You are on page 1of 25

Tool wear &Tool life

present by group5
สมาชิก
1.นางสาว ธนัชพร กอเกียรติธ ำรงค์ 6301021620013
2.นาย อาชวิน ฤทธิ์ทา 6301021630132
3.นางสาว จุฑาพร เทียนสุวรรณ 6301021631023
4.นาย บรรพต นี วงศ ์ 6301021612274
What is
Tool wear
ึ หรอของเครื่ องมือตัด คือ?
การสก
Tool Wear

Crater wear Flank wear Buily-Up edge

Notch Wear Plastic deformation Thermal Cracks

Chipping
Tool Wear
การสกึ หรอของเครื่ องมือตัดปกติแลว้ จะเกิดขึ้นที่ต ำแหน่งหลักๆ อยู ่ 2 ต ำแหน่ง
คือ การสกึ หรอดา้ นบนของผิวคายเศษโลหะและการสก ึ หรอดา้ นขา้ งของคมตัด
โดยการสกึ หรอที่เกิดแบง่ ออกเป็น

Crater wear Flank wear


Crater wear

เกิดขึ้นที่ผิวดา้ นบนของผิวคายเศษโลหะ ต ำแหน่งที่ลึกที่สุดจะเกิดจาก


อุณหภูมิจากการตัดที่สูงที่สุด เศษโลหะที่ถูกตัดเฉือนจะเสยี ดสก ี ั บบริ เวณ
ดังกลา่ วขณะอุณภูมิสูงท ำให้ของเครื่ องมือตัดหลุดออกมาไดง้ า่ ย

แนวทางแกป
้ ั ญหา
เลือกใช้ Al2O3ในการเคลือบผิว

ใช้ Positive insert geometry เนื่ องจากมีความคม


มากกวา่

ควรลดความเร็วในการตัดเฉือนเพื่อลดอุณหภูมิกอ
่ นแลว้ จึง
คอ่ ยลดฟีด
Flank wear
การสก ิ งานกับผิวดา้ นขา้ งนอกเครื่ อง
ึ หรอเกิดจากการเสยี ดสรี ะหวา่ งช้น
มือตัด ลักษณะของรอยสก ึ หรอจะแบนราบในทิศทางที่ขนานกับความเร็ว
ตัดเกิดจากความเร็วตัดสูงเกินไปหรื อความตา้ นทานการสก ึ หรอไมเ่ พียง
พอ

แนวทางแกป
้ ั ญหา
ลดความเร็วตัด

เลือกเกรดที่ทนตอ่ ความทนทานมากขึ้น

เลือกAl2O3ในการเคลือบ

ส ำหรับวัสดุชุบแข็ง ใหเ้ ลือกมุมเขา้ งานที่มีขนาด


เล็กลง
Causes of Tool wear

01 Abrasion ( การเสยี ดสี ) 02 Adhesion ( การยึดติด )

เป็นการสก ึ หรอทางกล โดยพื้นฐานแลว้ เกิดจากโลหะ 2 ชนิ ดถูกแรงกดเขา้ เสยี ดสี


เกิดขึ้นจากอนุ ภาคของแข็งที่มากับช้ินงานขัด ท ำใหอ ้ ุณหภูมิสูงขึ้น โดยแรงกดและอุณหภูมิ
ถูใหเ้ นื้ อของเครื่ องมือตัดหลุดออกไป ท ำใหเ้ กิดการเช่ือมกันระหวา่ งโลหะ 2 ชนิ ด
และท ำใหย้ ึดติดกัน
Causes of Tool wear

Chemical reaction
03 Diffusion ( การแพร่ ) 04 ( ปฏิกิริยาทางเคมี )
การแพร่ของอะตอมจากเครื่ องมือตัดไปยัง อุณหภูมิท่ีสูงจากการตัดเฉือนเนื้ อโลหะ
ิ งานอาจเกิดขึ้นได้
ช้น เมื่ออะตอมของธาตุ และผิสที่สะอาดระหวา่ งผิวสัมผัสของเครื่ อง
ผสมที่ชว่ ยใหเ้ ครื่ องมือตัดมีความแข็ง มือตัดเศษโลหะ อาจท ำใหเ้ กิดปฏิกิริยาทาง
เคลื่อนที่ออกไปโดยการแพร่ ท ำใหค ้ วามแข็ง เคมีข้ึนได้ โดยเฉพาะปฏิกิริยาออกซิเดชั นที่
ลดลงและสง่ ผลใหเ้ กิดการสก ึ หรอ ผิวดา้ นขา้ งเครื่ องมือตัด
Causes of Tool wear

Plastic deformation
05 06 Oxidation wear
( การเปลี่ยนรู ปในสภาวะพลาสติก )
การเปลี่ยนรู ปในสภาวะพลาสติกที่คมตัด การสกึ หรอของออกซิเดชั นเป็นผลมาจาก
ของเครื่ องมือตัดเกิดจากอุณหภูมิการตัดสูง ปฏิกิริยาเคมีระหวา่ งออกซิเจนในอากาศและ
ร่วมกับแรงกดที่สูงท ำใหเ้ กิดการเปลี่ยนรู ปใน สว่ นประกอบของโลหะซีเมนตค ์ าร์ไบด์ สง่
สภาวะพลาสติกขึ้นที่ผิวของเครื่ องมือตัดนัน ้ ผลใหเ้ กิดออกไซดบ ์ นพื้นผิวเครื่ องมือที่จะ
กัดกร่อน ปฏิกิริยาเกิดขึ้นที่อุณหภูมิระหวา่ ง
700 ถึง 800 องศาเซลเซียส
What is
Tool life
การยืดอายุของเครื่ องมือตัด คือ?
Tool life

ความหมาย แบง่ เป็น 3 ชว่ ง


ระยะเวลาที่เครื่ องตัดสามารถท ำการตัดไดจ้ น 1.ชว่ งเบรก-อิน(Breal in period)
้ น
กระทังส ้ิ สุดลงเมื่อเกิดความเสยี หายจนไม่ ึ หรอคงตัว(Steady state wear)
2.ชว่ งการสก
สามารถท ำงานได้ 3.ชว่ งความเสยี หาย(Failure region)
เมื่อระยะเวลาในการตัดเฉือนเพิม ึ หรอที่เพิม
่ ขึ้นยอ่ มสง่ ผลตอ่ การสก ่ ขึ้น
ชว่ งเบรก-อิน (Break in period)
โดยในชว่ งแรกคมตัดที่เริ่ มตน
้ ใชง้ านจะมี
บางสว่ นที่มีความบางและคมอยูท ่ ่ีปลาย
คมตัด การสก ึ หรอจะเกิดขึ้นอยา่ งรวดเร็ว
กราฟจะมีความชั นมากแตจ่ ะเกิดใ่นชว่ ง

เวลาสันๆ
ึ หรอคงตัว(Steady state
ชว่ งการสก
wear)
เมื่อคมตัดสว่ นที่บางสก ึ หรอไปแลว้ จะ
เหลือสว่ นที่มีความแข็งแรงมากขึ้น ท ำให้
อัตราการสก ึ หรอลดลงความชั นของกราฟ
จะลดลงเขา้ สูช่ ว่ งที่สอง
ชว่ งความเสยี หาย(Failure region)

อัตรราการสก ึ หรอจะเพิม ่ ขึ้นอยา่ งรวดเร็ว


เนื่ องจากคมตัดที่ใชง้ านมาเป็นระยาเวลา
นาน

้ รงมากขึ้น->อุณหภูมิสูงขึ้น
ความคมลดลง->ใชแ
Factors Influencing Tool Life
อายุการใชง้ านของเครื่ องมือจะไดร้ ั บผลกระทบจากปัจจัยตา่ งๆ ดังตอ่ ไปนี้
1 2 3 4 5
Tool material and Properties of Machining Machining Types of
its properties Workpiece material conditions variables machining operation

ความตา้ นแรงดึง อุณหภูมิ อัตราป้อน การตัดอยา่ งตอ่ เนื่ อง


ความแข็ง น้ำมันตัดกลึงที่ใช้ ความเร็วตัด
และโครงสร้างจุลภาคของวัสดุ และระยะกินลึก
ตัวอยา่ งงานวิจัย
ึ ษาประสท
การศก ิ ธิภาพและตน
้ ทุนของเม็ดมีดตัดในกระบวนการ
ตัดเฉือนเหล็กกลา้ ไร้สนิ ม AISI304

ความหยาบผิวเฉลี่ยตอ ้ งไมเ่ กิน 3.2 um


หากความหยาบผิวมากกวา่ 3.2 um แสดงวา่ เม็ดมีดหมดอายุการ
ใชง้ าน

อา้ งอิง : คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชมงคลธัญบุรี


ตัวอยา่ งงานวิจัย

A B C

อา้ งอิง : คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชมงคลธัญบุรี


ตัวอยา่ งงานวิจัย
A

การสกึ หรอรู ปแบบนี้ เกิดขึ้นเนื่ องจากเศษโลหะที่เคลื่อนที่ผา่ นบริ เวณคม


ตัดท ำใหเ้ กิดแรงเฉือนบริ เวณผิวสัมผัสสูงพอที่จะท ำใหเ้ กิดความเคน ้ เฉือนสูงกวา่ ที่เครื่ องมือตัดจะรับได้ จึงท ำให้
เกิดการตัดเฉือนเนื้ อวัสดุเครื่ องมือตัด

อา้ งอิง : คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชมงคลธัญบุรี


ตัวอยา่ งงานวิจัย
B

แรงเสยี ดทานที่เกิด
ระหวา่ งจุดสัมผัสของเม็ดมีดกับช้น
ิ งานสูงเกินไป ท ำใหแ้ รงตา้ นการตัดของเม็ดมีดสูงขึ้นจึงท ำใหเ้ กิด
ความร้อนสูง เป็นผลใหเ้ ม็ดมีดเกิดการสกึ หรอและแตกหัก หรื ออาจเกิดจากคมตัดไมแ ่ ข็งแรงพอที่จะ
ดา้ นแรงที่มากระท ำ

อา้ งอิง : คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชมงคลธัญบุรี


ตัวอยา่ งงานวิจัย
C

เมื่อการสก ึ หรอที่ปลายเม็ดมีดกลึงเกิดมากขึ้น ก็จะท ำใหก


้ ำลังการตัดเฉือนช้น ่ ขึ้น ซ่ึง
ิ งานเพิม
สง่ ผลท ำใหม ้ ีดตัดสูญเสยี ความแข็งแรงและความตา้ นทานการ สก ึ หรอของเม็ดมีดกลึงท ำใหก ้ ารสก ึ หรอ
เกิดขึ้นอยา่ งรวดเร็วและหมดอายุการใชง้ าน

อา้ งอิง : คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชมงคลธัญบุรี


สรุ ปงานวิจัย


หากพิจารณาถึงขันตอนในการท ำงานจริ งสามารถอธิบายไดว้ า่ เมื่อขณะที่ใชค ้ วามเร็วตัด
ึ หรอของมีดจะเป็นไปอยา่ งชา้ ๆ ทังนี
ต ่ำ ๆ การสก ้ ้ เพราะอุณหภูมิจากการเสยี ดสี ระหวา่ งมีดกลึงกับ
ช้น
ิ งานจะมีคา่ ต ่ำ แตถ
่ า้ ใชค้ วามเร็วตัดสูงขึ้นความร้อนระหวา่ งผิวมีดกลึงกับช้น ิ งาน และเศษตัดจะเกิด
มากขึ้น ซ่ึงเป็นเหตุใหเ้ กิดการสก ึ หรอที่บริ เวณผิวของมีดกถึงกับช้นิ งานที่เสยี ดสกี ั น ซ่ึงจะท ำใหอ
้ ายุการ

ใชง้ านของมีดกลึงสันลง

้ เมื่อเปลี่ยนคา่ Feed ใหเ้ พิม


สว่ นของ Feed นัน ่ ขึ้นท ำใหป
้ ริ มาณของช้น ่
ิ งานเพิม
มากขึ้น เนื่ องจาก ระยะที่มีดตัดเขา้ หาช้น ่ ขึ้น ความเร็วในการตัดเฉือนก็จะมากตามไปดว้ ย
้ เพิม
ิ งานนัน
ท ำใหส้ ามารถลดเวลาในการผลิตช้น ิ สว่ นแตล่ ะช้น
ิ ลงได้

อา้ งอิง : คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชมงคลธัญบุรี


อา้ งอิง
์ ั กดิ์ ธรรมโชติ, กระบวนการผลิต. , หน้า344-347.
ณรงคศ
Gordana Globocki Lakic,Davorin Kramar,Janez Kopac, Metal
Cutting Theory and applications. , p 121-127.
ึ ษาประสท
ประสาน แสงเขียว, วิทยานิ พนธ์ การศก ิ ธิภาพและตน้ ทุนของเม็ด
มีดตัดในกระบวนการตัดเฉือนเหล็กกลา้ ไร้สนิ ม AISI304.,2554
Thank you

You might also like