You are on page 1of 46

เครื่องย่อยเศษอาหารเหลือทิ้งเป็นปุ๋ยสาหรับใช้ในโรงอาหารและครัวเรือน

โดย
นางสาวรจนา ชิงชนะ รหัสนักศึกษา B5519262
นางสาวสุชาวลี โลหณุต รหัสนักศึกษา B5700103

รายงานนี้เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาวิชา 438499
โครงงานวิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต
สาขาวิชาวิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์ หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ.2555
สานักวิชาวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
ภาคการศึกษาที่ 2 ปีการศึกษา 2561

เครื่องย่อยเศษอาหารเหลือทิ้งเป็นปุ๋ยสาหรับใช้ในโรงอาหารและครัวเรือน

คณะกรรมการสอบโครงงาน

…………………..………..…………………..
(ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ธนเสฏฐ์ ทศดีกรพัฒน์)
กรรมการ (อาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน)

………………………………….……………..
(ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.บุญส่ง สุตะพันธ์)
กรรมการ

………………………………….……………..
(อาจารย์ ดร.สาราญ สันทาลุนัย)
กรรมการ

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี อนุมัติให้นับรายงาน โครงงานฉบับนี้ เป็นส่วนหนึ่งของ


การศึกษาระดับปริญญาตรี สาขาวิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์ รายวิชา 438399 โครงงาน
วิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์ ประจาปีการศึกษา 2561

เครื่องย่อยเศษอาหารเหลือทิ้งเป็นปุ๋ยสาหรับใช้ในโรงอาหารและครัวเรือน

คณะกรรมการสอบโครงงาน

…………………..………..…………………..
(ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ธนเสฏฐ์ ทศดีกรพัฒน์)
กรรมการ (อาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน)

………………………………….……………..
(ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.บุญส่ง สุตะพันธ์)
กรรมการ

………………………………….……………..
(อาจารย์ ดร.สาราญ สันทาลุนัย)
กรรมการ

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี อนุมัติให้นับรายงาน โครงงานฉบับนี้ เป็นส่วนหนึ่งของ


การศึกษาระดับปริญญาตรี สาขาวิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์ รายวิชา 438399 โครงงาน
วิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์ ประจาปีการศึกษา 2561

โครงงานเครื่องย่อยเศษอาหารเหลือทิ้งเป็นปุ๋ยสาหรับใช้ในโรงอาหารและครัวเรือน
จัดทาโดย 1.นางสาวรจนา ชิงชนะ
2.นางสาวสุชาวลี โลหณุต
อาจารย์ที่ปรึกษา ผศ.ดร. ธนเสฏฐ์ ทศดีกรพัฒน์
สาขาวิชา วิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์
ภาคการศึกษาที่ 2 / 2561

บทคัดย่อ
(Abstract)
ปัจจุบันโรงอาหารในสถานที่ สาธารณะต่า งๆหรื อ บริ เวณบ้านเรือนประสบปัญ หาเศษ
อาหารเหลือทิ้งเป็นจานวนมาก ทาให้เกิดการสะสมเศษอาหารที่เน่า เสียและส่งกลิ่นเหม็น
ออกมา ดังนั้นโครงงานนี้จึงนาเสนอเครื่องย่อยเศษอาหารเหลือทิ้งเป็นปุ๋ยสาหรับใช้ในโรงอาหาร
หรือบ้านเรือน เพื่อนาเศษอาหารที่เหลือทิ้งมาแปรรูปเป็นปุ๋ยช่วยลดการซื้อปุ๋ยที่ทาจากสารเคมี
ช่วยรักษาสภาพแวดล้อมให้ดีขึ้น โดยโครงงานนี้มีกระบวนการบดเศษอาหารแล้วนาไปเข้าสู่
กระบวนการย่อยสลาย เพื่อนาเศษอาหารที่ได้ออกมาเป็นปุ๋ยไว้สาหรับใช้งาน

กิตติกรรมประกาศ
(Acknowledgement)

ในการจัดทาโครงงานเรื่องเครื่องย่อยเศษอาหารเหลือทิ้งเป็นปุ๋ยสาหรับใช้ในโรอาหารและ
ครัวเรือนสาเร็จลุล่วงได้ ด้วยความกรุณาและความช่วยเหลือจาก ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ธนเสฏฐ์
ทศดีกรพัฒน์ ที่ปรึกษาโครงงานและคอยให้คาปรึกษา คาแนะนา และให้ความรู้ในเชิงวิชาการอัน
เป็นแนวทางในการทาโครงงานรวมทั้งตรวจสอบ แก้ไข ข้อบกพร่องต่าง ๆ ในทุกขั้นตอนของการ
ทาโครงงาน จนสามารถจัดทาโครงงานนี้ได้สาเร็จลุล่วงตามวัตถุประสงค์ ทางคณะผู้จัดทา
ขอขอบคุณเป็นอย่างสูงไว้ ณ โอกาสนี้
ขอขอบคุณนายสาราญ ชิงชนะ นายอนนท์ชัยและนางสาลี โลหณุต ที่มีส่วนช่วยในการ
จัดซื้ออุปการณ์ในการจัดทาโครงงานและคอยให้กาลังใจตลอดมา
ขอขอบคุณนายเมธารักษ์ จอกพุดซา ที่ให้คาแนะนาการออกแบบอินดักชั่น ข้อมูลต่างๆที่
เป็นประโยชน์ต่อการทาโครงงานและขอขอบคุณศูนย์เครื่องมือที่ช่วยสนับสนุนในการทาโครงงาน
ครั้งนี้พร้อมกับผู้ช่วยเหลือที่ไม่ได้กล่าวถึง
และขอขอบคุณ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.บุญส่ง สุตะพันธ์ ที่ให้คาแนะนาต่างๆ ที่เป็น
ประโยชน์อย่างยิ่ง สุดท้ายนี้คณะผู้จัดทาควดหวังว่าโครงงานนี้จะเป็นประโยชน์ต่อผู้ที่สนใจไม่มาก
ก็น้อย และ หากโครงงานนี้มีข้อผิดพลาดประการใด ทางคณะผู้จัดทาโครงงานต้องขออภัยมา
ณ ที่นี้ด้วย

นางสาวรจนา ชิงชนะ
นางสาวสุชาวลี โลหณุต
คณะผู้จัดทา

สารบัญ
เรื่อง หน้า
- บทคัดย่อ ค
-กิตติกรรมประกาศ ง
-สารบัญ จ
-สารบัญรูปภาพ ช
-สารบัญตาราง ซ
บทที่ 1 บทนา 1
1.1 ที่มาและความสาคัญของปัญหา 1
1.2 วัตถุประสงค์ 1
1.3 ขอบเขตการดาเนินงาน 1
1.4 ขั้นตอนการดาเนินงาน 1
1.5 ตารางการดาเนินงาน 2
1.6 ผลที่คาดว่าจะได้รับ 3
1.7 ส่วนประกอบของรายงาน 3
บทที่ 2 ทฤษฎีและหลักการที่เกี่ยวข้อง 4
2.1 บทนา 4
2.2 การกาจัดเศษอาหาร 4
2.3 วิธีการกาจัดเศษอาหาร 5
2.3.1 การฝังกลบอย่างถูกลักสุขอภิบาล 5
2.3.2 การบด-อบขยะ 6
2.3.3 การนามาหมักทาเป็นก๊าซหุงต้ม 7
2.3.4 การนาเศษอาหารมาหมักเป็นปุ๋ย 8
2.4 หลักการของการเกิดปุ๋ย 9
2.4.1 ปุ๋ยอินทรีย์ 9
2.4.2 ปุ๋ยเคมีหรือปุ๋ยวิทยาศาสตร์ 9
2.5 หลักการของการย่อยสลายด้วยจุลินทรีย์ 10
2.5.1 ปัจจัยที่มีผลต่อการย่อยสลายของจุลนิ ทรีย์ 10
2.6 หลักการพื้นฐานการให้ความร้อนด้วยการเหนี่ยวนา 11
2.6.1 การหาค่าความเหนี่ยวนา 11
2.6.2 การคานวณหาความสัมพันธ์ภายในวงจร Induction Heater 11
2.7 หลักการการใช้เครื่องมือวัด 12
2.7.1 เครื่องวัดค่าความเหนี่ยวนา Keysight Technologies
รุ่น U1733C 12
2.7.2 หลักการใช้งานเซนเซอร์วัดอุณหภูมิ 13
2.7.3 เครื่องวัดอุณหภูมิอินฟราเรด (Infrared Thermometer) 14

สารบัญ (ต่อ)
เรื่อง หน้า
บทที่ 3 หลักการทางานและการออกแบบระบบ 15
3.1 บทนา 15
3.2 หลักการทางานเครื่องย่อยเศษอาหารเหลือทิ้งให้เป็นปุ๋ย 15
3.3 การออกแบบเครื่องย่อยเศษอาหารเหลือทิ้งให้เป็นปุ๋ย 16
3.4 การออกแบบวงจร Induction 17
3.4.1 อุปกรณ์ในวงจร Induction Heater 18
3.4.2 การเหนี่ยวนาความร้อน (INDUCTION HEATING) 19
3.5 การออกแบบระบบควบคุม 20
บทที่ 4 การทดสอบอุปกรณ์และแสดงผลข้อมูล 22
4.1 การติดตั้งอุปกรณ์ 22
4.2 ขั้นตอนการดาเนินงาน 23
4.3 การทอดสอบการทางานของเครื่องย่อยเศษอาหารเหลือทิ้งให้เป็นปุ๋ย 29
4.4 วิเคราะห์ผลการทดลอง 33
4.5 สรุปผลการทดลอง 34
บทที่ 5 บทสรุปและข้อเสนอแนะ 35
5.1 บทสรุป 35
5.2 ปัญหาที่พบ 35
5.3 แนวทางการแก้ปัญหา 35
5.4 ข้อเสนอแนะ 35
5.5 วิพากษ์ 35
บรรณานุกรม 36
ประวัติผู้เขียน 37

สารบัญรูปภาพ
รายการ หน้า
รูปที่ 2.1 ภาพแสดงประเภทของการฝังกลบอย่างถูกหลักสุขภิบาล 5
รูปที่ 2.1 ภาพแสดงประเภทของการฝังกลบอย่างถูกหลักสุขภิบาล 5
รูปที่ 2.2 เตาเผาชนิดควบคุมการเผาไหม้ 6
รูปที่ 2.3 การทาถังหมักแก๊สชีวภาพ 7
รูปที่ 2.4 การนาเศษอาหารมาทาปุ๋ย 8
รูปที่ 2.5 การทางานเครื่องวัดค่าความเหนี่ยวนา 12
รูปที่ 2.6 เครื่องมือวัดความร้อนชนิดContact 13
รูปที่ 2.7 เครื่องวัดอุณหภูมิอินฟราเรด 14
รูปที่ 3.1 บล็อกไดอะแกรมควบคุมการทางานของเครื่องย่อยเศษอาหารเหลือทิ้งให้เป็นปุ๋ย 15
รูปที่ 3.2 ตัวถังเครื่องย่อยเศษอาหารเหลือทิ้งให้เป็นปุ๋ย 16
รูปที่ 3.3 Power Supply 220v 20A 17
รูปที่ 3.4 ตัวเหนี่ยวนาแกนเหล็ก 17
รูปที่ 3.5 ท่อเหล็กขนาด ½ ” 18
รูปที่ 3.6 ตัวต้านทาน ตัวเก็บประจุ 18
รูปที่ 3.7 ตัวเหนี่ยวนาแกนเหล็ก 18
รูปที่ 3.8 การเกิดสนามแม่เหล็ก 19
รูปที่ 3.9 วงจร INDUCTION HEATING ที่ออกแบบ 20
รูปที่ 4.1 ลักษณะตัวถังปั่นปุ๋ยของเครื่องย่อยเศษอาหารเหลือทิ้งให้เป็นปุ๋ย 22
รูปที่ 4.2 พันขดลวดที่ค่า16.3 µH 23
รูปที่ 4.3 การต่อวงจร Induction Heater 23
รูปที่ 4.4 การวัดค่าสัญญาณที่ความถี่ 10kHz 24
รูปที่ 4.5 เริ่มประกอบตัวถัง 24
รูปที่ 4.6 เตรียมเศษอาหารหรือผักผลไม้ 25
รูปที่ 4.7 เตรียมจุลินทรีย์ทชี่ ่วยการย่อยเศษอาหาร 25
รูปที่ 4.8 นาส่วนผสมเทลงในเครื่องย่อยเศษอาหาร 26
รูปที่ 4.9 เติมน้ายา EM ที่ผสมกับกากน้าตาลไว้ 26
รูปที่ 4.10 ส่วนผสมทีถ่ ูกมอเตอร์ตีเพื่อให้ส่วนผสมเข้ากันแล้ว 27
รูปที่ 4.11 อบส่วนผสมให้เข้ากัน 27
รูปที่ 4.12 ส่วนผสมทีถ่ ูกตีอีกครั้งเพื่อกลับส่วนผสม 28
รูปที่ 4.13 ปุ๋ยที่ได้จากการทดลอง 28
รูปที่ 4.14 กราฟแสดงความสัมพันธ์ของระยะเวลากับอุณหภูมิรอบที่ 1 33
รูปที่ 4.15 กราฟแสดงความสัมพันธ์ของระยะเวลากับอุณหภูมิรอบที่ 2 34

สารบัญตาราง
รายการ หน้า
ตารางที่ 2 ตารางการดาเนินงาน 2
ตารางที่ 2 บันทึกการทางานเครื่องย่อยเศษอาหารเหลือทิ้งให้เป็นปุ๋ย รอบที่ 1 29
ตารางที่ 2 บันทึกการทางานเครื่องย่อยเศษอาหารเหลือทิ้งให้เป็นปุ๋ย รอบที่ 2 31
1

บทที่ 1
บทนำ

1.1 ที่มำและควำมสำคัญของปัญหำ
ในปัจจุบันเศษอาหารถือเป็นปัญหาหนึ่ง ทีน่ ิยมที่พบมากในประเทศไทย โดยการที่จะกาจัดขยะเศษ
อาหารนั้น ต้องมีความรู้ในการกาจัดขยะเศษอาหาร เนื่องจากการกาจัดขยะที่ผิดวิธีอาจก่อให้เกิดผลเสียกับ
สิ่งแวดล้อมได้ การกาจัดขยะเศษอาหารที่ผิดวิธีถือเป็นปัจจัยหนึ่งที่มีผลมาก ถ้ากาจัดเศษอาหารที่ผิดวิธี อาจ
ทาให้เกิดการปนเปื้อนของเศษอาหารลงสู่ดิน หรือการกาจัดด้วยการนาทิ้งลงแหล่งน้าก็อาจจะเกิดผลเสียต่อ
ระบบนิเวศทางน้าได้ และถ้าเศษอาหารมีมากเกินไป หรือล้นบริเวณที่ที่กาหนดให้มีไว้เพื่อกาจัดเศษอาหาร ก็
อาจจะส่งผลเสียต่อมนุษย์ที่อาศัยอยู่บริเวณนั้น การกาจัดเศษอาหารด้วยกระบวนการนาไปรีไซเคิลด้วยการมา
ทาเป็นปุ๋ยนั้น ส่งผลทาให้ดนิ ที่เกิดความเสื่อมโทรมอยู่มสี ภาพดินที่ดีขนึ้ ได้ จึงเป็นทางเลือกที่ดีที่สุด แม้ว่าเศษ
อาหารจะเป็นขยะชนิดหนึ่งที่ส่งผลกระทบกับสิ่งแวดล้อมไม่มากนักถ้าเทียบกับขยะชนิดอื่นๆ แต่การกาจัด
ขยะเศษอาหาร ไม่ถูกวิธีก็อาจจะเป็นปัญหาใหญ่ในอนาคต ตลอดจนในปัจจุบันการกาจัดขยะเศษอาหารก็ยังมี
เศษอาหารตกค้างที่รอการกาจัดอีกจานวนมาก
คณะผู้จัดทาโครงงานจึงได้คิดที่จะพัฒนาเครื่องย่อยเศษอาหารเหลือทิ้งให้เป็นปุ๋ยสาหรับ โรงอาหาร
และครัวเรือน เพื่อเป็นการสร้างทางเลือกสาหรับการกาจัดเศษอาหารอีกหนึ่งทาง โดยการรีไซเคิลขยะเศษ
อาหารให้มีประโยชน์อีกครั้ง ด้วยการนามาย่อยสลายเพื่อทาเป็นปุ๋ยไว้ใช้ในโรงอาหารและครัวเรือน เพื่อ
ช่วยกันลดปัญหาเศษอาหารที่เหลือทิ้งและรอการกาจัดจานวนมาก ให้มีประโยชน์อีกหนึ่งทาง
1.2 วัตถุประสงค์
1.2.1เพื่อช่วยลดการเกิดปัญหาขยะเศษอาหารเหลือตกค้าง
1.2.2.เพื่อศึกษาการรีไซเคิลเศษอาหารโดยการนามาทาเป็นปุ๋ย
1.3 ขอบเขตกำรดำเนินงำน
1.3.1.ศึกษาการสร้างเครื่องย่อยเศษอาหารเหลือทิ้งให้เป็นปุ๋ยสาหรับครัวเรือน
1.3.2.ศึกษาการใช้งานและการทางานของมอเตอร์ไฟฟ้า 1 เฟส
1.3.3.ศึกษาข้อมูลเกีย่ วกับปัจจัยต่างๆ ที่มีผลต่อการย่อยสลายของเศษอาหาร
1.4 ขั้นตอนกำรดำเนินงำน
1.4.1.ศึกษา ค้นคว้าหาข้อมูล
1.4.2.เขียนโครงการและเสนอโครงการกับอาจารย์ที่ปรึกษา
1.4.3.หาซื้ออุปกรณ์ที่จาเป็นต้องใช้ในโครงงานนี้
1.4.4.ออกแบบวงจรและศึกษาหาความรู้เรื่องการทาปุ๋ย
1.4.5.ศึกษาการใช้งานและการทางานของมอเตอร์ไฟฟ้า 1 เฟส
1.4.6.ศึกษากระบวนการของการเกิดปุ๋ยที่ทามาจากเศษอาหาร
1.4.7.ศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับปัจจัยต่างๆ ที่มีผลต่อกระบวนการย่อยสละของเศษอาหาร
1.4.8.สร้างอุปกรณ์และนาไปทดสอบ
1.4.9.สรุปผลการทดลองและเขียนรายงาน
1.4.10.นาเสนอโครงงาน
2

1.5 ตำรำงกำรดำเนินงำน
ตารางที่ 1.5.1 ตารางการดาเนินงาน

พ.ศ. 2561 พ.ศ.2562

ขั้นตอนการดาเนินงาน พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค.


1 2 3 4 12 34 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 4
1.ศึกษา ค้นคว้าหาข้อมูล
2.เขียนโครงการและเสนอโครงการ
กับอาจารย์ที่ปรึกษา
3.หาซื้ออุปกรณ์ที่จาเป็นต้องใช้ใน
โครงงานนี้
4.ออกแบบวงจรและศึกษาหาความรู้
เรื่องการทาปุ๋ย
5.ศึกษาการใช้งานและการทางาน
ของมอเตอร์ไฟฟ้า 1 เฟส
6.ศึกษากระบวนการของการเกิดปุ๋ย
ที่ทามาจากเศษอาหาร
7..ศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับปัจจัยต่างๆ
ที่มีผลต่อกระบวนการย่อยสละของ
เศษอาหาร
8.สร้างอุปกรณ์และนาไปทดสอบ
9.สรุปผลการทดลองและเขียน
รายงาน
10.นาเสนอโครงงาน
3

1.6 ผลที่คำดว่ำจะได้รับ
1.6.1.สามารถนาความรู้ทางทฤษฎีที่ได้เรียนมาประยุกต์ใช้ในทางปฏิบัติได้
1.6.2.ระบบที่ออกแบบสามารถทาให้เศษอาหารและส่วนผสมทีใ่ ส่ในการทาปุ๋ยเกิดปฏิกิริยาเร็วขึ้น
1.6.3. ช่วยลดมลภาวะของสิ่งแวดล้อมลง
1.6.4.ได้ศึกษาการสร้าง วงจร Induction Heater
1.6.5.รู้จักการทางานร่วมกับผู้อื่น และสามารถทางานเป็นทีมได้
1.6.6 ทราบถึงวิธีการทาปุ๋ยหมักชีวภาพจากวัสดุที่เหลือจากเศษอาหารเหลือทิ้ง

1.7 ส่วนประกอบของรำยงำน
1.7.1เนื้อหาบทที่ 1 บทนา เกี่ยวกับเหตุผลที่จัดทาโครงงานนี้ขึ้นมา
1.7.2เนื้อหาบทที่ 2 ทฤษฎีและหลักการ เกีย่ วกับกระบวนที่การเกีย่ วกับปุ๋ยและหลักการของวงจร
Induction Heater
1.7.3เนื้อหาบทที่ 3 การออกแบบและวิธีดาเนินการทดสอบ
1.7.4เนื้อหาบทที่ 4 ผลการทดสอบและวิเคราะห์ผล
1.7.5เนื้อหาบทที่ 5 บทสรุปและข้อเสนอแนะ
4

บทที่ 2
ทฤษฎีและหลักกำรที่เกี่ยวข้อง

2.1 บทนำ
เศษอาหารที่เหลือทิ้งจากครัวเรือน จากอาหารที่เหลือจากการรับประทานเป็นขยะที่เน่าเสีย
ส่งกลิ่นเน่าเหม็น และเป็นทีส่ ะสมของเชื้อ โดยเศษอาหารเกิดขึ้นในจานวน 1 ต่อ 3 เมื่อเปรียบเทียบ
กับปริมาณของขยะทุกประเภทรวมกัน ซึ่งการกาจัดเศษอาหารในไทยไม่สามารถกาจัดขยะเศษอาหาร
ได้เกิน 70% ของจานวนขยะเศษอาหารทั้งหมดโดยเศษอาหารนั้นที่มีวิธีกาจัดหลากหลายวิธี ซึ่ง
สามารถแบ่งเป็น 4 กลุ่มใหญ่คือ 1.การฝังกลบ เป็นวิธีที่ง่ายแต่เป็นวิธีที่ควรหลีกเลี่ยงมากที่สุดเพราะ
การฝังกลบเศษอาหารอาจจะทาให้เกิดก๊าซมีเทนซึ่งก่อให้เกิดสภาวะเรือนกระจกได้ 2.การบด-อบขยะ
เป็นเป็นวิธีที่พบมากในต่างประเทศ ซึ่งเป็นวิธีที่ช่วยลดกลิ่น และการเพาะเชื้อโรคได้ดีในระดับต้นของ
การกาจัดขยะเศษอาหารเลยทีเดียว แต่เป็นวิธีที่กาจัดได้ทีละน้อยๆ 3.การนามาหมักทาเป็นก๊าซหุง
ต้ม เป็นวิธีที่ทาแล้วมีประโยชน์ แต่อาจจะต้องใช้เวลานานกว่าเศษอาหารจะย่อยและนาก๊าซมาใช้ได้
4. การนาเศษอาหารมาหมักเป็นปุ๋ย เป็นวิธีที่คนตามต่างจังหวัดมักนิยมใช้เนื่องจากมีพืชไร่พืชส่วนที่
ต้องใช้ปุ๋ยจานวนมาก
โดยทั้งหมดที่กล่าวมานั้นก็เป็นเพียงหัวข้อใหญ่ๆ แต่การกาจัดขยะเศษอาหารจริงๆแล้วก็ยังมี
วิธีอีกหลายวิธีที่ผู้คนเลือกใช้ตามความต้องการและความสะดวกของบุคลนั้นๆ

2.2 กำรกำจัดเศษอำหำร
เศษอาหาร ตามพจนานุกรมให้คานิยามไว้ว่า เศษอาหารคืออาหารที่เหลือหรือไม่ต้องการแล้ว
และเศษอาหารถูกจัดอยู่ในประเภทของขยะเปียกไม่ใช่ขยะทั่วไปเพราะ ขยะเปียกคือขยะที่ย่อยสลาย
ง่าย มีความชื้น มีกลิ่น และเน่าเสียได้ง่าย เช่น เปือกผลไม้ เปลือกไข่ และเศษอาหารต่างๆ แต่ขยะ
ทั่วไปคือสิ่งของที่ไม่น่าเสีย
ซึ่งเศษอาหารเกิดขึ้นจากการประกอบอาหารและการรับประทานอาหาร โดยที่เราสามารถ
แบ่งออกได้เป็น 3 ประเภทคือ
1. เศษอาหารที่ยังไม่ผ่านการทาอาหาร(Procurement waste)
2.เศษอาหารที่เกิดขึ้นระหว่างการเตรียมอาหาร (Preparation waste)
3.เศษอาหารที่เหลือจากการรับประทาน (Plate waste)
5

2.3 วิธีกำรกำจัดขยะเศษอำหำร
2.3.1. กำรฝังกลบอย่ำงถูกหลักสุขภิบำล
การฝังกลบอย่างถูกหลักสุขภิบาล จะต้องเป็นการกาจัดเศษอาหารด้วยการฝังกลบ
แบบที่ไม่ส่งผลเสียต่อสภาพแวดล้อม รวมทัง้ เหตุราคาญอื่นๆ เช่น กลิ่นเหม็น ควัน ฝุ่นละออง เป็นต้น
ซึ่งจะต้องควบคุมให้อยู่ภายในขอบเขตจากัด ไม่ทาให้เกิดการเสื่อมเสียแก่ทัศนียภาพของพื้นที่และ
บริเวณใกล้เคียง โดยมีมาตรการควบคุมที่แบ่งออกได้ 5 ประเภทคือ
1) ต้องควบคุมไม่ให้มีการนาของเสียอันตรายมากาจัดรวมกับขยะมูลฝอยทั่วไป
2) ต้องควบคุมให้ขยะที่ฝังกลบถูกกาจัดอยู่เฉพาะภายในขอบเขตที่กาหนดไว้
3) ต้องกาจัดน้าเสียจากกองขยะอย่างถูกต้อง
4) ต้องตรวจสอบอย่างสม่าเสมอ
5) ต้องคานึงถึงทัศนียภาพของพื้นที่และบริเวณใกล้เคียง
วิธีการฝังกลบขยะมูลฝอย อาจแบ่งออกได้เป็น 2 แบบ คือ
 แบบกลบบนพื้นที่ เป็นการฝังกลบขยะมูลฝอยในพื้นที่ที่เป็นหลุม
เป็นบ่อ
 แบบขุดเป็นร่อง เป็นการกาจัดขยะมูลฝอยแบบฝังกลบในพื้นที่
ราบ
ประโยชน์: การกาจัดขยะด้วยวิธกี ารฝังกลบอย่างถูกหลักสุขภิบาล เป็นวิธีที่
ประหยัดที่สุดและสามารถใช้ได้ทั้งในระยะสั้นและระยะยาว

รูปที่2.1 ภาพแสดงประเภทของการฝังกลบอย่างถูกหลักสุขภิบาล
[ที่มา: http://www2.diw.go.th/I_Standard/Web/pane_files/Industry20.asp]
6

2.3.2. กำรบด-อบขยะ
การบด-อบขยะ เรียกอีกอย่างหนึ่งว่า การเผาขยะในเตาอบ การเผาไหม้จะต้องมี
การควบคุมที่ดีเพื่อจะป้องกันไม่ให้เกิดมลพิษและการรบกวน ต่อสิ่งแวดล้อม เช่น ก๊าซพิษ เขม่า กลิ่น
เป็นต้น
แต่ก่อนทาการเผาต้องมีระบบเพื่อการลดขนาด การบดตัด และการคัดแยก หรือในบางครั้ง
อาจมีระบบการผลิตเชื้อเพลิงจากขยะ (Refuse-Derived Fuel : RDF) ซึ่งทาให้มีความยุ่งยากในการ
ปฏิบัติงานมากขึ้น ดังนั้นระบบดังกล่าวจึงมีการใช้งานอยู่ในวงจากัด
ประโยชน์: ไม่ต้องการการคัดแยกหรือบดตัดขยะก่อน และ เป็นเทคโนโลยีที่
มีใช้กันอย่างแพร่หลายและได้รับการทดสอบแล้วสาหรับการเผา

รูปที่ 2.2 เตาเผาชนิดควบคุมการเผาไหม้


[ที่มา: http://webkc.dede.go.th/testmax/node/2245]
7

2.3.3. กำรนำมำหมักทำเป็นก๊ำซหุงต้ม
การผลิตก๊าซชีวภาพจากขยะเศษอาหารสามารถทาได้โดยการย่อยสลายในถังหมัก
แบบต่อเนื่องสองขั้นตอนภายใต้สภาวะไร้ออกซิเจน
โดยกระบวนการย่อยสลายอินทรีย์สารมีด้วยกัน 2 ขั้นตอนคือ
ขั้นที่ 1 การสลายสารโมเลกุลใหญ่ (Hydrolysis) ในขยะหรือเศษอาหารจะ
ประกอบไปด้วยสารที่มีโมเลกุลขนาดโมเลกุลใหญ่ เช่น โปรตีน คาร์โบไฮเดรท และไขมัน จะถูกย่อย
สลายโดยเอนไซม์ทาให้แตกตัวมีขนาดโมเลกุลเล็กลงเสียก่อน
ขั้นที่ 2 การผลิตกรดอินทรีย์ (Acidogenesis)
เมื่อสารอินทรีย์ถูกเปลี่ยนให้มีโมเลกุลเล็กลงจากขั้นตอนที่ 1 แล้ว ต่อมาก็จะถูกเปลี่ยนไปเป็น กรด
อินทรีย์ที่ระเหยง่ายและสารอื่นๆ โดยจุลลินทรีย์พวกทีส่ ร้างกรด
ขั้นที่ 3 การผลิตแก๊สมีเธน (Methanogenesis)
จากกรดอินทรีย์ระเหยง่ายในขั้นตอนที่ 2 จะถูกย่อยสลายโดยจุลลินทรียพ์ วกที่สร้างแก๊ส และทาให้
เกิดเป็น แก๊สมีเทน (CH4) และคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) เป็นส่วนใหญ่ อาจจะมีแก๊ส
ไฮโดรเจนซัลไฟด์ (H2S) ไนโตรเจน (N2) และไฮโดรเจน (H2) และไอน้าผสมอยู่ด้วย ซึ่งทั้งหมด
รวมกันเรียกว่า “แก๊สชีวภาพ” หรือ “BIOGAS”

รูปที่ 2.3 การทาถังหมักแก๊สชีวภาพ


[ที่มา: http://www.greenenergynet.net/th/food-waste-biogas-system/]
8

2.3.4 กำรนำเศษอำหำรมำหมักเป็นปุ๋ย
หลักการทาปุย๋ แบบง่ายๆ คือ อาศัยการย่อยสลายเศษอาหารที่เกิดจากจุลินทรีย์
โดยองค์ประกอบในการทาปุ๋ยหมักจากเศษอาหาร ประกอบด้วย 3 ส่วนคือ
1.เศษอำหำร เป็นเศษอาหารที่เหลือจากการบริโภคในครัวเรือน หรือของเสียจาก
ร้านอาหาร โรงอาหาร โรงครัว เช่น เศษข้าว เปลือกผลไม้ เปลือกไข่ กระดาษชาระ ก้างปลา เศษหมู
ขนมปัง เศษอาหารที่มีขนาดใหญ่ควรสับให้มีขนาดเล็กลงเสียก่อน เศษอาหารที่ใช้เฉพาะในส่วนที่เป็น
กากและควรแยกน้าที่อยู่ในเศษอาหารออกก่อน
2.จุลินทรีย์ ต้องเป็นจุลินทรีย์ประเภทที่ใช้ออกซิเจน เนื่องจากจุลินทรีย์ประเภทนี้จะ
ไม่ส่งกลิ่นเหม็น ไม่ก่อให้เกิดน้าเสีย จุลินทรียท์ ี่หาได้ง่ายและมีความเหมาะสมมีอยู่ในมูลสัตว์ทุกชนิด
เช่น มูลโค มูลไก่ มูลม้า มีจานวนจุลินทรียม์ าก หลายประเภท ช่วยให้กระบวนการย่อยสลายของเศษ
อาหารกลายเป็นปุ๋ยหมักเร็วขึ้น มีธาตุไนโตรเจนที่มีความจาเป็นสาหรับการเจริญเติบโตและสร้างเซลล์
ของจุลินทรีย์ด้วย
3.ใบไม้ เศษของใบไม้จะช่วยให้เศษอาหารมีความโปร่งพรุน ไม่อัดแน่นเกินไป มีธาตุ
คาร์บอนที่มีความจาเป็นต่อการเจริญเติบโตและสร้างเซลล์ของจุลินทรีย์

รูปที่ 2.4 การนาเศษอาหารมาทาปุ๋ย


ที่มา: http://www.environnet.in.th/archives/3291]
9

2.4 หลักกำรของกำรเกิดปุ๋ย
ปุ๋ย หมายถึง สารอาหารที่ใส่เพิ่มเติมลงในดินที่พืชและต้นไม้ต้องการเพื่อให้การเจริญเติบโตมี
ประสิทธิภาพที่ดีขึ้น โดยในปุ๋ยสามารถแบ่งออกเป็นประเภทใหญ่ได้ 2 ประเภท คือ
2.4.1. ปุ๋ยอินทรีย์
คือปุ๋ยที่ได้มาจากการเน่าเปื่อย หรือการทาปฏิกิริยาของกลุ่มจุลินทรีย์ทใี่ ช้ออกซิเจนกับ
อินทรียวัตถุจนได้สารอาหารที่มีประโยชน์ตอ่ พืช ซึ่งสาหรับปุ๋ยอินทรีย์ก็สามารถแบ่งออกได้เป็นอีก
หลายชนิดย่อยๆลงไปอีก เช่น ปุ๋ยหมัก ปุย๋ คอก ปุ๋ยพืชสด และปุ๋ยชีวภาพ เป็นต้น
2.4.1.1 ปุ๋ยอินทรีย์มีแร่ธาตุไนโตรเจน ฟอสฟอรัส โพแทสเซียม และธาตุอาหารรอง รวมถึง
จุลชีพที่พอเพียงหรือพอเพียงต่อความต้องการของพืช
2.4.1.2 การใช้ปุ๋ยอินทรียห์ ากใช้ในระยะยาว ผลผลิตพืชจะเพิ่มขึ้นมาก เนื่องจากปุ๋ยอินทรีย์
ทาให้คุณสมบัติของดินดินดีขึ้นเรื่อยๆ
2.4.1.3 ปุ๋ยอินทรีย์ช่วยให้ความเป็นกรด-ด่างของดินมีความเหมาะสมต่อการเติบโตของพืช
รวมถึงช่วยในการดูดยึดธาตุอาหารไว้ในดินได้มากขึ้น
2.4.1.4 ช่วยให้อนุภาคของดินจับตัวกันเป็นก้อนหรือเม็ดดินได้ดี เนื้อดินไม่อัดตัวกันแน่น มี
ความร่วนซุย การถ่ายเทอากาศ การอุ้มน้า และการไหลซึมของน้าในดินดีขึ้น
2.4.1.5 ช่วยให้จุลินทรีย์ที่มปี ระโยชน์ในดินสามารถเจริญเติบโตได้ดี เนื่องจากอินทรียวัตถุ
สามารถเอื้อประโยชน์ และสร้างสภาวะที่เหมาะสมต่อการเจริญเติบโต
2.4.1.6. ช่วยเพิ่มความสามารถในการย่อยสลายอินทรียวัตถุในดินให้ดีขนึ้ จากปริมาณ
จุลินทรีย์ในดินที่เพิ่มขึ้น
2.4.1.7. เป็นปุ๋ยที่สามารถหาได้ง่าย และทาขึ้นได้ง่าย ไม่ยุ่งยากซับซ้อน รวมถึงวัตถุดิบที่ใช้มี
ราคาถูกสามารถใช้วัตถุดิบทั่วไปตามท้องถิ่น
2.4.2. ปุ๋ยเคมีหรือปุ๋ยวิทยำศำสตร์
คือ ปุ๋ยที่ได้จากสิ่งที่ไม่มีชีวิต เช่นแร่ธาตุ หรือสารที่สังเคราะห์ขึ้นมาซึ่งปุ๋ยเคมีมีสารอาหารที่
พืชต้องการมากกว่าปุ๋ยอินทรีย์ จึงทาให้ในปัจจุบันปุ๋ยเคมีจึงได้รับความนิยมมากกว่าปุ๋ยอินทรีย์
ซึ่งจากการทาเครื่องย่อยเศษอาหารเหลือทิ้งให้เป็นปุ๋ยนี้เป็นการทาปุ๋ยชนิดอินทรีย์
ที่ใช้ย่อยสลายให้เศษอาหารเป็นปุ๋ยโดยอาศัยจุลินทรีย์ที่ใส่เข้าไป รวมถึงความร้อนที่มาจากวงจร
Induction Heaterกระตุ้นให้เครื่องทางานให้ส่วนผสมทีใ่ ส่เข้าไปเป็นปุ๋ยได้เร็วขึ้น
10

2.5 หลักกำรของกำรย่อยสลำยด้วยจุลินทรีย์
จุลินทรีย์ ที่ย่อยสลายวัตถุอินทรีย์และเหมาะกับการใส่ในกองปุ๋ยหมักมี 2 ประเภท
- แบคทีเรียชนิดเมโซฟิลิก (mesophilic bacteria) ซึ่งจะเจริญเติบโตได้ดี
ที่ อุณหภูมิ 10 องศาเซลเซียสถึง 45 องศาเซลเซียส
- แบคทีเรียชนิดเทอโมฟิลิก (thermophilic bacteria) ซึ่งเจริญเติบโตได้
ดีที่ อุณหภูมิระหว่าง 45องศาเซลเซียส ถึง 70องศาเซลเซียส
2.5.1 ปัจจัยที่มีผลต่อกำรย่อยสลำยของจุลินทรีย์
1.อุณหภูมแิ บ่งช่วงอุณหภูมิในกำรเจริญเติบโตของจุลินทรีย์ออกเป็นอีก 3 ช่วง
- ที่มากกว่า 55 องศาเซลเซียส จะช่วยทาลายเมล็ดวัชพืชและโรคที่มาจาก พืชได้ดี
- ที่น้อยกว่าหรือเท่ากับ 69 องศาเซลเซียส เป็นอุณหภูมิที่เหมาะสมกับการ เร่งการ
ย่อยสลายได้ดีเป็นสองเท่าของความเร็วที่ย่อยสลาย ณ 55 องศาเซลเซียส
-ที่มากกว่า 69 องศาเซลเซียส เป็นช่วงเวลาที่ไม่เหมาะสมต่อการเจริญเติบโตของ
จุลินทรีย์ เพราะที่อุณหภูมินี้ ทาให้จุลินทรียถ์ ูกทาลาย
2.กำรเติมอำกำศ
ในการเจริญเติบโตของจุลินทรีย์ออกซิเจนเป็นสิ่งหนึ่งที่สาคัญ เพราะ
จุลินทรีย์ต้องนาออกซิเจนไปช่วยในการย่อยสลาย ถ้าเทียบกับการย่อยสลายที่ไม่ใช้ออกซิเจนจะทาให้
การย่อยสลายช้าและมีกลิ่นเหม็นพร้อมทั้งใช้เวลาย่อยสลายนานกว่าแบบที่ใช้ออกซิเจน 3-4 เท่า
3.ควำมชื้น
ในการทาปุ๋ยหมักควรมีความชื้นอยู่ที่ 40-70 เปอร์เซ็นต์ เพราะถ้ากองปุ๋ย
แห้งเกินไปปุ๋ยที่ได้จะไม่มีประสิทธิภาพเพราะจุลินทรีย์จะไม่เกิดการเจริญเติบโต แต่ถ้ากองปุ๋ยที่มีน้า
มาก การหมักปุ๋ยจะเป็นการหมักปุ๋ยที่ไม่ใช้อากาศไปโดยปริยาย

2.6 หลักกำรพื้นฐำนกำรให้ ค วำมร้ อ นด้ ว ยกำรเหนี่ ย วนำ


การให้ความร้อนแบบเหนี่ยวนาจะเกิดขึ้นได้ต้องจ่ายกระแสไฟฟ้า
กระแสสลับผ่านไปที่ขดลวด เมื่อมีกระแสไฟฟ้าผ่านเขามาในขดลวดจะเกิดพลังงานสนามแม่เหล็ก
ไฟฟ้า เมื่อใส่โลหะเข้าไปในสนามแม่เหล็กนีจ้ ะเกิดแรงเคลื่อนไฟฟ้าเหนี่ยวนาทาให้เกิดการไหลของ
กระแสไฟฟ้าในชิ้นโลหะในทิศทางตรงกันข้ามกับทิศทางของกระแสที่ไหลผ่านขดลวดทาให้เกิดความ
ร้อนขึ้นในชิน้ โลหะ
2.6.1 กำรหำค่ ำ ควำมเหนี่ ย วนำ
กำรหำค่ำควำมเหนี่ยวนำประกอบไปด้วย
1.จานวนรอบของขดลวด (N) ถ้าจานวนรอบของขดลวดมีปริมาณมาก ก็จะ
ทาให้ เกิดค่าความเหนี่ยวนามากขึ้นตามไปด้วย ค่าความเหนี่ยวนาจะแปรผันตรงกับจานวนรอบของ
ขดลวด
2.พื้นที่หน้าตัดของแกน (A) ถ้าพื้นที่ของแกนมีปริมาณมาก ก็จะทาให้เกิด
ค่าความเหนี่ยวนามากขึ้นตามไปด้วย ค่าความเหนี่ยวนาจะแปรผันตรงกับพื้นที่ของแกน
3.ความยาวของแกน (l) ถ้าความยาวของแกนมีปริมาณมาก ก็จะทาให้เกิด
ค่าความเหนี่ยวนาน้อย ค่าความเหนี่ยวนาจะแปรผกผันกับความยาวของแกน
11

4.วัสดุที่นามาเป็นแกน วัสดุที่นามาทาเป็นแกนมีหลายชนิดเช่น อากาศ,


เหล็ก, เฟอร์ไรท์, โคบอล ฯลฯ เป็นต้น แต่ละชนิดจะมีคุณสมบัติในการเพิ่มความเข้มสนามแม่เหล็ก ที่
เรียกว่าความซาบซึม (Permeability) แตกต่างกัน
จากปัจจัยทั้ง 4 ประการจึงสามารถหาสัมพันธ์ของค่าความเหนี่ยวนาได้จากสมการ

N2 ×µ×A
L = (2.1)
𝑙

L = ค่าความเหนี่ยวนา (H)
µ = ค่าความซาบซึมได้ของชนิดของแกน
N = จานวนรอบของขดลวด
A = พื้นที่หน้าตัดของแกนที่พันขดลวด (m²)
l = ความยาวของแกนที่พันขดลวด (m)

2.6.2 กำรคำนวณหำควำมสั ม พั น ธ์ ภ ำยในวงจร Induction Heater


ค่าความถี่เรโซแนนซ์ (Resonance)
จากวงจร Induction Heater ค่าทีใ่ ช้มีดังนี้

L = 16.3 µH ค่าจากการวัดในวงจร
C= 4 µF ค่าของตัวเก็บประจุทั้งหมด

1
จากสูตร 2𝜋 𝑓0 =
√𝐿𝐶
(2.2)
1
จากสมการที่ 2.2 จะได้ 𝑓0 =
2𝜋√𝐿𝐶
(2.3)

เพื่อต้องการทราบค่าความสัมพันธ์ภายในวงจร Induction Heater


จากสมการที่ (2.3) จะได้
1
𝑓0 =
2𝜋√𝐿𝐶

แทนค่า
1
𝑓0 =
2𝜋 √16.3 µH × 4 µF

𝑓0 = 19.71 kHz
12

2.7 หลั ก กำรกำรใช้ เ ครื่ อ งมื อ วั ด


ในการทางานของเครื่องย่อยเศษอาหารเหลือทิ้งให้เป็นปุ๋ยนั้นต้องอาศัยเครื่องมือวัดในการ
ทางานด้วยเนื่องจากจะต้องควบคุมความร้อน และเช็คความสมมาตรของวงจรด้วย ซึ่งเครื่องมือวัดที่
ใช้ในการทดลองคือ
2.7.1 เครื่องวัดค่ำควำมเหนีย่ วนำ Keysight Technologies รุ่น U1733C
เครื่องวัดค่าความเหนี่ยวนา เป็นเครื่องวัดคลื่นวิทยุ วัตถุประสงค์หลักคือการกาหนดค่าพารามิเตอร์
ของการรับหรือความต้านทานของวงจรไฟฟ้า
หลักการทางานมีการใช้งานที่เกี่ยวข้องกับอุปกรณ์วิทยุจาเป็นต้องได้รับความรู้
พื้นฐานเกี่ยวกับการทางานของเครื่องวัด RLC หรือมิเตอร์วัดการรับรู้ ความจริงก็คืออุปกรณ์เหล่านี้ใช้
กันอย่างแพร่หลายในห้องปฏิบัติการในร้านซ่อมและในโรงงานซึ่งสามารถนามาใช้เพื่อหาข้อมูล
เกี่ยวกับการนาไฟฟ้าที่ซับซ้อนของวงจรและความต้านทานของพวกเขา บ่อยครั้งที่มีการใช้เครื่องวัด
RLC เพื่อทดสอบแหล่งจ่ายไฟ AC

รูปที่ 2.5 การทางานเครื่องวัดค่าความเหนี่ยวนา


13

2.7.2 หลักกำรใช้งำนเซนเซอร์วัดอุณหภูมิ
การใช้เซนเซอร์วดั ความร้อนในการทดลอง เพื่อสะดวกต่อการวัดอุณหภูมิ
ภายในเครื่องขณะทางาน การที่เราเลือกใช้เซนเซอร์ตัวนี้ทาให้เราสามารถควบคุมความร้อนได้ง่ายขึ้น
เพราะเราทราบความร้อนจากตัวเซนเซอร์นี้เอง
เซ็นเซอร์เพื่อการรับรู้หรือตรวจจับระดับอุณหภูมิ เป็นเซ็นเซอร์อีกหนึง่ ชนิดที่
สามารถนามาประยุกต์ใช้ในอุตสาหกรรมการผลิตต่างๆ ทั้งในงานอุตสาหกรรม, เกษตรกรรม, อาหาร
และและเครื่องดื่ม,ยารักษาโรคและอีกมากมาย
ประเภทของ Temperature Sensor นั้นที่เราพบเห็นอยู่จะจัดอยู่เป็น 2 หมวด
ใหญ่ตามหลักการใช้งานที่แตกต่างกัน ดังนี้
1.Contact คือ เป็นแบบที่ใช้ในการสัมผัสของตัวเซ็นเซอร์เพื่อวัด
อุณหภูมิ เช่น เซ็นเซอร์ที่วัดอุณหภูมิเครื่องปรับอากาศ, เครื่องฟักไข่, เตาอบ
2.Non-contact คือ เป็นแบบที่ใช้หลักการของอินฟาเรดโดยไม่
สัมผัสกับวัตถุที่จะวัดอุณหภูมิ เช่น เครื่องวัดอุณหภูมิอินฟาเรดแบบปืนที่ใช้วัดไข้
และตัวร้อน ของทางการแพทย์

รูปที่ 2.6เครือ่ งมือวัดความร้อนชนิดContact


[ที่มา: http://arduino2u.lnwshop.com/product/51/digital-thermostat-temperature-
control-switch]
14

2.7.3 เครื่องวัดอุณหภูมิอินฟรำเรด (Infrared Thermometer)


ตัวตรวจจับรังสีอินฟราเรดทาหน้าที่รับรังสีอินฟราเรด ที่แผ่ออกจากวัตถุ
เป้าหมาย ผ่านเลนส์ของเครื่องมือวัด แล้วแปลงรังสีอินฟราเรดเหล่านี้ให้อยู่ในรูปของสัญญาณทาง
ไฟฟ้า โดยรังสีอินฟราเรดที่ตัวตรวจจับรับไปนั้นประกอบด้วยรังสีที่วัตถุเป้าหมายแผ่ ออกมารวมกับ
รังสีที่แผ่จากวัตถุอื่นหรือจากสิ่งแวดล้อมสะท้อนออกจากผิวของ วัตถุเป้าหมาย จากนั้นวงจร
อิเล็กทรอนิกส์จะทาหน้าที่แปลงข้อมูลที่รับมาจากตัวตรวจจับและนา ไปแสดงที่ตัวแสดงผล

รูปที่ 2.7 เครื่องวัดอุณหภูมิอินฟราเรด


[ที่มา: https://www.ponpe.com/infrared-thermometer/gm550-detail.html]
15

บทที่ 3
หลักกำรทำงำนและกำรออกแบบระบบ
3.1 บทนำ
ในบทที่ผ่านมาจะกล่าวถึงวิธีการได้มาของข้อมูลและการแสดงคานวณค่าอุปกรณ์
อิเล็กทรอนิกส์ของวงจรสร้างความร้อน ซึ่งทาให้ผู้ใช้งานสามารถนาข้อมูลที่ได้มาไปแก้ไขปัญหาหรือ
สามารถประยุกต์ใช้กับการใช้งานอื่นๆตามที่ต้องการ ทั้งนี้การทาเครื่องย่อยเศษอาหารนี้ออกแบบมา
ให้คนใช้งานสามารถสามารถผสมปุ๋ยตามสูตรที่ต้องการได้เนื่องจากการทาเครื่องย่อยเศษอาหารเหลือ
ทิ้งให้เป็นปุ๋ยไม่ได้สร้างมาเผื่อใช้งานสาหรับปุ๋ยสูตรใดสูตรหนึ่งอยู่แล้ว จึงสะดวกต่อการทาปุ๋ยจาก
เศษอาหารแบบไม่จากัดการทางานของสูตรปุ๋ยที่ต้องการทา

3.2 หลักกำรทำงำนเครื่องย่อยเศษอำหำรเหลือทิ้งให้เป็นปุ๋ย
หลักการทางานของเครื่องย่อยเศษอาหารเหลือทิ้งให้เป็นปุ๋ยในแต่ละส่วนจะมีหน้าที่แตกต่าง
กันออกไป แต่จะเริ่มทางานพร้อมกัน โดยสามารถทาความเข้าใจได้ดังบล็อกไดอะแกรม ดังรูปที่ 3.1

จุลินทรี ย ์ อาหารเหลือทิ้ง บด/ย่อย เศษอาหารให้


ละเอียด

ย่อยสลายโดยการหมักเศษ
นาปุ๋ ยที่ได้ไปใช้
อาหารกับจุลินทรี ย ์
งาน

รูปที่ 3.1 บล็อกไดอะแกรมควบคุมการทางานของเครื่องย่อยเศษอาหารเหลือทิ้งให้เป็นปุ๋ย


16

3.3 กำรออกแบบเครื่องย่อยเศษอำหำรเหลือทิ้งให้เป็นปุ๋ย
ในการออกแบบเครื่องย่อยเศษอาหารเหลือทิ้งให้เป็นปุ๋ยมีส่วนสาคัญทั้งในการควบคุม
อุณหภูมิภายในเครื่องและการควบคุมเวลาให้การทางาน ให้มีสอดคล้องและพอเหมาะกับ
สภาพแวดล้อมของปุ๋ย โดยใช้วงจรสร้างความร้อน สร้างความร้อนให้กบั ตัวถังไปพร้อมๆกับการ
คลุกเคล้าส่วนผสมทั้งหมดให้เข้ากัน ถ้าค่าร้อนที่มีอยู่ภายในถัง เราสามารถที่จะตัดความร้อนได้
เพราะเนื่องจากปุ๋ยแต่ละสูตรต้องการความร้อนให้การกระตุ้นจุลินทรีย์ไม่เท่ากัน ส่วนระบบการหมุน
หรือการคลุกเคล้าส่วนผสมต้องใช้เวลาเท่าใดขึ้นอยู่กับความต้องการของเราสามารถเริ่มและหยุดการ
ทางานได้ตามเวลาที่กาหนด และสามารถควบคุมการเปิดปิดนาปุ๋ยเข้าออกมาด้วยมือได้ โดย
ส่วนประกอบของเครื่องย่อยเศษอาหารเหลือทิ้งให้เป็นปุ๋ยมีดังรูปที่ 3.2

รูปที่ 3.2 ตัวถังเครื่องย่อยเศษอาหารเหลือทิ้งให้เป็นปุ๋ย

การออกแบบถังใส่อุปกรณ์ภายในประกอบไปด้วย ไม้กวนส่วนผสมจึงต้องออกแบบให้มีขนาด
ที่พอดีกับการวางอุปกรณ์และการต่อสิ่งต่างๆเข้าด้วยกัน เพื่อให้การผสมส่วนผสมต่างๆเข้ากันได้ดี
ทาให้ไม่เสียเวลาในการผสมปุ๋ยนาน การออกแบบตัวเครื่อง ต้องออกแบบให้มีขนาดที่แข็งแรงมา
เพื่อที่เมื่อติดตั้งมอเตอร์กับสายพานโซ่ จะไม่ทาให้ตัวเครือ่ งเอียงหรือล้มได้เมื่อตอนเครื่องทางาน
17

3.4 กำรออกแบบวงจร Induction Heater


3.4.1 อุปกรณ์ในวงจร Induction Heater

รูปที่ 3.3 Power Supply 220v 20A

หน้าที่ของ Power Supply คือ แปลงไฟฟ้าจากระบบไฟฟ้าบ้านที่มีแรงไฟฟ้าที่เยอะ


เกินความต้องการของอุปกรณ์ของคอมพิวเตอร์ ให้ได้กระแสที่เราต้องการ เช่น ไฟฟ้าบ้านในไทยมี
ไฟฟ้าอยู่ที่ 220 โวลต์ แต่อุปกรณ์บางชนิดต้องการแค่ 3.3 โวลต์ 5 โวลต์ และ 12 โวลต์

รูปที่ 3.4 สายไฟ THW เบอร์ 4


[ที่มา: www.voltechshopping.com]
18

รูปที่ 3.5 ท่อเหล็กขนาด ½ ”


ท่อเหล็กขนาด ½ นามาใช้ในการสร้างความร้อนต่อจาก Induction Heater

รูปที่ 3.6 ตัวต้านทาน ตัวเก็บประจุ


ตัวต้านทาน ตัวเก็บประจุ เป็นส่วนประกอบหนึ่งที่อยู่ในวงจร Induction Heater
[ที่มา: https://commandronestore.com/products/br3132.php]

รูปที่ 3.7 ตัวเหนี่ยวนาแกนเหล็ก


ตัวเหนี่ยวนาแกนเหล็ก เป็นส่วนประกอบหนึ่งที่อยู่ในวงจร Induction Heater
[ที่มา: http://aod030639.myreadyweb.com/webboard/topic-452891.html]
19

3.4.2 กำรเหนี่ยวนำควำมร้อน (INDUCTION HEATING)


และความถี่ทใี่ ช้งาน อาทิเช่น การชุบแข็งทีผ่ ิวชิ้นงาน หากต้องการความลึกที่ผิวต่า
จึงต้องใช้ความถี่สูง ส่วนงานประเภทให้ความร้อนสาหรับการทุบขึ้นรูปจะต้องการความลึกทีผ่ ิว
ค่อนข้างสูง ความถี่ในการใช้งานจึงต่า เป็นต้น ยกตัวอย่างความถี่ที่เหมาะสมในการใช้งานได้ดังนี้คือ
-ใช้ความถี่ 50-60 Hz มีความถี่ค่อนข้างต่าทาให้ค่าความลึกผิวในการให้ความร้อนมี
ค่ามาก โดยค่าความลึกจะอยู่ที่ประมาณ 10-100 มิลลิเมตร นิยมใช้ในงานหลอมโลหะ
-ใช้ความถี่สูงประมาณ 500 Hz – 10 KHz ทาให้ได้ความลึกที่ผิวตั้งแต่ 1-10
มิลลิเมตร ใช้ในงานเตาหลอมโลหะ
-ใช้ความถี่ตั้งแต่ 500 Hz – 50 KHz ใช้ในงานที่มีลักษณะหลากหลาย เช่น งาน
หลอมโลหะ งานทุบขึ้นรูปโลหะ งานชุบแข็งผิว
-ใช้ความถี่ตั้งแต่ 500 KHz – 10 MHz สามารถใช้พวกมอสเฟตกาลัง ค่าความลึกที่
ผิวมีค่าประมาณ 0.1-2 มิลลิเมตรเหมาะสาหรับงานเชื่อมประสานและงานชุบแข็งผิว
สาหรับขดลวดเหนี่ยวนาจะทาด้วยตัวนาไฟฟ้า เช่น ทองแดง เมื่อมีกระแสไหลผ่าน
ตัวมันจะทาให้เกิดสนามแม่เหล็กขึ้น และทาให้เกิดการเหนี่ยวนาในชิ้นงานโลหะ สุดท้ายก็จะ
กลายเป็นพลังงานความร้อน ดังแสดงในรูปที3่ .8 ซึ่งการเกิดความร้อนเหนี่ยวนาจะแบ่งเป็น 2 ส่วน
หลักๆ คือ เกิดความร้อนจากกระแสไหลวนในชิ้นโลหะ และเกิดความร้อนจากความต้านทานของ
สนามแม่เหล็ก จะเกิดเฉพาะโลหะที่มีคุณสมบัติเป็นสารเท่านั้น

รูปที่ 3.8การเกิดสนามแม่เหล็ก
[ที่มา: วงจรอินดักชัน. ออนไลน์. HTTP://WWW.SEMI-JOURNAL.COM BY สันติสุข ผลอินทร์]
20

รูปที่ 3 .9 วงจร INDUCTION HEATING ที่ออกแบบ


[ที่มา: วงจรอินดักชัน. ออนไลน์. HTTP://WWW.SEMI-JOURNAL.COM bY สันติสุข ผลอินทร์]

3.5 กำรออกแบบระบบควบคุม
การออกแบบเครื่องย่อยเศษอาหารเหลือทิ้งให้เป็นปุ๋ย ส่วนสาคัญในการทดลองอยู่ที่ความ
ร้อน เพราะการทาปุ๋ยนั้นความร้อนเป็นสิ่งสาคัญอันดับต้นๆที่เราควบคานึงถึง เพราะถ้าความร้อนไม่
มีหรือมีไม่เพียงพอนั้นอาจจะทาให้ส่วนผสมที่เราใส่เข้าไปไม่ได้ประสิทธิภาพตามที่เราต้องการก็เป็นได้
ดังนั้นตัวเครื่องย่อยเศษอาหารเหลือทิ้งให้เป็นปุ๋ย เราจึงสร้างระบบควบคุมกึ่งอัตโนมัติ เนื่องจาก
ความร้อนที่เราทาสามารถปิด-เปิดเองด้วยมือได้ แต่ตัวมอเตอร์ไฟฟ้านั้นทางานโดยอัตโนมัติเพื่อ
ความสะดวกสบายและสามารถทางานตามความต้องการของผู้ใช้ได้
21

แผนผังกำรทำงำนของเครื่องย่อยเศษอำหำรเหลือทิ้งให้เป็นปุ๋ยไว้ใช้สำหรับครัวเรือน

ใส่เศษอาหารและจุลินทรียท์ ตี่ ้องต้องการย่อยสลายลงใน


ถัง

เปิดสวิทซ์ที่ตัวมอเตอร์ ให้มอเตอร์ให้เริ่ม
ทางานทำงำน
เปิดสวิทซ์ ให้พัดลมเป่าลมร้อนเริ่มทางาน

เปิดสวิทซ์ ให้วงจร Induction Heater เริ่มทางาน

เครื่องเริ่มทางานตามปกติ

เมื่อความร้อนที่เราต้องการทางานตามปกติ
ก็ปล่อยให้เครือ่ งทางานตามเวลาที่เรา
ต้องการ

จบการทางาน
22

บทที่4
กำรทดสอบอุปกรณ์และแสดงผลข้อมูล

4.1 กำรติดตั้งอุปกรณ์
การทดสอบเครื่องทางผู้จัดทาเครื่องย่อยเศษอาหารแบบปั่นรวมเศษอาหารให้เข้ากันโดยเศษ
อาหารที่ปั่นมีขนาดที่เล็กอยู่แล้วทางกลุ่มของผู้จัดทาจึงไม่ได้ทาใบตัดที่มีความคม หรือต้องเป็นใบพัด
ที่สับเศษอาหารให้ละเอียดเพิ่มขึ้นอีก รวมถึงขนาดของตัวถังที่ไม่ได้มีขนาดใหญ่มากนักเนื่องจากเป็น
เครื่องย่อยเศษอาหารที่ใช้สาหรับครัวเรือน

รูปที่ 4.1 ลักษณะตัวถังปั่นปุ๋ยของเครื่องย่อยเศษอาหารเหลือทิ้งให้เป็นปุ๋ย

นอกจากตัวถังแล้วนั้นตัวเครื่องย่อยเศษอาหารก็ยังต้องพึ่งวงจร Induction Heater เพื่อ


สร้างความร้อน รวมถึงทางผู้จัดทาเลือกทีจ่ ะใช้พัดลมร้อนมาใส่ในตัวเครื่องเพื่อผัดความร้อนเข้าไปทา
ให้ส่วนผสมมีความร้อนและเกิดปฏิกิริยาไวขั้นอีกด้วย
23

4.2 ขั้นตอนกำรดำเนินงำน

ขั้นตอนที่1 หลักจากคานวณหาค่าวัสดุอุปกรณ์ที่ใช้เรียบร้อยแล้วนั้น เราเริ่มลงมือพัน


ขดลวดที่ค่า 16.3

รูปที4่ .2 พันขดลวดที่ค่า16.3 µH

ขั้นตอนที่ 2 หลังจากที่ได้ขดลวดที่ต้องการแล้วนั้น ก็เริม่ ลงมือทาวงจร Induction Heater


ซึ่งเป็นวงจรที่ใช้สร้างความร้อนในตัวถังนั้นเอง

รูปที่ 4.3 การต่อวงจร Induction Heater


24

ขั้นตอนที่ 3 ก่อนจะนาวงจร Induction Heater ไปใช้ต้องเช็ควงจรก่อนนาไปใช้ว่าวงจร


สัมพันธ์กันหรือไม่

รูปที่ 4.4 การวัดค่าสัญญาณที่ความถี่ 10kHz

ขั้นตอนที่ 4 ทาการประกอบตัวเครื่องเพื่อดูความสมมาตรของตัวถังและอุปกรณ์ต่างๆ ทั้ง


มอเตอร์ และวงจร Induction Heater

รูปที่ 4.5 เริ่มประกอบตัวถัง


25

ขั้นตอนที่5 แยกเศษอาหารออกให้ไม่มีน้าหรือน้าแกง ให้เป็นเศษอาหารที่แห้ง รวมถึงแยก


กระดูกหรือชิ้นส่วนที่มีความแข็งออกด้วย

รูปที่ 4.6 เตรียมเศษอาหารหรือผักผลไม้

ขั้นตอนที่6 ผสมกากน้าตาลและจุลินทรีย์ไว้ก่อนใช้งาน 5-10 นาที เพื่อรอการผสมกับเศษ


อาหารภายในถัง

รูปที่ 4.7 เตรียมจุลินทรียท์ ี่ช่วยการย่อยเศษอาหาร


26

ขั้นตอนที่ 7 ใส่ส่วนผสมทั้งหมดลงภายในถัง ทั้งเศษอาหาร กากน้าตาลกับจุลินทรียท์ ี่ผสม


ไว้ และกากมะพร้าวป่นลงไปภายในถัง

รูปที่ 4.8 นาส่วนผสมเทลงในเครื่องย่อยเศษอาหาร

รูปที่ 4.9 เติมน้ายา EM ที่ผสมกับกากน้าตาลไว้แล้ว กากมะพร้าวป่น และดินผสมขี้วัว ลงไปภายใน


ถัง
27

ขั้นตอนที่ 8 ทาการตีส่วนผสมให้เข้ากันก่อนเริ่มการทาปุ๋ย โดยการเปิดมอเตอร์เร่งความเร็ว


รอบของมอเตอร์ได้ตามต้องการเป็นเวลา 30 นาที เพื่อพร้อมรอการทางานในขั้นต่อไป

รูปที่ 4.10 ส่วนผสมที่ถูกมอเตอร์ตีเพื่อให้ส่วนผสมเข้ากันแล้ว

ขั้นตอนที่ 9 เริ่มอบส่วนผสมที่เข้ากันแล้วโดยใช้เวลา 8 ชัว่ โมง

รูปที่ 4.11 อบส่วนผสมให้เข้ากัน


28

ขั้นตอนที่ 10 เริ่มตีส่วนผสมอีกครั้งเพื่อกลับส่วนผสมให้ทวั่ ถึงกัน

รูปที่ 4.12 ส่วนผสมทีถ่ ูกตีอีกครั้งเพื่อกลับส่วนผสม

ขั้นตอนที่ 11 อบส่วนผสม และตีส่วนผสมสลับกันไป 4 ครั้ง


ขั้นตอนที่ 12 นาปุ๋ยที่ได้ออกมาจากเครื่องเพื่อนาไปใช้งาน

รูปที่ 4.13 ปุ๋ยที่ได้จากการทดลอง


29

4.3 กำรทอดสอบกำรทำงำนของเครื่องย่อยเศษอำหำรเหลือทิ้งให้เป็นปุ๋ย
ตำรำงที่ 4.3.1 บันทึกกำรทำงำนเครื่องย่อยเศษอำหำรเหลือทิง้ ให้เป็นปุ๋ย รอบที่ 1
ส่วนผสม ข้าวและผักต้ม 1 กิโลกรัม กากน้าตาล 25 มิลิลิตร
น้า EM 1 ฝา ดินผสมขี้วัว 500 กรัม
น้าเปล่า 400 มิลิลิตร กากมะพร้าว 100 กรัม

จานวนครั้งที่ ระยะ ความร้อนที่ใช้ ผลลัพธ์ ภาพประกอบผลลัพธ์


ทดลอง
เวลาที่ใช้

1 3 ชั่วโมง 40.1องศาเซลเซียส ยังไม่มีการเปลี่ยนแปลง

2 6 ชั่วโมง 41องศาเซลเซียส ส่วนผสมเริ่มเข้ากัน

3 9 ชั่วโมง 42องศาเซลเซียส ส่วนผสมมีความเข้ากัน


และตัวถังมีความร้อน
เล็กน้อย

4 12 42 องศาเซลเซียส ส่วนผสมเริม่ ย่อยสลาย


ชั่วโมง เล็กน้อย
30

5 15 42.3องศาเซลเซียส ส่วนผสมเริ่มย่อยสลายได้ดี
ชั่วโมง และมีความอุ่นเล็กน้อย

6 18 42.5องศาเซลเซียส ส่วนผสมเริ่มแห้งและย่อย
ชั่วโมง สลายไปบางส่วนแล้วและ
เริ่มเติมดินผสมขี้วัวใน
ขั้นตอนนี้

7 21 43 องศาเซลเซียส ส่วนผสมมีความแห้งขึ้น
ชั่วโมง จาก 3 ชั่วโมงก่อน

8 24 45 องศาเซลเซียส ได้ปุ๋ยที่ต้องการ
ชั่วโมง
31

ตำรำงที่ 4.3.2 บันทึกกำรทำงำนเครื่องย่อยเศษอำหำรเหลือทิง้ ให้เป็นปุ๋ย รอบที่ 2


ส่วนผสม ข้าวสวยหุงสุกและผักต้ม 1 กิโลกรัม
น้า EM 1 ฝา กากน้าตาล 25 มิลิลิตร
น้าเปล่า 400 มิลิลิตร ดินผสมขี้ววั 500 กรัม
กากมะพร้าว 100 กรัม
จานวนครั้งที่ ระยะ ความร้อนที่ใช้ ผลลัพธ์ ภาพประกอบผลลัพธ์
ทดลอง
เวลาที่ใช้

1 3 ชั่วโมง 37.8องศาเซลเซียส ยังไม่มีการเปลี่ยนแปลง

2 6 ชั่วโมง 38.3องศาเซลเซียส ส่วนผสมเริ่มมีการเข้ากัน

3 9 ชั่วโมง 40องศาเซลเซียส ส่วนผสมมีความเข้ากัน


และตัวถังเริ่มมีความร้อน

4 12 40.1องศาเซลเซียส ส่วนผสมเริ่มเกิด
ชั่วโมง การย่อยสลาย
32

5 15 41องศาเซลเซียส ส่วนผสมเริ่มย่อยสลายได้ดี
ชั่วโมง และเกิดความร้อน

6 18 42.6องศาเซลเซียส ส่วนผสมเริ่มแห้งและย่อย
ชั่วโมง สลายไปบางส่วนแล้วและ
เริ่มเติมดินผสมขี้วัวเข้าไป
ผสม

7 21 43 องศาเซลเซียส ส่วนผสมมีความแห้งขึ้น
ชั่วโมง และส่วนผสมย่อยสลายได้
จานวนเยอะแล้ว

8 24 44 องศาเซลเซียส ได้ปุ๋ยที่ต้องการ
ชั่วโมง
33

4.4 วิเครำะห์ผลกำรทดลอง
วิเคราะห์ผลการทดลองจากตารางที่ 4.3.1 การทดลองการย่อยเศษอาหารเหลือทิ้งให้เป็นปุ๋ย
โดยในการทดลองได้มีการนาเศษอาหารจานวน 1 กิโลกรัม เทลงใส่ถังขนาด 50ลิตรใส่กากมะพร้าว50
กรัม พร้อมจุลินทรีย์โดยมีสวนผสม EM 1 ฝา กากน้าตาล 25มิลลิลิตร น้าเปล่า 400 มิลลิลิตร และ
ดินผสมขี้วัวที่จะใส่เพิ่มในทุกๆครั้งที่ปั่นปุ๋ย หรือจะใส่ตอนสุดท้ายของการทางานก็ได้ แต่ทางผู้จัดทา
ได้ทาการใส่ดินผสมขี้วัวในชัว่ โมงที่ 18 ในปริมาณ500 กรัม คลุกเคล้าภายในตัวถัง

จากการทดลองการย่อยเศษอาหารของตัวเครื่อง3 ชั่วโมง อุณหภูมิภายในตัวถังสูงสุด 40.1


องศาเซลเซียส ผลลัพธ์ที่ได้ยังไม่มีการเปลี่ยนแปลง โดยทาการทดลองต่อเนื่อง เมื่อเวลาผ่านไป 15
ชั่วโมง อุณหภูมิภายในตัวถังสูงสุด 42.3 องศาเซลเซียส ผลลัพธ์ที่ได้มีการเปลี่ยนแปลงเศษอาหารเริ่ม
มีการเปลี่ยนสีความชื้นเริ่มลดลง ได้ผสมปุย๋ ดินลงไปทาการทดลองต่อ เมื่อครบ 24 ชั่วโมง อุณหภูมิ
ภายในตัวถังสูงสุดที่ได้ 45 องศาเซลเซียสผลลัพธ์ที่ได้กลายเป็นปุ๋ยที่สามารถนาไปบารุงพืชผักได้

รูปที่ 4.14 กราฟแสดงความสัมพันธ์ของระยะเวลากับอุณหภูมิรอบที่ 1

วิเคราะห์ผลการทดลองจากตารางที่ 4.3.2 ในตารางที่ 4.3.2 ได้ทดลองเปลี่ยนเศษอาหารให้


หยาบขึ้น แต่ใส่ส่วนผสมอื่นๆเท่าเดิม 3 ชั่วโมง อุณหภูมิภายในตัวถังสูงสุด 37.8 องศาเซลเซียส
ผลลัพธ์ที่ได้ยังไม่มีการเปลี่ยนแปลง โดยทาการทดลองต่อเนื่อง เมื่อเวลาผ่านไป 15 ชั่วโมง อุณหภูมิ
ภายในตัวถังสูงสุด 41 องศาเซลเซียส ผลลัพธ์ที่ได้มีการเปลี่ยนแปลงเศษอาหารเริ่มมีการเปลี่ยนสี
ความชื้นเริ่มลดลง ได้ผสมปุย๋ ดินลงไปทาการทดลองต่อ เมื่อครบ 24 ชั่วโมง อุณหภูมิภายในตัวถัง
สูงสุดที่ได้ 44 องศาเซลเซียส
ซึ่งถ้าเทียบกับการทดลองที่ใช้เศษอาหารที่มีการต้มมาแล้วจะได้ผลดีกว่าการที่ใช้เศษอาหารที่
หยาบกว่า เนื่องจากการที่เศษอาหารผ่านวิธีการย่อยมาแล้วส่วนหนึ่ง แล้วเมื่อมีการนามาย่อยสลาย
อีกทาให้ผลลัพธ์ที่ได้มีความละเอียดมากกว่า แต่ก็ยังมีสภาพที่เป็นปุ๋ยหมักตามที่เราต้องการได้เช่นเดิม
34

รูปที่ 4.15 กราฟแสดงความสัมพันธ์ของระยะเวลากับอุณหภูมิรอบที่ 2

4.5 สรุปผลกำรทดลอง
จากการวิเคราะห์ผลการทดลองเศษอาหารที่สามารถย่อยเป็นปุ๋ยต้องใช้ระยะเวลาพอสมควร
กว่าเศษอาหารที่ใช้ในการทดลองจะมีการเปลี่ยนแปลงมีการย่อยสลายกลายเป็นปุ๋ย เนื่องจากการให้
ความร้อนของวงจรอินดักชันที่ใช้ให้ความร้อนได้ไม่พียงพอกับขนาดตัวถัง จากการทดลองเครื่องย่อย
เศษอาหารสามารถย่อยสลายเศษอาหารเป็นปุ๋ยได้ภายใน24ชั่วโมง อาจจะไม่ละเอียด 100 % อาจจะ
มีผักที่ยังย่อยสลายไม่หมดบ้างแต่มีเพียงเล็กน้อย
35

บทที่5
บทสรุปและข้อเสนอแนะ

5.1 บทสรุป
เนื้อหาในบทนี้เป็นการกล่าวถึงบทสรุปของโครงงาน เครื่องย่อยเศษอาหารเหลือทิ้งให้กลายเป็นปุย๋
สาหรับครัวเรือนและโรงอาหาร จะประกอบไปด้วยปัญหาที่พบในขณะดาเนินงาน วิธีการแก้ไข ข้อเสนอแนะ
และวิธีการพัฒนาโครงงานต่อไป
โครงงานเครื่องย่อยเศษอาหารเหลือทิ้งให้กลายเป็นปุ๋ยสาหรับครัวเรือนและโรงอาหาร มี
ส่วนประกอบหลักดังนี้
1.วงจร Induction Heater
2.มอเตอร์ไฟฟ้า
3.เซนเซอร์วัดความร้อน
4.Power supply
จากชุดอุปกรณ์ควบคุมการควบคุมความร้อน ทาให้สามารถกระตุ้นจุลินทรีย์ให้ทางานได้เร็วขึ้น และ
ทาให้สะดวกโดยไม่ต้องใช้แรงให้การกลับปุ๋ย เพราะในเครื่องย่อยเศษอาหารเหลือทิ้งให้กลายเป็นปุ๋ยมีแกนปั่น
ที่ใช้แรงจากมอเตอร์ในการผสมส่วนผสมและสะดวกในการกลับปุ๋ย ทาให้การทาปุ๋ยใช้เองในครัวเรือนมีความ
สะดวกและง่ายขึ้น
การทดสอบการใช้งานเบื้องต้นเครื่องย่อยเศษอาหารเหลือทิ้งให้กลายเป็นปุ๋ย จากผลการทดลอง
เบื้องต้น พบว่าชุดอุปกรณ์สามารถทางานได้ดี และสามารถทาเศษอาหารให้กลายเป็นปุ๋ยได้เพียงแต่อาจจะ
ไม่ได้ละเอียดมากนัก เศษผัก หรือใบไม้อาจจะยังมีเป็นลักษณะชิ้นเล็กชิ้นน้อยอยู่บ้าง
5.2 ปัญหำที่พบ
1.มีกระแสไหลผ่านวงจรอินดักชันจานวนมากทาให้ตัววงจรเกิดความร้อน
2.ใบพัดที่จัดทาในครั้งแรกมีหน้าตัดในการปั่นที่น้อย ทาให้เวลาปั่นปุ๋ยส่วนผสมไม่เข้ากัน
3.ในตอนแรกที่ออกแบบตัวถัง เลือกออกแบบถังแนวตั้งทาให้การวางอุปกรณ์มีปัญหา
5.3 แนวทำงกำรแก้ปัญหำ
1.ติดตั้งระบบระบายอากาศให้กับวงจร Induction Heater
2.เพิ่มหน้าตัดแกนปั่นด้วยการเชื่ออะลูมิเนียมเพิ่มเติม
3.ออกแบบตัวถังใหม่ทาให้มลี ักษณะแนวนอนเพื่อที่จะวางอุปกรณ์ง่ายขึ้น
5.4 ข้อเสนอแนะ
วงจร Induction Heater อาศัยกระแสจาก Power supply อยู่ทาให้กระแสที่จะนาไปขับวงจร
Induction Heater มีปริมาณน้อย ทาให้การเกิดความร้อนเป็นไปได้ช้า จึงต้องมีการคานวณสร้างวงจรเพื่อ
เพิ่มกระแสให้วงจร Induction Heater มีกระแสที่เหมาะสมในการจะสร้างความร้อนเพียงพอต่อสัดส่วนที่ใช้
5.5 วิพำกษ์
ควรมีระยะเวลาในการศึกษาทางกล ในส่วนของมอเตอร์ให้มากกว่านี้เพื่อที่จะใช้ประโยชน์มอเตอร์ที่
ใช้อยู่ให้เต็มความสามารถของมอเตอร์
36

บรรณำนุกรม
[1] วงจรอินดักชั่น. ที่มา :INDUCTION HEATING 24 VDC 500 W by คุณสันติสขุ ผลอินทร์
[2] การหาค่าความเหนี่ยวนา. ออนไลน์.
ทีม่ า: http://pongsatornsa.blogspot.com/2015/12/inductor.html
[3] การเหนี่ยวนาความร้อน. ออนไลน์.
ทีม่ า: https://ienergyguru.com/2015/08/การเหนี่ยวนาความร้อน
[4] การทาปุ๋ยหมัก ออนไลน์
ที่มา:https://th.wikibooks.org/wiki/%E0%B8%9B%E0%B8%B8%E0%B9%8B%E0%B8%A2
%E0%B8%AB%E0%B8%A1%E0%B8%B1%E0%B8%81
[5] หลักการของการย่อยสลายด้วยจุลินทรีย์. ออนไลน์.
ที่มา: https://www2.mtec.or.th/th/e-magazine/admin/upload/235_48-54.pdf
[6] มลพิษจากอาหารเหลือ. ออนไลน์.
ที่มา:http://www.tgo.or.th/2015/thai/news_detail.php?id=1206&fbclid=IwAR0BI4Fn1s2T
YJQVh1oJSGqgOO3lSWjcKGg60tik4teCSpbWH2qfu1ulsM4
[7] ขยะเศษอาหาร. ออนไลน์. ที่มา: https://www.facebook.com/Env.Training
[8] ภาพแสดงประเภทของการฝังกลบอย่างถูกหลักสุขภิบาล
ที่มา: http://www2.diw.go.th/I_Standard/Web/pane_files/Industry20.asp
[9] เตาเผาชนิดควบคุมการเผาไหม้
ที่มา: http://webkc.dede.go.th/testmax/node/2245
[10] การทาถังหมักแก๊สชีวภาพ
ที่มา: http://www.greenenergynet.net/th/food-waste-biogas-system/
[11] การนาเศษอาหารมาทาปุย๋ . ที่มา: http://www.environnet.in.th/archives/3291

[12] เครื่องมือวัดความร้อนชนิดContact.
ที่มา: http://arduino2u.lnwshop.com/product/51/digital-thermostat-
temperature-control-switch
[13] เครือ่ งวัดอุณหภูมิอินฟราเรด.
ที่มา: https://www.ponpe.com/infrared-thermometer/gm550-detail.html
[14] สายไฟ THW เบอร์ 4. ทีม่ า: www.voltechshopping.com
[15] ตัวต้านทาน ตัวเก็บประจุ.
ที่มา: https://commandronestore.com/products/br3132.php
[16] ตัวเหนี่ยวนาแกนเหล็ก.
ที่มา: http://aod030639.myreadyweb.com/webboard/topic-452891.html
37

ประวัตผิ ้ ูเขียน

นางสาวรจนา ชิงชนะ เกิดเมื่อวันที่ 21 กรกฎาคม พ.ศ.2536


ภูมิลาเนาอยูท่ ี่อาเภอพนมดงรัก จังหวัดสุ รินทร์ สาเร็ จการศึกษาระดับมัธยม
ตอนปลายจากโรงเรี ยนพนมดงรักวิทยา อาเภอพนมดงรัก เมื่อปี พ.ศ.2254
ปัจจุบนั เป็ นนักศึกษาชั้นปี ที่ 7 สาขาวิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์
สานักวิชาวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี

นางสาวสุ ชาวลี โลหณุต เมื่อวันที่ 25 มิถุนายน พ.ศ.2537


ภูมิลาเนาอยูท่ ี่ อาเภอบัวใหญ่ จังหวัดนครราชสี มา สาเร็ จการศึกษาระดับมัธยม
ตอนปลายจากโรงเรี ยนบัวใหญ่ อาเภอบัวใหญ่ จังหวัดนครราชสี มา
เมื่อปี พ.ศ. 2554 ปัจจุบนั เป็ นนักศึกษาชั้นปี ที่ 5 สาขาวิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์
สานักวิชาวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี

You might also like