You are on page 1of 23

บทที่ 1

ความรู้เบื้องต้ นเกี่ยวกับการบริหารการผลิต

การบริ หารการผลิตเป็ นกระบวนการที่ประกอบด้วยกิ จกรรมต่างๆ ได้แก่ การพยากรณ์


การผลิต การวางแผนการผลิต การจัดองค์ก ร การวางแผนกาลังคน การสั่งการและการควบคุม
การผลิต เพื่อแปลงสภาพปั จจัยการผลิต เช่น วัตถุดิบ แรงงาน อุปกรณ์การผลิต เป็ นต้น ให้ได้เป็ น
สิ นค้าและบริ การที่เป็ นไปตามวัตถุป ระสงค์ การบริ ห ารการผลิตเป็ นกระบวนการที่มนุ ษย์ไ ด้
กระทามาเป็ นเวลานานแล้วตั้งแต่ยงั ไม่มีการบันทึกเป็ นลายลักษณ์อกั ษร ซึ่ งในอดีตนั้นมนุษย์ได้
ทาการผลิตโดยการล่าสัตว์ ปลูกพืชผักเพื่อใช้ในการบริ โภค การสร้างที่อยูอ่ าศัย และต่อมาก็
ได้มีพฒั นาการโดยเริ่ มมีความรู้มากขึ้นทั้งในด้านการทาอาวุธเพื่อใช้ในการล่าสัตว์ การทาปศุสัตว์
การทาการเกษตรตลอดจนรู้จกั วิธีในการถนอมอาหารให้สามารถเก็บไว้บริ โภคได้นานๆ โดยอาศัย
กระบวนการตามธรรมชาติ เช่น การนาเนื้อไปตากแดดหรื อการรมควัน เป็ นต้น
การผลิตในยุคต้นๆนั้นจะเป็ นการผลิตเพื่อการดารงชีวิตและบริ โภคภายในครอบครัว ต่อมา
เมื่อมีการผลิตเพิ่มมากขึ้นเกินกว่าการบริ โภคภายในครอบครัว จึงนาส่วนเกินจากการผลิตนั้นไป
แลกเปลี่ยนกับสิ นค้าอื่นที่ตนไม่สามารถผลิตได้ จึงเกิดเป็ นระบบการแลกเปลี่ยน (Barter System)
โดยที่การแลกเปลี่ยนนั้นจะขึ้นอยูก่ บั ความพึงพอใจหรื อความสามารถในการต่อรองของแต่ละฝ่ าย
จนกระทัง่ ได้มีการใช้เงินตราเข้ามาเป็ นสื่ อกลางในการแลกเปลี่ยน (Money System) ซึ่งทาให้การ
ผลิตมีการขยายตัวและมีลกั ษณะเป็ นเชิงพาณิ ชย์มากยิ่งขึ้น แต่อย่างไรก็ตามในช่วงแรกๆของการ
ผลิตนั้นก็ยงั คงใช้แรงงานคนเป็ นหลักและมีลกั ษณะ เป็ นอุตสาหกรรมภายในครอบครัว (Cottage
Industry) ต่อมาการผลิตได้มีพฒั นาการโดยการนาเครื่ องจักรเข้ามาช่วยในการผลิตซึ่งเรี ยกว่าเป็ น
ยุคของการปฏิวตั ิอุตสาหกรรม การผลิตจึงเปลี่ยนจากอุตสาหกรรมภายในครอบครัวกลายมาเป็ น
การผลิตแบบโรงงานโดยการใช้เครื่ อ งจักรช่ วยในการผลิต ซึ่ งทาให้สามารถผลิตสิ นค้าได้เป็ น
จ านวนมาก (Mass Production) และเนื่ อ งจากในยุ ค นั้ นสิ น ค้า ที่ ผ ลิ ต ออกมามั ก จะยัง ไม่ มี
แพร่ หลายอยูใ่ นตลาดสภาพการแข่งขันจึงไม่รุนแรงและเศรษฐกิจโดยทัว่ ไปยังไม่ดีนัก แนวคิด
ของการบริ หารการผลิตในยุคนั้นจึงมุ่งเน้นที่การหาวิธีการผลิตอย่างไรที่ทาให้สามารถผลิตสิ นค้า
ได้ปริ มาณมาก ใช้เวลาน้อยและมีตน้ ทุนที่ต่าที่สุดซึ่งมีความแตกต่างจากการบริ หารการผลิตในยุค
ปัจจุบนั นี้ ที่สินค้ามีอยูห่ ลากหลายประเภทและมีจานวนมากทาให้สภาพการแข่งขันมีความรุ นแรง
2

อย่างมาก ทาให้แนวคิดของการบริ หารการผลิตในยุคนี้เน้นไปที่นวัตกรรมเพื่อสร้างความแตกต่าง


ของสิ นค้าที่สามารถตอบสนองต่อความต้องการของผูบ้ ริ โภคได้มากที่สุด บุคคลที่มีความสาคัญ
สาหรับแนวคิดการบริ หาร การผลิตในยุคเริ่ มแรก อาทิเช่น
Frederick Winslow Taylor ได้ รั บ การยกย่ อ งให้ เป็ นบิ ด าของแนวคิ ด การจัด การ
เชิงวิทยาศาสตร์ หรื อเชิงเหตุและผล (Scientific management) ซึ่ ง Taylor ได้ศึกษาถึงวิธีการทางาน
ที่มีประสิ ทธิ ภาพเพื่อหาวิธีการทางานที่ดีที่สุด (One best way) และจากการศึกษาพบว่า คนงาน
ควรที่จะทางานที่ตนเองมีความถนัด จึงจะสามารถทางานได้อย่างมีประสิ ทธิ ภาพซึ่ งหลักการของ
Taylor สามารถสรุ ปได้ดงั นี้
1. การพัฒนาวิธีการทางานให้มีประสิ ทธิภาพจะต้องศึกษาอย่างมีหลักเกณฑ์
2. ใช้วิธีการที่มีหลักเกณฑ์ในการคัดเลือก ฝึ กหัด และพัฒนาคนงาน แทนที่จะให้คนงาน
แสวงหาประสบการณ์เองจนกว่าจะพบวิธีทางานที่ดีที่สุด
3. มี ค วามร่ ว มมื อ กับ คนงานอย่างจริ ง จัง เพื่ อ สร้ า งความเชื่ อ มั่น ได้ว่ า การปฏิ บัติ ง าน
มีหลักเกณฑ์
4. มีการแบ่งงานและความรับผิดชอบระหว่างคนงานและฝ่ ายบริ หาร
Taylor เน้น การจูงใจเพื่ อ เพิ่ ม ผลผลิต ของคนงานโดยใช้ตัวเงินที่ เรี ยกว่า “A Piece Rate
System” ผลงานนี้ ได้น าเสนอในปี ค.ศ.1901 ต่ อ มา Taylor ได้น าเสนอแนวคิ ด อี ก ครั้ งในปี
ค.ศ.1903 คื อ “Shop Management” ซึ่ งแนวคิ ด นี้ จะเน้ น ที่ ก ารจัด การมากกว่ า การจ่ า ยค่ า จ้า ง
ของคนงาน
Frank Bunker and Lillian Moller Gilbreth ทั้งคู่เป็ นสามีภรรยากันโดยผลงานที่สาคัญ
ของ Frank และ Lillian Gilbreth คือ การศึกษาการเคลื่อ นไหว (Motion study) โดยมี การจับ เวลา
ด้วยนาฬิกาและการถ่ายทาภาพยนตร์ (slow motion picture) ซึ่ งเป็ นการศึก ษาถึงการเคลื่อ นไหว
ร่ างกายของคนงาน เพื่อออกแบบวิธีการทางานที่จะช่วยลดเวลา และความเหนื่ อยล้าจากการทางาน
ซึ่ งจะท าให้ สามารถเพิ่ ม ผลผลิ ตได้ Frank Gilbreth ได้เสี ยชี วิตลงในปี ค.ศ.1924 และ Lillian
Gilbreth ได้เข้ารับงานต่อจนได้รับการยกย่องว่าเป็ นสุภาพสตรี คนแรกด้านการจัดการ (first lady of
management) และ Lillian ได้เสี ยชีวิตลงในปี ค.ศ. 1972
Henry L.Gantt เป็ นบุคคลที่เคยทางานร่ วมกับ Taylor ผลงานที่มีชื่อเสี ยงของ Gantt คือ
การวางแผนโดยการจัด ตารางการผลิ ต (Production schedule) ซึ่ งน าเสนอในรู ป ของกราฟที่
เรี ยกว่า Gantt chart และผลงานอีก อย่างหนึ่ งคือ การพัฒ นาระบบค่ าจ้างของงานและการจ่าย
โบนัส (Task and Bonus System) ซึ่ งได้พฒ ั นาจากหลักการจ่ายค่าจ้างของ Taylor ที่จ่ายค่าจ้าง
ตามชิ้นงานนัน่ คือผลิตมากได้ค่าตอบแทนมากผลิตน้อยได้ค่าตอบแทนน้อย แต่ Gantt จะมีการ
3

กาหนดอัตราค่าจ้างขั้นต่า ซึ่งหากผลิตได้ต่ากว่ากาหนดก็ยงั คงได้รับค่าจ้างตามอัตราที่กาหนดไว้ แต่


หากผลิตได้มากกว่าที่กาหนดไว้ก็จะได้รับค่าจ้างเพิ่มขึ้น
Henry Ford เป็ นผูค้ ิดค้นระบบการผลิตแบบสายการประกอบ (Assembly line) ซึ่ งเป็ น
การจัดวางเครื่ อ งจักร อุปกรณ์ การผลิต ตามลาดับขั้นตอนในการผลิต จากการใช้ระบบการผลิต
แบบสายการประกอบนี้เองที่ทาให้ Ford สามารถผลิตรถยนต์ได้เป็ นจานวนมากและมีตน้ ทุนที่ต่า
จึงทาให้รถยนต์ของ Ford เป็ นที่ตอ้ งการของตลาดเป็ นอย่างมากและระบบการผลิตแบบสายการ
ประกอบนี้ยงั ได้รับความนิยมอย่างแพร่ หลายจนถึงปัจจุบนั
F.W. Harris ได้ท าการวิเคราะห์ แ ละพัฒ นาตัวแบบสิ น ค้าคงคลัง ที่ ใช้ใ นการค านวณ
หาปริ ม าณการสั่ ง ซื้ อ ที่ ป ระหยัด (Economic Order Quantity : EOQ) โดยที่ เป็ นการพิ จารณาหา
ความสมดุลระหว่างค่าใช้จ่ายในการสั่งซื้ อกับค่าใช้จ่ายในการเก็บรักษา นั่นคือหากมีการสั่งซื้ อ
น้อ ยครั้ งค่าใช้จ่ายในการสั่ งซื้ อ จะต่ า แต่ค่ าใช้จ่ายในการเก็บ รัก ษาจะสู งขึ้น ในทางตรงกัน ข้าม
หากสั่ ง ซื้ อ บ่ อ ยครั้ ง ก็ จ ะท าให้ ค่ า ใช้ จ่ า ยในการสั่ ง ซื้ อ เพิ่ ม สู งขึ้ น แต่ จ ะท าให้ ค่ าใช้จ่ า ยในการ
เก็บรักษาต่าลง ดังนั้น EOQ จึงเป็ นการหาปริ มาณการสัง่ ซื้อที่ทาให้เกิดต้นทุนต่าที่สุดนัน่ เอง
Elton Mayo เป็ นนักวิจยั ที่เน้นการศึกษาถึงพฤติกรรมศาสตร์ โดยผลงานชิ้ นสาคัญเป็ น
การทาการวิจัยร่ วมกับคณะที่ Western Elcetric’s Hawthorne Plant ซึ่ งผลของการวิจยั สรุ ปได้ว่า
มนุ ษ ย์ไ ม่ ไ ด้ถู กจู งใจให้ ท างานเพื่ อ เพิ่ ม ผลผลิ ต ด้วยตัวเงิน เพี ยงอย่างเดี ยวแต่ ยงั มี ปั จจัยอื่ น ๆอี ก
มากมายที่มีผลกระทบต่อการเพิ่มผลผลิตของคนงาน เช่น การได้รับการยอมรับนับถือ การได้รับ
ความสนใจจากหัวหน้างาน เพื่อนร่ วมงาน การให้อิสระแก่คนงาน เป็ นต้น
W. Shewhart, H.F.Dodge, H.G.Romig , L.H.C. Tippett เป็ นบุ ค คลผู ้พ ัฒ นาและใช้
การควบคุมคุณภาพโดยอาศัยวิธีการทางสถิติ (Statistical Quality Control) ซึ่งเทคนิคการควบคุม
คุณภาพเชิงสถิติได้ใช้กนั อย่างแพร่ หลายมากนับตั้งแต่สงครามโลกครั้งที่ 2 จนถึงปั จจุบนั โดยถือ
ว่าการควบคุม คุ ณ ภาพเป็ นกิ จกรรมพื้ น ฐานที่จ ะยกระดับของคุณ ภาพการผลิต ไปสู่ การจัดการ
คุณภาพทัว่ ทั้งองค์กร (Total Quality Management : TQM)
George Dantzig ได้พ ัฒ นาแนวคิ ด ในการแก้ปั ญ หาด้ า นการผลิ ต โดยอาศัย เทคนิ ค
ทางคณิ ตศาสตร์ ที่เรี ยกว่าโปรแกรมเชิงเส้น (Linear Programming) ซึ่ งเป็ นเทคนิ คในการจัดสรร
ทรัพ ยากรการผลิ ต ที่ มี อ ยู่อ ย่างจ ากัด ให้ ส ามารถสร้ า งผลก าไรสู งสุ ด หรื อ มี ต้น ทุ น ที่ ต่ าที่ สุ ด
และต่อมาได้นาคอมพิวเตอร์ เข้ามาช่วยในการคานวณ ทาให้สามารถวางแผนโดยพิจารณาตัวแปร
ได้มากขึ้น
นอกจากบุคคลที่กล่าวถึงข้างต้นที่มีส่วนในการพัฒนาการบริ หารการผลิตนั้นแล้ว ยังมี
ระบบการผลิ ต แบบญี่ ปุ่ นซึ่ งเน้ น ที่ ก ารผลิ ต แบบทัน เวลา(Just in Time) ที่ ไ ด้รั บ การยอมรั บ
4

เป็ นอย่างมากในเรื่ องของการผลิตต้นทุนต่าและมีคุณภาพสู ง นอกจากนั้นในปั จจุบนั นี้ การผลิต


ได้มีวิวฒั นาการเป็ นอย่างมากโดยได้มีการนาเอาคอมพิวเตอร์ เข้ามาช่วยทาให้เกิดระบบการผลิต
แบบอั ต โนมั ติ ที่ ใ ช้ ค อมพิ ว เตอร์ ใ นการควบคุ ม ซึ่ งท าให้ คุ ณ ภาพและปริ ม าณในการผลิ ต มี
ประสิ ทธิภาพและประสิ ทธิผลที่สูงขึ้น สาหรับวิวฒั นาการของการผลิตสามารถสรุ ปได้ดงั ตาราง
ที่ 1.1

ปี ค.ศ.
โดยประมาณ แนวความคิด ผู้ริเริ่ม/พัฒนา
1911 การจัดการผลิตเชิงวิทยาศาสตร์ F.W.Taylor
1911 การศึกษาการเคลื่อนไหว Frank and Lillian Gilbreth
1912 การจัดตารางการผลิต Henry Gantt
1913 การผลิตแบบสายการประกอบ Henry Ford
1915 ตัวแบบคณิตศาสตร์การบริ หารสิ นค้าคงคลัง F.W.Harris
1930 การจูงใจพนักงาน (Hawthorne Study) Elton Mayo
1935 การควบคุมคุณภาพเชิงสถิติ W.Shewhart, H.F.Dodge
H.G.Romig, L.H.C.Tippett
1947 โปรแกรมเชิงเส้นตรง George Dantzig
1980 การผลิตแบบญี่ปุ่น (Toyota Production) Toyota Motor

ตารางที่ 1.1 สรุ ปวิวฒั นาการของการบริ หารการผลิต

องค์ประกอบหลักของธุรกิจ
ธุ ร กิ จ โดยทั่วๆไปจะมี อ งค์ ป ระกอบพื้ น ฐานหลัก ๆอยู่ 3 ส่ วนด้ว ยกัน ซึ่ งไม่ ว่ าจะเป็ น
ธุรกิจขนาดเล็กหรื อขนาดใหญ่ แต่หากเป็ นธุ รกิจขนาดใหญ่ก็จะมีส่วนประกอบอื่นๆเข้ามาเสริ ม
เพื่ อ ช่ วยให้ การผลิตหรื อ การด าเนิ นงานมี ประสิ ทธิ ภ าพมากยิ่งขึ้น องค์ประกอบหลักของธุ รกิ จ
แบ่งออกได้เป็ น 3 ส่วนประกอบด้วย
1. ส่วนการตลาด (Marketing Component)
2. ส่วนการเงิน (Finance Component)
3. ส่วนการผลิตหรื อปฏิบตั ิการ (Production/Operation Component)
5

องค์ประกอบหลักทั้ง 3 ส่วนจะมีรายละเอียดและเป้าหมายที่แตกต่างกันไป แต่อย่างไรก็


ตามจะมีความสัมพันธ์ที่สนับสนุนส่งเสริ มซึ่ งกันและกันแสดงความสัมพันธ์ดงั รู ปที่ 1.1

องค์การ
Organization

การเงินและบัญชี การผลิต/ปฏิบัติการ การตลาด


Finance/Accounting Production/Operation Marketing

รู ปที่ 1.1 องค์ประกอบหลักของธุรกิจ

1) ส่ วน การตลาด (Marketing Component) เป็ นกิ จ กรรม ที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ การขาย
การส่ ง เสริ ม การขาย การบริ ก าร การโฆษณา การตัด สิ น ใจด้า นผลิ ต ภัณ ฑ์ แ ละราคา รวมถึ ง
การกระจายสิ นค้าไปสู่ ผูบ้ ริ โภค หรื ออาจกล่าวอีกนัยหนึ่ งว่าการตลาดเป็ นกิจกรรมหลักของธุรกิจ
กิ จ กรรมหนึ่ ง ซึ่ งมี ก ารซื้ อขายสิ น ค้ า และบ ริ การ โดยมี ก ารโอน กรรมสิ ทธิ์ ของสิ น ค้ า
หรื อ การให้บริ การจากผูข้ ายไปยังผูซ้ ้ื อ กิ จกรรมทางการตลาดโดยส่ วนใหญ่จะมุ่งเน้นที่การเพิ่ ม
ส่ วนแบ่งทางการตลาด (Market Share) ซึ่ งการที่จะเพิ่มส่ วนแบ่งทางการตลาดได้ จาเป็ นที่จะต้อ ง
กาหนดกลยุทธ์ทางการตลาดที่เหมาะสม สามารถตอบสนองต่อความพึงพอใจของผูบ้ ริ โภคได้
2) ส่ วนการเงิน (Finance Component) มีหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง สรุ ปได้ดงั นี้ คือ
- หน้าที่ดา้ นการกาหนดขนาดของเงินทุนที่เหมาะสมกับการดาเนินงานของธุรกิ จ
ซึ่งอาจมองได้ท้งั ระยะสั้นและระยะยาว
- หน้ า ที่ ด้ า นการจัด หาเงิ น ทุ น เพื่ อ ให้ มี อ ย่ า งเพี ย งพอต่ อ การด าเนิ นธุ ร กิ จ
และควรมีตน้ ทุนทางการเงินที่ต่าที่สุด
- การจัดสรรเงินทุน เป็ นการจัดสรรเงินทุนที่มีอ ยู่ไปยังกิ จกรรมต่างๆทางธุ รกิ จ
เพื่อให้การดาเนินงานเป็ นไปอย่างมีประสิ ทธิภาพและประสิ ทธิผล
3) ส่ ว นการผลิ ต /ปฏิ บั ติ การ เป็ นกิ จ กรรมที่ เกี่ ยวกับ การแปลงสภาพปั จ จัย การผลิ ต
ให้เป็ นสิ นค้าหรื อบริ การซึ่ งปั จจัยการผลิตมี 4 ประเภท คือ 1.วัตถุดิบ (Material) 2. แรงงาน (Man)
6

3. เครื่ อ งจัก รอุ ป กรณ์ ก ารผลิ ต (Machine) 4. เงิ น ทุ น (Money) โดยการผลิ ต นั้ น จะมี เป้ า หมาย
ในด้านต่ างๆประกอบด้ว ย 1. ด้านปริ ม าณ 2. ด้านคุ ณ ภาพ 3. ด้านต้น ทุ น 4. ด้านการส่ ง มอบ
5. ด้านความปลอดภัย และ 6. ด้านสิ่ งแวดล้อ ม สาหรับ รายละเอีย ดของเป้ าหมายในแต่ ล ะด้าน
จะได้อธิบายในลาดับต่อไป

รู ปที่ 1.2 ความเกี่ยวข้องระหว่างกันขององค์ประกอบหลักของธุรกิจ

นอกจากองค์ประกอบหลักของธุ รกิ จทั้ง 3 ส่ วนแล้ว ยังมีส่วนประกอบอื่นๆที่เกี่ยวข้อ ง


และสนับสนุนการดาเนิ นงานของส่ วนการผลิต/ปฏิบตั ิการ อาทิเช่น ด้านการบารุ งรักษาเครื่ องจักร
อุปกรณ์ผลิต (Maintenance) ด้านการประชาสัมพันธ์ (Public relations) ด้านการบริ หารทรัพยากร
มนุ ษ ย์ (Human Resource Management) ด้านการบัญ ชี (Accounting) ด้านการจัดซื้ อ (Purchasing)
ด้านการกระจายสิ นค้า (Distribution) และด้านวิศวอุตสาหกรรม (Industrial engineering) เป็ นต้น
7

ด้านวิศว
อุตสาหการ การ
บารุงรักษา
การกระจาย
สินค้า

การผลิต/ปฏิบัติการ การ
ประชาสัมพัน
ธ์
การจัดซื้อ
การบริหาร
ทรัพยากร
การบัญชี มนุษย์

รู ปที่ 1.3 แสดงส่วนอื่นๆที่เกี่ยวข้องกับส่วนการผลิต/ปฏิบตั ิการ

ระบบการผลิต (Production System)


การผลิตเป็ นการแปลงสภาพปั จจัยการผลิตให้เป็ นสิ นค้า ซึ่งหากมองการผลิตในเชิงระบบ
จะสามารถแบ่ ง ระบบการผลิ ต ออกได้เป็ น 4 ส่ ว น ประกอบด้ว ย 1) ปั จ จัย การผลิ ต ( Input)
2) กระบวนการแปลงสภาพ (Conversion Process) 3) ผลผลิต (output) และ4) การควบคุม (Control)
8

การสร้ างมูลค่าเพิ่ม (Value - added)

ปัจจัยการผลิต กระบวนการแปลงสภาพ ผลผลิต


(Input) (Conversion Process) (Output)

ข้อมูลย้อนกลับ (feed back) การควบคุม ข้อมูลย้อนกลับ (feed back)


(Control)

รู ปที่ 1.4 ระบบการผลิต

1) ปัจจัยการผลิต (Input) เป็ นสิ่ งที่นาเข้าสู่กระบวนการแปลงสภาพ ประกอบด้วย พนักงาน


เครื่ องจักรอุปกรณ์การผลิต วัตถุดิบ อาคารสถานที่ เป็ นต้น
2) กระบวนการแปลงสภาพ (Conversion Process) เป็ นการท าให้ เกิ ด การเปลี่ ย นแปลง
ของปัจจัยการผลิตเพื่อให้เป็ นสิ นค้าหรื อบริ การที่ตอ้ งการ เช่น การขึ้นรู ป การประกอบ เป็ นต้น
3) ผลผลิ ต (Output) เป็ นผลที่ ไ ด้ จ ากการแปลงสภาพปั จ จัย การผลิ ต นั่ น ก็ คื อ สิ นค้ า
หรื อบริ การที่พร้อมจะส่งมอบให้กบั ลูกค้า
4) การควบคุม (Control) เป็ นการควบคุ มระบบการผลิ ต โดยอาศัยข้อ มูล ย้อ นกลับ เช่ น
หากผลผลิตไม่เป็ นไปตามคุณลักษณะที่ตอ้ งการก็จะต้องพิจารณาว่าเกิดจากสาเหตุใดซึ่งอาจเกิดจาก
ปัจจัยการผลิต เช่น วัตถุดิบที่ไม่ดีหรื ออาจเกิดจากกระบวนการแปลงสภาพ เช่น การผลิตที่ไม่ถูกวิธี
เป็ นต้น เมื่อทราบถึงสาเหตุที่ทาให้ผลผลิตไม่เป็ นไปตามข้อกาหนดก็ตอ้ งปรับปรุ งแก้ไขและหาวิธี
ในการป้องกันไม่ให้เกิดซ้ าอีก
9

ปัจจัยการผลิต กระบวนการแปลง ผลผลิต


สภาพ
อาคารที่ดิน การกลึง สินค้า (goods)
โรงงาน การตัด รองเท้า
แรงงาน การเจาะ หนังสื อ
วัตถุดิบ การขนส่ง เครื่ องใช้ไฟฟ้า
- พลังงาน การบรรจุหีบห่อ เครื่ องจักร
- น้ า, เคมี การขึ้นรู ป เสื้ อผ้า
- เหล็ก, ไม้ การก่อสร้าง ผลิตภัณฑ์อาหาร
อุปกรณ์การผลิต การสอน บริการ (Service)
- เครื่ องจักร การให้คาปรึ กษา บริ การดูแลสุขภาพ
- คอมพิวเตอร์ ความบันเทิง
- รถบรรทุก การซ่อมรถยนต์
- เครื่ องมือ การขนส่ง
อื่นๆ บริ การของธนาคาร
- ข้อมูลข่าวสาร บ ริ ก า ร น ว ด แ ผ น
- วิธีการผลิต โบราณ

รู ปที่ 1.5 ระบบการผลิตสิ นค้าและบริ การ

ระบบการบริการ (Service System)


อุตสาหกรรมบริ การมีอยูห่ ลายประเภท เช่น การบริ การทางการเงิน การบริ การเพื่อสุ ขภาพ
การบริ ก ารที่ อ ยู่อ าศัย เป็ นต้น และลัก ษณะของการใช้บ ริ การต่ อ ลู กค้าอาจมี ค วามแตกต่างกัน
ออกไปบ้าง แต่ร ะบบของการให้ บ ริ ก ารจะมี ลักษณะเหมื อ นกัน ประกอบด้วย 1) ปั จจัย น าเข้า
2) กระบวนการดาเนินงานบริ การ 3) ปัจจัยนาออก และ 4) ข้อมูลย้อนกลับ
10

ปัจจัยนาเข้า กระบวนการดาเนินงานบริ การ ปัจจัยนาออก


(Input) (Service Process) (Output)

ข้อมูลย้อนกลับ (feed back)


รู ปที่ 1.6 องค์ประกอบของระบบการบริ การ

จากรู ปที่ 1.6 จะเห็ นได้ว่าระบบการบริ การมีอ งค์ประกอบของระบบเช่ นเดี ยวกับระบบ


ของการผลิ ต จะแตกต่ างอยู่บ้างในรายละเอีย ดของแต่ ล ะองค์ป ระกอบ สามารถอธิ บ ายระบบ
การบริ การได้ดงั นี้
1) ปั จ จั ยน าเข้ า (Inputs) ประกอบด้วย พนั ก งาน อาคารสถานที่ วัส ดุ อุ ป กรณ์ ในการ
ให้บริ การ ที่ดิน เงิน วิธีการ ฯลฯ
2) กระบวนการดาเนินงานบริ การ (Service Process) เป็ นกระบวนการในการให้บริ การ
ที่ประกอบด้วย
- การกาหนดเป้าหมาย, นโยบาย
- การจัดโครงสร้างของระบบในการให้บริ การ
- การสรรหาและคัดเลือกบุคลากร
- การพัฒนา การฝึ กอบรม
- การติดต่อสื่ อสาร การจูงใจพนักงาน
- การประเมินผล
- การดาเนินงานสนับสนุน
3) ปั จ จั ย น าออก (output) เป็ นผลการด าเนิ น งานการบริ ก ารที่ ต้อ งการ เช่ น ผลก าไร
ภาพลักษณ์ของธุรกิจ ผลิตภัณฑ์บริ การ เป็ นต้น
4) ข้อมูลย้อนกลับ (Feedback) เป็ นการประเมินผลที่นาข้อมูลจากผลการดาเนินงานมาเพื่อ
ใช้ในการปรับปรุ ง แก้ไข และพัฒนาระบบการให้บริ การ
11

ปัจจัยนาเข้า กระบวนการดาเนินงานบริ การ ปัจจัยนาออก


(Input) (Service Process) (output)
การจัด การจัด
ทรัพยากร การวางแผน ระบบงาน พนักงาน การสั่งการ การควบคุม เป้าหมาย
- ที่ดิน - กาหนด - จัดโครงสร้าง - คัดเลือก - ติดต่อ - นาเสนอ - ผลิตภัณฑ์
- อาคาร นโยบาย ระบบงาน - พัฒนา สื่อสาร ผลิตภัณฑ์ บริ การ
- วัสดุอุปกรณ์ วัตถุประสงค์ - บริ หารงาน - ประเมินผล - ภาวะผูน้ า บริ การ - ผลกาไร
- เงิน - วางแผน บริ การ - จูงใจ - ปฏิบตั ิงาน - การเติบโต
- บุคลากร นาเสนอ บริ การ ของธุรกิจ
ผลิตภัณฑ์ - ดาเนินงาน - ภาพลักษณ์
สนับสนุน ของธุรกิจ

รู ปที่ 1.7 กระบวนการจัดการระบบบริ การ


(ที่มา : จิตตินนั ท์ เดชะคุปต์, 2540 : 40)

เป้าหมายของการบริหารการผลิต
การบริ หารการผลิตมีเป้าหมายโดยทัว่ ไปที่สามารถจาแนกได้ดงั นี้
1) ด้านปริมาณ (Quantity) การบริ หารการผลิตจะต้องมีการวางแผนการจัดสรรทรัพยากร
การผลิต ต่างๆทั้งด้านกาลังคน วัตถุดิบ เครื่ อ งจักรอุปกรณ์การผลิตต่างๆ ตลอดจนเทคนิ ควิธีการ
ผลิต เพื่อให้สามารถผลิตสิ นค้าและบริ การได้ตามปริ มาณที่ตอ้ งการ
2) ด้ านคุ ณ ภาพ (Quality) เป็ นการวางแผนและควบคุม การผลิต เพื่ อ ให้ ไ ด้สิน ค้าและ
บริ ก ารที่มี คุ ณ ลัก ษณะตามที่ ต้อ งการ โดยทั่วไปจะมีก ารกาหนดคุ ณ ลัก ษณะที่ ต้อ งการนั้น เป็ น
มาตรฐาน ซึ่งการให้ได้มาซึ่ งคุณภาพที่ตอ้ งการนั้นจะต้องมีมาตรฐานในด้านต่างๆ เช่น มาตรฐาน
ด้านวัตถุดิบ มาตรฐานด้านแรงงาน มาตรฐานด้านวิธีปฏิบตั ิงาน เป็ นต้น
3) ด้ านต้ นทุ น (Cost) การบริ ห ารการผลิตจะพิจารณาจัดสรรทรัพ ยากรการผลิตต่างๆ
เพื่ อ ให้ มี ต้น ทุ น ที่ ต่ าที่ สุ ดและสอดคล้อ งกับ ระดับ ของคุ ณ ภาพที่ ต้อ งการ ซึ่ งต้น ทุ น นั้น จะต้อ ง
พิจารณาทั้งด้านที่เป็ นตัวเงินและด้านเวลาที่ใช้ในการผลิต
12

4) ด้ านการส่ งมอบ (Delivery) เป็ นวัตถุประสงค์ที่สาคัญอีกประการหนึ่ ง ซึ่ งผูบ้ ริ หาร


การผลิตจะต้องสามารถวางแผนการผลิตให้ผลิตสิ นค้าเสร็จทันกาหนดเวลา และส่งมอบให้ลูกค้าได้
ตามสถานที่ที่ลูกค้าต้องการ

5) ด้านความปลอดภัย (Safety) ความปลอดภัยในแง่ของการบริ หารการผลิตสามารถแบ่ง


ออกได้เป็ น 2 ด้านด้วยกันคือ
- ความปลอดภัยต่อการใช้สินค้าหรื อบริ การ ผูบ้ ริ หารการผลิตจะต้องมีการกาหนด
มาตรฐานความปลอดภัยในการใช้สินค้าหรื อบริ การ ซึ่งปัจจุบนั มีกฎหมายเข้ามาควบคุม เช่น พ.ร.บ.
อาหารและยา พ.ร.บ.คุม้ ครองผูบ้ ริ โภค ฯลฯ
- ความปลอดภัยในการทางานของพนักงาน เป็ นการวางแผนและดาเนินการ
เพื่อทาให้ระบบการผลิตหรื อการดาเนินงานมีความปลอดภัยซึ่งจะส่งผลดีต่อความเชื่อมัน่ และ
ขวัญกาลังใจในการทางานของพนักงานโดยที่มีกฏหมายที่เกี่ยวข้อง เช่น พ.ร.บ. คุม้ ครองแรงงาน
พ.ร.บ. โรงงาน
6) ด้ านสิ่ งแวดล้อม (Environment) จะพิจารณาถึงผลกระทบจากกระบวนการผลิตที่ ตอ้ ง
ไม่ส่งผลกระทบต่อสภาวะแวดล้อม

ลักษณะของการผลิตสินค้าและบริการ
การผลิตสิ นค้าและการบริ การจะมีลกั ษณะที่แตกต่างกัน สามารถอธิ บายเพื่อให้ทราบถึง
ลักษณะของการผลิตสิ นค้าและการบริ การได้ดงั นี้
1. การผลิตสินค้า เป็ นการแปลงสภาพปัจจัยการผลิตเพื่อให้ได้เป็ นสิ นค้า ซึ่ งสิ นค้า
จะมีลกั ษณะที่สาคัญดังนี้
- สิ นค้ามีลกั ษณะเป็ นรู ปธรรมที่สามารถจับต้องได้
- ผลผลิตที่ได้จากการผลิตสิ นค้าสามารถวัดได้ง่าย
- การผลิตสิ นค้าสามารถวัดกาลังการผลิตได้ง่าย โดยมักวัดจากผลผลิตที่ได้
- สามารถมีสินค้าคงคลังได้
- ต้องมีสถานที่หรื อพื้นที่ในการผลิตและการจัดเก็บสิ นค้า
- การผลิตสิ นค้าโดยทัว่ ไปมักจะต้องมีเครื่ องจักรหรื ออุปกรณ์การผลิต
- คุณภาพของสิ นค้าสามารถตรวจสอบและประเมินได้อย่างชัดเจน
- การผลิตสิ นค้าจานวนมาก (Mass Production) ส่งผลให้ตน้ ทุนต่าลง
2. การบริการ เป็ นการแปลงสภาพปัจจัยต่างๆในการให้บริ การเพื่อตอบสนองต่อความ
13

พึงพอใจของผูบ้ ริ โภค การบริ การมีลกั ษณะทีส่ าคัญดังนี้


- การบริ การมีลกั ษณะเป็ นนามธรรม คือ ไม่สามารถจับต้องได้ แต่สามารถรับรู้ได้
เช่น การนวด การชมภาพยนตร์ บริ การซ่อมเครื่ องใช้ไฟฟ้า ฯลฯ
- การวัดกาลังการผลิตของการบริ การมักจะวัดจากปัจจัยนาเข้า เช่น ชัว่ โมงแรงงาน
จานวนที่นงั่ เป็ นต้น
- การบริ การไม่สามารถจัดเก็บไว้ได้
- คุณภาพของการบริ การวัดได้ยาก เนื่องจากเป็ นเรื่ องนามธรรม
- การตอบสนองต่อความต้องการของการบริ การมีระยะเวลาที่ส้ นั

ประเภทของการผลิตและบริการ (Production and Service Types)


ผูบ้ ริ ห ารจะต้องสามารถวิเคราะห์และจาแนกลักษณะของการผลิตและบริ การออกเป็ น
แต่ละประเภท เพื่อที่จะสามารถบริ หารโดยการเลือกใช้เทคนิ คที่เหมาะสม การผลิตและการบริ การ
สามารถจาแนกได้ดงั นี้
1. ประเภทของการผลิต (Production Types)
1) การผลิตแบบตามงาน (Job shop) เป็ นการผลิต แบบไม่ต่ อ เนื่ อ ง รู ป แบบสิ นค้า
ไม่เป็ นมาตรฐานโดยจะเปลี่ยนแปลงไปตามความต้องการของลูกค้า ลักษณะการผลิตจะไม่เคลื่อนที่
อย่างต่อเนื่ อง โดยอาจจะมีการหยุดรอในระหว่างการผลิตเป็ นช่ วงๆ เครื่ องจักรอุปกรณ์การผลิต
มัก จะมี ล ัก ษณะเป็ นแบบเอนกประสงค์ นั่ น คื อ ใช้ไ ด้กับ สิ น ค้า หลายประเภท เช่ น เครื่ อ งกลึ ง
เครื่ อ งตัด เครื่ อ งเจาะ ฯลฯ การผลิ ต แบบตามงานจะใช้เงิ น ลงทุ น ด้า นเครื่ อ งจัก รอุ ป กรณ์ ผ ลิ ต
ไม่มากนัก แต่ผลผลิตที่ได้มกั จะขึ้นกับฝี มือของพนักงานผลิต สิ นค้าที่ผลิตได้มีความหลากหลาย
สู ง กระบวนการผลิตมีลักษณะที่ยืดหยุ่น ได้สูง แต่มักจะมีความยุ่งยากในการวางแผนการผลิต
เนื่องจากความสับสนของการผลิตสิ นค้าแต่ละชนิ ดที่เปลี่ยนแปลงตามคาสั่งของลูกค้า การผลิตแบบ
นี้ จะทาให้เกิดการประหยัดจากความสามารถที่หลากหลาย(Economy of scope) ของการใช้
งานเครื่ องจักรอุปกรณ์ผลิต และแรงงาน
2) การผลิตแบบเป็ นรุ่น (Batch Manufacturing) การผลิตแบบนี้เหมาะสมกับสิ นค้า
ที่ ค าดว่ามี ป ริ ม าณความต้อ งการต่ า ซึ่ งหากมี ก ารผลิต เป็ นจ านวนมากถึ งแม้ ว่าจะท าให้ ต้น ทุ น
การผลิตต่าแต่จะทาให้มีตน้ ทุนในการเก็บรักษาสูง และมีความเสี่ ยงจากสิ นค้าชารุ ดหรื อล้าสมัยได้
การผลิต แบบเป็ นรุ่ น หรื อ ชุ ด จะเป็ นการผลิ ต แบบช่ วงหรื อ เว้น ระยะโดยมี จานวนของการผลิ ต
ที่เพียงพอต่อปริ มาณความต้องการที่ได้คาดไว้ในช่ วงเวลาหนึ่ ง การผลิตแบบนี้ จะทาให้มีต้นทุน
ที่ต่ากว่าการผลิตแบบตามงาน แต่มีตน้ ทุนที่สูงกว่าการผลิตแบบจานวนมาก
14

3) การผลิตแบบจานวนมาก (Repetitive Manufacturing) อาจเรี ยกอีกอย่างว่าการ


ผลิตแบบสายการผลิต (Production lines) จะเป็ นการผลิตจานวนมากๆ และมีข้ นั ตอนการผลิตที่
ซ้ าๆกันหรื อ เหมือ นกัน การผลิตในลักษณะนี้ จะทาให้เกิ ดการประหยัดเนื่ อ งจากขนาดหรื อ ที่
เรี ยกว่า Economy of scale มีการใช้เงินลงทุนในการก่อสร้างอาคารโรงงาน คลังสิ นค้า และ
เครื่ องจักรอุปกรณ์การผลิตสู ง ดังนั้นการผลิตลักษณะนี้จึงเหมาะกับการผลิตสิ นค้าที่มีปริ มาณความ
ต้องการสูง

ความหลากหลายของสินค้า

การผลิตแบบ
ตามงาน
(job shop) การผลิตแบบรุ่ น / ชุด
Batch Mfg.

การผลิตจานวนมาก
Repetitive Mfg.
ปริมาณการผลิต

รูปที่ 1.8 การจาแนกประเภทของการผลิต

2. ประเภทของการบริการ (Service Types)


การบริ การถือได้ว่าเป็ นการปฏิบัติการที่ไ ม่ใช่ การผลิต เนื่ อ งจาก การบริ การไม่มีสิน ค้า
ที่จบั ต้อ งได้ การบริ การเป็ นสิ่ งที่เป็ นนามธรรมซึ่ งเกี่ ยวข้อ งกับความรู้สึกของลูกค้า ความสาเร็ จ
ของการบริ การมีสิ่งที่ควรพิจารณาดังนี้ คือ
- ความพึ งพอใจ (Satisfaction) เป็ นการตอบสนองต่ อ ความพึ งพอใจของลู ก ค้าซึ่ ง เป็ น
เป้าหมายสูงสุดของการบริ การ
- ความพร้อมในการบริ การ (readiness) การเตรี ยมพร้อ มในด้านต่างๆ ของการให้บริ การ
เช่น พนักงาน สถานที่ อุปกรณ์การให้บริ การ เป็ นต้น
15

- คุณ ภาพของการบริ ก าร (Quality) ในความหมายนี้ หมายถึ งความมุ่ ง มั่น ความตั้งใจ


เอาใจใส่ ความสุภาพและความซื่อสัตย์ต่อการให้บริ การ เช่น การต้อนรับลูกค้าด้วยใบหน้า ที่ยมิ้ แย้ม
คาพูดที่สุภาพ และการไม่เอาเปรี ยบลูกค้าในด้านต่างๆ
- ความคาดหวัง ของลู ก ค้ า (expectation) การบริ ก ารที่ ดี ต้ อ งเข้ า ใจถึ ง ความคาดหวัง
ของลูกค้าที่มีต่อ บริ การของเรา และหากสามารถตอบสนองต่อ ความคาดหวังนั้นได้เป็ นอย่างดี
ก็จะทาให้เกิดเป็ นความพึงพอใจ
จากสิ่ งที่ควรพิจารณาดังกล่าวข้างต้นถือได้ว่าเป็ นองค์ประกอบที่สาคัญที่จะทาให้เกิด
ความสาเร็จในการให้บริ การ สาหรับประเภทของการบริ การนั้นสามารถจาแนกได้ดงั นี้คอื (จิต
ตินนั ท์ เดชะคุปต์, 2540, 27)
1. การบริ การการสื่ อสาร เช่น โทรศัพท์ ไปรษณี ย์ วิทยุ โทรทัศน์ ฯลฯ
2. การบริ การที่ปรึ กษาธุรกิจ เช่น การตรวจสอบบัญชี การให้คาปรึ กษาต่างๆ ฯลฯ
3. การบริ การการศึกษา เช่น โรงเรี ยน มหาวิทยาลัย ห้องสมุด ฯลฯ
4. การบริ การการเงิน เช่น ธนาคาร บรรษัทเงินทุน ตลาดหลักทรัพย์ ฯลฯ
5. การบริ การเพื่อสุขภาพ เช่น โรงพยาบาล คลินิก สถานบริ การสุขภาพ ฯลฯ
6. การบริ การเกี่ยวกับครัวเรื อน เช่น สาธารณูปโภค การซ่อมแซมเครื่ องใช้ ฯลฯ
7. การบริ การที่อยูอ่ าศัย เช่น โรงแรม บ้านจัดสรร บ้านพักตากอากาศ ฯลฯ
8. การบริ การประกันภัย เช่น การประกันชีวิต การประกันวินาศภัย ฯลฯ
9. การบริ การทางกฎหมาย เช่น สานักงานทนายความ สานักงานอัยการ ฯลฯ
10. การบริ การส่วนบุคคล เช่น ร้านเสริ มสวย ร้านตัดเสื้ อ ร้านอาหาร ฯลฯ
11. การบริ การกีฬาและบันเทิง เช่น ภาพยนตร์ ละคร ดนตรี สวนสนุก สนามกีฬา ฯลฯ
12. การบริ การขนส่ง เช่น สายการบิน รถไฟ รถเมล์ คลังสิ นค้า เช่ารถ ฯลฯ
13. การบริ การอื่นๆ เช่น สมาคมทางธุรกิจ พรรคการเมือง องค์กรทางศาสนา ฯลฯ

หน้ าที่หลักของการบริหารการผลิต
การบริ หารการผลิตจะมีหน้าที่หลักเช่นเดียวกันกับการบริ หารโดยทัว่ ไป ซึ่งมีหน้าที่
ที่สามารถจาแนกได้ดงั นี้
1) การวางแผน (Planning) เป็ นการพิจารณาถึงเป้าหมายที่ตอ้ งการบรรลุ แล้วกาหนดแผน
ที่จะไปถึงเป้ าหมายนั้น ซึ่ งแผนนั้น อาจจะประกอบไปด้ว ยวิธีปฏิ บัติ การกาหนดอ านาจหน้าที่
และความรับผิดชอบ ระเบียบข้อบังคับต่างๆ การกาหนดนโยบาย มาตรฐาน งบประมาณ เป็ นต้น
16

การวางแผนสาหรับผูบ้ ริ หารการผลิตจะมีเป้ าหมายเฉพาะด้านดังที่ได้กล่าวมาแล้วในตอนต้นของ


บทนี้
2) การจั ด องค์ ก ร (Organizing) การก าหนดโครงสร้ า งที่ ส ามารถเอื้ อ อ านวยให้ ก าร
ดาเนิ นงานต่างๆประสบความสาเร็จ โดยที่การจัดองค์กรจะพิจารณารายละเอียดของงานแต่ละชนิ ด
แล้วรวบรวมงานที่มีลกั ษณะสอดคล้องสัมพันธ์กันให้เป็ นกลุ่มงานเดี ยวกัน โดยทัว่ ไปโครงสร้าง
ขององค์กรจะแสดงในรู ปของแผนภูมิองค์กร (Organization chart)
3) การจั ด คนเข้ า ท างาน (Staffing) เมื่ อ มี ก ารก าหนดโครงสร้ างและก าหนดบทบาท
อานาจหน้าที่และความรับผิดชอบให้กบั ตาแหน่งงานต่างๆแล้ว ก็จะต้องมีการจัดคนที่มีคุณสมบัติ
ที่เหมาะสม ซึ่ งควรพิจารณาจากความรู้ ความสามารถ ประสบการณ์ต่างๆที่สามารถจะปฏิบตั ิงาน
ในต าแหน่ ง นั้ น ๆได้ การจัด คนเข้า ท างานนั้ น เป็ นความหมายในเชิ ง แคบ ปั จ จุ บั น ได้มี ก าร
ขยายขอบเขตไปเป็ นการบริ ห ารทรั พ ยากรมนุ ษ ย์( Human Resource Management:HRM) ที่ มี
รายละเอียดมากกว่าตั้งแต่การวางแผนกาลังคน การสรรหาคัดเลือก การฝึ กอบรมและพัฒนา การจ่าย
ค่าตอบแทน ตลอดจนการบารุ งรักษา ทรัพยากรมนุษย์ ทั้งนี้ เพราะพนักงานเป็ นปั จจัยที่สาคัญ
ที่สุดต่อการดาเนินงานที่จะบรรลุสู่เป้าหมายขององค์กร
4) การสั่งการ (Directing) เป็ นการติดต่อสื่ อสารระหว่างผูบ้ งั คับบัญชากับผูใ้ ต้บงั คับบัญชา
ซึ่ ง เป้ า หมายของการสั่ ง การนั้ น คื อ ความเข้าใจที่ ต รงกัน ระหว่า งผู ้ส่ งสารหรื อ ผู ้บัง คับ บัญ ชา
กับผู ้รับสารหรื อ ผูใ้ ต้บังคับบัญ ชา ซึ่ งการสั่ งการนั้นยังต้อ งพิจารณาปั จจัยต่ างๆที่เกี่ ยวข้อ ง เช่ น
การจูงใจ ภาวะผูน้ า พฤติกรรมของมนุษย์ เป็ นต้น
5) การควบคุม (Controlling) ใช้ในการติดตาม ตรวจสอบและประเมินผลการดาเนิ นงาน
ว่าเป็ นไปตามที่ได้วางแผนไว้หรื อไม่ หากไม่เป็ นไปตามที่ได้วางแผนไว้ ก็จะต้อ งมีการหาสาเหตุ
และปรับปรุ งแก้ไขเพื่อให้การดาเนิ นงานเป็ นไปตามที่ได้กาหนดไว้ แต่อย่างไรก็ตาม ในบางครั้ง
อาจจะต้ อ งมี ก ารปรั บ แผนเพื่ อ ให้ ส อดคล้ อ งกั บ สถานการณ์ ที่ มี ก ารเปลี่ ย นแปลงไปจาก
ที่ได้คาดการณ์ไว้ จึงจะทาให้การบริ หารนั้นบรรลุสู่วตั ถุประสงค์หรื อเป้าหมายได้
17

การวางแผน การจัดองค์การ
(Planning) (Organizing)

การควบคุม การบริหารทรัพยากรมนุษย์
(Controlling) (HRM)

การสั่งการ
(Directing)

รู ปที่ 1.9 หน้าที่หลักของการบริ หารการผลิต

การจัดแบ่ งแผนกงานด้านการผลิต (Departmentation)


การจัดแบ่งแผนกงานเป็ นการรวมกลุ่มของงานหรื อกิ จกรรมการดาเนิ นงานที่มีลักษณะ
เหมือนกันเข้าไว้ดว้ ยกัน ทั้งนี้ โดยมีเป้ าหมายที่ตอ้ งให้การดาเนิ นงานด้านการผลิตมีประสิ ทธิ ภาพ
เกณฑ์ในการแบ่งแผนกงานด้านการผลิตมีดงั นี้ คือ
1) การแบ่งแผนกงานตามหน้าที่ (by functions)
2) การแบ่งแผนกงานตามกระบวนการ (by process)
3) การแบ่งแผนกงานตามพื้นที่ (by geographic area)
4) การแบ่งแผนกงานตามผลิตภัณฑ์ (by product)
5) การแบ่งแผนกงานตามลูกค้า (by customer)
18

1) การแบ่ งแผนกงานตามหน้ าที่ (by function) เป็ นการจัดแบ่งแผนกงานที่ยึดหน้าที่ต่างๆ


ในองค์การ เช่น หน้าที่ดา้ นการตลาด การผลิต การเงินและบัญชี เป็ นต้น ซึ่ งการจัดแบ่งแผนกงาน
ตามหน้าที่จะพบเห็นได้มากที่สุด อาจเป็ นเพราะจัดแบ่งได้ง่ายและสามารถเข้าใจได้โดยง่าย

ผู้จัดการทั่วไป

ผู้จัดการ
ผู้จัดการ
ผู้จัดการฝ่ ายผลิต ฝ่ ายการเงิน
ฝ่ ายการตลาด
และบัญชี

พนักงาน พนักงาน พนักงาน

รู ปที่ 1.10 การแบ่งแยกแผนกงานตามหน้าที่

2) การแบ่ งแผนกงานตามกระบวนการ (by process) จะจัดแบ่งแผนกงานโดยการรวมงาน


ที่มีกระบวนการทางานหรื อการผลิตที่เหมือนกันเข้าไว้ดว้ ยกัน

ผู้จัดการฝ่ ายผลิต

ตัด เจาะ เชื่อม ขัด ทาสี ประกอบ ตกแต่ง

รู ปที่ 1.11 การแบ่งแผนกงานตามกระบวนการ


19

3) การแบ่ งแผนกงานตามพื้นที่ (by geographic area) มักจะใช้ในกรณีที่บริ ษทั มีการ


ขยายสาขาออกไปยังพื้นที่ต่างๆ จึงใช้การแบ่งแผนกงานตามเขตภูมิศาสตร์

ผู้จัดการใหญ่

ผู้จัดการภาค
ผู้จัดการภาคเหนือ ตะวันออกเหนือ ผู้จัดการภาคใต้ ผู้จัดการภาคกลาง

รู ปที่ 1.12 การแบ่งแผนกงานตามพื้นที่

4) การแบ่ งแผนกงานตามผลิตภัณฑ์ (by product) มักจะใช้กบั บริ ษทั ที่มีการผลิตสิ นค้า


หลายชนิดและเป็ นบริ ษทั ที่มีขนาดใหญ่ เพื่อให้การบริ หารทรัพยากรมุ่งเน้นไปในแต่ละกลุ่มของ
สิ นค้า โดยที่แต่ละกลุ่มสิ นค้าอาจจะมีการแบ่งแผนกงานตามหน้าทีก่ ็ได้

ผู้จัดการใหญ่

สินค้า A สินค้า B สินค้า C สินค้า D

ฝ่ ายผลิต ฝ่ ายการตลาด ฝ่ ายบัญชี

รู ปที่ 1.13 การแบ่งแผนกงานตามผลิตภัณฑ์


20

5) การแบ่ งแผนกงานตามลูกค้า (by customer) การแบ่งแผนกงานโดยวิธีน้ ี จะแบ่งโดย


พิจารณากลุ่มของลูกค้าเป็ นหลัก

ผู้จัดการทั่วไป

ลูกค้าปลีก ลูกค้าส่ ง ลูกค้าหน่ วยงานราชการ

รู ปที่ 1.14 การแบ่งแผนกงานตามลูกค้า

การบริ หารการผลิตได้มี พฒั นาการมาอย่างต่อเนื่ อ งจนถึงปั จจุบัน ซึ่ งในช่ วงต้นๆจะเน้น


เป้าหมายด้านปริ มาณการผลิต นั่นคือ หาวิธีการในการผลิตเพื่อให้ได้ปริ มาณมากๆและมีตน้ ทุนต่า
ต่อมาจึงได้เริ่ มให้ความสาคัญด้านคุณภาพมากขึ้นโดยมีการใช้วิธีการทางสถิติเข้ามาช่วย เพื่อสร้าง
ความน่าเชื่อถือและการยอมรับในเรื่ องคุณภาพโดยเน้นที่การควบคุมระบบการผลิตให้เป็ นไปตาม
มาตรฐานที่ ได้กาหนดไว้ แต่ปัจจุบันได้มีการพัฒ นาแนวคิดเรื่ อ งคุณ ภาพที่เรี ยกว่า “การจัดการ
คุณภาพ” ซึ่ งเป็ นการสร้างคุณภาพให้เกิดขึ้นในทุกส่ วนทุกหน่วยงานขององค์กรนั่นเอง การผลิต
และการบริ การมีลกั ษณะที่แตกต่างกันหลายประการแต่สิ่งที่เหมือ นกันนั่นคือ การมุ่งตอบสนอง
และสร้างความพึงพอใจให้ลูกค้า

การเปรียบเทียบการผลิตสินค้าและการให้ บริการ

การผลิตสินค้า การให้ บริการ


- สิ นค้าสามารถจับต้องได้ - การบริ การไม่สามารถจับต้องได้
- จัดกาลังการผลิตได้ง่ายโดยวัดจากผลผลิตที่ได้ - วัดกาลังการผลิตจากปัจจัยนาเข้า
- มีสินค้าคงคลัง - ไม่มีสินค้าคงคลัง
- มีการลงทุนด้านเครื่ องจักร อุปกรณ์การผลิตสูง - การลงทุนด้านอุปกรณ์เครื่ องมือต่างๆต่า
- ประเมินและตรวจสอบคุณภาพสิ นค้าได้ - ประเมินและตรวจสอบคุณภาพการบริ การ
ชัดเจน ได้ยาก
21

สรุป

การบริ ห ารการผลิตในยุคต้น ๆเป็ นการผลิต เพื่ อ การด ารงชี วิตและบริ โภคภายใน


ครอบครัว จนกระทั่งต่อ มาได้มี การใช้เงินตราเข้ามาเป็ นสื่ อ กลางในการแลกเปลี่ยน (Money
System) ซึ่ งทาให้การผลิตมีการขยายตัวและมีลกั ษณะเป็ นเชิงพาณิชย์มากยิ่งขึ้น การบริ หารการ
ผลิต เป็ นการดาเนิ นกิ จกรรมต่างๆที่เกี่ ยวข้อ งกับ การผลิต อาทิ เช่ น การพยากรณ์ การผลิต การ
วางแผนการผลิต การจัดองค์กร การวางแผนกาลังคน การสั่งการและการควบคุมการผลิต เป็ น
ต้น เพื่ อให้ ส ามารถผลิ ต สิ น ค้าและบริ การที่ เป็ นไปตามเป้ าหมายในการบริ ห ารการผลิ ต ซึ่ ง
เป้ าหมายในการบริ หารการผลิตประกอบด้วย 1)ด้านปริ มาณ 2) ด้านคุณภาพ (Quality) 3) ด้าน
ต้น ทุ น (Cost) 4) ด้า นการส่ งมอบ (Delivery) 5) ด้านความปลอดภัย (Safety) และ 6) ด้า น
สิ่ งแวดล้อ ม (Environment) ในการด าเนิ น ธุ รกิ จ นั้น การผลิ ตเป็ นองค์ป ระกอบหนึ่ งเท่ านั้น ซึ่ ง
องค์ประกอบหลักของธุรกิจแบ่งออกได้เป็ น 3 ส่ วนประกอบด้วย 1) ส่วนการตลาด (Marketing
Component) 2) ส่ ว นการเงิ น (Finance Component) และ3) ส่ วน การผลิ ต หรื อปฏิ บั ติ ก าร
(Production/Operation Component) ซึ่ งในส่ วนของการผลิตนั้นยังมีส่วนประกอบอื่นๆที่เกี่ยวข้อง
อาทิเช่น ด้านการบารุ งรักษาเครื่ องจักรอุปกรณ์ผลิต (Maintenance) ด้านการประชาสัมพันธ์ (Public
relations) ด้ า น การบริ หารทรั พ ยากรมนุ ษ ย์ (Human Resource Management) ด้ า นการบั ญ ชี
(Accounting) ด้านการจัด ซื้ อ (Purchasing) ด้า นการกระจายสิ น ค้า (Distribution) และด้า นวิ ศ ว
อุตสาหกรรม (Industrial engineering) เป็ นต้น
การผลิตสามารถจาแนกได้เป็ น 3 ประเภท คือ 1) การผลิตแบบตามงาน (Job shop)
2) การผลิ ต แบบเป็ นรุ่ น (Batch Manufacturing) 3) การผลิ ต แบบจ านวนมาก (Repetitive
Manufacturing) สาหรับการบริ การนั้นจาแนกได้เป็ น 13 ประเภทคือ 1) การบริ การการสื่ อสาร
2) การบริ การที่ปรึ กษาธุ รกิ จ 3) การบริ การการศึกษา 4) การบริ การการเงิน 5) การบริ การเพื่อ
สุขภาพ 6) การบริ การเกี่ยวกับครัวเรื อน 7)การบริ การที่อยูอ่ าศัย 8) การบริ การประกันภัย 9) การ
บริ การทางกฎหมาย 10)การบริ การส่ วนบุคคล 11) การบริ การกี ฬ าและบันเทิง 12) การบริ การ
ขนส่ง และ13)การบริ การอื่นๆ เช่น สมาคมทางธุรกิจ พรรคการเมือง องค์กรทางศาสนา ฯลฯ
การจัดแบ่งแผนกงานด้านการผลิต (Departmentation) แบ่งออกได้เป็ น 5 ประเภท
คือ 1) การแบ่ งแผนกงานตามหน้าที่ (by functions) 2) การแบ่ งแผนกงานตามกระบวนการ (by
process) 3) การแบ่ ง แผนกงานตามพื้ น ที่ (by geographic area) 4) การแบ่ ง แผนกงานตาม
ผลิ ต ภัณ ฑ์ (by product) 5) การแบ่ ง แผนกงานตามลู ก ค้า(by customer) และในปั จ จุ บัน นี้ การ
22

บริ หารการผลิตมีวิวฒั นาการก้าวหน้าเป็ นอย่างมากโดยมีการนาเอาคอมพิวเตอร์ เข้ามาช่วยในการ


ผลิตซึ่งช่วยให้สามารถบริ หารการผลิตได้อย่างมีประสิ ทธิภาพและประสิ ทธิผลมากยิ่งขึ้น
บรรณานุกรม

จิตตินนั ท์ เดชะคุปต์ และคณะ. จิตวิทยาการบริการ. พิมพ์ครั้งที่ 9. กรุ งเทพฯ : ชวนพิมพ์, 2547


ชัยยศ สันติวงษ์. การบริหารการผลิต. กรุ งเทพฯ : ประชุมช่าง, 2546.
ชุมพล ศฤงคารศิริ. การวางแผนและควบคุมการผลิต. พิมพ์ครั้งที่ 8. กรุ งเทพฯ : ประชาชน,2543
พิชิต สุขเจริ ญพงษ์. การจัดการวิศวกรรมการผลิต. กรุ งเทพฯ : เอช.เอ็น.กรุ๊ ป, 2540.
เธียรไชย จิตต์แจ้ง และคณะ. การบริหารการผลิต. พิมพ์ครั้งที่ 20. กรุ งเทพฯ : มหาวิทยาลัย
สุโขทัยธรรมาธิราช, 2540.
Buffa, Elwood S., Modern Production/Operations Management, 7th. Edition, New York,
John Wiley & Sons, 1983.
Stevenson, William J., Production/Operations Management, Illinois, Richard D. Irwin,
Inc.1982.
Riggs James L., Production System : Planning, Analysis and Control. John Wiley and Sons,
1983.

You might also like