You are on page 1of 73

การทาธุรกิจในปัจจุบัน

ตรีกาล เมฆบริบูรณ์
อาจารย์ ตรีกาล เมฆบริบรู ณ์
• บธ.บ. (บริหารธุรกิจญีป่ ุ่น) สถาบันเทคโนโลยีไทย-ญีป่ ุ่น
• กจ.ม. (การเป็นผูป้ ระกอบการ) มหาวิทยาลัยรังสิต

• ชั้น 5 คณะบริหารธุรกิจ อาคาร A


• 080-075-3836 • FB : Teekarn Makboriboon
• Teekarn@tni.ac.th • Line : 0800753836
เราเรียนรู้อะไรบ้าง
จากการเกิดสถานการณ์โควิด ??
เราเรียนรู้อะไรบ้างจากการเกิดสถานการณ์โควิด 19 ?

• ความเสี่ยงมีอยู่ทุกเวลา ทุกสถานที่ และ


เกิดขึ้นได้กับทุกคน
• ปัญหาเรื่องสุขภาพ สังคม เศรษฐกิจ และ
การเมือง ทุกอย่างเกี่ยวข้องกันทั้งหมด
• การแก้ปัญหารวมศูนย์อยู่ที่ส่วนกลาง ไม่
สามารถแก้ไขปัญหาทั้งหมดได้
• วิกฤตที่เกิดขึ้น มีพื้นฐานจากประเทศมี
ปัญหาความเหลื่อมล้าทางรายได้และมี
ช่องว่างทางความคิด
แล้วในโลกธุรกิจ เกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไรบ้าง
หลังจากสถานการณ์โควิดที่ผ่านมา??
โลกธุรกิจ เกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไรบ้าง ?

• “ภาวะปกติใหม่” หรือ New Normal ซึ่งเกิดจากปัจจัยแวดล้อม เช่น กระแสสังคม โครงสร้าง


พื้นฐาน ความต้องการของผู้บริโภค และวัฏจักรเศรษฐกิจ
• วิกฤตโรคระบาดครั้งนี้เป็นตัวเร่งให้กระแสต่าง ๆ ที่มีอยู่แล้วให้เปลี่ยนแปลงเร็วขึ้น
• สร้างการเปลี่ยนแปลงสาคัญหลายอย่างทั้งในระยะสั้นและระยะยาว ทาให้ธุรกิจหลายประเภท ไม่
สามารถแข่งขันหรืออยู่รอดได้หากยังยึดติดกับโมเดลธุรกิจรูปแบบเดิม
• ธุรกิจต้องเข้าใจบริบทของโลกใหม่เพื่อปรับตัวได้อย่างเหมาะสม จาเป็นต้องสร้างการเปลี่ยนแปลง
ในลักษณะพลิก โฉม (Transformation) เพื่อ เพิ่มศั ก ยภาพของธุร กิจให้มี ความโดดเด่ นและมี
ภูมิคุ้มกันต่อการถูกทาลาย (Disruption)
VUCA World
Volatility

สถานการณ์ทมี่ คี วามผันผวนสูง
• เ กิ ด จ า ก ก า ร เ ป ลี่ ยน แ ป ล ง ข อ ง ปั จ จั ย ภา ยน อ ก
(สภาพแวดล้อม) ซึ่งเป็นปัจจัยที่ไม่สามารถควบคุมได้
• ส่งผลให้เกิดความเสี่ยง การไม่มีเสถียรภาพ ความไม่
เชื่อมั่น หรือการเปลี่ยนแปลงแบบไม่มีกฎเกณฑ์
• ทางออกคือ ปรับวิสัยทัศน์ เปิดมุมมองหลากหลายและ
เปิดมุมมองรูปแบบใหม่ๆ
Volatility

• ให้พนักงานมีโอกาสในการเรียนรู้และพัฒนาตนเอง

• ทักษะที่มีอยู่ตอนนี้ยังจาเป็นอีกหรือเปล่าในอนาคต
• ไม่จาเป็นต้อง Reskill หรือ Upskill เพียงอย่างเดียว
• เรียนรู้จุดแข็งจุดอ่อนของตัวเองเพื่อพัฒนาทักษะที่จาเป็น
• ปลูกฝังพนักงานด้วยหลักการ 3Y
Volatility

• หลักการ 3Y
• Y1 คือ กรอบคิดแบบ Y Shape หมายถึงการรู้ลึกและรู้กว้าง และเชื่อมโยงบูรณาการกัน
• Y2 คือ “Why” เริ่มต้นตั้งคาถามว่า “ทาไม” อยู่เสมอ
• Y3 คือการ Think Widely มีความคิดนอกกรอบ โดยใช้หลัก Design Thinking
Volatility

• มี Learning Agility และเตรียมตัวให้พร้อมอยู่เสมอ

• การปรับตัวอย่างรวดเร็ว
• มีแผนสารองไว้ทุกๆสถานการณ์
• เรียนรู้และทาความเข้าใจสถานการณ์เพื่อหาทางออก
• ทางานด้วย Process ใหม่ๆเพื่อสร้างประสิทธิภาพในการพัฒนาองค์กร
• ไม่ยึดติดกับ Process เดิม และคิดแนวทางแก้ไขใหม่ๆ
Uncertainly
สถานการณ์ทไี่ ม่มคี วามแน่นอนสูง
• การปรับเปลี่ยนองค์กรหรือบริษัท การทดแทนของ
ธุ ร กิ จ ส มั ย ใ ห ม่ ห รื อ อ า ชี พ ใ น อ น า ค ต ฯ ล ฯ
(Disruption)
• ส่งผลให้เกิดภาวะชะงักงัน การชะลอตัว การปิดระบบ
และเกิดได้ทั้งวิกฤตและโอกาส
• ทางออกคือ Understanding (เข้าใจสถานการณ์)
โดยการหาข้อมูลข้อเท็จจริงที่เป็นข้อมูลปัจจุบันที่สุด
เพื่อนามาวิเคราะห์และตัดสินใจ
Uncertainly

ในสถานการณ์ที่ไม่มีความแน่นอนสูงแนวทางที่ผู้นาองค์กรสามารถนาไปใช้บริหารทีมก็คือ

• ใช้ Insight (ข้อมูล) มากกว่า Instinct (สัญชาตญาณ)


• น้อยองค์กรนักที่ตัดสินใจจาก Data Insight จริงๆ
• ส่วนใหญ่แล้วมักจะเลือกใช้ข้อมูลที่สนับสนุนความคิดหรือสัญชาตญาณของตัวเอง

ถ้ายังใช้ Instinct ตัดสินใจอยู่ “พี่คิดว่า หนูคิดว่า ผมคิดว่า..”


แต่ถ้าใช้ Insight ที่มาจาก Data “ ผมรู้วา่ พี่รู้ว่า หนูรู้ว่า….”
Uncertainly

• Design Thinking อย่างเดียวไม่พอ ต้องรวมกับ Data ด้วย

• ต้องประยุกต์ใช้กับ Data และนา Data นั้นมา Design Algorithm เพื่อแก้ปัญหา


• บริษัทใหญ่ๆที่เติบโตสูงสุดในปัจจุบันต่างก็ล้วนมี Data อยู่เบื้องหลังทั้งสิ้น ไม่ว่าจะ Grab,
Amazon, Spotify, Shopee
• บริษัทใหญ่ๆเหล่านี้ไม่ได้มุ่งเน้นผลลัพธ์ที่ Product อย่างเดียว แต่ให้ความสาคัญกับ Data
Uncertainly

• การเลียนแบบการคิดแบบปัญญาประดิษฐ์ (AI) โดยใช้ Algorithm

• ใช้ Algorithm มาวิเคราะห์ Data ให้เป็น โดยมีวิธีการและ


ขั้นตอนที่ชัดเจน
• หน้าที่ของคนก็คือการออกแบบวงจรและระบบการทางานโดยอิง
จาก Algorithm และนาสิ่งที่ได้นั้นมาป้อนให้ AI ทางาน
• ต่อให้มี AI เข้ามาช่วยจัดการงานต่างๆ ก็ยังต้องการ “คน” ที่มา
ควบคุมอยู่ดี
Complexity
สถานการณ์ทมี่ คี วามซับซ้อนสูง

• เกิดจากการมีตัวแปรหลายตัวที่เชื่อมโยงกัน และส่งผลกระทบ
ต่อกัน อีกทั้งแต่ละตัวแปรก็มีระดับอิทธิพลที่แตกต่างกัน
• ส่งผลให้เกิดความยุ่งยากในการแก้ไขรวมถึงตัวแปรบางตัวอาจมี
ผลกระทบต่อเนื่องกัน แบบโดมิโน
• ทางออกคือ จัดระเบียบข้อมูล จัดระดับความสัมพันธ์ของตัว
แปร ตั ด ข้ อ มู ล ที่ ไ ม่ จ าเป็ น ออก ปรั บ โครงสร้ า งระบบใหม่
เพื่อให้เห็นภาพรวมที่ชัดเจน ทาให้จัดการง่ายขึ้น
Complexity

• Start With Why?


• สถานการณ์ที่ซับซ้อนมากขึ้นเรื่อยๆ สิ่งแรกที่ต้องทาก็คือการมีสติและควบคุมสถานการณ์
• เรียนรู้ Core Value ขององค์กรต่อให้สถานการณ์ซับซ้อนก็เจอหนทางที่ถูกต้องได้
• การ Start With Why หลายๆครั้ง เมื่อตกอยู่ในสถานการณ์ที่ซับซ้อน

คนที่ 1 บอกว่า ตอนนี้ ครัวซองต์กาลังขายดี


คนที่ 2 บอกว่า ตอนนี้ หมูสามชั้นกาลังขายดี
คนที่ 3 บอกว่า ตอนนี้ ชาไข่มุกกาลังขายดี
คนที่ 4 บอกว่า ตอนนี้ น้าเต้าหู้กาลังขายดี
คนที่ 5 บอกว่า ตอนนี้ ผักขึ้นฉ่ายกาลังขายดี
Complexity

• สร้าง Teamwork ที่มีประสิทธิภาพ

• ร่วมมือกันเพื่อบรรลุเป้าหมาย
• เปิดโอกาสให้ทางานร่วมกัน
• ทุกคนไม่ต้องเก่งเสมอไป เก่งในเรื่องที่ถนัด
สถานการณ์ทมี่ คี วามคลุมเครือ
“เป็นมากกว่าเพือ่ น แต่ไม่ใช่แฟน แล้วเป็นอะไร??”
• เกิ ด จากข้ อ มู ล หรื อ ความเป็ น จริ ง หรื อ การไม่ มี ข้ อ มู ล ในการ
ประกอบในการตัดสินใจ หรือเกิดจากการตีความผิดจากข้อมูล
Plan Plan
• ส่ง ผลให้เ กิ ด การใช้ ความรู้ สึ ก (อารมณ์ ) มากกว่ าเหตุ ผ ล
A B (ข้อเท็จจริง) ในการตัดสินใจทาให้เกิดความไม่แน่ใจ
• ทางออกคื อ น าข้ อ มู ล ข้ อ เท็ จ จริ ง มาตั ด สิ น ใจด้ ว ยความไว
Plan Plan
(Agility) ผ่ า นการคิ ด วิ เ คราะห์ ด้ ว ยความฉลาด รวมถึ ง มี
C D แนวทางสารอง หรือแผนการฉุกเฉิน และจะต้องตัดสินใจให้
เด็ดขาด
Ambiguity
• สื่อสารให้ชัดเจน ตรงประเด็น และเข้าใจง่าย

• “The small words are best.”


คาพูดที่น้อยที่สุดนั้นทรงพลังที่สุด
• การสื่อสารที่ดีนั้นไม่ใช่การเป็นคนพูดเก่ง
แต่คือการฟังเก่ง
• พูดให้ตรงประเด็น ชัดเจน
• ผู้ฟังเข้าใจความหมายโดยที่ไม่ต้องตีความ
When we are no longer able to change a situation,
We are Challenged to change ourselves
เมื่อเราไม่สามารถเปลี่ยนแปลงสถานการณ์ได้ เราท้าทายมันด้วยการเปลี่ยนแปลงตัวเอง
- Viktor Frankl -
แล้วเราจะปรับตัวเองให้เข้ากับ
สถานการณ์นี้ ……………
ได้อย่างไรดีหละ ??
ปรับตัวไปทาไม

• เพื่อใช้ชีวิตได้ง่ายขึ้น Once your mindset changes, everything on


• เพื่ออยู่ร่วมกับผู้อื่น the outside will be change along with it
• ไม่ให้คิดเยอะ เมื่อคุณเปลี่ยนความคิดได้ทุกอย่างรอบตัวคุณ
• พบสิ่งใหม่ๆ ก็จะเปลี่ยนตามเพื่อให้ใช้ชีวิตได้ง่ายขึ้น
• เพื่อความอยู่รอด - Steve Maraboli -
• เพื่อการอยู่เป็น
มีใครเรียนจบแล้วอยากเป็น
ผู้ประกอบการบ้าง??
แล้วทาไมเราถึงอยากเป็น
ผู้ประกอบการกันหละ??
เหตุผลของการเป็นผู้ประกอบการ

• อยากรวย ยิ่งเร็วยิ่งดี
• อยากมีอิสระ มีเวลาเป็นของตนเอง
• อยากมีอานาจ ตัดสินใจได้ด้วยตนเอง
• อยากก้าวหน้า มีชื่อเสียงในสังคม
• อยากท้าทายความสามารถ
แรงผลักและแรงดึงดูดในการเป็นผู้ประกอบการ

แรงผลัก (ความจาเป็น) แรงดึงดูด (โอกาส)

• ตกงาน • อิสระ
• การงานไม่มั่นคง • บรรลุความสาเร็จ
• ไม่ลงรอยกับผู้บริหาร • มีชื่อเสียง
• ไม่เหมาะกับวัฒนธรรมองค์การ • การพัฒนาตนเอง
• ไม่มีทางเลือก • ความร่ารวย
โลกของงานกาลังเปลี่ยนไป

• งานที่ไร้ทักษะ เปลี่ยนเป็น • งานที่ต้องใช้ความรู้


• งานที่ซ้าซาก เปลี่ยนเป็น • งานที่สร้างสรรค์
• งานใครงานใน เปลี่ยนเป็น • ทางานเป็นทีม
• งานตามหน้าที่ เปลี่ยนเป็น • งานตามโครงการ
• งานที่ใช้ทักษะเดียว เปลี่ยนเป็น • ทักษะที่หลากหลาย
• อานาจของหัวหน้า เปลี่ยนเป็น • อานาจของลูกค้า
• การสั่งงาน เปลี่ยนเป็น • การประสานงาน
Old & New World

Rich Business
Old Owner
World เถ้าแก่

Risk Entrepreneur
New นักธุรกิจ
World
ผู้ประกอบการ (Entrepreneur)

Entrepreneur
มาจากภาษาฝรั่งเศส
แปลว่า “ผู้รับความเสี่ยง”
“Risk Taker”
คุณสมบัติของผู้ประกอบการที่จะประสบความสาเร็จ

• มีความคิดสร้างสรรค์ • มีความพากเพียรอุตสาหะ
• รู้จักความเสี่ยง • มีความจริงจัง
• มีความเป็นผู้นา • มีความสามารถด้านการขาย
• มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี • มีความสามารถด้านการบริหาร เช่น
• มีความคิดเชิงบวก การวางแผน การตลาด บัญชี
การเงิน การบริการบุคลากร
ข้อผิดพลาดของการเป็นผู้ประกอบการ

• ความผิดพลาดในการบริหาร • เติบโตเร็วไปจนคุมไม่อยู่
• ขาดประสบการณ์ • ทาเลไม่เหมาะสม
• การควบคุมด้านการเงิน • การควบคุมสินค้าคงคลังไม่ดี
• ไม่เก่งด้านการตลาด • วางราคาผิด
• ล้มเหลวด้านการวางแผนเชิงกลยุทธ์ • ขาดจิตวิญญาณความเป็น
ผู้ประกอบการ
ความคิดสร้างสรรค์

กระบวนการคิดของสมองซึ่งสามารถคิดได้หลากหลายและแปลก
ใหม่ สามารถนาไปประยุกต์ทฤษฎีหรือปฏิบัติได้อย่างรอบคอบ
และถูกต้อง จนนาไปสู่การคิดค้นและนวัตกรรมใหม่ๆที่ตอบโจทย์
ธุรกิจในปัจจุบัน
ความคิดสร้างสรรค์

Imagination is more important


than knowledge
จินตนาการสาคัญกว่าความรู้

- Albert Einstein -
ความคิดสร้างสรรค์
ความคิดสร้างสรรค์

ลากเส้น 4 เส้นผ่านทุกจุดโดยไม่ยกปากกา
ไอเดีย กับ โอกาส

• ไอเดีย เป็นเพียงส่วนเล็กๆของความสาเร็จของการเป็นผู้ประกอบการ
• ไอเดีย กับ โอกาส เป็นเพียงการเริ่มต้นของการเป็นผู้ประกอบการ
• ผู้ประกอบการโดยมากจะมีความคิดสร้างสรรค์และจินตนาการ ทาให้เกิดไอเดีย
และ โอกาสมากมายที่ทาธุรกิจต่อไปในอนาคต
ธุรกิจที่เราทากันของ JE
มีไอเดียอย่างไร ??
ไอเดีย กับ โอกาส

• ผู้คนมักจะสับสนในเรื่องของโอกาส (ที่เป็นธุรกิจ) กับ ไอเดีย


• เมือ่ ถามถึงตัวอย่างของโอกาสที่เป็นธุรกิจ เขากลับเริ่มให้ไอเดียทางธุรกิจ
• เป็นการง่ายที่จะเกิดไอเดียขึ้นมาโดยที่ไม่มีโอกาสเลย
ไอเดีย กับ โอกาส

• ไอเดีย ไม่จาเป็นต้องเป็น โอกาส


• โอกาส คือ ไอเดียที่เป็นที่ต้องการของผู้บริโภค
• โอกาสทางธุรกิจ คือ ไอเดียที่มีคุณลักษณะ 4 อย่างประกอบไปด้วย
• จุดเด่นดึงดูดลูกค้าได้ดี
• มีจานวนผู้บริโภคที่มีความต้องการมากพอ
• อยู่ในช่วงเวลาที่เหมาะสมจะดาเนินการได้
• เหมาะสมกับทรัพยากรและความสามารถของธุรกิจ
โอกาส

โอกาสในการทาธุรกิจ มักเกิดได้จาก 5 แนวทาง


• ปัญหา (Problem) ของลูกค้าที่ธุรกิจสามารถแก้ไขได้สาเร็จ
• การเปลี่ยนแปลง (Change) ด้านกฎหมาย สถานการณ์ หรือแนวโน้ม
• สิ่งประดิษฐ์ (Innovations) ที่เป็นสินค้าหรือบริการใหม่ๆ
• การแข่งขัน (Competition) ชนะคู่แข่งขันในด้าน ราคา ช่องทาง คุณภาพ
• ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี (Technological Advances)
เงินลงทุน
ธุรกิจสามารถทาเป็นงานเสริม
ก็ได้นะนอกจากงานประจา
งานเสริม

งานเสริ ม งานอดิ เ รกที่ ต่ อ ยอดเป็ น งานมั่ น คงได้ เช่ น งานค้ า ขาย รั บ จ้ า ง งานที่ ใ ช้ ค วามรู้
ความสามารถสร้างรายได้ที่ไม่ใช่งานประจา รับราชการ เป็นมนุษย์เงินเดือน สาหรับมุมมองของการ
หางานทาเพิ่มกับงานหลัก ในยุคนี้งานประจาหรือการเป็นมนุษย์เงินเดือนไม่ได้เป็นคาตอบสุดท้ายของ
คนที่อยากมีความมั่นคงทางการเงินหรือความสุขในงานที่ทา เพราะยังมีงานเสริมอีกหลายประเภทให้
ได้เลือกทา ตอนนี้บางคนจึงมีงานเสริมทาเพิ่ม ในขณะที่ยังมีหลายคนติดปัญหาไม่กล้าก้าวออกมาจาก
จุดเดิม ด้วยความคิดที่ว่างานที่มั่นคงที่สุดคือการเป็นคนที่มีรายได้แน่นอน
จะได้ค้นหาตัวเอง

งานประจาคืองานที่ต้องคลุกคลีและส่วนใหญ่มักจะมีรูปแบบการทางานซ้าเดิม บางอาชีพไม่ได้ใช้
ความคิดสร้างสรรค์ใหม่ ๆ แต่เป็นการทางานตามรูปแบบที่วางไว้ หรือทางานตามคาสั่ง นานไปอาจ
กลายเป็นความน่าเบื่อไป เป็นเรื่องที่ดีกว่าที่จะหางานเสริมหรืออาชีพที่สอง โดยเฉพาะคนที่เลือกงาน
แรกทาเพราะคิดว่ามั่นคงทั้งที่ไม่ได้ชอบรูปแบบการทางาน การหางานอื่นทาเพิ่มเป็นโอกาสที่ดีในการ
ค้นหาตนเอง ค้นหาสิ่งที่ชอบ งานที่สองอาจมีแรงกดดันน้อย ทาให้รู้สึกเป็นอิสระมากกว่างานประจาที่
ทาอยู่ เช่น บางคนทางานรับราชการมานานทั้งที่ไม่ชอบ หางานอิสระทาเพิ่ม เช่น ทาสวน ปลูกผัก
ปลอดสารพิษขาย ก็ทาให้ชีวิตการทางานมีความสุขมากยิ่งขึ้น
เพิ่มช่องทางหารายได้ เป็นเหมือนเชือกเส้นที่สอง

อย่างที่บอกว่ารายได้มักสวนทางกับรายจ่าย บางคนภาระหนี้สินทั้งผ่อนบ้าน ผ่อนรถ รายได้ทางเดียว


ไม่พอจ่าย อาชีพที่สองจะช่วยเพิ่มช่องทางหารายได้ เพราะหากมีงานประจาหรือทางานอย่างเดียว เมื่อ
มีการเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้นต้องเปลี่ยนงาน อย่างน้อยก็มีรายได้นามาใช้จ่าย คนรุ่นใหม่ไม่จาเป็นต้อง
ทางานเพี ยงอย่า งเดีย ว ช่ อ งทางหาอาชี พ ที่ มี อยู่ ม าก เลือ กให้ ดี ก็ ส ามารถสร้า งรายได้เ พิ่ ม อาจได้
ผลตอบแทนมากกว่าเงินเดือนด้วยซ้า เช่น ธุรกิจออนไลน์ ค้าขาย เป็นต้น
ต่อยอดเป็นธุรกิจส่วนตัว

ถ้าได้ลองติดตามข่าวสารด้านอาชีพจะพบว่าปัจจุบันนี้ คนรุ่นใหม่หันมาทางานอิสระหรือทาอาชีพที่
สองเพิ่มขึ้น เพราะมีความหวังว่าจะมีธุรกิจเป็นของตัวเอง รายได้ดีกว่าและได้ทางานที่ชอบ ซึ่งหากเป็น
มนุษย์เงินเดือนแม้จะมีความก้าวหน้าแต่ก็ไม่ได้มีโอกาสเป็นเจ้าของกิจการได้ เหตุผลที่ควรมีงานที่สองก็
เพื่อการวางแผนว่าในอนาคตจะมีธุรกิจส่วนตัว
เปิดโลกใหม่ เพิ่มประสบการณ์ให้กับชีวิต

คนรุ่ น ใหม่ ใ นยุ คนี้ เ ข้ า ถึ ง ข้ อ มู ล และข่ า วสารได้ เ ร็ ว ขึ้ น รวมทั้ ง ความคิ ด สร้ า งสรรค์ ใ หม่ ที่ ๆ เป็ น
ประโยชน์ การหาอาชีพที่สองทาเป็นการเปิดประสบการณ์ให้กับชีวิต ลองนึกดูว่ามนุษย์เงินเดือน
ทางานรูปแบบเดิมโดยไม่ได้ใช้ความคิดสร้างสรรค์ บางก็เกิดความเบื่อหน่ายจนอยากจะลาออก แต่หาก
เพิ่มสิ่งที่ต้องโฟกัสมากยิ่งขึ้น คือ หันไปหาประสบการณ์ใหม่ ๆ กับอาชีพที่สอง อย่างน้อยก็ไม่ต้อง
เบื่อกับการแก้ปัญหาเดิมหรือสิ่งแวดล้อมเดิม ๆ เพราะงานเสริมหรืออาชีพที่สองจะกลายเป็นเรื่องใหม่
ที่ชีวิตจะต้องให้ความสาคัญ เพื่อประสบการณ์ให้กับชีวิตได้เป็นอย่างดี
เพิ่มหลักประกันให้กับชีวิตที่เพิ่มความมั่นคง

อาชีพในยุคนี้มีให้เลือกทาหลากหลายรูปแบบ คนรุ่นใหม่ควรเพิ่มหลักประกันให้กับชีวิตเพราะงาน
เดียวที่ทาอยู่เหมือนไม่ได้มีความมั่นคงเสมอไป ไม่ใช่แค่เพิ่มช่องทางการสร้างรายได้เท่านั้น แต่ยังมีเงิน
นาไปลงทุนหรือจ่ายเงินประกันที่เป็นหลักประกันให้กับชีวิตได้ เพราะเมื่อก้าวเข้าสู่วัยทางานแล้ว การ
เลือกประกันภัยให้กับตนเองและคนในครอบครัวกลายเป็นเรื่องจาเป็นที่ต้องวางแผน หาอาชีพอิสระ
หรืออาชีพที่สองทา อย่างน้อยชีวิตก็มีหลักประกันเพิ่ม ไม่เสียหาย
Red Ocean and Blue Ocean
Red Ocean and Blue Ocean
• Red Ocean Strategy นั้นเราจะเห็นได้จากอุตสาหกรรมต่างๆที่มีอยู่ในตลาดในปัจจุบัน ซึ่งมี
อยู่อย่างเยอะแยะมากมายมีการแข่งขันกันสูง โอกาสการเติบโตของธุรกิจเป็นไปได้ช้าและอาจเกิดขึ้น
ได้ยากจากสภาพการแข่งขันที่เรียกได้ว่าเอาเป็นเอาตาย ซึ่งอาจจะไม่ได้สร้างให้เกิดกาไรมาก
เท่าที่ควรจะเป็นด้วยการ
• แข่งขันกันสูง
• วางแผนกลยุทธ์เพื่อเอาชนะคู่แข่ง
• ขยายสินค้าหรือบริการเพื่อขยายฐานลูกค้าเพิ่มเติม
• มีกิจกรรมทางการขายการทาโปรโมชันในแบบต่างๆ
• เพิ่มคุณค่าให้กับลูกค้าแต่อาจบวกราคาต้นทุนเพิ่มเติมเข้าไป
Red Ocean and Blue Ocean
• Blue Ocean Strategy คือกลยุทธ์ที่เน้นไปในการหาตลาดใหม่ๆที่ไม่มีการทับซ้อนกันของคู่
แข่งขัน ด้วยการนาเสนอคุณค่าให้เกิดขึ้นกับตัวลูกค้ารวมถึงการพยายามลดต้นทุนสินค้าและ
กระบวนการดาเนินงานจากการนาเทคโนโลยีหรือนวัตกรรมมาใช้จนกลายเป็นจุดแข็งของธุรกิจ
• พยายามสร้างและขยายขอบเขตของคุณค่าในอุตสาหกรรมที่ทาอยู่
• การวิเคราะห์แรงกดดันภายนอก 5 ประการ (Five Forces) มาปรับใช้กับธุรกิจ
• ปรับปรุงคุณภาพด้านราคาให้เข้ากับการใช้งานสินค้า และคาดการณ์ถึงแนวโน้มที่เกิดขึ้น
• ให้ความสาคัญกับการพัฒนาการให้บริการลูกค้า
• การแข่งขันจะอยู่ในกลุ่มอุตสาหกรรมเดียวกัน
• มีตาแหน่งของแบรนด์ที่ชัดเจนซึ่งสร้างความได้เปรียบทางการแข่งขัน
Red Ocean and Blue Ocean
Value Added
• การสร้ า งมู ล ค่ า เพิ่ ม ให้ กั บ สิ น ค้ า หรื อ บริ ก าร ด้ ว ยการเพิ่ ม
ลักษณะพิเศษ หรือจุดเด่นบางอย่างให้กับสินค้าหรือบริการ
เพื่อทาให้สินค้าหรือบริการสามารถทาได้มากกว่าเดิม หรือมี
จุดเด่นที่แตกต่างจากเดิม

• เป้าหมายของการสร้างมูลค่าเพิ่ม คือ ทาให้สามารถขายผลิตภัณฑ์หรือบริการที่แพง


ว่าแบบที่ไม่ได้สร้างมูลค่าเพิ่ม รวมถึงทาให้สินค้าและบริการโดดเด่นเมื่อเทียบกับ
สินค้าแบบเดียวกันในตลาด
Value Added

วิธีสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับสินค้าและบริการ อาทิเช่น
• การสร้างความแตกต่าง (Differentiation)
• การสั่งทาตามต้องการ (Custom)
• การสร้าง Story หรือเรื่องราวให้กับสินค้า
• เพิ่มบริการเสริม เพิ่มความสะดวกให้ลูกค้า
• แปรรูปหรือแปลงสภาพสินค้า
Design Thinking for Business Innovative Creation
and New Inventions
การคิดเชิงออกแบบเพื่อสร้างสรรค์นวัตกรรมทางธุรกิจ
และสิ่งประดิษฐ์ใหม่ๆ
Design Thinking

กระบวนการคิดเพื่อแก้ปัญหาและพัฒนาแนวคิดใหม่ ๆ โดยมีจุดมุ่งหมายคือ
การหาแนวทางการแก้ปัญหาที่เน้นมุมมองของผู้ใช้ (user-centered) และ
มีเจตนาในการสร้างผลลัพธ์ในอนาคตที่เป็นรูปธรรม เพื่อให้ได้แนวทางหรือ
นวัตกรรมที่ตอบโจทย์กับผู้ใช้และสถานการณ์
Design Thinking
1. เริ่มต้นด้วยการเข้าใจปัญหาที่ถูกต้อง (Empathize)
Empathize ในแง่ของธุรกิจ การเข้าใจปัญหา หมายถึง ปัญหาของลูกค้า ปัญหาของ
ผู้ใช้ผ ลิตภัณฑ์ โดยการเริ่มต้นนี้อาจจะต้องใช้ระยะเวลาในการทาความ
เข้าใจให้ลึกกับปัญหาที่เกิดขึ้น เพื่อที่จะได้รู้ถึงปัญหาที่แท้จริง
**บางครั้งปัญหามันมีหลากหลายมุมมองหลายมิติ เราอาจจะเห็น หรือไม่
เห็นปัญหาอีกมุม แต่ปัญหาเหล่านี้ล้วนส่งผลกระทบให้กับองค์กร ทุกที่
ย่อมมีปัญหา และไม่ได้มีเพียงปัญหาเดียว

การรับรู้โอกาส / Idea Discovery


(การเข้าใจตลาด หรือ ความเป็นไปได้ด้านเทคนิค)
Design Thinking

Empathize Brain Strom


โดยมองตัวเองเป็นลูกค้า
เพื่อหาปัญหาที่เกิดขึ้น
เมื่อใช้สินค้าหรือผลิตภัณฑ์
Design Thinking
2. ระบุปัญหา (Define)
Define
จะเกิดขึ้นหลักจากที่เราทราบและเข้าใจถึงปัญหา แน่นอนว่าขึ้นชื่อว่า ปัญหา
ก็คือปัญหาวันยังค่า แต่ในขั้นตอนนี้ หมายถึง การระบุถึงปัญหาที่ต้องการ
แก้ ไ ขให้ ชั ด เจน โดยควรจั ด ล าดั บ ความรุ น แรงหรื อ แนวทางการแก้ ไ ข
นอกจากระบุปัญหาลงไปให้ชัดเจนแล้ว ปัญหาเหล่านั้นต้องเป็นรูปธรรม

การรับรูโ้ อกาส / Idea Discovery


(การเข้าใจตลาด หรือ ความเป็นไปได้ด้านเทคนิค)
Design Thinking

Define
เลือกปัญหาที่คิดว่าสาคัญที่สุด
ที่ควรได้รับการแก้ไข
พร้อมระบุ 5W1H
Design Thinking
3. การระดมสมองเพื่อนาไอเดียมาสร้างสรรค์ (Brainstorm/Ideate)
Ideate
การระดมความคิด ระดมไอเดีย ที่จะสร้างสรรค์วิธีการ หรือแนวทางที่จะ
ตอบสนองความต้องการ หรือเพื่อยุติปัญหา การระดมสมองนี้ไม่ใช่แค่การ
ระดมสมองจากคนกับ คน แต่ยังสามารถผนวกกับเครื่องมือต่างๆ ทาง
เทคโนโลยีอื่นๆ เพื่อให้เกิดเป็นไอเดียและแนวทางการทางานในขั้นตอน
ต่อไป

พัฒนาแนวคิด-แก้ไขปัญหา
Development & Design
Design Thinking

Ideate
Define

Brainstorm จากปัญหานั้นว่าจะ
แก้ปัญหานั้นอย่างไร
Design Thinking
4. การสร้างต้นแบบ (Prototype)
Prototype ขั้นตอนนี้จาเป็นต้องอาศัยการตัดสินใจ เพราะ ไอเดียทุกไอเดียที่คิด ใช่ว่า
จะถูกต้อง เพื่อนามาตรวจสอบในการหาวิธีแก้ปัญหา โดยนาต้นแบบนี้ไป
ลองทดสอบกับทีมออกแบบเอง หรืออาจเป็นทีมอื่นๆในบริษัทก็ได้ ในขั้น
นี้จะช่วยให้คุณหาวิธีหรือทางออกในการแก้ไขปัญหาที่ดีที่สุด ให้ตรงกับ
ปัญหาในแต่ละด้านที่คุณเจอ จนได้ไอเดียที่ดีที่สุดในการทาให้ลูกค้าหรือ
กลุ่มเป้าหมายได้รับประสบการณ์ที่ดีกับตัวสินค้าหรือบริการ

Production Engineering
พัฒนาต้นแบบ
Design Thinking

Prototype
Ideate
Define

วาดภาพต้นแบบผลิตภัณฑ์
ครั้งที่ 1
Design Thinking

Prototype
Ideate
Define

วาดภาพต้นแบบผลิตภัณฑ์ที่
ปรับปรุงแล้วครั้งที่ 2
Design Thinking
5. ขั้นตอนทดสอบ (Test)
Test สิ่งที่ผลิตหรือสร้างขึ้นมา ไม่มีสิ่งใดที่สามารถบอกได้ว่า จะตอบสนองความ
ต้องการ หรือแก้ปัญหาของลูกค้าได้หรือไม่ แน่นอนว่าถ้าสินค้านั้นไม่ได้รับการ
ยอมรับ องค์กรต้องนา Product นั้นมาพิจารณาแก้ไขปรับปรุง พัฒนาให้ดี
ขึ้น หรือสร้างสินค้าใหม่มาทดแทน และต่อให้สินค้านั้นดีแค่ไหน ตอบโจทย์
หรือช่วยแก้ปัญหาให้กับลูกค้าได้มากแค่ไหน ก็ต้องนาเอา Product นั้น
กลับมาออกแบบและพัฒนาต่อไป ทาให้ผลิตภัณฑ์นั้นมีมูลค่าสูงที่สุด คุ้มค่า
ที่สุด และตอบโจทย์ความต้องการของตลาดได้มากที่สุด
Pilot Testing
การตรวจสอบตลาด / การตรวจสอบด้านเทคนิค

You might also like