You are on page 1of 54

วิว ัฒนาการ

ทฤษฎีการบริหาร
•คน (Man)
ทร ัพยากรทางการบริหาร
•เงิน (Money)
•วัสดุ
(Materials)
•วิธก ี ารบริหาร
(Management or
Method)

•เครืองจั กร
(Machine)
การ
ทร ัพยากร บริหาร
ทางการ การ การจ ัด
องค์การ
บริหาร วางแผน

- คน การจ ัด เป้ าหม


- เงิน
คนเข้า
ทางาน ายของ
- วัสดุ การ องค ์กา
ควบคุม การสง่ ั
- วิธก ี าร การ ร

- เครืองจั กร

กระบวนการทางการบริหา
วิวฒ
ั นาการของทฤษฎีการ
บริหาร
วิวฒ
ั นาการของทฤษฎีทางการบริหาร
1890 1900 1910 1920 1930 1940 1950 1960 1970 ปั จจุบน


ั นะดั
ทัศ้ นะเชิ
งเดิ ม งพฤติ
ทัศกนะเชิ
รรมงปริ
ทัมศาณ
นะร่วมสม
ารบริหารเชินัก
ง พฤติกรรมการบริหาร ทฤษฎีเชิง
วิทยาศาสตร ์ระยะแรก ศาสตร ์ ระบบ
ารบริหารเชิง การศึ ก ษา การบริหาร ทฤษฎีตาม
ที ่
ฮอว ์ธอร ์น
บริหาร ่ ปฏิบต
ั ก
ิ ารสถานการณ
ความเคลือนไหว
ารบริหารแบบ สารสนเทศ ทัศ นะที ่ ด
เกิ
เชิงมนุ ษยสัมพันธ ์
ราชการ หลักพฤติ การบริหาร ขึนใหม่ ้
กรรมศาสตร ์
้ ม
ยุคทฤษฎีการบริหารแบบดังเดิ
Classical Organizational Theory

เกิดขึนระหว่
าง
ต้นศตวรรษที่ 19

เมือการจัดการ
ผลิตด้วยบุคคล
เกิดปั ญหาการ
้ ม
ยุคทฤษฎีการบริหารแบบดังเดิ
Classical Organizational Theory
1. ทฤษฎีการบริหารเชิง
วิทยาศาสตร ์ (Scientific Management)
หลักการสาคัญ
1.1 ใช้วธ ิ ก
ี ารเชิงวิทยาศาสตร ์มากาหนด
วิธก ี ารในการทางาน
จนเกิดthe One best way(การกาหนด
วิธก ี ารทางานทีดี ่ ทสุ
ี่ ด)
้ ม
ยุคทฤษฎีการบริหารแบบดังเดิ
Classical Organizational Theory

นักบริหารทีสาคัญ
1. Frederick W. Taylor
(บิดาแห่งการจัดการ
วิทยาศาสตร)์
2. Henry Gantt (Gantt Chart)
3. Frank and Lillian Gilbreth
Frederick W. Taylor
1. การบริหารแบบมีหลักเกณฑ ์
2. แก้ไขการทางานไม่เต็มศ ักยภาพได้ดว้ ย
การออกแบบงานและจัดแรงจู งใจใหม่
3. การออกแบบงาน
 กาหนดวิธก ่ ทสุ
ี ารทางานทีดี ี่ ดแทนการลอง
ผิดลองถูก
 มีการวางแผนแทนการเลือกทาแบบต ัวใคร
ต ัวมัน
 มีการค ัดเลือกคน ฝึ กอบรม และพัฒนาการ
ทางานร่วมกัน
1. หลัก One Best Way
 Time and Motion Study

 วิเคราะห ์สายพานการทางาน แยกงานเป็ น


่ จาเป็ น
ส่วนๆ และกาจัดส่วนทีไม่
 กาหนดวิธกี ารทางานที่ ลดเวลา ลดค่าใช้จา่ ย
ลดแรงงานการผลิต แต่ยงั ได้ผลผลิตตาม
มาตรฐานทีก ่ าหนด

 ปั ญหาความเครียดจากงานทีเฉพาะเกิ ่
นไป เบือ
คุณภาพงานตา ่ ขาดงาน ลาออก
่ งใจ
2. การจัดระบบสิงจู
 จู งใจด้วยเงิน
 หากคนงานทางานเกินมาตรฐาน เขาก็ควร

ได้ร ับค่าตอบแทนเพิม
Frank & Lilian Gilbreth
Frank 1868-1924
 ขจัดส่วนไม่จาเป็ นออกจากระบบ
 หาวิธลี ดความเหนื่ อยล้าในการทางาน
Lilian 1878-1972

 เน้นการเพิมประสิ ทธิภาพในการทางาน
 วิเคราะห ์องค ์ประกอบของงานเพือก ่ าจัด
่ จาเป็ นออก
ส่วนทีไม่
่ าเป็ นเข้าด้วยกัน
 สังเคราะห ์องค ์ประกอบทีจ
ใหม่
Henry Gantt 1861-1919
เป็ นผู ช
้ ว
่ ยของ Frederick W.
Taylor
เน้นการสร ้างแรงจู งใจด้วยเงิน
หากคนงานทางานเกินมาตรฐาน
หัวหน้าคนงานก็ควรได้ร ับ
ค่าตอบแทนเพิม ่
ตัวอย่างตาราง Gantt Chart
้ ม
ยุคทฤษฎีการบริหารแบบดังเดิ
Classical Organizational Theory

2.ทฤษฎีการจัดการ
เชิงบริหาร (Administrative
Management )

หลักการสาคัญ เป็ นการ


ทางานเป็ นระบบแบบ
้ ม
ยุคทฤษฎีการบริหารแบบดังเดิ
Classical Organizational Theory

นักบริหารทีสาคัญ
1. Henry Fayol หลักการสาคัญ
คือ
1) หลักการแบ่งงานกันทาตาม
ความถนัด (Division of work)
2) หลักการอานาจบังคับ (Authority)
3) หลักการระเบียบวินย ั การเคารพ
้ ม
ยุคทฤษฎีการบริหารแบบดังเดิ
Classical Organizational Theory
8)หลักการรวมอานาจไว้
ส่วนกลาง (Centralization)
9) หลักการสายบังคับบัญชา
(Hierarchy/Scalar chain)
10) หลักการเป็ นระเบียบแบบแผน
(Order) ต่อการทางาน

11) หลักความเสมอภาค (Equity)



12) หลักความมันคงในงาน (Stability
้ ม
ยุคทฤษฎีการบริหารแบบดังเดิ
Classical Organizational Theory

นักบริหารทีสาคัญ
2. Chester I. Bernard
หลักการสาคัญ คือ
(PODCC)
1) การวางแผน (Planning)
2) การจัดองค ์กร (Organizing)
้ ม
ยุคทฤษฎีการบริหารแบบดังเดิ
Classical Organizational Theory
่ าคัญ
นักบริหารทีส
3. Luther Gulick หลักการสาคัญ คือ
(POSDCORB)
1) การวางแผน (Planning)
2) การจัดองค ์กร (Organizing)
3) การจัดทีมคน (Staffing)

4) การสังการ (Directing)
5) การประสานงาน (Coordinating)
6) การรายงาน (Reporting)
7) การจัดงบประมาณ (Budgeting)
้ ม
ยุคทฤษฎีการบริหารแบบดังเดิ
Classical Organizational Theory
นักบริหารที่
สาค ัญ

1. Henry 2.Chester I Luther


Fayol Barnard Gulick

กาหนด (PODCC) (POSDCORB

หน้าที่
- วางแผน )
-จัดองค ์การ
-การสังการ่
www.themegallery.com
้ ม
ยุคทฤษฎีการบริหารแบบดังเดิ
Classical Organizational Theory

3.ทฤษฎีการบริหารแบบ
ราชการ
(Bureaucratic Management)

www.themegallery.com
้ ม
ยุคทฤษฎีการบริหารแบบดังเดิ
Classical Organizational Theory
หลักการสาคัญ

หลักการมีกฎระเบียบข้อบังคับ เพือ
3.1
ควบคุมการต ัดสินใจ (rules and
regulation)
3.2 หลักความไม่เป็ นส่วนตวั (
Impersonal) ผู บ
้ ริหารต้องไม่ทาตาม
อาเภอใจ
3.3 หลักการแบ่งงานกันทาตามความ
้ ม
ยุคทฤษฎีการบริหารแบบดังเดิ
Classical Organizational Theory
3.4 หลักโครงสร ้างสายบังค ับบัญชา
(Hierarchical Structure)
่ นคง
3.5 หลักอาชีพทีมั่ (Life – long
Career)

3.6 หลักอานาจหน้าทีในการต ัดสินใจ
ภายใต้กฎรองร ับ
(Authority)

3.7 หลักความเป็ นเหตุผล เพือ
ต ัดสินใจให้บรรลุเป้ าหมาย
้ ม
ยุคทฤษฎีการบริหารแบบดังเดิ
Classical Organizational Theory

นักบริหารสาคัญ
1. Max Weber
Max Weber 1864-1920
นักสังคมวิทยาชาวเยอรมัน
เสนอแนวคิด “ระบบราชการเชิงอุดม
คติ” (Ideal Bureaucracy)
เน้นประสิทธิภาพสู ง ซึงก่ ่ อผลทางลบ
ตามมา
เคร่งคร ัดมาก ไม่ยด ื หยุ่น ล่าช้า หวง
อานาจ ต ัดสินใจช้า ก้าวไม่ทน ั ความ

เปลียนแปลงทางค่ านิ ยมและ
เทคโนโลยี ชิงดีชงิ เด่นทางตาแหน่ ง
เอาใจผู บ้ ริหารมากกว่าผู ร้ ับบริการ
สร ้างอาณาจักร ขาดการ
ประสานงาน ขาดความคิด
ความเหมือนกันของทฤษฎีการบริหาร
้ั มทัง้ 3
ทัศนะดงเดิ
่ นการแบ่งงาน สาย
1. โครงสร ้าง ทีเน้
บังค ับบัญชา หน้าที่ หลักการ
2. ผู ป
้ ฏิบต ่
ั ิ เป็ นเครืองมื
อในการผลิต
เน้นแรงจู งใจทางเศรษฐกิจ
3. ความเป็ นผู น ่ เน้นเป้ า
้ า นาเดียว
ขององค ์การมากกว่าผู ป ้ ฏิบต
ั ิ
4. การต ัดสินใจ เน้นเหตุผล
ประสิทธิภาพ และกาไรทาง
เศรษฐกิจ
ความแตกต่างของทฤษฎีการบริหาร
้ มทัง้ 3
ทัศนะดังเดิ
1. Taylor มุ่งการศึกษาคนงานแล้วค่อย
หาวิธท ี่ ทสุ
ี ดี ี่ ด
2. Fayol มุ่งการกาหนดหลักให้กอ ่ นแล้ว
นาไปปฏิบต ั ิ
3. Weber มุ่งสร ้างพิมพ ์เขียวของ
หลักการหรือสิงที ่ องค
่ ์การควรจะทา
เน้นกฎระเบียบข้อบังค ับ การกาหนด
่ ช ัดเจนเพือการประเมิ
หน้าทีให้ ่ นผล
พฤติกรรม
Behavioral Organizational Theory

พยายามสร ้างความเข ้าใจแรงขับภายในและปัจจัยต่างๆทีส่่ งผลต่อ


การทางาน
1. นักพฤติกรรมระยะเริมแรก่ (Early Behaviorists)
 Hugo Munsterberg
 Mary Parker Follett
2. ่
การศึกษาทีฮอว ์ธอร ์น (Hawthorne Studies)
 Elton Mayo
3. ่
การเคลือนไหวเชิ
งมนุ ษย ์สัมพันธ ์ (Human Relation
Movement)
 Abraham Maslow
 Douglas McGregor
4. หลักพฤติกรรมศาสตร ์ (Behavioral Science Approach)
ยุคทฤษฎีการบริหารทัศนะเชิง
พฤติกรรม
1. นักBehavioral
พฤติกรรมระยะเริ ่
Organizational
มแรก Theory
(Early Behaviorists)
Hugo Munsterberg 1863-1916
 นักจิตวิทยาและการแพทย ์ชาวเยอรมัน
 บิดาแห่งจิตวิทยาอุตสาหกรรม
 ทาการทดลองเชิงจิตวิทยาก ับวงการ
อุตสาหกรรม:
 ใช้หลักบริหารทางวิทยาศาสตร ์มาช่วยวิเคราะห ์
และจาแนกคนให้เหมาะสมกบ ั งาน
 ใช้หลักบริหารทางวิทยาศาสตร ์มาช่วยศึกษา
่ งผลต่อพฤติกรรมการทางาน
ปั จจัยทีส่
 ศึกษาหาวิธท ี่ าให้คนงานมีพฤติกรรมสอดคล้อง
ี ท
กับเป้ าหมายองค ์การ
พฤติกรรม
Behavioral Organizational Theory
Mary Parker Follett 1868-1933
 นักร ัฐ-สังคมศาสตร ์ชาวอเมริกน

 สนใจการจ้างงานและสภาพแวดล้อมใน
การทางาน
 เน้นอิทธิพลกลุ่มต่อการทางานใน
องค ์การ
 เน้นการมีอานาจร่วมกัน มากกว่าการมี
อานาจเหนื อกัน
 เน้นการบู รณาการปั ญหาร่วมกันระหว่าง
ยุคทฤษฎีการบริหารทัศนะเชิง
พฤติกรรม
2. การศึ
ก ษาที ่
ฮอว ์ธอร ์น (Hawthorne
Behavioral Organizational Theory
Studies)
 การศึกษาการปฏิบต ั งิ านของโรงงานฮอว ์ธอร ์น ของ Western Electric
Company ที่ Chicago ช่วงปลาย1920s - ต ้น1930s

 โดย Elton Mayo ชาวออสเตรเลีย


 ่
เพือการปร ่ อและวิธก
ับปรุงเครืองมื ี ารทางานตามทัศนคติเชิง
วิทยาศาสตร ์
 ศึกษา 3 ครง้ั
1. แสงสว่างกับประสิทธิภาพการทางาน- ไม่มผ ี ลโดยตรง
2. ่ จจัยสภาพแวดล ้อมต่างๆ- ไม่พบความสัมพันธ ์
เพิมปั
3. สังเกตกลุม
่ ทางสังคม- อิทธิพลกลุม
่ แบบไม่เป็ นทางการ
 มนุ ษย ์เป็ นสัตว ์สังคม- แรงจูงใจทางสังคมแทนความเป็ นมนุ ษย ์
เศรษฐกิจ
ยุคทฤษฎีการบริหารทัศนะเชิง
พฤติกรรม
Behavioral Organizational Theory

3. ความเคลือนไหวเชิ
งมนุ ษย ์สัมพันธ ์ (Human Relation Movement)
 ปัจจัยทางสังคมมีผลต่อพฤติกรรมการทางาน
้ ตก็จะสูงขึน้
 ความพึงพอใจมากขึนผลผลิ
Abraham Maslow 1908-1970
 นักจิตวิทยาชาวอเมริกน

 แรงจูงใจมาจากธรรมชาติของมนุ ษย ์
่ สนสุ
 มีความต ้องการทีไม่ ิ้ ด
่ มเต็มความต ้องการทียั
 กระทาเพือเติ ่ งไม่พอใจ

 ความต ้องการมีลาดับขัน
่ นอกเหนื อจากเงิน
 คนงานมีความต ้องการอืนๆ
ทฤษฎีลำดับขัน
้ ควำมต ้องกำรของมนุษย์

 Maslow’s Hierarchy of Needs


ทฤษฎีลำดับขัน
้ ควำมต ้องกำรของมนุษย์
 Maslow’s Hierarchy of Needs
ยุคทฤษฎีการบริหารทัศนะเชิงพฤติกรรม
Behavioral Organizational Theory

3. ความเคลือนไหวเชิ
งมนุ ษย ์สัมพันธ ์
(Human Relation Movement)

Douglas McGregor 1906-1964


 นักบริหารอุตสาหกรรมชาวอเมริกน ั

 ตังสมมุ ่
ตฐิ านเกียวกั
บทัศนะของผู ้บริหารต่อคนงาน
 ทฤษฎี X และ Y
 ทฤษฎี X

 คนไม่ชอบทางาน หลีกเลียงงาน
 คนต ้องการให ้บังคับ ควบคุม ขูเ่ ข็ญ ลงโทษใหบ
้ รรลุ
เป้ าหมาย
ี วามทะเยอทะยาน แต่อยากมั่นคง
 คนไม่ร ับผิดชอบ ไม่มค
พฤติกรรม
Behavioral Organizational Theory

3. ความเคลือนไหวเชิ
งมนุ ษย ์สัมพันธ ์ (Human Relation
 ทฤษฎี Y
Movement)

 คนไม่ชอบทางานโดยสันดาน แต่พยายามทาให ้
เป็ นธรรมชาติ

 คนควบคุมตนเองให ้บรรลุเป้ าหมายทีตนผู กพันได ้

 ความผูกพันกับเป้ าหมายขึนอยู ่กบั รางวัล
โดยเฉพาะการตอบสนองความต ้องการระดับสูง
 คนแสวงหาความรู ้นอกเหนื อจากความร ับผิดชอบ

 คนแสดงความคิดสร ้างสรรค ์เพือการแก ้ปัญหา
 คนยังใช ้ศักยภาพทางสติปัญญาไม่เต็มที่
การจัดการบุคคลของทฤษฎี X
่ ด
1. พนักงานต้องการทางานให้น้อยทีสุ
ดังนัน้ ผู จ
้ ด ่
ั การต้องควบคุม สังการ จู ง

ใจ ให้รางวัล หรือลงโทษเพือให้ บุคคล
ทางานบรรลุจุดมุ่งหมายขององค ์การ
2. พนักงานมีความทะเยอทะยานน้อยและ
ไม่ชอบความร ับผิดชอบ

3. โดยทัวไปพนั กงานจะต่อต้านการ

เปลียนแปลง
การจัดการบุคคลของทฤษฎี Y
1. โดยธรรมชาติพนักงานชอบการทางาน

2. พนักงานมีความคิดริเริมในการ
แก้ปัญหาและบรรลุจุดมุ่งหมายของ
องค ์การ
3. พนักงานมีความร ับผิดชอบ
4. พนักงานมีศ ักยภาพในการพัฒนา
ตนเอง
ยุคทฤษฎีการบริหารทัศนะเชิง
พฤติกรรม
Behavioral Organizational Theory
4. หลักพฤติกรรมศาสตร ์
(Behavioral Science Approach)

่ ฒนา
เน้นการวิจยั เชิงวิทยาศาสตร ์เพือพั
ทฤษฎีพฤติกรรมมนุ ษย ์
นาไปทดลองก่อนการใช ้ในการบริหาร
มีความช ัดเจน เฉพาะเจาะจง และวัด
ประเมินได ้
ยุคการบริหารทัศนะเชิงปริมาณ
(Quantitative Organizational Theory
 เกิดในช่วงสงครามโลกครงที ้ั ่ 2 โดยกลุม

นักวิชาการชาวอังกฤษ
 เป็ นทีมนักวิจยั เชิงปฏิบตั ก ่
ิ ารเพือการแก ้ไขปัญหา
สงคราม
 ใช ้คณิ ตศาสตร ์ สถิต ิ และข ้อมูลสารสนเทศ ในการ
บริหารและปฏิบต ั งิ านขององค ์การ
 หลักการทีส ่ าคัญ:
1. การบริหารศาสตร ์ (Management Science)
2. การบริหารปฏิบต
ั ก
ิ าร (Operations Management)

3. ระบบสารสนเทศเพือการบริ หาร (Management
Information System)
ยุคทฤษฎีการบริหารทัศนะเชิง
พฤติกรรม
1. การบริหารศาสตร
Behavioral ์ (Management
Organizational Theory
Science)

มุ่งเพิมประสิ
ทธิผลในการตัดสินใจ
ใช ้ตัวแบบทางคณิ ตศาสตร ์และวิธก
ี าร
เชิงสถิติ
แพร่หลายอย่างรวดเร็ว
วิเคราะห ์ข ้อมูลได ้อย่างซ ับซ ้อนมาก
ขึน้
ยุคทฤษฎีการบริหารทัศนะเชิง
พฤติกรรม
2. การบริ
หารปฏิ
Behavioral บตั ก
ิ าร (Operations
Organizational Theory
Management)

 เน้นการบริหารกระบวนการผลิต
 เน้นการให ้บริการขององค ์การให ้มีประสิทธิภาพ
โดย:
 กาหนดตารางการทางาน
 วางแผนการผลิต
 ออกแบบอาคารสถานที่
 การประกันคุณภาพ
ยุคทฤษฎีการบริหารทัศนะเชิง
พฤติกรรม
Behavioral Organizational Theory

3. ระบบสารสนเทศเพือการบริ
หาร
(Management Information System)

 เน้นการออกแบบและการนาระบบสารสนเทศ
มาใช ้กับการบริหาร
 เช่น การสร ้างระบบฐานข ้อมูลทางวิชาการ
บุคลากร งบประมาณ เป็ นต ้น
สมัย
(Contemporary Organizational Theory)

1. การบริหารตามทฤษฎีเชิงระบบ (System
Theory)
ประกอบด ้วย ระบบเปิ ด และ ระบบปิ ด
ทัศนะวิธก
ี ารเชิงระบบ

ระบบในเชิงบริหาร หมายถึง องค ์ประกอบ


หรือปัจจัย
่ ความสัมพันธ ์กันและมีสว่ นกระทบ
ต่างๆ ทีมี
ต่อปัจจัยระหว่างกัน ในการดาเนิ นงาน
่ ้บรรลุวต
เพือให ั ถุประสงค ์ขององค ์กร

ระบบองค ์การจะดาเนิ นอยู ่บนพืนฐานของ

ส่วนประกอบ 5 ส่วน คือ

1. ปัจจัยนาเข ้า (Input)

2. กระบวนการเปลียนแปลง (Transformation
process)
3. ปัจจัยส่งออก (Outputs)
่ อนกลับ (Feedback)
4. สิงป้
5. สภาพแวดล ้อม (External environment)
ยุคทฤษฎีการบริหารทัศนะร่วมสมัย
(Contemporary Organizational Theory)

2. ทฤษฎีการบริหารตามสถานการณ์
( Cont i ngency Theor y)
 ไม่มห ่ ้ได ้กับ
ี ลักการบริหารสาเร็จรูปทีใช
ทุกสถานการณ์
 ต ้องคานึ งถึงความเหมาะสมในการ
ตัดสินใจดาเนิ นงานภายใต ้สถานการณ์
ต่างๆให้สอดคล ้องกับความต ้องการของ
องค ์กรและความพึงพอใจของพนักงาน
ยุคทฤษฎีการบริหารทัศนะร่วมสมัย
(Contemporary Organizational Theory)

3. ่ ดขึนใหม่
ทัศนะทีเกิ ้ (Emerging Views)
 ทฤษฎี Z
 การบริหารคุณภาพโดยรวม (TQM)
 การบริหารงานแบบเน้นวัตถุประสงค ์
(MBO)

 การปร ับรือระบบ (Reengineering)
ยุคทฤษฎีการบริหารทัศนะร่วมสมัย
(Contemporary Organizational Theory)

ทฤษฎี Z
 การบริหารแบบญีปุ่่ น โดย William Ouchi
 เน้นความมั่นคงในการทางาน มีสว่ นร่วมในการ

ตัดสินใจ ร ับผิดชอบเป็ นปัจเจกบุคคล เพิม
คุณภาพ ก ้าวหน้าอย่างต่อเนื่ อง ควบคุมแบบไม่
เป็ นทางการ เปิ ดโอกาสกว ้าง มีคณ
ุ ภาพชีวติ ที่
ทางานและครอบคร ัว
ยุคทฤษฎีการบริหารทัศนะร่วมสมัย
(Contemporary Organizational Theory)

ทฤษฎีการบริหารคุณภาพโดยรวม (TQM)

 เริมโดย W. Edwards Deming ในอเมริกา
่ คณ
 มุ่งร ับผิดชอบการผลิตหรือการให ้บริการทีมี ุ ภาพ
ร่วมกัน
 แต่ละฝ่ ายมุ่งพัฒนาคุณภาพของงาน
 เน้นการมีพน ั ธะผูกพันกับองค ์การ
 บูรณาการความพยายามเพือบรรลุ ่ จดุ หมายของ
องค ์การ
 มีการประเมินผลการทางานทีเด่ ่ นช ัด
วงจร “DEMING”
ยุคทฤษฎีการบริหารทัศนะร่วมสมัย
(Contemporary Organizational Theory)

การบริหารงานแบบเน้นวัตถุประสงค ์ (MBO)
 พัฒนาโดย Peter Drucker 1983
 ทางานและร ับผิดชอบอย่างเต็มที่
 มีทศิ ทางร่วมกันทีช่ ัดเจน
 เน้นการมีสว่ นร่วม และทางานกันเป็ นทีม
 วัตถุประสงค ์ส่วนบุคคลประสานกับส่วนองค ์การ
 เน้นการมีข ้อมูลย ้อนกลับ และการปร ับปรุง
 มีการกาหนดระยะเวลาทีช ่ ัดเจน
ยุคทฤษฎีการบริหารทัศนะร่วมสมัย
(Contemporary Organizational Theory)
การรือปร้ ับระบบ (Re-engineering)
่ นใหม่โดยเน้นไปที่
 สร ้างใหม่ เริมต้
กระบวนการทางานขึนใหม่ ้ ให้สอดคล้อง

ก ับความเปลียนแปลงในด้ านต่างๆ
 ไม่ใช่การปร ับโครงสร ้าง ลดขนาด ใช้
คอมพิวเตอร ์หรือจ ัดองค ์การใหม่

 เกิดขึนได้ ่
ทุกเมือแม้
ไม่มป
ี ั ญหา เช่น

เพือการแข่ งขัน

You might also like