอบแบบ
งานวิศวกรรมระบบปรับอากาศและระบายอากาศ

• Protection Level IP 20(NEMA Type 1


• Temperature Range -10o C to +40o C (14o F to 104o F)
• Humidity 95% RH – non-condensing
• Functions available
- Torque regulation
- Torque / speed regulation switching
- Torque limitation
- Current limitation
- Demineralisation of reference (magnifying glass effect)
- Reference switching
- Operations on the references (summing, subtraction,
• Multiplication) S and customised ramps
- Ramp switching
- Step by step (JOG)
- Preset speeds
- PID regulator
- Auto / manual
- Preset PID references
- Brake sequence suited to movements
- High speed hoisting
- Brake contact feedback processing
- Weight measurement processing
- Limit switch management
- HSP-> LSP end of travel positioning
- Load balancing
- Multimotors, multiconfigurations
- Multiparameters
- Auto-tuning
- Motor fluxing
- + speed / - speed with single or 2-stage pushbuttons
- Reference saving
- Automatic DC injection
- Configuration of type of stop: freewheel stop, fast stop,
• DC injection stop, fastest stop possible
- Configurable undervoltage management

โครงการ : Gulf PD Visitor Center หน้า M - 96


รายละเอียดข้อกาหนดประกอบแบบ
งานวิศวกรรมระบบปรับอากาศและระบายอากาศ

- Line contactor control


- Downstream contactor control
- Downstream contactors integrity check
- Fault reset
- Fault inhibition
- Automatic restart

18.11 เครื่องวัด และอุปกรณ์


18.11.1 CURRENT TRANSFORMER (CT) SECONDARY RATED CURRENT 5A, PRIMARY RATED
CURRENT ตามที่กาหนดในแบบหรื อเหมาะสมกับ LOAD นั้นๆ ACCURACY CLASS : 1.0 หรื อดีกว่า โดยต้องผลิต
ตามมาตรฐาน IEC 44-1 และ UL94 ซึ่ งต้องมี ค่า SHORT CIRCUIT THERMAL CURRENT (Ith) ไม่น้อยกว่า 60 In,
THERMAL CLASS B (130ºC)
18.11.2 AMMETER และ VOLTMETER ต้องเป็ นแบบ SWITCHBOARD MOUNTED ขนาดหน้าปัทม์ไม่เล็ก
กว่า 96 × 96 มิลลิเมตร, SCALE ชนิด WIDE ANGLE และ ACCURACY CLASS 1.5
18.11.3 KILOWATTMETER ใช้ชนิด 3-PHASE UNBALANCE LOAD แบบ SWITCHBOARD MOUNTED
ขนาดหน้าปัทม์ไม่เล็กกว่า 96 × 96 มิลลิเมตร, SCALE ชนิด WIDE ANGLE และ ACCURACY CLASS 1.5
18.11.4 POWER-FACTOR METER ชนิด 3 เฟส 4 สาย แบบ SWITCHBOARD MOUNTED ขนาดหน้าปั ทม์
ไม่เล็กกว่า 96 × 96 มิลลิเมตร, SCALE ตั้งแต่ 0.5 LEADING ถึง 0.5 LAGGING และ ACCURACY CLASS 0.5
18.11.5 PILOT LAMP หรื อ INDICATING LAMP ใช้ชนิ ดที่ผลิตตามมาตรฐาน VDE หรื อเทียบเท่า มีเลนส์
ด้านหน้า ใช้สาหรับกระแสสลับ 220 โวลต์ ใช้ฐานหลอดแบบ E14 และหลอดนีออน
18.11.6 SELECTOR SWITCH แบบ SWITCHBOARD MOUNTING จ านวน 7 STEP ส าหรั บ VOLT-
SELECTOR SWITCH และ 4 STEP สาหรับ AMP-SELECTOR SWITCH
18.11.7 KILOWATT HOUR METER มิเตอร์ วดั ไฟฟ้ าชนิดจานหมุน ใช้การแสดงผลผ่านลูกล้อตัวเลขไม่นอ้ ย
กว่า 4 หลัก + 1 หลักทศนิยม ผลิตตามมาตรฐาน TIS 2336-2552, IEC 62052-11, IEC 62053-11 โดยมีคุณสมบัติดงั นี้
- ระบบไฟฟ้ า : 1 PHASE 230 V / 3 PHASE 230/400 V
- กระแส : ตามที่ระบุในแบบ
- ความถี่ : 50 Hz
- อุณหภูมิ : 0-55 OC
- ความชื้น : 0-95 %RH
- ความแม่นยาในการวัด : CLASS 2
- การทนต่อแรงดันอิมพัลส์ : ไม่นอ้ ยกว่า 6 kV
- ระดับการป้ องกันน้ าและฝุ่ น : IP 51 Indoor / IP 54 for Outdoor
18.11.8 DIGITAL POWER MULTIMETER เป็ นมิเตอร์ วดั ค่าพารามิเตอร์ ทางไฟฟ้ าซึ่ งสามารถวัดค่าได้หลาย
ประเภทในตัวเดียวกัน แสดงผลเป็ นตัวเลข ติดตั้งใช้งานกับแผงสวิตช์จ่ายไฟใช้กบั ระบบไฟฟ้ าในประเทศไทยได้เป็ น
อย่างดี โดยจะเป็ นระบบ 1 เฟส หรื อ 3 เฟสนั้นให้เป็ นไปตามข้อกาหนดหรื อตาแหน่งที่ใช้งาน มิเตอร์สามารถต่อสื่ อสาร
กับระบบคอมพิวเตอร์ได้จากพอร์ตสื่ อสาร และตัวมิเตอร์ตอ้ งเป็ นผลิตภันฑ์ที่ได้ตามมาตรฐาน IEC

โครงการ : Gulf PD Visitor Center หน้า M - 97


รายละเอียดข้อกาหนดประกอบแบบ
งานวิศวกรรมระบบปรับอากาศและระบายอากาศ

18.11.8.1 มิแตอร์ (PWM3) สาหรับติดตั้งที่แผงสวิตช์ควบคุมมอเตอร์ไฟฟ้ า


• คุณลักษณะ
ก. เป็ นมิเตอร์ที่สามารถวัดค่าทาง ขนาด 96x96 มม.
อ่านแบบ TRUE RMS ของระบบไฟ 50 Hz. โดยอ่านค่า
- กระแส : แยกเฟส และนิวทรัล
- แรงดัน : แยกเฟสแบบ L – L และ L – N
- กาลัง : kW, kVAR, kVA แยกเฟสและรวม 3 เฟส
- พาวเวอร์แฟกเตอร์ : แยกเฟส และเฉลี่ย 3 เฟส
- ความถี่ : Hz
- ค่าความต้องการ (DEMAND) และค่าความต้องการสูงสุ ด (MAX DEMAND)
: ของกระแส (A) และกาลัง (kW, kVA)
- พลังงาน : kWH, kVARH
- ฮาร์โมนิคส์ : Individual Harmonic distortion:
IHD Up to 63rd
ข. จอแสดงผล (DISPLAY UNIT) เป็ นแบบ LCD Backlit และมี Bar-Graph for power
indication
ค. ระบบสื่ อสาร POWER METER จะต้องมีพอร์ทสื่ อสารแบบ Built-in RS485 MODBUS
Communication โดยมีความเร็ วสูงสุ ดไม่ต่ากว่า 38,400 bps
ง. มี 2 อินพุท (DIGITAL INPUT) / 2 เอาท์พุท (DIGITAL OUTPUT)
จ. การบันทึกข้อมูล
- บันทึกค่าสูงสุ ด (MAX) ของ กาลัง ค่าความต้องการ พลังงานไฟฟ้ า
ฉ. ความถูกต้อง (ACCURACY)
- Accuracy class ตามมาตรฐาน IEC62053-22 :0.5S
- ±0.2% ค่าที่อ่านได้ (กระแสและแรงดัน)
- ความถี่ 0.2% Hz
- ค่ากาลัง พลังงาน เป็ นไปตามมาตรฐานDIN EN 62053-22 หรื อ (VDE 0418 Part 3-
22)
ช. อุณหภูมิใช้งาน : ตัวมิเตอร์ -25ºC ถึง 55ºC
• คุณสมบัติ
- ใช้กบั CT และ VT ทัว่ ไปได้
- CT ใช้แบบต่อ 5/1 A
- สามารถต่อตรงกับระบบไฟฟ้ าโดยแรงดันต้องไม่เกิน 400 VL-L
- อ่านค่าได้สูงสุ ด : กระแส 9999 A แรงดัน 120% ของ 600V
- แรงดันวัด : 50 – 600 V (Line-to-Line)
- ทนแรงดันเกิน : 120%

โครงการ : Gulf PD Visitor Center หน้า M - 98


รายละเอียดข้อกาหนดประกอบแบบ
งานวิศวกรรมระบบปรับอากาศและระบายอากาศ

- Rated impulse withstand voltage: 6kV – 1.2µS waveform


- ไฟเลี้ยง (POWER SUPPLY) : 85– 275 VAC, 11 VA หรื อ 120 – 380 VDC
• มาตรฐานผลิตภัณฑ์ DIN EN62053-22 หรื อเทียบเท่า
18.11.9 SPD4 For DB ในอาคาร อุปกรณ์ ป้องกันแรงดันเสิ ร์จ (Surge Protection Device) Class II / T2 เป็ น
อุปกรณ์ป้องกันเสิ ร์จที่สร้างจาก MOV ใช้สาหรับติดตั้งอุปกรณ์ที่ตคู้ วบคุมไฟฟ้ า โดยมีรายละเอียดทางเทคนิคดังนี้
Technical Specification
อุปกรณ์ป้องกันแรงดันเสิ ร์จ Class II : MOV Technology
IEC Category/ EN Type II /T2
Nominal Voltage Un 230 V AC
Max. Continuous operating voltage Uc L-N / N-PE 385 V AC / 255 V AC
TOV behavior at UT (L-N) 440 V / 120 min (Withstand Mode)
Normal. discharged current (8/20) Imax 20 kA
Protection level Up at In (L-N / N-PE) ≤2 kV / ≤1.7 kV
Protection level Up at 5 kA (L-N / N-PE) ≤1.5 kV / ≤ 1.5 kV
Technology Advanced Circuit Interruption (ACI)
/ Safe Energy Control (SEC)
ให้ติดตั้งอุปกรณ์แบบขนานผ่าน ฟิ วส์ ขนาดไม่น้อยกว่า 125 A จุดต่อลงดินให้มีการต่อผ่าน Ground
terminal block ที่มีการต่อลง DIN Rail เพื่อลดผลกระทบต่อความยาวสายและแรงดันป้ องกันโดยรวม
18.11.10 TIMER SWITCH สวิตช์ต้ งั เวลาอัตโนมัติ ผลิตตามมาตรฐาน IEC730-2-7 สามารถทาหน้าที่ควบคุม
การใช้กระแสไฟฟ้ าตามเวลาที่กาหนดไว้โดยอัตโนมัติตลอด 24 ชัว่ โมง และตั้งช่วงเวลาได้ต่าสุ ดที่ 15 นาที มีแบตเตอรี่
สารอง 300 ชัว่ โมง สามารถถอดเปลี่ยนได้ง่ายจากด้านหน้า การติดตั้งใช้งานแบบติดผนังและบนราง DIN รองรับโหลด
ไฟฟ้ าชนิดมอเตอร์ 220V 1,500W กรณี ที่ติดตั้งในตูค้ อนโทรนจะต้องต่อผ่าน MAGNETIC CONTACTOR
18.11.11 TEMPERATURE SWITCH สวิ ต ช์ ต รวจจับ อุ ณ หถู มิ สามารถท าหน้ า ที่ ต รวจจับ อุ ณ หภู มิ และสั่ ง
ควบคุมการใช้กระแสไฟฟ้ าตามอุณหภูมิที่ต้งั ค่าไว้ได้ โดยอุณหภูมิสามารถตั้งค่าได้ต้งั แต่ 0๐C ถึง 50๐C

18.12 REMOTE AND LOCAL CONTROL PANEL


18.12.1 LOCAL-CONTROL PANEL ต้องเป็ นกล่องพับขึ้นรู ปตามที่กาหนดในหัวข้อ ลักษณะโครงสร้างแผง
สวิตช์ REMOTE CONTROL PANEL จะต้องตั้งอยู่ตามตาแหน่งที่กาหนดในแบบ ซึ่ งอาจมีการเปลี่ยนแปลงตาแหน่ง
เล็กน้อย เพื่อความเหมาะสม
18.12.2 LOCAL CONTROL PANEL ที่ ป ระจ าอยู่ ใ นต าแหน่ ง ติ ด ตั้ ง มอเตอร์ ต้ อ งมี LOCAL REMOTE
SELECTOR SWITCH และในกรณี ที่จาเป็ นอาจต้องใช้ AUXILIARY RELAY สาหรับการต่อเชื่อมระบบที่แรงดันไฟฟ้ า
แตกต่างกัน
18.12.3 REMOTE CONTROL จะเป็ นแบบ TWO-WIRE REMOTE ซึ่ งติดตั้งโดยงานระบบปรับอากาศและ
ระบายอากาศ ผูร้ ั บจ้างต้องจัดเตรี ยม CONTACTOR เพื่อเชื่ อมต่อกับระบบ TWO-WIRE ตามอุปกรณ์ ที่ระบุใ ห้ มี
REMOTE CONTROL ในตารางอุปกรณ์ในแบบ

โครงการ : Gulf PD Visitor Center หน้า M - 99


รายละเอียดข้อกาหนดประกอบแบบ
งานวิศวกรรมระบบปรับอากาศและระบายอากาศ

18.12.4 การจั ด สร้ า ง REMOTE และ LOCAL-CONTROL PANEL ต้ อ งจั ด ท า SHOP DRAWING แสดง
CONTROL CIRCUIT DIAGRAM และรู ปแบบของตัวตูแ้ ผงเสนออนุมตั ิจากผูค้ วบคุมงานก่อน
18.12.5 กรณี ที่มีเครื่ องวัดและอุปกรณ์อื่นๆ ให้เป็ นไปตามกาหนดเช่นเดียวกับ MOTOR CONTROL CENTER

18.13 กำรติดตั้ง
18.13.1 แผงสวิตช์ที่ติดตั้งในสถานที่ใช้งานจริ ง ต้องยึดติดกับฐานที่ต้งั ด้วยนอต จานวนไม่นอ้ ยกว่า 4 จุด ตาม
มุมทั้งสี่ อย่างแน่นหนา
18.13.2 ในกรณี ที่เป็ นพื้นคอนกรี ต นอตที่ใช้ตอ้ งเป็ นแบบ EXPANSION BOLT

18.14 กำรทดสอบ
18.14.1 การทดสอบประจาโรงงานผูผ้ ลิต (Routine Test) ตามมาตรฐาน IEC 61439-1 จะต้องทาการทดสอบ
ดังต่อไปนี้
18.14.1.1 ตรวจสอบการทางานตามวงจรควบคุมทางด้านไฟฟ้ า (Wiring, Electrical-Operation)
18.14.1.2 ตรวจสอบค่าความเป็ นฉนวนไฟฟ้ า (Dielectric Test)
18.14.1.3 ตรวจสอบการป้ องกันทางด้านไฟฟ้ า (Protective Measures)
18.14.1.4 ตรวจสอบค่าความต้านทานฉนวนไฟฟ้ า (Insulation Resistance)
18.14.2 นอกจากการทดสอบที่โรงงานผูผ้ ลิตตามความเห็นชอบของผูว้ ่าจ้าง เมื่อมีการติดตั้งในสถานที่ใช้งาน
แล้ว ต้องตรวจทดสอบอย่างน้อยดังนี้
18.14.2.1 ตรวจสอบค่าความเป็ นฉนวนไฟฟ้ าของอุปกรณ์ภายในแผงสวิตช์ท้งั หมด
18.14.2.2 ตรวจสอบค่าความเป็ นฉนวนไฟฟ้ าของสายป้ อน (Feeder) ต่างๆ ที่ออกจากแผงสวิตช์ฯ
18.14.2.3 ตรวจสอบระบบการทางานของอุปกรณ์ต่างๆ เพื่อทดสอบความถูกต้อง
18.14.2.4 ในขั้นตอนการตรวจสอบจะต้องให้ผูค้ วบคุมงานร่ วมตรวจสอบที่โรงงานและเห็น ชอบ
พร้อมอนุมตั ิผลการตรวจสอบ

โครงการ : Gulf PD Visitor Center หน้า M - 100


รายละเอียดข้อกาหนดประกอบแบบ
งานวิศวกรรมระบบปรับอากาศและระบายอากาศ

19. สำยไฟฟ้ำแรงต่ำ

19.1 ควำมต้ องกำรทั่วไป


สายไฟฟ้ าแรงต่ า ที่ ใ ช้ส าหรั บ แรงดัน ไฟฟ้ าระบบ (SYSTEM VOLTAGE) ไม่ เ กิ น 415Y/240 โวลต์ ต้อ งมี
คุณสมบัติเหมาะสมกับกรรมวิธี และสถานที่ติดตั้งใช้งานตามกาหนดในหมวดนี้ เว้นแต่จะมีกฎ-ระเบียบ หรื อข้อบังคับ
ของการไฟฟ้ าท้องถิ่นให้เป็ นอย่างอื่น

19.2 ชนิดของสำยไฟฟ้ ำแรงต่ำทั่วไป


19.2.1 ถ้ามิได้กาหนดไว้เป็ นอย่างอื่น สายไฟฟ้ าทั้งชนิดแกนเดียว (SINGLE-CORE) และหลายแกน (MULTI-
CORE) ต้องเป็ นชนิ ดตัวนาทองแดงหุ้มด้วยฉนวน POLYVINYL CHLORIDE (PVC) และถ้ามีเปลือก (SHEATHED)
ต้องเป็ น PVC เช่นกัน ทนแรงดันไฟฟ้ าได้ 450/750 โวลต์ และทนอุณหภูมิของตัวนาได้ 70 องศาเซลเซียส ตามมาตรฐาน
ผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม มอก.11-2553 และ มอก. 11-2559 หรื อ IEC60227 ดังรายละเอียดต่อไปนี้
19.2.1.1 สายไฟฟ้ าที่ มีขนาดใหญ่กว่า 4 ตารางมิ ลลิ เมตร และต้องเป็ นชนิ ดลวดทองแดงตี เกลียว
(STRANDED WIRE)
19.2.1.2 สายไฟฟ้ าที่ ใ ช้ร้ อ ยในท่ อ (CONDUIT)หรื อ วางในรางวางสาย (WIREWAY) ติ ด ตั้ง ใน
สถานที่แห้ง และสถานที่เปี ยกที่ไม่มีโอกาสทาให้สายไฟฟ้ าแช่น้ า โดยทัว่ ไปกาหนดให้ใช้สายไฟฟ้ าชนิ ดแกนเดี ยว
(SINGLE-CORE) ตาม มอก.11-2553 เล่มที่ 3 ตารางที่ 1 (60227 IEC 01)
19.2.1.3 สายไฟฟ้ าที่ใช้วางฝังดินโดยตรง (DIRECT BURIAL) หรื อเดินร้อยในท่อฝังดิน (UNDER
GROUND DUCT) หรื อในสถานที่มีโอกาสทาให้สายไฟฟ้ าแช่น้ า ให้ใช้สายชนิ ดมีเปลือกหุ้ม (SHEATHED CABLE)
ทั้งแกนเดียว และหลายแกน ตาม มอก. 11-2559 เล่มที่ 101 ตารางที่ 3, 4, 5 (ชนิด NYY หรื อ NYY-GRD) แล้วแต่กรณี
19.2.1.4 สายไฟฟ้ าที่ ใ ช้กับ เครื่ อ งจัก รถาวรที่ มี ก ารเคลื่ อ นที่ เ ป็ นประจ า เช่ น รอกไฟฟ้ า หรื อ
เครื่ องจักรที่มีการสั่นสะเทือน หรื ออุปกรณ์ที่อาจมีการเคลื่อนย้ายตาแหน่ง ให้ใช้สายไฟฟ้ าชนิด FLEXIBLE CABLE มี
เปลือกหุ้ม ตาม มอก.11-2559 เล่มที่ 101 ตารางที่ 7 (VCT) หรื อตารางที่ 8 (VCT-GRD) แล้วแต่กรณี
19.2.2 สายไฟฟ้ าทั้งชนิ ดแกนเดียว (SINGLE-CORE) และหลายแกน (MULTI-CORE) ชนิ ดตัวนาทองแดง
หุ้มด้วยฉนวน XLPE (CROSS LINKED POLYETHYLENE) และมีเปลือกหุ้มด้วย PVC (POLYVINYL CHLORIDE)
ทนแรงดันไฟฟ้ าได้ 90 องศาเซลเซี ยส ใช้กบั แรงดัน 600/1000 โวลต์ ผลิตตามมาตรฐาน IEC 60502 สามารถใช้ติดตั้ง
ภายในอาคารได้โดยต้องเดินในช่องเดินสายที่ปิดมิดชิ ด ยกเว้นเปลือกนอกของสายมีคุณสมบัติตา้ นทานการลุกไหม้
(FLAME-RETARDANT) ตามมาตรฐาน IEC60332-3 CATEGORY C การนาไปใช้งานต้องคานึ งถึงพิกดั กระแสและ
อุณหภูมิของอุปกรณ์ที่จะนาไปใช้ประกอบร่ วมกับสายให้มีความสัมพันธ์กนั ด้วย
19.2.3 สายไฟฟ้ าที่ใช้งานกับอุปกรณ์ หรื อเครื่ องจักร ที่ตอ้ งการเสถียรภาพ และความปลอดภัยสู ง เช่น ลิฟต์
พัดลมอัดอากาศ (PRESSURIZING FAN) แสงสว่างสาหรับบันไดหนีไฟ กาหนดให้เป็ นสายไฟฟ้ าชนิ ดทนไฟ (FIRE
RESISTANCE CABLE) ทนแรงดัน ไฟฟ้ าได้ 600/1000 โวลต์ และทนอุ ณ หภู มิ ข องตัว น าได้ไ ม่ น้อ ยกว่ า 90 องศา
เซลเซียส ผ่านการทดสอบตามมาตรฐาน BS6387 ในระดับชั้น CWZ
19.2.4 สายไฟฟ้ าที่ ใ ช้ภ ายในดวงโคมไฟฟ้ าแสงสว่ า ง ที่ ก่ อ ให้ เ กิ ด ความร้ อนสู ง เช่ น หลอดไส้ (INCAN
DESCENT LAMP), GAS DISCHARGE LAMP เป็ นต้น ให้ใช้สายไฟฟ้ าชนิ ดทนความร้อนสู ง ตัวนาทองแดงหุ้มด้วย

โครงการ : Gulf PD Visitor Center หน้า M - 101


รายละเอียดข้อกาหนดประกอบแบบ
งานวิศวกรรมระบบปรับอากาศและระบายอากาศ

ฉนวนยางที่ทนอุณหภูมิของตัวนาได้ไม่น้อยกว่า 105 องศาเซลเซียส และทนแรงดันไฟฟ้ าได้ไม่นอ้ ยกว่า 250 โวลต์ แล้ว


หุ้มด้วยฉนวนใยหิน (ASBESTOS) ก่อนหุ้มด้วยเปลือกนอกด้วยวัสดุที่เหมาะสมอีกชั้นหนึ่ง

19.3 สำยไฟฟ้ ำแรงต่ำชนิดทนไฟ (FIRE RESISTANCE CABLE) และสำยไฟฟ้ ำแรงต่ำชนิดต้ ำนกำรลำมไฟ (LOW
SMOKE ZERO HALOGEN CABLE)
19.3.1 ความต้องการทัว่ ไป
ข้อกาหนดนี้ ได้ระบุครอบคลุมถึงการจัดหาและการติดตั้งใช้งานสาหรับสายไฟฟ้ าชนิ ดทนไฟ (Low
Smoke, Zero Halogen, Fire Resistance Cable) และสายไฟฟ้ าชนิ ดต้านการลามไฟ (Low Smoke Zero Halogen Cable)
ตามที่ระบุในแบบและรายละเอียดนี้
19.3.2 มาตรฐาน
สายทนไฟต้องเป็ นตามมาตรฐาน IEC หรื อ BS หรื อมาตรฐานอื่น แต่ตอ้ งได้รับการอนุมตั ิ
19.3.3 เทคนิคการผลิต
19.3.3.1 สายไฟฟ้ าตัวนาต้องเป็ นสายทองแดงตีเกลี ยว (Stranded Wire) ตามมาตรฐาน IEC60228
Class2
19.3.3.2 ฉนวนจะประกอบด้วยเทปทนไฟ (Fire Resistance Tape) เช่น Mica Tape หรื อวัสดุทนไฟ
อื่นพันหุ้มรอบตัวนาทองแดง และชั้นนอกจะหุ้มด้วยวัสดุฉนวนประเภท Cross-Linked ที่มีคุณสมบัติเป็ น Low Smoke,
Zero Halogen, Flame Retardant ชนิดพิเศษ มีความหนาตาม IEC 60502
ในกรณี ที่เป็ นสายตัวนาหลายแกน (Multicore Cable) ช่ องว่างระหว่างตัวนาแต่ล ะแกน
จะต้องมี Filler เพื่อความแข็งแรงของสาย
19.3.3.3 เปลือกหุ้มภายนอก (Outer Sheath) ของสายไฟฟ้ าตัวนาหลายแกน (Multicore Cable) เป็ น
วัสดุประเภท Polyolefine หรื อวัสดุอื่นที่มีคุณสมบัติเป็ น Low Smoke, Zero Halogen มีความหนาตาม IEC 60502
19.3.3.4 ลักษณะเฉพาะสาหรับสายไฟฟ้ ากาลัง (Power Cable) ที่มีขนาดตั้งแต่ 1.5 SQ.MM. ขึ้นไป
1. มี Rated voltage ที่ 600 V/1,000 V สาหรับสายไฟฟ้ ากาลัง และ 300 V/500 V สาหรับ
สายนาสัญญาณและสื่ อสาร
2. สายที่มีขนาดใหญ่กว่า 1.5 SQ.MM. จะต้องมีฉนวนหุ้มเป็ นชั้นต่างๆ ดังนี้
- MICA (Glass Resistance Tape)
- Cross Link Insulation มีคุณสมบัติเป็ น Low Smoke, Zero Halogen, Flame Retardant
มีความหนาตาม IEC 60502
- เปลื อ กหุ้ ม ภายนอก (Outer Sheath) ของสายไฟฟ้ าตัว น าหลายแกน (Multicore
Cable) เป็ นวัสดุที่มีคุณสมบัติเป็ น Low Smoke, Zero Halogen, Flame Retardant
19.3.3.5 ลักษณะเฉพาะสาหรับสายสัญญาณ (Signal and Data Cable)
1. สาหรับสายนาสัญญาณซึ่ งไม่ใช่ Addressable data ให้มี Rated Voltage ที่ 600/1,000V
และให้ใช้เป็ นสายแกนเดียว (Single-core) ได้
2. ส าหรั บ สายน าสั ญ ญาณซึ่ งเป็ น Addressable data และ/หรื อ Voice alarm ให้ มี Rate
Voltage ที่300V/500V และมีโครงสร้างพิเศษ ดังนี้
- เป็ นสาย Twister pair

โครงการ : Gulf PD Visitor Center หน้า M - 102


รายละเอียดข้อกาหนดประกอบแบบ
งานวิศวกรรมระบบปรับอากาศและระบายอากาศ

- ด้านในของเปลือกนอกที่หุ้มรอบฉนวนอยู่ตอ้ งมี Aluminium screen ซึ่ งแนบอยู่กบั


Circuit Protection Conductor (CPU) ซึ่งทาด้วยทองแดงเคลือบดีบุก (Tinned annealed copper) ตลอดความยาวของสาย
19.3.3.6 ไม่ทาให้เกิด Corrosive Gases ขณะเกิดเพลิงไหม้ ตามมาตรบาน IEC60754-2
19.3.4 คุณสมบัติและมาตรฐานการทดสอบ
19.3.4.1 Resistance to fire : IEC60331, BS6387 Category CWZ
19.3.4.2 Smoke emission : IEC61034, BS7622-2, BS EN61034-2
19.3.4.3 Zero halogen emission : IEC60754-1, BS6425-1, BS EN50267-2-1
19.3.4.4 Acid gas emission: IEC60754-2, BS6425-2, BS EN50267-2-2
19.3.4.5 Extremely low toxicity gases : IEC60684-2#44, NES713, NFC20-454
19.3.4.6 Flame retardant: IEC60332-1, BS4066-1, BS EN60332-1
19.3.4.7 Reduced flame propagation: IEC60332-3ABC, BS4066-3ABC, BS EN60332-3ABC
19.3.4.8 สายทนไฟจะต้อ งได้ก ารรั บ รองจาก Loss Prevention Certification Board (LPCB) หรื อ
สถาบัน ที่ เ ชื่ อ ถื อ ได้ (Accredited laboratories) และผู ้รั บ จ้า งต้อ งเสนอเอกสารรั บ รองผลการทดสอบ Surveillance
Certificated เพื่อประกอบการขออนุมตั ิดว้ ย ทั้งนี้ใบรับรองที่ออกให้กบั แต่ละรุ่ นของผลิตภัณฑ์ที่ขออนุมตั ิและต้องเป็ น
ใบรับรองที่ออกให้กบั โรงงานที่ผลิตตามที่อยู่ที่ปรากฏในหนังสื อรับรองนั้นๆ ด้วย โดยต้องมีเครื่ องหมาย ยี่ห้อ, รุ่ น,
แหล่งที่มา และหมายเลขใบรับรองบนข้างสาย จะต้องตรงกับเอกสารใบรับรองผลการทดสอบด้วย
19.3.4.9 ผลิตภัณฑ์ตอ้ งเป็ นผลิตภัณฑ์ตามยี่ห้อที่กาหนดและผลิตจากประเทศแหล่งผลิตที่กาหนดใน
รายชื่อผูผ้ ลิต
19.3.4.10 สายไฟฟ้ าชนิดต้านการลามไฟ (Low Smoke Zero Halogen Cable) ให้ผลิตและทดสอบตาม
มาตรฐานข้างต้น โดยยกเว้นการมี Mica Tape
19.3.5 การติดตั้ง
สายไฟฟ้ าชนิ ดทนไฟ ต้องเป็ นชนิ ดที่สามารถติดตั้งใช้งานได้โดยการเดินในท่อร้อยสายหรื อเดินใน
Cable Tray หรื อ Wireway ผูร้ ับจ้างต้องจัดส่ งรายละเอียดทางด้านเทคนิค Current Ampere Rating ตลอดจน Test Report
หรื อรายละเอียดอื่นๆ ตามที่ผคู ้ วบคุมงานเรี ยกขอ เพื่อขออนุมตั ิก่อนดาเนินการติดตั้งใช้งาน

19.4 ลักษณะและวิธีกำรติดตั้ง
19.4.1 สายไฟจะต้องเป็ นเส้นเดียวตลอด โดยไม่มีการตัดต่อระหว่างแผงไฟ (Panelboard) จนถึง Outlet หรื อ
ระหว่าง Outlet หรื อ Switch Board ถึ งแผงไฟ การตัดต่อสาย (Splicing) สาหรั บ Branch Circuit ให้กระทาได้ต่อเมื่ อ
จาเป็ นจริ งๆ และต้องตัดต่อเฉพาะใน Junction หรื อ Outlet Box ซึ่ งอยู่ในที่สามารถเข้าไปตรวจ และ/หรื อ ซ่อมบารุ งได้
โดยง่ายเท่านั้น
19.4.2 ให้ใช้เฉพาะที่ต่อสายแบบ Compression, Bolt หรื อ Screw Type หรื อ Wire Nut เท่านั้น ขั้วต่อสายที่ไม่
มีฉนวนเมื่อต่อสายแล้วต้องพันด้วยเทปฉนวนทับกันประมาณ 50% 3 ชั้น มีความหนาไม่นอ้ ยกว่าความหนาของฉนวน
สายไฟฟ้ านั้น เทปที่ ใ ช้พ นั สายต้อ งเป็ น VINYL เทปทนอุ ณหภู มิต่ อ เนื่ อ งได้ไ ม่ น้อ ยกว่ า 105 °C หนา 7 MILS. ทน
แรงดันไฟฟ้ าได้ไม่นอ้ ยกว่า 600 โวลต์ การต่อสายที่อยูใ่ นที่เปี ยกชื้นหรื อใต้ดิน จะต้องใช้วิธีเสริ มเรซินหล่อหลอมหุ้มไว้
ด้วยเรซิน ต้องเป็ นของที่ใช้งานเช่นนี้ได้ดี ห้ามใช้ที่ต่อสายแบบ Twisted Wire Splice ห้ามต่อสายไฟเกิน 4 เส้น ณ แต่ละ
จุดที่ต่อสาย

โครงการ : Gulf PD Visitor Center หน้า M - 103


รายละเอียดข้อกาหนดประกอบแบบ
งานวิศวกรรมระบบปรับอากาศและระบายอากาศ

19.4.3 ห้ามใช้การบัดกรี ในการต่อสายไฟ


19.4.4 ต้องใช้สีเป็ นรหัส (Colour-Coding) ในการเดิ นสายไฟโดยใช้สีน้ าตาล สี ดา และสี เทา สาหรั บสาย
Phase (HOT) ทั้งสาม และให้ใช้สีฟ้าสาหรับสาย Neutral และสี เขียวสาหรับสาย Ground
19.4.5 สายไฟต้องเดินในท่อร้อยสายทั้งหมด โดยไม่มีส่วนหนึ่งส่ วนใดปรากฏให้เห็นภายนอก (ยกเว้นสาย
MI CABLE)
19.4.6 ให้ติดหมายเลขวงจรด้วย Wire Marker ชนิดถาวรสาหรับสาย Feeder ใน Pull Box ต่างๆ ด้วย
19.4.7 สายไฟที่มีจานวนหลายชุดใน 1 วงจรที่เดินในราง Cable Tray หรื อ Ladder จะต้องเรี ยงตามลาดับเฟส
เช่น R, S, T, N ห้ามวางเรี ยง Phase เดียวกันเป็ นกลุ่มเดียวกัน
- การติดตั้งสายไฟฟ้ าซึ่งเดินร้อยในท่อโลหะต้องกระทาดังต่อไปนี้
- ให้ร้อยสายไฟฟ้ าเข้าท่อได้เมื่อมีการติดตั้งท่อร้อยสายเรี ยบร้อยแล้ว
- การดึงสายไฟฟ้ าเข้าท่อต้องใช้อุปกรณ์ช่วย ซึ่ งออกแบบให้ใช้เฉพาะงานดึงสายไฟฟ้ าโดยปฏิบตั ิ
ตามคาแนะนาของผูผ้ ลิต
- การดึงสายไฟฟ้ าเข้าท่อ อาจจาเป็ นต้องใช้สารช่วยหล่อลื่น โดยสารนั้นจะต้องเป็ นสารพิเศษที่ไม่
ทาปฏิกิริยากับฉนวนของสายไฟฟ้ า
- การดัดโค้งหรื องอสายไฟฟ้ าไม่ว่าในกรณี ใดๆ ต้องมีรัศมีความโค้งไม่นอ้ ยกว่าข้อกาหนดใน IEC
และประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่ องความปลอดภัยทางไฟฟ้ า
- การต่อสาย ให้ต่อได้เฉพาะในกล่องต่อสาย หรื อกล่องจุดต่อไฟฟ้ าที่สามารถเปิ ดออกได้สะดวก
ปริ มาตรของสายและฉนวน รวมทั้งหัวต่อสายเมื่อรวมกันแล้วต้องไม่เกินร้อยละ 70 ของปริ มาตรภายในกล่องต่อสาย
หรื อกล่องจุดต่อไฟฟ้ า
- การต่อเชื่อมและการต่อแยกสายไฟฟ้ า ให้กระทาได้ภายในกล่องต่อแยกสายไฟฟ้ าเท่านั้น ห้ามต่อ
ในช่องท่อโดยเด็ดขาด
- การต่อเชื่อมหรื อต่อแยกสายไฟฟ้ าที่มีข นาดของตัวนาไม่เกิน 6 ตารางมิลลิเมตร ให้ใช้ Insulated
Wire Connector, Pressure Type ทนแรงดันไฟฟ้ าได้ไม่นอ้ ยกว่า 600 โวลต์
- การต่อเชื่ อมหรื อต่อแยกสายไฟฟ้ าที่มีขนาดตัวนาใหญ่กว่า 6 ตารางมิลลิเมตร และไม่เกิน 240
ตารางมิลลิเมตร ให้ใช้ปลอกทองแดงชนิดใช้แรงกลอัด (Splice or Sleeve) และพันด้วยฉนวนไฟฟ้ าชนิดละลายและเทป
พีวีซี อีกชั้นหนึ่ง
- การเชื่อมหรื อต่อแยกสายไฟฟ้ าที่มีขนาดตัวนาใหญ่กว่าที่กาหนดข้างต้น ให้ต่อโดยใช้ Split Bolt
Connector ซึ่งผลิตจาก BRONZE ALLOY หรื อวัสดุอื่นที่ยอมรับให้ใช้งานต่อเชื่อมสายไฟฟ้ าแต่ละชนิด
- ปลายสายไฟฟ้ าที่สิ้นสุ ดภายในกล่องต่อสายต้องมี Terminal Block เพื่อการต่อสายไฟฟ้ าแยกไป
ยัง จุดอื่นได้สะดวก และการเปลี่ยนชนิดของสายไฟฟ้ า ให้กระทาได้โดยต่อผ่าน Terminal Block นี้

19.5 กำรทดสอบ
ให้ทดสอบค่าความต้านทานของฉนวนสายไฟฟ้ าดังนี้
19.5.1 สาหรับวงจรแสงสว่าง และเต้ารับ ให้ปลดสายออกจากอุปกรณ์ตดั วงจรและสวิตช์ต่างๆ อยูใ่ นตาแหน่ง
เปิ ด ต้องวัดค่าความต้านทานของฉนวนได้ไม่นอ้ ยกว่า 0.5 เมกกะโอห์ม ในทุกๆ กรณี

โครงการ : Gulf PD Visitor Center หน้า M - 104


รายละเอียดข้อกาหนดประกอบแบบ
งานวิศวกรรมระบบปรับอากาศและระบายอากาศ

19.5.2 สาหรั บ Feeder และ Sub-Feeder ให้ ป ลดสายออกจากอุ ป กรณ์ ต่ า งๆ ทั้ง สองทางแล้ว วัด ค่ า ความ
ต้านทานของฉนวน ต้องไม่นอ้ ยกว่า 0.5 เมกกะโอห์ม ในทุกๆ กรณี
19.5.3 การวัดค่าของฉนวนดังกล่าว ต้องใช้เครื่ องมือเมกโอห์มมิเตอร์ที่จา่ ยไฟฟ้ ากระแสตรงแรงดัน 500 โวลต์
และวัดเป็ นเวลา 30 วินาที ต่อเนื่องกัน

โครงการ : Gulf PD Visitor Center หน้า M - 105


รายละเอียดข้อกาหนดประกอบแบบ
งานวิศวกรรมระบบปรับอากาศและระบายอากาศ

20. อุปกรณ์เดินสำยไฟฟ้ำ

20.1 ควำมต้ องกำรทั่วไป


เพื่อให้การใช้งานและการติดตั้งอุปกรณ์เดินสายไฟฟ้ า (สายไฟฟ้ า ให้รวมถึงสายสัญญาณทางไฟฟ้ า-สื่ อสารอื่นๆ
เช่น สายโทรศัพท์ สายสัญญาณวิทยุ-โทรทัศน์ สายสัญญาณแจ้งเตือน เป็ นต้น) เป็ นไปด้วยความเรี ยบร้อยและถูกต้อง
ตามมาตรฐาน จึงกาหนดให้การจัดหาวัสดุ อุปกรณ์ และการติดตั้งเป็ นไปตามข้อกาหนดดังรายละเอียดนี้
20.1.1 แนวท่อร้ อยสายตามที่แสดงในแบบเป็ นเพียงแนวทาง เพื่อให้สะดวกในการเข้าใจและมองเห็นได้
ชัดเจน การติดตั้งท่อร้อยสายจริ งต้องให้เหมาะสมกับสภาพของสถานที่ติดตั้ง
20.1.2 แนววางท่อร้อยสายรวมทั้งการตัดสิ นใจว่าช่วงใดของท่อร้อยสายควรฝังในพื้นช่วงใดให้เดินลอยหรื อ
ซ่อนในเพดาน ฯลฯ ได้ออกแบบไว้โดยพิจารณาด้านประหยัด ความสะดวกในการติดตั้ง และความสวยงามตามแบบของ
สถาปนิก แต่ให้เป็ นความรับผิดชอบของผูร้ ั บจ้างที่จะต้องติดตามการเปลี่ยนแปลงด้านสถาปนิก และด้านการก่อสร้าง
เพื่อสามารถติดตั้งระบบท่อร้อยสายให้ได้เหมาะสมด้วยเทคนิคที่ดีที่สุดตามสภาพของสถานที่ติดตั้ง
20.1.3 ท่อร้อยสายทุกแบบที่ใช้ในระบบไฟฟ้ านี้ มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางภายในท่อไม่เล็กกว่า 15 มิลลิเมตร
20.1.4 ท่อร้ อยสายซึ่ งฝั งเฉพาะในคอนกรี ต ในพื้นก่ อสร้ าง (FLOOR SLAB) และที่ ติดตั้งในที่แจ้งหรื อใน
สถานที่ๆ จาเป็ นต้องมีระบบกันน้ าต้องใช้ท่อร้อยสายชนิด INTERMEDIATE METALLIC CONDUIT (IMC) เว้นแต่จะ
ระบุไว้เป็ นอย่างอื่น
20.1.5 ท่ อ ร้ อ ยสายซึ่ งแอบไว้ใ นฝ้ าเพดาน หรื อในฝาผนั ง ที่ ไ ม่ ไ ด้เ ทด้ว ยคอนกรี ตให้ ใ ช้ ELECTRIC
METALLIC TUBING (EMT) ได้
20.1.6 มิให้ใช้ท่อ EMT ที่มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางเกิน 2" ท่อใหญ่กว่า 2" ให้ใช้แบบ IMC
20.1.7 เมื่อไม่ได้ระบุไว้เป็ นอย่างอื่น การต่อท่อร้อยสายเข้ากับอุปกรณ์หรื อดวงโคม หรื อเครื่ องมือเครื่ องจักร
ต่างๆ ที่ มีความสั่นสะเทือนให้ใช้ FLEXIBLE CONDUIT ความยาวไม่ต่ากว่า 1 ฟุต แต่ไม่เกิน 3 ฟุต เป็ นช่ วงสุ ดท้าย
เสมอไป
20.1.8 FLEXIBLE CONDUIT จะต้องเป็ นชนิดที่กนั น้ าได้ ถ้าอยูใ่ นบริ เวณที่มีความชื้นสูง หรื อมีโอกาสถูกน้ า
20.1.9 การงอท่อร้อยสายต้องระวังมิใ ห้ท่อชารุ ด และจะต้องไม่เป็ นผลให้เส้นผ่านศูนย์กลางภายในของท่อ
เปลี่ยนแปลงไป รัศมีการโค้งงอต้องเป็ นไปตามกฎของ NEC. เครื่ องมือที่ใช้ในการงอท่อร้อยสายต้องเป็ นเครื่ องมือซึ่ ง
สร้างขึ้นเพื่อใช้ปฏิบตั ิงานนี้โดยเฉพาะ ห้ามงอท่อร้อยสายขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 3" หรื อมากกว่าในกรณี ดงั กล่าว ให้
ใช้ CAST-IRON ANGLE BENDS และ FITTINGS
20.1.10 ห้ามงอท่อร้อยสายเกิน 2 ครั้งในแต่ละช่วง ระหว่าง OUTLET, JUNCTION หรื อ PULL BOXES หาก
จาเป็ นต้องใส่ JUNCTION BOX หรื อคอนดูเล็ท เพิ่มจากที่ได้กาหนดไว้ในแบบ
20.1.11 ติดตั้งท่อร้อยสายโดยให้มีรอยต่อน้อยที่สุด เมื่อจะต่อท่อร้อยสายแบบ IMC ให้ใช้ COUPLINGS หรื อ
FITTINGS ชนิ ดเกลียวใช้ RED LEAD หรื อวัสดุทาเกลียวตัวผู ้ เพื่อกันน้ าที่มี ELECTRICAL CONTINUITY การต่อ
ต้องให้ปลายท่อแต่ละข้างชนกันแนบสนิท และต้องตะไบหรื อฝนปลายท่อให้เรี ยบเสี ยก่อน
20.1.12 ต่อท่อ EMT ด้วย COUPLING และ CONNECTOR แบบ “RAINTIGHT” สาหรับระบบไฟฟ้ าในพื้นที่
เปี ยก เช่น ฝังในผนัง, เสาเอ็น, พื้น TOPPING, ห้ อง AHU, ห้ อง PUMP, ห้ อง CHILLER ส่ วน PUMP และอื่นๆ รวมถึง
กรณีบริเวณที่ติดตั้งไม่ มีฝ้าเพดาน เป็ นการติดตั้งลอย

โครงการ : Gulf PD Visitor Center หน้า M - 106


รายละเอียดข้อกาหนดประกอบแบบ
งานวิศวกรรมระบบปรับอากาศและระบายอากาศ

20.1.13 ให้ใช้ EXPANSION COUPLING และ EXPANSION JOINTS ในการติดตั้งท่อร้อยสายที่ผ่านรอยต่อ


ระหว่างโครงสร้างที่มีการทรุ ดตัวที่ไม่เท่ากัน โดย EXPANSION JOINT ทุกชนิดต้องมี BONDING JUMPERS
20.1.14 ต้องยึดท่อร้อยสายเข้ากับ BOXES ต่างๆ และ PANEL BOARD โดยใช้ LOCK NUT 2 ตัว พร้อมด้วย
BUSHING ถ้ารู KNOCK OUT ใหญ่กว่าท่อร้อยสาย จะต้องใช้ REDUCING WASHER เพื่อไม่ให้มีช่องโหว่ระหว่าง
ท่อ และฝาของ BOXES ฯลฯ ส่วนรู ว่างที่ไม่ได้ใช้งานให้ปิดด้วย
20.1.15 การต่อท่อร้ อยสายทุกชนิ ดให้ตรวจดูว่าข้อต่อ มี ELECTRICAL CONTINUITY อย่างดี ทั้งนี้ เพราะ
ต้องการใช้ระบบท่อร้อยสายเป็ น GROUND-PATH ของระบบไฟฟ้ าของอาคาร
20.1.16 ผู ้รั บ จ้า งต้อ งตรวจดู อ ย่ า งรอบคอบว่ า การต่ อ เชื่ อ ม FLEXIBLE CONDUIT และท่ อ FLEXIBLE
CONDUIT เองมี ELECTRICAL CONTINUITY อย่างดีโดยตลอด
20.1.17 การฝังท่อร้อยสายในดินต้องหุ้มท่อร้อยสายด้วยคอนกรี ตหนาอย่างน้อย 2" โดยรอบท่อ
20.1.18 ท่อร้อยสายทุกแบบ ต้องถูกยึดหรื อตรึ งไว้อย่างแข็งแรงทุกระยะไม่เกิน 10 ฟุต และไม่เกิน 1 ฟุตจาก
BOXES หรื อ PANEL BOARD โดยอุปกรณ์ซ่ ึงสร้างขึ้น เพื่อทาหน้าที่น้ ีโดยเฉพาะ และ/หรื อ โดยวิธีซ่ ึงได้รับอนุมตั ิจาก
วิศวกรผูค้ วบคุมงาน
20.1.19 ระหว่างการก่อสร้าง และเทคอนกรี ตท่อร้อยสายที่วางเพื่อให้ฝังอยู่ในคอนกรี ตต้องถูกกระชับให้มนั่
โดยวิธีเหมาะสมและไม่ก่อปัญหาให้แก่ผรู ้ ับจ้างด้านก่อสร้าง
20.1.20 ท่อร้อยสายที่เดินซ่อนอยูบ่ นฝ้ าเพดาน จะต้องติดตั้งและยึดแนบอยูใ่ นพื้น SLAB ห้ามเดินโดยวางอยูก่ บั
ฝ้ าเพดาน หรื อห้อยอยูก่ บั พื้น SLAB
20.1.21 เมื่อวางท่อร้อยสายเสร็ จ แต่ยงั ปฏิบตั ิงานขั้นต่อไปกับท่อร้อยสายนั้นไม่ได้ ให้เคลือบส่ วนของท่อที่
ได้ต๊าปเกลียวไว้ดว้ ยสี ENAMEL เพื่อกันสนิมและปิ ดปากท่อด้วยปลัก๊ หรื อฝาเกลียวให้มิดชิด
20.1.22 ภายหลังจากที่ได้ติดตั้งท่อร้อยสายเรี ยบร้อยแล้ว ให้ตรวจดูว่าท่อไม่ตนั หากมีท่อใดตัน ให้แก้ไขทันที
โดยผูร้ ับจ้างต้องรับผิดชอบค่าใช้จ่ายทั้งหมดเอง
20.1.23 ให้ใช้ท่อ IMC บริ เวณที่ เป็ น HAZARDOUS LOCATION
20.1.24 ขนาดของท่อร้อยสายที่ใช้จะต้องมีสายไฟคิดตามพื้นที่หน้าตัดแล้วไม่เกิน 40% ของพื้นที่หน้าตัดของ
ท่อ (ในกรณีชนิด 3 PHASE, 4 WIRE, GROUND) แต่ ในกรณีมีสำยไฟน้ อยกว่ ำ 4 เส้ น จะคิดตำมมำตรฐำนกำรติดตั้ง
ทำงไฟฟ้ ำสำหรับประเทศไทย

โครงการ : Gulf PD Visitor Center หน้า M - 107


รายละเอียดข้อกาหนดประกอบแบบ
งานวิศวกรรมระบบปรับอากาศและระบายอากาศ

ตารางที่ 20.1 จานวนสูงสุ ดของสายไฟฟ้ าขนาดเดียวกัน มอก.11-2553 รหัสชนิด 60227 IEC 01


ที่ให้ใช้ในท่อโลหะตาม มอก. 770-2533

ขนาดสายไฟ
จานวนสายสูงสุ ดของสายไฟฟ้ าในท่อร้อยสาย
(ตารางมิลลิเมตร)
1.5 8 14 22 37 - - - - - - - -
2.5 5 10 15 25 39 - - - - - - -
4 4 7 11 19 30 - - - - - - -
6 3 5 9 15 23 37 - - - - - -
10 1 3 5 9 14 22 37 - - - - -
16 1 2 4 6 10 16 27 42 - - - -
25 1 1 2 4 6 10 17 27 34 - - -
35 1 1 1 3 5 8 14 41 27 33 - -
50 - 1 1 1 3 6 10 15 19 24 38 -
70 - - 1 1 3 4 7 12 15 18 29 42
95 - - 1 1 1 3 5 8 11 13 21 30
120 - - - 1 1 2 4 7 9 11 17 25
150 - - - 1 1 1 3 5 7 9 14 20
185 - - - 1 1 1 3 4 6 7 11 16
240 - - - - 1 1 1 3 4 5 8 12
300 - - - - - 1 1 2 3 4 7 10
400 - - - - - 1 1 1 2 3 5 8
เส้นผ่านศูนย์กลางของ
15 20 25 32 40 50 65 80 90 100 125 150
ท่อร้อยสาย (มม.)

20.2 ท่ อร้ อยสำยไฟฟ้ ำ


ท่อร้อยสายไฟฟ้ าโดยปกติแบ่งตามลักษณะความเหมาะสมในการใช้งาน โดยท่อทุกชนิดต้องเป็ นท่อโลหะชุบ
ป้ องกัน สนิ ม โดยวิ ธี HOT-DIP GALVANIZED ซึ่ ง ผลิ ต ขึ้ น เพื่ อ ใช้ง านร้ อ ยสายไฟฟ้ าโดยเฉพาะขนาดของท่ อ ร้ อ ย
สายไฟฟ้ าที่ใช้ ต้องมีขนาดใหญ่เพียงพอที่ใส่จานวนสายและขนาดของสายที่ตอ้ งการร้อยในท่อได้ โดยขนาดของท่อร้อย
สายให้เลือกใช้ตามมาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้ าสาหรับประเทศไทยฉบับล่าสุ ดของวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย
20.2.1 ท่อโลหะชนิดบาง (ELECTRICAL METALLIC TUBING : EMT) มีเส้นผ่านศูนย์กลางไม่น้อยกว่า ½
นิ้ว ติดตั้งใช้งานในกรณี ที่ติดตั้งลอยหรื อซ่อนในฝ้ าเพดาน ซึ่ งไม่มีสาเหตุใดๆ ที่จะทาให้ท่อเสี ยรู ปทรงได้ การติดตั้งใช้
งานให้เป็ นไปตามกาหนดใน NEC ARTICLE 348 เป็ นผลิตภัณฑ์ที่ผลิ ตด้วยเหล็กกล้าเคลือบสังกะสี ทั้งภายในและ
ภายนอก (INSIDE AND OUTSIDE GALVANIZE COATED) ผลิ ตตามมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม มอก.770-

โครงการ : Gulf PD Visitor Center หน้า M - 108


รายละเอียดข้อกาหนดประกอบแบบ
งานวิศวกรรมระบบปรับอากาศและระบายอากาศ

2533 ประเภทที่ 1 (EMT) ชนิ ดที่ 2 เคลื อบสังกะสี ท้ งั ภายในและภายนอก (INSIDE AND OUTSIDE GALVANIZE
COATED) หรื อผลิตตามมาตรฐาน ANSI C80.3-1983
20.2.1.1 ท่อโลหะบางเป็ นแบบที่ไม่มีเกลียวหัวท้ายลบคมมาจากโรงงานเรี ยบร้อย
20.2.1.2 ท่อโลหะบางทุกท่อนต้องแสดงประเภทท่อ ขนาด และเครื่ องหมายการค้าที่จดทะเบียน เห็น
ได้ง่ายชัดเจนและไม่ลบง่าย
20.2.2 ท่ อ โลหะชนิ ด หนาปานกลาง (INTERMEDIATE METAL CONDUIT : IMC) มี ข นาดเส้ น ผ่ า น
ศูนย์กลางไม่เล็กกว่า ½ นิ้ ว ติ ดตั้งใช้งานได้เช่ นเดี ยวกับท่อโลหะบางและติ ดตั้งฝังในคอนกรี ตได้ แต่ห้ามใช้ฝังดิน
โดยตรง และใช้ในสถานที่ อนั ตรายตามกาหนดใน NEC ARTICLE 345 เป็ นผลิ ตภัณฑ์ที่ผลิ ตด้วยเหล็กกล้าเคลือบ
สั ง กะ สี ทั้ ง ภาย ใ น แ ล ะ ภาย น อ ก ( INSIDE AND OUTSIDE GALVANIZE COATED) ผ ลิ ต ต ามมาต ร ฐ าน
ผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม มอก.770-2533 ประเภทที่ 2 (IMC) ชนิ ดที่ 2 เคลือบสังกะสี ท้ งั ภายในและภายนอก (INSIDE
AND OUTSIDE GALVANIZE COATED) หรื อผลิตตามมาตรฐาน ANSI C80.6-1983
20.2.2.1 ท่อโลหะหนาปานกลางเป็ นแบบที่ทาเกลียวหัวท้าย ลบคม มีฝาครอบป้ องกันเกลียว และข้อต่อ
หมุนติดมาอย่างละ 1 อัน ประกอบมาจากโรงงานเรี ยบร้อย
20.2.2.2 ท่อโลหะหนาปานกลางทุกท่อนต้องแสดงประเภทท่อ ขนาด และเครื่ องหมายการค้าที่จด
ทะเบียน เห็นได้ง่าย ชัดเจน ไม่ลบง่าย
20.2.3 ท่อโลหะชนิดหนา (RIGID STEEL CONDUIT : RSC) สามารถใช้งานแทนท่อ EMT และ IMC ได้ทุก
ประการ และให้ใช้ในสถานที่อนั ตรายและฝังดินได้โดยตรงตามกาหนดใน NEC ARTICLE 346 เป็ นผลิตภัณฑ์ที่ผลิต
ด้ว ยเหล็ก กล้าเคลื อบสั ง กะสี ท้ งั ภายในและภายนอก (INSIDE AND OUTSIDE GALVANIZE COATED) ผลิ ต ตาม
มาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม มอก.770-2533 ประเภทที่ 3 (RSC) ชนิ ดที่ 2 เคลือบสังกะสี ท้ งั ภายในและภายนอก
(INSIDE AND OUTSIDE GALVANIZE COATED) หรื อผลิตตามมาตรฐาน ANSI C80.1-1983
20.2.3.1 ท่อโลหะหนาเป็ นแบบที่ทาเกลียวหัวท้าย ลบคม มีฝาครอบป้ องกันเกลียว และมีขอ้ ต่อหมุนติด
มาอย่างละ 1 อัน ประกอบมาจากโรงงานเรี ยบร้อย
20.2.3.2 ท่อโลหะหนาทุกท่อนต้องแสดงประเภทท่อ ขนาด และเครื่ องหมายการค้าที่จดทะเบียนเห็น
ได้ง่าย ชัดเจน ไม่ลบง่าย
20.2.4 อุปกรณ์ที่ใช้ประกอบกับท่อ : CONDUIT FITTING สาหรับท่อโลหะหนา RSC, ท่อโลหะหนาปาน
กลาง IMC และท่อโลหะบาง EMT ตัวอย่างเช่น ข้อต่อ ข้องอ ที่ยึด ที่รองรับ ต้องมีการเคลือบสังกะสี หรื อเคลือบน้ ายา
เพื่อป้ องกันการผุกร่ อน หรื อทาด้วยโลหะที่มีคุณสมบัติป้องกันการผุกร่ อนในตัว เพื่อให้ทนทานการผุกร่ อนได้ไม่น้อย
กว่าท่อ การเลือกใช้ตอ้ งให้เหมาะสมกับสภาพและสถานที่ใช้งาน
20.2.4.1 อุปกรณ์ที่ใช้ประกอบกับท่อทุกประเภท ต้องเป็ นของที่ทาสาเร็ จรู ปมาจากโรงงานผูผ้ ลิตทั้งสิ้น
ห้ามใช้อุปกรณ์ที่ใช้ประกอบที่ทา และดัดแปลงขึ้นเอง
20.2.5 ท่อโลหะอ่อน (FLEXIBLE METALLIC CONDUIT : FMC) เป็ นท่อโลหะอ่อนที่ใช้ร้อยสายไฟฟ้ าเข้า
อุปกรณ์ หรื อเครื่ องไฟฟ้ าที่มี หรื ออาจมีการสั่นสะเทือนได้ หรื ออุปกรณ์ที่อาจมีการเคลื่อนย้ายได้บา้ ง เช่น มอเตอร์ โคม
ไฟฟ้ าแสงสว่างเป็ นต้น ท่ออ่อนที่ใช้ในสถานที่ช้ืนแฉะ และนอกอาคารต้องใช้ท่ออ่อนชนิดกันน้ า
20.2.5.1 เป็ นผลิ ต ภัณ ฑ์ท่ อ โลหะอ่ อ นที่ ผลิ ต ด้ว ยเหล็ก กล้า เคลื อ บสั ง กะสี ทั้ง ภายในและภายนอก
(INSIDE AND OUTSIDE GALVANIZE COATED) เป็ นผลิตภัณฑ์ที่ผลิตตามมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม มอก.
2133-2545 หรื อมาตรฐานอ้างอิง BS 731-1 หรื อ ANSI/UL 1

โครงการ : Gulf PD Visitor Center หน้า M - 109


รายละเอียดข้อกาหนดประกอบแบบ
งานวิศวกรรมระบบปรับอากาศและระบายอากาศ

20.2.5.2 มีการขึ้นรู ปทั้งแบบเกี่ยวฉาก (SQUARE – LOCK : EFF) และแบบเกี่ยวแน่น (INTERLOCK :


EF) ทนแรงดึงสูง
20.2.5.3 เป็ นท่อที่ใช้ร้อยสายเข้าอุปกรณ์ หรื อเครื่ องไฟฟ้ าทัว่ ไปที่มี หรื ออาจมีการสั่นสะเทือน หรื อ
อาจมีการขยับ เคลื่อนย้ายได้บา้ ง เช่น มอเตอร์ พัดลม โคมไฟฟ้ าแสงสว่าง
20.2.5.4 ติดตั้งใช้งานในร่ มทัว่ ไปภายในห้อง ภายในอาคาร ใต้ฝ้าเพดาน เป็ นต้น หรื อติดตั้งเป็ นไปตาม
NEC ARTICLE 348
20.2.6 ท่ออ่อนกันน้ า (LIQUID TIGHT FLEXIBLE METALLIC CONDUIT : LTFMC) เป็ นผลิ ตภัณฑ์ท่อ
โลหะอ่ อ น ที่ ผ ลิ ต ด้ว ยเหล็ ก กล้า เคลื อ บสั ง กะสี ทั้ง ภายในและภายนอก (INSIDE AND OUTSIDE GALVANIZE
COATED) และหุ้มภายนอกด้วย POLY VINYL CHLORIDE เพื่อป้ องกันน้ า น้ าฝน และความชื้น
20.2.6.1 มีการขึ้นรู ปทั้งแบบเกี่ยวฉาก (SQUARE – LOCK : EFF) หรื อแบบเกี่ยวแน่น (INTERLOCK :
EF) ทนแรงดึงสูง
20.2.6.2 เป็ นท่อที่ใช้ร้อยสายเข้าอุปกรณ์ หรื อเครื่ องไฟฟ้ าที่มี หรื ออาจมีการสั่นสะเทือน หรื ออาจมีการ
ขยับ เคลื่อนย้ายได้บา้ ง
20.2.6.3 ติดตั้งใช้งานได้ในสถานที่ช้ื นแฉะ กันน้ าฝนได้ และสามารถติดตั้งภายนอกอาคารได้ หรื อ
ติดตั้งเป็ นไปตาม NEC ARTICLE 350
20.2.7 ท่ อ อ่ อ นกั น น้ าประเภท LSZH : LOW SMOKE ZERO HALOGEN (LIQUID TIGHT FLEXIBLE
METALLIC CONDUIT) เป็ นผลิ ตภัณฑ์ท่อโลหะอ่ อน ที่ ผลิ ตด้วยเหล็กกล้าเคลื อบสัง กะสี ทั้งภายในและภายนอก
(INSIDE AND OUTSIDE GALVANIZE COATED) และหุ้มภายนอกด้วยวัสดุชนิดพิเศษ ไม่ไวไฟ ไม่ติดไฟ ไม่ก่อเกิด
ควันพิษ ป้ องกันน้ า และความชื้น
20.2.7.1 มีการขึ้นรู ปทั้งแบบเกี่ยวฉาก (SQUARE – LOCK : EFF)
20.2.7.2 เป็ นท่อที่ใช้ร้อยสายเข้าอุปกรณ์ หรื อเครื่ องไฟฟ้ าที่มี หรื ออาจมีการสั่นสะเทือน หรื ออาจมีการ
ขยับเคลื่อนย้ายได้บา้ ง
20.2.7.3 ติ ดตั้งใช้ได้ภายในอาคาร, สถานที่ อบั อากาศ เช่ น บริ เวณสถานี รถไฟฟ้ าใต้ดิน ช่ องลิ ฟต์
ช่องทางหนีไฟ ห้องเครื่ องปั่นไฟฟ้ าฉุกเฉิน ห้องปั๊มน้ าดับเพลิง เป็ นต้น
20.2.8 อุปกรณ์ที่ใช้ประกอบกับท่อโลหะอ่อน, ท่ออ่อนกันน้ าทุกประเภท เช่น ข้อต่อ ข้องอ ที่ยึด ที่รองรับ
ต้องมีการเคลือบสังกะสี หรื อเคลือบน้ ายาเพื่อป้ องกันการผุกร่ อน หรื อทาด้วยโลหะที่มีคุณสมบัติป้องกันการผุกร่ อนใน
ตัวเพื่อให้ทนทานการผุกร่ อนได้ไม่นอ้ ยกว่าท่อ
20.2.8.1 อุปกรณ์ที่ใช้ประกอบกับท่ออ่อน และท่ออ่อนกันน้ าทุกประเภท ต้องเป็ นของที่ทาสาเร็ จรู ปมา
จากโรงงานผูผ้ ลิตทั้งสิ้น ห้ามใช้อุปกรณ์ที่ใช้ประกอบที่ทาและดัดแปลงขึ้นเอง
20.2.9 ท่อร้อยสายไฟชนิดอโลหะ
20.2.9.1 ท่อพีวีซีชนิดหนา (Rigid uPVC & Corrugated uPVC Conduit)
1. เป็ นท่อ uPVC (UV Stabilized Poly-Vinyl Chloride) ที่ ใช้ในการเดินสายไฟในระบบ
ไฟฟ้ า ซึ่ งเป็ นท่อ uPVC ที่สามารถทนแรงกระแทกได้สูง เกิดจากการผสมของ รู ไทด์
ไทเทเนี่ยม ไดออกไซด์ (Rutile Titanium Dioxide) และอุปกรณ์ (Fitting) จะต้องมีครบ
เป็ นวัสดุชนิดเดียวกัน ไม่มีส่วนประกอบที่เป็ นโลหะ และจากผูผ้ ลิตเดียวกัน

โครงการ : Gulf PD Visitor Center หน้า M - 110


รายละเอียดข้อกาหนดประกอบแบบ
งานวิศวกรรมระบบปรับอากาศและระบายอากาศ

2. โดยคุ ณสมบัติ ข อง uPVC จะต้อ งผลิ ต ตามมาตรฐาน BS EN 50086-2-1 : 1996 และ


IEC 61386-2-1 : 2002 หรื อผ่านการทดสอบเทียบเท่า มอก. 216-2524 จากสถาบันที่
น่าเชื่อถือ เช่น การไฟฟ้ านครหลวง เป็ นต้น
3. จะต้องทนการกัดกร่ อนไม่เป็ นสนิม, น้ าหนักเบา, ไม่ลามไฟ, เป็ นฉนวนไฟฟ้ า, ทนต่อ
สารเคมีชนิดกรด และด่าง ทนต่อรังสี UV
4. จะต้องสามารถดัดเย็นได้ โดยใช้สปริ งดัดได้ตามความต้องการ
5. ขนาดของท่อวัดจากขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง (ด้านนอก) มีหน่วยเป็ น มิลลิเมตร มีขนาด
16, 20, 25, 32, 40, 50 มิลลิเมตร
20.2.9.2 ท่ออ่อนพีวีซีลายลูกฟูก (Corrugated uPVC Conduit)
1. ท่ออ่อนต้องทาจาก uPVC ชนิ ดแข็ง ทนแรงกระแทกสู ง และทนต่อรังสี UV ได้เป็ น
อย่างดี
2. ท่ออ่อนต้องผลิตตามมาตรฐาน IEC 60423 หรื อ BS 6099
3. การต่อท่ออ่อนร่ วมกับอุปกรณ์อื่น ต้องใช้เคเบิ้ลแกรนด์ (Cable Grand) ทุกปลายท่อ
4. ท่ออ่อนที่ใช้ในที่ช้ืน ต้องใช้ร่วมกับอุปกรณ์กนั น้ า
5. อุปกรณ์ (Fitting) จะต้องมีครบเป็ นวัสดุชนิ ดเดียวกัน ไม่มีส่วนประกอบที่เป็ นโลหะ
และจากผูผ้ ลิตเดียวกัน
20.2.9.3 ท่ อ โพลี เ อทิ ลี น ชนิ ด ความหนาแน่ น สู ง (HDPE) ผลิ ต ตามมาตรฐาน HDPE DIN 8074
CLASS I (PN6, SN16) สามารถทนต่อแรงกระแทกและแรงกดทับที่เกิดจากการฝังกลบ มีความยืดหยุน่ ตัวสูง ไม่เกิดการ
แตกร้าวหรื อหักของท่อ สามารถให้ตวั ได้และปลอดภัยต่อการเปลี่นแปลงของสภาพพื้นที่ ผิวภายในท่อเรี ยบมันมีความ
ฝื ดต่า ทาให้สามารถร้อยสายผ่านได้โดยสะดวกและไม่ทาให้เกิดความเสี ยหายต่อสายไฟ ใช้สาหรับฝังดินโดยตรงหรื อมี
คอนกรี ดหุ้ม กรณี ฝังดินโดยตรงต้องมีวิธีการป้ องกันแรงกระแทกได้โดยไม่เสี ยหายทางกายภาพ
20.2.9.4 ท่ออีพ็อกซี เรซิ นเสริ มใยแก้ว Reinforced Themosetting Resin Conduit (RTRC) ผลิ ตจาก
เส้นใยแก้วเสริ มแรงให้พลาสติกเรซิน ขึ้นรู ปด้วยกระบวนการ THEMOSETTING โดยมีคุณสมบัติดงั นี้
1. ผนังท่อภายในต้องเรี ยบเนียนเพื่อลดแรงเสี ยดทานภายในท่อ
2. มี ความแข็งแรงสามารถทนแรงกดและแรงอัดได้ถึง 3,100 ปอนด์/ฟุต สาหรั บท่อ
ขนาด 5 นิ้ว และคืนตัวได้เมื่อเกิดแรงกระแทก
3. ทนอุณหภูมิต้งั แต่ -30๐C ถึง 110๐C โดยไม่ออนตัว และหลอมละลาย
4. ทนการกัดกร่ อนทางเคมี กรด ด่าง น้ า และไม่ดูดซับน้ ามัน
5. ไม่เกิดควันพิษฮาโลเจนเมื่อถูกการเผาไหม้
6. ผลิตตามมาตรฐาน มอก.2518-2557
20.2.10 การติดตั้งท่อร้อยสายไฟฟ้ า ต้องเป็ นไปตามข้อกาหนดดังนี้
20.2.10.1 ให้ทาความสะอาดทั้งภายในและภายนอกท่อก่อนทาการติดตั้ง
20.2.10.2 การดัดงอท่อ ต้องไม่ทาให้เสี ยรู ปทรง และรัศมีมีความโค้งของการดัดงอต้องเป็ นไปตาม
ข้อกาหนดของ NEC
20.2.10.3 ท่อต้องยึดกับโครงสร้างอาคารหรื อโครงสร้างถาวรอื่นๆ ทุกๆ ระยะไม่เกิน 1.50 เมตร

โครงการ : Gulf PD Visitor Center หน้า M - 111


รายละเอียดข้อกาหนดประกอบแบบ
งานวิศวกรรมระบบปรับอากาศและระบายอากาศ

20.2.10.4 ท่อแต่ละส่ วนหรื อแต่ละระยะต้องติดตั้งเป็ นที่เรี ยบร้อยก่อน จึงสามารถร้อยสายไฟฟ้ าเข้า


ท่อได้ ห้ามร้อยสายเข้าท่อในขณะกาลังติดตั้งท่อในส่วนนั้น
20.2.10.5 การเดิ น ท่ อ ในสถานที่ อ ัน ตรายตามข้อ ก าหนดใน NEC ARTICLE 500 ต้อ งมี อุ ป กรณ์
ประกอบพิเศษ เหมาะสมกับแต่ละสภาพและสถานที่
20.2.10.6 การใช้ท่ออ่อน ต้องใช้ความยาวไม่นอ้ ยกว่า 0.30 เมตร
20.2.10.7 แนวการติดตั้งท่อ ต้องเป็ นแนวขนานหรื อตั้งฉากกับตัวอาคารเสมอ หากมีอุปสรรคจนทา
ให้ไม่สามารถติดตั้งท่อตามแนวดังกล่าวได้ ให้ปรึ กษากับผูค้ วบคุมงานเป็ นแต่ละกรณี ไป

20.3 CABLE TRAY & CABLE LADDER


20.3.1 รางเดิ น สายจะต้อ งเป็ นผลิ ต ภัณ ฑ์ ที่ ไ ด้รั บ มาตรฐานผูผ้ ลิ ต ในประเทศไทยและได้รั บ การรั บ รอง
มาตรฐานสากล ISO9001: 2008 ซึ่ งได้ผลิตรางเดินสายอยู่เป็ นประจาและเป็ นผูผ้ ลิตที่ผวู ้ ่าจ้างเชื่อถือ รางเดินสายแต่ละ
ท่อนจะต้องแสดงชื่อและเครื่ องหมายการค้าของผูผ้ ลิตไว้ในที่ๆ เห็นได้ชดั เจน
20.3.2 การติดตั้งรางเดินสายและจานวนสายให้ใช้กฎและวิธีการตามที่กาหนดใน NEC CODE ARTICLE 318
และมาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้ าสาหรับประเทศไทย
20.3.3 รางเดินสาย CABLE LADDER จะต้องทาด้วยเหล็กชุบสังกะสี โดยวิธี HOT-DIP GAVANIZED ความ
หนาสังกะสี ต่าสุ ด 65 Micron ตามมาตรฐาน BS 729 หรื อ ASTM123
20.3.3.1 ด้านข้าง (SIDERAIL) สู ง 100 มิลลิเมตร ด้านตัดเป็ นรู ปตัวอี (E-SHAPE) ความหนาเหล็ก
ไม่นอ้ ยกว่า 2.0 มิลลิเมตร
20.3.3.2 ลูกขั้น (RUNG) ขนาด 40 × 20 มิลลิเมตร ด้านตัดเป็ นรู ปตัว ซี (C – SHAPE) เพื่อการรับ
น้ าหนักตามมาตรฐานกาหนด
- ความหนาเหล็ก 1.6 มิลลิเมตร สาหรับความกว้าง 200 – 500 มิลลิเมตร
- ความหนาเหล็ก 2.0 มิลลิเมตร สาหรับความกว้าง 600 – 1,000 มิลลิเมตร
20.3.3.3 ความยาวมาตรฐาน 3,000 มิลลิเมตร
20.3.4 รางเดินสาย (CABLE TRAY) ต้องทาด้วยเหล็กชุบสังกะสี (HOT-DIP GAVANIZED) ความหนาเหล็ก
สังกะสี ต่าสุ ด 65 Micron ตามมาตรฐาน BS 729 หรื อASTM 123
20.3.4.1 โดยมีขอบด้านข้าง (SIDERAIL) สู ง 100 มิลลิเมตร เป็ นรู ปตัวอี (E - SHAPE) ความหนา
เหล็กไม่นอ้ ยกว่า 2.0 มิลลิเมตร
20.3.4.2 ด้า นพื้ น (BOTTOM PLATE) เป็ นโลหะลู กฟู กมี รู ร ะบายอากาศ (VENTILATED AND
CORRUGATED) ไม่นอ้ ยกว่า 30% ของพื้นที่ท้งั หมด ความหนาเหล็กไม่นอ้ ยกว่า 1.6 มิลลิเมตร
20.3.4.3 ความยาวมาตรฐาน 3,000 มิลลิเมตร
20.3.5 รางเดินสายจะต้องรับน้ าหนักสายไฟฟ้ าที่ระยะห่ าง SUPPORT (SPAN) เท่ากับ 2.0 เมตร ไม่น้อยกว่า
200 กิ โ ลกรั ม /เมตร ที่ UNIFORMLY DISTRIBUTED LOAD โดยไม่ เ กิ ด การบิ ด เบี้ ย ว และผ่ า นการทดสอบตาม
มาตรฐาน MEMA VE 1 Class 8 C โดยได้รับการรับรองจากสถาบันที่เชื่อถือได้ภายในประเทศ
20.3.6 การติดตั้งและใช้งาน CABLE TRAY ต้องเป็ นไปตามกาหนดใน NEC ARTICLE 318 และต้องยึดกับ
โครงสร้างอาคารทุกๆ ระยะไม่เกิน 1.50 เมตร

โครงการ : Gulf PD Visitor Center หน้า M - 112


รายละเอียดข้อกาหนดประกอบแบบ
งานวิศวกรรมระบบปรับอากาศและระบายอากาศ

20.3.7 ระบบของราง Cable Tray และ Cable Ladder ที่ติดตั้งจะต้องมีความต่อเนื่องทางไฟฟ้ า และต้องมีการ


ต่อลงดิน

20.4 WIREWAY
20.4.1 รางเดิ น สายจะต้อ งเป็ นผลิ ต ภัณ ฑ์ ที่ ไ ด้รั บ มาตรฐานผูผ้ ลิ ต ในประเทศไทยและได้รั บ การรั บ รอง
มาตรฐานสากล ISO9001: 2008 ซึ่ งได้ผลิตรางเดินสายอยู่เป็ นประจาและเป็ นผูผ้ ลิตที่ผวู ้ ่าจ้างเชื่อถือ รางเดินสายแต่ละ
ท่อนจะต้องแสดงชื่อและเครื่ องหมายการค้าของผูผ้ ลิตไว้ในที่ๆ เห็นได้ชดั เจน
20.4.2 การติดตั้งรางเดินสาย และจานวนสายให้ใช้กฎและวิธีการตามที่กาหนดใน NEC CODE ARTICLE
318 และมาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้ าสาหรับประเทศไทย
20.4.3 WIREWAY ต้องพับขึ้นจากเหล็กแผ่นที่มีความหนาไม่น้อยกว่า 1.2 มิลลิเมตร พร้อมฝาครอบปิ ดผ่าน
การป้ องกันสนิมโดยวิธีชุบ GALVANIZED หรื อ พ่นเคลือบด้วยสี อบความร้อน หรื อตามที่ระบุในแบบ
20.4.4 การติดตั้งใช้งาน WIREWAY ต้องเป็ นไปตาม NEC ARTICLE 300 และ ARTICLE 362 และต้องยึด
กับโครงสร้างอาคารทุกๆ ระยะไม่เกิน 1.50 เมตร
20.4.5 การติดตั้งราง WIREWAY ต้องมีที่รองรับหรื อแขวนยึดให้มนั่ คงที่รองรับหรื อที่ยึดรางร้อยสายที่เดินใน
แนวนอน ต้องห่างกันไม่เกิน 1.50 เมตร รางร้อยสายที่เดินในแนวดิ่งต้องมีที่ยึดหรื อรองรับห่างกันไม่เกิน 2.50 เมตร และ
มีจุดต่อรางร้อยสายระหว่างช่วงของที่รองรับหรื อที่ยึดไม่เกิน 1 แห่ง ท่อหรื อทางเดินสายอื่นๆ ที่นามาต่อกับรางร้อยสาย
ไม่นบั เป็ นที่รองรับหรื อที่ยึด
20.4.6 ที่ปลายของราง WIREWAY เมื่อไม่มีการเดินสาย เข้า-ออก ต้องปิ ดด้วยแผ่นปิ ดท้ายราง ที่ทามาสาหรับ
ใช้กบั รางร้อยสายโดยเฉพาะ
20.4.7 ระบบของราง WIREWAY ที่ติดตั้ง จะต้องมีความต่อเนื่องทางไฟฟ้ า และต้องมีการต่อลงดิน
20.4.8 พื้นที่หน้าตัดทั้งหมดของสายไฟทุกเส้น ที่เดินในราง WIREWAY เมื่อรวมกันแล้วต้องไม่เกิน 20%
ของพื้นที่หน้าตัดภายในของรางร้อยสายตรงช่วงที่สายเดินผ่านไป และจานวนสายไฟต้องไม่เกิน 30 เส้น โดยไม่นบั รวม
สายที่มีกระแสไฟไหลเพียงชัว่ คราวหรื อสายดิน
20.4.9 อนุ ญาตให้ใช้รางเดิ นสายได้เฉพาะการติ ดตั้งในพื้นที่ เปิ ดโล่งซึ่ งสามารถเข้าถึ งเพื่อตรวจสอบและ
บ ารุ ง รั กษาได้ตลอดความยาวของรางเดิ นสาย ห้ ำ มเดิ น ในฝ้ ำเพดำน ถ้า ติ ด ตั้ง ภายนอกอาคารต้องเป็ นชนิ ดกันฝน
(RAINTIGHT) และต้อ งมี ความแข็ ง แรงเพี ย งพอที่ จะไม่ เ สี ย รู ป ภายหลัง การติ ด ตั้งและต้อ งเป็ นไปตามข้อ ก าหนด
ดังต่อไปนี้
20.4.10 ห้ามใช้รายเดินสายในบริ เวณที่อาจเกิดความเสี ยหายทางกายภาพ ในบริ เวณที่มีไอที่ทาให้ผกุ ร่ อน หรื อ
ในบริ เวณอันตราย นอกจากจะระบุไว้เป็ นอย่างอื่น
20.4.11 ห้ามติดตั้งหรื อใช้รางเดินสายในกรณี ต่อไปนี้
- ต่อรางเดินสายตรงจุดที่ผา่ นผนังหรื อพื้น
- เป็ นตัวนาสาหรับต่อลงดิน
- ขนาดเกิน 150x300 มิลิเมตร
20.4.12 อนุ ญาตให้ต่อสายเฉพาะในส่ วนที่สามารถเปิ ดออก และเข้าถึงได้โดยสะดวกตลอดเวลาเท่านั้น และ
พื้นที่หน้าตัดของตัวนาและฉนวนรวมทั้งหัวต่อสายรวมกันแล้วต้องไม่เกินร้อยละ 75 ของพื้นที่หน้าตัดภายในของราง
เดินสาย ณ จุดต่อสาย

โครงการ : Gulf PD Visitor Center หน้า M - 113


รายละเอียดข้อกาหนดประกอบแบบ
งานวิศวกรรมระบบปรับอากาศและระบายอากาศ

20.4.13 ในรางเดินสายตรงตาแหน่งที่ตอ้ งมีการดัด งอสาย เช่นปลายทาง ตาแหน่งที่มีท่อร้อยสายเข้า -ออกราง


เดินสาย ต้องจัดให้มีที่ว่างสาหรับดัดงอสายอย่างเพียงพอ และมีการป้ องกันไม่ไห้มีส่วนคมที่อาจบาดสายได้

20.5 กล่องต่อสำย
กล่องต่อสายในที่ น้ ี ให้รวมถึ งกล่องสวิตช์ กล่องเต้ารั บ กล่องต่อสาย (JUNCTION BOX) กล่องพักสายหรื อ
กล่องดึงสาย (PULL BOX) ตามข้อกาหนดในมาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้ าสาหรับประเทศไทย รายละเอียดของกล่อง
ต่อสายต้องเป็ นไปตามกาหนดดังต่อไปนี้
20.5.1 กล่องต่อสายมาตรฐานโดยทัว่ ไป ต้องเป็ นเหล็กมีความหนาไม่ น้อยกว่ ำ 1.2 มิลลิเมตร ผ่านกรรมวิธี
ป้ องกันสนิมด้วยการชุบ GALVANIZED และกล่องต่อสายชนิดกันน้ าต้องผลิตจากเหล็กหล่อหรื ออะลูมิเนียมหล่อที่มี
ความหนาไม่นอ้ ยกว่า 2.4 มิลลิเมตร
20.5.2 กล่องต่อสายที่มีปริ มาตรใหญ่กว่า 100 ลูกบาศก์นิ้ว ต้องพับขึ้นจากแผ่นเหล็กที่มีความหนาไม่นอ้ ยกว่า
1.5 มิ ล ลิ เ มตร ทั้ง นี้ ต้อ งค านึ ง ถึ ง ความแข็ ง แรงของกล่ อ งต่ อ การใช้ ง าน ผ่ า นกรรมวิ ธี ป้ องกัน สนิ ม ด้ว ยการชุ บ
GALVANIZED และกล่องแบบกันน้ าต้องมีกรรมวิธีที่ดี
20.5.3 กล่องต่อสายชนิดกันระเบิด ซึ่งใช้ในสถานที่อาจเกิดอันตรายต่างๆ ได้ตามที่ระบุในมาตรฐานการติดตั้ง
ทางไฟฟ้ าส าหรั บ ประเทศไทย ต้ อ งเป็ นผลิ ต ภั ณ ฑ์ ที่ ไ ด้ รั บ การรั บ รองคุ ณ ภาพจาก UL (UNDERWRITERS
LABORATORY) หรื อมาตรฐานอื่นที่เทียบเท่า
20.5.4 ขนาดของกล่องต่อสาย ขึ้นอยูก่ บั ขนาด จานวน ของสายไฟฟ้ าที่ผา่ นเข้าและออกกล่องนั้นๆ และขึ้นกับ
ขนาด จานวนท่อร้อยสายหรื ออุปกรณ์เดินสายอื่นๆ ทั้งนี้ตอ้ งคานึงถึงรัศมีการโค้งงอของสายตามกาหนดในมาตรฐาน
การติดตั้งทางไฟฟ้ าสาหรับประเทศไทย
20.5.5 กล่องต่อสายทุกชนิดและทุกขนาด ต้องมีฝาปิ ดที่เหมาะสม
20.5.6 การติดตั้งกล่องต่อสาย ต้องยึดแน่นกับโครงสร้างอาคารหรื อโครงสร้างถาวรอื่นๆ และกล่องต่อสาย
สาหรับแต่ละระบบให้มีรหัสสี ทาภายใน และที่ฝากล่องให้เห็นได้ชดั เจน ตาแหน่งของกล่องต่อสายต้องติดตั้งอยูใ่ นที่ซ่ ึ ง
เข้าถึงและทางานได้สะดวก
20.5.7 สาหรับแผงสวิตช์รวม ซึ่ งมีสวิตช์ไฟฟ้ าจานวนมากในบริ เวณเดียวกัน ให้ผรู ้ ับจ้างทาแบบขยายแสดง
แบบของ BOX และวิธีการติดตั้งให้วิศวกรพิจารณาและดาเนินการเพื่ออนุมตั ิก่อนการติดตั้ง
20.5.8 เว้นแต่จะได้กาหนดไว้เป็ นอย่างอื่น PULL BOXES จะต้องสร้างด้วย GALVANIZED STEEL ความ
หน้าไม่ต่ากว่า 2.0 มิลลิเมตร ขนาดไม่ต่ากว่า 5 เท่าของปริ มาตรรวมของสายไฟภายในทั้งหมด แต่ไม่ต่ากว่า 100 คิวบิค
นิ้ว ยึดฝาปิ ดด้วยสกรู และต้องไม่มีรูนอกจากที่ท่อร้อยสายไฟถูกยึดติดอยูเ่ ท่านั้น
20.5.9 PULL BOXES ให้ใช้ได้เฉพาะในการดึงสายไฟภายในเท่านั้น หากจะมีอุปกรณ์อื่น เช่น สวิตช์ CUT-
OUT ฯลฯ ภายใน PULL BOX ด้วย ต้องเสนอแบบของ BOX ตลอดจนรายละเอียดการติดตั้งภายในและการติดตั้ง BOX
ให้วิศวกรได้พิจารณาและอนุมตั ิก่อน
20.5.10 FLOOR BOX สาหรับปลัก๊ ไฟฟ้ า ฯลฯ ซึ่ งฝังอยู่ในพื้นต้องใช้ BOX แบบที่เหมาะสม และทั้งชุดต้อง
สามารถกันน้ าได้ การติดตั้งให้ฝังในพื้นโดยให้ฝาเรี ยบกับพื้น
20.5.11 BOXES ทั้ง หลายที่ ติ ด ตั้ง กลางแจ้ง หรื อในบริ เวณที่ มี ค วามชื้ น ในอากาศสู ง หรื อ BOXES ซึ่ ง
กาหนดให้เป็ นแบบที่กนั น้ าได้จะต้องเป็ นชนิด GALVANIZED CAST IRON มีหัวต่อ (กับท่อร้อยสายไฟ) แบบเกลียว
และใช้ปะเก็น ในการปิ ดฝาให้แน่นสนิทด้วยสกรู ทองเหลือง

โครงการ : Gulf PD Visitor Center หน้า M - 114


รายละเอียดข้อกาหนดประกอบแบบ
งานวิศวกรรมระบบปรับอากาศและระบายอากาศ

20.5.12 BOXES ทุกตัวต้องติ ดตั้งภายในฝ้ าเพดาน ในผนัง ในเพดาน หรื อในพื้นให้พน้ สายตา หากมี ความ
จาเป็ นต้องติดตั้งภายนอกบนเพดาน ผนัง ฯลฯ ต้องได้รับความเห็นชอบของวิศวกรบริ ษทั หรื อ สถาปนิกก่อนแต่ตอ้ งใช้
ชนิด GALVANIZED CAST-IRON
20.5.13 รู KNOCK-OUT ที่ไม่ใช้งานต้องปิ ดให้เรี ยบร้อยด้วยอุปกรณ์ซ่ ึ งสร้างขึ้น เพื่อทาหน้าที่น้ ี โดยเฉพาะ
หรื อเปลี่ยน BOX เสี ยใหม่
20.5.14 BOXES ทั้งหลายจะต้องถูกยึดตรึ งอย่างแข็งแรง โดยไม่ตอ้ งอาศัยท่อร้อยสายไฟเป็ นตัวรับน้ าหนักของ
ตัวเอง และอุปกรณ์อื่นที่ห้อย แขวนหรื อตั้งติดกับ B0X นั้นๆ ได้ หากที่ยึดทาด้วยโลหะจะต้องเป็ นชนิดกันสนิมได้และมี
ขนาดที่เหมาะสม
20.5.15 ผูร้ ับจ้างต้องรับผิดชอบในการซ่ อมแซมผนัง เพดาน ฝ้ า พื้น ฯลฯ ที่ชารุ ด เพราะการติดตั้ง BOXES
ต่างๆ เอง
20.5.16 JUNCTION, OUTLET และ PULL BOX ทุกตัวจะต้องติดตั้งในที่ซ่ ึ งสามารถเข้าไป ดาเนิ นการตรวจ
ซ่อมแซมตัว BOX เองหรื อสายไฟฟ้ าภายในได้ทุกขณะภายหลังจากงานนี้เสร็ จสิ้ นลงแล้ว โดยไม่ตอ้ งกระทบกระเทือน
งานด้านสถาปัตยกรรม
20.5.17 ตาแหน่งของ BOXES และอุปกรณ์ตามที่แสดงในแบบเป็ นตาแหน่งโดยประมาณเท่านั้น ผูร้ ับจ้างต้อง
รับผิดชอบในการศึ กษารายละเอียดและติดตามการเปลี่ ยนแปลงหรื อเพิ่มเติมแบบของสถาปนิ ก และแบบขยาย ของ
บริ ษทั ผูส้ ร้างอุปกรณ์ไฟฟ้ าต่างๆ โดยละเอียด เพื่อสามารถกาหนดตาแหน่ง BOXES ได้ถูกต้อง
20.5.18 การติดตั้ง BOX ให้ระมัดระวังอย่าให้ติดกับท่อน้ าท่อส่ งลมเย็นของระบบปรับอากาศหรื อสิ่ งกีดขวาง
อื่นใด

20.6 กำรติดตั้ง
20.6.1 หากมิได้กาหนดไว้เป็ นการเฉพาะ การติดตั้งสายไฟฟ้ าแรงต่า และอุปกรณ์เดินสายไฟฟ้ าให้เป็ นไปตาม
มาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้ าสาหรับประเทศไทยฉบับล่าสุ ด
20.6.2 ถึงแม้ว่าข้อกาหนดจะระบุให้อุปกรณ์เดินสายไฟฟ้ าเป็ นตัวนาสาหรับการต่อลงดินหรื อไม่ก็ตาม แต่ตอ้ ง
ทาการติดตั้งอุปกรณ์เดินสายไฟฟ้ าเหล่านี้ทุกๆ ช่วงให้มีความต่อเนื่องทางไฟฟ้ าโดยตลอด เพื่อเสริ มระบบการต่อลงดิน
ให้มีความแน่นอน และสมบูรณ์

20.7 กำรทดสอบ
ให้ทดสอบเพื่อให้เชื่อมัน่ ได้ว่ามีความต่อเนื่องทางไฟฟ้ าในทุกๆ ช่วง ตามความเห็นชอบของผูค้ วบคุมงาน

โครงการ : Gulf PD Visitor Center หน้า M - 115


รายละเอียดข้อกาหนดประกอบแบบ
งานวิศวกรรมระบบปรับอากาศและระบายอากาศ

21. ตัวอย่ำงอุปกรณ์มำตรฐำน

21.1 วัตถุประสงค์
รายละเอียดในหมวดนี้ ได้แจ้งถึงรายชื่ อผูผ้ ลิตและผลิตภัณฑ์ วัสดุ และอุปกรณ์ที่ถือว่าได้รับการยอมรับ ทั้งนี้
คุณสมบัติของอุปกรณ์น้ นั ๆ ต้องไม่ขดั ต่อรายละเอียดเฉพาะที่กาหนดไว้ การเสนอผลิตภัณฑ์นอกเหนือจากชื่อที่ให้ไว้น้ ี
ไม่อนุญาตให้เสนอผลิตภัณฑ์นอกเหนือจากชื่อที่ให้ไว้น้ ี เพื่อขออนุมตั ิใช้เทียบเท่า

21.2 รำยชื่อผู้ผลิตและผลิตภัณฑ์ของวัสดุ และอุปกรณ์มำตรฐำน


ให้เป็ นไปตาม LIST OF EQUIPMENT ดังต่อไปนี้
21.2.1 SPLIT SYSTEM, VRV OR VRF SYSTEM
• DAIKIN, JAPAN
• MITSUBTSHI ELECTRIC, JAPAN
• TOSHIBA
• FUJISU
21.2.2 AIR CURTIANS
• MITSUBTSHI ELECTRIC, JAPAN
• PANASONIC, JAPAN
21.2.3 AIR CLEANERS
• HONEY WELL
• PANASONIC, JAPAN
• DAIKIN, JAPAN
21.2.4 AIR FILTER
• CAMFIL – FARR, USA
• AMERICAN AIR FILTER, USA
• NIPPON MUKI, JAPAN
• TEBAF, LOCAL
21.2.5 AIR DISINFECTION (UVGI)
• STERIL-AIRE
• NOVATRON
• AIRKNIGHT
21.2.6 VENTILATION FAN (PROPELLER, CEILING MOUNTED)
• PANASONIC, JAPAN
• MITSUBISHI, JAPAN
• TWIN CITY, USA

โครงการ : Gulf PD Visitor Center หน้า M - 116


รายละเอียดข้อกาหนดประกอบแบบ
งานวิศวกรรมระบบปรับอากาศและระบายอากาศ

• WOLTER
21.2.7 VENTILATION FAN(CENTRIFUGAL,ROOF VENTILATION,SMOKE VENTILATION, AXIAL)
• PANASONIC, JAPAN
• GREENHECK, USA
• ELRAFANS
• KRUGER, SINGAPORE
• WOLTER, GERMAN
• ACME
21.2.8 VENTILATION FAN (JET FAN)
• TEB VENTILATION
• ELRAFANS
21.2.9 FLEXIBLE ALUMINIUM AIR DUCT
• AERODUCT, THAILAND
• S-FLEX, THAILAND
21.2.10 SPIRAL DUCT
• DUCT ASIA
• ARROW DUCT
21.2.11 GALVANIZED STEEL SHEET
• NS BLUESCOPE
• B.S.I (SINGHA)
21.2.12 BLACK STEEL SHEET
• FRESER
21.2.13 AIR DUCT FASTENER
• TILEMENT, JAPAN
21.2.14 DIFFUSERS, GRILLES LOUVERS
• BETEC CAD
• KOMFORT FLOW
• FLOTHRU
• ESCOFLOW
21.2.15 ACOUSTIC GRILLES LOUVERS
• BETEC CAD
• DUCO
• MASON
21.2.16 FIBER GLASS INSULATION

โครงการ : Gulf PD Visitor Center หน้า M - 117


รายละเอียดข้อกาหนดประกอบแบบ
งานวิศวกรรมระบบปรับอากาศและระบายอากาศ

• MICROFIBER, THAILAND
• SFG INSULATION, THAILAND
21.2.17 ROCK WOOL OR HIGH TEMP INSULATION
• ROCKWOOL Pro Rox, THAILAND
• BRADFORD, AUSTRALAI
• MICRO ROCK, JAPAN
21.2.18 CLOSED CELL ELASTOMERIC INSULATION AND ACCESSORIES
• AEROFLEX, THAILAND
21.2.19 INSULATION PIPE SUPPORT (POLYMERIC RIGID FOAM)
• AEROFIX, THAILAND
• RUBATEX
21.2.20 INSULATION ADHESIVE
• NEO-BOND, JAPAN
• AEROSEAL, THAILAND
21.2.21 ALUMINIUM FOIL TAPE
• ALUTAPE
21.2.22 GASKET TAPE
• ESCOTAPE
21.2.23 RIGID PU FOAM PRE-INSULATION PIPE
• ESCOPIPE
• GEKKO
• INSAPIPE
21.2.24 VIBRATION ISOLATOR
• MASON, USA
• KINETIC
• TOZEN, JAPAN
21.2.25 DUCT SILENCER
• MASON, USA
• TRIN
• BETEC CAD
21.2.26 VOLUME CONTROL DAMPER
• DUCT ASIA
• JOHNSON CONTROLS
• BLEN DAIR

โครงการ : Gulf PD Visitor Center หน้า M - 118


รายละเอียดข้อกาหนดประกอบแบบ
งานวิศวกรรมระบบปรับอากาศและระบายอากาศ

• HVC
• BETEC CAD
21.2.27 FIRE DAMPER
• RUSKIN
• BETEC CAD
21.2.28 MOTORIZED FIRE DAMPER
• RUSKIN
• BETEC CAD
21.2.29 MOTORIZED VOLUME CONTROL DAMPER
• RUSKIN
• JOHNSON CONTROLS
• HONEWELL
21.2.30 REFRIGERANT PIPE (ASTM B-88 HARD DRAWN TYPE L)
• MUELLER, USA
• CAMBRIDGE, KOREA
• KEMBLA, AUSTRALIA
• O-TWO, CHINA
• VALOR, THAILAND
21.2.31 REFRIGERANT PIPE (ASTM B-280 ม้วนหนาเบอร์ 22)
• KMCT, THAILAND
• VALOR, THAILAND
• KLM, CHINA
• O-TWO, CHINA
21.2.32 PVC PIPE, TIS 17-2532
• THAI PIPE, THAILAND
• SCG, THAILAND
21.2.33 FLEXIBLE PIPE CONNECTION (RUBBER & STAINLESS)
• TOZEN, JAPAN
• MASON, USA
• METRAFLEX, USA
21.2.34 PANEL BOARD MOTOR CONTROL
• ASEFA
• SCI ELECTRIC MANUFACTURER
• TIC

โครงการ : Gulf PD Visitor Center หน้า M - 119


รายละเอียดข้อกาหนดประกอบแบบ
งานวิศวกรรมระบบปรับอากาศและระบายอากาศ

• PMK
21.2.35 LOW VOLTAGE CIRCUIT BREAKER
• SCHNEIDER ELECTRIC
• SIEMENS
• EATON
21.2.36 STARTER
• SCHNEIDER ELECTRIC
• ABB, SWEDEN
• SIEMENS
21.2.37 VARIABLE SPEED & SOFT STARTER
• SCHNEIDER ELECTRIC
• SIEMENS
• ABB
• DANFOSS
21.2.38 AUTOMATIC CONTROL EQUIPMENT
• JOHNSON CONTROL
• TAC
• SIEMENS
• SCHNEIDER ELECTRIC
• HONEYWELL
• AZBIL
21.2.39 PRESSURE CONTROLLER
• SIEMENS
• AZBIL
• SCHNEIDER ELECTRIC
21.2.40 ELECTRICAL CABLE
• THAI YAZAKI
• PHELPS DODGE
• CTW CABLE
• BANGKOK CABLE
• S SUPER CABLE
21.2.41 FIRE RESISTANCE CABLE (FRC)
• STUDER, SWITZERLAND
• PRYMIAN, UK

โครงการ : Gulf PD Visitor Center หน้า M - 120


รายละเอียดข้อกาหนดประกอบแบบ
งานวิศวกรรมระบบปรับอากาศและระบายอากาศ

• RADOX, SWITZERLAND
• THAI YAZAKI
• PHELPS DODGE
• CTW CABLE
• DRAKA

21.2.42 FLAME RETARDANT, LOW SMOKE AND HALOGEN FREE CABLE (FR)
• STUDER
• PRYMAIN
• BELDEN
• THAI YAZAKI
• PHELPS DODGE
• CTW CABLE
• BANGKOK CABLE
• S SUPER CABLE
• DRAKA
21.2.43 TWIST PAIRS SHIELD CABLE
• BELDEN
• TKD
21.2.44 TWIST PAIRS SHIELD CABLE (FIRE RESISTANCE CABLE)
• STUDER, SWITZERLAND
• BELDEN
21.2.45 ELECTRICAL CONDUIT
21.2.45.1 MATAL CONDUIT
• RSI
• ABSO
• ARROW PIPE
• PANASONIC
• ATC
21.2.45.2 RTRC CONDUIT
• GRE
• ARROW RTRC
21.2.45.3 HDPE CONDUIT
• THAI ASIA PE PIPE (TAP)

โครงการ : Gulf PD Visitor Center หน้า M - 121


รายละเอียดข้อกาหนดประกอบแบบ
งานวิศวกรรมระบบปรับอากาศและระบายอากาศ

• PBP (UHM)
21.2.45.4 UPVC CONDUIT
• HACO
21.2.45.5 LIQUIDTIGHT FLEXIBLE METAL CONDUIT
• ARROW TITE
• ABSO
• ATC
• STEEL CITY
21.2.45.6 METAL STEEL FLEXIBLE CONDUIT
• ARROW TITE
• ABSO
• ATC
• STEEL CITY
21.2.45.7 EFLEX CONDUIT
• BTC
21.2.46 CONDUIT FITTING AND BOX ACCESSORIES
• STEEL CITY
• ABSO
• ATC
. 21.2.47 CABLE TRAY, CABLE LADDER, WIREWAY, METAL TRUNKING
• ASEFA
• TIC MANUFACTURING
• SCI ELECTRIC MANUFACTURER
• BANGKOK SHEET METAL (BSM)
21.2.48 FIRE BARRIER
• HILTI
• 3M

โครงการ : Gulf PD Visitor Center หน้า M - 122

You might also like