You are on page 1of 10

ตารางวิเคราะห์ ข้อสอบกลางภาค ภาคเรียนที่ 1

ตามมาตรฐานตัวชี้วดั วิชา คณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 2 ชุ ดที่ 2

ตารางวิเคราะห์ มาตรฐานตัวชี้วดั ตารางวิเคราะห์ ระดับพฤติกรรมการคิด


ข้ อ ค 1.1 ค 1.2 ความรู้ ความ การ การ การ การ
1 2 1 2 ความจำ เข้ าใจ ประยุกต์ ใช้ วิเคราะห์ ประเมินค่ า สร้ างสรรค์
1  
2  
3  
4  
5  
6  
7  
8  
9  
10  
11  
12  
13  
14  
15  
16  
17  
18  
19  
20  
ข้ อสอบหลักสู ตรแกนกลางการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง 2560)
กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ คณิตศาสตร์ ข้อสอบ กลางภาค ภาคเรียนที่ 1
วิชา วิชา คณิตศาสตร์ ชั้น มัธยมศึกษาปี ที่ 2 ชุดที่ 2
ชื่อ ...................................................... นามสกุล..................................................................
เลขประจำตัว ...................................... โรงเรี ยน .................................................................
วันที่ ........................................ เดือน ...................................................... พ.ศ. ...................
คำชี้แจง 1. ข้อสอบมีท้ งั หมด 20 ข้อ 20 คะแนน คะแนนที่ได้
2. ให้นกั เรี ยนเลือกคำตอบที่ถูกที่สุดเพียงคำตอบเดียว คะแนนเต็ม 20

1. จำนวนในข้อใดมีคา่ แตกต่างจากพวก
ก. (82)2 ข. 216
ค. 46 ง. (4 × 2)4

2. 6,912 สามารถเขียนให้อยูใ่ นรู ปของเลขยกกำลังตามข้อใด


ก. 24 × 32 × 43 ข. 34 × 43
ค. 22 × 32 × 42 ง. 33 × 44
23
3. ข้อใดมีคา่ เท่ากับ 2
y
−3 2
2 y
ก. 24 × 2-1 × y2 ข. −2 × 3
y 2
5 −1
2 2 y
ค. ( )y
3/2
ง. ×
y 22

2 2 3
8 ×3 −5 ×2
4. 23 ×3+ 23 ×1
มีคา่ เท่าไร
ก. -4 ข. -2
ค. 0 ง. 4
คณิ ตศาสตร์ ม.2 (ชุดที่ 2) 1

5. ผลลัพธ์ในข้อใดมีค่าเป็ นจำนวนเต็ม
4 2 4−3
ก. ×
32 3−2
ข. 49-1/2 × 324/5
23 × 3−4 2−3 × 32 (17 ×2) 32
ค. ( 2−2 ×3 )-3
÷ ( 2 ×3−1 )5
ง. 5
2 + 2
2
6. ข้อใดเป็ นจำนวนตรรกยะทุกจำนวน
0 47
ก. 2 , 4.7̇ , 98 ข. 1.7325921… , 51 , 10
1 7
ค. √ 2 , √ 5 , √ 25 ง. 2 5 , 0 , 4.17

7. ข้อใดถูกต้อง
ก. ทศนิยมทุกจำนวนเป็ นจำนวนอตรรกยะ
ข. จำนวนเต็มบางจำนวนเป็ นจำนวนอตรรกยะ
ค. จำนวนตรงข้ามกับจำนวนตรรกยะจะเป็ นจำนวนตรรกยะ
ง. จำนวนจริ งบางจำนวนเป็ นทั้งจำนวนตรรกยะและจำนวนอตรรกยะ

8. A ในข้อใดมีค่าแตกต่างจากข้ออื่น
ก. A × B = B ข. 2 + (A + 8) = (2 + 0) + 8
ค. C + A = C ง. 9A = 1

9. ถ้า A และ B เป็ นจำนวนเต็มที่ไม่เท่ากับศูนย์ ข้อใดไม่ถูกต้อง


A
ก. A × B เป็ นจำนวนเต็ม ข. B เป็ นจำนวนเต็ม
ค. A + B เป็ นจำนวนเต็ม ง. A - B เป็ นจำนวนเต็ม
10. จาก √
3 27
125
= √ x
25
จงหาค่า x2 + 5
ก. 55 ข. 60
ค. 73 ง. 86

คณิ ตศาสตร์ ม.2 (ชุดที่ 2) 2

11. ข้อใดแตกต่างจากพวกมากที่สุด
3
ก. 4y3 – 2x ข. 2 x2
ค. 2y ง. 11xy

12. ผลต่างระหว่าง (2x2 – 2x + 3) กับ (x2 + 2x – 3) มีค่าเท่าไร


ก. x2 ข. x2 + 6
ค. x2 – 4x + 6 ง. x2 + 4x – 6

13. เมื่อนำ x + 5 รวมกับ 4x + 10 จะมีคา่ ต่างจาก 3x – 2 อยูเ่ ท่าไร


ก. 2x + 5 ข. 2x + 17
ค. x + 15 ง. x – 6

14. ข้อใดแสดงผลคูณของพหุนามไม่ถูกต้อง
ก. (x + y)(x + y) = x2 + 2xy + y2 ข. (x + y)(2x – y) = 2x2+ 2xy – y2
ค. (2x + 3y)(x – y) = 2x2 + xy –3y2 ง. (x +y)(2x – 2y) = 2x2 – 2y2

15. พหุนามในข้อใดหารด้วย 5 ได้ (5x – 25)


ก. x – 5 ข. 5 + x
ค. 125 + 25x ง. 25x – 125

16. (x – 1) และ (x – 1) เป็ นตัวประกอบของพหุนามในข้อใด


ก. x2 – 2x + 1 ข. x2 + 2x + 1
ค. x2 + 2x – 1 ง. x2 – 2x – 1

คณิ ตศาสตร์ ม.2 (ชุดที่ 2) 3

17. ข้อใดสามารถแยกตัวประกอบโดยใช้วิธีผลต่างกำลังสอง
ก. x2 + 4x + 4 ข. 2x2 – 6x – 3
ค. 4x2 – 144 ง. 6x2 – 35

18. (x + 3) ไม่ได้เป็ นตัวประกอบในข้อใด


ก. x2 + 3x + 2 ข. x2 + 2x – 3
ค. x2 + 4x + 3 ง. x2 + 6x + 9

19. จาก Ax2 + Bx + C = (4x – 5)(2x + 3) ข้อใดถูกต้อง


ก. A + B + C = 25 ข. C – A – B = 5
A
ค. A × B = C ง. B = 4

20. 6x2 + x – 2 แยกตัวประกอบได้ตามข้อใด


ก. (6x – 1)(x – 2) ข. (3x + 2)(2x – 1)
ค. (4x + 1)(2x – 1) ง. (x – 2)(6x + 1)

คณิ ตศาสตร์ ม.2 (ชุดที่ 2) 4

เฉลย ข้อสอบชุ ดที่ 2

ข้อ ก ข ค ง ข้อ ก ข ค ง
1.  11. 
2.  12. 
3.  13. 
4.  14. 
5.  15. 
6.  16. 
7.  17. 
8.  18. 
9.  19. 
10.  20. 

คณิ ตศาสตร์ ม.2 (ชุดที่ 2) 5

เฉลยคำตอบอย่ างละเอียด
ข้อสอบ กลางภาค ภาคเรียนที่ 1 ชุดที่ 2 กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ คณิตศาสตร์
วิชา คณิตศาสตร์ ชั้น มัธยมศึกษาปี ที่ 2
1. ข. 2 16

 (82)2 = 46 = (4 × 2)4 = 4,096 ส่วน 216 = 65,536


2. ง. 33 × 44
 6,912 = 3 × 3 × 3 × 4 × 4 × 4 × 4
= 3 3 × 44
5 −1
y
3. ง. 2y × 22
−1
25 y 25 × 2−2
 y × 22 =
y×y
3
2
= 2
y
4. ก. – 4
2
8 ×3 −5 ×2
2 3
( 23 ×32 ) −(52 ×23 )
 3 3 = 3
2 ×3+ 2 ×1 (2 ×3)+(2¿¿ 3 ×1) ¿
23 (32−52 )
= 23 (3+1)
9−25
= 4
−16
= 4
= -4
3 −4 −3 2
2 ×3 2 ×3
5. ค. ( 2−2 ×3 )-3 ÷ ( 2 ×3−1 )5
2 −3 2 2
4 4 4 3 1
 ข้อ ก. 3
2 ×
3
−2 = 3
2 × 4
3 = 4
16
ข้อ ข. 49-1/2 × 324/5 = (72)-1/2 × (25)4/5 = 7-1 × 24 = 7
23 × 3−4 2−3 × 32 5 23 × 22 -3 32 × 3 5 25 -3 33 220
ข้อ ค. ( 2−2 ×3 ) -3
÷ ( 2 ×3−1 ) = ( 3× 34 ) ÷ ( 2× 23 ) = ( 35 ) ÷ ( 24 )=
5
2 15 = 2 =
5

32
(17 ×2) 32 34 9 ( 34 × 4 ) +(9 ×25) 136+225 361
ข้อ ง. 52
+ 2 = 25
2
+ 4 = 100
= 100 = 100

คณิ ตศาสตร์ ม.2 (ชุดที่ 2) 6

0
6. ก. 2 , 4.7̇ , 98
 จำนวนตรรกยะ คือ จำนวนที่สามารถเขียนให้อยูใ่ นรู ปทศนิยมรู ้จบ หรื อทศนิยมซ้ำ หรื อเศษส่ วนที่
มีส่วนไม่เท่ากับศูนย์
7. ค. จำนวนตรงข้ ามกับจำนวนตรรกยะจะเป็ นจำนวนตรรกยะ
 ข้อ ก. ทศนิยมทุกจำนวนเป็ นจำนวนอตรรกยะ ไม่ถูก เพราะทศนิยมรู ้จบหรื อทศนิยมซ้ำเป็ น
จำนวนตรรกยะ
ข้อ ข. จำนวนเต็มบางจำนวนเป็ นจำนวนอตรรกยะ ไม่ถูก เพราะจำนวนเต็มทุกจำนวนเป็ นจำนวนตรรกยะ

ข้อ ง. จำนวนจริ งบางจำนวนเป็ นทั้งจำนวนตรรกยะและจำนวนอตรรกยะ ไม่ถูก เพราะจำนวนอตรรกยะ


คือจำนวนจริ งที่ไม่ใช่จ ำนวนตรรกยะ ดังนั้นไม่มีจ ำนวนจริ งที่เป็ นทั้งจำนวนตรรกยะและอตรรกยะ
8. ก. A × B = B
 ก. A × B = B A อาจมีค่าเป็ น 1 หรื อ A อาจมีค่าเป็ นจำนวนใดก็ได้ ถ้า B เป็ น 0
ข. 2 + (A + 8) = (2 + 0) + 8 ดังนั้น A มีคา่ เป็ น 0 จากสมบัติการเปลี่ยนหมู่การบวก
ค. C + A = C ดังนั้น A มีค่าเป็ น 0
ง. 9A = 1 ดังนั้น A มีค่าเป็ น 0
A
9. ข. B
เป็ นจำนวนเต็ม
 A และ B เป็ นจำนวนเต็ม ซึ่ งมีสมบัติปิดของการบวก การลบ และการคูณ ดังนั้น A × B , A + B
A
และ A – B เป็ นจำนวนเต็ม ส่ วน B อาจเป็ นจำนวนเต็มหรื อเศษส่ วนก็ได้
10. ง. 86
 √
3 27
125
=
3
5

√ x
25
=
3
5

ยกกำลังสองทั้ง 2 ข้าง ( √ x
25
x
3
)2 = ( 5 )2
9
25
= 25
x = 9
ดังนั้น x2 + 5 = 92 + 5 = 86

คณิ ตศาสตร์ ม.2 (ชุดที่ 2) 7

11. ก. 4y3 – 2x
3
 2 x2 , 2y และ 11xy เป็ นเอกนาม ส่ วน 4y3 – 2x เป็ นพหุนาม
12. ค. x2 – 4x + 6
 (2x2 - 2x + 3) - (x2 + 2x - 3) = (2x2 - x2) + (-2x – (2x)) + (3 – (-3))
= x2 - 4x + 6
13. ข. 2x + 17
 (x + 5) + (4x + 10) = (x + 4x) + (5 + 10) = 5x + 15
(5x + 15) - (3x – 2) = (5x – 3x) + (15 – (-2)) = 2x + 17
14. ข. (x + y)(2x – y) = 2x2+ 2xy – y2
 (x + y)(2x – y) = 2x2- xy + 2xy – y2
= 2x2 + xy – y2
15. ง. 25x - 125
 (5)(5x – 25) = 25x – 125
16. ก. x2 – 2x + 1
 (x – 1)(x – 1) = (x - 1)(x) + (x - 1)(-1)
= (x2 + (-1)x) + ((-1)x + (-1)(-1))
= x2 + ((-1)x + (-1)x) + (-1)(-1))
= x2 + ((-1) + (-1))x + (-1)(-1)
= x2 + (-2)x + 1
= x2 – 2x + 1
17. ค. 4x2 - 144
 การแยกตัวประกอบ โดยใช้ผลต่างกำลังสอง สามารถแยกตัวประกอบของพหุนามที่อยูใ่ นรู ป
A2 – B2 ซึ่ งสามารถแยกตัวประกอบได้ดงั นี้
A2 – B2 = (A – B)(A + B)
ดังนั้น 4x2 – 144 = (2x)2 – (12)2
= (2x – 12)(2x + 12)

คณิ ตศาสตร์ ม.2 (ชุดที่ 2) 8

18. ก. x2 + 3x + 2
 x2 + 3x + 2 = (x + 2)(x + 1)
x2 + 2x – 3 = (x + 3)(x – 1)
x2 + 4x + 3 = (x + 3)(x + 1)
x2 + 6x + 9 = (x + 3)(x + 3)
A
19. ง. B
= 4
 (4x – 5)(2x + 3) = 8x2 + 2x - 15
จากโจทย์ (4x – 5)(2x + 3) = Ax2 + Bx + C
จะได้ A = 8 , B = 2 , C = -15
จากข้อ ก. A + B + C = 25 ไม่ถูก เพราะ A + B + C = 8 + 2 + (-15) = -5
ข. C – A – B = 5 ไม่ถูก เพราะ C – A – B = -15 – 8 – 2 = -25
ค. A × B = C ไม่ถูก เพราะ A × B = 8 × 2 = 16
A A 8
ง. B = 4 ถูก เพราะ B = 2 = 4
20. ข. (3x + 2)(2x – 1)
 6x2 + x – 2 = (3x + 2)(2x – 1)
คณิ ตศาสตร์ ม.2 (ชุดที่ 2) 9

You might also like