You are on page 1of 3

DM

คณิตศาสตร์ประยุกต์ 2 (มี.ค. 66) 1


6 Jul 2023

คณิตศาสตร์ประยุกต์ 2 (มี.ค. 66)


วันจันทร์ท่ี 20 มีนาคม 2566 เวลา 8.30 - 10.00 น.

ตอนที่ 1 แบบปรนัย 5 ตัวเลือก เลือก 1 คาตอบที่ถกู ที่สดุ จานวน 25 ข้อ ข้อละ 3 คะแนน รวม 75 คะแนน
1. กาหนดให้ 𝑎 และ 𝑏 เป็ นจานวนจริง ถ้า 𝑎 เป็ นรากที่ 2 ของ 9 โดยที่ 𝑎 < 0 และ 𝑏 เป็ นรากที่ 5 ของ −32
แล้ว 𝑎 + 𝑏 มีค่าเท่ากับเท่าใด
1. −5 2. −2 3. −1 4. 1 5. 5

5
a= 3 b = 32
: -

# Ex"
-
6 6
-
.
.
6
-
.
6 6xy = 36 6336
6

296
(64) =
62 : 62 : 36

√64 1896
2. 2 X-
6
+ √(−3)4 32 เท่ากับเท่าใด
((−6)5 )5
1. −4 2. −3 3. 2 4. 3 5. 4
i 6666 6
-
1296
=

3292
729
, 6535 t

-1575
() -

05/5
72

583 %
36
3
(- = / -
= -at =
+x2
f
6 5 -
62
110 16
236 + 3
36

= 4

3. พิจารณาข้อความต่อไปนี ้
~ ก) ถ้า 𝑎 เป็ นจานวนเต็มลบ แล้ว 𝑎 ≤ √𝑎
3 2 (a ,
-
81 -

ข) ถ้า 𝑎 และ 𝑏 เป็ นจานวนจริงบวก แล้ว


X
2 1
(−𝑎)3 (−𝑏)3 = 𝑎 3 𝑏3
2 1
-8
~ = -
"E = 2

S ค) ถ้ารากที่ 2 ของจานวนจริงบวกจานวนหนึ่ง คือ 𝑎 และ 𝑏 โดยที่ 𝑎 เป็ นจานวนจริงลบ และ 𝑏 เป็ นจานวน

จริงบวก แล้ว 𝑎4 < 𝑏4 F


T4 -
=

-
=
2

จากข้อความ ก) ข) และ ค) ข้างต้น ข้อใดถูกต้อง


1. ข้อความ ก) ถูกต้องเพียงข้อเดียวเท่านัน้ 2. ข้อความ ข) ถูกต้องเพียงข้อเดียวเท่านัน้ 2

3. ข้อความ ค) ถูกต้องเพียงข้อเดียวเท่านัน้ 4. ข้อความ ก) และ ข) ถูกต้องเท่านัน้


S

5. ข้อความ ก) และ ค) ถูกต้องเท่านัน้


2 คณิตศาสตร์ประยุกต์ 2 (มี.ค. 66)

4. กาหนดให้ 𝑝 และ 𝑞 เป็ นประพจน์ท่ีมีค่าความจริงเป็ นจริง และเท็จ ตามลาดับ


ประพจน์ในข้อใดมีค่าความจริงเป็ นจริง
1. 𝑝 ↔ (𝑝 → 𝑞) 2. 𝑝 ↔ (𝑝 ∧ 𝑞) 3. 𝑝 ↔ (~𝑝 ∧ 𝑞)
4. 𝑞 ↔ (~𝑝 ∨ 𝑞) 5. 𝑞 ↔ (𝑝 ∨ ~𝑞)

5. กาหนดให้ประพจน์ “ปิ ติกวาดบ้านหรือปิ ติรดนา้ ต้นไม้” มีค่าความจริงเป็ นจริง


และ “ถ้าปิ ติไม่ได้รดนา้ ต้นไม้แล้วปิ ติไม่ได้ซกั ผ้า” มีค่าความจริงเป็ นเท็จ
ประพจน์ในข้อใดมีค่าความจริงเป็ นเท็จ
1. ปิ ติกวาดบ้านก็ต่อเมื่อปิ ติซกั ผ้า 2. ปิ ติกวาดบ้านและปิ ติไม่ได้รดนา้ ต้นไม้
3. ปิ ติไม่ได้รดนา้ ต้นไม้และปิ ติซักผ้า 4. ปิ ติไม่ได้กวาดบ้านหรือปิ ติรดนา้ ต้นไม้
5. ปิ ติไม่ได้รดนา้ ต้นไม้หรือปิ ติไม่ได้ซักผ้า

6. กาหนดให้ 𝐴 = { −1, 0, 3, ∅ } เมื่อ ∅ แทนเซตว่าง และ 𝐵 = { 𝑥 | 𝑥 เป็ นจานวนเต็ม และ 𝑥3 = 1 }


พิจารณาข้อความต่อไปนี ้
ก) ประพจน์ “∅ ∈ 𝐴 และ 𝐴 ∩ 𝐵 = ∅” มีค่าความจริงเป็ นจริง
ข) ประพจน์ “1 ∉ 𝐵 หรือ 𝐵 ⊂ 𝐴” มีค่าความจริงเป็ นจริง
ค) ประพจน์ “ถ้า 𝑛(𝐵) ≠ 1 แล้ว {1} ⊂ 𝐴” มีค่าความจริงเป็ นจริง
เมื่อ 𝑛(𝐵) แทนจานวนสมาชิกของเซต 𝐵
จากข้อความ ก) ข) และ ค) ข้างต้น ข้อใดถูกต้อง
1. ข้อความ ก) ถูกต้องเพียงข้อเดียวเท่านัน้ 2. ข้อความ ข) ถูกต้องเพียงข้อเดียวเท่านัน้
3. ข้อความ ค) ถูกต้องเพียงข้อเดียวเท่านัน้ 4. ข้อความ ก) และ ข) ถูกต้องเท่านัน้
5. ข้อความ ก) และ ค) ถูกต้องเท่านัน้
คณิตศาสตร์ประยุกต์ 2 (มี.ค. 66) 3

7. ถ้า 𝑚 เป็ นพจน์ท่ี 10 ของลาดับเลขคณิตที่มีพจน์ท่ี 2 คือ 7 และผลต่างร่วมคือ −2


และ 𝑚 เป็ นพจน์แรกของลาดับเรขาคณิตที่มีอัตราส่วนร่วมคือ 23
แล้วพจน์ท่ี 5 ของลาดับเรขาคณิตนีเ้ ท่ากับเท่าใด
1. − 193 2. − 169 3. − 32 27
4. − 176
81
5. −
208
81

8. โรงภาพยนตร์แห่งหนึ่งเปิ ดรับสมัครสมาชิกเพื่อรับส่วนลดในการชมภาพยนตร์ และเก็บข้อมูลจานวนผู้สมัครสมาชิก


ในแต่ละวัน ถ้าจานวนผูส้ มัครสมาชิกในวันที่ 1 ถึงวันที่ 5 เรียงกันเป็ นลาดับเรขาคณิต
โดยที่ จานวนผูส้ มัครสมาชิกในวันที่ 1 เท่ากับ 4 คน และจานวนผูส้ มัครสมาชิกในวันที่ 5 เท่ากับ 5,184 คน
แล้วค่าเฉลี่ยเลขคณิตของจานวนผูส้ มัครสมาชิกในวันที่ 2 ถึงวันที่ 4 เท่ากับกี่คน
1. 144 คน 2. 344 คน 3. 1,032 คน 4. 1,244 คน 5. 2,594 คน

9. เมื่อ 4 ปี ท่ีแล้ว เก่งเปิ ดบัญชีและฝากเงินไว้กบั สถาบันการเงินแห่งหนึ่ง ซึ่งกาหนดอัตราดอกเบีย้ ร้อยละ 1.8 ต่อปี


โดยคิดดอกเบีย้ ทบต้นทุก 6 เดือน ถ้าตอนนีเ้ ก่งฝากครบ 4 ปี และมีเงินทัง้ หมดในบัญชีนี ้ 37,600 บาท โดยที่เก่ง
ไม่ได้ฝากเงินเพิ่มและไม่ได้ถอนเงินออกมาในช่วง 4 ปี ท่ีผ่านมา แล้วเก่งได้รบั ดอกเบีย้ จากการฝากเงินครัง้ นีก้ ่บี าท
1. 37,600(1 − (1.009)8 ) บาท 2. 37,600(1 − (1.009)−4 ) บาท
3. 37,600(1 − (1.009)−8 ) บาท 4. 37,600(1 − (1.003)24 ) บาท
5. 37,600(1 − (1.003)−24 ) บาท

You might also like