You are on page 1of 13

เทคนิคการบรรเลงเบสไฟฟ้าของ Flea Red Hot Chili Peppers

นาย ณรงค์ฤทธิ์ ทองจันทร์ แก้ว


631061026

สาขาวิชาดุริยางคศาสตร์ สากล คณะศิลปกรรมศาสตร์


มหาวิทยาลัยทักษิณ วิทยาเขต สงขลา
บทคัดย่อ

การศึกษาวิจยั ครั้งนี้ มีวตั ถุประสงค์เพื่อการศึกษา เทคนิคการบรรเลงเบสไฟฟ้าของ Flea


Red Hot Chili Peppers เพื่อพัฒนาทักษะการบรรเลงเบสไฟฟ้าให้มีคุณภาพมากยิ่งขึ้น และ
ต้องการศึกษาค้นคว้าข้อมูลเกี่ยวกับบทเพลงที่นามาใช้ในการแสดง และวิเคราะห์องค์ประกอบ
ในบทเพลง ค้นคว้าเทคนิคการบรรเลงเพื่อเพิ่มความเข้าใจในตัวบทเพลง การศึกษาวิจยั ในครั้งนี้
สามารถนาไปต่อยอดใช้วิธีการต่างๆ กับบทเพลงอื่นๆได้อีกด้วย
สารบัญ

บทที่ 1 บทนา (Introduction)


ที่มาและความสาคัญ
วัตถุประสงค์ของการวิจยั
สมมุติฐานของการวิจยั
ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้จากการวิจยั
ขอบเขตของการวิจยั
บทที่ 2 ทบทวนวรรณกรรม
ประวัติความเป็ นมาของเบส
ประวัติความเป็ นมาของศิลปิ น
ทฤษฏีวิเคราะห์บทเพลงของศิลปิ นที่ผวู ้ ิจยั สนใจ
งานวิจยั ที่เกี่ยวข้องกับศิลปิ น
บทที่ 3 ระเบียบวิธีวิจยั /สร้างสรรค์
ศึกษาองค์ความรู ้ที่เกี่ยวข้อง
วิเคราะห์ขอ้ มูล
วัตถุประสงค์ในการแสดง
บรรณานุกรม
บทที่1
บทนา (Introduction)
1.ที่มาและความสาคัญ
RedHotChiliPeppersเป็ นวงร็ อกอเมริ กนั ก่อตั้งวงในลอสแอนเจลิส รัฐแคลิฟอร์เนีย ในปี 1983
สมาชิกในวงประกอบด้วย นักร้อง แอนโทนี คีดิส, มือกีตาร์ จอห์น ฟรู ชานเต, มือเบส ไมเคิล "ฟลี" บัลซารี
และมือกลอง แชด สมิธ แนวเพลงของวงมีความหลากหลาย ที่เกิดจากการรวมของเพลงร็ อกดั้งเดิมและ
ฟังก์ เข้ากับองค์ประกอบของ เฮฟวีเมทัล, พังก์ร็อก และ ไซเคเดลิกร็ อก
นอกจากทั้งแอนโทนี คีดิสและฟลี สมาชิกดั้งเดิมประกอบด้วยมือกีตาร์ ฮิลเลล สโลวัก และมือกลอง แจ็ก
ไอออนส์ ซึ่งสโลวักเสียชีวิตจากการเสพเฮโรอีนเกินขนาดในปี 1988 และเป็ นผลให้ไอออนส์ลาออกจากวง
[1] โดยมีอดีตมือกลองวง เดด เคนเนดีส์ ที่ชื่อ ดี. เอช. เพไลโกรเข้ามาแทนก่อนที่จะเปลี่ยนมาเป็ น สมิธ จน
ปัจจุบนั ขณะที่สโลวักแทนที่โดย ฟรู ชานเต จากสมาชิกข้างต้นมีผลงานในชุดที่ 4 และ 5 คือ Mother's
Milk (1989) และ Blood Sugar Sex Magik (1991)
Blood Sugar Sex Magik ถือเป็ นผลงานชุดโบว์แดงของวง ทาให้พวกเขาก้าวสู่ กระแสนิยมกับยอดขาย 13
ล้านชุด ฟรู ชานเตรู ้สึกไม่ชอบใจกับความสาเร็ จนี้จึงออกจากวงในระหว่างทัวร์อลั บั้มนี้ในปี 1992 ซึ่งเขาก็ยงั
ติดเฮโรอีน คีดิส, ฟลี, และสมิธ จ้าง เดฟ นาวาร์โร จากวง เจนส์แอดดิกชัน มาทางานในอัลบั้มชุดต่อมาที่
ชื่อ One Hot Minute (1995) ความนิยมในอัลบั้มนี้ลดลงไปกว่า Blood Sugar Sex Magik ทั้งทางด้านเสี ยง
วิจารณ์และยอดขายที่ขายน้อยกว่าครึ่ งหนึ่งของอัลบั้มก่อน และนาวาร์โรออกจากวงเนื่องจากความคิดที่
แตกต่างกัน
ฟรู ชานเต กลับมาหลังจากบาบัดยา เข้าร่ วมวงใหม่อีกครั้งในปี 1998 โดยคาเรี ยกร้องของฟลี พวกเขาทั้ง 4
กลับมาทาอัลบั้มชุด Californication (1999) ที่มียอดขาย 15 ล้านชุดทัว่ โลก ขณะที่เป็ นอัลบั้มที่ประสบ
ความสาเร็ จมากที่สุดจนปัจจุบนั หลังจากนั้น 3 ปี พวกเขาออกอัลบั้มชุด By the Way(2002) ซึ่งก็ยงั คงประสบ
ความสาเร็ จ ต่อมาในปี 2006 พวกเขาออกอัลบั้มคู่ชุด Stadium Arcadium ซึ่งก็ทาให้พวกเขาได้รับรางวัล
แกรมมี่ 7 รางวัล มียอดขาย 50 ล้านชุดทัว่ โลก มี 7 ซิงเกิ้ลที่ติดใน 40 อันดับแรกของบิลบอร์ดฮ็อต 100
(รวมถึงมี 3 ซิงเกิ้ลติดใน 10 อันดับแรก) ยังมีเพลง 5 ซิงเกิ้ลขึ้นอันดับ 1 บนชาร์ทเมนสตรี มร็ อก และ มี 11 ซิง
เกิ้ลติดอันดับชาร์ทโมเดิร์นร็ อก
ยุคแรกเริ่ มของ Red Hot Chili Peppers ไม่ได้ดังเปรี้ ยงปร้างอะไรนัก ด้วยยุค 80s เป็ นยุคของเพลงป็ อป
ฮิปฮอป และวงแฮร์แบนด์เสียมากกว่า ล้มลุกคลุกคลานอยู่พกั ใหญ่ จนไอออนส์และสโลวักถอนตัวจากวง
ไปและทยอยกลับเข้ามาใหม่ กระแสตอบรับที่มีต่อวงจึงเริ่ มดีข้ ึนเป็ นลาดับ
มิถุนายน ปี 1988 สโลวักเสี ยชีวิตจากการเสพเฮโรอีนเกินขนาด เป็ นสาเหตุให้ไอออนส์ถอนตัวไปจากวง
อีกรอบ คีดีสและฟลีตดั สิ นใจที่จะเดินหน้าวงต่อเพื่อสานต่อสิ่ งที่พวกเขาเริ่ มมาด้วยกัน พร้อมกับ จอห์น
ฟรู ชานเต้ มือกีตาร์ และ แชด สมิธ (chad smith) มือกลอง ที่เข้ามาแทน ความสาเร็ จของวงเพิ่มขึ้นอย่าง
ก้าวกระโดดหลังจากนั้น Mother’s Milk (1989), Blood Sugar Sex Magik (1991), Californication
(1999), By the Way (2002) และ Stadium Arcadium (2006) กลายเป็ นอัลบั้มที่ใคร ๆ ต่างก็อยากมีไว้ใน
ครอบครอง
หลังจากอัลบั้ม Blood Sugar Sex Magik ตรงกันข้ามกับชื่อเสี ยงที่เพิ่มขึ้น สุ ขภาพของสมาชิ กในวงกลับมี
แต่ย่าแย่ลงทุกวันจากการเสพยา และความเครี ยดที่ต้องรับมือกับการเป็ นคนดัง รวมทั้งคิวงานที่ยาวเหยียด
จอห์น ฟรู ชานเต้ ตัดสิ นใจออกจากวงไปเพราะอาการติดยา ส่ วนคนที่เหลือก็ประสบปั ญหาหนักไม่แพ้กัน
ฟลีเองถึงขั้นถูกหมอสั่งให้ลด ละ เลิก ยาเสพติดอย่างจริ งจัง บวกกับภาวะซึมเศร้าที่เริ่ มหนักขึ้นทุกที
ของฟลี ก็ทาให้เส้นทางของวงพริ กแดงเป๋ ไม่เป็ นท่า ซึ่ งกว่าวงจะเข้ารู ปเข้ารอย และตามตื๊อเพื่อนเก่า
อย่างฟรู ชานเต้ให้กลับเข้ามาร่ วมวงอีกครั้งได้ ก็กินเวลาล่วงเลยมาถึงปี 1998
ผลผลิตจากการต่อสู้กับยาเสพติดของสมาชิ กในวงนี่ เอง ที่ตกผลึกมาเป็ นอัลบั้ม Californication (1999) ที่
มีเพลงอย่าง Scar Tissue บอกเล่าเรื่ องราวการเติบโตของพวกเขา “ตารวจไล่ล่าผม ส่ วนพ่อค้ายาก็ฆ่าผม
ทั้งเป็ น” ฟลีกล่าวถึงประสบการณ์บนเส้นทางสายเมาของตัวเอง
Michael Peter Balzari หรื อ Flea เป็ นมือเบสของวง Red Hot Chili Peppers มีวิธีการเล่นเบสอัน
เป็ นเอกลักษณ์เฉพาะตัวทั้งทางด้านการเล่นกรู๊ ฟและการสแลปเบสที่มีการใช้เทคนิ คต่างๆมาผสมกันอย่าง
ลงตัว และโดดเด่นในการเต้นการแสดง วง Red Hot Chili Peppers
เป็ นวงที่มีผลงานเพลงในแนวฟรั้งร็ อค เป็ นหลัก

2.วัตถุประสงค์ของการวิจัย
2.1 วิเคราะห์การเล่นเบสไฟฟ้าของ Flea Red Hot Chili Peppers
2.2 นาเสนอคอนเสิร์ต ตามรู ปแบบลักษณะการบรรเลงเบสของ
Flea Red Hot Chili Peppers ในคอนเสิ ร์ต
2.3 เพื่อนาเสนอวิธีการฝึ กซ้อมในบทเพลงรวมถึงการพัฒนาเพื่อการแสดงดนตรี แก้ปัญหาจากจุด
ต่างๆเพื่อนามาฝึ กซ้อมเทคนิคในการเล่นเบสไฟฟ้า และนาออกแสดงคอนเสิ ร์ต

3.สมมุติฐานของการวิจัย
3.1 วิเคราะห์บทเพลงและการเล่นเบสไฟฟ้าของ Flea Red Hot Chili Peppers
3.2 วิเคราะห์ลกั ษณะเฉพาะของบทเพลงที่จะแสดงในคอนเสิ ร์ต

4.ประโยชน์ ที่คาดว่าจะได้รับจากการวิจัย
4.1 ได้ทราบถึงบทเพลงที่ได้ทาการวิเคราะห์ และได้รู้แนวคิดในการประพันธ์ของ
Flea Red Hot Chili Peppers
4.2 ได้ทราบถึงการเล่นเบสไฟฟ้าของ Flea Red Hot Chili Peppers
4.3 ได้นาความรู ้ที่ได้มาปรับใช้ในการเล่นเบสไฟฟ้า และเป็ นประโยชน์ต่อผูท้ ี่สนใจ
5.ขอบเขตของการวิจัย
การวิจยั เรื่ อง “Flea Red Hot Chili Peppers” และเทคนิคการบรรเลงเบสไฟฟ้า ผูว้ จิ ยั มีความคาดหวัง
ที่จะศึกษารู ปแบบลักษณะขั้นตอน กระบวนการ การปฏิบตั ิเบสไฟฟ้าให้ได้ผลลัพธ์สูงสุ ด ผูว้ จิ ยั ได้กาหนด
ขอบเขตในการวิจยั ดังนี้
โดยศึกษาการเล่นเบสไฟฟ้าของ Flea Red Hot Chili Peppers เพื่อนาบทเพลงในอัลบั้ม
The Red Hot Chili Peppers ในบทเพลง Snow(Hey Oh), Hump De Bump, Tell Me Beby
มาเป็ นข้อมูลในการศึกษา

ศึกษาเทคนิ คการบรรเลงเบส ของ Flea Red Hot Chili Peppers

ศึกษา
1.ประวัติของ Flea Red Hot Chili Peppers
วิเคราะห์เทคนิคในการบรรเลง เทคนิคของมือซ้ายและมือขวา
2.ประวัติความเป็ นมาของฟังก์

ฝึ กซ้อมเทคนิ คในการบรรเลง 1.การslap


2.การเดินGrove
3.การดีดแบบกวาด
นาเสนอในรู ปแบบการบรรเลงปฏิบตั ิเบสไฟฟ้า 4.การดีดควบสองสาย
บทเพลง
Snow(Hey Oh)
Hump De Bump
Tell Me Beby
บทที่ 2
ทบทวนวรรณกรรม

การวิจยั เรื่ องเทคนิคการบรรเลงเบสไฟฟ้าของ Flea Red Hot Chili Peppersและนาเสนอบทเพลงใน


สไตล์ของ Flea Red Hot Chili Peppers ผูว้ ิจยั ได้ทบทวนศึกษาทบทวนวรรณกรรมจาก หนังสื อ ตารา และ
งานวิจยั ที่เกี่ยวข้องเพื่อมุ่งหวังถึงความรู ้ในประวัติของบทเพลง ถอดองค์ความรู ้ของทฤษฏี แนวคิดในการ
สร้างสรรค์ วิธีการฝึ กซ้อมบทเพลงอย่างถูกต้อง รวมไปถึงวิธีการจัดการแสดงดนตรี ของนักเบสไฟฟ้า ให้มี
ความสมบูรณ์แบบ โดยมีเนื้อหาดังต่อไปนี่

2.1 ประวัติความเป็ นมาของเบส


2.2 ประวัติความเป็ นมาของศิลปิ น
2.3 ทฤษฏีวิเคราะห์บทเพลงของศิลปิ นที่ผวู ้ ิจยั สนใจ
2.4 งานวิจยั ที่เกี่ยวข้องกับศิลปิ น

2.1 ประวัติความเป็ นมาของเบส


เบส เป็ นเครื่ องดนตรี ประเภทเครื่ องสาย ในทางสากลสามารถเรี ยกได้ท้ งั electric bass (เบสไฟฟ้า) ,
electric bass guitar (กีตาร์เบสไฟฟ้า) หรื อเรี ยกสั้น ๆ ว่า bass (เบส) ลักษณะของเบสมีขนาดใหญ่กว่ากีตาร์
มีโครงสร้างของคอที่ใหญ่และยาวกว่า มีย่านความถี่เสี ยงต่า มีหน้าที่โดยหลัก ๆ ในการให้จงั หวะ คือคุม
จังหวะตาม rhythm, line, pattern และ groove ของดนตรี ในขณะเดียวกันก็สามารถขยายระดับความสามารถ
การเล่นให้สูงขึ้นตามแนวเพลงและการประยุกต์ใช้ต่าง ๆ เช่น เทคนิคการ Slap หรื อการตบเบส (รวมไปถึง
เทคนิคอื่นที่ใช้ร่วมกันกับการ Slap) ในดนตรี Funk, Jazz และอีกหลายแนว การ Tapping การเดิน
Improvising การเล่น Harmonics การเล่น Picking เป็ นต้น
เบสไฟฟ้าจัดว่าเป็ นเครื่ องดนตรี ที่ถือกาเนิดหลังเครื่ องดนตรี อื่น ๆ ในประเภทวงสตริ งคือสร้างขึ้นหลัง กีตาร์
กลอง คียบ์ อร์ดหรื อซินธิไซเซอร์ ประเภทเบสทีใ่ ช้กนั ในวงดนตรี และแนวต่าง ๆ ก็จะมี เบสไฟฟ้า เบส
โปร่ งไฟฟ้า fretless bass (เบสไม่มีเฟรต) และ double bass, upright bass บ้างทีก็เรี ยกกันว่า acoustic bass แต่
ก็มีภาษาพูดเรี ยกกันติดปากสาหรับนักดนตรี บางคนว่า เบสใหญ่
เบสไฟฟ้าที่ใช้โดยทัว่ ไปจะมี 4 สายและ 5 สาย ส่ วนสายที่มากไปกว่านี้ก็มีเนื่องจากนักดนตรี บางคนอาจจะ
ออกแบบเพื่อประยุกต์ใช้ทางการเล่นเฉพาะตัว

เบส 4 สายการตั้งสายตามมาตรฐานคือ E-A-D-G (เรี ยงจากตา่ -สู ง) เบส 5 สายคือ B-E-A-D-G ส่ วน 6 สายคือ
B-E-A-D-G-C แต่อย่างไรก็ตามเบสก็ได้ถูกขยายขอบเขตออกไปตามแนวคิดและการประยุกต์ใช้ของมือเบส
ต่าง ๆ จานวนสายก็อาจจะมีอื่น ๆ อีก เช่น 3 สาย, 7 สาย, 8 สาย, 9 สาย เป็ นต้น
2.2 ประวัติความเป็ นมาของศิลปิ น

ชี วิตในวัยเด็กของฟลี หรื อชื่อจริ ง ไมเคิล ปี เตอร์ บัลซารี ไม่ได้ราบรื่ นนัก เขาเกิดในครอบครัว


ชาวประมงในเมลเบิร์น ประเทศออสเตรเลีย แต่ก็ไม่ได้อาศัยอยู่ท่นี ั่นนาน เพราะการเลิกราของพ่อแม่ ทา
ให้เด็กชายบัลซารี ที่มีอายุเพียง 4 ขวบ ต้องโยกย้ายมายังนิวยอร์ กพร้อมแม่และพี่สาว และย้ายบ้านอีกครั้ง
ในเวลาไล่เลี่ยกัน ชี วิตวัยเรี ยนรู ้ของบัลซารี จึงเริ่ มต้นขึ้นที่ลอสแอนเจลิส ที่ท่พี ่อเลี้ยงของเขา วอลเตอร์
เออเบิร์น จูเนียร์ (Walter Urban Jr) นักดนตรี แจ๊ส อาศัยอยู่
เด็กชายบัลซารี เติบโตขึ้นโดยซึมซับอิทธิ พลทางดนตรี มาจากพ่อเลี้ยง เขาหัดเล่นกลองและทรัมเป็ ตโดยมี
ความฝันว่าในอนาคตจะเป็ นนักดนตรี แจ๊ส ความฝันในวัยเด็กของเขาคงจะเป็ นจริ งได้ไม่ยาก ถ้าพ่อเลี้ยงผู้
เปิ ดโลกทางดนตรี ของเขาไม่เป็ นคนขี้เมาหยาเปและโมโหร้ายจนทาให้บลั ซารี เกิดความเครี ยด และ
ตัดสิ นใจบาบัดความเครี ยดด้วยการสู บกัญชาตั้งแต่อายุเพียง 11 ปี
บัลซารี ไม่ค่อยมีเพื่อน ด้วยความชอบทางดนตรี ที่แตกต่างไปจากเด็กรุ่ นราวคราวเดียวกัน ทาให้เขา
กลายเป็ นแกะดา จนกระทัง่ ได้เจอกับ แจ็ค ไอออนส์ (Jack Irons), ฮิลเลล สโลวัก (Hillel
Slovak) และ แอนโทนี คีดีส (Anthony Kiedis) สามคนนี้เองที่ช่วยกันเปิ ดโลกทางดนตรี ให้บลั ซารี อีกครั้ง
คราวนี้บลั ซารี ได้ทาความรู ้จักกับดนตรี ร็อคผ่านงานเพลงของ จิมี่ เฮนดริ กซ์ (Jimi Hendrix) และเริ่ มหัด
เล่นเบสสลับกับการเสพยาแบบไม่มีใครห้ามใคร เพราะประวัติของแต่ละคนก็โชกโชนไม่ใช่เล่น
อย่างเช่นคีดีสที่มีพ่อเป็ นผูข้ ายยารายใหญ่เลยทีเดียว
บัลซารี ที่ได้ชื่อใหม่มาว่า “ฟลี” ที่แปลว่าหมัด จากนิ สัยไม่อยู่นิ่ง กระโดดไปกระโดดมาเหมือนตัวหมัด
ได้มีส่วนร่ วมอย่างเป็ นทางการกับวงดนตรี ท่เี พื่อน ๆ ตั้งขึ้นเพียงไม่นาน ก่อนจะแยกทางไปหา
ประสบการณ์กบั วงดนตรี พงั ก์ร็อคที่ช่ือว่า “Fear” จนฝี มือเบสพัฒนาไปไกล วันหนึ่งเขาได้กลับมาคุยกับ
เพื่อนเก่าเรื่ องวงอีกครั้ง และนัน่ เป็ นจุดเริ่ มต้นของวงร็ อคหลุดโลกที่มีชื่อวงสุ ดเผ็ดร้อนอย่าง “Red Hot
Chili Peppers”

รางวัลที่ได้รับ
1.เอ็มทีวี วิดีโอ มิวสิค อวอร์ดส สาขาวิดีโอขวัญใจผูช้ ม ปี 2535
2.เอ็มทีวี วิดีโอ มิวสิค อวอร์ดส สาขาวิดีโอโดดเด่นไม่เหมือนใคร ปี 2535
3.รางวัลแกรมมี่ สาขาการแสดงเพลงฮาร์ดร็ อค หรื อเมทัลยอดเยี่ยม ปี 2536
4.รางวัลแกรมมี่ สาขาศิลปิ นคู่หรื อกล่มร็ อคยอดเยี่ยม ปี 2550
5.เอคโค่ อวอร์ดส สาขาศิลปิ นกลุ่มนานาชาติยอดเยี่ยม ประเภทดนตรี ร็อค/
อัลเทอร์เนทีฟ ปี 2546 และ 2550
ผลงานของ Flea Red Hot Chili Peppers
1.The Red Hot Chili Peppers (1984) มีจานวน 11 เพลง
2.Freaky Styley (1985) มีจานวน 14 เพลง
3.The Uplift Mofo Party Plan (1987) มีจานวน 12 เพลง
4.Mother's Milk (1989) มีจานวน 13 เพลง
5.Blood Sugar Sex Magik (1991) มีจานวน 19 เพลง
6.One Hot Minute (1995) มีจานวน 16 เพลง
7.Californication (1999) มีจานวน 18 เพลง
8.By The Way (2002) มีจานวน 18 เพลง
9.Stadium Arcadium (2006) มีจานวน 28 เพลง
10.I'm with You (2011) มีจานวน 14 เพลง
11.The Getaway (2016) มีจานวน 13 เพลง
12.Unlimited Love (2022) มีจานวน 18 เพลง
13.Return of the Dream Canteen (2022) มีจานวน 19 เพลง

โดยผูว้ ิจยั ได้สนใจอัลบั้ม stadium arcadium ในปี ค.ศ.2006 ซึ่งมีบทเพลง 28เพลง โดยมีเพลงดังนี้
1.Dani California
2.Snow (Hey Oh)
3.Charlie
4.Stadium Arcadium
5.Hump De Bump
6.She's Only 18
7.Slow Cheetah
8.Torture Me
9.Strip My Mind
10.Especially in Michigan
11.Warlocks
12.C'Mon Girl
13.Wet Sand
14.Hey
15.Desecration Smile
16.Tell Me Baby
17.Hard To Concentrate
18.21st Century
19.She Looks To Me
20.Readymade
21.If
22.Make You Feel Better
23.Animal Bar
24.So Much I
25.Storm In A Teacup
26.We Believe
27.Turn It Again
28.Death Of A Martian

โดยผูว้ ิจยั ได้สนใจในเพลง Snow(Hey Oh), Hump De Bump, Tell Me Beby


การศึกษาการบรรเลงเบสของ Michael Peter Balzari หรื อในชื่อ Flea ผูว้ จิ ยั มีความสนใจเพื่อเสริ ม
ความเข้าใจในการบรรเลงเบส มีเอกลักษณ์โดดเด่นในทางด้านเทคนิคกรใช้ลูกเล่นต่างๆเช่น Slap การเล่น
ขั้นคู่ การเดินGrove รวมถึงการรู ปแบบหลักคิด ในการคิดลูกเล่นเบส โดยผูว้ ิจยั สนใจมาทาการแสดงเพื่อให้
เกิดความเข้าในบทเพลงมากยิ่งขึ้น สารมารถนามาบรรเลงได้ถูกต้อง ได้ขบวนการค้นคว้า ได้กระบวนการ
แก้ปัญหา ได้กระบวนการฝึ กซ้อม พร้อมนาไปทาการแสดงคอนเสิ ร์ตที่สามารถถ่ายทอดบทเพลงให้ผูช้ มได้
ประทับใจและอนาคตต่อไป ผูช้ มจะได้มีความสนใจในบทเพลงที่มีเครื่ องดนตรี เบสไฟฟ้ามากขึ้น

2.3. ทฤษฏีวิเคราะห์บทเพลงของศิลปิ นที่ผ้วู ิจัยสนใจ


2.3.1 ศึกษาบทเพลงที่ผวู้ ิจยั สนใจ เผื่อทาความเข้าใจบทเพลง
2.3.2 วิเคราะห์แต่ละท่อนของบทเพลง ให้เกิดความเข้าใจในบทเพลงนั้นๆ
2.3.3 วิเคราะห์เครื่ องดนตรี ที่ประกอบในบทเพลง เพื่อเติมเต็มบทเพลงให้สมบูรณ์ข้ นึ
2.4. งานวิจัยที่เกีย่ วข้องกับศิลปิ น

ดร.อนุศร หงส์ ขุนทด (2560, บทคัดย่อ)


ดนตรี โซล เป็ นรากฐานของดนตรี หลายๆแนว ซึ่งอธิบายความหมายของวิญญาณได้เป็ นอย่างดี
เพราะดนตรี โซลมีความโดดเด่นของดนตรี ที่เน้นไปทางเสี ยงร้อง และเอื้อน อย่างมีเอกลักษณ์เฉพาะตัวของ
คนผิวดา ซึ่งจะตีแผ่ถึงความลาบากในการใช้ชีวิต จากการที่ได้ตกเป็ นทาสผูร้ ับใช้สูญเสี ย ความเป็ น
อิสระภาพ ซึ่งเสียงร้องจะมีความเศร้า คล้ายเสี ยงคร่ าครวญอย่างเจ็บปวด ในส่ วนของดนตรี จะไม่ค่อยมี
บทบาทที่โดดเด่นหวือหวามากนัก ดนตรี โซลไม่ว่าจะเป็ น กีตาร์ เปี ยโน เครื่ องเป่ า ความโดดเด่นที่ปรากฏ
ชัด คือเป็ นดนตรี ที่คนผิวดาใช้ร้องเพลงกันในโบสถ์ แนวทางแบบการประสานเสี ยงร้องกัน
ในเวลาต่อมาแนวทางของดนตรี กไ้ ด้ถูกพัฒนาขึ้นโดยมีการเอาดนตรี โซล ไปผสมผสานกับเครื่ องดนตรี ชิ้น
อื่น นอกเหนื อจากเสียงร้องที่มีความโดดเด่นอยู่ก่อน โดยการเน้นไปที่ กีตาร์ กลอง และเบส ที่มีเทคนิคใน
การเล่นตัวโน้ตในคอร์ดอันโดดเด่น ทาให้จงั หวะมีความเด่นชัด และลื่นไหลของบทเพลง ต่อมาทาให้นกั
ดนตรี เรี ยกมันว่า “ดนตรีฟังก์ (Funk)” หรื อ “โซล-ฟังก์ (Soul & Funk)”

อภิชัย เลี่ยมทอง (2560, บทนา)


ระดับเสียง ลักษณะจังหวะ และคุณภาพเสี ยง เป็ นองค์ประกอบสาคัญของนักดนตรี นักดนตรี ที่มี
หน้าที่ผลิตเสี ยงให้เที่ยงตรง ทาลักษณะจังหวะให้ถูกต้องแม่นยากับอัตราจังหวะของบทเพลงที่บรรเลง ซึ่ง
เป็ นสิ่ งที่คีตกวีกาหนดไว้ในบทเพลง แต่สีสันและสุ นทรี ทางดนตรี ที่ตอ้ งใช้การบรรเลงนั้น เป็ นการควบคุม
และกาหนดโดยนักดนตรี ผูบ้ รรเลง ดังนั้นแม้ว่าจะเป็ นการบรรเลงเพลงเดียวกัน แต่บรรเลงด้วยนักดนตรี ที่
ต่างกัน บทเพลงก็จะมีลกั ษณะที่แตกต่างกันอย่างชัดเจน
บทที่ 3
ระเบียบวิธีวิจัย/สร้ างสรรค์

ในการศึกษาวิธีการบรรเลงเบสและนาเสนอบทเพลงในคอนเสิ ร์ตในสไตล์ของ Flea Red Hot Chili


Peppers เพื่อทาการแสดงคอนเสิร์ต ผูว้ ิจยั ได้ศึกษาความเป็ นมาของเบส ประวัติของศิลปิ น การตีความบท
เพลง โดยแบ่งขั้นตอนการวิจยั ออกเป็ นดังนี้
1.ศึกษาองค์ความรู ้ที่เกี่ยวข้อง
2.วิเคราะห์ขอ้ มูล
3.วัตถุประสงค์ในการแสดง

3.1. ศึกษาองค์ความรู้ที่เกี่ยวข้อง
3.1.1 ศึกษาเอกสารงานวิจยั วารสาร บทความ แนวคิดการจัดแสดงดนตรี
3.1.2 ศึกษาจากสื่อโซเซี่ยว เช่น Chanel YouTube ,PageFaceBook ของศิลปิ น

3.2. วิเคราะห์ข้อมูล
3.2.1 วิเคราะห์การบรรเลงเบสโดยใช้ งายวิจยั ตารา แบบฝึ ก เพื่อนาความรู ้มาวิเคราะห์บทเพลงที่
นามาแสดง
3.2.2 นาข้อมูลเพลงที่แสดงนาปรึ กษาถึงแนวคิดการวิเคราะห์เพื่อให้ได้ความรู ้เพิ่มเติม ผ่านการ
ตรวจสอบจากอาจารย์ที่ปรึ กษา
3.2.3 นาข้อมูลทั้งสองมาปรับปรุ งแก้ไขให้สมบูรณ์
3.2.4 นาแนวคิดจากการวิเคราะห์มาขยายบทเพลงที่ใช้ในการแสดงคอนเสิ ร์ตให้มีความหลากหลาย
มีอะไรมากขึ้น

3.3. วัตถุประสงค์ ในการแสดง


3.3.1 เพื่อนาเสนอลักษณะเฉพาะและวิธีการบรรเลงเบสของ Flea Red Hot Chili Peppers
3.3.2 เพื่อเป็ นแบบอย่างให้แก่ผทู้ ี่สนใจในการศึกษาศิลปิ น Flea Red Hot Chili Peppers
บรรณานุกรม

จิรภิญญา สมเทพ. (2562). ฟลี มือเบสสุดเก๋ าจากวง Red Hot Chili Peppers ร็ อคสตาร์ ท่ใี ช้เวลากว่าครึ่ ง
ชี วิตต่อสู ้กบั ยาเสพติด . สืบค้น 30 กันยายน 2566, จาก

https://www.thepeople.co/read/7821.
ดร.อนุศร หงส์ขุนทด. (2560). แนวดนตรี Soul & Funk. สื บค้น 9 ตุลาคม 2566, จาก
http://krukob.com/web/1000-5/.
อภิชยั เลี่ยมทอง. (2560). การผลิตคุณภาพเสี ยงที่ดีดว้ ยคันชักสาหรับผูบ้ รรเลงเครื่ องสาย(วิทยานิพนธ์)
วารสารศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรี นคริ นทรวิโรฒ. สืบค้น 9 ตุลาคม 2556, จาก
chrome://external-file/chusom_2015,+3-p.24-31Apich.pdf.
ฐิ ติ หมื่นเทพ. (2566). ประวัติความเป็ นมาของเบสไฟฟ้า. สื บค้า 9 ตุลาคม 2566, จาก
https://6302thiti.wordpress.

You might also like