You are on page 1of 42

รหัสวิชา 66 ชีววิทยา

สอบวันที่ เวลา

แบบทดสอบจำลองสำหรับ #dek67 ทุกคน

ชื่อ-นามสกุล เลขที่นั่งสอบ
สถานที่สอบ หองสอบ

คำอธิบายเกี่ยวกับแบบทดสอบ
1. แบบทดสอบจำลองฉบับนี้ มี 41 หนา แบงเปน 2 ตอน จำนวน 40 ขอ 100 คะแนน
ไดแก ตอนที่ 1 แบบปรนัย 5 ตัวเลือก (ขอที่ 1-35)
ขอละ 2.4 คะแนน รวม 84 คะแนน
ตอนที่ 2 แบบเลือกตอบเชิงซอน (ขอที่ 36-40)
ขอละ 3.2 คะแนน รวม 16 คะแนน
2. แบบทดสอบจำลองฉบับนี้ ไดสรางรูปแบบคำถาม แนวคิดโจทย ใหสอดคลองไปกับขอสอบ
วิชาสามัญ 69 ชีววิทยา (พ.ศ. 2564-2565) และ A-Level 66 ชีววิทยา (พ.ศ. 2566)
ประกอบกับเนื้อหา จุดประสงคการเรียนรูในหนังสือเรียนรายวิชาเพิ่มเติมวิทยาศาสตร
ชีววิทยาทั้ง 6 เลม ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
(ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560)
3. ผูทดสอบมีเวลาทำแบบทดสอบฉบับนี้ในเวลา 1.30 ชั่วโมง ควรจับเวลาและระบายคำตอบ
ในกระดาษคำตอบเสมือนจริงเพื่อใหเปนการจำลองสอบที่สมบูรณ
4. แบบทดสอบจำลองฉบับนี้แจกฟรีเพื่อเปนประโยชนตอนักเรียน นิสิต นักศึกษาที่ใช
คะแนนสอบ A-Level 66 ชีววิทยา
MOCK TEST BIO FOR ALL BY พี่วาพี่อยากสอน

ตอนที่ 1 แบบปรนัย 5 ตัวเลือก เลือก 1 คำตอบที่ถูกที่สุด


จำนวน 35 ขอ (ขอที่ 1-35) ขอละ 2.4 คะแนน รวม 84 คะแนน
1. พื้นที่แหงหนึ่งมีสายใยอาหาร ดังแผนภาพ

หากมีการปนเปอ นของสาร A ในพื้นที่แหงนี้และเกิดไบโอแมกนิฟเคชัน ขอใดถูกตอง


1. นกเปนผูบริโภคลำดับที่ 3
2. เหยี่ยวจะไมมีการสะสมสาร A
3. ในสายใยอาหารนี้ เหยี่ยวจะไดรับพลังงานมากที่สุด
4. หอยทากจะมีระดับความเขมขนของสาร A มากกวานก
5. สาร A เปนสารที่ละลายในลิพิดไดดี ทำใหมีการสะสมในรางกายและไมถูกขับออกมา

หนา 1
MOCK TEST BIO FOR ALL BY พี่วาพี่อยากสอน

2. ขอใดถูกตอง
1. พืชสามารถใชไนโตรเจนไดในรูปไนเตรตเทานั้น
2. ถากำมะถันในรูปสารอนินทรียไมถูกออกซิไดซโดยแบคทีเรียจะเปลี่ยนเปนสารประกอบซัลเฟต
3. แอมโมเนียมจะถูกรีดิวซไปเปนไนไตรทและไนเตรตตามลำดับผานกระบวนการไนตริฟเ คชัน
4. แบคทีเรียในจีนัส Azotobacter สามารถตรึงไนโตรเจนในอากาศใหอยูใ นรูปแอมโมเนียผานกระบวนการ
แอมโมนิฟเคชัน
5. เมื่อเกิดภูเขาไฟระเบิดหรือการเผาไหมเชื้อเพลิงฟอสซิล จะมีการปลอยกำมะถันเขาสูบ รรยากาศในรูปของ
ซัลเฟอรไดออกไซด และไฮโดรเจนซัลไฟด

หนา 2
MOCK TEST BIO FOR ALL BY พี่วาพี่อยากสอน

3. พิจารณาสถานการณตอไปนี้
สถานการณ รายละเอียด
เกาะซึรทเซย (Surtsey) เปนเกาะที่เกิดขึ้นใหมของประเทศไอซแลนด โดยไดโผลพนน้ำครั้งแรกในป
A พ.ศ. 2510 ซึ่งในชวงเวลานั้นไมมีสิ่งมีชีวิตใดอาศัยอยูเ ลย หลังจากนั้นไดมีการสำรวจจากนัก
วิทยาศาสตรในหลายปใหหลังพบวาเริ่มมีพืชเขามาอาศัยอยูหลายชนิด
ปาชายหาดตามชายฝงทะเลจังหวัดพังงาไดถูกสึนามิพัดทำลายไปในป พ.ศ. 2547 หลังจากผาน
B เหตุการณนี้ไป 2 ป เริ่มมีพืชโตเร็วขนาดเล็กและไมพื้นลางมาปกคลุมบริเวณนี้
จากขอมูล ขอใดถูกตอง
1. สถานการณ A เปนการเปลี่ยนแปลงแทนที่แบบทุติยภูมิ
2. สถานการณ A และสถานการณ B เปนการเปลี่ยนแปลงแทนที่แบบเดียวกัน
3. ในสถานการณ B พบไลเคนและมอสเปนสิ่งมีชีวิตพวกแรกที่เขามาอาศัย
4. ในสถานการณ B หลังจากเกิดสึนามิจะยังคงเหลือชั้นดินอยู ซึ่งมีเมล็ดพันธุสะสมอยูใ นชั้นดิน
5. การเปลี่ยนแปลงแทนที่ในสถานการณ A ใชเวลานอยกวาสถานการณ B จึงจะเกิดเปนสังคมสมบูรณ

หนา 3
MOCK TEST BIO FOR ALL BY พี่วาพี่อยากสอน

4. พิจารณาไดโคโทมัสคียที่ใชระบุกลุม ของสัตวตอไปนี้
1ก มีขน ดูขอ 2
1ข ไมมีขน ดูขอ 3
2ก มีขนแบบขนเสนเดี่ยว (A)
2ข มีขนแบบขนนก (B)
3ก มีครีบคู มีชอ งเหงือก ดูขอ 4
3ข ไมมีครีบคู ไมมีชองเหงือก ดูขอ 5
4ก มีแผนปดเหงือก (C)
4ข ไมมีแผนปดเหงือก (D)
5ก ผิวหนังมีเกล็ด (E)
5ข ผิวหนังไมมีเกล็ด (F)
ขอใดระบุสิ่งมีชีวิตไดถูกตอง

A B C D E F
1. แพนดา ไก ปลาการตูน ปลากระเบน งู ซาลามานเดอร
2. ตุนปากเปด นกเพนกวิน ปลาตีน ปลาฉลาม เขียดงู เตา
3. โคอาลา คางคาว ปลากระเบน ปลาปกเปา อิกัวนา คางคก
4. จิงโจ หาน ปลาฉลาม ปลากะพง กิ้งกา จระเข
5. ลิง นกแอน วาฬ โลมา ตุกแก อึ่งอาง

หนา 4
MOCK TEST BIO FOR ALL BY พี่วาพี่อยากสอน

5. แผนภูมิวิวัฒนาการชาติพันธุ (phylogenetic tree) ที่แสดงการจัดกลุมชนิดของพืช 5 ชนิด (A-E) เปนดังภาพ

ขอใดถูกตอง
1. พืช A คือ ไบรโอไฟต สวนพืช E คือ เทรคีโอไฟต
2. พืช B ตองอาศัยน้ำเปนตัวกลางใหสเปรม วายไปผสมกับเซลลไข
3. พืช C และ D มีความใกลชิดกันทางวิวัฒนาการนอยที่สุด
4. ตัวอยางของพืช D ไดแก สน ปรง แปะกวย มะเมื่อย
5. หากใชการมีเมล็ดเปนเกณฑ สามารถแยกพืช A ออกจากพืช B ได

หนา 5
MOCK TEST BIO FOR ALL BY พี่วาพี่อยากสอน

6. สารชนิดหนึ่งมีโครงสรางเคมี ดังภาพ โดยอักษร A B และ C แทนพันธะเคมีบริเวณที่ปลายลูกศรชี้

จากภาพ ขอใดกลาวถูกตองเกี่ยวกับสารนี้
1. สารนี้เปนพอลิเมอรของกรดแอมิโนเรียงตอกันเปนสายยาวและมีการแตกแขนง
2. พันธะ A และ B คือ พันธะไกลโคซิดิก แบบ α - 1,6 สวนพันธะ C คือ พันธะไกลโคซิดิก แบบ
α - 1,4
3. เมื่อนำสารนี้ไปทดสอบกับสารละลายไอโอดีน จะไดสีมวงแดง แตถานำสารนี้ไปทดสอบกับสารละลาย
เบเนดิกต จะไดตะกอนสีแดงอิฐ
4. มอโนเมอรของสารนี้มีสมบัติไฮโดรฟลิก สามารถละลายในตัวทำละลายมีขั้วไดดี
5. สารนี้พบมากในพืช ทำหนาที่เปนโครงสรางหลักของผนังเซลลพืช

หนา 6
MOCK TEST BIO FOR ALL BY พี่วาพี่อยากสอน

7. ถากำหนดให 4-aminobenzoic acid (PABA) ดังรูป ทำหนาที่เปนสารตั้งตนของปฏิกิริยาหนึ่งซึ่งมีเอนไซม


dihydropteroate synthase เปนตัวเรงปฏิกิริยา

สารใดตอไปนี้มีความเปนไปไดมากที่สุดที่จะเปนตัวยับยั้งของเอนไซมนี้ ตัวยับยั้งเอนไซมดังกลาวเปนแบบใด
และตัวยับยั้งเอนไซมดังกลาวจะจับที่บริเวณใด

โครงสรางตัวยับยั้งเอนไซม ประเภทตัวยับยั้งเอนไซม บริเวณที่ตัวยับยั้งเอนไซมจับ

1. ตัวยับยั้งแบบแขงขัน สารตั้งตน

2. ตัวยับยั้งแบบแขงขัน สารตั้งตน

3. ตัวยับยั้งแบบแขงขัน บริเวณเรงของเอนไซม

4. ตัวยับยั้งแบบไมแขงขัน บริเวณเรงของเอนไซม

5. บริเวณอื่นที่ไมใชบริเวณเรง
ตัวยับยั้งแบบไมแขงขัน ของเอนไซม

หนา 7
MOCK TEST BIO FOR ALL BY พี่วาพี่อยากสอน

8. ขอใดถูกตอง
1. เซลลโพรแคริโอตไมมีเยื่อหุมนิวเคลียสและเยื่อหุมเซลล
2. เซนทริโอล ประกอบดวยไมโครฟลาเมนทเรียงกันแบบ 9+0 ชวยใหโครโมโซมเคลื่อนที่ออกจากกัน
3. ไมโครฟลาเมนท เกิดจากโปรตีนแอกทิน ทำหนาที่เกี่ยวกับการเคลื่อนที่ของอะมีบาและเม็ดเลือดขาว
4. ไลโซโซม เปนออรแกเนลลที่ไมมีเยื่อหุม ประกอบดวย 2 หนวยยอย คือ หนวยยอยเล็กและหนวยยอยใหญ
5. ในการสังเคราะหโปรตีนสำหรับสงไปใชภายนอกเซลล มีลำดับจาก นิวเคลียส → เอนโดพลาสมิกเรติคูลัม
แบบผิวขรุขระ → กอลจิคอมเพล็กซ → เวสิเคิล แลวจึงสงออกนอกเซลลดวยการแพรแบบฟาซิลิเทต

หนา 8
MOCK TEST BIO FOR ALL BY พี่วาพี่อยากสอน

9. จากการศึกษาสิ่งมีชีวิตชนิดหนึ่งซึ่งมีขนาด 50 ไมโครเมตร ภายใตกลองจุลทรรศนใชแสง ไดผลดังตาราง


ครั้งที่ กำลังขยายเลนสใกลตา กำลังขยายเลนสใกลวัตถุ
1 4X 100X
2 10X 10X
3 10X 40X
4 10X 100X

ขอใดถูกตอง
1. ในการศึกษาครั้งที่ 2 จะเห็นจำนวนเซลลมากที่สุด
2. รายละเอียดของภาพในการศึกษาครั้งที่ 4 จะต่ำกวาการศึกษาครั้งที่ 2
3. ในการศึกษาครั้งที่ 1 จะเห็นขอบเขตของภาพกวางเทากับการศึกษาครั้งที่ 4
4. ในการศึกษาครั้งที่ 3 ภาพที่วัดไดภายใตกลองจุลทรรศนมีขนาด 20,000 มิลลิเมตร
5. ในการศึกษาครั้งที่ 2 และ 3 ตองมีการใชน้ำมัน (immersion oil) กับเลนสใกลวัตถุ

หนา 9
MOCK TEST BIO FOR ALL BY พี่วาพี่อยากสอน

10. มาเบลใสชิ้นสวนมันฝรั่ง 6 ชิ้นในสารละลายน้ำตาลซูโครสความเขมขนตาง ๆ แลวแชทิ้งไว 45 นาที จากนั้นหา


คาเฉลี่ยน้ำหนักมันฝรั่งที่เปลี่ยนแปลงไป ไดผลการทดลองดังกราฟ

กำหนดให ตลอดชวงการทดลอง เซลลของมันฝรั่งยังมีชีวิต


ขอใดถูกตอง
1. กระบวนการที่เกิดขึ้นไมตองใชพลังงาน
2. ณ ความเขมขนของสารละลายน้ำตาลซูโครส 0.2 M น้ำหนักของมันฝรั่งจะลดลง
3. ณ ความเขมขนของสารละลายน้ำตาลซูโครสที่ทำใหคาเฉลี่ยน้ำหนักมันฝรั่งไมเปลี่ยนแปลง โมเลกุลของน้ำ
จะไมเกิดการเคลื่อนที่เขาหรือของจากเซลลมันฝรั่ง
4. ณ ความเขมขนของสารละลายน้ำตาลซูโครส 0.6 M ชลศักยสารละลายน้ำตาลซูโครสมีคาต่ำกวาชลศักย
ของภายในเซลลมันฝรั่ง
5. โมเลกุลของน้ำตาลซูโครสจะเคลื่อนที่เขาหรือออกจากเซลลมันฝรั่งจากบริเวณที่มีความเขมขนของ
สารละลายน้ำตาลซูโครสสูงไปยังบริเวณที่มีความเขมขนของสารละลายน้ำตาลซูโครสต่ำ

หนา 10
MOCK TEST BIO FOR ALL BY พี่วาพี่อยากสอน

11. จากกราฟแสดงความสัมพันธระหวางจำนวนเซลลกับปริมาณ DNA ของเซลลชนิดหนึ่งในวัฏจักรเซลล

ขอใดถูกตอง
1. ระยะ C สารพันธุกรรมอยูในรูปแทงโครโมโซม
2. ระยะ B DNA จะมีการขดตัวเปนแทงโครโมโซมซึ่งประกอบดวย 2 โครมาทิด
3. ระยะที่เกิดการแยกกันของซิสเตอรโครมาทิดในทิศทางตรงกันขาม อยูในระยะ B
4. ระยะที่โครมาทินมีการขดตัวจนเริ่มเห็นเปนแทงโครโมโซมที่ประกอบดวย 2 โครมาทิด อยูใ นระยะ A
5. ระยะที่โครโมโซมมาเรียงอยูตรงกึ่งกลางของเซลลในระนาบเดียวกันและมีการขดตัวมากที่สุด อยูในระยะ C

หนา 11
MOCK TEST BIO FOR ALL BY พี่วาพี่อยากสอน

12. พิจารณาขอมูลจากภาพ

ขอใดถูกตอง
1. ฮอรโมนจากอวัยวะ B ควบคุมการสะสมสาร ก ในอวัยวะ F
2. ที่อวัยวะ E สามารถยอยสาร ก ข และ ค ได แตไมสามารถยอยสาร ง ได
3. ในกรณีผูปวยที่ถูกตัดอวัยวะ A เนื่องจากเปนมะเร็ง จะไมสามารถดำรงชีวิตอยูได
4. อวัยวะ B สรางเอนไซมทริปซิน ไคโมทริปซิน และคารบอกซิเพปทิเดส เพื่อยอยสาร ค
5. อวัยวะ C สรางน้ำดี ซึ่งชวยใหลิพิดแตกตัวเปนหยดเล็ก ๆ และแขวนลอยอยูใ นรูปอิมัลชัน

หนา 12
MOCK TEST BIO FOR ALL BY พี่วาพี่อยากสอน

13. การหมุนเวียนเลือดเปนดังแผนภาพ

กำหนดให แสดงทิศทางการไหลของเลือด
จากขอมูล ขอใดถูกตอง
1. โครงสราง A คือ เอเทรียมขวา
2. อวัยวะแลกเปลี่ยนแกส X ในนก คือ ถุงลม
3. ระหวางโครงสราง C และ D มีลิ้นไตรคัสปดกั้นอยู
4. เลือดที่ออกจากโครงสราง D จะมีความดันเลือดสูงที่สุด
5. หลอดเลือดที่นำเลือดออกจากโครงสราง C ไปยังอวัยวะแลกเปลี่ยนแกส X คือ พัลโมนารีเวน

หนา 13
MOCK TEST BIO FOR ALL BY พี่วาพี่อยากสอน

14. จากการตรวจหมูเลือดในตัวอยาง 4 คน (A-D) ไดผลดังตาราง


ตัวอยาง Anti-A Anti-B Anti-Rh

นาย A

นาย B

นาย C

นาย D

ขอใดถูกตอง
1. นาย A มีหมูเลือด B และ Rh+
2. นาย A สามารถบริจาคเลือดใหนาย D ได
3. ทั้งพอและแมของนาย B มีหมูเลือด AB และ Rh-
4. คนหมูเลือด O และ Rh- สามารถบริจาคเลือดใหกับตัวอยางทุกคนได
5. หากนาย C มีลูกที่มีหมูเลือด Rh+ จะทำใหลูกอาจเกิดอีรีโทรบลาสโทซิสฟทาลิส

หนา 14
MOCK TEST BIO FOR ALL BY พี่วาพี่อยากสอน

15. จากการตรวจความสมบูรณของเม็ดเลือดของบุคคล 4 คน (A-D) ไดผลดังตาราง


รายการ (หนวย) คาปกติ A B C D E
ความเขมขนของฮีโมโกลบินใน 12-16.5 16 14.6 7.4 15.1 13
เม็ดเลือด (g/dL)
ปริมาตรเม็ดเลือดแดงเฉลี่ย (fL) 80-100 120 93.4 56 87.2 80
จำนวนเม็ดเลือดขาว (cell/mm3) 4,000-11,000 12,000 7,200 6,500 6,300 6,900
นิวโทรฟล (%) 40-60 70 51 49 45.2 53
ลิมโฟไซต (%) 20-40 45 32 37 33 35
โมโนไซต (%) 2-8 5 6 8 6.3 4
เบโซฟล (%) 0-1 1 1 0.4 1.2 0.7
อีโอซิโนฟล (%) 1-4 8 13 2 5 3
จำนวนเพลตเลต (cell/mm3) 140,000-450,000 46,500 400,100 309,000 276,000 400,500

ขอใดถูกตอง
1. A มีภาวะที่บงชี้วา เมื่อเกิดบาดแผลเลือดจะแข็งตัวไดอยางรวดเร็ว
2. B มีภาวะที่บงชี้วามีการติดเชื้อพยาธิในรางกาย
3. C มีโอกาสเปนโรคฮีโมฟเลีย
4. D มีโอกาสเปนโรคเอดส
5. E มีภาวะที่บงบอกวาติดเชื้อแบคทีเรีย

หนา 15
MOCK TEST BIO FOR ALL BY พี่วาพี่อยากสอน

16. จากโครงสรางหนวยไต ดังภาพ

หากพบโปรตีนในปสสาวะ แสดงวาบุคคลนีน้ าจะมีความผิดปกติที่บริเวณใด


1. บริเวณ A
2. บริเวณ B
3. บริเวณ C
4. บริเวณ D
5. บริเวณ E

หนา 16
MOCK TEST BIO FOR ALL BY พี่วาพี่อยากสอน

17. จากภาพแสดงหลอดเลือดฝอยที่ลอมรอบถุงลมในปอด

ขอใดถูกตอง
1. บริเวณ (A) มีความดันยอยของ O2 สูงที่สุด
2. บริเวณ (E) มีความดันยอยของ CO2 ต่ำที่สุด
3. CO2 สามารถจับกับฮีโมโกลบินในบริเวณ (E) ที่บริเวณหมูฮีมไดดีกวา O2
4. อัตราการไหลของเลือดในบริเวณ (D) มีคาสูงกวาอัตราการไหลของเลือดในหลอดเลือดที่นำเลือดออกจาก
หัวใจ
5. บริเวณ C ประกอบดวยเนื้อเยื่อ 3 ชั้น ไดแก เนื้อเยื่อบุผิวชั้นใน เนื้อเยื่อกลามเนื้อ และเนื้อเยื่อเกี่ยวพันที่
ยืดหยุนได

หนา 17
MOCK TEST BIO FOR ALL BY พี่วาพี่อยากสอน

18. จากรูปแสดงการเกิดแอกชันโพเทนเชียลที่แอกซอน

ขอใดถูกตอง
1. ระยะหมายเลข ➊ และ ➏ ชองโซเดียมที่มีประตูปดแบบไมพรอมใชงาน
2. ระยะหมายเลข ➋ ชองโพแทสเซียมที่มีประตูบางสวนเริ่มเปด ทำใหโพแทสเซียมไอออนเริ่มเขาเซลล
3. ถาศักยไฟฟาเยื่อเซลลไมถึงระดับเทรสโฮลด จะไมเกิดระยะหมายเลข ➌ ขึ้น
4. ถากระตุนเซลลประสาทขณะที่ยังเกิดระยะหมายเลข ➍ อยู เซลลประสาทจะเกิดแอกชันโพเทนเชียล
รุนแรงกวาเดิม
5. ระยะหมายเลข ➎ ชองโซเดียมที่มีประตูเปลี่ยนจากสถานะเปดเปนปดแบบพรอมใชงาน

หนา 18
MOCK TEST BIO FOR ALL BY พี่วาพี่อยากสอน

19. จากการศึกษาโครงสรางสมองของมนุษย ไดผลดังภาพ

ในการวินิจฉัยเบื้องตนสำหรับผูที่ดื่มเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอลวามีอาการเมาหรือไมโดยไมตองใชการทดสอบทางเคมี
มีหลายวิธี เชน ใหผูรับการทดสอบเดินเปนเสนตรง โดนใหวางสนเทาจรดตอปลายนิ้วเทาอีกขางหนึ่งในขณะที่ตา
มองไปขางหนา ผูที่มีอาการเมาจะเดินไมเปนเสนตรง
การทดสอบดังกลาว เปนการทดสอบผลของแอลกอฮอลตอการทำงานของสมองสวนใด
1. สวน A
2. สวน B
3. สวน C
4. สวน D
5. สวน E

หนา 19
MOCK TEST BIO FOR ALL BY พี่วาพี่อยากสอน

20. โครงสรางของเนื้อเยื่อกลามเนื้อ 3 ชนิด (A-C) เปนดังตาราง


กลามเนื้อ ภาพ

ขอใดถูกตอง
1. กลามเนื้อ A ถูกควบคุมโดยระบบประสาทโซมาติก
2. กลามเนื้อ A และ B ไมมีลาย แตกลามเนื้อ C มีลาย
3. แตละเซลลของกลามเนื้อ B มีหลายนิวเคลียส
4. กลามเนื้อ C เปนกลามเนื้อที่พบบริเวณหัวใจ
5. กลามเนื้อ C ทำงานภายใตอำนาจจิตใจ สามารถบังคับได

หนา 20
MOCK TEST BIO FOR ALL BY พี่วาพี่อยากสอน

21. การเปลี่ยนแปลงระดับฮอรโมน 4 ชนิด (A-D) ที่พบในระหวางรอบประจำเดือนของผูหญิงคนหนึ่งที่มีรางกายปกติ


เปนดังกราฟ

ขอใดถูกตอง
1. ในเพศชาย ฮอรโมน A สรางจากตอมใตสมองสวนหนา มีหนาที่กระตุน การสรางอสุจิ
2. ฮอรโมน B สรางจากตอมใตสมองสวนหนา มีหนาที่กระตุนใหเกิดการตกไข
3. ในชวงที่ระดับฮอรโมน C เพิ่มขึ้นอยางรวดเร็ว จะกระตุนใหเอนโดมีเทรียมสวนที่เจริญหนาขึ้นสลายและ
หลุดออก จากนั้นถูกขับออกจากมดลูกทางชองคลอด เรียกวา ประจำเดือน
4. ฮอรโมน D จะทำใหมีการเจริญเพิ่มชั้นของฟอลลิเคิลทีล่ อมรอบโอโอไซตระยะแรก
5. หากมีการตั้งครรภ รกจะทำหนาที่สรางฮอรโมน hCG ไปกระตุนใหคอรปสลูเทียมสลายไป และทำให
ระดับของฮอรโมน B และ D ลดลง

หนา 21
MOCK TEST BIO FOR ALL BY พี่วาพี่อยากสอน

22. จากภาพโครงสรางที่เกี่ยวของกับระบบตอมไรทอ 3 ชนิด (A-C)

ขอใดถูกตอง
1. โครงสราง A สรางฮอรโมน TSH ไปกระตุนตอมไทรอยดใหสรางและหลั่งฮอรโมนไทรอกซินเพิ่มขึ้น
2. โครงสราง A สรางฮอรโมน ADH ไปกระตุนการดูดกลับน้ำบริเวณทอรวมและทอขดสวนปลายของ
หนวยไต
3. โครงสราง B สรางฮอรโมนออกซิโทซิน ทำใหกลามเนื้อเรียบที่มดลูกบีบตัว รวมทั้งกระตุนกลามเนื้อรอบ
ตอมน้ำนมใหหดตัวเพื่อขับน้ำนม
4. โครงสราง C สรางฮอรโมน ACTH ไปกระตุนตอมหมวกไตสวนในใหหลั่งเอพิเนฟรินและนอนเอพิเนฟริน
5. ถามีฮอรโมน GH ซึ่งสรางมาจากโครงสราง C มากเกินไปในวัยเด็ก จะทำใหเกิดลักษณะที่เรียกวา
อะโครเมกาลี (acromegaly)

หนา 22
MOCK TEST BIO FOR ALL BY พี่วาพี่อยากสอน

23. คัลแลนทดลองโดยใชกลองรูปตัวที (T) ซึ่งใสน้ำไวเต็ม ปลายดานหนึ่งมีกระแสไฟฟาออน ๆ ดังภาพ

จากนั้นนำพลานาเรียใสในกลองเพื่อสังเกตการเคลื่อนทีว่ า จะเลือกไปทางใดโดยทำการทดลอง 10 ครั้งในแตละวัน


เปนเวลา 7 วัน บันทึกผลการทดลองไดดังตาราง
วันที่ทำการทดลอง จำนวนครั้งที่พลานาเรียเลือกไปทางดานที่มีกระแสไฟฟา
1 10
2 10
3 9
4 8
5 6
6 4
7 2

จากขอมูล การแสดงพฤติกรรมของพลานาเรียจัดเปนพฤติกรรมแบบใด
1. การฝงใจ
2. แฮบิชูเอชัน
3. การใชเหตุผล
4. การเชื่อมโยงแบบการมีเงื่อนไข
5. การเชื่อมโยงแบบลองผิดลองถูก

หนา 23
MOCK TEST BIO FOR ALL BY พี่วาพี่อยากสอน

24. จากการศึกษาโครงสรางภายในของเนื้อเยื่อพืช 3 ชนิด (A-C) ที่ตัดตามขวาง พบวามีลักษณะดังภาพ

จากภาพเปนการศึกษาโครงสรางใดของพืช และเปนพืชชนิดใด

พืช A พืช B พืช C


1. ลำตนของมะมวง รากของหญา ลำตนขาวโพด
2. ลำตนของถั่วเขียว รากของออย ลำตนของมะมวง
3. ลำตนของขาวโพด ลำตนของมะมวง รากของหญา
4. รากของหญา ลำตนของขาวโพด ลำตนของถั่วเขียว
5. รากของหมอนอย ลำตนของขาว รากของออย

หนา 24
MOCK TEST BIO FOR ALL BY พี่วาพี่อยากสอน

25. จากการศึกษาโครงสรางของปลายรากตัดตามยาว ซึ่งประกอบดวยเนื้อเยื่อบริเวณตาง ๆ ดังภาพ

ขอใดถูกตอง
1. รากที่นำมาศึกษามีโอกาสเปนรากถั่วเขียว
2. บริเวณ A สามารถผลิตเมือกขับออกมารอบ ๆ ทำใหสะดวกตอการชอนไชลงไปในดินและปองกันอันตราย
ใหกับเนื้อเยื่อที่อยูถัดลงมาขณะที่รากชอนไชลงสูด ิน
3. บริเวณ B เปนบริเวณที่เซลลมีการเปลี่ยนสภาพและเจริญเต็มที่ไปเปนเซลลเซลลชนิดตาง ๆ เพื่อทำหนาที่
เฉพาะไดอยางสมบูรณ
4. บริเวณ C พบเนื้อเยื่อเจริญสวนปลายรากซึ่งทำหนาที่แบงเซลลทำใหรากขยายขนาดใหญขึ้น โดยจัดเปน
การเติบโตทุติยภูมิ
5. บริเวณ D เปนบริเวณที่ประกอบดวยเซลลที่ผนังเซลลประกอบดวยเซลลูโลสและลิกนิน เพื่อชวยเพิ่มความ
แข็งแรง

หนา 25
MOCK TEST BIO FOR ALL BY พี่วาพี่อยากสอน

26. จากการศึกษาความหนาแนนของปากใบพืช 3 ชนิด (A-C) ไดผลดังตาราง


ชนิดพืช ตำแหนงเอพิเดอรมิส ตำแหนงของบริเวณที่ศึกษา จำนวนปากใบในขอบเขตที่ศึกษา
1 0
ดานลาง 2 0
3 0
A
1 37
ดานบน 2 35
3 42
1 6
ดานลาง 2 5
3 5
B
1 0
ดานบน 2 0
3 0
1 37
ดานลาง 2 35
3 33
C
1 0
ดานบน 2 0
3 0

จากขอมูล พืชทั้ง 3 ชนิด มีโอกาสเปนพืชใดมากที่สุด

พืช A พืช B พืช C


1. ลีลาวดี บัวสาย สับปะรดสี
2. ลีลาวดี สับปะรดสี บัวสาย
3. บัวสาย สับปะรดสี ลีลาวดี
4. สับปะรดสี บัวสาย ลีลาวดี
5. สับปะรดสี ลีลาวดี บัวสาย

หนา 26
MOCK TEST BIO FOR ALL BY พี่วาพี่อยากสอน

27. ขอใดถูกตองเกี่ยวกับการเปรียบเทียบการสังเคราะหดวยแสงของพืช 3 ชนิด ไดแก ขาวฟาง กลวยไม และทุเรียน

ขอเปรียบเทียบ ขาวฟาง กลวยไม ทุเรียน


สารประกอบคารบอนที่
1. เสถียรชนิดแรกที่ไดจาก OAA OAA PGA
การตรึงคารบอน

2. เอนไซมที่ใชในการตรึง PEP carboxylase รูบิสโก รูบิสโก


คารบอนครั้งแรก

3. ชวงเวลาในการเปด กลางวัน กลางวัน กลางคืน


ปากใบเพื่อนำ CO2 เขา
4. โฟโตเรสไพเรชัน เกิดนอยมาก เกิดนอยมาก ไมเกิด
5. ประสิทธิภาพในการใชน้ำ แยที่สุด ปานกลาง ดีที่สุด

หนา 27
MOCK TEST BIO FOR ALL BY พี่วาพี่อยากสอน

28. ในการศึกษาผลของความเขมแสงกับอัตราการสังเคราะหดวยแสงของพืช 2 ชนิด (A และ B) โดยวัดจากอัตรา


การตรึง CO2 สุทธิ ไดผลดังรูป

ขอใดถูกตอง
1. พืช A คือ พืช C3 สวนพืช B คือ พืช C4
2. จุดอิ่มตัวของแสงของพืช A มีคาสูงกวาพืช B
3. ไลตคอมเพนเซชันพอยตของพืช A มีคาสูงกวาพืช B
4. ในชวงความเขมแสงตั้งแต 1,000 µmol m-2 s-1 การสังเคราะหดวยแสงมีแสงเปนปจจัยจำกัด
5. เมื่อเพิ่มความเขมแสงมากกวา 500 µmol m-2 s-1 อัตราการตรึง CO2 สุทธิของพืช A และพืช B มีคา
คงที่

หนา 28
MOCK TEST BIO FOR ALL BY พี่วาพี่อยากสอน

29. จากการศึกษาดอกของพืชชนิดหนึ่งมีโครงสรางดอก ดังภาพ

ดอกของพืชชนิดนี้สามารถเจริญไปเปนผลประเภทใด และสามารถพบไดในพืชชนิดใด

ประเภทของผล ตัวอยางพืช
1. ผลเดี่ยว นอยหนา
2. ผลเดี่ยว สม
3. ผลกลุม กระดังงา
4. ผลกลุม องุน
5. ผลรวม สับปะรด

หนา 29
MOCK TEST BIO FOR ALL BY พี่วาพี่อยากสอน

30. ลักษณะสีผลของพืชชนิดหนึ่งถูกควบคุมดวยยีน 4 ตำแหนงที่เปนอิสระตอกัน คือ A, B, C และ D โดยสามารถขม


แอลลีลดอย คือ a, b, c และ d ไดอยางสมบูรณตามลำดับ โดยแอลลีลดอยไมสามารถสรางเอนไซมที่ทำงานได
จากกระบวนการสรางสีของผลแสดงดังภาพ

กำหนดให ถามีการสรางทั้งสารสีแดงและสารสีสม จะไดผลสีแดงอมสม


ขอใดถูกตอง
1. ตนที่มีจีโนไทป AaBbCCdd จะมีผลสีแดง
2. ตนที่มีผลสีเหลืองมีโอกาสที่จะมีจีโนไทปเปน aaBBCCDd
3. หากนำตนที่มีจีโนไทป AabbCCdd ผสมพันธกุ ับตนที่มีจีโนไทป aabbccdd มีโอกาสไดลูกที่มีผลสีแดง
4. หากนำตนที่มีจีโนไทป AAbbCcDd ผสมพันธุกับตนที่มีจีโนไทป aabbCcdd มีโอกาสไดลูกที่มีผลสีแดง
อมสม
5. หากนำตนที่มีจีโนไทป AAbbccDD ผสมพันธุกับตนที่มีจีโนไทป aabbCCdd โอกาสที่จะไดลูกที่มีผลสีแดง
เทากับ 3/4

หนา 30
MOCK TEST BIO FOR ALL BY พี่วาพี่อยากสอน

31. ลักษณะสีของเมล็ดขาวสาลีมียีนควบคุม 3 คู โดยกำหนดให


- แอลลีล R1 R2 และ R3 ควบคุมใหเมล็ดขาวสาลีมีสีแดง
- แอลลีล r1 r2 และ r3 ควบคุมใหเมล็ดขาวสาลีมีสีขาว
- ระดับความเขมสีแดงของเมล็ดขาวสาลีมากขึ้นตามจำนวนแอลลีลเดน
ขอใดถูกตอง
1. ขาวสาลีที่มีจีโนไทป R1r1R2R2r3r3 จะสรางเซลลสืบพันธุไดทั้งหมด 8 แบบ
2. เมล็ดของขาวสาลีที่มีจีโนไทป R1R1r2r2R3r3 มีสีแดงเขมกวาเมล็ดของขาวสาลีที่มีจีโนไทป r1r1R2r2R3R3
3. หากนำขาวสาลีที่มีจีโนไทปแบบฮอมอไซกัสโดมิแนนท ผสมกับ ขาวสาลีที่มีจีโนไทปแบบฮอมอไซกัส
รีเซสสีฟ พบวาไดขาวสาลีที่มีฟโนไทปแตกตางกัน 3 แบบ
4. หากนำขาวสาลีที่มีจีโนไทป R1r1R2r2R3r3 ผสมกันเอง จะไดขาวสาลีที่มีฟโ นไทปแตกตางกัน 7 แบบ
5. หากนำขาวสาลีที่มีจีโนไทป R1R1r2r2r3r3 ผสมพันธุกับ ขาวสาลีที่มีจีโนไทป r1r1R2R2R3R3 โอกาสที่จะ
ไดขาวสาลีที่มีเมล็ดสีขาว เทากับ 1/4

หนา 31
MOCK TEST BIO FOR ALL BY พี่วาพี่อยากสอน

32. ขอมูลชนิดเบสของดีเอ็นเอเกลียวคูจำนวน 5 โมเลกุล (A-E) เปนดังนี้


ดีเอ็นเอ A มีขนาด 250 คูเบส ประกอบดวยเบสไทมีน (T) 200 เบส
ดีเอ็นเอ B มีขนาด 250 คูเบส ประกอบดวยเบสอะดีนีน (A) 100 เบส
ดีเอ็นเอ C มีขนาด 250 คูเบส ประกอบดวยเบสไซโทซีน (C) 175 เบส
ดีเอ็นเอ D มีขนาด 500 คูเบส ประกอบดวยเบสกวานีน (G) 250 เบส
ดีเอ็นเอ E ประกอบดวยเบสอะดีนีน (A) 150 เบส และเบสกวานีน 200 เบส
ขอใดถูกตอง
1. ดีเอ็นเอ A มีจำนวนเบสพิวรีนมากกวาดีเอ็นเอดีเอ็นเอ B
2. ดีเอ็นเอ A ใชพลังงานในการแยกเกลียวคูนอยกวาดีเอ็นเอ C
3. ดีเอ็นเอ C มีอัตราสวนระหวางเบสอะดีนีน (A) : เบสไทมีน (T) สูงที่สุด
4. ดีเอ็นเอ D มีจำนวนเบสยูราซิล (U) 250 เบส
5. ดีเอ็นเอ E มีจำนวนพันธะฟอสโฟไดเอสเทอรมากที่สุด

หนา 32
MOCK TEST BIO FOR ALL BY พี่วาพี่อยากสอน

33. กำหนดใหตารางรหัสพันธุกรรมเปนดังนี้

จากการศึกษายีนของสิ่งมีชีวิตชนิดหนึ่ง และไดคนพบวามีการเกิดมิวเทชันหลายรูปแบบ เมื่อเซลล 5 เซลล (A-E)


ของสิ่งมีชีวิตนี้สังเคราะหโปรตีน จะมีลำดับกรดแอมิโนดังนี้
เซลล A (ปกติ) -Met-Ala-Pro-Trp-Ser-Glu-Lys-Cys-His-
เซลล B -Met-Ala-Pro-
เซลล C -Met-Ala-Pro-Trp-Thr-Glu-Lys-Cys-His-
เซลล D -Met-Ala-His-Leu-Glu-
เซลล E -Met-Ala-Pro-Trp-Ser-Glu-Glu-Lys-Cys-His-
เซลลใดมีโอกาสเกิดมิวเทชันแบบการเพิ่มขึ้นหรือขาดหายของนิวคลีโอไทด (insertion or deletion of nucleotide)
1. เซลล B และ C
2. เซลล B และ D
3. เซลล D และ E
4. เซลล B C และ D
5. เซลล B D และ E

หนา 33
MOCK TEST BIO FOR ALL BY พี่วาพี่อยากสอน

34. การวิเคราะหขนาดของผลิตภัณฑที่ไดจากการทำ PCR โดยใชไพรเมอร 3 คู และชนิดของแอนติบอดีในพลาสมา


ของครอบครัวหนึ่ง ซึ่งประกอบดวย แมและลูก ไดผลดังตาราง
ขนาดของผลิตภัณฑที่ไดจากการทำ PCR (bp)
ชนิดของ
บุคคล ไพรเมอรคูที่ 1 ไพรเมอรคูที่ 2 ไพรเมอรคูที่ 3 แอนติบอดี
ในพลาสมา
แอลลีลที่ 1 แอลลีลที่ 2 แอลลีลที่ 1 แอลลีลที่ 2 แอลลีลที่ 1 แอลลีลที่ 2
แม 220 180 300 300 260 180 B
ลูก 260 220 350 300 180 180 A

เมื่อวิเคราะหผลลายพิมพดีเอ็นเอ (DNA fingerprint) และหมูเลือดของชาย 5 คนที่อางวาเปนพอ ไดผลดังตาราง


บุคคล ผลลายพิมพ DNA หมูเลือด

นาย ก. AB

นาย ข. B

นาย ค. B

หนา 34
MOCK TEST BIO FOR ALL BY พี่วาพี่อยากสอน

บุคคล ผลลายพิมพ DNA หมูเลือด

นาย ง. A

นาย จ. A

จากขอมูล บุคคลใดมีโอกาสเปนพอมากที่สุด
1. นาย ก.
2. นาย ข.
3. นาย ค.
4. นาย ง.
5. นาย จ.

หนา 35
MOCK TEST BIO FOR ALL BY พี่วาพี่อยากสอน

35. นักวิทยาศาสตรติดตามความถี่แอลลีลของยีนควบคุมลักษณะสีของประชากรดอกไมชนิดหนึ่งเปนเวลา 4 ชั่วรุน


โดยประชากรของดอกไมชนิดนี้เปนประชากรขนาดเล็กที่อยูบนเกาะแหงหนึ่งซึ่งโดยรอบไมมีเกาะขางเคียง
จากการศึกษา ไดขอมูลการเปลี่ยนแปลงความถี่ของแอลลีล ดังตาราง
ความถี่แอลลีลในชั่วรุนที่
แอลลีล
1 2 3 4
R 0.7 0.9 0.6 1
r 0.3 0.1 0.4 0

กำหนดให แอลลีล R ควบคุมลักษณะดอกสีแดง


แอลลีล r ควบคุมลักษณะดอกสีขาว
การเปลี่ยนแปลงความถี่แอลลีลของยีนควบคุมลักษณะสีของประชากรดอกไมชนิดนี้ นาจะเปนผลมาจากปจจัยใด
1. เจเนติกดริฟตแบบสุม (random genetic drift)
2. การถายเทยีน (gene flow)
3. การผสมพันธุแบบไมสมุ (no random mating)
4. มิวเทชัน (mutation)
5. การคัดเลือกโดยธรรมชาติ (natural selection)

หนา 36
MOCK TEST BIO FOR ALL BY พี่วาพี่อยากสอน

ตอนที่ 2 แบบเลือกตอบเชิงซอน เลือกคำตอบที่ถูกตองในแตละคำถามยอย


จำนวน 5 ขอ (ขอที่ 36-40) ขอละ 3.2 คะแนน รวม 16 คะแนน
36. จากกราฟการรอดชีวิต (survivalship curve)

จากขอมูล ขอความตอไปนี้ถูกตองใชหรือไม
ขอความ ใช หรือ ไมใช
36.1 สัตวไมมีกระดูกสันหลัง และสัตวเลี้ยงลูกดวยน้ำนมขนาดเล็กมีโอกาสในการรอดชีวิต ใช / ไมใช
ดังกราฟรูปแบบ II
36.2 กราฟการรอดชีวิตรูปแบบ III ในชวงเริ่มตนที่มีอายุนอยอัตราการตายต่ำมาก ใช / ไมใช
36.3 กราฟการรอดชีวิตรูปแบบ I พบในสัตวที่ใหกำเนิดลูกครั้งละจำนวนมาก และมีการเลี้ยงดู ใช / ไมใช
ลูกในขณะที่อายุนอย

หนา 37
MOCK TEST BIO FOR ALL BY พี่วาพี่อยากสอน

37. พี่จองนำเซลลกลามเนื้อโครงรางที่เพาะเลี้ยงในหองปฏิบัติการมาทำใหแตกในบัฟเฟอร จากนั้นปนแยกเอาสวน


ประกอบตาง ๆ ของเซลลออกจากกัน แลวนำสวนตาง ๆ ที่แยกไดมาใสในแตละหลอดทดลองตางกัน ดังตาราง
หลอดทดลอง สารที่ใสลงในหลอดทดลอง
1 กลูโคส
2 กรดไพรูวิก
3 กรดไพรูวิก และ โคเอนไซมเอ

กำหนดให หลอดทดลองที่ 1 และ 2 ไมมีออรแกเนลลเจือปน


หลอดทดลองที่ 3 ยังคงมีไมโทคอนเดรียอยู
ทุกหลอดทดลองเกิดปฏิกิริยาจนสิ้นสุดทั้งหมด
จากขอมูล ขอความตอไปนี้ถูกตองใชหรือไม
ขอความ ใช หรือ ไมใช
37.1 ถาหลอดทดลองที่ 1 อยูในสภาพไมมีออกซิเจน จะไดแอลกอฮอลเปนผลิตภัณฑ ใช / ไมใช
37.2 หลอดทดลองที่ 2 มีการสราง ATP ไดต่ำที่สุด ใช / ไมใช
37.3 หลอดทดลองที่ 3 มีการสราง ATP ทั้งจากกระบวนการ substrate-level ใช / ไมใช
phosphorylation และ oxidative phosphorylation

หนา 38
MOCK TEST BIO FOR ALL BY พี่วาพี่อยากสอน

38. จากการศึกษาโครงสรางที่อยูนอกตัวเอ็มบริโอไก ไดผลดังภาพ

จากขอมูล ขอความตอไปนี้ถูกตองใชหรือไม
ขอความ ใช หรือ ไมใช
38.1 โครงสราง ➊ ➋ ➌ และ ➍ ทำหนาที่แลกเปลี่ยนแกส ใช / ไมใช
38.2 โครงสราง ➎ เปนถุงสะสมไขแดง เพื่อเปนอาหารสำหรับเอ็มบริโอในการเจริญเติบโต ใช / ไมใช
38.3 โครงสราง ➌ ทำหนาที่เก็บของเสียประเภทแอมโมเนียสะสมไวจนกระทั่งฟกออกจากไข ใช / ไมใช

หนา 39
MOCK TEST BIO FOR ALL BY พี่วาพี่อยากสอน

39. การเกิดแอเรงคิมา (aerenchyma) ในรากของพืชหลายชนิดเปนลักษณะการปรับตัวของรากเมื่ออยูในสภาวะ


น้ำทวมขังเนื่องจากเปนสภาวะออกซิเจนต่ำ (hypoxia) นอกจากนี้ยังพบไดในสภาวะการขาดไนโตรเจนอีกดวย
จากภาพตัดขวางรากของพืช 2 พันธุ (a และ b) ภายใตสภาวะการขาดไนโตรเจน ดังภาพที่ 1 และ
ความสัมพันธระหวางการใชออกซิเจนของราก (oxygen consumption) กับเปอรเซ็นตพื้นที่ของแอเรงคิมาในราก
(per cent root cross-sectional area as aerenchyma) ดังภาพที่ 2

จากขอมูล ขอความตอไปนี้ถูกตองใชหรือไม
ขอความ ใช หรือ ไมใช
39.1 พืชพันธุ a และ b เปนพืชใบเลี้ยงคู ใช / ไมใช
39.2 พืชพันธุ a มีแนวโนมที่จะปรับตัวตอสภาวะการขาดไนโตรเจนไดดีกวาพืชพันธุ b ใช / ไมใช
39.3 ในสภาวะการขาดไนโตรเจน พืชพันธุ a มีอัตราการหายใจสูงกวาพืชพันธุ b ใช / ไมใช

หนา 40
MOCK TEST BIO FOR ALL BY พี่วาพี่อยากสอน

40. จากการศึกษาประชากรจำนวน 3 ประชากร มีขอมูลดังนี้


ความถี่จีโนไทป จำนวนสมาชิกใน
ประชากร
AA Aa aa ประชากร (ตัว)
1 0.04 0.32 0.64 20
2 0.25 0.5 0.25 500
3 0.16 0.48 0.36 2,000

จากขอมูล ขอความตอไปนี้ถูกตองใชหรือไม
ขอความ ใช หรือ ไมใช
40.1 ความถี่ของแอลลีล a ในประชากรที่ 1 มากกวาความถี่ของแอลลีล A ในประชากรที่ 2 ใช / ไมใช
40.2 ประชากรที่มีจีโนไทป Aa ในประชากรที่ 2 มีจำนวนมากกวาประชากรที่มีจีโนไทป Aa ใน ใช / ไมใช
ประชากรที่ 3
40.3 ถาประชากรที่ 1 ทั้งหมด อพยพไปรวมกับประชากรที่ 2 ความถี่ของแอลลีล A ใน ใช / ไมใช
ประชากรใหมจะมีคา เทากับ 0.3

หนา 41

You might also like