You are on page 1of 6

การประชุมวิชาการระดับชาติดา้ นการพัฒนาการดำเนินงานทางอุตสาหกรรม ครั้งที่ 13 (CIOD 2022)

The 13th National Conference of Industrial Operations Development 2022


20 พฤษภาคม 2565 คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร กรุงเทพฯ

การลดของเสียที่ในกระบวนการผลิตเสาเข็มสปัน
Defect reduction in spun pile production process

อภิชญา แก่นทอง1* ชญานิษฐ์ ฉัตรธนะพานิช2* และ ปาริชาต ชื่นวัฒนกุล3


1,2,3
ภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการ คณะวิศวกรรมศาสตร์
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต ปทุมธานี 12120
E-mail : apichaya26@icloud.com1*, pun_plp2012@hotmail.com2*

บทคัดย่อ
งานวิจัยนี้มีจุดประสงค์เพื่อลดข้อบกพร่องและของเสียที่เกิดขึ้นภายในกระบวนการผลิตเสาเข็มสปัน โดยใช้เครื่องมือ
คุณภาพ 7 อย่าง ได้แก่ ผังพาเรโต้และผังแสดงเหตุและผล และการวิเคราะห์ความล้มเหลวและผลกระทบ (Failure Modes and
Effects Analysis : FMEA) ในการคัดเลือกปัญหา ทำการจัดลำดับความสำคัญของปัญหาโดยใช้ผังพาเรโต พบมีข้อบกพร่องหลัก
3 ประเภท ที่ทำให้เกิดของสียในกระบวนการผลิตเสาเข็มสปัน คือ รอยร้าว หินลอย และผิวติดแบบ จากการระดมสมองและใช้
แผนผังก้างปลาในการวิเคราะห์สาเหตุรากเหง้าของปัญหา และใช้ FMEA ลำดับความสำคัญของสาเหตุของปัญหาจากผลกระทบ
ความล้มเหลว เพื่อกำหนดแนวทางในการแก้ไขปัญหา ผลการปรับปรุงพบว่าคุณภาพของเสาเข็มสูงขึ้น โดยของเสียลดลง จากเดิม
5.37 % ลดลงเหลือ 0.77 % ลดลง 85.66 %

คำสำคัญ : การลดปริมาณของเสีย การควบคุมคุณภาพเชิงสถิติ รอยร้าว หินลอย ผิวติดแบบ

Abstract
This research aims to reduce defects and waste that occur in the spun pile production process.
It uses 7 quality tools: Pareto and Cause and Effect Charts. and Failure Modes and Effects Analysis (FMEA) in
problem selection. Prioritize problems using a Pareto chart. Three main types of defects were found to cause
waste in the spun pile manufacturing process, namely cracks, honeycomb, and scaling. Brainstorming and
fishbone mapping was used to analyze root causes of problems and FMEA was used to prioritize failures based
on the causes of Problem. The improvement results showed that the pile quality was higher. The waste
decreased from 5.37% to 0.77%, a decrease of 85.66%.

Keywords: Waste Reduction, Statistical Process Control, Crack, Honeycomb, Scaling


การประชุมวิชาการระดับชาติดา้ นการพัฒนาการดำเนินงานทางอุตสาหกรรม ครั้งที่ 13 (CIOD 2022)
The 13th National Conference of Industrial Operations Development 2022
20 พฤษภาคม 2565 คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร กรุงเทพฯ

1. บทนำ 2.3 การวิเคราะห์ความล้มเหลวและผลกระทบ


แม้ในปัจจุบันโรงงานผลิตเสาเข็มสปัน (Spun Pile) มีเพียง การวิ เ คราะห์ ค วามล้ ม เหลวและผลกระทบ (Failure
ไม่กี่แห่งในประเทศไทย และการแข่งขันในธุรกิจนี้จะไม่สูง Mode and Effects Analysis : FMEA) เป็นเทคนิคที่นำมาใช้
มากนัก แต่ในการตัดสินใจของผู้ซื้อจะให้ความสำคัญ เรื่อง ในวิเคราะห์และจัดลำดับปัจจัยที่มีผลกระทบต่อปัญหามาก
คุณภาพเป็นอันดับแรก รองมาค่อยพิจารณา ราคาต้นทุน และ ที ่ ส ุ ด เพื ่ อ หาแนวทางในการแก้ ไ ขปั ญ หา[3],[4] โดยการ
การบริการ เนื่องจากมีผลต่อความปลอดภัยในการใช้งานและ คำนวณตัวเลขแสดงลำดับความสำคัญของความเสี่ยง
ชื ่ อ เสี ย งของลู ก ค้ า ในระยะยาว ผู ้ ซ ื ้ อ จึ ง ใส่ ใ จและมี ก าร ตัวเลขแสดงลำดับความสำคัญของความเสี่ยง (RPN) คือ
ตรวจสอบคุณภาพอย่างละเอียดถี่ถ้วน ผลลัพธ์ของความรุนแรง โอกาสในการเกิดและการตรวจจับ
งานวิจัยนี้จึงได้นำเอาเครื่องมือคุณภาพ 7 อย่าง (QC 7 เพื่อใช้ในการจัดลำดับความสำคัญในการแก้ไขปัญหา [5] ซึ่ง
Tools) และการวิเคราะห์ลักษณะข้อบกพร่องและผลกระทบ คำนวณจากสมการที่ (1)
(Failure Mode and Effects Analysis) มาใช้ ก ารวิ เคราะห์ RPN = S x O x D (1)
หาปัจจัยที่เป็นสาเหตุหลักที่ทำให้เกิดของเสียในกระบวนการ 2.4 งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
ผลิตเสาเข็มสปัน และจัดลำดับปัจจัยที่มีผลกระทบต่อปัญหา อานนท์ จิตกร (2554) ได้ทำการศึกษาและวิเคราะห์ของ
มากที่สุด เพื่อหาแนวทางในการปรับปรุงคุณภาพของเสาเข็ม เสี ย ที ่ เ กิ ด ขึ ้ น ในกระบวนการผลิ ต ภายในโรงงานประกอบ
สปันให้สูงขึ้น เพื่อสร้างความเชื่อมั่น และความพึงพอใจแก่ อิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ โดยใช้ เ ครื ่ อ งมื อ คุ ณ ภาพ 7 อย่ า ง ได้ แ ก่
ลู ก ค้ า รวมทั ้ ง ลดการสู ญ เสี ย และต้ น ทุ น การผลิ ต เพื ่ อ ให้ การวิเคราะห์โดยใช้กฎ 80/20 หรือพาเรโต เพื่อจัดลำดับและ
สามารถแข่งขันได้ในธุรกิจ คัดเลือกลักษณะของเสียที่เกิดขึ้น จากนั้นนำไปวิเคราะห์หา
สาเหตุของปัญหาโดยใช้แผนผังแสดงเหตุและผล และทำการ
2. ทฤษฎีและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง ปรับปรุงและลดของเสียในกระบวนการผลิต [6]
2.1 ความหมายของเสาเข็มสปัน ธีรนันท์ สุธาธรรมรัตน์ (2562) ได้ทำการศึกษาการลดของ
เสาเข็มสปันเป็นเสาเข็มคอนกรีตอัดแรงชนิดพิเศษที่อาศัย เสียในกระบวนการผลิตแผงหน้าต่างอลูมิเนียมและระบบผนัง
เทคนิ ค การดึ งลวดรั บ แรงดึ งแล้ว เทคอนกรี ต ลงในแม่แบบ กระจกสำเร็ จ รู ป โดยใช้ เ ทคนิ ค การวิ เ คราะห์ ล ั ก ษณะ
เมื่อคอนกรีตแข็งตัวจึงทำการตัดลวดรับแรงดึงออกทำให้เกิด ข้อบกพร่องและผลกระทบ (FMEA) เพื่อวิเคราะห์หาค่าความ
แรงอัดในเสาเข็ม เสาเข็มชนิดนี้ใช้กรรมวิธีการปั่นคอนกรีตใน เสี ่ ย งและดำเนิ น การหาแนวทางปรั บ ปรุ ง แก้ ไ ข โดยเรี ย ง
แบบหล่อซึ่งหมุนด้วยความเร็วสูง ซึ่งทำให้คอนกรีตนั้นอัดแน่น ตามลำดับคะแนน RPN จากมากไปน้อยตามลำดับ [7]
และมีความหนาแน่นสูงกว่าคอนกรีตที่หล่อ
2.2 เครื่องมือคุณภาพ 7 อย่าง (7 QC Tools) 3. สภาพปัจจุบัน
งานวิจัยนี้ได้เลือกนำแผนผังพาเรโตมาใช้ในการจัดลำดับ 3.1 ประเภทของผลิตภัณฑ์
ความสำคัญและคัดเลือกปัญหา และนำแผนผังแสดงเหตุและ เสาเข็มสปันของบริษัทมีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 400 500
ผลมาใช้ในการวิเคราะห์และแสดงความสัมพันธ์ระหว่างปัญหา 600 และ 800 มิลลิเมตร และมีความยาวไม่เกิน 18 เมตร
ที่ต้องการแก้ไขกับสาเหตุที่ทำให้เกิดปัญหา ซึ่งเป็นเครื่องมือที่ เหมาะกั บ งานฐานรากของอาคาร ที ่ พ ั ก อาศั ย โรงงาน ที่
ช่วยให้มองภาพรวมของปัญหาและสาเหตุทั้งหมดได้ง่ายขึ้น[2] ต้ อ งการความแข็ ง แรงของฐานรากสู ง และยั งช่ ว ยลดการ
สั่นสะเทือนเวลาตอก
การประชุมวิชาการระดับชาติดา้ นการพัฒนาการดำเนินงานทางอุตสาหกรรม ครั้งที่ 13 (CIOD 2022)
The 13th National Conference of Industrial Operations Development 2022
20 พฤษภาคม 2565 คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร กรุงเทพฯ

3.2 กระบวนการผลิตเสาเข็มสปัน 4. แนวทางการปรับปรุง


ทำการวิเคราะห์และจัดลำดับความสำคัญของปัญหาที่ทำ
พันโครง
ให้เสาเข็มสปันเสียหาย โดยใช้แผนผังพาเรโต ดังรูปที่ 3
ตัด ตัดและดัดCollar ผสมซีเมนต์
PC Wire ลวด ให้เป็นวงกลม ตามอัตราส่วน

ประกอบเข้า ซีเมนต์ลง
กับแม่พิมพ์ แม่พิมพ์

เปิดแม่พิมพ์ บ่ม เหวี่ยง ดึง PC ทดสอบแรง


และ QC เสาเข็ม เสาเข็ม wire กระแทก

รูปที่ 1 กระบวนการผลิตเสาเข็มสปัน

3.3 ลักษณะข้อบกพร่องในการผลิตเสาเข็มสปัน
รูปที่ 3 ผังพาเรโตข้อบกพร่องในการผลิตเสาเข็มสปัน
จากข้อมูลผลการตรวจสอบคุณภาพเสาเข็มสปันที่ผลิตใน
เดื อ นมิ ถ ุ น ายน 2564 ก่ อ นการปรั บ ปรุ ง พบมี เ สาเข็ ม พบปัญหาหลักที่สำคัญ 3 ปัญหา คือ ผิวติดแบบ รอยร้าว
สปันเสียทั้งหมด 37 ท่อน คิดเป็นร้อยละ 5.37 โดยจำนวนของ และหินลอย จากการระดมสมองร่วมกับพนักงานของบริษัท
เสียแยกตามประเภทข้อบกพร่อง แสดงดังตารางที่ 1 และ โดยใช้ แ ผนผั งแสดงเหตุ และผล พบสาเหตุ ข องปั ญ หาหลัก
ลักษณะข้อบกพร่องที่ทำให้เกิดของเสีย แสดงดังรูปที่ 2 แสดงดังรูปที่ 4 ถึงรูปที่ 6

ตารางที่ 1 เสาเข็มสปันที่เสียแยกตามประเภทข้อบกพร่อง พนักงาน


ประเภท เสาเข็มสปันที่เสีย ทำความสะอาด ฝาบน-ฝาล่าง
ลืมทาน้ำยา แม่พิมพ์ไม่สะอาด
ข้อบกพร่อง จำนวน (ท่อน) ร้อยละ เคลือบแม่พิมพ์
ผิวติดแบบ 12 32.43 ผิวติด
อัตราส่วนน้ำยาเคลือบ
รอยร้าว 10 27.03 แม่พิมพ์เข้มข้นน้อยเกินไป แบบ
หินลอย 9 24.32
ลวดเหล็กกล้าโผล่ 4 10.81 วิธีการ
ลวดรีดเย็นโผล่ 2 5.41
รูปที่ 4 วิเคราะห์สาเหตุของผิวติดแบบ
รวม 37 100

ผิวติดแบบ รอยร้าว หินลอย

ลวดเหล็กกล้า ลวดรีดเย็น
โผล่ โผล่
รูปที่ 2 ลักษณะของเสียในกระบวนการผลิตเสาเข็มสปัน รูปที่ 5 วิเคราะห์สาเหตุของปัญหารอยร้าว
การประชุมวิชาการระดับชาติดา้ นการพัฒนาการดำเนินงานทางอุตสาหกรรม ครั้งที่ 13 (CIOD 2022)
The 13th National Conference of Industrial Operations Development 2022
20 พฤษภาคม 2565 คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร กรุงเทพฯ

ตารางที่ 3 การวิเคราะห์ลักษณะข้อบกพร่องและผลกระทบใน
กระบวนการผลิตเสาเข็มสปัน
Failure Potential Cause RPN
รอยร้าว ปริมาณน้ำมากเกินไป เนื่องจากไม่ได้ 720
วัดความชื้นของทรายก่อนเติมน้ำ
ไม้รองชิ้นงานผุพัง/ชำรุด 112
ขาดความระมัดระวังในการขนย้าย 108
ปล่อยชิ้นงานสูงจากพื้นมากเกินไป
รูปที่ 6 วิเคราะห์สาเหตุของปัญหาหินลอย
ทำให้กระแทกเกิดรอยร้าว
หิน ทราย ไม่สะอาด 48
หลั ง จากทราบสาเหตุ ข องแต่ ล ะปั ญ หาแล้ ว ได้ น ำเอา แรงดึงลวดไม่ถึงเกณฑ์ที่กำหนดไว้ใน 6
FMEA มาวิเคราะห์ผลกระทบของแต่ละสาเหตุที่ทำให้เสาเข็ม แต่ละขนาด
เสียหาย แสดงดังตารางที่ 3 เพื่อลำดับความสำคัญในการแก้ไข กำลังอัดคอนกรีตไม่เป็นไปตาม 3
ปัญหา โดยมีรายละเอียดแนวทางแก้ไขปัญหา ดังนี้ มาตรฐานที่กำหนด
4.1 การวิเคราะห์และแก้ไขปัญหาผิวติดแบบ หินลอย ปริมาณวัตถุดิบที่ปล่อยออกมาไม่ 800
ถูกต้อง เนื่องจากตาชั่งวัตถุดิบไม่
พบสาเหตุ ท ี ่ ทำให้ ผิ ว ติ ดแบบเรีย งตามลำดั บ สำคั ญ คื อ
เที่ยงตรง
อั ต ราส่ ว นของน้ ำ ยาเคลื อ บแม่ พ ิ ม พ์ เข้ ม ข้ น น้ อ ยเกิ น ไป ปริมาณน้ำน้อยเกินไป เนื่องจากไม่ได้ 648
พนักงานทำความสะอาด ฝาบน-ฝาล่างของแม่พิมพ์ไม่สะอาด วัดความชื้นของทรายก่อนเติมน้ำ
และ ลืมทาน้ำยาเคลือบแม่พิมพ์ โดยแนวทางการปรับปรุง ขาดความรูเ้ กี่ยวกับวิธีการผสม 168
แก้ไขปัญหาผิดติดแบบ ดังตารางที่ 2 คอนกรีตและตรวจสอบคอนกรีตที่
ถูกต้อง
ตารางที่ 2 แนวทางการปรับปรุงแก้ไขปัญหาผิวติดแบบ ใบกวนสึกหรอ เกิดช่องว่างระหว่างใบ 54
กวนในการผสมคอนกรีต
ผิวติด อัตราส่วนของน้ำยาเคลือบแม่พมิ พ์ 720
สาเหตุ แนวทางการแก้ไข แบบ เข้มข้นน้อยเกินไป
อัตราส่วนของ ปรับเปลีย่ นอัตราส่วนการผสมน้ำยา ทำความสะอาด ฝาบน-ฝาล่างของ 384
น้ำยาเคลือบ เคลือบ แม่พิมพ์จากเดิมผสมน้ำยา แม่พิมพ์ไม่สะอาด
แม่พิมพ์เข้มข้น เคลือบแม่พิมพ์ต่อน้ำ ในอัตราส่วน พนักงานลืมทาน้ำยาเคลือบแม่พิมพ์ 384
น้อยเกินไป 1:20 เปลี่ยนเป็น 1:15
ทำความสะอาด 1) อบรมวิธีการทำความสะอาดและ 4.2 การวิเคราะห์และแก้ไขปัญหารอยร้าว
ฝาบนและ-ฝาล่าง วิ ธ ี ก ารตรวจสอบแม่ พ ิ ม พ์ ท ั ้ งฝาบน ซึ ่ ง จากการวิ เ คราะห์ ป ั ญ หารอยร้ า ว มี ส าเหตุ เ รี ย ง
ของแม่ พ ิ ม พ์ ไ ม่
และฝาล่าง ตามลำดับ สำคัญ คือ ปริมาณน้ำมากเกินไป ไม้รองชิ้นงาน
สะอาด 2) กำหนดให้มีการตรวจสอบความ
ผุ พ ั ง/ชำรุ ด ปล่ อ ยวางชิ ้ น งานสู งจากพื ้ น เกิ ด การกระแทก
สะอาดฝาบนและฝาล่างของแม่พิมพ์
ทุกครั้งก่อนเคลื่อนย้ายแม่พิมพ์ หิน/ทรายไม่สะอาด แรงดึงลวดไม่ถึงเกณฑ์ที่กำหนด และ
ลืมทาน้ำยาเคลือบ ตรวจสอบการทาน้ ำ ยาเคลื อ บ กำลังอัดคอนกรีตไม่เป็นไปตามมาตรฐาน โดยมีแนวทางการ
แม่พิมพ์ แม่พิมพ์ทุกครั้งก่อนเคลื่อนย้าย ปรับปรุงแก้ไขปัญหารอยร้าว ดังตารางที่ 4
การประชุมวิชาการระดับชาติดา้ นการพัฒนาการดำเนินงานทางอุตสาหกรรม ครั้งที่ 13 (CIOD 2022)
The 13th National Conference of Industrial Operations Development 2022
20 พฤษภาคม 2565 คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร กรุงเทพฯ

ตารางที่ 4 แนวทางการปรับปรุงแก้ไขปัญหารอยร้าว ตารางที่ 5 แนวทางการปรับปรุงแก้ไขปัญหาหินลอย

สาเหตุ แนวทางการแก้ไข สาเหตุ แนวทางการแก้ไข


ปริมาณน้ำมากเกินไป ตรวจสอบความชื้นของทราย ปริมาณวัตถุดิบที่ปล่อย สอบเทียบตาชั่งวัตถุดิบ เพื่อให้
เนื่องจากไม่ได้วัด ก่อนเริ่มการผลิตทุกวัน ออกมาไม่ถูกต้องตามที่ มีความถูกต้องและแม่นยำตาม
ความชื้นของทรายก่อน กำหนด เนื่องจากตาชั่ง เกณฑ์ที่กำหนด
เติมน้ำ วัตถุดิบไม่เที่ยงตรง
ไม้รองชิ้นงานผุพัง/ชำรุด ตรวจสอบการชำรุดของไม้รอง ปริมาณน้ำน้อยเกินไป ตรวจสอบความชื้นของทราย
ชิ้นงานวันละ 2 ครั้งและทำการ เนื่องจากไม่ได้วัด ก่อนเริ่มการผลิตทุกวัน
เปลี่ยนหากชำรุด/พัง ความชื้นของทรายก่อน
ขาดความระมัดระวังใน อบรมพนักงานขับเครน และ เติมน้ำ
การขนย้าย ปล่อยวาง กำหนดให้ต้องวางเสาเข็มแนบ ขาดความรูเ้ กี่ยวกับ อบรมพนักงานเกี่ยวกับวิธีการ
ชิ้นงานสูงจากพื้นขณะ สนิทกับพื้นขณะปล่อยชิ้นงาน วิธีการผสมคอนกรีตและ ผสมและวิธตี รวจสอบคอนกรีต
วาง ทำให้กระแทกเกิด เพื่อลดการกระแทกของชิ้นงาน ตรวจสอบคอนกรีตที่ ที่ถูกต้อง โดยวัดการยุบตัวของ
รอยร้าว กับพื้นหรือชิ้นงานอื่น ถูกต้อง คอนกรีตเทียบกับความสูงของ
หิน ทราย ไม่สะอาด ตรวจสอบวัตถุดิบทุกครั้งก่อนรับ กรวยมาตรฐาน
แรงดึงลวดไม่ถึงเกณฑ์ที่ ตรวจเช็ค แรงดึงลวดให้ เป็นไป ใบกวนสึกหรอ เกิด ตรวจสอบสภาพการสึกหรอ
กำหนดไว้ในแต่ละขนาด ตามเกณฑ์ ข องแต่ ล ะขนาด ช่องว่างระหว่างใบกวน ของใบกวนทุกๆ 3 เดือน
ก่อนดึงลวดทุกครั้ง ในการผสมคอนกรีต
กำลั ง อั ด คอนกรี ต ไม่ ทดสอบลูกปูนก่อนการตัดลวด
เป็นไปตามมาตรฐาน อย่างน้อย 3 ชั่วโมงและก่อนส่ง 4.4 ผลการวิจัย
มอบผลิตภัณฑ์อย่างน้อย 5 วัน จากการตรวจสอบคุณภาพเสาเข็มที่ผลิตทั้งหมด 387 ท่อน
ระหว่างเดือนกุมภาพันธ์ถึงเดือนมีนาคม 2565 ดังตารางที่ 6
4.3 การวิเคราะห์และแก้ไขปัญหาหินลอย
สาเหตุ ที่ ท ำให้เสาเข็ม สปัน เกิด หิน ลอย เรี ย งตามลำดับ
ตารางที่ 6 เปรียบเทียบปริมาณของเสียก่อนและหลังปรับปรุง
ความสำคัญ ได้แก่ ตาชั่งวัตถุดิบไม่เที่ยงตรง ปริมาณน้ำน้อย
เกินไป ขาดความรู้เกี่ยวกับวิธีการผสมคอนกรีตและตรวจสอบ ลักษณะของ ปริมาณของเสีย (ท่อน)
คอนกรี ต ที ่ ถ ู ก ต้ อ ง และใบกวนสึ ก หรอ โดยมี แ นวทางการ ข้อบกพร่อง ก่อนปรับปรุง หลังปรับปรุง
ปรับปรุงแก้ไขปัญหาหินลอย ดังตารางที่ 5 ผิวติดแบบ 12 0
รอยร้าว 10 0
หินลอย 9 1
ลวดเหล็กกล้าโผล่ 4 2
ลวดรีดเย็นโผล่ 2 0
รวม 37 3
การประชุมวิชาการระดับชาติดา้ นการพัฒนาการดำเนินงานทางอุตสาหกรรม ครั้งที่ 13 (CIOD 2022)
The 13th National Conference of Industrial Operations Development 2022
20 พฤษภาคม 2565 คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร กรุงเทพฯ

พบว่าภายหลังจากดำเนินการปรับปรุงแก้ไขปัญหาตาม 5. สุ พ ั ฒ น์ วงศ์ จ ิ รั ฐ ิติ กาล, สุ ท ั ศ น์ รั ต นเกื้ อ กั งวาน, 2557,


แนวทางข้างต้น มีเสาเข็มสปันเสียเพียง 3 ท่อน คิดเป็นร้อยละ การปรั บ ปรุ ง ระบบการบำรุ ง รั ก ษาเชิ ง ป้ อ งกั น ของ
0.77 ลดลงจากเดิมร้อยละ 85.66 (เดิมมีของเสียร้อยละ 5.37) โรงงานผลิตเพลารถยนต์ด้วยเทคนิค การวิเคราะห์สาเหตุ
โดยเกิดจากปัญหาหินลอย 1 ท่อน ลวดเหล็กกล้าโผล่ 2 ท่อน ของลั ก ษณะข้ อ บกพร่ อ งและผลกระทบ, วิ ท ยานิ พ นธ์
ซึ่งไม่พบของเสียจากปัญหาผิดติดแบบ และรอยร้าวเลย วิ ศ วกรรมศาสตร์ ม หาบั ณ ฑิ ต ภาควิ ช าวิ ศ วกรรม
อุตสาหการ, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
5. สรุปผลและข้อเสนอแนะ 6. อานนท์ จิตกร, 2554, การปรับปรุงกระบวนการผลิตเพื่อ
งานวิจัยนี้ได้นำเครื่องมือคุณภาพ 7 อย่าง และ FMEA ลดของเสี ย กรณี ศ ึ ก ษา โรงงานประกอบอุ ป กรณ์
มาใช้ในการวิเคราะห์เพื่อหาปัจจัยที่เป็นสาเหตุทำให้ เสาเข็ม อิเล็กทรอนิกส์, วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต ภาควิชา
สปันเสียหายในกระบวนการผลิต รวมทั้งจัดลำดับความสำคัญ อุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
ของปัญหาและสาเหตุ ผลจากวิเคราะห์และดำเนินการแก้ไข 7. ธีรนันท์ สุธาธรรม, 2562, การลดของเสียในกระบวนการ
ปัญหาผิดติดแบบ หินลอย และรอยร้าว สามารถแก้ปัญหาผิว ผลิตแผงหน้าต่างอลูมิเนียมระบบผนังกระจกสำเร็จรูป ,
ติดแบบและร้อยร้าวได้ทั้งหมด ปัญหาหินลอยลดลง โดยของ วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการทาง
เสี ย ลดลง จากเดิม ร้อ ยละ 5.37 เหลื อ ร้อ ยละ 0.77 ลดลง วิศวกรรม คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาธุรกิจบัณฑิตย์.
ร้อยละ 85.66
ทั้งนี้หากทางบริษัทสามารถควบคุมให้พนักงานดำเนินการ
ปรับปรุงตามแนวทางที่กำหนดได้อย่างต่อเนื่อง จะส่งผลให้
คุณภาพสูงขึ้นและต้นทุนในการผลิตลดลง สร้างความพึงพอใจ
ให้แก่ลูกค้าของบริษัท

6. เอกสารอ้างอิง
1. บริษัท ไชยเจริญเทค จำกัด. (ม.ป.ป.). เรื่องน่ารู้เกี่ยวกับ
กา ร ค วบ ค ุ ม ค ุ ณ ภ า พ , ส ื บ ค ้ น 15 ต ุ ล า ค ม 2564
จาก.https://www.chi.co.th/article/article-1138/
2. Besterlife. (2562). 7 QC เครื่องมือคุณภาพเพื่อควบคุม
กระบวนการผลิตโดยใช้กลวิธีทางสถิติ , สืบค้น 15 ตุลาคม
2564. จาก. https://besterlife.com/7-qc-tool/
3. กิติศักดิ์ พลอยพานิชเจริญ , 2547, การวิเคราะห์อาการ
ขัดข้องและผลกระทบ FMEA. กรุงเทพมหานคร: ส.เอเซีย
เพรส.
4. Automotive Industry Action Group (AIAG), 2022,
Potential Failure Mode and Effects Analysis
(FMEA). 3rd edition.

You might also like