You are on page 1of 17

การบริหารเงินสดและหลักทรัพย์ ในความต้ องการของตลาด

การบริหารเงินสด 
      การบริ ห ารเงิน สด (Cash Management) เป็ น การบริ ห ารที่เ กี่ย วข้อ งกับ ประสิ ท ธิภ าพในการเก็บ
รวบรวมเงินสด การจ่ายเงินสดและการลงทุนในหลักทรัพย์ชวั่ คราวของเงินสด ผูจ้ ดั การทางการเงิน มีหน้าที่
รับผิดชอบระบบการบริ หารเงินสดของกิจการ การจัดทำงบประมาณเงินสดเป็ นเครื่ องมือหนึ่งในการบริ หาร
เงินสด เพื่อใช้พยากรณ์ความต้องการเงินสดในอนาคตและการควบคุมการดำเนินการต่างๆ ให้เป็ นไปตาม
งบประมาณ นอกจากนี้ งบประมาณเงินสดของกิจการต้องรายงานข้อมูลที่เกี่ยวข้อง เช่นรายการค้าที่เกิดขึ้น
ในแต่ละเดือน จำนวนเงินสดคงเหลือในบัญชี รายการจ่ายเงินสด ยอดเงินคงเหลือในแต่ละเดือน จำนวน
เงินสด คงเหลือในบัญชี รายการจ่ายเงินสด ยอดเงินสดคงเหลือในแต่ละเดือน เป็ นต้น ดังนั้นจะเห็นได้วา่
ข้อมูลต่างๆนี้มีความจำเป็ นในการบริ หารเงินสดของธุรกิจมาก ซึ่ งระบบการรายงานข้อมูลที่ดีจะช่วยให้
ธุรกิจสามารถบริ หารเงินสดได้อย่างมีประสิ ทธิ
มูลเหตุจูงใจในการถือเงินสด
1. ค่าใช้จ่ายประจำในการดำเนินงานตามปกติ
2. ความปลอดภัย หรื อ การป้ องกันเงินสดขาดมือเมื่อมีเหตุฉุกเฉิ น
3. การเก็งกำไร
4. การดำรงเงินฝากขั้นต่ำ
5. การรักษาเครดิตของธุรกิจ
การจัดการเงินสด
การจัดการเงินสด (cash management) หมายถึง เทคนิคหรื อวิธีการที่ช่วยให้ธุรกิจใช้ เงินสดอย่างมี
ประสิ ทธิ ภาพ และมีปริ มาณเงินสดอย่างเพียงพอสำหรับความต้องการใช้เงินสดตลอดเวลา พยายามให้
เงินสดเข้าเร็ ว ชะลอการจ่ายให้ชา้ และถือเงินสดไว้ไม่มากเกินไป
วัตถุประสงค์ ของการจัดการเงินสด
1. เพื่อเป็ นการรักษาสภาพคล่อง และความสามารถในการทำกำไรให้มีความสมดุลกัน
2. เพื่อให้ธุรกิจมีปริ มาณเงินสดที่เหมาะสมไม่มากหรื อน้อยเกินไป
3. เพื่อให้ธุรกิจได้มีการวางแผนทางการเงิน
ประโยชน์ ที่ได้รับจากการถือเงินสดเพียงพอ
1. ทำให้การดำเนินธุรกิจเป็ นไปอย่างต่อเนื่อง
2. ทำให้อาจจะได้รับผลประโยชน์จากการชำระหนี้ในรู ปของส่ วนลดเงินสด
3. ทำให้อตั ราส่ วนเงินทุนหมุนเวียน มีอตั ราส่ วนดีข้ ึน

การจ่ ายเงินสดและการเก็บเงินสด Cash Disbursement and Collection


การบริ หารเงินสดจากเกี่ยวกับประสิ ทธิภาพในการเก็บเงิน การใช้จ่ายและการลงทุนชัว่ คราวแผนการเงิน
จะรับผิดชอบระบบบริ หารการเงิน โดยจัดการงบประมาณเงินสดซึ่ งจะบอกให้ทราบว่ากิจกรรมการถือ
เงินสดไว้จ ำนวนเท่าใด เมื่อใดและนานเท่าใด งบประมาณเงินสดยังใช้เป็ นพื้นฐานในการพยากรณ์และ
ควบคุมเงินสด นอกจากงบประมาณเงินสดแล้วกิจการยังต้องการ ข้อมูลและการควบคุมเงินสดที่เป็ นระบบ
ดังภาพที่ 1.1 ในองค์กรขนาดใหญ่ขอ้ มูลจะถูกเก็บอยูใ่ นฐานข้อมูล จึงจำเป็ นที่กิจการต้องได้รับการรายงาน
บ่อยครั้ง ตามปกติจะทุกวัน เช่น รายงานยอดคงเหลือ ของบัญชีเงินสดในธนาคาร รายงานการจ่า ยเงิน
รายงานเกี่ยวกับหลักทรัพย์ในความต้องการของตลาดที่กิจการถืออยู่ รายงานเหล่านี้จะช่วยให้กิจการสามารถ
บริ หารเงินสดได้อย่างมีประสิ ทธิภาพ

ภาพที่ 1.1 ระบบการบริ หารเงิน

การลอยตัวของการจ่ ายเงิน Disbursement float เป็ นผลมาจากการเช็คที่กิจการสัง่ จ่ายเจ้าหนี้ ต้องใช้


เวลาในกระบวนการเรี ยกเก็บเงินตามเช็ค การลอยตัวที่เกิดขึ้นจะทำให้ยอดคงเหลือของบัญชีเงินฝากกระแส
รายวันของกิจการลดลงขณะที่ยอดคงเหลือของบัญชีเงินฝากกระแสรายวันของธนาคารไม่เปลี่ยนแปลง
การลอยตัวของการเก็บเงิน Collection float เป็ นผลจากเช็คที่กิจการได้รับต้องใช้เวลาในกระบวนการ
เรี ยกเก็บเงินตามเช็ค การลอยตัวที่เกิดขึ้นจะทำให้ยอดคงเหลือของบัญชีเงินฝากกระแสรายวันของกิจการ
เพิ่มขึ้น ขณะที่ยอดคงเหลือของเงินฝากกระแสรายวันของธนาคารไม่เปลี่ยนแปลง

ภาพที่ 1.2 องค์ประกอบของ Collection float


การลอยตัวสุ ทธิ Net float เท่ากับ Disbursement float หักด้วย Collection float จำนวนเงินลอยตัวสุ ทธิ
เกิดขึ้นจากยอดคงเหลือบัญชีเงินฝากกระแสรายวันของธนาคาร มากกว่า ยอดคงเหลือบัญชีเงินฝากกระแส
รายวันของกิจการ = Disbursement float - Collection float เพื่อทำให้ Net float สู งสุ ดบริ ษทั จึงพยายาม
ให้ Disbursement float สูงสุ ดและ Collection float ต่ำสุ ด

การจ่ ายเงินสด Disbursement of Cash


การจ่ายเงินสดถือเป็ นส่ วนสำคัญของการบริ หารเงินสด มีการจ่ายเงินสดของกิจการมีเป้ าหมายที่ส ำคัญ
2 ประการคือ การทำให้ Net float สูงสุ ด และการทำให้ยอดคงเหลือของบัญชีเงินฝากกระแสรายวันต่ำที่สุด
โดยจะใช้วิธี Remote disbursement account, Zero-balance account, Overdrafts เพื่อให้บรรลุดงั นี้
การเปิ ดบัญชีเงินฝากธนาคารที่อยู่ห่างไกล Remote disbursement account กิจการจะเปิ ดบัญชีเงินฝาก
ในธนาคารที่อยูใ่ นพื้นที่ห่างไกลจากที่ต้ งั ของกิจการ และจะเขียนเช็คสัง่ จ่ายเงินจากธนาคารนี้ ในแก่เจ้าหนี้
เพื่อ เพิม่ เวลาสำหรับกระบวนการเรี ยกเก็บตามเช็ค ดังนั้น Disbursement float จะเพิม่ ขึ้น เช่น ธุร กิจ ที่
กรุ งเทพเขียนเช็คสัง่ จ่ายเป็ นเงินจากธนาคารที่เชียงใหม่ เพื่อจ่ายชำระหนี้แก่เจ้าหนี้ที่สงขลา วิธีน้ ี อาจทำให้
เสี ยความสัมพันธ์ที่ดีกบั Supplier
การเปิ ดบัญชียอดเงินฝากเป็ นศูนย์ Zero-balance account, Overdrafts บัญชีกระแสรายวันของบริ ษทั ที่
กระจานเปิ ดบัญชีไว้ตามพื้นที่ต่า งๆซึ่ งจะมีย อดคงเหลือ เท่ากับศูนย์ บัญชีน้ ีจ ะได้รับเงิน จากบัญชีหลัก
Master account เมื่อยอดเงินคงเหลือติดลบ และในทางตรงข้าม หากยอดเงินคงเหลือเป็ นบวกก็จะโอนเงิน
เข้าบัญชีหลัก
การจ่ ายเงินโดยใช้ ตั๋วแลกเงิน Draft มีลกั ษณะคล้ายกับเช็คแต่ต่างกันที่บริ ษทั จะเป็ นผูอ้ อกตัวเอง ขณะที่
เช็คนั้นธนาคารเป็ นผูอ้ อก เมื่อนำตัว๋ แลกเงินไปขึ้นเงินที่ธนาคาร ผูจ้ ่ายเงินจะต้องตัดสิ นใจว่าจะจ่ายเงินตาม
ตัว๋ แลกเงินหรื อปฏิเสธการจ่ายเงิน บริ ษทั ที่ออกตัว๋ จะได้รับประโยชน์ตรงนี้ ไม่ตอ้ งนำเงินเข้าฝากจนกว่า
ธนาคารจะเรี ยกเก็บ ธนาคารการคิดค่าธรรมเนียมสำหรับการดำเนินการ
การใช้ เงินเบิกเกินบัญชี Overdrafts คือจำนวนเงินที่กิจการสัง่ จ่ายในรู ปของเช็คเกินยอดเงินคงเหลือใน
บัญชี จำนวนเงินที่เกินจากกายเป็ นวงเงินสิ นเชื่อโดยอัตโนมัติ ส่ วนจำนวนเงินจะเป็ นเท่าไหร่ น้ นั ขึ้นอยูก่ บั
การเจรจากับธนาคารที่เกี่ยวกับวงเงินสิ นเชื่อ การใช้เงินเบิกเกินบัญชีจะทำให้กิจการสามารถลดจำนวน
เงินสดที่มีอยูใ่ นมือสำหรับการจ่ายเงินได้

การเก็บเงินสด Collection of Cash


เป้ าหมายที่สำคัญคือ
- ทำให้ Net float สูงสุ ด
- ทำให้ยอดคงเหลือของบัญชีเงินฝากธนาคารกระแสรายวันต่ำที่สุดโดยวิธี Lockbox, Concentration
banking, Preauthorized payment
ระบบการเช่ าตู้ไปรษณีย์ Lockbox
เป็ นวิธีการรับชำระเงินโดยบริ ษทั จะเช่าตูไ้ ปรษณี ยเ์ พื่อให้ลูกค้าส่ งเงินมาชำระหนี้ และให้อ ำนาจธนาคาร
ในการเก็บเงินที่อยูใ่ นตู้ นำเช็คเข้าฝากในบัญชีบริ ษทั แล้วส่ งข้อมูลลูกหนี้ มายังบริ ษทั วัตถุประสงค์ของ
ระบบตูไ้ ปรษณี ยค์ ือการเรี ยกเก็บเงินตามเช็คให้เร็ วที่สุดเท่าที่จะทำได้ ซึ่ งมีผลให้ Collection float ลดลง
ระบบตูไ้ ปรษณี ยส์ ำหรับธุรกิจที่มีขนาดใหญ่ ตามปกติจะมีสถานที่เก็บเงินหลายแห่งอยูใ่ นรู ปเครื อข่าย
และกระจายอยูใ่ นพื้นที่ต่างๆทัว่ ประเทศ ผูจ้ ดั การทางการเงินต้องกำหนดจำนวนตูไ้ ปรษณี ย ์ สถานที่ต้ งั และ
กำหนดให้ลูกค้าส่ งเงินไปยังตูไ้ ปรษณี ยท์ ี่อยูใ่ กล้ที่สุด พอดีของระบบตูไ้ ปรษณี ยค์ ือเช็คของลูกค้าจะถูกนำ
ฝากเข้าธนาคารเร็วที่สุด แต่มีขอ้ เสี ยตรงที่ตน้ ทุนดำเนินงานสู ง เนื่องจากธนาคารต้องให้บริ การพิเศษ ดังนั้น
กิจการจึงต้องนำต้นทุนของตูไ้ ปรษณี ยไ์ ปเปรี ยบเทียบกับกำไรที่เพิ่มขึ้นซึ่ งเป็ นผลมาจากการลอยตัวของการ
เก็บเงินลดลง 1.1 แสดงภาพขั้นตอนของระบบการเช่าตูไ้ ปรษณี ยด์ งั นี้

(1) ฝาก (1) ฝาก ลูกค้ า 1 ลูกค้ า 2 ลูกค้ า 3 ลูกค้ า 4


เช็ค เช็ค

ตู้ไปรษณีย์

(2) เจ้ าหน้ าที่ธนาคารรับมอบอำนาจเปิ ด (3) นำเอกสารทางการเงินมาเข้ าบัญชี


ตู้เก็บเอกสารทางการเงิน ของกิจการที่สาขา

ธนาคาร
ระบบการเคลียร์ เงิน
สาขาในท้ องถิ่น

(4) โอน
เงิน
ธนาคารที่สำนักงาน
ภาพที่ 1.3 ขั้นตอนของระบบการเช่ าตูไ้ ปรษณี ย ์
ของผู้ขายให้ เปิ ดบัญชี
Lock box Process
- กำหนดให้ลูกค้าส่ งเงินไปยังตูไ้ ปรษณี ยท์ ี่อยูใ่ กล้ที่สุด
- ธนาคารได้รับมอบอำนาจในการเก็บเงินที่อยูใ่ นตูท้ ุกวัน
- ธนาคารนำเช็คเข้าฝากในบัญชีบริ ษทั และส่ งข้อมูลลูกหนี้ไปยังบริ ษทั
- บริ ษทั ได้รับข้อมูลลูกหนี้ และจดหมายอื่นๆ
Lock box Process
ข้อดี - เช็คของลูกค้าจะถูกนำฝากเข้าธนาคารเร็ วขึ้นทำให้ Processing float ลดลง
ข้อเสี ย - ต้นทุนดำเนินงานสูง เนื่องจากธนาคารต้องให้บริ การพิเศษ โดยทัว่ ไปจึงไม่เหมาะสำหรับการ
เก็บเงินจำนวนเล็กน้อย
ระบบธนาคารส่ วนกลาง Concentration banking
กิจการที่ใช้เครื อข่าย Lockbox หรื อกิจการที่รับชำระเงินจากลูกหนี้ ที่เคาน์เตอร์ของสำนักงานขายจะมี
ลักษณะเหมือนกัน คือจะมีบญั ชีเงินฝากธนาคารจำนวนมากกระจายไปตามพื้นที่ต่างๆ ซึ่ งอาจทำให้การ
ควบคุมกระแสเงินสดของกิจการไม่ทวั่ ถึง และเพื่อช่วยลดการเก็บเงินสดที่เกินความต้องการใช้ของบัญชีเงิน
ฝากธนาคารท้องถิ่นต่างๆ ซึ่ งอาจนำไปใช้ลงทุนต่อ ดังนั้นจึงมีความคิดที่จะนำเงินทั้งหมดไปรวมไว้ที่
ศูนย์กลางเพียงแห่งเดียวเรี ยกว่า Concentration bank 1.4 แสดงภาพขั้นตอนของวิธีการตั้งศูนย์หรื อตัวแทน
เก็บเงิน

ลูกค้า 1 ลูกค้า 2 ลูกค้า 3 ลูกค้า 4 ลูกค้า 5 ลูกค้า 6 ลูกค้า 7

(1) ส่ งเช็ค (1) ส่ งเช็ค

ศูนย์เก็บเงิน 1 ศูนย์เก็บเงิน 2
(สำนักงานขายท้องถิ่น) (สำนักงานขายท้องถิ่น)
(2) นำเช็คเข้า (2) นำเช็คเข้า
ระบบการ ระบบการ
ธนาคารท้องถิ่น สาขา 1 ธนาคารท้องถิ่น สาขา 2 เคลียร์เงิน
เคลียร์เงิน
(3) โอนเงิน (3) โอนเงิน
ธนาคารศูนย์กลาง
ของผูข้ าย

(4) แจ้งยอด

สำนักงานใหญ่
ภาพที่ 1.4 ขั้นตอนของวิ ธีการตัของกิ
้ งศูนจย์การหรื
หรื อตัวอแทนเก็
ผู ้ บเงิน
บริ หารการเงินของกิจการ
Concentration banking นำเงินทั้งหมดไปรวมไว้ที่ศูนย์กลางเพียงแห่งเดียว
- การควบคุมกระแสเงินสดรับและกระแสเงินสดจ่ายของกิจการดีข้ ึน
- ช่วยลดการเก็บเงินสดที่เกินความต้องการใช้ของบัญชีเงินฝากธนาคารท้องถิ่นต่างๆ
- สามารถนำเงินสดส่ วนเกินที่รวมได้น้ ี ไปใช้ลงทุนต่ออย่างมีประสิ ทธิ ภาพ
กระบวนการย้ายโอนเงินฝากละระหว่างธนาคารที่สำคัญ 2 วิธี
1. Depository Transfer Check (DIC) การย้ายเงินโดยใช้เช็ค (เพื่อถอนเงินจากบัญชีธนาคารท้องถิ่น)
ซึ่ งเป็ นเช็คที่พิมพ์ไว้แล้วล่วงหน้า (Preprinted depository check) สัง่ จ่ายเงินหรื อหมายถึงนำฝากเงิน
ไปยังบัญชีของกิจการที่ Concentration bank แทน กิจการยังไม่สามารถใช้เงินก้อนนี้ได้ทนั ทีเพราะ
ต้องรอการเคลียร์ริ่งเช็คก่อน
2. Automated Clearinghouse (ACH) Electronic Transfer คือวิธีการ DTC พี่โอนเงินผ่านเครื่ อง
Electronic ใช้กบั ธนาคารที่เป็ นสมาชิกของ automated clearinghouse การย้ายเงินวิธีน้ ี จะทำให้
สามารถใช้เงินได้ในหนึ่งวันทำการ และเนื่องจากต้นทุนไม่ค่อยสู งมากนะกิจการส่ วนมากจึงใช้วิธี
นี้แทน DTC ซึ่ งย้ายโอนเงินทาง ไปรษณี ย ์
การจ่ ายเงินด้ วยเช็คที่อนุมัติล่วงหน้ า Preauthorized payment วิธีน้ ีอนุญาตให้กิจการถอนเงินผ่านบัญชี
กระแสรายวันของลูกค้าได้ จนถึงระดับที่ก ำหนดไว้ล่วงหน้า เนื่องจากวิธีน้ ี ไม่ตอ้ งมีการตรวจสอบรายการ
งานลอยตัวที่เกิดจากการส่ งไปรษณี ยห์ รื อเคลียริ่ งจึงไม่เกิดขึ้น วิธีน้ ีเหมาะสมกับกิจการที่มีลูกค้าจำนวนมาก
และยอดจ่ายเงินของลูกค้ามีจ ำนวนคงที่แน่นอน ข้อดีของวิธีน้ ี คือลดการลอยตัวและลดต้นทุนงานธุรการ
อย่างเห็นได้ชดั

วงจรกระแสเงินสด Cash Cycle


วงจรเงินสด คือ ระยะเวลาที่ใช้ต้ งั แต่เริ่ มผลิตสิ นค้าหรื อบริ การจนได้เงินสดกลับมาเข้าบริ ษทั ค่านี้ยงิ่ ต่ำ
ยิง่ ดี เพราะนัน่ หมายความว่าเราจะมีเงินคืนกลับมาเร็ วเพื่อนำไปผลิตสิ นค้ารอบถัดไป ถ้าสมมติว า่ คุณผลิต
สิ นค้าได้เอาไปขายได้ก ำไรดีมาก แต่ลูกหนี้กว่าจะจ่ายเงินคืนคือปี หน้า คุณก็อาจจะมีเงินสดไม่มากพอเพื่อนำ
มาซื้ อวัตถุดิบต่อเพื่อผลิตสิ นค้ารอบถัดไป อัตราการเติบโตของบริ ษทั คุณก็อาจจะช้าลง หรื อ ถ้าคุณไม่อยาก
ให้ชา้ ลง คุณก็ตอ้ งไปกูเ้ งินมาลงทุนซึ่ งก็จะมีค่าใช้จ่ายเช่นดอกเบี้ยเพิ่มเติม
คำนวน Cash Cycle
Cash Cycle =ระยะเวลาการหมุนเวียนของสิ นค้าคงเหลือ + ระยะเวลาเก็บหนี้– ระยะเวลาชำระหนี้
ระยะเวลาการหมุนเวียนของสิ นค้าคงเหลือ (วัน)
- สิ นค้าคงเหลือ / ต้นทุนขายโดยเฉลี่ยต่อวัน
ระยะเวลาการเรี ยกเก็บหนี้ (วัน)
- ลูกหนี้การค้า / ยอดขายโดยเฉลี่ยต่อวัน
ระยะเวลาการชำระหนี้ (วัน)
- เจ้าหนี้การค้า / ต้นทุนขายโดยเฉลี่ยต่อวัน

ตัวอย่ าง 1.1
บริ ษทั วนา จำกัด ผลิตสิ นค้าได้วนั ละ 3000 หน่วย ต้นทุนหน่วยล่ะ 400 บาท ระยะเวลาในการผลิตและขาย
สิ นค้า 20 วัน ระยะเวลาในการเรี ยกเก็บหนี้ 30 วัน ระยะเวลาในการเรี ยกเก็บหนี้ 40 วัน วงจรเงินสดของ
บริ ษทั เป็ นกี่วนั และบริ ษทั ต้องมีเงินสดไว้ใช้เท่าไหร่
วงจรเงินสด = อายุสินค้า + อายุลูกหนี้ + อายุเจ้าหนี้
= 20 + 30 – 40 = 10 วัน
จำนวนเงินสดที่ตอ้ งมี 3000 (400)(10) = 12000000 บาท

ถ้าระยะเวลาในการเรี ยกเก็บหนี้เหลือ 25 วันบริ ษทั ต้องมีเงินสดไว้เท่าไหร่


วงจรเงินสด = 20 + 25 – 40 = 5 วัน
จำนวนเงินสดที่ตอ้ งมี 3000 (400)(5) = 6000000 บาท

ตัวอย่ าง 1.2
บริ ษทั ตะวัน จำกัด ผลิตและจำหน่ายอาหารสำเร็ จรู ปชนิดหนึ่ง จ่ายวัตถุดิบ 30 วัน ให้ credit term แก่ลุกค้า
60 วัน จากการพิจารณาของฝ่ ายบริ หารพบว่าเวลาโดยเฉลี่ยที่บริ ษทั ชำระหนี้ 30 วัน ลูกหนี้ ช ำระเงินแก่
บริ ษทั 80 วัน เวลาในการถือสิ นค้าคงคลังโดยเฉลี่ย 70 วัน ต้องปรับปรุ ง Cash cycle ให้มี
วงจรเงินสดในปัจจุบนั = 70 + 80 – 30 = 120 วัน
1. ขอยืดเวลาในการชำระหนี้จาก 30 วันเป็ น 45 วัน
2. ลดเวลาในการถือสิ นค้าให้เหลือ 40 วัน
3. เร่ งการชำระเงินจากลูกหนี้ ให้เร็ วขึ้นเป็ น 60 วัน
ให้พิจารณาผลของทางเลือกทั้ง 3 มีต่อ Cash cycle
ทางเลือกที่ 1 ยืดเวลาในการชำระหนี้จาก 30 วันเป็ น 45 วัน
วงจรเงินสด = 70 + 80 – 45 = 105 วัน
ทางเลือกที่ 2 ลดเวลาในการถือสิ นค้าให้เหลือ 40 วัน
วงจรเงินสด = 40 + 80 – 30 = 90 วัน
ทางเลือกที่ 3 เร่ งการชำระเงินจากลูกหนี้ให้เร็ วขึ้นเป็ น 60 วัน
วงจรเงินสด = 70 + 60 – 30 = 130 วัน
ถ้าสามารถทำได้หมดทุกทางเลือก
วงจรเงินสด = 40 + 60 – 30 = 55 วัน

สำหรับ Cash cycle ในปัจจุบนั 120 วันมีคา่ ใช้จ่ายทั้งปี ดังนี้


ต้นทุนสิ นค้าขาย 2,400,000 บาท
ค่าใช้จ่ายในการขายและดำเนินงาน 900,000 บาท
ค่าใช้จ่ายอื่นๆ 160,000 บาท
ภาษี 30,000 บาท
ค่าเสื่ อมราคา 250,000 บาท
ค่าเสื่ อมราคารวมอยูใ่ นค่าใช้จ่ายดำเนินงานแล้ว

เงินสดที่บริ ษทั ต้องมีไว้ใช้ในการดำเนินงาน


ค่าใช้จ่ายทั้งหมดที่ตอ้ งจ่ายเป็ นเงิน = 2,400,000 + 900,000 + 160,000 + 30,000 – 250,000 = 3,240,000 บาท
ค่าใช้จ่ายทั้งหมดที่ตอ้ งจ่ายเป็ นเงิน = 3,240,000 บาท
อัตราการหมุนเวียนของเงินสดใน 1 ปี
= เวลาที่ใช้ในการดำเนินงาน / Cash cycle
= 360 / 120 = 3 รอบ
จำนวนเงินสดที่ตอ้ งถือไว้
= ค่าใช้จ่ายที่เป็ นเงินสด / รอบ
= 3,240,000 / 3 = 1,080,000 บาท

นโยบาย
1 2 3 4
อัตราการหมุนเวียนเงินสด (รอบ) 3.43 4 2.77 6.55
จำนวนเงินสดที่ตอ้ งมีไว้ (พันบาท) 944.6 810.0 1169.7 494.7

ถ้าทำได้ท้ งั หมด ควรใช้ทางเลือกที่ 4 พอจะมีเงินสดไว้จ่ายในแต่ละรอบของวงจรเงินสดน้อยที่สุดคือ


494,656 บาท แต่ถา้ ต้องเลือกจาก 3 ทางเลือก ก็ควรเลือกทางเลือกที่ 2 เพราะต้องมีเงินสดไว้จ่าย 810,000
บาท และวงจรเงินสดเป็ น 90 วัน
การทำให้ Cash cycle สั้นลงมักทำได้ 2 เรื่ องนี้
1. จ่ายเงินสดให้ชา้ ลง
- Centralized Debt
- Zero-Balance Account
2. เร่ งการรับเงินสดให้เร็ วขึ้น
- Pre-authorized Debit
- Concentration Banking
- Look Box Collection System

ตัวอย่ าง 1.3
บริ ษทั เอก จำกัด มีตน้ ทุนของเงินทุนโดยเฉลี่ย 12% ถ้าขณะนี้บริ ษทั ทวีจ ำ กัดซึ่ งเป็ นลูกค้าชำระเงินที่เป็ น
หนี้ 210,000 บาทเข้าไป 10 วัน ช้าไป 10 วันบริ ษทั จะมีตน้ ทุนที่ตอ้ งเสี ยเพิ่มขึ้นเท่าไหร่
ต้นทุนที่เสี ยเพิ่ม = 210,000 (0.12)(10/30)
= 700 บาท
ตัวอย่ าง 1.4
บริ ษทั บีบี จำกัด กำลังจะนำวิธีการเก็บเงินแบบ Look Box Collection System มาใช้แทนวิธีเดิม วิธีน้ ี จะช่วย
ให้เก็บเงินได้เร็วขึ้นกว่าเดิม 4 วัน โดยเฉลี่ยเก็บเงินได้วนั ละ 300,000 บาท ถ้าเปลี่ยนมาเป็ นแบบ Look Box
Collection System จะเสี ยค่าใช้จ่ายสำหรับการรับบริ การของธนาคารเพิม่ ขึ้น 20,000 บาทต่อปี อัตราผล
ตอบแทนจากการลงทุนในหลักทรัพย์ 5% ต่อปี บริ ษทั ควรเปลี่ยนมาเป็ นแบบ Look Box Collection System
หรื อไม่
เปรี ยบเทียบระหว่างรายได้ที่เพิ่มขึ้นกับค่าใช้จ่ายที่เพิ่มขึ้น
รายได้ที่เพิ่มขึ้น (0.50)(300,000)(4) = 60,000 บาทต่อปี
รายจ่ายที่เพิ่มขึ้น = 20,000 บาท
รายได้เพิม่ มากกว่ารายจ่าย. = 40,000 บาท
ดังนั้นควรใช้ Look Box Collection System ในการจัดเก็บเงิน

การกำหนดยอดเงินสดคงเหลือตามเป้ าหมาย Determining the Target Cash Balance


การกำหนดยอดเงินสดคงเหลือตามเป้ าหมาย (ยอดเงินสดคงเหลือขั้นต่ำที่เหมาะสม) เกี่ยวข้องกับการ
หาวิธีที่จะช่วยลดต้นทุนของการถือเงินสดไว้ให้ต ่ำที่สุด ตามรู ปแบบพื้นฐานต้นทุนรวม คือผลรวมของ
ต้นทุนค่าเสี ยโอกาสในการถือเงินสดกรณี ถือเงินสดมากเกินไปกับต้นทุนในการซื้ อขายหลักทรัพย์กรณี ถือ
เงินสดไว้นอ้ ยเกินไป รู ปแบบพื้นฐานเหล่านี้ต้ งั อยูบ่ นข้อสรุ ปที่มีขอ้ จำกัด ดังนั้นสู ตรในการคำนวณจึงไม่ซบั
ซ้อน
การศึกษารู ปแบบการกำหนดยอดเงินสดคงเหลือ กำหนดให้บริ ษทั ต่างๆถือสภาพคล่องส่ วนเกินไว้ใน
รู ปแบบของหลักทรัพย์ในความต้องการของตลาด ดังนั้นเมื่อมีความต้องการเงินสดจะเหมือนกับการขาย
หลักทรัพย์ในความต้องการของตลาดออกไป
มีวิธีการบริ หารที่สำคัญ 3 วิธีคือ
- Baumol Model
- Miller-Orr Model
- Stone model

Baumol Model
ผูค้ ิดค้นรู ปแบบนี้ คือ William Baumol ซึ่ งมีแนวความคิดว่า เงินสดคงเหลือเป็ นสิ นค้าคงเหลือประเภท
หนึ่ง เริ่ มด้วยเมื่อกิจการมีเงินสดคงเหลือเท่ากับศูนย์จะจัดหาเงินสดจำนวนหนึ่งเท่ากับ C ดังนั้น ณ จุดเวลา
ศูนย์ สิ นค้าคงเหลือในรู ปแบบของเงินสดจะเท่ากับ C ดังแสดงในภาพที่ 1.5 เมื่อเวลาผ่านไปเงินสดจะถูกนำ
ไปใช้จนกระทัง่ ยอดคงเหลือเท่ากับศูนย์ ก่อนที่เหตุการณ์น้ ี จะเกิดขึ้นกิจการจะจัดหา Reorder เงินก้อนใหม่
C เข้ามา การจัดหาจะเกิดขึ้นก่อนที่เงินสดจะเท่ากับศูนย์เล็กน้อยหรื อภายในเวลาที่ท ำให้เงินสดติดลบ รู ป
แบบนี้ต้ งั ข้อสมมุติการใช้เงินสดของกิจการมีอตั ราคงที่ และต้นทุนต่อครั้งในการขายหลักทรัพย์ไม่ข้ ึนกับ
ปริ มาณหลักทรัพย์ที่ขาย

ภาพที่ 1.4 การบริ หารเงินสดตามวิธี Baumol Model

Baumol Model ได้ก ำหนดตัวแปรในการคำนวณไว้ดงั นี้


C = ปริ มาณเงินสดที่จดั หา
S = ต้นทุนคงที่ของการขายหลักทรัพย์ในความต้องการของตลาด
D = เงินสดที่ตอ้ งการในงวด
R = ต้นทุนค่าเสี ยโอกาสในการถือเงินสด
ต้นทุนในการบริ หารเงินสดรวม (Total costs : TC) คือผลรวมของต้นทุนในการถือเงินสดบวกกับต้นทุน
ในการจัดหาเงินสด
ต้นทุนรวม = ต้นทุนในการถือเงินสด + ต้นทุนในการจัดหาเงินสด

ต้นทุนในการถือเงินสดคำนวณได้โดยคุณยอดเงินสดในมือถัวเฉลี่ยด้วยต้นทุนค่าเสี ยโอกาสในการถือ
เงิน สด เมื่อ พิจ ารณา ภาพที่ 1.4 จะพบว่าเงิน สดสู งสุ ด อยูท่ ี่ C เงิน สดต่ำสุ ด อยูท่ ี่ศูน ย์ เงิน สดเฉลี่ย จึงอยู่
ระหว่างค่าสู งสุ ดและต่ำสุ ด นัน่ คือ C/2 ดังนั้นต้นทุนในการถือเงินสดจึงเท่ากับ
C CR
ต้นทุนในการถือเงินสด = 2 R = 2
ต้นทุนในการจัดหาเงินสดคำนวณได้โดยคูณจำนวนครั้งที่จดั หาเงินสดในงวดโดยต้นทุนคงที่ของการขาย
หลักทรัพย์ในความต้องการของตลาด จำนวนครั้งที่จดั หาในงวดคำนวณได้จากเงินสดที่ตอ้ งการเลยงวดหาร
ด้วยปริ มาณเงินสดที่จดั หาต่อครั้ง หรื อ D/C ดังนั้นต้นทุนในการจัดหาเงินสดจึงเท่ากับ
D DS
ต้นทุนในการจัดหาเงินสด = C S = C

ต้นทุนในการบริ หารเงินสดรวม (TC) จึงเท่ากับผลรวมของต้นทุนในการถือเงินสดและต้นทุนในการ


จัดหาเงินสด แสดงได้ดงั สมการต่อไปนี้
CR DS
TC = 2 + C →1.1

ปริ มาณเงินสดที่เหมาะสมที่สุดในการจัดหา C* ซึ่ งเป็ นจำนวนที่ท ำให้ตน้ ทุนรวมต่ำสุ ด หาได้จากการหา


อนุพนั ธ์ ในแคลคูลสั เบื้องต้น คำนวณได้จากสู ตรต่อไปนี้
C* = √ 2 DS
R
→1.2

ตัวอย่าง บริ ษทั นนที จำกัด ต้องการใช้เงินสดตลอดปี 9,000,000 บาท ต้นทุนคงที่ของการขายหลักทรัพย์


ในความต้องการของตลาดเท่ากับ 264.50 บาทต่อครั้ง ต้นทุนค่าเสี ยโอกาสในการถือเงินสดเท่ากับ 9% ต่อปี
คำนวณปริ มาณเงินสดที่เหมาะสมที่สุดในการจัดหา
ปริ มาณเงินสดที่จดั หา คำนวณได้ดงั นี้
C* = √2 DS
R

√= 230,000 บาท
=
2(9,000,000)( 264.50)
0.09

ต้นทุนในการจัดหาเงินสด = S(D/C) = 10,350 บาท


ต้นทุนในการถือเงินสด = R(C/2) = 10,350 บาท
ต้นทุนรวม = 20,700 บาท
จำนวนครั้งที่จดั หาในงวด = D/C = 39.13 ครั้ง
เงินสดเฉลี่ย = C/2 = 115,000 บาท

Baumol Model มีขอ้ จำกัดที่สำคัญประการหนึ่ง คือการสมมุติให้กระแสเงินสดสุ ทธิ ลดลงในอัตราคงที่


แต่ความเป็ นจริ งแล้ว กิจการส่ วนใหญ่จะมีกระแสเงินสดรับและกระแสเงินสดจ่ายแปลผันไปตามวงจรธุรกิจ

Miller-Orr Model
เป็ นแนวคิดที่พฒั นาขึ้นโดย Merton Miller และ Daniel Orr ซึ่ งพยายามทำให้ขอ้ มูลสมมุติของกระแส
เงินสดสุ ทธิ ที่ลดลงคงที่มีความยืดหยุน่ มากขึ้น แนวคิดนี้ มีขอ้ สมมุติวา่ กระแสเงินสดสุ ทธิ ในแต่ละวันมีการก
ระจายแบบปกติ จึงเป็ นแนวคิดที่เป็ นไปได้จริ งมากกว่าแนวคิดแรก
Merton Miller และ Daniel Orr ได้ออกแบบรู ปแบบการกำหนดยอดเงินสดคงเหลือแบบมีระดับจำกัด ซึ่ ง
ยอมให้เ งิน สดคงเหลือ มีก ารเปลี่ย นแปลงทั้ง บวกและลบในช่ว งระดับ จำกัด นี้ ภาพที่ 1.5 แสดงการ
เปลี่ยนแปลงของเงินสดภายในช่วงระดับจำกัดตามวิธี Miller-Orr Model เงินสดคงเหลือจะเคลื่อนที่สูงขึ้ น
หรื อลดลงอย่า งอิสระในระหว่า งช่ว งระดับ จำกัด นี้ ถ้า เงิน สดเคลื่อ นที่สูงขึ้น จนถึงระดับ สู ง สุ ด (Upper
control limit หรื อ U) ที่จุด t1 ผูจ้ ดั การทางการเงินจะซื้ อหลักทรัพย์ในความต้องการของตลาด จำนวนที่ซ้ื อ
U-T ซึ่ งเป็ นเงินสดคงเหลือระหว่าง U และ T ถ้าเงินสดลดลงจนถึงระดับต่ำสุ ด (Lower control limit หรื อ L)
ที่จุด t1 ผูจ้ ดั การทางการเงินจะขายหลักทรัพย์ในความต้องการของตลาดออกไป จำนวนที่ขายเท่ากับ T-L ซึ่ ง
หมายถึงเงินสดคงเหลือระหว่าง L และ T ทั้งสองกรณี เงินสดคงเหลือจากกลับไปมียอดคงเหลือที่ต ำแหน่ง T
ซึ่ งเป็ นระดับเงินสดตามเป้ าหมาย
ฝ่ ายบริ หารจะกำหนดระดับต่ำสุ ด (L) คือเงินสดคงเหลือที่ปลอดภัย (Safety stock of cash) หากกิจการ
กำหนดมูลค่าระดับต่ำสุ ดให้มากขึ้น โอกาสของการขาดแคนเงินสดก็จะน้อยลง ระดับเงินสดที่ต ่ำที่สุด (L)
ควรเท่ากับยอดคงเหลือขั้นต่ำของบัญชีเงินฝากที่ธนาคารต้องการ (Compensating balance)

ภาพที่ 1.5 การเปลี่ยนแปลงของเงินสดคงเหลือตามวิธี Miller-Orr Model

ระดับเงินสดคงเหลือตามเป้ าหมาย (T) คำนวณได้ดงั นี้


2
T = 3 3 Sσ +L →1.3
4r

กำหนดให้
S = ต้นทุนในการซื้ อหรื อขายหลักทรัพย์ต่อรายการ
σ = ความแปรปรวนของกระแสเงินสดสุ ทธิ ต่อวัน
2

R = ต้นทุนค่าเสี ยโอกาสในการถือเงินสดต่อวัน
L = ระดับเงินสดต่ำสุ ด
T = อยากเงินสดคงเหลือตามเป้ าหมาย
การหาค่า T ผูจ้ ดั การทางการเงินต้องกำหนดค่าความแปรปรวน (Variance) ของกระแสเงินสดสุ ทธิ
คำนวณหาค่า U ทำได้โดยการใช้สูตรนี้

2
U = 3 3 3 Sσ +L →1.4
4r

หรื อ U = 3T-2L →1.5


จะพบว่าสู ตรการหาค่า T และค่า U จะคล้ายกัน เป็ นผลให้ระดับเงินสดตามเป้ าหมายเท่ากับ 1 ใน 3 ส่ วน
ของระยะจากระดับต่ำสุ ด (L) ไปถึงระดับสูงสุ ด (U)
ระดับเงินสดคงเหลือถัวเฉลี่ย (Average cash balance) หาได้จากสู ตร
4 T −L
ACB = 3 →1.6

ตัวอย่าง ต้นทุนค่าเสี ยโอกาสในการถือเงินสด (r) เท่ากับ 5% ต่อปี และต้นทุนในการซื้ อหรื อขายหลักทรัพย์


ต่อรายการ (s) เท่ากับ 50 บาท ความแปลปวนของกระแสเงินสดสุ ทธิ ต ่อวัน (V) เท่ากับ 100,000 บาท และ
ธนาคารกำหนดให้กิจการต้องมีเงินขั้นต่ำ (L) เท่ากับ 1000 บาท
T=√= 3,014 + 1,000 = 4014+ 1,000
3 3 × 50× 100,000
4 × 0.05/ 365

U = 3(4,014)-2(1,000) = 10,042
4 ( 4,014 )−1,000
ABC = 3
= 5,055

Miller-Orr Model ให้ขอ้ สมมุติวา่ เงินสดถูกใช้ในอัตราคงที่มีความยืดหยุน่ โดยมีขอ้ สมมุติว า่ กระแส


เงินสดสุ ทธิ ต่อวันมีการกระจายแบบปกติ และการเปลี่ยนแปลงของเงินสดคงเหลืออาจเป็ นบวกหรื อลบก็ได้
เงินสดคงเหลือจากเคลื่อนที่ข้ึนหรื อลงระหว่างระดับเงินเงินสดสู งสุ ดและต่ำสุ ดที่ต้ งั ไว้

Stone model
วิธี Stone model จะพิจารณาข้อมูลเกี่ยวกับกระแสเงินสดในอนาคต ก่อนที่ผจู ้ ดั การทางการเงินจะตัดสิ น
ใจซื้ อหรื อขายหลักทรัพย์ในความต้องการของตลาด แนวความคิดที่จะแตกต่างจาก Miller-Orr Model ซึ่ ง
บริ หารเงินสดตามยอดคงเหลือของเงินสดโดยเทียบกับระดับสู งสุ ดและระดับต่ำสุ ดเท่านั้น
Stone model เหมือนกับ Miller-Orr Model ตรงที่มีการกำหนดระดับเงินสดสู งสุ ด (U) ระดับเงินสดต่ำ
สุ ด (L) และระดับเงินสดตามเป้ าหมาย (T) แต่ Stone model มีการกำหนดระดับควบคุมภายในคือ (U-du)
และ (L+ dL) พารามิเตอร์ใหม่สองตัวคือ du และ dL จะสะท้อนให้เห็นความเบี่ยงเบนจากระดับสู งสุ ดและ
ระดับต่ำสุ ด ภาพที่ 1.6 แสดงให้เห็นถึงลักษณะการบริ หารเงินสดรู ปแบบนี้
การบริ หารเงินสดตามวิธี Stone model เหมือนกับวิธี Miller-Orr Model ตราบเท่าที่เงินสดคงเหลืออยู่
ภายในระดับสูงสุ ดและระดับต่ำสุ ด ภายใต้ภาวะเช่นนี้กิจการยังไม่ตอ้ งดำเนินการใดๆ หากเงินสดคงเหลือ
ไม่อยูภ่ ายในระดับสูงสุ ด และระดับ ต่ำสุ ด วิธี Stone model จากคาดคะเนกระแสเงินสดสุ ท ธิ ใ นอนาคต
สำหรับเวลา K วันถัดไป ในกรณี น้ ี กิจการจะนำกระแสเงินสดสุ ทธิ ที่คาดคะเนมาพิจารณาด้วย โดยนำมาบวก
กับยอดเงินสดคงเหลือปัจจุบนั ถ้าเงินสดคงเหลือที่คาดว่าจะเกิดขึ้นยังอยูน่ อกระดับจำกัดภายใน ผูจ้ ดั การ
ทางการเงินจะซื้ อหรื อขายหลักทรัพย์ในความต้องการของตลาดเพื่อให้เงินสดคงเหลือมียอดกลับมาอยู ท่ ี่
ระดับเป้ าหมาย การซื้ อหรื อขายหลักทรัพย์น้ ี ข้ ึนอยูก่ บั ยอดเงินสดคงเหลือที่คาดคะเนหลังจาก K วัน

ภาพที่ 1.6 การบริ หารการเงินโดยวิธี Stone model

การลงทุนในหลักทรัพย์ ในความต้ องการของตลาด Investing in Marketable Securities


หลักทรัพย์ ในความต้ องการของตลาด
สภาพคล่องทางการเงิน ถือเป็ นหัวใจหลักของการประกอบกิจการ เพราะไม่เพียงแต่ท ำให้กิจการสามารถ
ดำเนินกิจกรรมภายในต่างๆได้อย่างราบรื่ นเท่านั้น แต่สภาพคล่องของกิจการยังเป็ นปั จจัยหลักที่นกั ลงทุน
ส่ วนใหญ่น ำมาประกอบการพิจารณาความสามารถในการบริ หารและการดำเนินงาน อีกทั้งเป็ นปั จจัยสำคัญ
ที่ส่งเสริ มให้สถานะทางการเงินของธุรกิจมีภาพลักษณ์ที่ดี มีความมัน่ คงและมีเสถียรภาพในสายตานักลงทุน
ดังนั้น ดังนั้น หากจะประเมินสภาพคล่องของกิจการ ก็ตอ้ งประเมินที่ความสามารถในการจ่ายหนี้ระยะสั้น
ข อ ง ก ิจ ก า ร
โดยคำนวณจากสูตร อัตราส่ วนวัดสภาพคล่อง (Liquidity Ration) = สิ นทรัพย์หมุนเวียน / หนี้สินหมุนเวียน
ซึ่ งตัวแปรที่สำคัญในสูตรนี้คือ มูลค่าสิ นทรัพย์หมุนเวียนจะต้องมีค่ามากกว่าจำนวนหนี้สินหมุนเวียน(ระยะ
สั้น)ของกิจการ และต้องเป็ นหลักทรัพย์ในความต้องการของตลาด โดยแนวคิดเกี่ยวกับการจัดการและความ
สำคัญของหลักทรัพย์ในความต้องการของตลาด
สิ นทรัพย์ที่มีสภาพคล่องสู ง สามารถเปลี่ยนเป็ นเงินสดได้อย่างรวดเร็ ว โดยนำไปขายในตลาดได้ทนั ที
และแปรเปลี่ยนเป็ นเงินสดได้ตามราคาที่อยูใ่ นตลาดหุน้ ขณะนั้นๆ เช่น หุน้ พันธบัตรรัฐบาล ตัว๋ เงินคลัง ตัว๋
แลกเงิน ในรับฝากธนาคารพาณิ ชย์ เป็ นต้น ซึ่ งหลักทรัพย์ในความต้องการของตลาดสามารถจำแนกได้เป็ น
2 ประเภทใหญ่ๆคือ
1. หลักทรัพย์ในความต้องการของตลาดประเภทหุน้ (Marketable equity securities) ซึ่ งหมายถึงหลัก
ทรัพย์ที่แสดงความเป็ นเจ้าของทุนของกิจการ เช่น การถือครองหุน้ สามัญ หุน้ บุริมสิ ทธิ
2. หลักทรัพย์ในความต้องการของตลาดประเภทหนี้ (Marketable debt securities) ซึ่ งหมายถึงหลัก
ทรัพย์ที่แสดงสภาพความเป็ นเจ้าหนี้ เช่น  หุน้ กูบ้ ริ ษทั หรื อพันธบัตรรัฐบาล
ความสำคัญของหลักทรัพย์ในความต้ องการของตลาดต่ อกิจการ
นอกจากเงินสดแล้ว หลักทรัพย์ในความต้องการของตลาดถือเป็ นสิ นทรัพย์หมุนเวียนที่ส ำคัญมากของ
กิจการ เพราะนอกจากเป็ นตัวช่วยสร้างสภาพคล่องที่ดีให้กิจการแล้ว ยังมีความสำคัญในการถือครอง 3
ประการด้วยกันคือ
1. เพื่อให้กิจกรรมการดำเนินงานของกิจการดำเนินได้อย่างต่อเนื่อง ซึ่ งสิ นทรัพย์ในความต้องการของ
ตลาดมีไว้เพื่อใช้จ่ายในการดำเนินกิจกรรมประจำวันของกิจการ เช่น เป็ นต้นทุนในการซื้ อวัตถุดิบ
จ่ายค่าจ้างแรงงาน ค่าน้ำค่าไฟในการผลิต โดยสามารถนำมาแปรเปลี่ยนเป็ นเงินสดได้ทนั ท่วงทีใน
กรณี กระแสเงินสดของกิจการไม่เพียงพอ เพื่อป้ องกันกิจกรรมการผลิตหยุดชะงักจนเกิดผลเสี ยตาม
มา เช่น ผลิตสิ นค้าไม่ทนั หรื อส่ งสิ นค้าล่าช้าจนถูกปรับ เป็ นต้น
2. เพื่อใช้ด ำเนินกิจกรรมในกรณี ฉุกเฉิน  หากเกิดกรณี ฉุกเฉิ นในกิจการเช่น ไฟไหม้เครื่ องจักรเสี ยหาย
เงินสดในกิจการอาจไม่เพียงพอหรื อการกูเ้ งินจากธนาคารเพื่อซื้ อเครื่ องจักรใหม่อาจใช้เวลานาน ดัง
นั้นหากกิจการมีสินทรัพย์หมุนเวียนที่เป็ นหลักทรัพย์ในความต้อ งการของตลาด เช่น หุน้ หรื อ
พันธบัตร ก็จะสามารถแปรเปลี่ยนมาเป็ นเงินสดได้ในเวลาอันรวดเร็ ว ทำให้สามารถแก้ไขปั ญหา
กรณี ฉุกเฉินได้อย่างทันท่วงที
3. เพื่อใช้ในการลงทุน หากกิจการลงทุนในหลักทรัพย์ที่เป็ นความต้องการของตลาด ไม่เพียงแต่เสริ ม
สร้างสภาพคล่องของกิจการให้เพิ่มขึ้นเท่านั้น แต่ยงั เป็ นเพิ่มโอกาสสร้างผลตอบแทนให้แก่กิจการ
ในอนาคตได้ เช่น การลงทุนซื้ อหุน้ ในกิจการที่คาดว่าจะมีผลประกอบการที่ดีจนราคาหุน้ สู งขึ้นใน
อนาคต
ดังนั้น จะเห็นได้วา่ แม้การถือครองเงินสดจะส่ งผลดีต่อสภาพคล่องของกิจการ แต่การมีเงินสดมากเกิน
ความจำเป็ นอาจทำให้เกิดการสูญเสี ยโอกาสทางธุรกิจ เพราะเงินสดไม่ก่อให้เกิด รายได้ และผลตอบแทนต่อ
กิจการ ดังนั้นหากนำเงินสดไปลงทุนในหลักทรัพย์ที่เป็ นความต้องการของตลาดไม่เพียงแต่เสริ มภาพลักษณ์
ที่ดีในส่ วนสิ นทรัพย์หมุนเวียนของกิจการ ยังเป็ นการสร้างโอกาสในการลงทุนและได้รับผลตอบแทนที่สูง
ขึ้น และในขณะเดียวกันก็สามารถขายหลักทรัพย์แปรเปลี่ยนมาเป็ นเงินสดได้ทนั ทีที่ก ิจการมีสภาพเงินสด
ขาดมือ ดังนั้นการจัดการเงินสดและหลักทรัพย์ในความต้องการของตลาดให้เหมาะสม จึงเป็ นเรื่ องที่ผ ู ้
บริ หาร / เจ้าของกิจการจำเป็ นต้องให้ความสำคัญ
หลักเกณฑ์ ในการเลือกหลักทรัพย์ Criteria for Selection
ก่อนที่จะตัดสิ นใจเลือกซื้ อหลักทรัพย์ ผูจ้ ดั การทางการเงินต้องคำนึงถึงเกณฑ์หลักสามประเภท ได้แก่ ผล
ตอบแทนที่คาดว่าจะได้รับ ความเสี่ ยง และสภาพคล่องในตลาดของหลักทรัพย์ที่จะลงทุน
1. ผลตอบแทนที่คาดว่าจะได้รับ อาจจะอยูใ่ นรู ปแบบของดอกเบี้ยต่อปี แต่หลักทรัพย์ที่อยูใ่ นความ
ต้องการของตลาดมักจะไม่มีผลตอบแทนลักษณะนี้ เด่นชัด หลักทรัพย์ส่ วนใหญ่มกั จะขายกันใน
ราคาที่มีส่วนลดหรื อเปรี ยบเทียบกับราคาหรื อมูลค่าที่ตาไว้
2. ความเสี่ ยง ในการถือหลักทรัพย์ในความต้องการของตลาด ได้แก่ ความเสี่ ยงจากการผิดนัดชำระหนี้
กลับความเสี่ ยงของอัตราดอกเบี้ย
3. สภาพคล่องในตลาด หมายถึงความคล่องตัวในการแปลงหลักทรัพย์ในความต้องการของตลาดเป็ น
เงินสด สภาพคล่องของหลักทรัพย์ข้ ึนอยูก่ บั 1 ความกว้างของตลาด Breadth หมายถึงจำนวนผูซ้ ้ื อ
และผูข้ ายที่สนใจในหลักทรัพย์ 2 ความลึกของตลาด Depth หมายถึงจำนวนหลักทรัพย์ที่ซ้ื อขายกัน
โดยทัว่ ราคาตลาดไม่เปลี่ยนแปลงมากนัก ผูจ้ ดั การทางการเงินสามารถวัด Breadth และ Depth ของ
หลักทรัพย์ที่ซ้ื อขายกันนอกตลาดหลักทรัพย์ได้โดยการสังเกตผลต่างระหว่างราคาที่เสนอซื้ อกับ
ราคาที่เสนอขาย สำหรับหลักทรัพย์ที่ซ้ื อขายในตลาดมีการจัดตั้งเป็ นทางการดูได้จากปริ มาณการซื้ อ
ขาย
โครงสร้ างตลาดเงิน
ตลาดสิ นค้าและบริ การจะเป็ นตลาดระหว่างผูซ้ ้ื อและผูข้ าย โดยจะทำการแลกเปลี่ยนกันระหว่าง สิ นค
และบริ การกับเงิน ซึ่ งแตกต่างกับตลาดการเงิน เนื่องจาก การเงินจะเป็ นตลาดระหว่างผูท้ ี่มีเงินทุนเหลือกับผู ้
ที่ตอ้ งการลงทุนโดยมีตวั กลางคือเงินทุนนัน่ เอง
การแบ่งประเภทของตลาดเงินทำได้หลายวิธี วิธีที่เป็ นที่นิยมคือ การแบ่งตามอายุของสิ นทรัพย์ทางการ
เงิน โดยแบ่งออกเป็ นตลาดเงินและตลาดทุน ซึ่ งมีรายละเอียดดังนี้
 ตลาดเงิน Money Market เป็ นตลาดที่มีการซื้ อขายตราสารทางการเงินที่มีอายุไม่เกิน 1 ปี เช่น
ตัว๋ แลกเงิน ตัวสัญญาใช้เงิน บัตรเงินฝาก ตัว๋ เงินคลัง เป็ นต้น โดยมีวตั ถุประสงค์เพื่อระดมทุนไปใช้ในระยะ
สั้น หรื อเพื่อการหมุนเวียนภายในกิจการ
 ตลาดทุน Capital Market เป็ นตลาดที่มีการซื้ อขายตราสารทางการเงินที่มีอายุมากกว่า 1 ปี ขึ้นไป
เช่น หุน้ สามัญ หุน้ กู้ พันธบัตรรัฐบาล เป็ นต้น เพื่อนำเงินทุนที่ได้ไปใช้ในการลงทุนโครงการระยะยาวต่างๆ
- ตลาดทุนแบ่งได้เป็ นตลาดแรกและตลาดรอง
- ตลาดแรก เป็ นตลาดที่สินทรัพย์ทางการเงินถูกซื้ อขายครั้งแรกระหว่าง DSU กับ
SSU โดย DSU เป็ นผูอ้ อกหลักทรัพย์มาขายเพื่อนำเงินไปใช้ลงทุนในโครงการ
ลงทุนต่างๆ
- ตลาดรอง เป็ นตลาดที่สินทรัพย์ทางการเงินที่ SSU ถือครองอยูแ่ ต่ตอ้ งการขาย
โดยเหตุผลที่ตอ้ งการได้รับเงินทุน หรื อต้องการขายเพื่อทำกำไร ต้องหา SSU ลาย
อื่นที่ตอ้ งการลงทุน หรื อซื้ อสิ นทรัพย์ทางการเงินนั้นแทน
- ตลาดรองยังสามารถแบ่งออกเป็ น ตลาดที่เป็ นทางการ คือ ตลาดที่มีการจัดตั้ง
อย่างเป็ นระบบ มีขอ้ บังคับ กฎเกณฑ์ในการซื้ อขายสิ นทรัพย์ทางการเงิน หรื อ
หลักทรัพย์ทางการเงินอย่างชัดเจน
ประเภทของสินทรัพย์ทางการเงิน
 เงิน Money
- เป็ นสื่ อกลางในการชำระราคาสิ นค้าหรื อค่าบริ การและการชำระหนี้
- สิ นทรัพย์ทางการเงินที่จดั ว่าเป็ นเงินมีรูปแบบ มีความหมายควบคุมกว้างกว่าเงินสด
 ตราสารทุน Equities
- บ่งบอกถึงความเป็ นเจ้าของธุรกิจ
- รับส่ วนแบ่งเงินสดจากผลกำไรของกิจการเป็ นรู ปเงินปันผล
- ได้รับมูลค่าเงินคงเหลือของกิจการ กรณี ที่บริ ษทั จะต้องปิ ดกิจการแล้วมีการชำระบัญชี
- ตราสารทุนแบ่งออกเป็ น
1 หุน้ สามัญ
2 หุน้ บุริมสิ ทธิ
 ตราสารหนี้ Debt Instruments
- ผูถ้ ือมีฐานะเป็ นเจ้าของของผูอ้ อกตราสาร
- ได้รับผลตอบแทน ซึ่ งประกอบด้วยเงินต้นและรายได้ในรู ปดอกเบี้ ย
- ตราสารหนี้แบ่งออกเป็ น
1 ตราสารหนี้ที่สามารถเปลี่ยนมือได้
2 ตราสารหนี้ที่ไม่สามารถเปลี่ยนมือได้
 ตราสารอนุพนั ธ์ Derivative Instruments
- ใช้สิทธิแก่ผถู้ ือตราสารในการรับสิ ทธิ ประโยชน์ตามที่ก ำหนดไว้ในอนาคต
- ปลูกผลประโยชน์แทนเอาไว้กบั ราคาของสิ นค้าอ้างอิง
- มีประโยชน์ในการเพิ่มอำนาจทางการเงิน
- การซื้ อขายตราสารอนุพนั ธ์น้ นั จึงมีความเสี่ ยงสู งมาก
การจัดการหลักทรัพย์ตามความต้องการของตลาด คือวิธีการหรื อหลักเกณฑ์ที่ธุรกิจนำมาใช้ในการ
พิจารณาตัดสิ นใจเลือกลงทุนในหลักทรัพย์ที่ตลาดต้องการเป็ นการชัว่ คราวหรื อระยะสั้นๆ แทนการถือ
เงินสด โดยมีวตั ถุประสงค์ให้ธุรกิจได้รับผลตอบแทนในรู ปแบบของเงินปั นผลหรื อกำไรจากการซื้ อขาย
หลักทรัพย์น้ นั

You might also like