You are on page 1of 5

แผนภูมิขั้นตอนการส่งออก

ยาสมุนไพร

ผู้ส่งออก

ยื่นคําขอขึ้นทะเบียนตํารับยา
สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา

ขอเอกสารการรับรองเพิ่มเติม
ตามที่ประเทศผู้นําเข้าต้องการ

ผ่านพิธีการศุลกากร
• ขึ้นทะเบียนเป็นผู้ผ่านพิธีการศุลกากร
ทางอิเล็กทรอนิกส์ (Paperless)
• ส่งข้อมูลเข้าเครื่องคอมพิวเตอร์ของกรมศุลกากร

ส่งออก

บริหารสิทธิประโยชน์ภาษีอากร
ตามที่ผู้ส่งออกได้รับ
เช่น BOI, 19 ทวิ, FREE ZONE

กรมส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศ ปรับปรุงข้อมูล 2557


กฎหมาย / ระเบียบ และขั้นตอนการส่งออกโดยสรุป : ยาสมุนไพร
สินค้า / พิกัด กฎหมายและระเบียบที่ควบคุม ขั้นตอนการส่งออก เอกสาร / ใบรับรอง หลักฐานที่ใช้ยื่น หน่วยงานที่ติดต่อ
ยาสมุนไพรสําหรับรักษา 1. ประกาศสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา 1. ยื่นคําขอขึ้นทะเบียนตํารับยา • เลขทะเบียนตํารับยา • คําขอผลิตยาตัวอย่าง (ยบ.5) หรือคํา • กลุ่มงานทะเบียนยาโบราณ
หรือป้องกันโรค เรื่องหลักเกณฑ์การพิจารณาขึ้นทะเบียนตํารับ ขอนําหรือส่งยาตัวอย่างเข้ามาใน สํานักยา
3004.90.98 ยาโบราณเกี่ยวกับมาตรฐานการปนเปื้อนเชื้อ ราชอาณาจักร สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา
จุลินทรีย์และโลหะหนัก • คําขอขึ้นทะเบียนตํารับยา โทรศัพท์ : 0-2590-7163-4
2. ประกาศสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา (แบบ ท.ย.1) โทรสาร : 0-2590-7164
อัตราภาษี เรื่อง หลักเกณฑ์การพิจารณาขึ้นทะเบียนตํารับ • ฉลาก สายด่วน อย. 1556
ยกเว้นอากรขาออก ยาโบราณเกี่ยวกับมาตรฐานปนเปื้อน • เอกสารกํากับยา
เชื้อจุลินทรีย์และโลหะหนัก ฉบับที่ 2 • หลักฐานแสดงสรรพคุณความปลอดภัย
3. ประกาศสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา ของยา
ขอบเขตการควบคุม เรื่องหลักเกณฑ์การพิจารณาประกาศผลการ • หนังสือติดต่อระหว่างประเทศคู่ค้า
ตรวจสอบหรือวอเคราะห์คุณภาพยา หรือ Invoice หรือ Proforma
เป็นสินค้าที่ไม่ควบคุม Invoice หรือ Letter of Credit
ในการส่งออกของ • คํารับรองเงื่อนไขการขึ้นทะเบียน
กระทรวงพาณิชย์ ตํารับยาเพือ่ การส่งออก (แบบ ส.อ.1)
แต่ถ้าประเทศผู้นำเข้า
ต้องการการรับรอง
เกี่ยวกับเรื่องใด
ผู้ส่งออกต้องไปขอ
ใบรับรองก่อนการ
ส่งออกด้วย

2. ถ้าประเทศผู้นําเข้าต้องการการรับรอง • ใบรับรองคุณภาพผลิตภัณฑ์ • ทําหนังสือพร้อมแจ้งรายละเอียด • สํานักยา


เกี่ยวกับเรื่องใดเป็นพิเศษผู้สง่ ออก ตามข้อกําหนดของประเทศคู่ค้า ของ ใบรับรองที่ต้องการ สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา
ต้องขอใบรับรองประเภทนั้นก่อน - หนังสือรับรองมาตรฐานการผลิตยา โทรศัพท์ : 0-2590-7160
GMP : 0-2590-7200
- หนังสือรับรองสถานที่ประกอบการ โทรสาร : 0-2590-7170
เกี่ยวกับยาเป็นภาษาอังกฤษ สายด่วน อย. 1556
- ใบรับรองการจําหน่าย • สํานักควบคุมพืชและวัสดุการเกษตร
(Certificate of Tree Sale) กรมวิชาการเกษตร
โทรศัพท์ : 0-2940-6466-8
โทรสาร : 0-2579-1581
: 0-2579-3576
กฎหมาย / ระเบียบ และขั้นตอนการส่งออกโดยสรุป : ยาสมุนไพร
สินค้า / พิกัด กฎหมายและระเบียบที่ควบคุม ขั้นตอนการส่งออก เอกสาร / ใบรับรอง หลักฐานที่ใช้ยื่น หน่วยงานที่ติดต่อ
สิทธิพิเศษทางภาษี • สํานักงานคณะกรรมการกลาง-
ศุลกากร อิสลามแห่งประเทศไทย
โทรศัพท์ : 0-2949-4114,
สามารถขอสิทธิพิเศษ : 0-2949-4146
ทางภาษีศุลกากรได้ โทรสาร : 0-2949-4250
หากส่งออกไปยังกลุ่ม www.cicot.or.th
ประเทศที่พัฒนาแล้ว • สํานักงานคณะกรรมการกลาง-
ทั้งนี้สามารถตรวจสอบ อิสลามแห่งประเทศไทย ประจํา
การได้รับสิทธิพเิ ศษ ศูนย์บริการส่งออกแบบเบ็ดเสร็จ
ทางภาษีศุลกากรได้ที่ ถนนรัชดาภิเษก จตุจกั ร กทม 10900
กรมการค้าต่างประเทศ โทรศัพท์ : 0-2512-0123
ต่อ 813
โทรสาร : 0-2512-0329
http://onestopservice.ditp.go.th

4. ประกาศกระทรวงพาณิชย์ เรือ่ งการออกหนังสือ 3. ยื่นขอมีบัตรประจําตัวผู้สง่ ออก-นําเข้า • บัตรผู้ส่งออก-นําเข้าสินค้า • คําร้องขอมีบัตรประจําตัวผู้ส่งออก- • สํานักบริการการค้าต่างประเทศ


รับรองถิ่นกําเนิดสินค้าตามความตกลงทางการ สินค้า เพื่อใช้ยื่นฟอร์มต่างๆ เช่น นําเข้าสินค้า กรมการค้าต่างประเทศ
ค้าระหว่างประเทศหรือการปฏิบัติทางการค้า GSP, GSTP, ATIGA, FTA ที่ประเทศ • สําเนาหนังสือรับรองการจดทะเบียน สนามบินน้ํา นนทบุรี
ระหว่างประเทศ ลงวันที่ 28 กุมภาพันธ์ พ.ศ. ไทยทํากับประเทศต่างๆ กับสํานัก บริษัท ไม่เกิน 3 เดือน สายด่วนกรมการค้าต่างประเทศ 1385
2548 บริการการค้าต่างประเทศ กรมการ • สําเนาหนังสือรับรองการจดทะเบียน โทรศัพท์ : 0-2547-4829,
5. ประกาศกรมการค้าต่างประเทศ เรื่องแบบขอรับ ค้าต่างประเทศ สนามบินน้ํา นนทบุรี ภาษีมูลค่าเพิ่ม 0-2547-4837
การตรวจคุณสมบัติของสินค้าทางด้านถิ่นกําเนิด โดยลงทะเบียนขอ Username กลาง • สําเนาบัตรประชาชนกรรมการหรือ โทรสาร : 0-2547-4757
เพื่อขอใช้สิทธิพเิ ศษทางด้านภาษีศุลกากร ลง ได้ที่ www.dft.go.th อื่น ๆ www.dft.go.th
วันที่ 20 ตุลาคม พ.ศ. 2548
6. ประกาศกรมการค้าต่างประเทศ เรื่องการตรวจ
คุณสมบัติของสินค้าทางด้านถิ่นกําเนิดที่จะขอใช้
สิทธิพเิ ศษทางด้านภาษีศุลกากร ลงวันที่ 20
ตุลาคม พ.ศ. 2548
กฎหมาย / ระเบียบ และขั้นตอนการส่งออกโดยสรุป : ยาสมุนไพร
สินค้า / พิกัด กฎหมายและระเบียบที่ควบคุม ขั้นตอนการส่งออก เอกสาร / ใบรับรอง หลักฐานที่ใช้ยื่น หน่วยงานที่ติดต่อ
7. ประกาศกรมการค้าต่างประเทศ เรื่องการตรวจ 4. ยื่นตรวจสอบสินค้าส่งออกกับสํานัก • ผลการตรวจคุณสมบัติทางด้านถิ่น • คํารับรองข้อมูลการผลิตสินค้า • สํานักบริหารการนําเข้า
คุณสมบัติทางด้านถิ่นกําเนิดที่จะขอใช้สิทธิพเิ ศษ บริหารการนําเข้าว่าสินค้าที่ผลิต กําเนิดของสินค้าที่กรมการค้าต่าง ถูกต้องตามหลักเกณฑ์ถิ่นกําเนิด กรมการค้าต่างประเทศ
ทางด้านภาษีศุลกากร ลงวันที่ 8 มิถุนายน ถูกต้องตามกฎว่าด้วยถิ่นกําเนิดตามที่ ประเทศได้รับรองผลแล้วสําหรับ สินค้า (พิมพ์จากระบบ) โทรศัพท์ : 0-2547-5090,
พ.ศ. 2549 กําหนดไว้ในแต่ละประเทศ โดย สินค้าพิกัดอัตราศุลกากร ตอนที่ 25 0-2547-4809
8. ประกาศกรมการค้าต่างประเทศ เรื่องแบบขอรับ ลงทะเบียนขอ Username & ถึง 97 โทรสาร : 0-2547-4807
การตรวจคุณสมบัติของสินค้าทางด้านถิ่นกําเนิด Password ได้ที่ www.dft.go.th
เพื่อขอใช้สิทธิพเิ ศษทางด้านภาษีศุลกากร
(ฉบับที่ 2) ลงวันที่ 8 มิถุนายน พ.ศ. 2549
9. ประกาศกรมการค้าต่างประเทศ เรื่องหลักเกณฑ์ 5. ขอหนังสือรับรองถิน่ กําเนิดสินค้า, • หนังสือรับรองถิน่ กําเนิดสินค้า • บัญชีราคาสินค้า (Invoice) 1. สํานักบริการการค้าต่างประเทศ
วิธีการ และเงือ่ นไข การขอรับหนังสือสําคัญการ สํานักบริการการค้าต่างประเทศตาม - Form CO ทั่วไป • B/L หรือ Air Waybill หรือใบรับ กรมการค้าต่างประเทศ
ส่งออก-นําเข้าสินค้า โดยวิธีการทาง ข้อตกลงการค้าระหว่างประเทศใน - Form A ไปรษณีย์ หรือเอกสารแสดงการขนส่ง สนามบินน้ํา นนทบุรี
อิเล็กทรอนิกส์ ลงวันที่ 9 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2554 แต่ละกลุ่มประเทศ - Form D (ATIGA) อื่นๆ เช่น Truck Receipt - กลุ่มงานหนังสือสําคัญถิ่นกําเนิดสินค้า
10. ประกาศกรมการค้าต่างประเทศ เรื่องมาตรการ - Form FTA ต่างๆ • แบบขอรับการตรวจคุณสมบัติของ สายด่วนกรมการค้าต่างประเทศ 1385
และแนวปฏิบัติในการพิจารณาออกหนังสือ สินค้าทางด้านถิ่นกําเนิด (สินค้าพิกดั โทรศัพท์ : 0-2547-4753,
รับรองถิ่นกําเนิดสินค้าตามกรอบความตกลง อัตราศุลกากรตอนที่ 01 ถึง 24) 0-2547-4827-8,
FTA ที่กําหนดไว้ในแต่ละประเทศหรือในแต่ละ • ผลการตรวจคุณสมบัติทางด้านถิ่น โทรสาร : 0-2547-4890
กลุ่มประเทศได้ที่ www.dft.go.th กําเนิดของสินค้าที่กรมการค้าต่าง www.dft.go.th
ประเทศได้รับรองผลแล้วสําหรับสินค้า 2. สํานักงาน ณ อาคารตรวจสอบ
พิกดั อัตราศุลกากร ตอนที่ 25 ถึง 97 สินค้าขาออก ชั้น 2 ตึก CF-1
ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ
โทรศัพท์ : 0-2134-0941-5
โทรสาร : 0-2134-0946
3. สํานักงาน ณ กองตรวจสินค้าขาออก
กรมศุลกากร ท่าเรือกรุงเทพ
โทรศัพท์ : 0-2249-2106,
0-2249-3978
โทรสาร : 0-2240-2232
4. ศูนย์บริการส่งออกแบบเบ็ดเสร็จ
ถนนรัชดาภิเษก จตุจักร กทม 10900
โทรศัพท์ : 0-2512-0123 ต่อ 800
โทรสาร : 0-2512-3055
http://onestopservice.ditp.go.th
กฎหมาย / ระเบียบ และขั้นตอนการส่งออกโดยสรุป : ยาสมุนไพร
สินค้า / พิกัด กฎหมายและระเบียบที่ควบคุม ขั้นตอนการส่งออก เอกสาร / ใบรับรอง หลักฐานที่ใช้ยื่น หน่วยงานที่ติดต่อ
11. พระราชบัญญัติศุลกากร พ.ศ. 2469 และฉบับ 6. ผ่านพิธกี ารส่งออก • ใบขนสินค้าขาออกแบบใช้สิทธิ,์ • บัญชีราคาสินค้า (Invoice) • ส่วนบริการศุลกากร 2
แก้ไขเพิ่มเติมอีก 16 ฉบับ ผ่านพิธกี ารทางศุลกากรด้วยระบบ ไม่ใช้สิทธิ์ • บัญชีรายละเอียดการบรรจุหีบห่อ งานพิธีการส่งออก
12. ประกาศกรมศุลกากรที่ 116/2549 เรื่องการ Paperless โดย • ใบกํากับการขนย้ายสินค้า (Packing List) กรมศุลกากร
ผ่านพิธกี ารศุลกากรทางอิเล็กทรอนิกส์ ลงวันที่ 6.1 ขึ้นทะเบียนเป็นผู้ผ่านพิธกี ารทาง โทรศัพท์ : 0-2667-7000 (กลาง)
27 ธันวาคม 2549 อิเล็กทรอนิกส์ : 0-2667-7241-43
13. ประกาศกรมศุลกากรที่ 39/2550 เรื่องระบบ 6.2 การส่งข้อมูลเข้าระบบคอมพิวเตอร์ โทรสาร : 0-2671-7013
พิธกี ารศุลกากรส่งออกทางอิเล็กทรอนิกส์ ของกรมศุลกากร สายด่วนกรมศุลกากร 1164
ลงวันที่ 2 กรกฎาคม 2550 www.customs.go.th
14. ประกาศกรมศุลกากรที่ 24/2556 เรื่องคู่มอื
การผ่านพิธกี ารศุลกากรทางอิเล็กทรอนิกส์ ว่า
ด้วยกระบวนการทางศุลกากรสําหรับการส่งออก
(e-Export) ลงวันที่ 19 กุมภาพันธ์ 2556

You might also like