You are on page 1of 4

แบ่งปั นการพิจารณาธรรม ในช่วงเดินจงกรม เช้านี ้ 12 พ.ค.

2566
.
ตัง้ โจทย์กบั ตัวเองว่าจะเดินพิจารณาว่า "การมีพทุ ธะ ธัมมะ สังฆะ เป็ นที่พึ่งที่ระลึก คืออะไร?"
.
.
** หมายเหตุ บทพิจารณานีเ้ ป็ นการพิจารณาจากความเข้าใจ เท่าที่ตวั เองเข้าใจเท่านัน้ ยังต้องพิจารณาและศึกษาต่ออีกเยอะ **
.
.
“เริ่มจากการมีพทุ ธะ เป็ นที่พงึ่ ก็ตอ้ งเข้าใจก่อนว่า พุทธะ คืออะไร?
.
พุทธะ คือสภาวะแห่งการตื่นรู ้ คือสภาวะที่ "ปั ญญา" ได้ตดั วงจรแห่งการเวียนว่ายตายเกิดให้ดบั ลงไปแล้ว
.
เป็ นสภาวะที่เปลี่ยนเจ้าชายสิทธัตถะ เป็ นพระสัมมมาสัมพุทธเจ้า
.
และสภาวะแบบเดียวกันนัน้ เป็ นของธรรมชาติท่เี ราทุกคนสามารถเข้าถึงได้
.
การระลึกถึงพุทธะเป็ นที่พึ่ง คือการระลึกถึงสภาวะธรรมชาตินนั้ ที่มีอยู่ในตัวเรา
.
.
แล้ว ธัมมะ เป็ นที่พึ่งอันประเสริฐคืออะไร?
.
ธัมมะ คือ สัจจะความจริง
.
.
และความจริงคืออะไร?
.
ความจริงคือสิ่งที่เป็ นจริงตามธรรมชาติ ไม่มีอะไรจะทาให้เปลี่ยนแปลงไปได้
.
และความจริงนัน้ ที่จะเป็ นที่พึ่ง คือ ความจริงที่จะทาให้เราพ้นจากกองทุกข์
.
นั่นก็คือความจริงว่าด้วย "อริยสัจ"
.
.
อริยสัจ แบ่งเป็ น 4 ข้อ คือ "ทุกข์" "สมุทยั " "นิโรธ" และ "มรรค"
.
.
ทุกข์ คืออะไร?
.
ทุกข์คือสิ่งที่เกิดมาพร้อมกับชีวติ นี ้ ชีวิตนีค้ ือก้อนแห่งทุกข์
.
ร่างกายนีก้ เ็ ป็ นความทุกข์ ทุกข์ท่ไี ม่อาจคงอยูก่ บั ที่ได้
.
และทุกข์ต่าง ๆ ที่มาพร้อมกับการเกิดมา นั่นก็คือ ความเกิด ความแก่ ความเจ็บ ความตาย ความพลัดพรากจากสิ่งที่รกั ฯลฯ
.
สิ่งเหล่านีเ้ ป็ นสภาวะความทุกข์ ที่เกิดมาคูก่ นั กับชีวิต แยกออกจากชีวติ ไม่ได้ เป็ นไปตามธรรมชาติของมัน
.
.
สมุทยั คืออะไร?
.
สมุทยั คือ “ความอยาก” และความอยากนีก้ ็ถกู แบ่งออกเป็ นความอยาก 2 ประเภท
.
1. ความอยากที่ “เกิดมาคูค่ วามทุกข์” (สมุทยั เก่า) เช่น หิว ก็อยากกิน, ง่วงก็อยากนอน, ปวดท้องก็อยากเข้าห้องนา้
.
2. ความอยากที่ “เราสร้างขึน้ มาใหม่” (สมุทยั ใหม่) เช่น พออยากกิน ก็อยากกินของดี ของที่ถกู ปาก และพยายามจะหามากินให้ได้
ถ้าไม่ได้ ก็จะร้อนใจ ไม่พอใจ
.
.
นิโรธ คืออะไร?
.
นิโรธ คือ “สภาวะที่ดบั ไปของทุกข์”
.
หมายถึงว่าความทุกข์ท่เี กิดขึน้ ความอยากที่เกิดขึน้ มันจะดับไป เมื่อหมดเหตุปัจจัยของมัน ไม่วา่ เราจะพยายามหรือไม่กต็ าม
.
ถ้าเราตีมือให้เจ็บ ในที่สดุ ความเจ็บก็จะหาย ต่อให้เราพยายามเค้นให้ความเจ็บนัน้ อยูก่ บั เราไปตลอด ก็ไม่สามารถทาได้เพราะพอ
หมดเหตุความเจ็บก็หายไปแล้ว
.
อารมณ์ความอยากต่าง ๆ ก็ดบั ไปเหมือนหมดเหตุปัจจัยของมันเช่นกัน
.
.
มรรค คืออะไร?
.
มรรค คือ “การปฏิบตั เิ พื่อเห็น ทุกข์ สมุทยั นิโรธ ให้ครบทัง้ กระบวนการ”
.
เมื่อเรามองเห็นความทุกข์ท่เี กิดขึน้ เห็นความอยากที่ตามมา และเห็นความอยากนัน้ ดับหายไป
.
การปฏิบตั ิแบบนี้ ก็คือการเจริญมรรค เป็ นการสร้างความเห็นถูกเกี่ยวกับชีวติ เรียบร้อยแล้ว
.
.
อริยสัจนีเ้ ป็ นความจริงสาหรับทุกชีวิต
.
ดังนัน้ การมีธัมมะเป็ นที่พงึ่ ก็คือการเข้าใจและนาเอาความจริงเหล่านี ้ มาที่พงึ่ ของใจ ไม่หลงไปยึดกับความอยาก ที่อยากจะปฏิเสธ
ทุกข์ หรือความจริงที่เกิดขึน้ มาพร้อมกับชีวติ ของเราอยู่แล้ว
.
.
แล้ว สังฆะ ล่ะ?
.
สังฆะ คือ บุคคลผูม้ ีความเพียรในการปฏิบตั ิ บนเส้นทางของการดับทุกข์
.
ซึ่งหมายความว่าบุคคลใดก็ตาม ที่ตงั้ ใจประพฤติปฏิบตั ิบนเส้นทางนีด้ ว้ ยความเพียร ก็ถือว่าเป็ น “สังฆะ”
.
และการมีสงั ฆะ เป็ นที่พึ่งคือยังไง?
.
มันก็คือการที่เอาความเพียร ความตัง้ ใจในการปฏิบตั ินแี ้ หละ เป็ นที่พึ่งอันประเสริฐ
.
มันคือการปฏิบตั ิเพื่อเข้าใจความทุกข์ท่เี กิดขึน้ เข้าใจอริยสัจ
.
รูว้ ่า “ทุกข์” เป็ นสิ่งที่ “ควรรู”้
.
รูว้ ่า “สมุทยั ” เป็ นสิ่งที่ “ควรละ”
.
รูว้ ่า “นิโรธ” เป็ นสิ่งที่ “ควรทาให้แจ้ง”
.
และการทาสิ่งนีอ้ ย่างต่อเนื่อง ก็คอื การ “เดินมรรค”
.
การมีสงั ฆะเป็ นที่พึ่ง คือการยึดมั่นในความเพียรที่จะเดินมรรคอย่างต่อเนื่อง
.
ให้ความเพียรในการปฏิบตั เิ พื่อสร้างเหตุนเี ้ ป็ นที่พึ่งของเรา และให้เราใช้ความเพียรนัน้ “สร้างเหตุ” ต่อไปเรื่อย ๆ
.
.
การมี พุทธะ ธัมมะ สังฆะ เป็ นที่พึ่ง
.
เพื่อที่เราจะได้รูว้ า่ สภาวะที่เป็ นไปเพื่อการพ้นจากกองทุกข์เหล่านี ้ มีอยู่ในตัวของเรา ไม่ใช่สิ่งภายนอก
.
และเมื่อจิตมีพทุ ธะ ธัมมะ สังฆะ เป็ นที่พึ่งแล้ว
.
เราย่อมมี “ความเพียร” ในการปฏิบตั ิ เพื่อเข้าใจ “อริยสัจ” อย่างแจ่มแจ้ง อันนาไปสู่การ “ตื่นรู”้ เพื่อหลุดพ้นจากกองทุกข์น”ี ้
.
.
ด้วยกาลังปั ญญาและความรูท้ ่มี ีในตอนนี ้ ก็พอจะพิจารณาธรรมได้ดงั นี ้
.
นามาแบ่งปั นอาจเป็ นประโยชน์สาหรับท่านที่กาลังศึกษา และหากท่านใดที่มีความรูค้ วามเข้าใจ ก็สามารถแลกเปลี่ยนความรูก้ นั
ได้ในคอมเมนต์นะครับ
.
อนุโมทนาบุญ สาธุ ๆ
.
กิตติ ไตรรัตน์
12 พ.ค. 2566

You might also like