You are on page 1of 15

COMPARISON: COMPUTER LAW IN THE WORLD

โดย น.ส. จริ ยา อัตต์สินทอง (6607031910041) และ น.ส. อุมารัตน์ โพธิ7ชยั (6607031910092)

การเปรี ยบเทียบ: กฎหมายที-เกี-ยวข้องกับการกระทําความผิดเกี-ยวกับคอมพิวเตอร์ในโลก (สิ งค์โปร์ มาเลเซีย และ สหราช


อาณาจักร)
พระราชบัญญัตวิ ่ าด้ วยการกระทําความผิดเกีย8 วกับคอมพิวเตอร์ (ฉบับที8 2) พ.ศ. 2560
• เมื-อวันที- 16 ธ.ค. 2559 ที-ประชุมสภานิ ติบญั ญัติแห่ งชาติ มีมติ เห็นด้วย 168 ไม่ เห็นด้วย 0 งดออกเสี ยง 5 ให้ผา่ นร่ าง
พระราชบัญญัติวา่ ด้วยการกระทาความผิด เกี-ยวกับคอมพิวเตอร์ (ฉบับที- ...) พ.ศ. ... โดยรอประกาศใช้เป็ นกฎหมายต่อไปใน 120
วัน
• พ.ร.บ.ว่าด้วยการกระทาความผิดเกี-ยวกับคอมพิวเตอร์ (ฉบับที- 2) พ.ศ.2560 หรื อ พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ ฉบับใหม่ ได้รับ
การประกาศในราชกิจจานุเบกษาเมื-อวันที- 25 มกราคมที-ผา่ นมา ซึ-งกฎหมายจะมีผลบังคับใช้อย่างเป็ นทางการในอีก 120 วัน
• ในระหว่างนี[กระทรวงดีอี จะทาหน้าที-ยกร่ างกฎกระทรวงมาใช้งานร่ วมกับ พ.ร.บ. คอมพิวเตอร์ เนื-องจากข้อกฎหมาย
หลายประเด็นมีการระบุในเรื- องของเนื[ อหาที-กว้าง เกินไป การที-มีกฎกระทรวงและกฎหมายลูกเข้ามาใช้ประกอบ จะทาให้การ
ตีความไป จนถึงการบังคับใช้ของกฎหมายมีความละเอียดมากยิง- ขึ[น
• โครงสร้างของเนื[อหากฎหมายมีลกั ษณะคล้ายคลึงฉบับเดิม โดยมีสาระสําคัญที-ต่างไปบ้าง
• พ.ร.บ. ฉบับเดิม ใช้บงั คับเป็ นเวลากว่า ๑๐ ปี โดยที-ผ่านมาพบว่า กฎหมายมีปัญหาในการตีความ จน กระทบกับการ
บังคับใช้ เช่น การ นาฐานความผิดที-ใช้กบั เรื- องฉ้อโกงปลอมแปลงทางออนไลน์ ไปใช้กบั การ หมิ-นประมาท ทาให้กระทบต่อ
สิ ทธิ เสรี ภาพในการแสดงความ คิดเห็น จนทาให้เกิดการโจมตีจากประชาคม โลกและเกิดกระแสสังคม เรี ยกร้องหลักประกัน
สิ ทธิ เสรี ภาพในการแสดงความคิดเห็นขึ[น ประกอบกับเพื-อ เป็ นการปรับปรุ งกฎหมายให้เท่าทันกับเทคโนโลยีและภัย คุกคามที-
เปลี-ยนแปลงไป

พระราชบัญญัตวิ ่ าด้ วยการกระทําความผิดเกีย8 วกับคอมพิวเตอร์ สามารถแบ่ งเป็ น 3 หมวดหลัก ๆ ได้ ดงั นีL
1. หมวดการกระทําความผิดเกีย8 วกับคอมพิวเตอร์
2. หมวดหน้ าทีข8 องผู้ให้ บริการ
3. หมวดหน้ าทีข8 องพนักงานเจ้ าหน้ าที8

1. หมวดการกระทําความผิดเกีย8 วกับคอมพิวเตอร์
1.1 การเข้าถึงระบบหรื อข้อมูล ของผูอ้ ื-นหรื อข้อมูลด้านความมัน- คงโดยมิชอบ (มาตรา 5, 7, 8, 12)
1.2 การแก้ไขหรื อดัดแปลงหรื อทําให้ขอ้ มูลเสี ยหาย (มาตรา 9, 10)
1.3 การส่ งข้อมูลหรื ออีเมล์ก่อก่วนผูอ้ ื-น (มาตรา 11)
1.4 การจําหน่ายหรื อเผยแพร่ ชุดคําสัง- เพื-อนําไปใช้กระทําความผิด (มาตรา 6, 13)
1.5 การนําข้อมูลที-ผดิ พ.ร.บ. เข้าสู่ ระบบคอมพิวเตอร์ (มาตรา 14)
1.6 การตัดต่อหรื อต่อเติมหรื อดัดแปลงหรื อเป็ นการกระทําต่อรู ปภาพ (มาตรา 16)
1.1 การเข้ าถึงระบบหรื อข้ อมูล ของผู้อื8นหรื อข้ อมูลด้ านความมัน8 คงโดยมิชอบ (มาตรา 5, 7, 8, 12)
มาตรา 5 ผูใ้ ดเข้าถึงโดยมิชอบซึ- งระบบคอมพิวเตอร์ที-มีมาตรการป้องกันการเข้าถึง โดยเฉพาะและมาตรการนั[นมิได้มี
ไว้สาํ หรับตน
มาตรา 7 ผูใ้ ดเข้าถึงโดยมิชอบซึ- งข้อมูลคอมพิวเตอร์ที-มีมาตรการป้องกันการเข้าถึง โดยเฉพาะและมาตรการนั[นมิได้มี
ไว้สาํ หรับตน
มาตรา 8 ผูใ้ ดกระทําด้วยประการใดโดยมิชอบด้วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิ กส์ เพื-อดักรับไว้ซ- ึ งข้อมูลคอมพิวเตอร์ ของ
ผูอ้ ื-นที-อยูร่ ะหว่างการส่ งในระบบคอมพิวเตอร์และ ข้อมูลคอมพิวเตอร์น[ นั มิได้มีไว้เพื-อประโยชน์สาธารณะหรื อเพื-อให้
บุคคลทัว- ไปใช้ประโยชน์ได้
มาตรา 12 เป็ นการกระทําต่อข้อมูลคอมพิวเตอร์ หรื อระบบคอมพิวเตอร์ ที-เกี-ยวกับการรักษาความมัน- คงปลอดภัยของ
ประเทศ ความปลอดภัยสาธารณะ ความมัน- คงในทางเศรษฐกิจของประเทศ หรื อโครงสร้างพื[นฐานอันเป็ นประโยชน์
สาธารณะ
มาตรา 12/1 ถ้าการกระทําความผิดตามมาตรา 9 หรื อมาตรา 10 เป็ นเหตุให้เกิดอันตรายต่อบุคคลอื-นหรื อทรัพย์สินของ
ผูอ้ ื-น ต้องระวางโทษจําคุกไม่เกินสิ บปี และปรับไม่เกินสองแสนบาท ถ้าการกระทําความผิดตามมาตรา 9 หรื อมาตรา
10 โดยมิได้มีเจตนาฆ่า แต่เป็ นเหตุให้บุคคลอื-นถึงแก่ความตาย

กฎหมายว่าด้วยการกระทําความผิดเกี-ยวกับคอมพิวเตอร์ต่างประเทศ
สิ ง ค์โ ปรมี ก ฎหมายที- เ กี- ย วข้อ งดัง นี[ การเข้า ถึ ง ระบบคอมพิ ว เตอร์ โ ดยไม่ ไ ด้รั บ อนุ ญ าต (Section 3:
Unauthorized access to computer material) การเข้าถึงโดยมีเจตนากระทําหรื ออํานวยความสะดวกในการกระทํา
ความผิด (Section 4: Access with intent to commit or facilitate commission of offence) เพิ-มการลงโทษสําหรับ
ความผิดที-เกี-ยวข้องกับการคุม้ ครองคอมพิวเตอร์ (Section 11: Enhanced punishment for offences involving protected
computers) การใช้ห รื อ การสกัด กั[น บริ ก ารคอมพิว เตอร์ โ ดยไม่ ไ ด้รั บ อนุ ญ าต (Section 6: Unauthorized use or
interception of computer service) การขัดขวางการใช้คอมพิวเตอร์ โดยไม่ได้รับอนุ ญาต (Section 7: Unauthorized
obstruction of use of computer)
มาเลเซี ยมีกฎหมายที-เกี-ยวข้องดังนี[ การเข้าถึงสื- อคอมพิวเตอร์โดยไม่ได้รับอนุญาต (Section 3: Unauthorized
access to computer material) การเข้าถึงโดยไม่ได้รับอนุญาตโดยมีเจตนาที-จะกระทําหรื ออํานวยความสะดวกในการ
กระทําความผิด (Section 4 :Unauthorized access with intent to commit or facilitate commission of further offence)
ครอบครองหรื อควบคุมโปรแกรม ข้อมูล หรื อข้อมูลอื-น ๆ ใด ๆ ที-อยูใ่ นคอมพิวเตอร์ เครื- องใด ๆโดยไม่ได้รับอนุญาต
(Section 8: Presumption)
สหราชอาณาจักรมี กฎหมายที- เกี- ยวข้องดังนี[ การเข้าถึ งสื- อคอมพิวเตอร์ โดยไม่ ได้รับอนุ ญาต การเข้าถึ ง
สื- อคอมพิวเตอร์ โดยไม่ได้รับอนุ ญาต (Section 1: Unauthorized access to computer material) การเข้าถึงโดยไม่ได้รับ
อนุญาตโดยมีเจตนาทีDจะกระทําหรื ออํานวยความสะดวกในการกระทําความผิดเพิDมเติม (Section 2: unauthorized access with
intent to commit or facilitate commission of further offences.)

กรณี ตวั อย่าง


การเข้าถึงโดยมิชอบซึ- งระบบคอมพิวเตอร์ที-มีมาตรการป้องกันการเข้าถึง โดยเฉพาะและมาตรการนั[นมิได้มีไว้สาํ หรับ
ตน

แหล่งที(มาของข้อมูล https://www.thaipbs.or.th/news/content/325897

1.2 การแก้ ไขหรื อดัดแปลงหรื อทําให้ ข้อมูลเสี ยหาย (มาตรา 9, 10)


มาตรา 9 ผูใ้ ดทําให้เสี ยหาย ทําลาย แก้ไข เปลี-ยนแปลง หรื อเพิ-มเติมไม่วา่ ทั[งหมด หรื อบางส่ วน ซึ-งข้อมูลคอมพิวเตอร์
ของผูอ้ ื-นโดยมิชอบ
มาตรา 10 ผูใ้ ดกระทําด้วยประการใดโดยมิชอบ เพื-อให้การทํางานของระบบ คอมพิวเตอร์ ของผูอ้ ื-นถูกระงับ ชะลอ
ขัดขวาง หรื อรบกวนจนไม่สามารถทํางานตามปกติได้

กฎหมายว่าด้วยการกระทําความผิดเกี-ยวกับคอมพิวเตอร์ต่างประเทศ
สิ ง ค์โ ปรมี ก ฎหมายที- เ กี- ย วข้อ งดัง นี[ การดัด แปลงเนื[ อ หาคอมพิว เตอร์ โ ดยไม่ ไ ด้รั บ อนุ ญ าต (Section 5:
Unauthorized modification of computer material)
มาเลเซี ยมี กฎหมายที- เกี- ยวข้องดังนี[ การแก้ไขเนื[ อหาของคอมพิวเตอร์ เครื- องใด ๆ โดยไม่ได้รับอนุ ญาต
(Section 5: Unauthorized modification of the contents of any computer)
สหราชอาณาจักรมีกฎหมายที-เกี-ยวข้องดังนี[ การกระทําโดยไม่ได้รับอนุ ญาตโดยมีเจตนาทําให้เสี ยหายหรื
อประมาทเลินเล่อในการทําให้การทํางานของคอมพิวเตอร์ เสี ยหาย ฯลฯ (Section 3: unauthorized acts with intent to
impair, or with recklessness as to impairing, operation of computer, etc.)

กรณี ตวั อย่าง


https://www.matichon.co.th/local/crime/news_4263260

1.3 การส่ งข้ อมูลหรื ออีเมล์ ก่อก่ วนผู้อื8น (มาตรา 11)


มาตรา 11 ผูใ้ ดส่ งข้อมูลคอมพิวเตอร์ หรื อจดหมายอิเล็กทรอนิ กส์แก่บุคคลอื-น อันมีลกั ษณะเป็ นการก่อให้เกิดความ
เดือดร้อนรําคาญแก่ผูร้ ับข้อมูลคอมพิวเตอร์ หรื อจดหมายอิเล็กทรอนิ กส์ โดยไม่เปิ ดโอกาสให้ผูร้ ับสามารถบอกเลิก
หรื อแจ้งความประสงค์เพื-อปฏิเสธการตอบรับได้โดยง่าย ต้องระวางโทษปรับไม่เกินสองแสนบาท

กฎหมายว่าด้วยการกระทําความผิดเกี-ยวกับคอมพิวเตอร์ต่างประเทศ
สิ ง ค์โ ปร มาเลเซี ย และสหราชอาณาจัก ร ไม่ ไ ด้มี ก ารระบุ แ ละแยกมาตราไว้อ ย่างชัด เจนในเรื- อ งการส่ ง จดหมาย
อิเล็กทรอนิ กส์ แก่ บุคคลอื-น อันมี ลกั ษณะเป็ นการก่ อให้เกิ ดความเดื อดร้ อนรําคาญแก่ ผูร้ ั บข้อมูลคอมพิวเตอร์ หรื อ
จดหมายอิเล็กทรอนิกส์ เนื-องจากหมายรวมอยูใ่ นคํานิยามของคําว่าข้อมูลคอมพิวเตอร์

กรณี ตวั อย่าง


แหล่งข่าว https://mgronline.com/around/detail/9510000083953

1.4 การจําหน่ ายหรื อเผยแพร่ ชุดคําสั8 ง เพื8อนําไปใช้ กระทําความผิด (มาตรา 6, 13)


มาตรา 6 ผูใ้ ดล่วงรู ้ มาตรการป้ องกันการเข้าถึ งระบบคอมพิวเตอร์ ที-ผูอ้ ื- นจัดทําขึ[ น เป็ นการเฉพาะ ถ้านํามาตรการ
ดังกล่าวไปเปิ ดเผยโดยมิชอบในประการที-น่าจะเกิดความเสี ยหายแก่ ผูอ้ ื-น
มาตรา 13ผูใ้ ดจําหน่ ายหรื อเผยแพร่ ชุดคําสั-งที-จดั ทําขึ[นโดยเฉพาะเพื-อนําไปใช้ เป็ นเครื- องมือในการกระทําความผิด
ตามมาตรา ๕ มาตรา ๖ มาตรา ๗ มาตรา ๘ มาตรา ๙ มาตรา ๑๐ หรื อมาตรา ๑๑

กฎหมายว่าด้วยการกระทําความผิดเกี-ยวกับคอมพิวเตอร์ต่างประเทศ
สิ งค์โปรมีกฎหมายที-เกี- ยวข้องดังนี[ การเปิ ดเผยรหัสการเข้าถึงโดยไม่ได้รับอนุ ญาต (Section 8: Unauthorized
disclosure of access code)
มาเลเซี ยมีกฎหมายที-เกี-ยวข้องดังนี[ หมวดการสื- อสารอย่างที-ไม่ถูกต้อง (Section 6: Wrongful communication)
สหราชอาณาจักรมี กฎหมายที- เกี- ยวข้องดังนี[ การกระทําทีDไม่ได้รับอนุ ญาตก่อให้เกิ ดหรื อสร้ างความเสีD ยงต่อความ
เสี ยหายร้ายแรง (unauthorized acts causing, or creating risk of, serious damage)

กรณี ตวั อย่าง

https://www.police.gov.sg/media-room/news/20220728_three_men_to_be_charged_for_suspected_involvement_in_money_laundering_activities

1.5 การนําข้ อมูลทีผ8 ดิ พ.ร.บ. เข้ าสู่ ระบบคอมพิวเตอร์ (มาตรา 14)


มาตรา 14 ผูใ้ ดกระทําความผิดที-ระบุไว้ดงั ต่อไปนี[ ต้องระวางโทษจําคุกไม่เกินห้าปี หรื อปรับไม่เกินหนึ- งแสนบาท
หรื อทั[งจําทั[งปรับ
(๑) ⁠ โดยทุจริ ต หรื อโดยหลอกลวง นําเข้าสู่ ระบบคอมพิวเตอร์ ซ- ึ งข้อมูลคอมพิวเตอร์ ที-บิดเบื อนหรื อปลอม ไม่ว่า
ทั[งหมดหรื อบางส่ วน หรื อข้อมูลคอมพิวเตอร์ อนั เป็ นเท็จ โดยประการที-น่าจะเกิดความเสี ยหายแก่ประชาชน อันมิใช่
การกระทําความผิดฐานหมิ-นประมาทตามประมวลกฎหมายอาญา
(๒) ⁠ นําเข้าสู่ ระบบคอมพิวเตอร์ ซ- ึ งข้อมูลคอมพิวเตอร์ อนั เป็ นเท็จ โดยประการที-น่าจะเกิดความเสี ยหายต่อการรักษา
ความมัน- คงปลอดภัยของประเทศ ความปลอดภัยสาธารณะ ความมัน- คงในทางเศรษฐกิจของประเทศ หรื อโครงสร้าง
พื[นฐานอันเป็ นประโยชน์สาธารณะของประเทศ หรื อก่อให้เกิดความตื-นตระหนกแก่ประชาชน
(๓) ⁠ นําเข้าสู่ ระบบคอมพิวเตอร์ ซ- ึ งข้อมูลคอมพิวเตอร์ ใด ๆ อันเป็ นความผิดเกี-ยวกับความมัน- คงแห่ งราชอาณาจักร
หรื อความผิดเกี-ยวกับการก่อการร้าย ตามประมวลกฎหมายอาญา
(๔) ⁠ นําเข้าสู่ ระบบคอมพิวเตอร์ซ- ึ งข้อมูลคอมพิวเตอร์ใด ๆ ที-มีลกั ษณะอันลามก และข้อมูลคอมพิวเตอร์น[ นั ประชาชน
ทัว- ไปอาจเข้าถึงได้
(๕) ⁠ เผยแพร่ หรื อส่ งต่อซึ-งข้อมูลคอมพิวเตอร์ โดยรู ้อยูแ่ ล้วว่า เป็ นข้อมูลคอมพิวเตอร์ตาม (๑) (๒) (๓) หรื อ (๔)
ถ้าการกระทําความผิดตามวรรคหนึ-ง (๑) มิได้กระทําต่อประชาชน แต่เป็ นการกระทําต่อบุคคลใดบุคคลหนึ-ง ผูก้ ระทํา
ผูเ้ ผยแพร่ หรื อส่ งต่อซึ- งข้อมูลคอมพิวเตอร์ ดงั กล่าว ต้องระวางโทษจําคุกไม่เกินสามปี หรื อปรับไม่เกินหกหมื-นบาท
หรื อทั[งจําทั[งปรับ และให้เป็ นความผิดอันยอมความได้"

กฎหมายว่าด้วยการกระทําความผิดเกี-ยวกับคอมพิวเตอร์ต่างประเทศ
สิ งค์โปร มาเลเซี ย สหราชอาณาจักร มีประมวลกฎหมายที-เกี-ยวข้องแต่ไม่ได้ระบุโดยการแยกมาตราออกมาอย่าง
ชัดเจน

กรณี ตวั อย่าง

https://www.thaipbs.or.th/news/content/330119
1.6 การตัดต่ อหรื อต่ อเติมหรื อดัดแปลงหรื อเป็ นการกระทําต่ อรู ปภาพ (มาตรา 16)
มาตรา 16 ผูใ้ ดนําเข้าสู่ ระบบคอมพิวเตอร์ ที-ประชาชนทัว- ไปอาจเข้าถึงได้ซ- ึ งข้อมูลคอมพิวเตอร์ ที-ปรากฏเป็ นภาพของ
ผูอ้ ื-น และภาพนั[นเป็ นภาพที-เกิดจากการสร้างขึ[น ตัดต่อ เติม หรื อดัดแปลงด้วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิ กส์หรื อวิธีการ
อื-นใด โดยประการที-น่าจะทําให้ผอู ้ ื-นนั[นเสี ยชื-อเสี ยง ถูกดูหมิ-น ถูกเกลียดชัง หรื อได้รับความอับอาย ต้องระวางโทษ
จําคุกไม่เกินสามปี และปรับไม่เกินสองแสนบาท ถ้าการกระทําตามวรรคหนึ- งเป็ นการกระทําต่อภาพของผูต้ าย และ
การกระทํานั[นน่าจะทําให้บิดา มารดา คู่สมรส หรื อบุตรของผูต้ าย เสี ยชื-อเสี ยง ถูกดูหมิ-น หรื อถูกเกลียดชัง หรื อได้รับ
ความอับอาย ผูก้ ระทําต้องระวางโทษดังที-บญั ญัติไว้ในวรรคหนึ- ง ถ้าการกระทําตามวรรคหนึ- งหรื อวรรคสองเป็ นการ
นําเข้าข้อมูลคอมพิวเตอร์ โดยสุ จริ ต อันเป็ นการติชมด้วยความเป็ นธรรมซึ- งบุคคลหรื อสิ- งใดอันเป็ นวิสยั ของประชาชน
ย่อมกระทํา ผูก้ ระทําไม่มีความผิด ความผิดตามวรรคหนึ- งและวรรคสองเป็ นความผิดอันยอมความได้ ถ้าผูเ้ สี ยหายใน
ความผิดตามวรรคหนึ- งหรื อวรรคสองตายเสี ยก่อนร้องทุกข์ ให้บิดา มารดา คู่สมรส หรื อบุตรของผูเ้ สี ยหาย ร้องทุกข์
ได้ และให้ถือว่า เป็ นผูเ้ สี ยหาย"
มาตรา 16/1ในคดีความผิดตามมาตรา ๑๔ หรื อมาตรา ๑๖ ซึ-งมีคาํ พิพากษาว่า จําเลยมีความผิด ศาลอาจสัง-
(๑) ⁠ ให้ทาํ ลายข้อมูลตามมาตราดังกล่าว
(๒) ⁠ ให้โฆษณาหรื อ เผยแพร่ คาํ พิพ ากษาทั[งหมดหรื อ แต่ บ างส่ วนในสื- อ อิ เล็ก ทรอนิ ก ส์ วิท ยุก ระจายเสี ยง วิท ยุ
โทรทัศน์ หนังสื อพิมพ์ หรื อสื- ออื-นใดตามที-ศาลเห็นสมควร โดยให้จาํ เลยเป็ นผูช้ าํ ระค่าโฆษณาหรื อเผยแพร่
(๓) ⁠ ให้ดาํ เนินการอื-นตามที-ศาลเห็นสมควรเพื-อบรรเทาความเสี ยหายที-เกิดขึ[นจากการกระทําความผิดนั[น
มาตรา 16/2 ผูใ้ ดรู ้วา่ ข้อมูลอิเล็กทรอนิ กส์ในความครอบครองของตนเป็ นข้อมูลที-ศาลสั-งให้ทาํ ลายตามมาตรา ๑๖/๑
ผูน้ [ นั ต้องทําลายข้อมูลดังกล่าว หากฝ่ าฝื น ต้องระวางโทษกึ-งหนึ- งของโทษที-บญั ญัติไว้ในมาตรา ๑๔ หรื อมาตรา ๑๖
แล้วแต่กรณี "

กฎหมายว่าด้วยการกระทําความผิดเกี-ยวกับคอมพิวเตอร์ต่างประเทศ
มีการระบุวา่ เป็ นการกระทําต่อข้อมูลคอมพิวเตอร์ ไม่ได้ระบุและแยกมาตราอย่างชัดเจนว่าเป็ นการกระทําต่อ
รู ปภาพ
สิ ง ค์โ ปรมี ก ฎหมายที- เ กี- ย วข้อ งดัง นี[ การดัด แปลงเนื[ อ หาคอมพิว เตอร์ โ ดยไม่ ไ ด้รั บ อนุ ญ าต (Section 5:
Unauthorized modification of computer material)
มาเลเซี ยมี กฎหมายที- เกี- ยวข้องดังนี[ การแก้ไขเนื[ อหาของคอมพิวเตอร์ เครื- องใด ๆ โดยไม่ได้รับอนุ ญาต
(Section 5: Unauthorized modification of the contents of any computer)
สหราชอาณาจักรมีกฎหมายที-เกี-ยวข้องดังนี[ การกระทําโดยไม่ได้รับอนุ ญาตโดยมีเจตนาทําให้เสี ยหายหรื
อประมาทเลินเล่อในการทําให้การทํางานของคอมพิวเตอร์ เสี ยหาย ฯลฯ (Section 3: unauthorized acts with intent to
impair, or with recklessness as to impairing, operation of computer, etc.)

กรณี ตวั อย่าง


https://www.isranews.org/article/isranews-news/113707-isranews-1000-493.html

2. หมวดหน้ าทีข8 องผู้ให้ บริการ


มาตรา 15 ผูใ้ ห้บริ การผูใ้ ดให้ความร่ วมมือ ยินยอม หรื อรู ้เห็นเป็ นใจให้มีการกระทําความผิดตามมาตรา ๑๔ ในระบบ
คอมพิวเตอร์ที-อยูใ่ นความควบคุมของตน ต้องระวางโทษเช่นเดียวกับผูก้ ระทําความผิดตามมาตรา ๑๔ให้รัฐมนตรี ออก
ประกาศกํา หนดขั[น ตอนการแจ้ง เตื อ น การระงับ การทํา ให้ แ พร่ หลายของข้อ มู ล คอมพิ ว เตอร์ และการนํา
ข้อมูลคอมพิวเตอร์น[ นั ออกจากระบบคอมพิวเตอร์ ถ้าผูใ้ ห้บริ การพิสูจน์ได้วา่ ตนได้ปฏิบตั ิตามประกาศของรัฐมนตรี ที-
ออกตามวรรคสอง ผูน้ [ นั ไม่ตอ้ งรับโทษ"

มาตรา 26 ผูใ้ ห้บริ การต้องเก็บรักษาข้อมูลจราจรทางคอมพิวเตอร์ ไว้ไม่นอ้ ยกว่าเก้าสิ บวันนับแต่วนั ที-ขอ้ มูลนั[นเข้าสู่


ระบบคอมพิ ว เตอร์ แต่ ใ นกรณี จ าํ เป็ น พนัก งานเจ้า หน้า ที- จ ะสั- ง ให้ ผูใ้ ห้ บ ริ ก ารผูใ้ ดเก็ บ รั ก ษาข้อ มู ล จราจรทาง
คอมพิวเตอร์ไว้เกินเก้าสิ บวันแต่ไม่เกินสองปี เป็ นกรณี พิเศษเฉพาะรายและเฉพาะคราวก็ได้"
กฎหมายว่าด้วยการกระทําความผิดเกี-ยวกับคอมพิวเตอร์ต่างประเทศ
สิ งค์โปรมีกฎหมายที- เกี- ยวข้องดังนี[ การสนับสนุ นการกระทําความผิด (Section 12: Abetments and attempts
punishable as offences) การจัดหา ฯลฯ ข้อมูลส่ วนบุคคลที-ได้รับโดยฝ่ าฝื นของบทบัญญัติบางประการ (Section 9:
Supplying, etc., personal information obtained in contravention of certain provisions.
มาเลเซี ยมีกฎหมายที-เกี-ยวข้องดังนี[ ความพยายามและความพยายามที-มีโทษว่าเป็ นความผิด (Section 7: Abetments
and attempts punishable as offences)
สหราชอาณาจักรมีกฎหมายที-เกี-ยวข้องดังนี[ การทํา จัดหา หรื อได้มาซึ- งสิ- งของเพื-อใช้ในความผิดตามมาตรา 1, 3
หรื อ 3ZA (Making, supplying or obtaining articles for use in offence under section 1, 3 or 3ZA)
กรณี ตวั อย่าง

https://mgronline.com/cyberbiz/detail/9650000119220

3. หมวดหน้ าทีข8 องพนักงานเจ้ าหน้ าที8


มาตรา 17 ผูก้ ระทําความผิดนั[นเป็ นคนไทย และรัฐบาลแห่งประเทศที-ความผิดได้เกิดขึ[น หรื อผูเ้ สี ยหายได้ร้องขอให้
ลงโทษ หรื อ ผูก้ ระทําความผิดนั[นเป็ นคนต่างด้าว และรัฐบาลไทยหรื อคนไทยเป็ นผูเ้ สี ยหาย และผูเ้ สี ยหายได้ร้อง
ขอให้ลงโทษ จะต้องรับโทษภายในราชอาณาจักร
คณะกรรมการเปรี ยบเทียบที-รัฐมนตรี แต่งตั[งตามวรรคหนึ-ง ให้มีจาํ นวนสามคน ซึ-งคนหนึ-งต้องเป็ นพนักงานสอบสวน
ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา เมื- อคณะกรรมการเปรี ยบเที ยบได้ทาํ การเปรี ยบเที ยบกรณี ใด และ
ผูต้ อ้ งหาได้ชาํ ระเงินค่าปรับตามคําเปรี ยบเทียบภายในระยะเวลาที-คณะกรรมการเปรี ยบเทียบกําหนดแล้ว ให้ถือว่า คดี
นั[นเป็ นอันเลิกกันตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา ในกรณี ที-ผตู ้ อ้ งหาไม่ชาํ ระเงินค่าปรับภายในระยะเวลา
ที-กาํ หนด ให้เริ- มนับอายุความในการฟ้องคดีใหม่นบั ตั[งแต่วนั ที-ครบกําหนดระยะเวลาดังกล่าว"

มาตรา 18 เพื-อประโยชน์ในการสื บสวนและสอบสวนในกรณี ที-มีเหตุอนั ควรเชื- อได้ว่า มี การกระทําความผิดตาม


พระราชบัญญัติน[ ี หรื อในกรณี ที-มีการร้องขอตามวรรคสอง ให้พนักงานเจ้าหน้าที-มีอาํ นาจอย่างหนึ-งอย่างใดดังต่อไปนี[
เฉพาะที-จาํ เป็ นเพื-อประโยชน์ในการใช้เป็ นหลักฐานเกี-ยวกับการกระทําความผิดและหาตัวผูก้ ระทําความผิด

มาตรา 19 การใช้อาํ นาจของพนักงานเจ้าหน้าที-ตามมาตรา ๑๘ (๔) (๕) (๖) (๗) และ (๘) ให้พนักงานเจ้าหน้าที-ยนื-
คําร้องต่อศาลที-มีเขตอํานาจเพื-อมีคาํ สั-งอนุญาตให้พนักงานเจ้าหน้าที-ดาํ เนิ นการตามคําร้อง ทั[งนี[ คําร้องต้องระบุเหตุ
อันควรเชื- อได้ว่า บุคคลใดกระทําหรื อกําลังจะกระทําการอย่างหนึ- งอย่างใดอันเป็ นความผิด เหตุที-ตอ้ งใช้อาํ นาจ
ลักษณะของการกระทําความผิด รายละเอียดเกี-ยวกับอุปกรณ์ที-ใช้ในการกระทําความผิดและผูก้ ระทําความผิด เท่าที-
สามารถจะระบุได้ ประกอบคําร้องด้วย ในการพิจารณาคําร้อง ให้ศาลพิจารณาคําร้องดังกล่าวโดยเร็ ว
มาตรา 20 ในกรณี ที-มีการทําให้แพร่ หลายซึ- งข้อมูลคอมพิวเตอร์ ที-ดงั ต่อไปนี[ พนักงานเจ้าหน้าที- โดยได้รับความ
เห็ นชอบจากรัฐมนตรี อาจยื-นคําร้ องพร้ อมแสดงพยานหลักฐานต่อศาลที-มีเขตอํานาจขอให้มีคาํ สั-งระงับการทําให้
แพร่ หลายหรื อลบข้อมูลคอมพิวเตอร์น[ นั ออกจากระบบคอมพิวเตอร์ได้
(๑) ⁠ ข้อมูลคอมพิวเตอร์ที-เป็ นความผิดตามพระราชบัญญัติน[ ี
(๒) ⁠ ข้อมูลคอมพิวเตอร์ที-อาจกระทบกระเทือนต่อความมัน- คงแห่งราชอาณาจักร ตามที-กาํ หนดไว้ในภาค ๒ ลักษณะ
๑ หรื อลักษณะ ๑/๑ แห่งประมวลกฎหมายอาญา
(๓) ⁠ ข้อ มู ล คอมพิ ว เตอร์ ที- เ ป็ นความผิด อาญาตามกฎหมายเกี- ย วกับ ทรั พ ย์สิ น ทางปั ญ ญา หรื อ กฎหมายอื- น ซึ- ง
ข้อมูลคอมพิวเตอร์น[ นั มีลกั ษณะขัดต่อความสงบเรี ยบร้อยหรื อศีลธรรมอันดีของประชาชน และเจ้าหน้าที-ตามกฎหมาย
นั[นหรื อพนักงานสอบสวนตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญาได้ร้องขอ

มาตรา 21 ชุ ดคําสั-งไม่พึงประสงค์ ตามวรรคหนึ- ง หมายถึ ง ชุ ดคําสั-งที- มีผลทําให้ขอ้ มูลคอมพิวเตอร์ หรื อระบบ


คอมพิว เตอร์ หรื อ ชุ ด คํา สั-ง อื- น เกิ ด ความเสี ย หาย ถู ก ทํา ลาย ถู ก แก้ไ ข เปลี- ย นแปลง หรื อ เพิ-ม เติ ม ขัด ข้อ ง หรื อ
ปฏิบตั ิงานไม่ตรงตามคําสั-ง หรื อโดยประการอื-นตามที-กาํ หนดในกฎกระทรวง เว้นแต่เป็ นชุดคําสั-งไม่พึงประสงค์ที-
อาจนํามาใช้เพื-อป้ องกันหรื อแก้ไขชุดคําสั-งดังกล่าวข้างต้น ทั[งนี[ รัฐมนตรี อาจประกาศในราชกิจจานุ เบกษากําหนด
รายชื- อ ลักษณะ หรื อรายละเอียดของชุ ดคําสั-งไม่พึงประสงค์ซ- ึ งอาจนํามาใช้เพื-อป้ องกันหรื อแก้ไขชุ ดคําสั-งไม่พึง
ประสงค์กไ็ ด้"

มาตรา 22 ห้ามมิให้พนักงานเจ้าหน้าที- และพนักงานสอบสวน ในกรณี ตามมาตรา ๑๘ วรรคสอง เปิ ดเผยหรื อส่ งมอบ
ข้อมูลคอมพิวเตอร์ ข้อมูลจราจรทางคอมพิวเตอร์ หรื อข้อมูลของผูใ้ ช้บริ การ ที-ได้มาตามมาตรา ๑๘ ให้แก่บุคคลใด

มาตรา 23พนักงานเจ้าหน้าที- หรื อพนักงานสอบสวน ในกรณี ตามมาตรา ๑๘ วรรคสอง ผูใ้ ดกระทําโดยประมาทเป็ น


เหตุให้ผอู ้ ื-นล่วงรู ้ขอ้ มูลคอมพิวเตอร์ ข้อมูลจราจรทางคอมพิวเตอร์ หรื อข้อมูลของผูใ้ ช้บริ การ ที-ได้มาตามมาตรา ๑๘
ต้องระวางโทษจําคุกไม่เกินหนึ-งปี หรื อปรับไม่เกินสองหมื-นบาท หรื อทั[งจําทั[งปรับ

มาตรา 24 ผูใ้ ดล่วงรู ้ขอ้ มูลคอมพิวเตอร์ ข้อมูลจราจรทางคอมพิวเตอร์ หรื อข้อมูลของผูใ้ ช้บริ การ ที-พนักงานเจ้าหน้าที-
หรื อพนักงานสอบสวนได้มาตามมาตรา ๑๘ และเปิ ดเผยข้อมูลนั[นต่อผูห้ นึ- งผูใ้ ด ต้องระวางโทษจําคุกไม่เกินสองปี
หรื อปรับไม่เกินสี- หมื-นบาท หรื อทั[งจําทั[งปรับ

มาตรา 25 ข้อมูล ข้อมูลคอมพิวเตอร์ หรื อข้อมูลจราจรทางคอมพิวเตอร์ ที-พนักงานเจ้าหน้าที-ได้มาตามพระราชบัญญัติ


นี[ หรื อที-พนักงานสอบสวนได้มาตามมาตรา ๑๘ วรรคสอง ให้อา้ งและรับฟั งเป็ นพยานหลักฐานตามบทบัญญัติแห่ ง
ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญาหรื อกฎหมายอื-นอันว่าด้วยการสื บพยานได้ แต่ตอ้ งเป็ นชนิดที-มิได้เกิดขึ[นจาก
การจูงใจ มีคาํ มัน- สัญญา ขู่เข็ญ หลอกลวง หรื อโดยมิชอบประการอื-น"
มาตรา 28"ผูท้ ี- ไ ด้รั บ การแต่ ง ตั[ง เป็ นพนัก งานเจ้า หน้า ที- ต ามพระราชบัญ ญัติ น[ ี อาจได้รั บ ค่ า ตอบแทนพิ เ ศษตามที-
รั ฐมนตรี กาํ หนดโดยได้รับความเห็ นชอบจากกระทรวงการคลัง ในการกําหนดให้ได้รับค่าตอบแทนพิเศษ ต้อง
คํานึ งถึงภาระหน้าที- ความรู ้ความเชี-ยวชาญ ความขาดแคลนในการหาผูม้ าปฏิบตั ิหน้าที-หรื อมีการสู ญเสี ยผูป้ ฏิบตั ิงาน
ออกจากระบบราชการเป็ นจํานวนมาก คุ ณ ภาพของงาน และการดํารงตนอยู่ในความยุติธรรม โดยเปรี ยบเที ยบ
ค่าตอบแทนของผูป้ ฏิบตั ิงานอื-นในกระบวนการยุติธรรมด้วย"

มาตรา 29 ในการปฏิบตั ิหน้าที-ตามพระราชบัญญัติน[ ี ให้พนักงานเจ้าหน้าที-เป็ น พนักงานฝ่ ายปกครองหรื อตํารวจชั[น


ผูใ้ หญ่ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญามีอาํ นาจ รับคําร้องทุกข์หรื อรับคํากล่าวโทษ และมีอาํ นาจในการ
สื บสวนสอบสวนเฉพาะความผิดตาม พระราชบัญญัติน[ ี ในการจับ ควบคุม ค้น การทําสํานวนสอบสวนและดําเนินคดี
ผูก้ ระทําความผิดตาม พระราชบัญญัติน[ ี บรรดาที- เป็ นอํานาจของพนักงานฝ่ ายปกครองหรื อตํารวจชั[นผูใ้ หญ่ หรื อ
พนักงาน สอบสวนตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา ให้พนักงานเจ้าหน้าที- ประสานงานกับพนักงาน
สอบสวนผูร้ ับผิดชอบเพื-อดําเนินการตามอํานาจหน้าที-ต่อไป

มาตรา 30 ในการปฏิบตั ิหน้าที- พนักงานเจ้าหน้าที-ตอ้ งแสดงบัตรประจําตัวต่อ บุคคลซึ- งเกี-ยวข้อง บัตรประจําตัวของ


พนักงานเจ้าหน้าที-ให้เป็ นไปตามแบบที-รัฐมนตรี ประกาศในราชกิจจานุเบกษา

มาตรา 31 ค่าใช้จ่ายในเรื- องดังต่อไปนี[ รวมทั[งวิธีการเบิกจ่าย ให้เป็ นไปตามระเบียบที-รัฐมนตรี กาํ หนดโดยได้รับความ


เห็นชอบจากกระทรวงการคลัง
(๑) ⁠ การสื บสวน การแสวงหาข้อมูลและรวบรวมพยานหลักฐาน ในคดีความผิดตามพระราชบัญญัติน[ ี
(๒) ⁠ การดําเนินการตามมาตรา ๑๘ วรรคหนึ-ง (๔) (๕) (๖) (๗) และ (๘) และมาตรา ๒๐
(๓) ⁠ การดําเนินการอื-นใดอันจําเป็ นแก่การป้องกันและปราบปรามการกระทําความผิดตามพระราชบัญญัติน[ ี"

กฎหมายว่าด้วยการกระทําความผิดเกี-ยวกับคอมพิวเตอร์ต่างประเทศ
สิ งค์โปรมีกฎหมายที-เกี-ยวข้อง ขอบเขตความผิดตามพระราชบัญญัติน[ ี ขอบเขตความผิดตามพระราชบัญญัติ
นี[ (Section 13: Territorial scope of offences under this Act) การควบรวมข้อกล่าวหา (Section 14: Amalgamation of
charges) เขตอํานาจศาล (Section 15:Jurisdiction of Courts) องค์ประกอบความผิด (Section 16: Composition of
offences) คําสั-งให้ชาํ ระค่าสิ นไหมทดแทน (Section 17: Order for payment of compensation) เงิ นออมเพื-อการ
สอบสวนของตํารวจและเจ้าหน้าที- บงั คับใช้กฎหมาย (Section 18: Saving for investigations by police and law
enforcement officers) ตํารวจจับกุมโดยไม่มีหมายจับ (Section 19: Arrest by police without warrant)
มาเลเซี ยมี กฎหมายที- เกี- ยวข้องดังนี[ ขอบเขตความผิดตามพระราชบัญญัติน[ ี (Section 9:Territorial scope of
offences under this Act) อํานาจตรวจค้น ยึด และจับกุม (Section 10:Powers of search, seizure and arrest) การขัดขวาง
การค้นหา (Section 11:Obstruction of search) การดําเนินคดี (Section 12:Prosecution)
สหราชอาณาจักรมีกฎหมายที-เกี- ยวข้องดังนี[ ๔. ขอบเขตความผิดตามพระราชบัญญัติน[ ี 5. การเชื- อมโยงที-
สําคัญกับเขตอํานาจศาลภายในประเทศ 6. ขอบเขตอาณาเขตของความผิดที-เกี-ยวข้องกับความผิดตามพระราชบัญญัติน[ ี
7. ขอบเขตอาณาเขตของความผิดที-เกี-ยวข้องกับความผิดตามกฎหมายภายนอกที-เกี-ยวข้องกับความผิดตามมาตรา 1 ถึง
3 8. ความเกี-ยวข้องของกฎหมายภายนอก 9. สัญชาติองั กฤษไม่มีสาระสําคัญ เบ็ดเตล็ดและทัว- ไป 10. การออม

สรุปภาพรวมการเปรียบเทียบกฎหมายว่ าด้ วยการกระทําความผิดเกีย8 วกับคอมพิวเตอร์ ของต่ างประเทศ


• สิ งค์โปรและมาเลเซี ยมีโครงสร้างของกฎหมายเกี-ยวกับความผิดทางคอมพิวเตอร์ ที-คล้ายคลึงกันอย่างมาก ส่ วนใหญ่
ความแตกต่างจะอยูท่ ี-บทลงโทษและค่าปรับ
• สหราชอาณาจักรมี รายละเอี ยดของกฎหมายเกี- ยวกับความผิดทางคอมพิวเตอร์ ในแต่ละมาตราที- ครอบคลุมไปถึ ง
เวลส์,ไอร์แลนด์ ,และ สก๊อตแลนด์ ซึ-งในแต่ละพื[นที-บทลงโทษและค่าปรับที-แตกต่างกัน
• ประเทศไทยมีกฎหมายเกี-ยวกับความผิดทางคอมพิวเตอร์ ที-มีจาํ นวนมาตราถึงสามสิ บเอ็ดมาตรา แต่โครงสร้างของตัว
บทกฎหมายเป็ นการต่อขยายมาจากกฎหมายเกี-ยวกับความผิดทางคอมพิวเตอร์สิงค์โปร
• สิ งค์โปร มาเลเซี ย และสหราชอาณาจักร มีการกําหนดมาตรแยกออกมาอย่างชัดเจนในเรื- องขอบเขตความผิดของ
พระราชบัญญัติที-ครอบคลุมถึงผูก้ ระทําผิดที-มีถิ-นพํานักในต่างแดน

บทลงโทษว่ าด้ วยการกระทําความผิดเกีย8 วกับคอมพิวเตอร์


ผลจากการบังคับใช้ พ.ร.บ.ทีเ8 กีย8 วข้ องกับกระทําความผิดทางคอมพิวเตอร์ ในไประเทศไทย
สรุ ปยังคงมีการกระทาผิดที-ไม่ลดลง สาเหตุ มีการใช้หลากหลาย การติดต่อได้รวดเร็ ว มีการแข่งขันของผ้ประกอบการสู ง
ั บไซต์โดยอาศัยมาตรา ๒๐ ของพ.ร.บ.
ยังคงมีการระงับการเผยแพร่ เนื[อหาหรื อการปิ ดก้นเว็
• คดีมีเนื[อหาความผิดเกี-ยวข้องกับการหมิ-นประมาทต่อบุคคลมีสดั ส่ วนมากที-สุดในคดีท่ีถูกฟ้องตาม พ.ร.บ.ฯ
• รองลงมาได้แก่ คดีที-เป็ นอาชญากรรมคอมพิวเตอร์โดยแท้ (เช่น การเจาะข้อมูล การส่ งสแปม)
• ลําดับ 3 คดีที-มีเนื[อหาความผิดเกี-ยวข้องกับการหมิ-นประมาทกษัตริ ย ์ พระราชินี และรัชทายาท
• ลําดับ 4 มีสองประเภท คือ คดีที-เกี-ยวข้องกับการฉ้อโกง เช่น โพสท์ขอ้ ความหลอกขายของ
• และคดีที-เกี-ยวข้องกับเนื[ อหาลามก ท่ีเหลือส่ วนน้อยเป็ นคดีที-เกี-ยวข้องกับการขายโปรแกรม คดีที-เกี-ยวกับความมัน- คง
และคดีอื-น ๆ

ข้ อแนะนําสํ าหรับผู้ใช้ งานสื8 อสั งคมออนไลน์


1.ไม่โพสต์กิจกรรมที-ผดิ กฎหมาย
2.ไม่ควรโพสต์ขอ้ ความที-ช[ ีชวนให้มิจฉาชพีรับรู ้ความเคลื-อนไหวส่ วนตัว
3.ไม่โพสต์ขอ้ มูลที-เป็ นเรื- องส่ วนบุคคล
4.ให้ระมัดระวังการเช็คอิน (Check-in) ผ่านสื- อสังคมออนไลน์
5.ไม่ระบุชื-อบุตรหลานระบุภาพหรื อติดtagในรู ปภาพมากเกินไป
6.ไม่ส่งหลักฐานส่ วนตัวของตนเองและคนในครอบครัวใหผูอ้ ื-น
7.พึงระมัดระวังอย่างยิง- ที-จะไว้ใจหรื อเชื-อใจคนที-รู้จกั ผ่านอินเทอร์เน็ต
ข้ อแนะนําสํ าหรับผู้ได้ รับผลกระทบจากการใช้ กฎหมาย ในกรณีเป็ นผู้เสี ยหาย
ขั[นตอนการแจ้งความร้องทุกข์ในคดี ตาม พรบ. คอมพิวเตอร์
1.เมื-อพบการกระทําความผิดหรื อถูกละเมิดในสื- ออินเตอร์เน็ตควรดําเนินการเบื[องต้นดังนี[
1.1 ทําการบันทึกข้อมูลหลักฐานที-ปรากฏไว้ท[ งั หมด เช่น หน้าเว็บเพจ ข้อความ หรื อภาพถ่ายที-ก่อให้เกิดความเสี ยหาย
1.2 พิมพ์ขอ้ มูลหน้าเว็ปไซต์ที-เกิดเหตุหรื อเกี-ยวข้องออกมาเป็ นเอกสาร เพื-อ ป้องกันไม่ให้พยานหลักฐานสู ญหาย หรื อถูกทําลาย
และลงลายมือชื-อรับรอง เอกสารนั[น
1.3 การสัง- พิมพ์เอกสารหน้าเว็บเพจ ข้อความหรื อภาพถ่ายต่างๆ ในเว็ปไซต์ที- พบการกระทาผิด ให้ปรากฏที-ต[ งั ของเว็ปไซต์ หรื อ
URL ของเว็ปไซต์น[ นั ด้วย และหรื อปรากฎวันเวลาบนเว็บไซต์หรื อขณะบันทึกข้อมูลหลักฐานนั[นด้วย
2. หากประสงค์แจ้งความร้องทุกข์ ให้ผทู ้ ี-ได้รับความเสี ยหายสามารถแจ้งต่อพนักงาน สอบสวนสถานีตาํ รวจท้องที-เกิดเหตุ หรื อ
ที-พบการกระทาความผิด หลักฐานที-ควร นาไปมอบให้พนักงานสอบสวน ได้แก่หลักฐานตามข้อ 1.1 - 1.3
3. หากผูเ้ สี ยหาย หรื อพนักงานสอบสวนที-รับแจ้งความ ต้องการตรวจสอบข้อมูล จราจรทางคอมพิวเตอร์ ก็สามารถประสานเพื-อ
ส่ งข้อมูล หลักฐานต่างๆ ตามข้อ 1. มายัง บก.ปอท. หรื อหน่วยงานที-เกี-ยวข้องอื-นๆ เช่น กระทรวง ไอซี ที เพื-อตรวจสอบ ข้อมูล
ให้ ต่อไป
4. กรณี จาเป็ นเร่ งด่วนเพื-อป้องกันความเสี ยหาย เช่น ต้องทาการปิ ดกั[นเว็ปไซต์ หรื อ ระงับการทาธุรกรรมทางอิเล็คทรอนิกส์ ให้
พนักงานสอบสวนที- รับแจ้งความ หรื อ ผูเ้ สี ยหาย ประสานงานมายัง บก.ปอท. หรื อ กระทรวงไอซี ที หรื อธนาคาร หรื อผู ้
ให้บริ การอินเทอร์เน็ตเพื-อดาเนินการเบื[องต้นในการบรรเทาความเสี ยหาย ต่อไป

You might also like