You are on page 1of 6

การบริหารเงินสดและหลักทรัพย

ในความตองการของตลาด มูลเหตุจงู ใจในการถือเงินสด


บทที่ 8 ‹การจายเงินสดและการเรียกเก็บเงินสด เพื่อรายการคา (Transactions Motive)
‹การบริหารเงินสดตามวิธี Baumol model เพื่อใหกิจการสามารถจายเงินสดที่เกิดจากรายการคาตามปกติ
การบริหารเงินสดและหลักทรัพย ‹การบริหารเงินสดตามวิธี Miller-Orr model ของกิจการ เชน คาซื้อสินคา คาจาง ภาษี และเงินปนผล
เพื่อการเก็งกําไร (Speculative Motive)
‹การบริหารเงินสดตามวิธี Stone model
ในความตองการของตลาด ‹รูปแบบของหลักทรัพยลงทุนระยะสัน
้ ในตลาดเงิน
เพื่อใชหาผลประโยชนจากโอกาสชั่วคราว เชน วัตถุดิบลดราคา
กระทันหัน
(Cash and Marketable Securities Management) ‹หลักเกณฑในการเลือกหลักทรัพยในความตองการ
เพื่อเหตุฉุกเฉิน (Precautionary Motive)
ของตลาด เพื่อเปนกันชน ในกรณีที่กิจการตองการใชเงินสดที่มิไดคาดไว
กอน
8-1 ผศ.ดร.อภิชาติ พงศสุพัฒน 8-2 ผศ.ดร.อภิชาติ พงศสุพัฒน 8-3 ผศ.ดร.อภิชาติ พงศสุพัฒน

ระบบการบริหารเงินสด การลอยตัวของการเก็บเงิน
(Collection Float) Mail Float
การรับเงินสด การจายเงินสด

Mail Processing Availability


Float Float Float ลูกคาสงเช็ค กิจการไดรับเช็ค
เงินลงทุนในหลักทรัพยใน ทางไปรษณีย
ความตองการของตลาด Deposit Float
Collection Float : ระยะเวลารวมทั้งหมด ตั้งแตลูกคาสงเช็ค Mail Float : ระยะเวลาตั้งแตลูกคาสงเช็คมา
ควบคุมผานรายงาน ทางไปรษณียจนกระทั่งกิจการสามารถถอนเงินตามเช็คนั้นได
จนกระทั่งกิจการไดรับเช็ค
= การเคลื่อนไหวของเงินสด = การเคลื่อนไหวของขอมูล
8-4 ผศ.ดร.อภิชาติ พงศสุพัฒน 8-5 ผศ.ดร.อภิชาติ พงศสุพัฒน 8-6 ผศ.ดร.อภิชาติ พงศสุพัฒน

Processing Float Availability Float Deposit Float

กิจการไดรับเช็ค กิจการนําเช็ค กิจการนําเช็ค กิจการสามารถเบิก Processing Float Availability Float


ฝากธนาคาร ฝากธนาคาร เงินจากธนาคารได
Processing Float : ระยะเวลาตัง้ แตกิจการ Availability Float : ระยะเวลาตั้งแตกิจการนําฝากเช็ค Deposit Float : ระยะเวลาตัง้ แตกิจการไดรับเช็ค
ไดรับเช็ค นํามาบันทึกบัญชี และนําฝากธนาคาร จนกระทั่งสามารถถอนเงินตามเช็คจากธนาคารได จนกระทั่งสามารถถอนเงินตามเช็คนั้นได
เปนชวงเวลาเกี่ยวกับระบบการ Clearing ของธนาคาร
8-7 ผศ.ดร.อภิชาติ พงศสุพัฒน 8-8 ผศ.ดร.อภิชาติ พงศสุพัฒน 8-9 ผศ.ดร.อภิชาติ พงศสุพัฒน
การลอยตัวของการเก็บเงิน การลอยตัวของการจายเงิน การลอยตัวสุทธิ (Net Float)
(Collection Float) (Disbursement Float)
‹เปนผลมาจากเช็คที่กิจการไดรับ ตองใชเวลา ‹เป น ผลมาจากเช็ ค ที่ กิ จ การสั่ ง จ า ย
ต อ งใช Net Float -- จํานวนเงินลอยตัวสุทธิเกิดขึ้นจากยอด
ในกระบวนการเรียกเก็บเงินตามเช็ค (Check เวลาในกระบวนการเรี ย กเก็ บ เงิ น ตามเช็ ค คงเหลือบัญชีเงินฝากกระแสรายวันของธนาคาร มากกวา
ยอดคงเหลือบัญชีเงินฝากกระแสรายวันของกิจการ
clearing) (Check clearing)
‹การลอยตัวที่เกิดขึ้นจะทําใหยอดคงเหลือของ ‹การลอยตัวที่เกิดขึ้นจะทําใหยอดคงเหลือของ = Disbursement float - Collection float
บัญชีเงินฝากกระแสรายวันของกิจการเพิ่มขี้น บัญชีเงินฝากกระแสรายวันของกิจการลดลง เพื่อทําให Net float สูงสุดบริษัทจึงพยายามให
ขณะที่ยอดคงเหลือของบัญชีเงินฝากกระแส ขณะที่ยอดคงเหลือของบัญชีเงินฝากกระแส Disbursement float สูงสุดและ Collection float ต่ําสุด
รายวันของธนาคารไมเปลี่ยนแปลง รายวันของธนาคารไมเปลี่ยนแปลง
8-10 ผศ.ดร.อภิชาติ พงศสุพัฒน 8-11 ผศ.ดร.อภิชาติ พงศสุพัฒน 8-12 ผศ.ดร.อภิชาติ พงศสุพัฒน

การจายเงินสด การเปดบัญชีเงินฝากกับธนาคารที่ การเปดบัญชียอดเงินฝากเปนศูนย


(Disbursement of Cash) อยูห างไกล (Remote Disbursing) (Zero Balance Account)
เปาหมายที่สําคัญ คือ Remote disbursement -- กิจการจะเปดบัญชีเงินฝากใน Zero Balance Account (ZBA) -- บัญชีกระแสรายวันของ
1. ทําให Net Float สูงสุด ธนาคารที่อยูในพื้นที่หางไกลจากที่ตั้งของกิจการ และจะเขียน บริษัทที่กระจายเปดบัญชีไวตามพื้นที่ตางๆ ซึ่งจะมียอด
2. ทําใหยอดคงเหลือของบัญชีเงินฝากกระแสรายวันต่าํ ที่สุด เช็คสั่งจายเงินจากธนาคารนี้ในแกเจาหนี้ เพื่อเพิ่มเวลา คงเหลือเทากับศูนย บัญชีนี้จะไดรับเงินจากบัญชีหลัก
โดยใชวิธี สําหรับกระบวนการเรียกเก็บเงินตามเช็ค (Clearing) (Master account) เมื่อยอดเงินคงเหลือติดลบ และในทางตรง
‹Remote Disbursement Account ดังนั้น disbursement float จะเพิ่มขึ้น ขาม หากยอดเงินคงเหลือเปนบวกก็จะโอนเงินเขาบัญชีหลัก
‹Zero Balance Account (ZBA) ตัวอยาง: ธุรกิจที่กรุงเทพเขียนเช็คสั่งจายเงินจากธนาคาร
‹Payable through Draft (PTD) ที่เชียงใหม เพื่อจายชําระหนี้แกเจาหนี้ที่สงขลา ‹ ลดความจําเปน ในการประมาณการยอดเงินสด
‹ Overdraft วิธีนี้ อาจ ทําใหเสียความสัมพันธที่ดกี ับ supplier จายอยางถูกตอง
8-13 ผศ.ดร.อภิชาติ พงศสุพัฒน 8-14 ผศ.ดร.อภิชาติ พงศสุพัฒน 8-15 ผศ.ดร.อภิชาติ พงศสุพัฒน

การเก็บเงินสด
การจายเงินโดยใชตั๋วแลกเงิน (Draft) การใชเงินเบิกเกินบัญชี (Overdraft) (Collection of Cash)
Payable Through Draft (PTD): Overdraft -- จํานวนเงินที่กิจการสั่งจายในรูป เปาหมายที่สําคัญ คือ
มีลักษณะคลายกับเช็ค แตตางกันที่บริษัทจะเปนผูออกตั๋วเอง 1. ทําให Net Float สูงสุด
ขณะที่เช็คนั้นธนาคารเปนผูออก เมื่อนําตั๋วแลกเงินไปขึ้นเงิน ของเช็ค เกินยอดเงินคงเหลือในบัญชี จํานวน
2. ทําใหยอดคงเหลือของบัญชีเงินฝากกระแสรายวันต่าํ ที่สุด
ที่ธนาคาร ผูจายเงินจะตัดสินใจวาจะจายเงินตามตั๋วแลกเงิน เงินที่เกินจะกลายเปนวงเงินสินเชื่อโดยอัตโนมัติ
โดยใชวิธี
หรือปฏิเสธการจาย
‹สวนจํานวนเงินจะเปนเทาไรนั้นขึ้นอยูกับการเจรจากับ ‹Lockboxes
‹ บริษัทที่ออกตั๋วจะไดรับประโยชน ตรงที่ไมตองนํา
ธนาคารเกี่ยวกับวงเงินสินเชื่อ ‹Concentration banking
เงินเขาฝาก จนกวาธนาคารจะเรียกเก็บ
‹การใชเงินเบิกเกินบัญชีจะทําใหกิจการสามารถลด ‹Preauthorized payment
‹ ธนาคารจะคิดคาธรรมเนียมเพิ่มขึ้น สําหรับการ
ดําเนินการ จํานวนเงินสดที่มีอยูในมือสําหรับการจายเงินได
8-16 ผศ.ดร.อภิชาติ พงศสุพัฒน 8-17 ผศ.ดร.อภิชาติ พงศสุพัฒน 8-18 ผศ.ดร.อภิชาติ พงศสุพัฒน
ระบบการเก็บเงินทางตูไปรษณีย
(Lockbox System) Lockbox Process Lockbox Process
Lockbox ‹ กําหนดใหลูกคาสงเงินไปยังตูไปรษณียท
 ี่อยู ขอดี
เปนวิธีการรับชําระเงิน โดยบริษัทจะเชาตู ใกลที่สุด เช็คของลูกคาจะถูกนําฝากเขาธนาคารเร็วขึ้น
‹ ธนาคารไดรับมอบอํานาจในการเก็บเงินที่อยู ทําให processing float ลดลง
ไปรษณียเพื่อใหลูกคาสงเงินมาชําระหนี้ และให
อํานาจธนาคารในการเก็บเงินที่อยูใ นตู นําเช็ค ในตูท ุกวัน ขอเสีย
‹ ธนาคารนําเช็คเขาฝากในบัญชีบริษัท และสง
เขาฝากในบัญชีบริษัท และสงขอมูลลูกหนีม้ า ตนทุนดําเนินงานสูง เนื่องจากธนาคารตอง
ยังบริษัท ขอมูลลูกหนี้มายังบริษัท ใหบริการพิเศษ โดยทั่วไปจึงไมเหมาะสําหรับ
‹ บริษัทไดรับขอมูลลูกหนี้และจดหมายอื่น ๆ
การเก็บเงินจํานวนเล็กนอย
8-19 ผศ.ดร.อภิชาติ พงศสุพัฒน 8-20 ผศ.ดร.อภิชาติ พงศสุพัฒน 8-21 ผศ.ดร.อภิชาติ พงศสุพัฒน

ระบบธนาคารศูนยกลาง กระบวนการยายโอนเงินฝาก
(Concentration Banking) Concentration Banking ระหวางธนาคารที่สําคัญ 2 วิธี
ศูนยกลางเงินสด นําเงินทั้งหมดไปรวมไวทศี่ ูนยกลาง (1) Depository Transfer Check (DTC)
‹เงิ น สดที่ กิ จ การได รั บ จาก Lockbox หรื อ ที่ ไ ด รั บ ชํ า ระเงิ น เพียงแหงเดียว:
จากลู ก หนี้ ที่ เ คาท เ ตอร ข องสํ า นั ก งานขาย จะมี ลั ก ษณะ การควบคุมกระแสเงินสดรับและกระแสเงินสดจาย
‹ การยายเงินโดยใชเช็ค (เพื่อถอนเงินฝากจากบัญชีธนาคาร
เหมือนกัน คือ จะมีบัญชีเงินฝากธนาคารจํานวนมากกระจาย ของกิจการดีขึ้น ทองถิ่น) ซึ่งเปนเช็คที่พิมพไวแลวลวงหนา (Preprinted
ไปตามพื้นที่ตาง ๆ ซึ่งอาจทําใหการควบคุมกระแสเงินสดของ ชวยลดการเก็บเงินสดที่เกินความตองการใช (Idle
‹ depository check) สั่งจายเงิน (หรือหมายถึงนําฝากเงิน)
กิจการไมทั่วถึง และเพื่อชวยลดการเก็บเงินสดที่เกินความ cash balances) ของบัญชีเงินฝากธนาคารทองถิ่น ไปยังบัญชีของกิจการที่ Concentration bank แทน
ตองการใชของบัญชีเงินฝากธนาคารทองถิ่นตาง ๆ ซึ่งอาจ ตาง ๆ
นํ า ไปใช ล งทุ น ต อ ดั ง นั้ น จึ ง นํ า เงิ น ทั้ ง หมดไปรวมไว ที่ ‹ สามารถนําเงินสดสวนเกินที่รวมไดนี้ไปใชลงทุนตอ กิจการยังไมสามารถใชเงินกอนนี้ไดทันที
ศูนยกลางเพียงแหงเดียว เรียกวา Concentration bank อยางมีประสิทธิภาพ เพราะตองรอการเคลียรริ่งเช็คกอน
8-22 ผศ.ดร.อภิชาติ พงศสุพัฒน 8-23 ผศ.ดร.อภิชาติ พงศสุพัฒน 8-24 ผศ.ดร.อภิชาติ พงศสุพัฒน

กระบวนการยายโอนเงินฝาก การจายเงินดวยเช็คที่อนุมัติลวงหนา
ระหวางธนาคารที่สําคัญ 2 วิธี (Preauthorized Payments)
การบริหารยอดเงินสดคงเหลือ
(2) Automated Clearinghouse (ACH) Preauthorized debit มีวิธีการบริหารที่สําคัญ 3 วิธีคือ
Electronic Transfer
วิธีนี้เปนการโอนเงินจากบัญชีของผูจ ายเงิน (ลูกคา) ‹Baumol Model
คือ วิธีการ DTC ที่โอนเงินผานเครื่อง Electronic ไปยังบัญชีของผูรบั เงิน (กิจการ) ณ วันที่ระบุไว โดย ‹Miller-Orr Model
ผูดําเนินการคือผูรบั เงินซึ่งไดรับอนุญาตลวงหนาจาก
(1) ใชกับธนาคารที่เปนสมาชิกของระบบ automated clearing- ‹Stone Model
house การยายเงินวิธีนี้จะทําใหสามารถใชเงินไดในอีก 1 วันทําการ ผูจายเงินใหโอน (ถอน) เงินผานบัญชีกระแสรายวัน
(2) เนื่องจากตนทุนไมคอยสูงมากนัก กิจการสวนมากจึงใชวิธีนี้ ของผูจายเงินได จนถึงระดับที่กําหนดไวลวงหนา
แทน DTC ซึ่งยายโอนเงินทางไปรษณีย
8-25 ผศ.ดร.อภิชาติ พงศสุพัฒน 8-26 ผศ.ดร.อภิชาติ พงศสุพัฒน 8-27 ผศ.ดร.อภิชาติ พงศสุพัฒน
Baumol Model Baumol Model Baumol Model
เงินสดคงเหลือ
‹มีขอสมมุติวาการใชเงินสดของกิจการจะมี กําหนดให
อัตราคงที่แนนอน และตนทุนตอครั้งใน ‹D = เงินสดที่ตองการตลอดงวด
C
การขายหลักทรัพยไมขึ้นกับปริมาณ ‹S = ตนทุนคงที่ของการขายหลักทรัพยใน
หลักทรัพยที่ขาย เงินสดเฉลี่ย ความตองการของตลาด
C/2
‹R = ตนทุนคาเสียโอกาสในการถือเงินสด
‹มีแนวความคิดวา เงินสดคงเหลือเปน ‹C = ปริมาณเงินสดที่จัดหา
0
สินคาคงเหลือประเภทหนึ่ง เวลา
8-28 ผศ.ดร.อภิชาติ พงศสุพัฒน 8-29 ผศ.ดร.อภิชาติ พงศสุพัฒน 8-30 ผศ.ดร.อภิชาติ พงศสุพัฒน

Baumol Model Baumol Model Baumol Model


‹ตนทุนในการจัดหาเงินสด = S(D/C) บริษัทนนทรีตองการใชเงินสดตลอดป ฿9 ลาน ตนทุนคงที่ของ ‹ตนทุนในการจัดหาเงินสด
‹ตนทุนในการถือเงินสด = R(C/2) การขายหลักทรัพยในความตองการของตลาดเทากับ ฿264.50 = S(D/C) = ฿10,350
‹ตนทุนรวม = ตนทุนในการจัดหาเงินสด ตอครั้ง ตนทุนคาเสียโอกาสในการถือเงินสดเทากับ 9% ตอป
‹ตนทุนในการถือเงินสด
+ ตนทุนในการถือเงินสด คํานวณปริมาณเงินสดที่เหมาะสมที่สุดในการจัดหา?
‹จํานวนครั้งที่จัดหาในงวด = D/C
= R(C/2) = ฿10,350
* 2 DS ‹ตนทุนรวม = ฿20,700
‹เงินสดเฉลี่ย = C/2 C =
R ‹จํานวนครั้งที่จัดหาในงวด
‹ปริมาณเงินสดที่เหมาะสมที่สุดในการจัดหา (C*)
2 ( ฿ 9,000 ,000 )( ฿ 264 .50 ) = D/C = 39.13 ครั้ง
2 DS =
* 0 . 09
C = ‹เงินสดเฉลี่ย = C/2 = ฿115,000
R =฿ 230 ,000
8-31 ผศ.ดร.อภิชาติ พงศสุพัฒน 8-32 ผศ.ดร.อภิชาติ พงศสุพัฒน 8-33 ผศ.ดร.อภิชาติ พงศสุพัฒน

Miller-Orr Model Miller-Orr Model Miller-Orr Model


‹ แนวคิ ด นี้ มี ข อ สมมุ ติ ว า กระแสเงิ น สดสุ ท ธิ ใ นแต ล ะวั น มี ก าร
เงินสดคงเหลือ
กําหนดให
กระจายแบบปกติ จึ ง เป น แนวคิ ด ที่ เ ป น ไปได จ ริ ง มากกว า ‹ σ 2 = ความแปรปรวนของกระแสเงินสดสุทธิตอวัน
แนวคิดแรก U ระดับสูงสุด
‹ s = ตนทุนในการซื้อหรือขายหลักทรัพยตอรายการ
‹ Miller และ Orr ไดออกแบบรูปแบบการกําหนดยอดเงินสด
คงเหลือแบบมีระดับจํากัด (Control limit model) ซึ่งยอมให ‹ r = ตนทุนคาเสียโอกาสในการถือเงินสดตอวัน
เงินสดคงเหลือมีการเปลี่ยนแปลงทั้งบวกและลบในชวงระดับ ‹ L = ระดับเงินสดต่ําสุด
จํากัดนี้ T ระดับเปาหมาย ‹ T = ระดับเงินสดคงเหลือตามเปาหมาย
‹ ถาเงินสดเคลื่อนที่สูงขึ้นจนถึงระดับสูงสุด (U) ผูจัดการเงินสดจะซื้อ 3
หลักทรัพยในความตองการของตลาด L ระดับต่าํ สุด
T= 3xsxσ2 +L
‹ ถาเงินสดลดลงจนถึงระดับต่ําสุด (L)
หลักทรัพยในความตองการของตลาดออกไป
ผูจัดการเงินสดจะขาย 4xr
เวลา
8-34 ผศ.ดร.อภิชาติ พงศสุพัฒน 8-35 ผศ.ดร.อภิชาติ พงศสุพัฒน 8-36 ผศ.ดร.อภิชาติ พงศสุพัฒน
Miller-Orr Model Miller-Orr Model Stone Model
‹ระดับเงินสดสูงสุด (U) คํานวณจากสมการ : ‹ ตัวอยาง: ตนทุนคาเสียโอกาสในการถือเงินสด (r) เทากับ 5% ตอป ‹ วิธีนี้จะพิจารณาขอมูลเกี่ยวกับกระแสเงินสดในอนาคตสําหรับ
และตนทุนในการซื้อหรือขายหลักทรัพยตอรายการ (s) เทากับ ฿50 เวลา k วันถัดไป กอนที่ผูจัดการเงินสดจะตัดสินใจซื้อหรือขาย
U = 3T - 2L หลักทรัพยในความตองการของตลาด
ความแปรปรวนของกระแสเงินสดสุทธิตอวัน (V) เทากับ ฿100,000
กําหนดให และธนาคารกําหนดใหกิจการตองมีเงินขั้นต่ํา (L) เทากับ ฿1,000 ‹ Stone model เหมือนกับ Miller-Orr model ตรงที่มีการกําหนด
T = ระดับเงินสดคงเหลือตามเปาหมาย 3 ระดับเงินสดสูงสุด (U) ระดับเงินสดต่ําสุด (L) และระดับเงินสดตาม
L = ระดับเงินสดต่าํ สุด T= 3 x 50 x 100,000 + ฿1,000 เปาหมาย (T)
4 x .05/365 ‹ แต Stone model มีการกําหนดระดับควบคุมภายใน (Inner limits)
‹ระดับเงินสดคงเหลือถัวเฉลีย
่ (Average cash = 3,014 + 1,000 = ฿4,014 ‹ วิธีนี้จะนํากระแสเงินสดสุทธิที่คาดคะเนมาบวกกับยอดเงินสด
คงเหลือปจจุบัน ถาเงินสดคงเหลือที่คาดวาจะเกิดขึน้ ยังอยูนอก
balance) 4T − L U = 3 (4,014) - 2(1,000) = ฿10,042
ACB = ระดับจํากัดภายใน ผูจดั การเงินสดจะซื้อ (หรือขาย) หลักทรัพยใน
3 ACB = 4 (4,014) - 1,000 = ฿5,055 ความตองการของตลาดเพือ่ ใหเงินสดคงเหลือมียอดกลับมาอยูท ี่
3 ระดับเปาหมาย
8-37 ผศ.ดร.อภิชาติ พงศสุพัฒน 8-38 ผศ.ดร.อภิชาติ พงศสุพัฒน 8-39 ผศ.ดร.อภิชาติ พงศสุพัฒน

Stone Model การลงทุนในหลักทรัพยในความ เหตุผลของการนําเงินสดไปลงทุนใน


ตองการของตลาด หลักทรัพยในความตองการของตลาด
เงินสดคงเหลือ
หลักทรัพยในความตองการของตลาด ƒ ตองการนําเงินสดสวนเกินไปลงทุนชั่วคราว จนกวาจะ
U ระดับสูงสุด จะปรากฏในงบดุลภายใตชื่อ : ตองการใชเงินสด จึงขายหลักทรัพยฯออกไป
U - dU ระดับสูงสุดภายใน
1. “รายการเทียบเทาเงินสด (Cash equivalents)”
ƒ ตองการถือหลักทรัพยฯเพื่อปองกันเหตุฉุกเฉิน เพราะ
หากหลักทรัพยในความตองการของตลาดนั้นมี
อายุเทากับ 3 เดือนหรือนอยกวาในขณะที่ไดมา ไมอาจคาดคะเนความตองการเงินสดลวงหนาไดอยาง
T ระดับเปาหมาย
ถูกตอง
L + dL ระดับต่าํ สุดภายใน 2. หลักทรัพยในความตองการของตลาดอื่นที่มี
L ระดับต่าํ สุด
อายุต่ํากวา 1 ป จะแสดงอยูใ นงบดุลภายใตชอื่ ƒ มีวัตถุประสงคในการเก็งกําไร สภาพคลองที่สูงขึ้นสราง
เวลา “เงินลงทุนระยะสัน้ (Short- term investment)” โอกาสใหผูบริหารสามารถนําเงินสดไปลงทุนชั่วคราว
8-40 ผศ.ดร.อภิชาติ พงศสุพัฒน 8-41 ผศ.ดร.อภิชาติ พงศสุพัฒน 8-42 ผศ.ดร.อภิชาติ พงศสุพัฒน

หลักเกณฑในการเลือกหลักทรัพย หลักเกณฑในการเลือกหลักทรัพย หลักเกณฑในการเลือกหลักทรัพย


ผลตอบแทนที่คาดวาจะไดรับ (Expected ความเสี่ยง (Risk) ในการถือหลักทรัพยใน ความเสี่ยงจากการผิดนัดชําระหนี้
return) อาจจะอยูในรูปของดอกเบี้ยตอป แต ความตองการของตลาด ไดแก หมายถึงความนาจะเปนที่ผูออกหลักทรัพยจะ
หลักทรัพยที่อยูในความตองการของตลาดมักจะ ไมชําระดอกเบี้ยหรือเงินตน กิจการอาจหลีกเลี่ยง
‹ความเสีย
่ งจากการผิดนัดชําระหนี้ (Default risk)
ไมมผี ลตอบแทนลักษณะนี้เดนชัด หลักทรัพย หลักทรัพยที่มี Default risk สูง ดวยการตรวจสอบ
‹ความเสีย
่ งของอัตราดอกเบี้ย (Interest rate risk) เครดิตของหลักทรัพยที่จะซื้อ จากหนวยงานจัด
สวนใหญมักจะขายกันในราคาที่มสี วนลดเมื่อ
อันดับ เชน Moody’s หรือ Standard&Poor’s กอน
เปรียบเทียบกับราคามูลคา (Par Value) การตัดสินใจลงทุน
8-43 ผศ.ดร.อภิชาติ พงศสุพัฒน 8-44 ผศ.ดร.อภิชาติ พงศสุพัฒน 8-45 ผศ.ดร.อภิชาติ พงศสุพัฒน
ประเภทของหลักทรัพยที่ซื้อขายกัน
หลักเกณฑในการเลือกหลักทรัพย หลักเกณฑในการเลือกหลักทรัพย ในตลาดเงิน
ความเสี่ยงจากอัตราดอกเบีย้ สภาพคลองในตลาด (Marketability) หมายถึง ตั๋วเงินคงคลัง (Treasury bills) :
คือความเสี่ยงที่เกิดขึ้นจากการเปลี่ยนแปลงราคา ความคลองตัวในการแปลงหลักทรัพยในความ คือหลักทรัพยที่ไมมดี อกเบี้ย โดยหนวยงาน
ตลาดของหลักทรัพยประเภทหนี้ ซึ่งเปนผลมาจากการ ตองการของตลาดเปนเงินสด สภาพคลองของ ของรัฐเปนผูออกจําหนายในราคาที่มสี วนลด
เปลี่ยนแปลงของอัตราดอกเบี้ยในทองตลาด หลักทรัพย
หลักทรัพยขึ้นอยูกับ จํานวนผูซื้อและผูขายที่ และไถถอนคืนในราคาตามหนาตั๋ว อาจมี
ประเภทหนี้ที่เหลืออายุครบกําหนดไถถอนนาน จะมี
ความผันผวนในราคาตลาดสูง ดวยเหตุนี้กิจการจึงมัก สนใจในหลักทรัพย และจํานวนหลักทรัพยที่ซอื้ อายุครบกําหนด 28 วัน 63 วัน หรือ 182 วัน
เนนการลงทุนในหลักทรัพยระยะสัน้ ขายกันโดยที่ราคาตลาดไมเปลี่ยนแปลงมากนัก
8-46 ผศ.ดร.อภิชาติ พงศสุพัฒน 8-47 ผศ.ดร.อภิชาติ พงศสุพัฒน 8-48 ผศ.ดร.อภิชาติ พงศสุพัฒน

ประเภทของหลักทรัพยที่ซื้อขายกัน ประเภทของหลักทรัพยที่ซื้อขายกัน ประเภทของหลักทรัพยที่ซื้อขายกัน


ในตลาดเงิน (ตอ) ในตลาดเงิน (ตอ) ในตลาดเงิน (ตอ)
ตั๋วที่ธนาคารรับรอง (Bankers’ acceptance) : มักเปน บัตรเงินฝากที่โอนเปลี่ยนมือได (CD : บัตรเงินฝากยูโรดอลลาร (Eurodollar
ตั๋วแลกเงิน (Draft) ซึ่งไดมาจากการคาระหวางประเทศ
Negotiable certificates of deposit) certificates of deposit)
เป น เอกสารทางการเงิ น ที่ รั บ รองโดยธนาคารว า จะ
จายเงินตามหนาตั๋วแกผูถือเมื่อครบกําหนด ผูสงออก คือ ตั๋วเงินฝาก ที่ธนาคารพาณิชยเปนผู คือตั๋วเงินฝากที่ออกจําหนายโดยธนาคาร
ไมตองรอจนถึงหกเดือนเพื่อรับเงินตามตั๋ว แตสามารถ จําหนาย อายุครบกําหนดอาจเปน 3 เดือน ตางประเทศ อายุของตั๋วเงินฝากชนิดนี้
นํ า มาขายได ก อ น หลั ก ทรั พ ย ป ระเภทนี้ มี ค วามสภาพ 6 เดือน 9 เดือน หรือ 12 เดือน ประมาณ 30 ถึง 60 วัน จนถึงไมเกิน 1 ป
คลองนอยกวาตั๋วเงินคงคลังและมีความเสี่ยงสูงกวา
8-49 ผศ.ดร.อภิชาติ พงศสุพัฒน 8-50 ผศ.ดร.อภิชาติ พงศสุพัฒน 8-51 ผศ.ดร.อภิชาติ พงศสุพัฒน

ประเภทของหลักทรัพยที่ซื้อขายกัน ประเภทของหลักทรัพยที่ซื้อขายกัน
ในตลาดเงิน (ตอ) ในตลาดเงิน (ตอ)
ตราสารพาณิชย (Commercial paper) คือตั๋วสัญญาใช สัญญาซื้อคืน (Repurchase agreements) :
เงินที่ไมมีหลักทรัพยค้ําประกัน ซึ่งมักออกจําหนายโดย คื อ การขายหลั ก ทรั พ ย รั ฐ บาล โดยผู ค า
บริษัทขนาดใหญที่มีฐานะทางการเงินมั่นคง มักขาย หลั ก ทรั พ ย (Dealer) ซึ่ ง สั ญ ญาที่ จ ะซื้ อ คื น ใน
ให กั บ บริ ษั ท กองทุ น บํ า เหน็ จ บํ า นาญ กองทุ น รวม ราคาที่สูง ณ วันที่ระบุไว ผลตางของราคาคือ
และบริษัทประกันภัย อายุครบกําหนดตั้งแต 1 วันจนถึง อั ต ราดอกเบี้ ย ที่ แ ท จ ริ ง ที่ จ า ย ณ วั น ครบ
9 เดือน เนื่องจากไมมีตลาดรอง สภาพคลองจึงคอนขาง
กํ า หนด สั ญ ญาซื้ อ คื น เป น หลั ก ทรั พ ย ที่ มี
ต่ํา คุณภาพของหลักทรัพยขึ้นอยูกับความแข็งแกรง
ทางการเงินของบริษัทผูออกจําหนาย
สภาพคลองสูง
8-52 ผศ.ดร.อภิชาติ พงศสุพัฒน 8-53 ผศ.ดร.อภิชาติ พงศสุพัฒน

You might also like