You are on page 1of 24

วิวฒั นาการของการจัดการงาน

อุตสาหกรรม
ความหมายของการจัดการงานอุตสาหกรรม
• การจัดการ (Management) คือ
– “กระบวนการอย่างหนึ่งภายในองค์กร ซึ่งมีล ำดับการทำงานเป็ นขั้นตอน มี
กลุ่มบุคคลเป็ นกลไกสำคัญในการบริ หารงาน มีเงินทุน เครื่ องจักร และ
วัสดุครุ ภณั ฑ์ต่างๆเป็ นองค์ประกอบด้วย”
– “การทำงานให้สำเร็ จโดยอาศัยผูอ้ ื่น”
• อุตสาหกรรม
– “การประดิษฐ์สิ่งของออกจำหน่าย หมายถึง การนำเอาวัตถุดิบมาปรุ งแต่ง
ดัดแปลง แปรสภาพ ด้วยการใช้แรงงานมนุษย์หรื อเครื่ องจักรก็ตาม เพื่อ
เป็ นการเปลี่ยนสภาพเป็ นเครื่ องอุปโภคบริ โภค เพื่อให้เป็ นสิ นค้า หรื อ
ผลิตภัณฑ์สำหรับบริ โภคใช้สอยซึ่งทำการซื้ อขายหรื อแลกเปลี่ยนกันได้
ซึ่งรวมการให้บริ การต่างๆ ด้วย
• การจัดการงานอุตสาหกรรม
วิทยาการจัดการ (Management science)
• วิทยาการจัดการเริ่ มต้นขึ้นจากการปฏิวตั ิอุตสาหกรรม (ค.ศ. 175
0-1870 ซึ่ งมีการนำเครื่ องจักรไอน้ำมาใช้แทนแรงงานมนุษย์
• เฟรเดอริ ก ดับบลิว เทย์เลอร์ ได้ริเริ่ มการปรับปรุ งประสิ ทธิภาพการ
ทำงาน
• ในปี ค.ศ. 1910 มีการจัดตั้งแผนกบุคคลขึ้นเป็ นครั้งแรก
• ในช่วงต้น ทศวรรษที่ 1980 ญี่ปุ่นได้พฒั นา
อุตสาหกรรมอย่างรวดเร็ ว จนการบริ หารแบบ
ญี่ปุ่นเป็ นที่ยอมรับและนำไปใช้อย่างกว้างขวาง
นักบริ หารอุตสาหกรรมที่ส ำคัญ

• อดัม สมิท
• เฟรเดอริ ก ดับบลิว เทย์เล่อร์
• เฮนรี่ แอล แก้นท์
• แฟรงค์ บี กิลเบร็ ท และ ลิเลียน เอ็ม กิลเบร็ ท
• แฮริ งตั้น อีเมอร์สนั
• เฮนรี่ เฟยอล
• จอร์จ อี เมโย
อดัม สมิท (Adam Smith)
• นักเศรษฐศาสตร์ชาวอังกฤษ
• เขียนThe wealth of Nations (1776)
• ปรับปรุ งการทำงานโดยการแยกความชำนาญ
• แบ่งขั้นตอนการผลิตเข็มหมุดออกเป็ นสี่ ข้นั ตอน ทำให้
สามารถ เพิ่มผลผลิต จาก 1,000 ตัวต่อวันเป็ น 48,000 ตัวต่อ
วัน
เฟรเดอริ ก ดับบลิว เทย์เล่อร์
(Frederick W. Taylor)
• วิศวกรชาวอเมริ กนั
• ได้รับยกย่องเป็ น บิดาแห่งวิทยาการจัดการ
(Father of Scientific Management)
• ริ เริ่ ม
– การออกแบบงาน - วัดงาน
– ศึกษางาน - การจัดกำหนดการผลิต
ผลงานเด่นๆของเทเล่อร์
• การใช้ระบบอัตราค่าจ้างรายชิ้น

• การปรับปรุ งการตักแร่
วิธีปรับปรุ งงานตามแบบเทเลอร์
จาก “Principles of Scientific Management”
• การจัดทำวิธีการทำงานตามหลักวิทยาศาสตร์
แทนการใช้การกะประมาณตามความเคยชิน
• เลือก และฝึ กอบรม สอน และพัฒนาคนงาน
ตามหลักวิทยาศาสตร์ แทนการทำงานตามถนัด
• ก่อให้เกิดความร่ วมมือกับคนงานอย่างจริ งจัง
• แบ่งงานและความรับผิดชอบอย่างเท่าเทียมกันระหว่างฝ่ ายบริ หาร
และคนงาน
เฮนรี่ แอล แก้นท์ (Henry L. Gantt)
• เป็ นผูช้ ่วยคนสำคัญของเทย์เล่อร์
• ทำการปรับปรุ งอัตราค่าจ้างรายชิ้นของเทย์เล่อร์
• Gantt chart
แฟรงค์ กิลเบร็ ท (Frank Gilbreth)
• ชาวอเมริ กนั ผูบ้ ุกเบิกทางวิศวกรรมอุตสาหการ

• ประยุกต์ใช้ไปยังสาขาอื่นๆ เช่น งานก่อสร้าง


งานขุดคลอง การศึกษา การแพทย์ และการทหาร

• เริ่ มทำงานเป็ นผูช้ ่วยช่างก่ออิฐ

• กิลเบร็ ทตัดสิ นใจที่จะหา “วิธีที่ดีที่สุดวิธีเดียว”


แฟรงค์ กิลเบร็ ท (Frank Gilbreth)
• ภายในปี 1895 แฟรงค์ กิลเบร็ ทได้เปิ ดบริ ษทั ก่อสร้างเป็ นของ
ตนเอง โดยใช้วธิ ี “ทำงานเร็ ว”
• พัฒนาระบบในการจัดกลุ่มการเคลื่อนไหวของมือออกเป็ น
17 แบบพื้นฐาน ซึ่งถูกเรี ยกว่า เธอร์บลิก (Therbligs)
• ร่ วมกับ ลิเลียน กิลเบร็ ท ภรรยา พัฒนา Cyclegraphic
ลิเลียน กิลเบร็ ท (Lilian Gilbreth)

• ทำวิทยานิพนธ์ปริ ญญาเอก
“จิตวิทยาของการบริ หาร” (The Psychology of Management)
• ลิเลียน กิลเบร็ ทได้สานต่องานของ แฟรงค กิลเบร็ ท เมื่อเขา
เสี ยชีวติ ในปี 1924
• ได้รับการยกย่องให้เป็ นสุ ภาพสตรี หมายเลขหนึ่งของการ
จัดการ (First lady of management)
ลิเลียน กิลเบร็ ท (Lilian Gilbreth)
• แฟรงค์ และ ลิเลียนกิลเบร็ ทมีลูกด้วยกันถึง 12 คน ชีวติ ครอบครัว
ของพวกเขาได้รับการเขียนเป็ นหนังสื อชื่อ “Cheaper by the dozen”
แฮริ งตัน อีเมอร์สนั (Harrington Emerson)
• วิศวกรชาวอเมริ กนั ผูก้ ่อตั้งบริ ษทั อีเมอร์สนั
• ผลงานที่สำคัญคือการเผยแพร่ หลักการวิทยาการจัดการให้มีการนำ
ไปใช้อย่างกว้างขวาง
• ประยุกต์เอาวิธีของเทย์เล่อร์มารวมกับวิธีการของเขาเอง
– การกำหนดเส้นทางการผลิต, การจัดทำมาตรฐานการทำงาน, การศึกษาการ
เคลื่อนไหวและเวลา, และการให้โบนัสต่อคนงานที่ท ำงานได้อย่างมี
ประสิ ทธิภาพเกินเป้ าที่ต้ งั ไว้
• เขียนหนังสื อ เรื อง “หลัก 12 ประการเพื่อประสิ ทธิภาพในการบริ หาร
งาน” (The Twelve Principles of Efficiency)
เฮนรี่ เฟยอล (Henry Fayol)
• วิศวกรชาวฝรั่งเศส เขียนหนังสื อเรื่ อง “General and Industrial
Management”
• กิจกรรมต่างๆที่เกี่ยวข้องกับงานอุตสาหกรรมสามารถแบ่งได้เป็ น
– กิจกรรมทางเทคนิค (การผลิต)
– ทางการค้า (การตลาด)
– ทางการเงิน
– ทางการรักษาความปลอดภัย
– ทางการบัญชี
– ทางการบริ หาร
เฮนรี่ เฟยอล (Henry Fayol)
• หน้าที่การจัดการ (Management Function) ซึ่ งมีหลักสำคัญ 5
ประการ ได้แก่
– การวางแผน/การพยากรณ์ (Planning/Forecasting)
– การจัดองค์กร (organization)
– การบังคับบัญชา(command)
– การประสานงาน (coordination)
– การควบคุม (control)
เฮนรี่ เฟยอล (Henry Fayol)
หลักการบริ หารงาน 14 ข้อ (14 “general principles of administration”)
1. หลักการแบ่ งงานกันทำหรือการสร้ างความชำนาญเฉพาะด้ าน (Division
of Work or Specialization)
2. หลักอำนาจหน้ าทีแ่ ละความรับผิดชอบ (Authority and Responsibility)
3. หลักระเบียบวินัย (Discipline)
4. หลักการมีผู้บังคับบัญชาเพียงคนเดียว (Unity of command)
5. หลักการมีจุดมุ่งหมายร่ วมกัน (Unity of direction)
6. หลักการคำนึงถึงประโยชน์ ส่วนรวม (Subordination of Individual to
General Interest)
7. หลักการจ่ ายค่ าตอบแทน (Remuneration)
เฮนรี่ เฟยอล (Henry Fayol)
หลักการบริ หารงาน 14 ข้อ (ต่อ)
8. หลักการรวมอำนาจไว้ ส่วนกลาง (Centralization)
9. หลักสายการบังคับบัญชา (Line of command)
10. หลักความมีระเบียบเรียบร้ อย (order)
11. หลักความเสมอภาค (Equity)
12. หลักเสถียรภาพในการทำงาน (Stability of tenure)
13. หลักความคิดริเริ่ม (Initiative)
14. หลักความสามัคคี (Esprit de Corps)
จอร์จ อี เมโย
(George E. Mayo)
• ชาวออสเตรเลีย สำเร็ จการศึกษาทางด้านจิตวิทยา
• ได้รับเชิญเป็ นอาจารย์สาขาการบริ หารธุรกิจ ที่มหาวิทยาลัย
ฮาร์วาร์ด (Harvard University)
• เป็ นบุคคลแรกที่ท ำให้แนวความคิดทางด้านการบริ หาร
เปลี่ยนไป โดนเน้นถึงพฤติกรรมมนุษย์
• ผลงานที่โด่งดังคือการทดลองฮอว์ทอร์น
การทดลองฮอว์ทอร์น
• การทดลองแบบใช้หอ้ งปฏิบตั ิการ (Test room experiment)
• วิธีการทดลองแบบใช้เทคนิคการสัมภาษณ์ (Nondirective
interviewing)
• วิธีการทดลองแบบใช้สงั เกตการณ์ (Observation)
แนวความคิดของการบริ หารสมัยใหม่
องค์ การแบบ A องค์ การแบบ J
ใช้หลักการบริ หารแบบอเมริ กนั ใช้หลักการบริ หารแบบญี่ปุ่น

องค์ การแบบ Z
รวมเอาข้อดีของทั้งสองแบบ
แนวความคิดของ ทอม พีเตอร์ส และโรเบิร์ต วอเตอร์แมน
จากหนังสื อIn search of Excellenceโดยทั้งสองได้ก ำหนดคุณลักษณะของ
องค์กรที่ดีเอาไว้ 8 ประการ คือเป็ นองค์กรที่
1. มีความคล่องตัว มีการทดลองปฏิบตั ิงาน และจัดทำระบบการทำงานให้ง่าย
2. ให้ความสำคัญกับลูกค้า
3. มีการกระจายอำนาจ ให้อิสระในการทำงานแก่พนักงาน
4. ตระหนักและให้ความสำคัญกับผูป้ ฏิบตั ิงาน
5. ผูบ้ ริ หารลงมาร่ วมสัมผัสกับงานด้วยตนเองด้วยอย่างใกล้ชิด
6. ดำเนินกิจการในธุรกิจที่มีความเชี่ยวชาญเป็ นอย่างดีเท่านั้น
7. มีรูปแบบการบริ หารงานที่ไม่ยงุ่ ยาก ซับซ้อน
8. มีความยืดหยุน่ ในการดำเนินงาน
ไมเคิล อี พอร์เตอร์ (Michael E. Porter)
• ปรมาจารย์ดา้ นเศรษฐศาสตร์จากมหาวิทยาลัยฮาร์เวิร์ดได้เสนอ
แนวคิดทางการบริ หารงานสมัยใหม่วา่
• องค์กรที่จะประสบความสำเร็ จนอกจากจะต้องการมีการบริ หารงาน
ในองค์กรอย่างมีประสิ ทธิภาพแล้ว องค์กรยังจะต้องมีความสามารถ
เหนือคู่แข่งขันอีกด้วย
• พอร์เตอร์ได้เสนอกลยุทธ์พ้ืนฐานที่สำคัญ 2 ประการในการแข่งขัน
ประกอบด้วย
– การดำเนินงานด้วยต้นทุนที่ต ่ำ
– การสร้างความแตกต่างจากคู่แข่ง
พีเตอร์ เอฟ ดรักเกอร์ (Peter F. Drucker)
• ดรักเกอร์ เสนอแนวทางที่องค์กรจะประสบความสำเร็ จในระบบ
เศรษฐกิจใหม่จะต้องมีคุณลักษณะดังนี้
– เป็ นองค์กรที่มีขนาดเล็กลง มีความคล่องตัวในการบริ หาร และการจัดการ
ข้อมูลข่าวสาร
– เป็ นองค์กรที่ด ำเนินธุรกิจในสิ่ งตัวเองถนัด งานที่องค์กรไม่มีความถนัด
จะถูกถ่ายเทออกไป
– มีการสร้าง Network ระหว่างองค์กรขึ้นในกลุ่มธุรกิจ และระหว่างกลุ่ม
ธุรกิจจนเป็ นเครื อข่ายทางธุรกิจ
– เป็ นองค์กรที่ให้อิสระในการทำงานกับพนักงาน ให้พนักงานได้ใช้ความ
สามารถได้อย่างเต็มที่

You might also like