You are on page 1of 45

บทที่ 5 GBS

Guillain-Barre Syndrome
• เป็ นกลุ่มอาการที่เกิดจากความผิดปกติของเส้น
ประสาทส่วนปลายทั่วร่างกาย (polyneuropathy) ที่
เกิดขึ้นเฉียบพลัน โดยเชื่อว่าเกิดจากปฏิกิริยาทาง
ภูมิคุ้มกันที่ผิดปกติ ทำให้เกิดการอักเสบของปลอก
ประสาท (demyelination) หรือแกนเส้นประสาทผิด
ปกติ (axonopathy)
• มีภาวะอักเสบหรือติดเชื้อเฉียบพลันที่ปลอกหุ้ม
ของเส้นประสาทหลาย ๆ เส้นพร้อมกัน จนก่อให้
เกิดอาการกล้ามเนื้ออ่อนแรงเฉียบพลัน และหาก
อาการรุนแรงมาก ผู้ป่ วยอาจตกอยู่ในสภาวะ
อัมพาต ระบบการทำงานต่าง ๆ ของร่างกาย
ทยอยล้มเหลวไปทีละส่วน และสุดท้ายอาจเสีย
ชีวิตลงในที่สุด
• GBS ถูกจัดอยู่ในกลุ่มพยาธิสภาพของเส้น
ประสาท ส่วนปลาย(peripheral neuropathy)
• อาการหลักๆคือ มีอาการเฉียบพลันของ การ
อ่อนแรงแขนขาทั้ง 2 ข้าง หรือมีอาการชา หรือ
มีเส้น ประสาทใบหน้าผิดปกติร่วมด้วย
สาเหตุ
• การติดเชื้อ Campylobacter Jejuni ซึ่งเป็ น
แบคทีเรียที่ทำให้เกิดอาการท้องเสียและการติดเชื้อใน
ระบบทางเดินอาหาร การติดเชื้อในระบบทางเดิน
หายใจ โรคติดเชื้อ HIVโรคติดเชื้อCytomegalovirus
โรคติดเชื้อEpstein-Barr Virus โรคปอดอักเสบ
จากMycoplasma Pneumonia เป็ นต้น
• วัคซีน เป็ นอีกปั จจัยหนึ่งที่อาจทำให้ระบบภูมิคุ้มกัน
ทำงานผิดปกติ
GBS แบ่งออกเป็ นหลายชนิดย่อย พบได้บ่อยมีดังนี้

1.Acute Inflammatory Demyelinating


Polyradiculoneuropathy: AIDP เป็ นชนิด
ที่พบได้มากที่สุด อาการทั่วไปคือกล้ามเนื้ออ่อน
แรง โดยเริ่มจากอวัยวะส่วนล่างของร่างกาย
อย่างเท้าและขา แล้วค่อย ๆ ลุกลามขึ้นไปยัง
อวัยวะส่วนบน เช่น แขน ใบหน้า เป็ นต้น
2. Miller Fisher Syndrome:
MFS กลุ่มอาการ GBS ชนิดนี้พบ
บ่อยในชาวเอเชีย ผู้ป่ วยจะเกิด
อัมพาตบริเวณดวงตาเป็ นอันดับแรก
Acute Motor-Sensory Axonal
3.

Neuropathy: AMSAN และ Acute


Motor Axonal Neuropathy:
AMAN เป็ นชนิดที่มักพบในคนจีน ญี่ปุ่น
และเม็กซิกันเป็ นหลัก
อาการของผู้ป่ วยที่พบบ่อยสุด 5 อาการคือ
 อ่อนแรงทั้งแขนขา
 ชาแขนขา
 กลืนลำบาก
 พูดลำบาก
 อาการหายใจ ลำบาก
 เคลื่อนไหวกล้ามเนื้อใบหน้าและดวงตาได้ลำบาก ส่ง
ผลให้พูด เคี้ยว และกลืนอาหารลำบาก
 มีอาการปวดตามร่างกายอย่างรุนแรง อาจรู้สึกเจ็บ
คล้ายเป็ นตะคริว และอาจปวดมากขึ้นในช่วงกลางคืน
 กลั้นปั สสาวะหรืออุจจาระไม่อยู่
 อัมพาต มักเกิดขึ้นกับร่างกายทั้งซีกซ้ายและซีกขวา
การวินิจฉัย
 การเจาะน้ำไขสันหลัง (Spinal Tap หรือ Lmbar
Puncture) พบโปรตีนสูงขึ้น
 การตรวจคลื่นไฟฟ้ ากล้ามเนื้อ
(Electromyography: EMG)
 การตรวจการชักนำประสาท (Nerve Conduction
Tests)
การรักษา
 การแลกเปลี่ยนพลาสม่า (Plasmapheresis) มีจุดประสงค์
เพื่อกำจัดแอนติบอดีผิดปกติในพลาสม่าที่เข้าทำลายเซลล์
ประสาท โดยจะถ่ายเลือดออกจากร่างกายผู้ป่ วยแล้วใช้
เครื่องมือพิเศษแยกแอนติบอดีที่ผิดปกติออกจากเลือด จาก
นั้นจึงนำเลือดที่ปราศจากแอนติบอดีดังกล่าวกลับคืนสู่
ร่างกาย
 การบำบัดรักษาด้วยอิมมูโนโกลบูลิน (Immunoglobulin
Therapy) คือการรักษาด้วยการให้อิมมูโนโกลบูลิน ซึ่ง
นอกจากจะมีแอนติบอดีที่ดีต่อร่างกายเป็ นองค์ประกอบแล้ว
ยังมีคุณสมบัติช่วยยับยั้งการทำงานของแอนติบอดีที่ผิดปกติ
อีกด้วย
 FVC (Forced Vital Capacity ) คือปริมาตรของอากาศที่เป่ าออก
อย่างเร็ว แรง จนหมด หลังจากหายใจเข้าอย่างเต็มที่ ผลการประเมิน
ค่า : ค่า FVC แสดงถึงปริมาตรอากาศที่จุอยู่ในปอดเกือบทั้งหมด ค่านี้
จะลดต่ำลงเมื่อเนื้อเยื่อปอดมีการ เปลี่ยนแปลงเกิดเป็ นพังผืด หรือปอด
ขยายตัวได้ไม่เต็มที่ ภาวะเช่นนี้เรียกว่า “ RESTRICTIVE ( มีการจำกัด
การขยายตัวของปอด ) ” ค่าปกติ : มากกว่า 80 %
 FEV 1 (Forced Expiratory Volume in one second) คือปริมาตร
ของอากาศที่เป่ าออกอย่างเร็วแรงในวินาทีที่ 1 ซึ่ง FEV 1 นี้เป็ นข้อมูล
ที่ใช้บ่อยที่สุดในการตรวจสมรรถภาพปอด ผลการประเมินค่า : ค่า
FEV 1 นี้ ใช้คำนวณร่วมกันกับ ค่า FVC เพื่อหาค่า FEV 1 / FVC %
ค่าปกติ : มากกว่า 80 %
 FEV 1 / FVC % คือร้อยละของปริมาตรของอากาศที่เป่ าออกมาได้ใน
วินาทีที่ 1 ต่อปริมาตรของอากาศที่เป่ าออกมาได้มากที่สุดอย่างเร็วแรง
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
 เสี่ยงต่อภาวะ Respiratory failure เนื่องจากรอยโรคของเส้นประสาทที่ไป
เลี้ยงกล้ามเนื้อการหายใจ
 มีภาวะเนื้อเยื่อพร่องออกซิเจนเนื่องจากประสิทธิภาพการแลกเปลี่ยนก๊าซลด
ลง จาก ภาวะหายใจล้มเหลว
 ผู้ป่ วยมีกำลังของแขนขา(Motor power) ลดลง
 มีภาวะติดเชื้อในร่างกาย
 มีภาวะไม่สมดุลของอิเล็คโตรลัยท์ในร่างกาย
 เสี่ยงต่อการเกิดภาวะแทรกซ้อนจากการให้พลาสมา
 การดูแลตัวเองบกพร่อง
 Poor hygiene
 สาเหตุของระดับฮอร์โมนไทรอยด์ในกระแสเลือดที่
สูงกว่าปกติมาก เกิดจากการมีปั จจัยกระตุ้น เช่น
การติดเชื้อ เลือดเป็ นกรดจากคีโตนคั่ง น้ำตาลใน
เลือดต่ำ ภาวะช็อคจากน้ำตาลในเลือดสูง ลิ่มเลือด
อุดกั้นในปอด ได้รับสารไอโอดีนในปริมาณมาก ขาด
ยาต้านฮอร์โมนไทรอยด์ การผ่าตัด ความเครียด
และภาวะกล้ามเนื้อหัวใจตาย เป็ นต้น
 เกิดความผิดปกติของเมตาบอลิสมในร่างกาย
 ผู้ป่ วยจะมีอุณหภูมิร่างกายสูง เหงื่อออกมาก
ท้องเสีย คลื่นไส้ อาเจียน
 หัวใจเต้นผิดจังหวะและเกิดภาวะหัวใจล้มเหลว
 มีภาวะกล้ามเนื้อหัวใจ ห้องล่างซ้ายขยายขนาด
เพิ่มขึ้น (left ventricular hypertrophy) ซึ่ง
เป็ นผลจากภาวะหัวใจเต้นเร็วผิดปกติ
 ภาวะหัวใจ ล้มเหลว
 การประเมินผู้ป่ วยที่สงสัยว่ามีภาวะต่อมไทรอยด์เป็ นพิษ วิกฤต จึง
ต้องประเมินจากอาการและอาการแสดง ได้แก่ ไข้สูง มากกว่า
37.8 องศาเซลเซียส หัวใจเต้นเร็วผิดปกติ หัวใจห้องบน เต้นสั่น
พลิ้ว หัวใจล้มเหลว ท้องเสีย คลื่นไส้ อาเจียน ซึม กระสับกระส่าย
อารมณ์เปลี่ยนแปลง หมดสติ รวมทั้งประเมิน ปั จจัยกระตุ้นอื่นๆ
ได้แก่ การติดเชื้อ ภาวะเลือดเป็ นกรดจาก คีโตนคั่ง น้ำ ตาลใน
เลือดต่ำ ภาวะช็อคจากน้ำ ตาลในเลือดสูง ลิ่มเลือดอุดกั้นในปอด
การได้รับสารไอโอดีนในปริมาณมาก การขาดยาต้านฮอร์โมน
ไทรอยด์ การผ่าตัด ความเครียด การบาดเจ็บ ภาวะกล้ามเนื้อ
หัวใจตาย
 ในผู้ป่ วยที่มีภาวะต่อมไทรอยด์ เป็ นพิษ (thyrotoxic
states without thyroid storm) และ ในผู้ป่ วยที่มี
ภาวะต่อมไทรอยด์เป็ นพิษวิกฤต มักพบความ ผิดปกติ
ที่คล้ายคลึงกัน คือสร้างและหลั่งฮอร์โมนมากกว่าปกติ
และมีผลไปกดการสร้างและหลั่งฮอร์โมนไทรอยด์สติมิ
วเลติง จากต่อมใต้สมอง ทำให้ระดับฮอร์โมนไทรอยด์
ชนิดฟรี ไตรไอโอโด ไทโรนีน (Free
Triiodothyronine: FT3) และฟรี ไทรอกซีน (Free
Thyroxine: FT4) สูง และค่าไทรอยด์สติมิวเลติง
ฮอร์โมน (Thyroid-stimulating hormone: TSH)
ต่ำ
การพยาบาล
 ยาต้านฮอร์โมนไทรอยด์ (Thionamides) หรือยาที่ ทำ
หน้าที่ยับยั้งการสังเคราะห์ฮอร์โมนของต่อมไทรอยด์
ได้แก่ ยาโพลพีลไทโอยูเรซิล (Propylthiouracil: PTU)
โดย ให้ขนาด 500-1,000 มิลลิกรัม ทางหลอดเลือดดำ
ในครั้งแรก แล้วตามด้วยขนาด 200-250 มิลลิกรัม ห่าง
กันทุก 4-6 ชั่วโมง หรือให้ยาเมทิมาโซล
(Methimazole) 120 มิลลิกรัมต่อวัน โดยแบ่งให้ทุก
4-6 ชั่วโมง
 ติดตามเฝ้ าระวังผลข้างเคียง ของยา ได้แก่ ไข้ ผื่น
อาการทางผิวหนัง คันตามตัว ภาวะเม็ด เลือดขาว
ต่ำ (agranulocytosis) และตับอักเสบ (hepatic
injury)
 ติดตามผลการตรวจการทำงานของตับ และจำนวน
เม็ดเลือดขาวก่อนเริ่มการรักษา เพื่อเป็ นข้อมูล พื้น
ฐานในการเฝ้ าระวังผลข้างเคียงของการรักษาด้วย
3. การพยาบาลเพื่อป้ องกันและแก้ไขภาวะแทรก
ซ้อนในระบบหัวใจและหลอดเลือด ภาวะต่อม
ไทรอยด์เป็ น พิษวิกฤต ส่งผลให้เกิดความผิดปกติ
ของระบบหัวใจและ หลอดเลือด เกิดภาวะหัวใจ
เต้นเร็วและผิดจังหวะที่พบบ่อย คือ ภาวะหัวใจ
ห้องบนเต้นสั่นพลิ้วแบบ เอเตรียลฟิ บริลเลชัน
(atrial fibrillation with rapid ventricular
response) และหากไม่ได้ รับการแก้ไขภาวะ
หัวใจเต้นผิดจังหวะ อาจส่งผลให้เกิดภาวะ หัวใจ
ล้มเหลวตามมาได้
4. การพยาบาลเพื่อป้ องกันการเกิดภาวะ
ต่อม ไทรอยด์เป็ นพิษวิกฤตซ้ำ

You might also like