You are on page 1of 65

ข้อตรวจพบและข้อเสนอแนะปฏิบตั ิงานด้านการเงิน บัญชี และการพัสด ุ

สานักงานสรรพสามิตภาคที่ 5
วันที่ 27 มีนาคม 2567
ณ โรงแรมอโมรา ท่าแพ ตาบลช่างม่อย
อ.เมือง จ.เชียงใหม่
2

1. แนวทางปฏิบตั ิและประเด็นปัญหาเกี่ยวกับ
การรับและนาส่งเงิน

ไปรยา อาจเลิศ นักวิชาการตรวจสอบภายในชานาญการพิเศษ


รักษาราชการแทน ผูเ้ ชี่ยวชาญด้านตรวจสอบภายใน
ประภัสสร เสนาพล นักวิชาการตรวจสอบภายในชานาญการพิเศษ
3

กฎหมาย ระเบียบ หนังสือเวียนที่เกี่ยวข้อง


o ระเบียบกระทรวงการคลัง ว่าด้วยการเบิกเงินจากคลัง การรับเงิน การจ่ายเงิน การเก็บรักษาเงิน และการนาเงินส่งคลัง
พ.ศ. 2562
o ระเบียบกระทรวงการคลัง ว่าด้วยการรับเงินผลประโยชน์เป็นเช็ค พ.ศ.2537
o ระเบียบกรมสรรพสามิตว่าด้วยการรับชาระเงินภาษีอากรและเงินรายรับอื่นด้วยเครื่องออกใบเสร็จรับเงิน พ.ศ. 2529
o หลักเกณฑ์และวิธีปฏิบัติในการจ่ายเงิน การรับเงิน และการนาเงินส่งคลังหรือฝากคลังของส่วนราชการผ่านระบบ
อิเล็กทรอนิกส์ (e-Payment) (ด่วนที่สุด ที่ กค 0402.2/ว140 ลงวันที่ 19 สิงหาคม 2563)
o การขอเปิดบัญชีเงินฝากกระแสรายวันในระบบ GFMIS (หนังสือ กรมบัญชีกลาง ที่ กค 0409.7/3364 ลงวันที่
21 ธันวาคม 2550)
o เวลาปิดบัญชีรับจ่ายเงินของส่วนราชการ (ด่วนที่สุด ที่ กค 0617.2/ว 50 ลงวันที่ 12 มกราคม 2559)
o แนวทางการควบคุมภายในด้านการรับเงิน (ที่ กค 0409.2/ว589 ลงวันที่ 27 ธันวาคม 2562)
o ซักซ้อมการจัดทารายงานเงินคงเหลือประจาวัน (หนังสือสานักบริหารการคลังและรายได้ ที่ กค 0617/ว 461
ลงวันที่ 27 กุมภาพันธ์ 2563)
o การปฏิบัติงานด้านการรับเงินและการนาเงินส่งคลังของกรมสรรพสามิต (หนังสือสานักบริหารการคลังและรายได้
ที่ กค 0617.4/ว 82 ลงวันที่ 29 กุมภาพันธ์ 2567)
4

การควบค ุมภายในด้านการรับเงิน
5
การควบคุมภายในด้านการรับเงิน

การรับเงินของหน่วยงานของรัฐ แบ่งได้ 4 วิธี


1. การรับชาระเงินด้วยเงินสด
2. การรับชาระเงินด้วยเช็ค
3. การรับชาระเงินผ่านเครือ่ งรับชาระเงิน ณ จุดให้บริการ
(บัตรเครดิต / บัตรเดบิต / EXCISE SMART CARD / QR Code)
4. การรับชาระเงินทางอิเล็กทรอนิกส์
(Internet Banking , Mobile Banking , ATM , เคาน์เตอร์เซอร์วิส/
เคาน์เตอร์ธนาคาร)

หนังสือกรมบัญชีกลาง ที่ กค 0409.2/ว 589 ลงวันที่ 27 ธันวาคม 2562 เรื่อง แนวทางการควบคุมภายในด้านการรับเงิน


6
1. การรับชาระเงินด้วยเงินสด

การรับเงินสด การนาเงินฝากธนาคาร การตรวจสอบ


 ออกใบเสร็จรับเงิน / หลักฐานการรับเงิน  นาฝากภายในวันเดียวกัน  ใบนาฝากเงิน (Pay-in Slip)
ถูกต้อง ตรงกับใบเสร็จรับเงิน
 เก็บรักษาเงินในตู้นิรภัย*
 ทุกสิ้นเดือน ตรวจสอบรายงาน
* หนังสือกรมบัญชีกลาง ที่ กค
0409.7/33364 ลงวันที่ 21 ธ.ค. 50
เคลื่อนไหวบัญชีธนาคาร
ให้นาฝากรายได้ทไี่ ด้รับเป็นเงินสด พร้อมเช็ค (Statement) กระทบยอดบัญชีเงิน
ฝากเข้าบัญชีเงินฝากธนาคาร ฝากธนาคาร
ภายใน 3 วันทาการ นับตั้งแต่วันที่ธนาคาร
เรียบเก็บเงินตามเช็คได้แล้ว
7
2. การรับชาระเงินด้วยเช็ค

การรับเช็ค การนาเงินฝากธนาคาร การตรวจสอบ


 ตรวจสอบความสมบูรณ์ของเช็ค  นาฝากภายในวันเดียวกัน  ใบนาฝากเงิน (Pay-in Slip)
 ออกใบเสร็จรับเงิน / หลักฐานการรับเงิน  เก็บรักษาเงินในตู้นิรภัย* ถูกต้อง ตรงกับใบเสร็จรับเงิน
* หนังสือกรมบัญชีกลาง ที่ กค  ทุกสิ้นเดือน ตรวจสอบรายงาน
0409.7/33364 ลงวันที่ 21 ธ.ค. 50 เคลื่อนไหวบัญชีธนาคาร
ให้นาฝากรายได้ทไี่ ด้รับเป็นเงินสด พร้อมเช็ค (Statement) กระทบยอดบัญชีเงิน
ฝากเข้าบัญชีเงินฝากธนาคาร ฝากธนาคาร
เช็คไม่สามารถเรียกเก็บได้ ภายใน 3 วันทาการ นับตั้งแต่วันที่ธนาคาร
เรียบเก็บเงินตามเช็คได้แล้ว
ดาเนินการตามกฎหมายหรือระเบียบที่เกี่ยวข้อง
8
การรับชาระเงินด้วยเช็คประเภท ง

การรับชาระเงินผลประโยชน์เป็นเช็คประเภท ง. ให้เจ้าหน้าที่รับได้ภายในหลักเกณฑ์ ดังนี้


กรณีรับเช็ครายหนึ่ง ๆ ไม่เกิน 100,000 บาท
กรณีรับเช็ครายหนึ่ง ๆ เกิน 100,000 บาท แต่ไม่เกิน 400,000 บาท
ให้ขออนุมัติจากหัวหน้าส่วนราชการ
กรณีรับเช็ครายหนึ่ง ๆ เกิน 400,000 บาท ให้อนุมัติปลัดกระทรวงเจ้าสังกัด
การรับชาระเงินผลประโยชน์ในกรณีดังต่อไปนี้ ให้รับได้โดยไม่จากัดวงเงิน
- กรณีเป็นการชาระเงินผลประโยชน์จากเงินส่วนพระองค์ พระมหากษัตริย์
เงินขององคมนตรี เงินของพระบรมวงศานุวงศ์
- กรณีผู้สั่งจ่ายเช็คเป็นส่วนราชการ องค์การของรัฐบาล รัฐวิสาหกิจ
องค์การบริหาร ส่วนท้องถิ่นอื่น รวมทั้งบริษัทที่รัฐบาลถือหุ้น
ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการรับเงินผลประโยชน์เป็นเช็ค พ.ศ. 2537 ข้อ 13
9
3. การรับชาระเงินด้วยเครื่องรับชาระเงิน ณ จุดให้บริการ (บัตรเครดิต / บัตรเดบิต / EXCISE SMART CARD / QR Code)

การรับชาระเงินด้วยเครื่องรับชาระเงิน ทุกสิ้นวัน การตรวจสอบ


 พิมพ์เซลส์สลิปจากเครื่องรับชาระเงิน  สรุปยอดรายการ Settlement  ตรวจสอบความถูกต้องของยอดเงินฝาก
 ออกใบเสร็จรับเงิน / หลักฐานการรับเงิน ธนาคารในวันทาการถัดไป
 ทุกสิ้นเดือน ตรวจสอบรายงานเคลื่อนไหวบัญชี
ธนาคาร (Statement) กระทบยอดบัญชีเงิน
ฝากธนาคารระหว่างยอดเงินที่มีการบันทึกบัญชี
และยอดเงินที่ปรากฎใน (Statement)
10
4. การรับชาระเงินทางอิเล็กทรอนิกส์ (Internet Banking , Mobile Banking , ATM , เคาน์เตอร์เซอร์วิส/เคาน์เตอร์ธนาคาร)

 ตรวจสอบยอดธนาคารและ  ออกใบเสร็จรับเงิน การตรวจสอบ


ดาเนินการกระทบยอด  จัดทารายงานสรุปประจาวัน  ทุกสิ้นเดือน ตรวจสอบรายงานเคลื่อนไหวบัญชี
ธนาคาร (Statement) กระทบยอดบัญชีเงิน
ฝากธนาคารระหว่างยอดเงินที่มีการบันทึกบัญชี
และยอดเงินที่ปรากฎใน (Statement)

หนังสือกรมบัญชีกลาง ด่วนที่สุด ที่ กค 0402.2/ว 140 ลงวันที่ 19 สิงหาคม 2563


เรื่อง หลักเกณฑ์และวิธีปฏิบตั ิในการจ่ายเงิน การรับเงิน และการนาเงินส่งคลังหรือฝากคลังของส่วนราชการผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์ (e-Payment)
11
การควบคุมภายในด้านการรับเงิน

การควบคุมทั่วไป
 การแบ่งแยกหน้าที่
 งานด้านการเงิน งานด้านการบัญชี และงานอื่น ๆ
 การปฏิบัติงานในระบบ KTB Corporate Online
กาหนดผู้ปฏิบัติงานในระบบ 1. User Maker 2. User Authorizer
 การมอบหมายผู้รบั ผิดชอบ ตรวจสอบควบคุมการนาเงินสดและเช็คฝาก
ธนาคาร
 การกาหนดรหัสผ่าน การใช้งานระบบ KTB Corporate Online
12
การกาหนดตัวบุคคลในการปฏิบัติงานในระบบ KTB Corporate Online
Company User

Company User Maker :- เป็นข้าราชการที่ปฏิบตั ิหน้าที่เป็นเจ้าหน้าที่การเงินในหน่วยงานผู้เบิกนั้น ๆ (ประเภทวิชาการ ระดับปฏิบัติการ หรือ


ประเภททั่วไป ระดับปฏิบัติงาน หรือเทียบเท่าขึ้นไป)
• การจ่ายเงิน
ทารายการขอโอนเงิน ตรวจสอบความถูกต้องของรายการดังกล่าว ก่อนนาส่งรายการให้กับ Company User Authorizer เพื่ออนุมัติการโอนเงิน
และเมื่อได้รับแจ้งการอนุมัติ ให้พิมพ์รายงานสรุปผลการโอนเงิน (Detail Report และ Summary Report / Transaction History) และรายการสรุปความ
เคลื่อนไหวทางบัญชี (e – Statement / Account Information) เพื่อใช้เป็นหลักฐานการจ่ายและหลักฐานการในการตรวจสอบ
• การรับเงิน
เรียกรายงานการรับชาระเงินระหว่างวัน (Receivable information online) รายงานสรุปรายละเอียดการรับเงินของส่วนราชการ (Receivable
information download) จากระบบ KTB Corp. และรายการสรุปความเคลื่อนไหวทางบัญชี (e – Statement / Account Information) จากบัญชีเงิน
ฝากธนาคารที่เปิดไว้สาหรับการรับเงิน เพื่อใช้ในการตรวจสอบการรับเงินของส่วนราชการ
• การนาเงินส่งคลังหรือฝากคลัง
ทารายการนาเงินส่งคลังหรือฝากคลัง ตรวจสอบความถูกต้องของการทารายการก่อนนาส่งรายการให้ Company User Authorizer เพื่ออนุมัติ
การโอนเงินเพื่อนาส่งคลังหรือฝากคลังต่อไป และเมื่อได้รบั แจ้งการอนุมัติ ให้พิมพ์หน้าจอการทารายการสาเร็จ และรายการสรุปความเคลื่อนไหวทางบัญชี
(e – Statement / Account Information) จากบัญชีเงินฝากธนาคารที่เปิดไว้สาหรับการรับเงิน เพื่อใช้ในการตรวจสอบการรับเงินของส่วนราชการ
หนังสือกระทรวงการคลัง ด่วนที่สุด ที่ กค 0402.2/ว 109 ลงวันที่ 9 กันยายน 2559 เรื่อง การกาหนดตัวบุคคลผู้มีสิทธิเข้าใช้งานในระบบ KTB Corporate Online
13
การกาหนดตัวบุคคลในการปฏิบัติงานในระบบ KTB Corporate Online

Company User

Company User Authorizer :-


• ตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูลรายการโอนเงินและรายการนาเงินส่งคลังหรือฝากคลังที่ Company User Maker ส่งให้
• อนุมัติการโอนเงินและรายการนาเงินส่งคลังหรือฝากคลัง ตลอดจนแจ้งผลการอนุมัติการโอนเงินและการนาเงินส่งคลังหรือฝากคลังให้
Company User Maker

1. ให้ Company User Authorizer เปลี่ยนรหัสผ่าน Password ทุก ๆ 3 เดือน


2. กรณีมีการโยกย้ายหรือเปลี่ยนแปลงผู้ดารงตาแหน่งผู้ใช้งานในระบบ (Company User) ให้ส่วนราชการเจ้าของ
งบประมาณ/ผู้ที่ได้รับมอบหมาย มีคาสั่งเป็นลายลักษณ์อักษรแต่งตั้งบุคคลเพื่อปฏิบัตหิ น้าทีด่ ังกล่าวใหม่
14
การควบคุมภายในด้านการรับเงิน

การควบคุมด้านการรับเงิน

 การรับชาระเงินทุกครั้งต้องออกใบเสร็จรับเงิน หรือเอกสาร
หลักฐานอื่น โดยมีข้อมูลเกี่ยวกับเลขที่เอกสาร ผู้ชาระเงิน วันที่
ชาระเงิน จานวนเงิน และวัตถุประสงค์และรายละเอียดของ
การชาระเงิน
 กรณีรับเช็ค ตรวจสอบสภาพเช็คว่าอยู่ในสภาพสมบูรณ์ และ
ไม่มีการแก้ไขข้อความ
15
การควบคุมภายในด้านการรับเงิน

การควบคุมด้านใบเสร็จรับเงิน

 การใช้ใบเสร็จรับเงิน/แบบพิมพ์ มีการเรียงลาดับเล่มที/่ เลขที่


และมีการลงลายมือชื่อของผู้รับเงิน
 ไม่ควรมีการแก้ไขใบเสร็จรับเงิน  กรณีแก้ไขข้อความที่สาคัญ เช่น ชื่อผู้ชาระเงิน
 กรณีใบเสร็จรับเงินสูญหาย ต้องแจ้งความทันที และติดประกาศ รายการชาระเงิน เลขที่อ้างอิง และจานวนเงิน
ยกเลิกการใช้ใบเสร็จรับเงินเล่มทีแ่ ละเลขทีท่ ี่สูญหาย ต้องยกเลิกทั้งฉบับและออกใบเสร็จรับเงินใหม่
 มอบหมายผู้รับผิดชอบในการเก็บรักษาใบเสร็จรับเงิน และผู้จัดทา  การยกเลิกต้องให้ผู้มีอานาจอนุมัติ ต้องนาเอกสาร
ทะเบียนคุมใบเสร็จรับเงิน (ต้องเป็นคนละคน) ต้นฉบับแนบกับสาเนาและประทับตรายกเลิก
 จัดทาทะเบียนคุมใบเสร็จรับเงิน ประกอบด้วย เล่มที่ เลขที่ ใบเสร็จรับเงินทุกฉบับ
ข้อมูลการเบิก ชื่อผู้เบิก
 หัวหน้าฝ่ายการเงิน ควบคุมดูแลการใช้ใบเสร็จรับเงิน การเก็บ
รักษาใบเสร็จรับเงิน
16
การควบคุมภายในด้านการรับเงิน

การควบคุมด้านการนาฝากและนาส่งเงิน

 กาหนดให้มีการนาเงินสดและเช็คฝากธนาคารทุกสิ้นวัน /
ในวันทาการถัดไป
 หัวหน้าฝ่ายการเงิน ตรวจสอบจานวนเงินและเช็คตามยอดเงิน
ในใบเสร็จรับเงินได้มกี ารนาฝากธนาคารครบถ้วน
 การมอบหมายผู้รบั ผิดชอบที่ชัดเจน เช่น ผู้มีหน้าที่นาเงิน
ไปฝากธนาคาร
 กาหนดให้มีตรวจนับเงินสดเป็นระยะ ๆ
โดยไม่ใช่คณะกรรมการเก็บรักษาเงิน
17
การควบคุมภายในด้านการรับเงิน

การควบคุมด้านการบันทึกข้อมูลและรายงาน

 ผู้รับชาระเงินจัดทารายงานสรุปการรับชาระเงินในแต่ละวันส่ง
หัวหน้าฝ่ายการเงินตรวจสอบ
 บันทึกรายการทุกสิ้นวัน สามารถอ้างอิงได้ว่าเป็นรายการรับ
เงินสด/เช็คของเลขที่เอกสารใด
 ตรวจสอบกระทบยอดจานวนเงินที่นาฝากธนาคารกับ
ใบเสร็จรับเงินทีม่ กี ารใช้ในแต่ละวันว่าถูกต้องตรงกัน
 กระทบยอดบัญชีเงินฝากธนาคารและ Bank Statement
อย่างน้อยเดือนละ 1 ครั้ง และมีการสอบทาน
18
การควบคุมภายในด้านการรับเงิน

การควบคุมด้านการอนุมัติคืนเงิน

 กรณีรับโอนเงินจากบัญชีธนาคาร ให้โอนคืนเงินเข้าเลขบัญชี
ที่โอนเข้ามาเท่านัน้
 กรณีรับเงินผ่านเครื่องรับชาระเงิน ณ จุดให้บริการผิดพลาด
ก่อนสรุปรายการ (Settlement) ต้องยกเลิก (Void) ผ่าน
เครื่องรับชาระเงินฯ เท่านั้น
 สาหรับการยกเลิกรายการหลังการสรุปรายการ (Settlement)
ให้ติดต่อธนาคารกรุงไทย
 การยกเลิกรายการ (Void) ต้องได้รับอนุมตั จิ ากหัวหน้าส่วน
ราชการ และผู้มีหน้าที่แจ้งธนาคารดาเนินการโอนคืนเงิน
ต้องไม่ใช่ผู้มีหน้าทีร่ ับเงิน
19

การรับเงินของส่วนราชการ
20

ใบเสร็จรับเงิน เก็บใบเสร็จรับเงินไว้ให้ สตง.


ใช้ตามแบบที่กระทรวงการคลัง
กาหนด ตรวจสอบไว้ในที่ปลอดภัย

ห้ามขูดลบเพื่อแก้ไขเพิ่มเติม
จัดทาทะเบียนค ุมใบเสร็จรับเงิน จานวนเงินหรือชื่อผูช้ าระเงิน
ไว้เพื่อการตรวจสอบ ในใบเสร็จรับเงิน

สิ้นปี งบประมาณให้รายงานการใช้
ใบเสร็จรับเงินอย่างช้าไม่เกิน เมื่อขึ้นปีงบประมาณใหม่
วันที่ 31 ต ุลาคมของปี งบประมาณถัดไป ให้ใช้ใบเสร็จรับเงินเล่มใหม่

• ใบเสร็จรับเงินเล่มใด สาหรับรับเงินปีงบประมาณใด ให้ใช้เฉพาะปีงบประมาณนั้น เมื่อขึ้นปีงบประมาณใหม่ ให้ใช้ใบเสร็จรับเงินเล่มใหม่


• ใบเสร็จรับเงินฉบับใดยังไม่ได้ใช้ให้คงติดไว้กบั เล่ม แต่ให้ปรุ เจาะรู หรือประทับตราเลิกใช้ เพื่อให้เป็นที่สังเกตมิให้นามารับเงินได้อีกต่อไป
• จัดเก็บใบเสร็จรับเงินไว้ในที่ปลอดภัย เพื่อรอการตรวจสอบ
21

ใบเสร็จรับเงิน

ใบเสร็จรับเงินแบบปรุกลาง ใบเสร็จรับเงิน ใบเสร็จรับเงินแบบ 2 ใบอนุญาต


ค่าเปรียบเทียบคดี
• ใช้ตามแบบกระทรวงการคลัง หรือที่ได้รับความตกลง
• พิมพ์หมายเลขเล่ม และเลขใบเสร็จเรียงกันไปทุกฉบับ การใช้แบบเรียงลาดับ
• ใบเสร็จรับเงินเล่มใด ไม่มีความจาเป็นต้องใช้ให้ส่งคืน
22
ใบเสร็จรับเงิน
รายงานสรุปใบเสร็จรับเงินจากระบบงานรายได้

บัญชีรับ-จ่าย แบบพิมพ์ (ส.ส. 1/8)

• จัดทาทะเบียนคุมการใช้
สามารถตรวจสอบจานวนได้
• สิ้นปีงบประมาณ ให้รายงานการใช้ใบเสร็จ
การจ่ายให้มีหลักฐานการรับส่ง
ต่อสานักบริหารการคลังและรายได้
ใบเสร็จรับเงิน
ใบเสร็จรับเงิน
• ห้ามขูดลบ เพื่อแก้ไขเพิ่มเติมจานวนเงินหรือชื่อผู้ชาระในใบเสร็จรับเงิน กรณีผิดให้ ขีดฆ่า เขียนใหม่และผู้รับเงิน
ลงลายมือชื่อกากับ หรือขีดฆ่ายกเลิกใช้ *แนะนาให้ขีดฆ่า ยกเลิก และออกใบเสร็จรับเงินฉบับใหม่* และจัดเก็บไว้
ทั้งต้นฉบับและสาเนา

สาเนา ต้นฉบับ

23
24
ใบเสร็จรับเงิน
• ให้มีการแสดงรายละเอียดไว้ด้านหลังสาเนาใบเสร็จรับเงินฉบับสุดท้ายของวัน (งบหลังใบเสร็จ) ว่าเป็นเงินรับตามใบเสร็จเลขที่ใด
ถึงเลขที่ใด และจานวนเงินรวมรับทั้งสิ้นในแต่ละวันเท่าใด
• ผู้ลงลายมือชื่อรับเงินในใบเสร็จรับเงิน เป็นข้าราชการระดับปฏิบัติงาน หรือปฏิบัตกิ ารขึ้นไป
25

ใบเสร็จรับเงิน

ใบเสร็จรับเงินที่ยัง
ไม่ได้ใช้สูญหาย
26

แนวทางและวิธีปฏิบัติการรับเงิน
27

แนวทางและวิธีปฏิบัติการรับเงิน
กรณีจดั เก็บหรือรับชาระเงิน ให้ออกใบเสร็จรับเงิน
ท ุกครัง้ และใช้กบั กรณีรบั ชาระเงินนอกที่ตงั้
สานักงานปกติดว้ ย

ให้ใช้ใบเสร็จรับเงินเล่มเดียวกันรับเงินท ุกประเภท
(เรียงลาดับการใช้ในประเภทเดียวกัน)

บันทึกข้อมูลการรับเงินในวันที่ได้รบั เงิน
(ยกเว้นกรณีขอทาความตกลงกับกระทรวงการคลัง
ไว้)

การรับเงินภายหลังกาหนดเวลาปิดบัญชีสาหรับวันนัน้ แล้ว
ให้บนั ทึกข้อมูลการรับเงินในระบบในวันทาการถัดไป
(งบหลังใบเสร็จรวมกับวันทาการถัดไปเพื่อให้ตรงกับ
รายงานการรับเงินรายได้ประจาวัน)
28

แนวทางและวิธีปฏิบัติการรับเงิน
• เมื่อสิ้นเวลารับจ่ายเงิน ให้เจ้าหน้าที่ผู้มีหน้าที่จัดเก็บหรือรับชาระเงิน นาเงินสดหรือเช็ค หรือเอกสารแทนตัวเงินอื่นที่ได้รับพร้อมกับสาเนา
ใบเสร็จรับเงินและเอกสารอื่นที่จัดเก็บในวันนั้นทั้งหมดส่งต่อเจ้าหน้าที่การเงินของส่วนราชการนั้น

-กรมสรรพสามิต สำนักงานสรรพสามิตพื้นที่ A-
29

แนวทางและวิธีปฏิบัติการรับเงิน
30

การตรวจสอบการรับเงินประจาวัน
• หัวหน้าส่วนราชการหรือผู้ที่ได้รับมอบหมายเป็นลายลักษณ์อักษรจากหัวหน้าส่วนราชการตรวจสอบจานวนเงิน
ทีเ่ จ้าหน้าที่จัดเก็บและนาส่งหลักฐานและรายการที่บันทึกไว้ ในระบบว่าถูกต้องครบถ้วนหรือไม่
เงินสด + เช็ค + Slip EDC + รายการเงินโอน = รายงานจากระบบงานรายได้
งบสรุปยอดเงินค่าภาษีรายวัน
ทะเบียนการรับเช็คและเงินสด
สรุปใบเสร็จรับเงิน
รายงานใบอนุญาตประจาวัน
บันทึกการนาส่งเงินเปรียบเทียบคดี
e-Statement
รายงานการรับเงินระหว่างวัน (Receivable Information Online)
รายงานสรุปรายละเอียดการรับเงินของส่วนราชการ (Receivable Information Download)
31

การตรวจสอบการรับเงินประจาวัน
32

การตรวจสอบการรับเงินประจาวัน
33

การตรวจสอบการรับเงินประจาวัน
34

การตรวจสอบการรับเงินประจาวัน
e-Statement
35

การตรวจสอบการรับเงินประจาวัน

• รายงานการรับเงินระหว่างวัน
(Receivable Information Online)
• รายงานสรุปรายละเอียดการรับเงิน
ของส่วนราชการ (Receivable
Slip EDC e-Statement
Information Download)
36

การเก็บรักษาเงินและการนาเงินส่งคลัง
การเก็บรักษาเงินของส่วนราชการ
ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการเบิกเงินจากคลัง การรับเงิน การจ่ายเงิน การเก็บรักษาเงิน และการนาเงินส่งคลัง พ.ศ. 2562

 ตู้นิรภัย ตั้งอยู่ในที่ปลอดภัยของส่วนราชการ
 มีลูกกุญแจอย่างน้อย 2 สารับ แต่ละสารับ
ไม่น้อยกว่า 2 ดอก แต่ไม่เกิน 3 ดอก
 เมื่อนาเงินและเอกสารแทนตัวเงินเก็บในตู้นิรภัย ให้กรรมการ
เก็บรักษาเงินใส่กุญแจให้เรียบร้อย ลงลายมือชื่อบนกระดาษ
ปิดทับ
 แผ่นกระดาษที่ปิดทับ จะต้องถูกทาลายเมื่อมีการเปิดตู้นิรภัย
คณะกรรมการเก็บรักษาเงิน
ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการเบิกเงินจากคลัง การรับเงิน การจ่ายเงิน การเก็บรักษาเงิน และการนาเงินส่งคลัง พ.ศ. 2562

 กรรมการเก็บรักษาเงิน แต่งตั้งข้าราชการ (ประเภทวิชาการ ระดับปฏิบัติการ


ประเภททั่วไป ระดับปฏิบัติงาน หรือเทียบเท่าขึ้นไป) อย่างน้อย 2 คน
ถือกุญแจคนละหนึ่งดอก
 ไม่สามารถปฏิบัติหน้าที่ได้ ให้แต่งตั้งข้าราชการปฏิบัติหน้าที่แทนให้ครบ
 ให้กรรมการเก็บรักษาเงินลงลายมือชื่อในรายงานเงินคงเหลือประจาวัน
 เมื่อนาเงินเข้าเก็บในตู้นิรภัย ให้ลงลายมือชื่อบนกระดาษปิดทับ
• ห้ามกรรมการเก็บรักษาเงิน/ผู้ปฏิบตั ิหน้าที่
 ในวันทาการถัดไป หากนาเงินออกจ่าย ให้คณะกรรมการเก็บรักษาเงิน
แทนมอบลูกกุญแจให้ผู้อื่นทาหน้าที่แทน มอบเงินที่เก็บรักษาทั้งหมด ให้ผู้อานวยการกองคลัง/เจ้าหน้าที่การเงิน
• ห้ามเจ้าหน้าที่การเงิน เป็นกรรมการ รับไปจ่าย
เก็บรักษาเงิน
รายงานเงินคงเหลือประจาวัน

 จัดทารายงานเงินคงเหลือประจาวันทุกวันทีม่ ีการรับเงินสด
หรือเช็คหรือเอกสารแทนตัวเงินอื่น
 วันใดไม่มีการรับจ่ายเงิน ไม่ทารายงานเงินคงเหลือ
ประจาวันก็ได้ แต่ให้หมายเหตุไว้ในรายงานเงินคงเหลือ
ประจาวันที่มีการรับจ่ายเงินของวันถัดไป
 รายงานเงินคงเหลือประจาวัน ให้ใช้ตาม แบบ 2141
โดยเบิกได้ที่คลังพัสดุ สานักบริหารการคลังและรายได้
กรมสรรพสามิต
รายงานเงินคงเหลือประจาวัน
รายงานเงินคงเหลือประจาวัน
แนวทางการเก็บรักษาเงินกรณีรับเงินหลังเวลาปิดบัญชี
หนังสือกระทรวงการคลัง ที่ กค 0526.7/30552 ลงวันที่ 12 กรกฎาคม 2539 เรื่อง การเก็บรักษาเงินกรณีรับเงินหลังเวลาปิดบัญชีและในวันหยุดราชการ

กรณีรับเงินหลังปิดบัญชี หลังจากส่งมอบเงิน
กรณีรับเงินหลังปิดบัญชี แต่ก่อนส่งมอบเงินให้คณะกรรมการ ให้คณะกรรมการเก็บรักษาเงิน หรือรับเงินในวันหยุดราชการ

ให้หัวหน้าส่วนราชการจัดทาคาสั่งมอบหมายผูร้ ับผิดชอบรับเงิน
ให้รวบบรวมเงินรับหลังเวลาปิดบัญชีบรรจุหบี ห่อ ส่งมอบให้ หลังปิดบัญชีฯ และรับเงินในวันหยุดราชการ โดยมีหน้าทีเ่ ก็บรักษาเงิน
คณะกรรมการเก็บรักษาเงิน นาเข้าเก็บรักษาไว้ในตูน้ ริ ภัย ดังกล่าวไว้ในที่ปลอดภัย จนกว่าจะส่งมอบให้คณะกรรมการเก็บรักษาเงิน
ในวันทาการถัดไป
(ใช้อานาจตามระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2535 แก้ไขเพิ่มเติม
(ฉบับที่ 7) พ.ศ. 2550 มาตรา 33 วรรคสอง)
รายงานเงินคงเหลือประจาวัน
รายงานเงินคงเหลือประจาวัน

เงินรับหลังปิดบัญชี/รับนอกเวลา
ราชการ ไม่ต้องลงรายละเอียด
ในรายงานเงินคงเหลือประจาวัน

ให้ผู้ที่ได้รับมอบหมายจัดเก็บไว้
ในสถานที่ปลอดภัย และนาเงิน
ส่งให้กับเจ้าหน้าที่การเงิน
ในวันทาการถัดไป
45
การนาเงินส่งคลังเป็นรายได้แผ่นดิน
ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการเบิกเงินจากคลัง การรับเงิน การจ่ายเงิน การเก็บรักษาเงิน และการนาเงินส่งคลัง พ.ศ. 2562

วิธีการนาเงินส่งคลังหรือฝากคลังให้นาส่งผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์ (e-Payment)

กรณีรับเป็นเงินสด หรือเช็ค หรือเอกสารแทนตัวเงินอื่น ให้จัดทาใบนาฝากเงิน


พร้อมทั้งนาเงินสด หรือเช็ค หรือเอกสารแทนตัวเงิน ฝากเข้าบัญชีเงินฝากธนาคาร
46
การนาเงินส่งคลังเป็นรายได้แผ่นดิน

การรับคืนเงินที่ได้จ่ายไปแล้ว
เป็นเงินสดหรือเช็ค ให้นาส่งคืน
คลังภายใน 15 วันทาการ
นับแต่วันที่ได้รับคืน ถ้ารับคืน
ช่องทางอิเล็กทรอนิกส์ให้ส่งคืน
คลังภายในวันถัดไป
47

การนาเงินส่งคลังเป็นรายได้แผ่นดิน

การนาส่งเงินรายได้แผ่นดิน และเงินฝากคลัง
ของกรมสรรพสามิต ให้ปฏิบัติตามข้อตกลง
กับกรมบัญชีกลาง
หนังสือกรมบัญชีกลาง ที่ กค 0409.7/33364
ลงวันที่ 21 ธ.ค. 50

นาส่งเงินรายได้ภายใน 3 ทาการ นับถัดจาก


วันที่จัดเก็บรายได้หรือวันที่เช็คเคลียริ่ง
48
ข้อปฏิบัติเกี่ยวกับการนาเงินส่งคลัง และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

รายได้ ประมวลผลสรุป ตรวจสอบ โอนเงิน Ref. บันทึก


แผ่นดิน นาเงินฝากคลัง รายงาน ผ่าน KTB ระบบ งานรายได้
หน่วยงาน e-payment
เงินสด/เช็ค นาฝาก
ที่
โดยตรง โอน KTB
เกี่ยวข้อง

• หัวหน้าส่วนราชการหรือผู้ที่ได้รับมอบหมายเป็นลายลักษณ์อักษรจากหัวหน้าส่วนราชการตรวจสอบจานวนเงิน ที่เจ้าหน้าที่นา
เงินส่งคลัง และนาส่งเงินให้กับหน่วยงานที่เกีย่ วข้อง
เอกสารที่พิมพ์จากหน้าจอทารายการสาเร็จ (จากระบบ K-Crop)
e-Statement บัญชีเงินฝากธนาคารบัญชีเพื่อการรับชาระผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์ EDC และบัญชีอื่นที่เกี่ยวข้อง
ใบนาฝากเงินสดและเช็ค
รายงานการตรวจสอบผลการนาส่งเงินรายได้ของหน่วยจัดเก็บ จากระบบงานรายได้
รายงานการนาส่งรายได้ GFMIS
รายงานสรุปจานวนเงินเพื่อนาฝากคลัง
49
การตรวจสอบเอกสารการนาเงินส่งคลัง และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
50
การตรวจสอบเอกสารการนาเงินส่งคลัง และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
51
การตรวจสอบเอกสารการนาเงินส่งคลัง และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
52
การตรวจสอบเอกสารการนาเงินส่งคลัง และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
53
การตรวจสอบเอกสารการนาเงินส่งคลัง และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

ให้มีผู้ตรวจสอบรายงานจากระบบงานรายได้
เพื่อสอบทานว่ามีการจัดเก็บรายได้เท่าใด
และต้องนาส่งเป็นรายได้แผ่นดินเท่าใด
นาส่งหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเท่าใด
ให้รอบคอบก่อนนาส่งเงิน
54

ประเด็นข้อควรระมัดระวัง
ด้านการจัดเก็บรายได้
55
แบบรายการภาษี และแบบคาขออนุญาต
1. แก้ไขแบบรายการภาษี ใช้น้ายา
ลบคาผิดแก้ไข จานวนเงิน
2. ผู้ประกอบอุตสาหกรรม/ผู้
ประกอบกิจการสถานบริการบางราย
ไม่ได้ยื่นงบเดือนเป็นประจา ทุก
เดือน
3. ผู้ประกอบอุตสาหกรรม หรือผู้
ประกอบกิจการสถานบริการ และ
เจ้าหน้าที่ บันทึกข้อมูลในแบบไม่
ครบถ้วน ถูกต้อง
4. ไม่ได้ลงทะเบียนรับแบบ
รายการภาษี และลายมือชื่อผู้รับ
แบบ
5. ไม่ได้อ้างอิงเลขที่
ใบเสร็จรับเงินในแบบรายการภาษี 1. คาขออนุญาตขายสุรา ยาสูบ และไพ่ ไม่ลงลายมือชื่อของผู้
ขออนุญาต และผู้อนุญาต
2. บันทึกในส่วนเจ้าพนักงานพิจารณาอนุญาตไม่ครบถ้วน
56

แบบคาขอรับแสตมป์

1. แบบคาขอรับแสตมป์ ให้
เจ้าหน้าที่พิจารณาลงความเห็น
และลงนามผู้มีอานาจอนุมตั ใิ น
แบบคาขอรับแสตมป์ก่อนจ่าย
แสตมป์ เมื่อจ่ายแสตมป์แล้วให้
ลงลายมือชื่อผู้จ่ายแสตมป์ด้วย
2. ไม่ได้บันทึกข้อมูล
เครื่องหมายขีดฆ่าแสตมป์
3. ไม่ได้จัดทาแบบคาขอรับ
แสตมป์
4. แบบคาขอรับแสตมป์
ไม่เป็นไปตามประกาศ
กรมสรรพสามิตฯ ของแต่ละ
สินค้า และไม่เป็นปัจจุบัน
57

บัญชีรับ-จ่ายแสตมป์

1. บัญชีรับ-จ่ายแสตมป์
ไม่ได้ลงลายมือชื่อ
ผูล้ งบัญชี-ผู้รับผิดชอบ
หรือเป็นบุคคลเดียวกัน
2. ไม่ได้บันทึกข้อมูล
หลักฐานการจ่าย
58
การใช้ใบเสร็จรับเงิน

1. นาใบเสร็จรับเงินของปีงบประมาณเดิม
(ใบเสร็จรับเงินแบบ 2 และเปรียบเทียบคดี) มาใช้
ปีงบประมาณใหม่
2. การใช้แบบพิมพ์ ไม่เรียงลาดับเลขแบบพิมพ์
3. ไม่ได้ตรวจสอบแบบพิมพ์ก่อนใช้งานทาให้ใช้แบบ
พิมพ์ที่ไม่มเี ลขแบบพิมพ์
4. ใบเสร็จรับเงินเสียขีดฆ่าด้วยดินสอ เฉพาะต้นฉบับ
ไม่ได้ขีดฆ่าสาเนา และไม่ได้เขียนชารุด หรือยกเลิก
5. ไม่ได้มอบหมายเจ้าหน้าที่ และไม่ได้ตรวจสอบจานวน
เงินที่จัดเก็บ การนาส่งกับหลักฐานและรายการที่บนั ทึกไว้
ในระบบว่าถูกต้องครบถ้วนหรือไม่และแสดงยอดรวมเงิน
รับตามใบเสร็จรับเงินทุกฉบับที่ได้รบั ในวันนั้นไว้ในสาเนา
ใบเสร็จรับเงินฉบับสุดท้าย และลงลายมือชือ่ กากับไว้ดว้ ย
59
ทะเบียนคุมรับ-จ่ายแบบพิมพ์

1. ไม่ได้บันทึกทะเบียนคุมรับ-จ่ายแบบ
พิมพ์เป็นรายวัน ตามแบบ ส.ส.1/8 เพื่อ
ควบคุมการใช้ใบเสร็จรับเงิน ให้เป็น
ปัจจุบัน
2. ไม่ได้ลงลายมือชื่อผู้รับและจ่ายแบบ
พิมพ์ในทะเบียนคุมการรับ-จ่ายแบบพิมพ์
ทุกครั้ง
3. จัดเก็บแบบพิมพ์ไว้กับผู้มีหน้าที่รับเงิน
ไม่มีการควบคุมการใช้ใบเสร็จรับเงิน
การรับและนาส่งเงิน

1.ไม่ได้พิมพ์รายงานการรับชาระเงิน EDC Receivable /


รายงานสรุปรายละเอียดการรับเงินของส่วนราชการ/ 3. ไม่ได้ตรวจสอบการชาระค่าใบอนุญาตผ่าน
e-Statement มาตรวจสอบกับสลิปการรับเงินด้วยเครือ่ ง อินเตอร์เน็ตทุกวัน เพื่อให้การออกใบอนุญาตเป็น
EDC/ สลิป Settlement Report และใบเสร็จรับเงิน ปัจจุบัน และไม่เกิดความผิดพลาด มีเงินคงค้าง
ทุกสิ้นวัน ก่อนนาส่งเอกสารให้กบั เจ้าหน้าที่เพื่อนาส่งเงิน ในบัญชีรับชาระค่าธรรมเนียมใบอนุญาตผ่าน
อินเตอร์เน็ตที่ไม่สามารถตรวจสอบได้ว่าเป็นรายใด
2. ไม่ได้นาส่งเงินที่จัดเก็บเป็นรายได้แผ่นดินภายใน
3 วันทาการ นับจากวันที่จัดเก็บรายได้หรือวันที่เช็คเคลียริ่ง 4. ไม่มีการมอบหมายหรือแต่งตั้งบุคคลที่รับผิดชอบ
เพื่อให้เป็นไปตามข้อตกลงของกรมสรรพสามิตกับ เก็บรักษาเงินหลังปิดบัญชี ให้จัดเก็บไว้ในที่ปลอดภัย
กรมบัญชีกลาง 5. การนาเงินค่าปรับเปรียบเทียบคดีส่งฝ่ายการเงิน
ไม่ได้ลงลายมือชื่อผู้นาส่งเงินและผูร้ ับเงินไว้เป็น
60 หลักฐาน
การรับและนาส่งเงิน (ต่อ)

6. ใช้บัญชีเงินฝากธนาคารผิดประเภท เช่น ให้ผู้เสียภาษี


ชาระเงินเข้ามาในบัญชีรบั ชาระค่าธรรมเนียมใบอนุญาต
ผ่านทางอินเตอร์เน็ต
7. มีการเปิดบัญชีเงินฝากธนาคารเพือ่ รับชาระรถยนต์คัน
แรกจากผู้ผิดเงื่อนไข
8. เจ้าหน้าที่รบั ชาระเงินสด แต่บันทึกเป็นโอน
อิเล็กทรอนิกส์ หรือบันทึกเงินสดและโอนเงินจากบัญชี
ตนเองไปยังบัญชี EDC ของหน่วยงาน
9. การนาส่งเงินรายได้ผิดพลาด โดยส่งเงินไปให้หน่วยงาน
ที่เกี่ยวข้องอื่น

61
กรรมการเก็บรักษาเงิน และการจัดทารายงานเงินคงเหลือประจาวัน

1. แต่งตั้งเจ้าหน้าที่การเงินเป็นคณะกรรมการเก็บรักษาเงิน
2. ไม่มีการแต่งตั้งคณะกรรมการสารองไว้
3. ไม่ได้จัดทารายงานเงินคงเหลือประจาวันในวันที่มีการรับเงินสด
หรือเช็ค
4. จัดทารายงานเงินคงเหลือประจาวันทุกวัน แต่ไม่มีการลงลายมือ
ชื่อคณะกรรมการ และบุคคลที่เกีย่ วข้อง /ลงลายมือชื่อไม่
ครบถ้วน
5. จัดทารายงานเงินคงเหลือประจาวัน ไม่ถูกต้องตามที่ระเบียบ
กาหนดฯ
6. รายงานเงินคงเหลือประจาวัน ใช้รูปแบบเดิม / ใช้แบบเป็นแผ่น
7. ไม่ได้บันทึกข้อมูลด้านล่างของรายงานฯ กรณีมีการนาเงินออก
จากตู้นิรภัย
62
การวางเงินประกันค่าภาษี
4. ผู้ประกอบอุตสาหกรรมชาระภาษีภายในวันที่ 15
ของเดือนถัดไป แต่ไม่ได้มาวางเงินประกันค่าภาษี
5. ตรวจสอบวงเงินประกันค่าภาษี ของผู้ประกอบการ
1. ไม่ได้จัดทาทะเบียนคุมหลักประกันค่าภาษีสาหรับ อุตสาหกรรมทุกราย เป็นประจาทุกปี เพื่อไม่ให้เกิดความ
รายผู้ประกอบอุตสาหกรรมที่จดทะเบียนตาม พ.ร.บ. ภาษี เสี่ยงหนังสือค้าประกันหมดอายุ และเป็นไปตามประกาศ
สรรพสามิต พ.ศ. 2560 กระทรวงการคลัง ประกาศกรมสรรพสามิต และ
2. ผูป้ ระกอบอุตสาหกรรมที่ไม่มีภาระภาษีกับกรมฯ หนังสือเวียนที่เกี่ยวข้อง โดยให้คานวณวงเงินประกัน
ไม่ได้มารับเงินเงินค้าประกันค่าภาษีคืนต้องติดตามให้มา ค่าภาษี ร้อยละ 10 ของยอดค่าภาษีเฉลี่ยในระยะ 6 เดือน
รับคืน กรณีเงินสดไม่มีผู้มารับให้นาส่งเป็นรายได้ ที่ล่วงมาแล้ว
แผ่นดิน
3. ไม่ได้จัดทาหนังสือสัญญาวางประกันค่าภาษี ประกาศกรมสรรพสามิตเรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไข
(ภส.03-12) ตาม มาตรา 58 แห่ง พ.ร.บ.ภาษี ให้ผู้ประกอบอุตสาหกรรม ยื่นแบบรายการภาษี พร้อมชาระภาษี
ภายในวันที่ 15 ของเดือนถัดจากเดือนทีน่ าสินค้าออกจาก
สรรพสามิต พ.ศ. 2560 โรงอุตสาหกรรมหรือคลังสินค้า โดยมีหลักประกัน ลงวันที่
16 กันยายน 2560 กาหนดประเภทของหลักประกัน
วงเงินค้าประกันและระยะเวลาของหลักประกัน 63 63
64
การวางเงินประกันค่าภาษี ตัวอย่างทะเบียนคุม
ทะเบียนคุมเงินประกัน 2561
o เงินประกันสัญญา o เงินประกันค่าภาษี หน้า............

ประเภทเงิน (๕) จ่ายคืน


หนังสือค้ำ
วัน เดือน ปี ที่เอกสาร ที่งานสัญญา เงินสด ประกัน ผู้วางหลักประกัน จำนวนเงินรับ
ลำดับ (๑) รายการ (๗) จำนวนเงิน หมายเหตุ (๑๒)
(๒) (๓) (๔) (๖) (๘) วัน เดือน ปี(๙) ที่เอกสาร(๑๐)
เลขที่หนังสือค้ำ (๑๑)
เลขที่ใบเสร็จรับเงิน
ประกัน

-
65

THANKS!
Any questions?

You might also like