You are on page 1of 44

Human normal immunoglobulin, intravenous (IVIG)

receptor การจับกับสารภูมิต้านทานที่ร่างกายสร้างขึ้นเอง
5 Human normal immuno- (neutralization of auto-antibodies) การยับยัง้ การจับและ
globulin, intravenous (IVIG) การกระตุน้ การทำงานของระบบ complement การช่วยขจัด
auto-antibody ที่เป็นพิษ กดการหลั่งของ cytokine ที่
Human normal immunoglobulin, intravenous เป็นพิษ การจับกับ super-antigen และ down-regulation
(IVIG) เป็นสารละลายทีใ่ ห้ทางหลอดเลือดดำ ประกอบด้วย ของหน้าที่ของ T และ B cell
heterogenous human IgG เป็นหลัก ร่วมกับ IgA และ IVIG ขึน้ ทะเบียนในหลายข้อบ่งใช้ แต่คณะอนุกรรมการ
IgM ในปริมาณน้อยมาก โดยได้มาจากเลือดผู้บริจาคซึ่ง พัฒนาบัญชียาหลักแห่งชาติได้พจิ ารณาอนุมตั เิ ฉพาะข้อบ่งใช้
ผ่านการตรวจ ไวรัสเอชไอวี และ ตับอักเสบชนิดบีแล้ว แม้วา่ ที่ มี ห ลั ก ฐานสนั บ สนุ น ประสิ ท ธิ ผ ลและความปลอดภั ย
IVIG ที่ผลิตได้มีปริมาณของ IgG subclass เหมือนกับ อย่างชัดเจน รวมทัง้ เป็นข้อบ่งใช้ทจ่ี ดั เป็นมาตรฐานการรักษา
ในพลาสมาของมนุษย์ แต่ titer จำเพาะต่อแอนติเจนของ แล้ว โดยกำหนดข้อบ่งใช้ไว้ 8 กรณี ดังนี้ (1) โรคคาวาซากิ
แต่ละบริษทั จะแตกต่างกัน นอกจากนี้ IVIG จากแต่ละบริษทั ระยะเฉียบพลัน (acute phase of Kawasaki disease)
ยังมีความแตกต่างกันในกระบวนการเตรียมยา การทำลาย (2) Guillain-Barre syndrome ที่มีอาการรุนแรง (3) โรค
ไวรัสที่อาจปนเปื้อนในเลือด สารที่ช่วยให้ยามีความคงตัว กล้ า มเนื้ อ อ่ อ นแรงชนิ ด ร้ า ยระยะวิ ก ฤต (myasthenia
ออสโมลาริตี และปริมาณของ IgA จึงทำให้ผลิตภัณฑ์ของ gravis, acute exacerbation หรือ myasthenic crisis
แต่ละบริษทั มีความแตกต่างกันเสมอ ในเดือนมีนาคมปี ค.ศ. (4) autoimmune hemolytic anemia (AIHA) ที่ไม่ ตอบ
2000 สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยาของสหรัฐ สนองต่อการรักษาตามขัน้ ตอนของมาตรฐานการรักษา และ
อเมริกา ได้กำหนดตัวชี้วัดประสิทธิผลของยาเพื่อการขึ้น มี อ าการรุ น แรงที่ อ าจเป็ น อั น ตรายถึ ง แก่ ชี วิ ต (5) he-
ทะเบียนผลิตภัณฑ์ IVIG ขึ้น โดยพิจารณาจากประสิทธิผล mophagocytic lymphohistiocytosis (HLH) (6) idio-
ในการป้องกันการติดเชื้อสำหรับผู้ป่วยโรค primary im- pathic thrombocytopenic purpura (ITP) ชนิดรุนแรง
munodeficiency (PID) ให้พบการติดเชือ้ ทีร่ นุ แรงได้ไม่เกิน (7) โรค pemphigus vulgaris ที่มีอาการรุนแรงและไม่
1 ครั้งต่อผู้ป่วย 1 คนต่อปี (การติดเชื้อที่รุนแรงหมายถึง ตอบสนองต่อการรักษาด้วยยามาตรฐาน (8) โรคภูมิคุ้มกัน
ปอดอักเสบ การติดเชื้อแบคทีเรียในกระแสเลือด ภาวะ บกพร่องปฐมภูมิ (primary immunodeficiency diseases)
พิษเหตุติดเชื้อ กระดูกอักเสบ ข้ออักเสบติดเชื้อ ฝีในอวัยวะ การใช้ IVIG นอกเหนือจากข้อบ่งใช้ที่ระบุไว้ข้างต้น
ภายใน เยือ่ หุม้ สมองอักเสบทีม่ สี าเหตุจากแบคทีเรียหรือไวรัส) อาจเป็นการใช้ที่ไม่เกิดประสิทธิผลอย่างชัดเจน ผู้ป่วยอาจ
ในปี 2552 สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา ได้เริ่ม ได้รับอันตรายจากยามากกว่าประโยชน์ หรือเป็นการใช้ยาที่
ทบทวนทะเบียนตำรับยา IVIG โดยใช้เกณฑ์มาตรฐานสากล ไม่มีความคุ้มค่า เนื่องจากค่ายาในแต่ละ course ของการ
ในปัจจุบัน และอยู่ระหว่างการแก้ไขปรับปรุงให้ทะเบียน รักษามักมีคา่ ใช้จา่ ยประมาณ 5,000 บาทต่อน้ำหนักตัวผูป้ ว่ ย
ตำรับยามีข้อมูลบางส่วนเพิ่มเติมให้สมบูรณ์มากขึ้น ทั้งนี้ 1 กิโลกรัม จึงอาจก่อให้เกิดค่าใช้จ่ายที่สูญเปล่าจำนวนมาก
เพือ่ ประกันความปลอดภัย ประสิทธิผล และคุณภาพมาตรฐาน จนอาจส่งผลเสียต่อความยัง่ ยืนของระบบสวัสดิการการรักษา
ที่สำคัญเช่น การคัดกรองผู้บริจาคโลหิตเพื่อลดความเสี่ยง พยาบาลและระบบประกันสุขภาพของประเทศได้ หากมีการ
การติดเชื้อจากผลิตภัณฑ์ กระบวนการการกำจัดไวรัสหรือ ใช้ยาโดยปราศจากการควบคุมอย่างมีประสิทธิภาพ
ทำให้ไวรัสหมดฤทธิ์และการตรวจสอบความถูกต้องของ
กระบวนการดังกล่าว เป็นต้น
กลไกการออกฤทธิ์ของ IVIG ที่ช่วยในการปรับสมดุลให้
กับระบบภูมคิ มุ้ กัน (immunomodulation) ยังไม่เป็นทีเ่ ข้าใจ
กันอย่างสมบูรณ์ แต่เชือ่ ว่าเกิดจากหลายกลไกทีป่ ระสานการ
ทำงานกันอย่างเป็นระบบได้แก่ ผลที่เกิดจากการจับกับ Fc

คู่มือการใช้ยาอย่างสมเหตุผลตามบัญชียาหลักแห่งชาติ บัญชี จ(2) 41


Human normal immunoglobulin, intravenous (IVIG) > ข้อบ่งใช้ตามบัญชียาหลักแห่งชาติ
ยังคงดำเนินอยู่เช่นยังคงมีการเพิ่มสูงขึ้นของ CRP หรือ
5.1 ข้อบ่งใช้ตามบัญชียาหลักแห่งชาติ
ESR
ข้อมูลต่อไปนี้เป็นรายละเอียดที่สอดคล้องกับข้อบ่งใช้ แม้ว่า glucocorticoids (ก) จะช่วยลดการอักเสบได้
ตามบัญชียาหลักแห่งชาติ ผู้ใช้ยาควรศึกษารายละเอียดที่ เร็วกว่า แต่ยงั ไม่ทราบว่าการให้รว่ มกับ IVIG ในระยะแรกของ
เกี่ยวข้องกับข้อบ่งใช้อื่นจากแหล่งข้อมูลอื่นก่อนใช้ยา การรักษาจะเป็นประโยชน์หรือไม่ จึงยังไม่แนะนำให้ใช้ •
มีรายงานการใช้ pentoxifylline ซึ่งเป็นสารประกอบ
5.1.1 โรคคาวาซากิระยะเฉียบพลัน (acute phase of methyl xanthine ที่มีฤทธิ์เจาะจงต่อการยับยั้ง TNF-a
Kawasaki disease) messenger RNA transcription ซึ่งมีความสำคัญต่อ
Kawasaki disease (KD) เรียกอีกชื่อว่า mucocuta- กระบวนการอักเสบ โดยใช้เป็นยาเสริมในการรักษามาตรฐาน
neous lymph node syndrome เป็นหนึ่งในโรคหลอด แต่มหี ลักฐานสนับสนุนประสิทธิผลของยาในผูป้ ว่ ยจำนวนน้อย
เลือดอักเสบทีพ่ บบ่อยทีส่ ดุ ในเด็ก มากกว่าร้อยละ 80 พบใน ในขณะนี้บทบาทของยาจึงยังไม่แน่นอน ยานี้ไม่จัดเป็นยา
เด็กอายุต่ำกว่า 5 ขวบ ในประเทศญี่ปุ่นมีอุบัติการณ์ของ ในบัญชียาหลักแห่งชาติ
โรคสูงกว่าประเทศอื่นโดยมีอุบัติการณ์สูงถึง 67 : 100,000 มีผู้ป่วยประมาณร้อยละ 10-15 ที่ไม่ตอบสนองต่อ
ในเด็กอายุตำ่ กว่า 5 ปี ในขณะทีใ่ นสหรัฐอเมริกาพบรายงาน การรักษาด้วยยา IVIG ในครั้งแรกโดยยังคงมีไข้หลังจากให้
เพียง 6-7 : 100,000 ในประเทศไทยยังไม่มีรายงาน ยาไปนาน 36 ชั่วโมง หรือมีไข้กลับมาภายใน 48 ชั่วโมง
อุบตั กิ ารณ์ของประเทศ แต่จากรายงานในบริเวณตอนกลาง ผู้ป่วยเหล่านี้ควรได้รับการรักษาซ้ำด้วย IVIG เพื่อลดอัตรา
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือพบผู้ป่วย 2.2 ต่อแสนของเด็กที่ การเกิดหลอดเลือดแดงโคโรนารีโ่ ป่งพอง ทัง้ นีไ้ ม่ควรรักษาซ้ำ
อายุน้อยกว่า 5 ปี จนกระทั่ง 36 ชั่วโมงหลังจากที่ให้ยา IVIG เสร็จแล้ว
ผู้ป่วยทุกคนจะมีไข้เป็นอาการสำคัญ ร่วมกับการแสดง เนื่องจากไข้ที่เป็นก่อนเวลานี้ อาจเป็นปฏิกิริยาจากยาที่ให้
ลั ก ษณะทางคลิ นิ ก ที่ บ่ ง ถึ ง การอั ก เสบแบบเฉี ย บพลั น ผูป้ ว่ ยบางคนจะตอบสนองต่อยา IVIG ทีใ่ ห้ซำ้ เป็นครัง้ ทีส่ อง
(เช่นตาแดง ต่อมน้ำเหลืองโต ESR สูง เม็ดเลือดขาวเพิ่ม แต่มีผู้ป่วยบางรายที่ดื้อต่อการรักษา ซึ่งผู้ป่วยกลุ่มนี้จะมี
สูงขึน้ ในเลือด) โดยเฉลีย่ จะมีอาการอยูน่ านประมาณ 12 วัน ความเสี่ยงมากที่สุดต่อการเกิดหลอดเลือดแดงโคโรนารี่
Kawasaki disease เป็นโรคที่หายได้เอง แต่หากไม่ได้รับ โป่งพอง ผู้ป่วยกลุ่มนี้อาจพิจารณาให้ยากดภูมิคุ้มกัน (เช่น
การรักษาผู้ป่วยมากถึงร้อยละ 80 อาจเกิดภาวะแทรกซ้อน glucocorticoids) ยาต้าน tumor necrosis factor หรือ
ที่หลอดเลือดแดงโคโรนารี่ โดยเฉพาะอย่างยิ่งภาวะหลอด plasma exchange (plasmapheresis)
เลือดโป่งพอง ซึ่งนำไปสู่การอุดตันของหลอดเลือดและการ การใช้ IVIG ให้เกิดประโยชน์สูงสุดในโรค Kawasaki
ขาดเลือดเฉพาะทีข่ องหัวใจ การวินจิ ฉัยโรคอย่างแม่นยำและ ควรใช้ให้ถูกต้องตามหลักเกณฑ์และเงื่อนไขการสั่งใช้ยา
การให้ยาทีช่ ว่ ยปรับสมดุลให้กบั ระบบภูมคิ มุ้ กันอย่างทันท่วง อย่างเคร่งครัด
ทีมคี วามสำคัญในการป้องกันโรคแทรกซ้อนและการเสียชีวติ
ของผู้ป่วย
American Heart Association (AHA) และ American
Academy of Pediatrics (AAP) แนะนำให้ใช้ IVIG จ(2)
เป็นมาตรฐานการรักษา โดยให้รว่ มกับ aspirin (ก) เพือ่ ช่วย
ในการลดไข้และการอักเสบ โดยแนะนำให้ใช้ IVIG ภายใน
10 วันหลังเริ่มมีอาการ (หากเป็นไปได้ควรให้ภายใน 7 วัน)
การให้ IVIG ภายหลัง 10 วันอาจเป็นประโยชน์เฉพาะกรณี
ที่ไข้ยังไม่ลดลงและไม่พบสาเหตุอื่นของไข้ ผู้ป่วยมีหลอด
เลือดแดงโคโรนารี่โป่งพอง หรือตรวจพบว่าการอักเสบ

42 Thai National Formulary 2010 : Special Access Medicines of National List of Essential Medicines
ข้อบ่งใช้ตามบัญชียาหลักแห่งชาติ < Human normal immunoglobulin, intravenous (IVIG)
ช่วยประหยัดค่าการดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจและ
5.1.2 กลุ่มอาการ Guillain-Barre syndrome ที่มี
อาการรุนแรง การดูแลผูป้ ว่ ยในหน่วยอภิบาลไอซียู วันละประมาณหนึง่ ถึง
สองหมืน่ บาท ทัง้ นีต้ อ้ งวินจิ ฉัยโรคให้ถกู ต้อง และเป็นผูป้ ว่ ย
Guillain-Barre syndrome (GBS) เป็นโรคของ
ทีม่ อี าการรุนแรง โดยมีเกณฑ์การสัง่ ใช้ยาทีช่ ดั เจน เนือ่ งจาก
เส้ น ประสาทหลายเส้ น (polyneuropathy) เกิ ด การ
การใช้ยาในแต่ละ course จะมีค่ายาประมาณ 5,000 บาท
อักเสบเฉียบพลัน และเกิดพยาธิสภาพของปลอกไมอีลิน
ต่อน้ำหนักตัวผูป้ ว่ ย 1 กิโลกรัม หากวินจิ ฉัยโรคอย่างถูกต้อง
หรือแกนประสาท (axon) ซึ่งนำไปสู่ภาวะกล้ามเนื้ออ่อน
คาดว่ามีผู้ป่วย GBS ประมาณ 100 คนต่อปี และมีผู้ป่วย
แรงจนถึงการเป็นอัมพาตของแขนขาทั้งสองข้าง ร่วมกับ
ประมาณร้อยละ 15-30 ที่มีอาการรุนแรงจนต้องใช้เครื่อง
อาการอืน่ ๆ เช่น อัมพาตของกล้ามเนือ้ การหายใจ อัมพาตของ
ช่วยหายใจ
เส้นประสาทสมอง (เช่นมีอาการปากเบี้ยว) ความผิดปกติ
ของประสาทสัมผัส (เช่นชาบริเวณปลายมือ ปลายเท้า) 5.1.3 โรคกล้ามเนื้ออ่อนแรงชนิดร้ายระยะวิกฤต
ความผิ ด ปกติ ข องระบบประสาทอั ตโนมั ติ (เช่ น หั วใจ (myasthenia gravis, acute exacerbation
เต้นเร็วขึ้น) ลักษณะของโรคข้างต้นเป็น GBS ในรูปแบบ หรือ myasthenic crisis)
ของ acute inflammatory demyelinating polyneuropathy
โรคกล้ามเนื้ออ่อนแรงชนิดร้ายระยะวิกฤต เป็นภาวะ
(AIDP) เป็ น รู ป แบบของโรคที่ พ บบ่ อ ยในประเทศแถบ
กล้ามเนือ้ อ่อนแรงทีเ่ ป็นอันตรายถึงชีวติ ในผูป้ ว่ ยโรค myas-
อเมริกาเหนือ และยุโรป
thenia gravis (MG) ที่มีอาการรุนแรงจนทำให้ต้องใส่ท่อ
GBS เป็นกลุ่มอาการที่อาจมีรูปแบบของโรคได้หลาย
ผ่านหลอดลม (intubation) เพื่อช่วยการหายใจ
แบบ เช่น รูปแบบของโรคแบบ acute motor axonal
MG เป็นโรคของการสื่อสัญญาณประสาทที่ลดลงทำให้
neuropathy (AMAN) เป็นรูปแบบของโรคที่พบบ่อยใน
กล้ามเนื้ออ่อนแรง เป็นโรคเรื้อรังซึ่งมีการดำเนินโรคเลวลง
ประเทศจีนตอนเหนือ ญีป่ นุ่ เมกซิโก และอเมริกาใต้ แสดง
อย่างต่อเนื่อง เป็นโรคในกลุ่ม autoimmune disorder
อาการเฉพาะด้านประสาทสัง่ การ (motor) ไม่พบความผิดปกติ
เช่นเดียวกับ Guillain-Barre syndrome (หัวข้อ 5.1.2)
ของประสาทสัมผัส เป็นต้น
โดย MG เป็นโรคที่มีพยาธิสภาพบริเวณเยื่อบุรอยประสาน
สาเหตุของการเกิด GBS ยังไม่ทราบแน่ชัด แต่เชื่อว่า
ประสาทด้านตัวรับ (postsynaptic membrane) อันเป็น
เกิดหลังการติดเชื้อ ซึ่งกระตุ้นระบบภูมิคุ้มกันของร่างกาย
ที่อยู่ของ acetylcholine receptor • ภาวะ autoimmune
ให้มีปฏิกิริยาต่อแอนติเจนที่เส้นประสาทส่วนปลาย ขณะ
(antibody mediated, T-cell dependent) ซึ่งเกิดขึ้น
แสดงอาการของโรคจะไม่พบว่าผู้ป่วยมีไข้ โรคนี้พบได้ทั้ง
โดยไม่ทราบสาเหตุ (แต่อาจมีต้นกำเนิดจากต่อมไทมัส) ทำ
ในเด็กและผู้ใหญ่ แต่พบในเด็กได้ไม่บ่อย
การทำลาย acetylcholine receptor ให้มปี ริมาณลดลงเรือ่ ยๆ
การรักษาที่เป็นมาตรฐานคือ plasma exchange (PE)
จนไม่เพียงพอต่อการเคลื่อนไหวกล้ามเนื้อตามปกติ เช่น
(plasmapheresis) หรือให้ยา IVIG จ(2) ซึ่งมีประสิทธิผล
ผูป้ ว่ ยอาจเคีย้ วอาหารไปได้พกั หนึง่ แล้วเคีย้ วต่อไม่ได้ เพราะ
ไม่แตกต่างกันหากให้ยาภายใน 2 สัปดาห์หลังเริ่มมีอาการ
กล้ามเนื้อขากรรไกรเริ่มไม่มีกำลัง
การให้การรักษาทัง้ สองวิธรี ว่ มกันไม่เกิดประโยชน์ การพิจารณา
MG อาจถูกกระตุ้นให้มีอาการรุนแรงอย่างฉับพลันด้วย
ให้การรักษาแบบใดนั้น ขึ้นอยู่กับภาวะของผู้ป่วย ดุลยพินิจ
ปัจจัยหลายประการ ที่พบบ่อยที่สุดคือเกิดขึ้นร่วมกับการ
ของแพทย์ และความพร้อมของสถานพยาบาล การรักษา
ติดเชื้อ หรืออาจเกิดขึ้นขณะตั้งครรภ์ คลอดลูก ภายหลัง
ด้วยสเตรอยด์ซึ่งเดิมใช้เป็นยาหลักในการรักษาในปัจจุบัน
การผ่าตัด ระหว่างการลดยากดภูมิคุ้มกัน การได้รับยา
พบว่าไม่มีประโยชน์และไม่มีที่ใช้ในปัจจุบัน
บางชนิดเช่น aminoglycoside, erythromycin, azithro-
ประสิทธิผลของการให้ IVIG ในผู้ป่วย GBS ที่มีอาการ
mycin, beta-blocker, procainamide และ quinidine
รุนแรง หากให้ยาทันเวลา (ภายใน 14 วัน) จะทำให้ถอด
รวมทั้ง magnesium นอกจากนี้ภาวะวิกฤตนี้อาจขึ้นเอง
เครือ่ งช่วยหายใจออกได้เร็วขึน้ 9 วัน (จากค่าเฉลีย่ 23 วัน)
จากการดำเนินโรคตามปกติของ MG

คู่มือการใช้ยาอย่างสมเหตุผลตามบัญชียาหลักแห่งชาติ บัญชี จ(2) 43


Human normal immunoglobulin, intravenous (IVIG) > ข้อบ่งใช้ตามบัญชียาหลักแห่งชาติ
ในภาวะวิกฤต การเป็นอัมพาตของกล้ามเนือ้ ทีเ่ กีย่ วข้อง
5.1.4 autoimmune hemolytic anemia (AIHA) ที่ไม่
กับการหายใจ เป็นอาการเร่งด่วนที่ต้องได้รับการแก้ไข ตอบสนองต่อการรักษาตามขั้นตอนของมาตรฐาน
การเป็นอัมพาตของกล้ามเนื้อที่เกี่ยวกับการกลืน (bulbar การรักษา และมีอาการรุนแรงที่อาจเป็นอันตราย
weakness) ทำให้เกิดการสำลัก ยิ่งทำให้การแก้ไขปัญหา ถึงแก่ชีวิต
การหายใจล้มเหลวมีความยุ่งยากมากขึ้น โรค autoimmune hemolytic anemia (AIHA) เป็น
การรักษาโรคกล้ามเนื้ออ่อนแรงชนิดร้ายระยะวิกฤต ความผิดปกติที่เกิดจากผู้ป่วยสร้างภูมิต้านทานต่อเม็ดเลือด
เริ่มต้นด้วยการรับผู้ป่วยไว้ในไอซียู ติดตามวัด force vital แดงของตนเอง (autoantibody) ทำให้เกิดการทำลายเม็ด
capacity (FVC) เป็นระยะๆ อย่างใกล้ชิด เพื่อให้สามารถ เลือดแดงในร่างกายก่อนกำหนด ในภาวะทีเ่ กิดการสลายของ
ใส่ท่อทางหลอดลมเพื่อช่วยการหายใจได้อย่างทันท่วงทีเมื่อ เม็ดเลือดแดงทีร่ นุ แรง ไขกระดูกจะไม่สามารถสร้างเม็ดเลือด
FVC ลดต่ำลงมากหรือเมื่อผู้ป่วยเริ่มมีอาการหายใจลำบาก แดงใหม่ชดเชยเม็ดเลือดแดงที่เสียไปได้อย่างเพียงพอส่งผล
เริ่มการรักษาด้วย plasma exchange (plasmapheresis) ให้เกิดอาการต่างๆ จากภาวะเลือดจางตามมา โรคนีพ้ บได้ทงั้
หรือ IVIG จ(2) ตามด้วยสเตรอยด์ในขนาดสูง หากมีขอ้ ห้าม ในเด็กและผู้ใหญ่
ใช้ ส เตรอยด์ ห รื อ เคยใช้ แ ล้ ว ไม่ ไ ด้ ผ ล อาจพิ จ ารณาใช้ การแบ่งประเภทของโรคสามารถแบ่งออกเป็น 2 ลักษณะ
azathioprine (ค) cyclosporine (ค) หรือ mycophenolate กล่าวคือ แบ่งตามชนิดของออโตแอนติบอดีเป็นชนิด warm
mofetil (ง) และชนิด cold หรือแบ่งตามสาเหตุ เป็นชนิดไม่ทราบสาเหตุ
ประสิทธิผลการรักษาโดยให้ยา IVIG ไม่แตกต่างจาก (idiopathic หรือ primary AIHA) และชนิดทราบสาเหตุ
การทำ plasma exchange (plasmapheresis) แต่ plas- (secondary AIHA) เช่นกรณี AIHA ที่เกิดร่วมกับโรค
mapheresis เริม่ ให้ผลการรักษาเร็วกว่า คือภายใน 1-7 วัน systemic lupus erythematosus (SLE) พบร่วมกับโรคมะเร็ง
ในขณะที่ IVIG เริ่มให้ผลการรักษาภายใน 1-2 สัปดาห์ บางชนิดเช่น chronic lymphocytic leukemia (CLL)
การรักษาทัง้ สองใช้เวลาเท่ากันก่อนทีจ่ ะให้ผลการรักษาสูงสุด หรือเกิดตามหลังการติดเชื้อไวรัส (กรณีหลังนี้มักพบในเด็ก)
คือ ประมาณ 1-3 สัปดาห์ ซึง่ การพิจารณาให้การรักษาแบบใด มียาหลายชนิดทีก่ ระตุน้ ให้เกิดภาวะ AIHA โดยเฉพาะอย่างยิง่
ขึ้นกับลักษณะผู้ป่วย ดุลยพินิจของแพทย์และความพร้อม ยาปฏิชีวนะ และ NSAID ลักษณะอาการทางคลินิกของ
ของสถานพยาบาล ผู้ป่วยโรค AIHA ส่วนใหญ่จะมาพบแพทย์ด้วยอาการนำที่
ขนาดยา IVIG ที่ให้อาจให้ 1-2 กรัม/กิโลกรัม โดยมี เกีย่ วข้องกับภาวะเลือดจาง เมือ่ ตรวจร่างกายพบอาการแสดง
หลักฐานว่าการให้ยาในขนาด 1 กรัม/กิโลกรัม มีประสิทธิผล เช่น ซีด ดีซา่ น อาจมีตบั และม้ามโต หากภาวะเลือดจางอยูใ่ น
ไม่แตกต่างจากการให้ยาในขนาด 2 กรัม/กิโลกรัม เมื่อให้ยา ขั้นวิกฤตอาจเกิดภาวะหัวใจล้มเหลว หมดสติ ช็อค และ
ในขนาดที่ต้องการครบถ้วนแล้ว จะไม่มีการให้ IVIG ซ้ำอีก เสียชีวิตได้
ในการรักษาแต่ละครั้ง AIHA ชนิด warm agglutinin ส่วนใหญ่เป็นชนิด
idiopathic มีแอนติบอดีชนิด IgG ทีท่ ำการจับกับโปรตีนบน
ผิวของเม็ดเลือดแดง ณ อุณหภูมิปกติของร่างกาย (37oC)
ในเด็กโรคนี้มักเกิดตามหลังการติดเชื้อไวรัสและหายได้เอง
ภายใน 1-3 เดือน ส่วนในผูใ้ หญ่โรคนีจ้ ะเป็นโรคเรือ้ รัง และอาจ
ดำเนินไปสูภ่ าวะเลือดจางขัน้ วิกฤติได้ ผูป้ ว่ ยประมาณร้อยละ
60-70 จะตอบสนองต่อการรักษาด้วยคอร์ตโิ คสเตรอยด์ (ก)
ซึง่ ช่วยลดการสร้างแอนติบอดีและเป็นยาขนานแรกทีค่ วรใช้
โดยมียากดภูมิคุ้มกันหรือยาที่เป็นพิษต่อเซลล์ เช่น aza-
thioprine (ค) cyclophosphamide (ค) cyclosporine (ค)

44 Thai National Formulary 2010 : Special Access Medicines of National List of Essential Medicines
ข้อบ่งใช้ตามบัญชียาหลักแห่งชาติ < Human normal immunoglobulin, intravenous (IVIG)
mycophenolate mofetil (ง) ตลอดจนการตัดม้าม
5.1.5 hemophagocytic lymphohistiocytosis
(splenectomy) เป็นทางเลือกขั้นต่อไปของการรักษา เมื่อ (HLH)
การรักษาข้างต้นล้มเหลวและผูป้ ว่ ยมีภาวะเลือดจางขัน้ วิกฤติ
ที่อาจเป็นอันตรายถึงชีวิต จึงใช้ IVIG จ(2) เป็นทางเลือก โรค hemophagocytic lymphohistiocytosis (HLH)
ลำดับถัดไป ทั้งนี้เพราะสำหรับโรคนี้ IVIG มีประสิทธิผลต่ำ หรือที่เรียกในชื่ออื่นๆ ว่า autosomal recessive familial
กล่าวคือได้ผลเพียงประมาณร้อยละ 40 ของผู้ป่วยและ hemophagocytic lymphohistiocytosis (FHL), familial
ในบางกรณีอาจต้องใช้ยาในขนาดสูงกว่าปกติถึง 2 เท่า erythrophagocytic lymphohistiocytosis (FEL) และ
(1 กรัม/กิโลกรัม/วัน นาน 5 วัน) นอกจากนีผ้ ลทีไ่ ด้ยงั ดำรง viral-associated hemophagocytic syndrome (VAHS)
อยู่เพียงชั่วคราวคือไม่เกิน 3 สัปดาห์ การขจัดสิ่งกระตุ้น หรือ infection associated hemophagocytic syndrome
การสร้าง autoantibody เป็นสิ่งจำเป็น เช่น การหยุดยา (IAHS) • HLH เป็นโรคที่อาจคุกคามต่อชีวิตของผู้ป่วย
บางชนิดที่ผู้ป่วยใช้อยู่ (เช่น ยาปฏิชีวนะ และ NSAID) โดยพบบ่อยที่สุดในเด็กทารกตั้งแต่แรกเกิดจนถึงอายุ 18
ไม่แนะนำให้ใช้ IVIG เป็นประจำในการรักษาโรค AIHA เดือน แต่มีรายงานการพบได้บ้างในเด็กโตและผู้ใหญ่ โรค
และไม่อนุมัติให้ใช้ในเด็กเนื่องจากไม่มีหลักฐานสนับสนุน HLH มีสาเหตุจากปัจจัยหลายประการ เช่น พันธุกรรม
และเด็กส่วนใหญ่ไม่ตอบสนองต่อการรักษาด้วย IVIG โดย การติดเชื้อไวรัสชนิดต่างๆ (เช่น HIV, herpes simplex,
IVIG อาจนำมาพิจารณาเป็นทางเลือกหนึง่ สำหรับการรักษา varicella-zoster และ measles) ภาวะภูมติ า้ นทานต่อต้าน
โรค AIHA ที่เป็นอันตรายและคุกคามต่อชีวิตและเป็นไป ตนเอง (เช่น lupus erythematosus และ rheumatoid
ตามข้อกำหนดของแนวทางกำกับการใช้ยาเท่านั้น arthritis) และมะเร็งบางชนิด (เช่นมะเร็งเม็ดเลือดขาว
cold agglutinin มีแอนติบอดีชนิด IgM ที่ทำการจับ และมะเร็งต่อมน้ำเหลือง) รวมทั้งภาวะภูมิคุ้มกันบกพร่อง
กับโปรตีนบนผิวของเม็ดเลือดแดง ซึ่งถูกกระตุ้นให้เกิดขึ้น ปฐมภูมิและโรคคาวาซากิ เป็นต้น
ด้วยการติดเชื้อหรือจากมะเร็งบางชนิด เช่น มะเร็งปุ่ม โรค HLH เป็นกลุ่มอาการที่มีลักษณะสำคัญคือ มีไข้
น้ำเหลือง (lymphoma) การจับกับโปรตีนจะเกิดขึน้ ทีอ่ ณ
ุ หภูมิ ม้ามโต มี cytopenia อย่างน้อย 2 ระบบขึ้นไป มีการตรวจ
ต่ำกว่าอุณหภูมิปกติของร่างกาย ผู้ป่วยในกลุ่มนี้จะมีภาวะ พบระดับไตรกลีเซอไรด์สูงในเลือดหรือระดับไฟบริโนเจนต่ำ
เลือดจางที่ไม่รุนแรง จะตรวจพบ direct antiglobulin ในเลือดอย่างใดอย่างหนึ่งหรือทั้งสองอย่างร่วมกัน ร่วมกับ
(Coomb’s) test (Anti-C3) ให้ผลบวก ในขณะที่ตรวจ การตรวจพบภาวะเม็ ด เลื อ ดถู ก กิ นโดย macrophage
Anti-IgG ให้ผลลบ การทำลายเม็ดเลือดแดงจะเกิดขึ้นที่ตับ (hemophagocytosis) ในเนื้อเยื่อของต่อมน้ำเหลืองหรือ
ไม่ใช่ที่ม้าม การรักษาที่มีประโยชน์ที่สุดคือการให้ผู้ป่วย ไขกระดูก
หลีกเลีย่ งความเย็น ด้วยการแต่งกายด้วยเครือ่ งแต่งกายทีม่ ี เนื่องจากโรค HLH เป็นโรคที่วินิจฉัยได้ยาก เป็นโรคที่
ความอบอุ่นตลอดเวลา แม้เป็นช่วงที่อากาศไม่หนาวเย็น มีอตั ราการเสียชีวติ สูงมาก และการรักษาโรคมีความซับซ้อน
ทางเลือกในการรักษาประกอบด้วย cyclophosphamide ผู้ป่วยจึงควรได้รับการดูแลจากแพทย์เฉพาะทางในอนุสาขา
(ค) chlorambucil (ค) rituximab และ plasmepheresis โลหิตวิทยาและมะเร็งในเด็กอย่างเร่งด่วน
ส่วนคอร์ตโิ คสเตรอยด์ (ก) IVIG จ(2) และการตัดม้ามแทบ แนวทางการรักษาที่ใช้เป็นมาตรฐานในหลายประเทศ
ไม่มีประโยชน์สำหรับผู้ป่วยกลุ่มนี้ และไม่แนะนำให้ใช้ ทั่วโลกอ้างอิงจาก HLH-94 protocol (ต่อมาพัฒนาเป็น
HLH-2004 protocol) ของสมาคม histiocyte แห่ง
ประเทศสหรัฐอเมริกา โดยการใช้ยา dexamethasone (ก)
etoposide (ค) cyclosporine (ค) และ methotrexate
(ค) ร่วมกันอย่างเป็นขัน้ ตอน ตามด้วยการปลูกถ่ายไขกระดูก
ซึ่งเป็นทางเลือกที่ดีที่สุดสำหรับผู้ป่วยบางรายในการรักษา
โรคให้หายขาด

คู่มือการใช้ยาอย่างสมเหตุผลตามบัญชียาหลักแห่งชาติ บัญชี จ(2) 45


Human normal immunoglobulin, intravenous (IVIG) > ข้อบ่งใช้ตามบัญชียาหลักแห่งชาติ
ยา IVIG ไม่ได้ขึ้นทะเบียนในสหรัฐอเมริกาสำหรับโรค 5.1.6 โรค idiopathic thrombocytopenic purpura
HLH ข้อมูลการใช้เป็นหลักฐานจาก case report หรือ (ITP) ชนิดรุนแรง
case series ในผู้ป่วยน้อยราย เป็นรายงานที่ค่อนข้างเก่า
และมักใช้ยาร่วมกับการรักษาอื่น เช่น การให้เม็ดเลือดแดง โรค idiopathic thrombocytopenic purpura (ITP)
เป็นโรคเนื่องจากความผิดปกติของระบบภูมิคุ้มกันสร้างภูมิ
จึงไม่สามารถสรุปประสิทธิผลของยาได้อย่างชัดเจน (incon-
ต้านทานต่อเกล็ดเลือดของตนเอง (autoantibody) ทำให้
clusive evidence) แต่ยาอาจมีประโยชน์ในผู้ป่วยบางราย
เกล็ดเลือดถูกทำลายก่อนกำหนด เกิดภาวะเลือดออกได้ง่าย
โดยเฉพาะผูท้ ม่ี ภี าวะ HLH ชนิดร้ายแรงทีค่ กุ คามต่อชีวติ เมือ่ ในภาวะเลือดออกที่รุนแรงอาจคุกคามต่อชีวิตของผู้ป่วยได้
พิจารณาจากอาการและการเจาะไขกระดูก ที่ไม่มีทางเลือก ม้ามเป็นอวัยวะสำคัญทีท่ ำหน้าทีท่ ำลายเกล็ดเลือดทีม่ ลี กั ษณะ
อื่นในการรักษา ยานี้จึงได้รับการบรรจุไว้ในบัญชียาหลัก ผิดปกติ
แห่งชาติบญั ชี จ(2) เพือ่ เพิม่ ทางเลือกในการรักษา แต่ไม่ควร โรคนี้พบได้ทั้งในเด็กและผู้ใหญ่ ในต่างประเทศพบ
ใช้เป็นประจำเนื่องจากยามีประสิทธิผลไม่มากนัก รายงาน อุบตั กิ ารณ์การเกิดโรคในเด็กประมาณ 3-8 รายต่อ 100,000
จากประเทศแคนาดาพบว่าผูป้ ว่ ย severe life-threatening ประชากรต่อปี ในผู้ใหญ่พบประมาณ 2.2 รายต่อ 100,000
HLH ที่ได้รับการรักษาด้วย IVIG ยังคงมีอัตราการเสียชีวิต ประชากรต่อปี โดยมักพบในเพศหญิงในช่วงวัยเจริญพันธุ์
สูงถึงร้อยละ 50 (จำนวนผู้ป่วยที่ศึกษา 32 คน) การชะลอ อาการในเด็กมักเป็นแบบเฉียบพลัน ส่วนอาการในผูใ้ หญ่มกั
การรักษาด้วยวิธมี าตรฐาน (สเตรอยด์และเคมีบำบัด) ออกไป ค่อยเป็นค่อยไป โดยไม่มีการติดเชื้อไวรัสหรือการเจ็บป่วย
เพื่อทดลองใช้ IVIG เป็นสิ่งที่ไม่ควรปฏิบัติ นำมาก่อน
ลักษณะทางคลินิก เริ่มตั้งแต่ไม่มีอาการหรือมีอาการ
การใช้ยา IVIG ให้เกิดประโยชน์สูงสุดในโรค HLH จึง
เพียงเล็กน้อย เช่นมีจำ้ เลือดเกิดขึน้ ง่าย มีเลือดออกตามไรฟัน
ควรใช้ภายใต้การดูแลของแพทย์เฉพาะทางผูม้ คี วามชำนาญ จนถึงมีภาวะเลือดออกทีร่ นุ แรง เช่น เลือดออกในสมอง โดย
ในโรคนี้ ในสถานพยาบาลทีม่ คี วามพร้อม และใช้อย่างถูกต้อง ทั่ วไปมั กไม่ ค่ อ ยพบภาวะเลื อ ดออกที่ รุ น แรง ผู้ ป่ ว ยที่ มี
ตามหลักเกณฑ์และเงื่อนไขการสั่งใช้ยาอย่างเคร่งครัด เกล็ดเลือดมากกว่า 30,000/ลูกบาศก์มลิ ลิเมตร มักไม่จำเป็น
ต้องได้รับการรักษา นอกจากผู้ป่วยจะอยู่ในภาวะที่อาจทำ
ให้เสียเลือด เช่น การผ่าตัด การถอนฟัน หรือการคลอดบุตร
ทางเลือกในการรักษาประกอบด้วย การตัดม้าม การกินยา
คอร์ตโิ คสเตรอยด์ การให้ยา IVIG จ(2) ซึง่ พิจารณาให้ได้ใน
2 กรณี คือ (ก) absolute Indication สำหรับผู้ป่วยโรค
ITP ทีม่ จี ำนวนเกล็ดเลือดน้อยกว่า 20,000/ลูกบาศก์มลิ ลิเมตร
ร่วมกับมีภาวะเลือดออกรุนแรงที่คุกคามต่อชีวิต ได้ แ ก่
ภาวะเลือดออกในอวัยวะสำคัญ (เช่น สมอง ปอด ช่องท้อง
ช่องอก และทางเดินอาหาร) โดยให้ร่วมกับยาคอร์ติโคสเต
รอยด์และการให้เกล็ดเลือด (ข) relative Indication สำหรับ
ผูป้ ว่ ยโรค ITP ทีจ่ ำเป็นต้อง ได้รบั การตัดม้าม ภายหลังได้รบั
ยาคอร์ตโิ คสเตรอยด์ และ anti-Rho (D) immune globulin
แล้วจำนวนเกล็ดเลือดยังคงน้อยกว่า 50,000 ลูกบาศก์มลิ ลิเมตร
ยา IVIG ไม่ใช่ทางเลือกแรกในการรักษาโรค ITP
เนื่องจากเป็นยาที่มีผลข้างเคียงที่รุนแรงและมีราคาแพง
จึงควรสงวนไว้ใช้ยามฉุกเฉินหรือใช้กับผู้ที่ยังมีปัญหาเลือด
ออกดำเนินอยู่หลังจากได้รับการรักษามาตรฐานอื่นๆ แล้ว
ได้แก่คอร์ติโคสเตรอยด์ anti-Rho (D) immune globulin
และการให้เกล็ดเลือด

46 Thai National Formulary 2010 : Special Access Medicines of National List of Essential Medicines
ข้อบ่งใช้ตามบัญชียาหลักแห่งชาติ < Human normal immunoglobulin, intravenous (IVIG)

5.1.7 โรค pemphigus vulgaris ทีม่ อี าการรุนแรง และ 5.1.8 โรคภูมิคุ้มกันบกพร่องปฐมภูมิ (primary immu-
ไม่ตอบสนองต่อการรักษาด้วยยามาตรฐาน nodeficiency diseases)
pemphigus vulgaris (PV) เป็นโรคที่เกิดภูมิต้านทาน ผู้ป่วยที่เป็นโรคภูมิคุ้มกันบกพร่องปฐมภูมิ (primary
(IgG) ต่อเซลล์ผิวหนังของตนเอง ทำให้เกิดการหลุดลอก immunodeficiency diseases) จะขาดกลไกสำคัญในการ
แยกตัวของหนังกำพร้าและเยือ่ บุ พบได้บอ่ ยในช่วงอายุ 50-60 ป้องกันตัวต่อเชื้อก่อโรคทั่วไป ทำให้ต้องทนทุกข์ทรมานต่อ
ปี โดยพบในชายและหญิงเท่าๆ กัน มักพบรอยโรคทีห่ นังศีรษะ การติดเชื้อที่รุนแรงถึงชีวิตตลอดชีวิตของผู้ป่วย การติดเชื้อ
ใบหน้า คอ รักแร้ ลำตัว และในช่องปาก รายทีม่ กี ารดำเนิน ดังกล่าวจะทำลายอวัยวะหลายส่วนอย่างถาวร โดยเฉพาะ
ของโรคอย่างรุนแรงอาจพบรอยโรคที่คอหอย กล่องเสียง ปอดและทางเดินอาหาร ส่งผลให้เกิดการติดเชื้อได้บ่อยขึ้น
หลอดอาหาร เยื่อตา อวัยวะเพศหญิงภายนอก (vulva) และรุนแรงขึ้น ทั้งนี้มีหลายภาวะที่เป็นโรคทางพันธุกรรม
และไส้ตรง ซึง่ เริม่ แรกอาจมีอาการคัน ต่อมามีการหลุดลอก และไม่สามารถรักษาให้หายขาดได้ จึงต้องให้การรักษาด้วย
ของผิวหนังจนเกิดแผลถลอก รอยโรคเหล่านี้มักหายไปโดย replacement immunoglobulin therapy ตลอดชีวิต จึง
ไม่เกิดแผลเป็น แต่มักเกิดรอยดำ (postinflammatory มีคา่ ใช้จา่ ยทีส่ งู มากโดยเฉพาะอย่างยิง่ เมือ่ ผูป้ ว่ ยมีนำ้ หนักตัว
hyperpigmentation) ตามมา หากมีการติดเชื้อแทรกซ้อน เพิ่มมากขึ้น
หรือเป็นแผลลึกถึงชัน้ หนังแท้จะทำให้เกิดแผลเป็นได้ ในราย ยา IVIG จ(2) มีประโยชน์ในการลดอุบตั กิ ารณ์ของการ
ที่เป็นรุนแรงมากอาจมีแผลเหมือนแผลไฟไหม้ ซึ่งอาจทำให้ ติดเชื้อแบคทีเรียในทางเดินหายใจส่วนบนและส่วนล่าง
ผูป้ ว่ ยเสียชีวติ ความรุนแรงของโรคแบ่งตามพืน้ ทีผ่ น่ื โดยแบ่ง ลดการใช้ยาปฏิชวี นะลง ผูป้ ว่ ยต้องเข้ารักษาตัวในโรงพยาบาล
เป็น ก. ระดับอ่อนคือ มีพื้นที่ผื่น < 10% ของพื้นที่ผิวกาย น้อยครั้งลง การทำงานของปอดดีขึ้น การเจริญเติบโตและ
ข. ระดับปานกลางคือ มีพนื้ ทีผ่ นื่ 10-30% ของพืน้ ทีผ่ วิ กาย คุณภาพชีวติ ดีขนึ้ การใช้ยา IVIG จึงเป็นวิธรี กั ษาทีช่ ว่ ยรักษา
ค. ระดับรุนแรงคือ มีพื้นที่ผื่น > 30% ของพื้นที่ผิวกาย ชีวิต และเพิ่มคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยโรคภูมิคุ้มกันบกพร่อง
จำนวนผู้ป่วยระดับรุนแรงที่โรงพยาบาลศิริราชมีประมาณ ปฐมภูมิ
15-20 รายต่อปี โรคนี้แม้ว่าจะพบได้น้อยแต่ก็ทำให้ผู้ป่วย การจะทำให้ผปู้ ว่ ยเข้าถึงยาได้อย่างทัว่ ถึง และสร้างความ
7 ใน 10 รายเสียชีวิตได้ มีอุบัติการณ์การเกิดโรคนี้ทั่วโลก ยั่งยืนให้กับระบบการเงินของหน่วยงานสิทธิประโยชน์และ
ระหว่าง 0.5-3.2 รายต่อประชากร 100,000 คน สวัสดิการด้านสุขภาพ จำเป็นต้องมีการกำหนดเกณฑ์การใช้
ทางเลือกในการรักษาประกอบด้วย plasma exchange และการติดตามการใช้อย่างเคร่งครัด เพื่อควบคุมการใช้ยา
(plasmapheresis) เคมีบำบัด ยากดภูมคิ มุ้ กัน และการให้ยา ให้เป็นไปอย่างคุ้มค่า
IVIG จ(2) ซึ่งการรักษาให้เริ่มด้วย prednisolone (ก) กำหนดให้ใช้ยา IVIG ได้ในโรคภูมคิ มุ้ กันบกพร่องปฐมภูมิ
สำหรับผู้ป่วยที่ไม่ตอบสนองต่อ prednisolone และผู้ป่วย ประเภทใดประเภทหนึง่ ดังนี้ โดยมีการระบุชอื่ โรคอย่างชัดเจน
ระดับปานกลางถึงรุนแรงให้คงยาไว้ แล้วเพิม่ ยากดภูมคิ มุ้ กัน ตามตารางที่ 1
เช่น cyclophosphamide (ค) หรือ azathioprine (ค) 1. ผู้ป่วยโรคภูมิคุ้มกันบกพร่องปฐมภูมิประเภทที่ขาด B
เนื่องจากข้อมูลการใช้ยา IVIG ในโรคนี้ยังมีจำกัด จึงไม่ cell เช่น X-linked agammaglobulinemia, severe com-
ทราบประสิทธิผลรวมถึงความปลอดภัยทีแ่ น่ชดั ยา IVIG จึง bined immunodeficiency
ควรใช้เฉพาะเมื่อผู้ป่วยมีอาการรุนแรงและได้รับการรักษา 2. ผูป้ ว่ ยโรคภูมคิ มุ้ กันบกพร่องปฐมภูมปิ ระเภททีม่ ปี ริมาณ
ด้วยวิธอี นื่ แล้วไม่ได้ผล อนึง่ การรักษาด้วยยา IVIG ในผูป้ ว่ ย immunoglobulin ต่ำ และมีความผิดปกติในการสร้าง
โรค pemphigus vulgaris 1 รายมีค่าใช้จ่ายประมาณ 2 specific antibody เช่น common variable immuno-
ล้านบาท เนื่องจากต้องให้การรักษาหลาย cycle ซึ่งเป็น deficiency, hyper-IgM syndrome
ค่าใช้จา่ ยทีส่ งู มาก จึงต้องใช้ยานีภ้ ายใต้หลักเกณฑ์และเงือ่ นไข 3. ผู้ป่วยโรคภูมิคุ้มกันบกพร่องปฐมภูมิประเภทที่มีปริมาณ
การสั่งใช้ยาอย่างเคร่งครัด immunoglobulin ปกติ แต่มีความผิดปกติในการสร้าง

คู่มือการใช้ยาอย่างสมเหตุผลตามบัญชียาหลักแห่งชาติ บัญชี จ(2) 47


Human normal immunoglobulin, intravenous (IVIG) > เอกสารเฉพาะเรื่อง (monograph)
specific antibody เช่น Wiskott-Aldrich syndrome,
5.2 เอกสารเฉพาะเรื่อง (monograph)
hyper-IgE syndrome, specific antibody deficiency
4. ผู้ ป่ ว ยโรคภู มิ คุ้ ม กั น บกพร่ อ งปฐมภู มิ ป ระเภทที่ มี HUMAN NORMAL IMMUNOGLOBULIN,
ปริมาณ immunoglobulin subclass ผิดปกติ ร่วมกับ INTRAVENOUS (IVIG) จ(2)
มีการติดเชือ้ บ่อยๆ หรือมีความผิดปกติในการสร้าง specific Sterile pwdr/sol
antibody 50 ml (2.5 g) • Gammagard S/D ราคา 6,062 บาท
ห้ามใช้ในผู้ป่วยที่มีภาวะ selective IgA deficiency • Gammaraas® ราคา 5,800 บาท (ราคาเฉลีย่ จัดซือ้ รวม
เนือ่ งจากไม่มขี อ้ บ่งชี้ และอาจเป็นอันตรายต่อผูป้ ว่ ยเนือ่ งจาก ของสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ 5,612 บาท)
เกิดภาวะแอนาฟิแล็กซิสได้ง่าย 100 ml (5 g) Gammaraas® ราคา 12,074 บาท •
LIV-Gamma® ราคา 10,255 บาท • Vigam-S® ราคา
ตารางที่ 1 แสดงรายชื่ อโรคภู มิ คุ้ ม กั น บกพร่ อ งปฐมภู มิ 9,200 บาท (ราคาเฉลีย่ จัดซือ้ รวมของสำนักงานหลักประกัน
แต่ละชนิด ที่ต้องได้รับการระบุในแบบฟอร์มขออนุมัติการ สุขภาพแห่งชาติ 11,224 บาท)
ใช้ยา 200 ml (10 g) Flebogamma® ราคา 27,438 บาท •
01 Common variable immunodeficiency Gammagard S/D ราคา 21,000 บาท
02 Severe combined immunodeficiency (SCID) เงื่อนไขตามบัญชียาหลักแห่งชาติ ดูแนวทางกำกับการใช้ยา
03 DiGeorge anomaly ข้อบ่งใช้
04 X-linked agammaglobulinemia • โรคคาวาซากิระยะเฉียบพลัน (acute phase of
(XLA or Bruton’s agammaglobulinemia) Kawasaki disease)
05 Autosomal recessive agammaglobulinemia • โรค Guillain – Barre syndrome ที่มีอาการรุนแรง
06 X-linked hyper-IgM syndrome • โรคกล้ามเนือ้ อ่อนแรงชนิดร้ายระยะวิกฤต (myasthenia
07 Autosomal recessive hyper-IgM syndrome gravis, acute exacerbation หรือ myasthenic crisis)
08 Ataxia-telangiectasia and diseases of DNA
repair defects
• โรค autoimmune hemolytic anemia (AIHA) ที่ไม่
ตอบสนองต่อการรักษาตามขั้นตอนของมาตรฐานการรักษา
09 Wiskott-Aldrich syndrome
และมีอาการรุนแรงที่อาจเป็นอันตรายถึงแก่ชีวิต
10 X-linked lymphoproliferative syndrome (XLP)
11 Isolated IgG subclass deficiency • โรค hemophagocytic lymphohistiocytosis (HLH)
12 IgA with IgG subclass deficiency • โรค idiopathic thrombocytopenic purpura (ITP)
13 Specific antibody deficiency with normal Ig ชนิดรุนแรง
concentrations and numbers of B cells • โรค pemphigus vulgaris ที่มีอาการรุนแรง และไม่
14 Reticular dysgenesis ตอบสนองต่อการรักษาด้วยยามาตรฐาน
15 Omenn syndrome • โรคภูมิคุ้มกันบกพร่องปฐมภูมิ (primary immunodefi-
16 Thymoma with immunodeficiency ciency diseases)
(Good syndrome) คำเตือนและข้อควรระวัง
17 Transient hypogammaglobulinemia of infancy ตับบกพร่อง ใช้ยาได้ตามปกติ ไม่มีข้อควรระวังเป็นพิเศษ
18 Cartilage hair hypoplasia ไตเสือ่ ม IVIG ทำให้เกิดไตวายเฉียบพลันได้ ซึง่ รายงานส่วนใหญ่
19 Hyper- IgE syndrome พบในผูป้ ว่ ย ITP ยา IVIG ทีม่ นี ำ้ ตาลซูโครสเป็นส่วนประกอบ
20 WHIM syndrome มีความเสีย่ งต่อภาวะนีส้ งู กว่ายาทีไ่ ม่มซี โู ครสเป็นส่วนประกอบ
เพือ่ ลดความเสีย่ งต่อภาวะไตวายเฉียบพลัน ควรระมัดระวัง
การใช้กบั ผูป้ ว่ ยกลุม่ เสีย่ ง (ได้แก่ ผูป้ ว่ ยทีม่ กี ารทำงานของไต

48 Thai National Formulary 2010 : Special Access Medicines of National List of Essential Medicines
เอกสารเฉพาะเรื่อง (monograph) < Human normal immunoglobulin, intravenous (IVIG)
ลดลง ผูป้ ว่ ยโรคไต เบาหวาน ผูส้ งู อายุ ผูอ้ ยูใ่ นภาวะขาดน้ำ ผลข้างเคียง
หรือมีปริมาตรเลือดน้อย ภาวะพิษจากการติดเชื้อ ภาวะ แอนาฟิแล็กซิส แพ้ยา ปฏิกริ ยิ าอันเกิดจากการให้ยา Coombs’
paraproteinemia หรือผูไ้ ด้รบั ยาทีม่ พี ษิ ต่อไตร่วมด้วย) โดย test ให้ผลบวก transfusion-related acute lung injury
ให้ผปู้ ว่ ยได้รบั น้ำอย่างพอเพียง เฝ้าติดตามการทำงานของไต (TRALI) เหงื่อท่วม กลุ่มอาการคล้ายไข้หวัดใหญ่ • หัวใจ
และปริมาณปัสสาวะที่ขับออกมาซึ่งเป็นสิ่งสำคัญมาก (ถ้า หยุดเต้น เจ็บหน้าอก ปอดบวมน้ำ ภาวะลิ่มเลือดหลุดอุด
การทำงานของไตลดลงควรพิจารณาหยุดยา) ไม่ให้ยาใน หลอดเลือด ช็อค ออกซิเจนต่ำในเลือด อาการเขียวคล้ำ
ขนาดยาเกินกว่าทีแ่ นะนำ ใช้ความเข้มข้นของยาให้นอ้ ยทีส่ ดุ แน่นหน้าอก บวมน้ำ หน้าแดง ความดันเลือดต่ำหรือสูง ใจสัน่
และปล่อยให้ยาไหลเข้าหลอดเลือดในอัตราที่ต่ำที่สุด (ดู หัวใจเต้นเร็ว • ชัก โคม่า หมดสติ วิตกกังวล กลุ่มอาการ
คำแนะนำในการให้ยา) การตัง้ ครรภ์ ใช้เฉพาะเมือ่ ประโยชน์ เยือ่ หุม้ สมองและไขสันหลังอักเสบชนิดปลอดเชือ้ หนาวสะท้าน
มีมากกว่าความเสี่ยงจากการใช้ยาอย่างชัดเจน (US Preg- เวียนศีรษะ ง่วง รู้สึกล้า ไข้ ปวดศีรษะ หงุดหงิด เซื่องซึม
nancy Category C, ADEC Category ไม่ระบุ หญิงให้นมบุตร หน้ามืด รู้สึกไม่สบาย ไมเกรน ปวด • กลุ่มอาการสตีเวนส์
ยังไม่ทราบแน่ชดั ว่าถูกขับออกทางน้ำนม หรือไม่จงึ ควรระวัง จอห์นสัน ผิวหนังอักเสบเป็นตุ่มพองใหญ่ erythema mul-
ในหญิงให้นมบุตร เด็ก ไม่มีข้อมูลด้านประสิทธิผลและ tiforme รอยฟกช้ำ จุดเลือดออก คัน เพอร์พวิ รา ผืน่ ลมพิษ
ความปลอดภัยของการใช้ยานี้ในเด็กแรกเกิด และทารก • ตะคริวที่ท้อง ปวดท้อง ท้องร่วง ไม่สบายท้อง อาหาร
ผู้สูงอายุ ผู้มีอายุตั้งแต่ 65 ปี มีความเสี่ยงเพิ่มขึ้นต่อการ ไม่ย่อย คลื่นไส้ เจ็บคอ อาเจียน • เม็ดเลือดขาวต่ำ ภาวะ
ทำงานของไตผิดปกติเมื่อได้รับยา IVIG อันตรกิริยา ควร พร่องเม็ดเลือดทุกชนิด เลือดจาง เลือดจางเนือ่ งจากเม็ดเลือด
หลีกเลี่ยงการใช้ร่วมกับวัคซีนชนิดเชื้อเป็น เช่น วัคซีน แดงแตกจากภูมิต้านตนเอง เม็ดเลือดแดงแตก เลือดออก
ป้องกันโรคหัด หัดเยอรมันและคางทูม วัคซีนป้องกันไวรัส เกล็ดเลือดน้อย • บิลิรูบินเพิ่มขึ้น LDH เพิ่มขึ้น ค่า
โรตา วัคซีนป้องกันโรคอีสกุ อีใส โดยควรมีระยะห่างอย่างน้อย การทำงานของตับผิดปกติ • กล้ามเนื้อสั่น ปวดหรือ
3 เดือนหลังการให้ IVIG ก่อนให้วคั ซีนชนิดเชือ้ เป็น คำเตือน ระคายเคืองบริเวณทีใ่ ห้ยา ปวดข้อ หลัง หรือสะโพก ตะคริว
และข้อควรระวังอื่นๆ ผู้ป่วยต้องไม่อยู่ในภาวะขาดน้ำก่อน ทีข่ าและกล้ามเนือ้ ปวดกล้ามเนือ้ ปวดคอ อ่อนแรง • ปวดหู
เริ่มให้ยา IVIG • อาจพบภาวะลิ่มเลือดหลุดอุดหลอดเลือด • ไตวายแบบเฉียบพลัน acute tubular necrosis ไร้ปสั สาวะ
ได้จากการให้ยา IVIG แม้พบได้น้อยมากแต่ควรใช้ด้วย ค่า BUN และครีแอทินินเพิ่มขึ้น ปัสสาวะน้อย proximal
ความระมัดระวังในผู้ที่มีความเสี่ยงต่อการเกิดลิ่มเลือดอุด tubular nephropathy และ osmotic nephrosis • หยุด
หลอดเลือดแดงหรือหลอดเลือดดำ และในบุคคลที่มีรูปร่าง หายใจ adult respiratory distress syndrome (ARDS)
อ้วน ซึง่ ผลข้างเคียงนีม้ คี วามสัมพันธ์กบั อัตราเร็วในการให้ยา สิง่ หลุดอุดหลอดเลือดแดงในปอด หืดกำเริบ เสียงหวีดขณะ
(ดูคำแนะนำในการให้ยาในหน้าถัดไป) • ผู้ป่วยควรได้รับ หายใจ หลอดลมอักเสบ ไอ หายใจลำบาก เลือดกำเดาไหล
การติดตามปฏิกริ ยิ าอันเกิดจากการให้ยาทัง้ ระหว่างให้ยาและ คัดจมูก เจ็บคอหอย น้ำมูกไหล ไซนัสอักเสบ ทางเดินหายใจ
หลังการให้ยาหยุดการให้ยาเมือ่ พบอาการแสดงของปฏิกริ ยิ า ส่วนบนติดเชื้อ
ดังกล่าว คือมีไข้ หนาวสะท้าน คลื่นไส้ อาเจียน และช็อค
(พบได้น้อย) ความเสี่ยงต่อปฏิกิริยาดังกล่าวอาจเพิ่มขึ้นใน
กรณีท่เี ริ่มให้ยา หรือเมื่อเปลี่ยนผลิตภัณฑ์ของยาและเมื่อ
หยุดการรักษาไปนานกว่า 8 สัปดาห์
ข้อห้ามใช้
ห้ามใช้กับผู้ที่แพ้อิมมูโนโกลบูลินและส่วนประกอบของยา
ผู้ป่วย selective IgA deficiency

คู่มือการใช้ยาอย่างสมเหตุผลตามบัญชียาหลักแห่งชาติ บัญชี จ(2) 49


Human normal immunoglobulin, intravenous (IVIG) > เอกสารเฉพาะเรื่อง (monograph)

ขนาดยา และวิธีให้ยา Prescription note


คำแนะนำในการให้ยา • ยา IVIG แต่ละผลิตภัณฑ์ ระบุอัตราเร็วในการให้ยาใน 30
1. วัดสัญญาณชีพก่อนให้ยา และทุก 15 นาที จำนวน นาทีแรก และอัตราเร็วสูงสุดในการให้ยาแตกต่างกัน แต่ใช้
2 ครัง้ ตามด้วยทุก 30 นาที จำนวน 1 ครัง้ หลังจากนัน้ ทุก หลักการเดียวกันคือควรให้ยาอย่างช้าๆ (very slowly)
1 ชัว่ โมงจนยาหมด และวัดอีก 1 ครัง้ หลังยาหมด 60 นาที
• ยาบางผลิตภัณฑ์ระบุอัตราเร็วในการให้ยาใน 30 นาทีแรก
ต่ำกว่าหรือสูงกว่าทีแ่ นะนำไว้ในคูม่ อื เล่มนี้ เช่น ระบุให้เริม่ ให้
(สังเกตว่ามีความดันเลือดตก ชีพจรเร็วขึน้ อัตราการหายใจที่ ยาในอัตรา 0.5 หรือ 1 หรือไม่เกิน 1.2 มิลลิลิตร/กิโลกรัม/
เร็วขึ้น หรืออุณหภูมิร่างกายที่สูงขึ้น) ชั่วโมง เป็นต้น
2. หากมีอาการบวมบริเวณใบหน้า ผื่นลมพิษ หน้าแดง • ยาบางผลิตภัณฑ์ระบุอตั ราเร็วสูงสุดในการให้ยา ต่ำกว่าหรือ
เหงื่อแตก แน่นหน้าอก ให้หยุดยาและรักษาอาการแพ้ สูงกว่าที่แนะนำไว้ในคู่มือเล่มนี้ เช่น ระบุให้ยาในอัตราสูงสุด
ไม่เกิน 2.4 หรือ 3 หรือ 4 หรือ 5 มิลลิลิตร/กิโลกรัม/ชั่วโมง
3. อาจเกิดแอนาฟิแล็กซิสขึ้นภายใน 30-60 นาที
เป็นต้น
หลั ง เริ่ ม ให้ ย าควรมี adrenaline 1:1000 พร้ อ มใช้ ที่
ข้างเตียงผู้ป่วย
4. หากเกิดอาการข้างเคียง เช่น มีไข้ หนาวสั่น เวียน • สำหรับโรคคาวาซากิระยะเฉียบพลัน (acute phase of
Kawasaki disease)
ศีรษะ ปวดศีรษะ หรือคลืน่ ไส้ อาเจียน ให้แก้ไขโดยลดอัตรา
การหยดเข้าหลอดเลือดดำอย่างต่อเนื่อง
การให้ยาลงร้อยละ 25-50
เด็ก 2 กรัม/กิโลกรัม โดยการให้ยาเพียงครั้งเดียว (single
5. ยาแต่ละบริษัทอาจมีวิธีการให้ยาที่แตกต่างกัน โปรด
dose) ปรับอัตราการให้ยาเพือ่ ให้ยาได้หมดในเวลาประมาณ
อ่านวิธใี ห้ยาจากเอกสารกำกับยาก่อนให้ยา (ดู Prescription
12 ชั่วโมง
note ด้านล่าง)
6. ควรเริ่มให้ยาในขนาด 0.6 มิลลิลิตร/กิโลกรัม/ชั่วโมง Prescription note
(30 มิลลิกรัม/กิโลกรัม/ชัว่ โมง) และเพิม่ อัตราครัง้ ละเท่าตัวทุก
30 นาที จนได้อัตราที่ต้องการ ขนาดสูงสุดไม่เกิน 4.8
• ผูป้ ว่ ยควรได้รบั IVIG ภายในระยะ 10 วันหลังจากทีเ่ ริม่ มีไข้
เนื่องจากมีหลักฐานว่าการให้ยาเกินกว่าระยะเวลาดังกล่าวไม่
มิลลิลิตร/กิโลกรัม/ชั่วโมง (240 มิลลิกรัม/กิโลกรัม/ชั่วโมง) ให้ประโยชน์ในการรักษา
7. กรณีให้ยาแบบ single dose เช่น 1 กรัม/กิโลกรัม • ผูป้ ว่ ยโรคคาวาซากิทกุ รายทีย่ งั ไม่ได้รบั การตรวจ echocar-
การให้ยาด้วยวิธขี า้ งต้น จะให้ยาได้เสร็จสิน้ ในเวลาประมาณ diogram ณ วันที่วินิจฉัยโรค ต้องได้รับการตรวจ echocar-
5-6 ชั่วโมง diogram ภายในเวลาไม่เกิน 2 สัปดาห์
8. กรณีให้ยาแบบ multiple dose เช่น 0.4 กรัม/ • ควรทำ echocardiogram ซ้ำที่ 2 เดือน หลังเริ่มป่วย
กิโลกรัม/วัน นาน 5 วัน การให้ยาด้วยวิธีข้างต้น จะให้ยา
ในแต่ละวันได้เสร็จสิ้นในเวลาประมาณ 2.5-3 ชั่วโมง • สำหรับโรค Guillain – Barre syndrome ที่มีอาการ
9. สำหรับผูป้ ว่ ยกลุม่ เสีย่ งต่อผลข้างเคียงของ IVIG ควร รุนแรง
ลดอัตราการให้ยาลง เช่นเมือ่ เทียบกับอัตราการให้ยาข้างต้น การหยดเข้าหลอดเลือดดำอย่างต่อเนื่อง
ควรให้ยาในขนาดไม่เกิน 0.5 มิลลิลติ ร/กิโลกรัม/ชัว่ โมง (25 ผู้ใหญ่และเด็ก 2 กรัม/กิโลกรัมต่อการรับไว้ในโรงพยาบาล
มิลลิกรัม/กิโลกรัม/ชัว่ โมง) และเพิม่ อัตราการให้ยาอย่างช้าๆ 1 ครั้ง แบ่งให้ 2-5 วัน (เช่น 0.4 กรัม/กิโลกรัม/วัน นาน
จนได้ขนาดยาสูงสุดไม่เกิน 4 มิลลิลติ ร/กิโลกรัม/ชัว่ โมง (200 5 วัน)
มิลลิกรัม/กิโลกรัม/ชั่วโมง) และเลือกใช้ยาที่มีความเข้มข้น
ต่ำที่สุด เช่น เลือกใช้ยาที่มีความเข้มข้น 5% แทนยาที่มี
ความเข้มข้น 10%

50 Thai National Formulary 2010 : Special Access Medicines of National List of Essential Medicines
เอกสารเฉพาะเรื่อง (monograph) < Human normal immunoglobulin, intravenous (IVIG)

Prescription note • สำหรับโรค idiopathic thrombocytopenic purpura


(ITP) ชนิดรุนแรง
• ผู้ป่วยต้องได้รับ IVIG ภายใน 2 สัปดาห์หลังจากเริ่มมี
อาการทางคลินิก เด็กและผู้ใหญ่ 400 มิลลิกรัม/กิโลกรัม/วัน เป็นเวลา 2-5
• ประสิทธิผลของ IVIG เทียบเท่ากับ plasma exchange วัน หรือ ให้ยาในขนาด 1 กรัม/กิโลกรัม/วัน เป็นเวลา 2
• การให้ IVIG ร่วมกับ plasma exchange ไม่พบว่า วัน ให้ยาซ้ำรอบที่สอง 24 ชั่วโมงหลังการให้ยาครั้งแรก
มีประโยชน์เพิ่มขึ้น
• การให้สเตรอยด์ ร่วมกับ IVIG หรือ plasma exchange Prescription note
พบว่าไม่มีประโยชน์
• ผูป้ ว่ ยหลังการตัดม้าม ไม่จดั อยูใ่ นเกณฑ์การอนุมตั กิ ารใช้ยา
IVIG
• สำหรั บโรคกล้ า มเนื้ อ อ่ อ นแรงชนิ ด ร้ า ยระยะวิ ก ฤต
(myasthenia gravis, acute exacerbation หรือ myasthenic
crisis)
• สำหรับโรค pemphigus vulgaris ทีม่ อี าการรุนแรง และ
ไม่ตอบสนองต่อการรักษาด้วยยามาตรฐาน
การหยดเข้าหลอดเลือดดำอย่างต่อเนื่อง
ผู้ใหญ่ 2 กรัม/กิโลกรัม/cycle แบ่งให้ในเวลา 3 วัน โดย
ผูใ้ หญ่และเด็ก 1-2 กรัม/กิโลกรัม โดยมีทางเลือกในการบริหาร
1 cycle มีระยะเวลา 3-4 สัปดาห์ ถ้าให้ 3 cycle แล้วยัง
ยาดังนี้
ควบคุมโรคไม่ได้ให้พิจารณาหยุดยา หากควบคุมโรคได้และ
1. 0.4 กรัม/กิโลกรัม/วัน เป็นเวลา 3 วัน หากไม่ได้ผล
ไม่มรี อยโรคใหม่นาน 3 สัปดาห์แล้ว ให้คอ่ ยๆ ลดขนาดยาลง
จึงพิจารณาให้ต่ออีก 2 วัน จนครบ 2 กรัม/กิโลกรัม
หรือให้ยาในระยะเวลาที่ห่างออกไป รวมทั้งหมดไม่เกิน 6
2. 1 กรัม/กิโลกรัม/วัน เป็นเวลา 1 วัน หากไม่ได้ผล
cycle แล้วพิจารณาเปลี่ยนไปใช้ยาอื่น
จึงพิจารณาให้ต่ออีก 1 วัน จนครบ 2 กรัม/กิโลกรัม

Prescription note • สำหรับโรคภูมิคุ้มกันบกพร่องปฐมภูมิ (primary immu-


nodeficiency diseases)
• หากการรั ก ษาได้ผลด้วยการให้ยา IVIG ในขนาดต่ ำ
ผูใ้ หญ่และเด็ก เริม่ ด้วยครัง้ ละ 400-600 มิลลิกรัม/กิโลกรัม
(ขนาดยารวม 1-1.2 กรัม/กิโลกรัม) การเพิ่มขนาดยา (เป็น
ขนาดยารวม 2 กรั ม /กิ โ ลกรั ม ) ไม่ เ พิ่ ม ประสิ ท ธิ ผ ลใน ทุก 2-4 สัปดาห์ จากนั้นปรับระดับให้ trough level ของ
การรักษา IgG มากกว่า 500 มิลลิกรัม/เดซิลิตร หรือ มากกว่า 800
มิ ล ลิ ก รั ม /เดซิ ลิ ต ร กรณี ที่ มี bronchiectasis หรื อ
• สำหรับ autoimmune hemolytic anemia (AIHA) ทีไ่ ม่ การติดเชื้อที่รุนแรง
ตอบสนองต่อการรักษาตามขั้นตอนของมาตรฐานการรักษา
และมีอาการรุนแรงที่อาจเป็นอันตรายถึงแก่ชีวิต ระยะเวลาในการรักษา
การหยดเข้าหลอดเลือดดำอย่างต่อเนื่อง ขึ้นอยู่กับชนิดของโรคและดุลยพินิจของแพทย์ผู้วินิจฉัย
ผู้ใหญ่ 400 – 500 มิลลิกรัม/กิโลกรัม/วัน เป็นเวลา 4-5 โดยประเมินว่าผู้ป่วยมีความจำเป็นต้องใช้ IVIG ต่อเนื่อง
วัน หรือ 1 กรัม/กิโลกรัม/วัน เป็นเวลา 2 วัน ขนาดรวมไม่เกิน หรือไม่ เช่น กรณี IgG subclass deficiency อาจพิจารณา
2 กรัม/กิโลกรัม และไม่อนุมัติให้ใช้ยาซ้ำในการรักษาคราว หยุดการให้ IVIG หลังการรักษา 6 เดือน ถึง 1 ปี สำหรับ
เดียวกัน ผู้ป่วยภูมิคุ้มกันบกพร่องที่ได้รับการรักษาด้วยการปลูกถ่าย
ไขกระดูก ควรให้แพทย์ผู้วินิจฉัยหรือแพทย์ผู้ทำการรักษา
• สำหรับ hemophagocytic lymphohistiocytosis (HLH) เป็นผู้พิจารณาให้ความเห็นในการหยุดการให้ IVIG ตาม
ผู้ใหญ่ 400 มิลลิกรัม/กิโลกรัม/วัน เป็นเวลา 3-5 วัน มาตรฐานการรักษา
ขนาดยารวมไม่เกิน 2 กรัม/กิโลกรัม

คู่มือการใช้ยาอย่างสมเหตุผลตามบัญชียาหลักแห่งชาติ บัญชี จ(2) 51


Human normal immunoglobulin, intravenous (IVIG) > แนวทางกำกับการใช้ยาและแบบฟอร์มกำกับการใช้ยา
การเก็บรักษา ประสงค์ตอ่ หน่วยงานกำกับดูแลการสัง่ ใช้ยาบัญชี จ(2) เพือ่
การเก็บรักษายา IVIG จาก European Pharmacopeia ขออนุมัติและลงทะเบียนสถานพยาบาลแต่ละแห่ง
5.3 แนะนำว่า ผลิตภัณฑ์ในรูปแบบสารละลาย แนะนำ 3. คุณสมบัติของแพทย์ผู้ทำการรักษา
ให้เก็บทีภ่ าชนะแก้ว ไม่มสี ี ป้องกันแสง ในอุณหภูมทิ รี่ ะบุไว้ เป็นแพทย์ผเู้ ชีย่ วชาญทีไ่ ด้รบั หนังสืออนุมตั ิ หรือวุฒบิ ตั ร
บนฉลากหรือเอกสารกำกับยา ส่วนผลิตภัณฑ์ทเี่ ป็นรูปแบบ จากแพทยสภาในสาขากุมารเวชศาสตร์
freeze-dried แนะนำให้เก็บทีภ่ าชนะแก้วไม่มสี ี อากาศผ่าน 4. เกณฑ์อนุมัติการใช้ยา*
ไม่ได้ ป้องกันแสง ที่อุณหภูมิไม่เกิน 25 องศาเซลเซียส อนุมัติการใช้ยา IVIG ในโรคคาวาซากิระยะเฉียบพลัน
ทั้งนี้ผลิตภัณฑ์ในประเทศไทยส่วนใหญ่อยู่ในรูปแบบ ในกรณีดังต่อไปนี้
สารละลาย ซึง่ แนะนำให้เก็บทีอ่ ณ ุ หภูมิ 2-8 องศาเซลเซียส 4.1 สามารถวิ นิ จ ฉั ยโรคได้ ค รบถ้ ว นตามเกณฑ์ ข อง
โดยมีบางผลิตภัณฑ์ แนะนำให้เก็บทีอ่ ณ ุ หภูมไิ ม่เกิน 25 และ คาวาซากิ โดยมีอาการและอาการแสดงดังต่อไปนี้
30 องศาเซลเซียส ส่วนผลิตภัณฑ์ที่เป็นรูปแบบ freeze- 4.1.1 มีไข้ติดต่อกันอย่างน้อย 5 วัน
dried แนะนำให้เก็บที่อุณหภูมิไม่เกิน 25 องศาเซลเซียส 4.1.2 มีอาการแสดงอย่างน้อย 4 ใน 5 อย่าง ดังนี้
แต่อย่างไรก็ตาม การเก็บรักษาจะแตกต่างกันไปในแต่ • เยื่อตาส่วนลูกตา (bulbar) แดงที่ตาทั้ง
ละผลิตภัณฑ์ ดังนั้น ควรศึกษารายละเอียดที่เกี่ยวข้องกับ สองข้างโดยไม่มีขี้ตา
การเก็บรักษายาจากเอกสารกำกับยาก่อนใช้ยา • มีการเปลี่ยนแปลงของริมฝีปากและเยื่อบุ
ช่องปากโดยมีรมิ ฝีปากแดง มีรอยแยกทีร่ มิ ฝีปาก ลิน้ เป็นตุม่
5.3 แนวทางกำกับการใช้ยาและแบบฟอร์มกำกับ และมีสแี ดงคล้ายผลสตรอเบอรี่ หรือมีคอหอยแดงอย่างชัดเจน
การใช้ยา • มีการเปลี่ยนแปลงของผิวหนังบริเวณมือ
5.3.1 โรคคาวาซากิระยะเฉียบพลัน (acute phase of และเท้า โดยมีฝา่ มือหรือฝ่าเท้าแดง มือหรือเท้าบวม (ในระยะ
Kawasaki disease) เฉียบพลัน) ซึ่งต่อมาจะมีการลอกของผิวหนังบริเวณรอบๆ
เล็บมือหรือเล็บเท้า (ในระยะพักฟื้นหรือระยะกึ่งเฉียบพลัน
แนวทางกำกับการใช้ยา
ที่สัปดาห์ที่ 2 และ 3 ของโรค)
1. ระบบอนุมัติการใช้ยา
• มี ผื่ น ผิ ว หนั ง ลั ก ษณะหลายรู ป แบบ
1.1 กรณีโรคคาวาซากิระยะเฉียบพลัน ขออนุมตั กิ ารใช้ยา
(polymorphous rash)
IVIG จากหน่วยงานสิทธิประโยชน์ ภายหลังการรักษา
• คลำพบต่อมน้ำเหลืองบริเวณลำคอ โดยมี
(post-authorization) เนือ่ งจากผูป้ ว่ ยส่วนใหญ่เป็นเด็กเล็ก
ขนาดโตกว่า 1.5 เซนติเมตร และมักคลำพบเพียงด้านใด
มักมาด้วยอาการฉุกเฉิน และจำเป็นต้องได้รบั ยาอย่างทันท่วงที
ด้านหนึ่งของลำคอ
มิฉะนั้นอาจทำให้ผู้ป่วยเสียชีวิตได้
4.1.3 ได้รับการวินิจฉัยแยกโรคที่มีอาการคล้ายกัน
1.2 กรณีโรคคาวาซากิระยะเฉียบพลันทีด่ อ้ื ต่อการรักษาด้วย
ออกแล้ว ได้แก่ โรคติดเชือ้ ไวรัส (เช่น measles, adenovirus,
IVIG ในครั้งแรก ให้ขออนุมัติจากหน่วยงานสิทธิประโยชน์
enterovirus, Epstein-Barr virus), scarlet fever,
ก่อนการให้ยา IVIG ซ้ำอีก 1 ครั้ง (pre-authorization)
staphylococcal scalded skin syndrome, toxic
2. คุณสมบัติของสถานพยาบาล
shock syndrome, bacterial cervical lymphadenitis,
2.1 เป็นสถานพยาบาลระดับตติยภูมขิ นึ้ ไป ทีส่ ามารถทำ
การตรวจ echocardiogram ได้ หรือ
2.2 กรณีเป็นสถานพยาบาลระดับทุตยิ ภูมิ ต้องเป็นสถาน * กรณีที่แพทย์ผู้รักษาเห็นว่า ควรใช้ยาแตกต่างจากเกณฑ์การใช้ยาที่
พยาบาลทีส่ ามารถส่งต่อเพือ่ รับการตรวจ echocardiogram กำหนด ให้ขออนุมตั กิ ารใช้ยาต่อคณะทำงานกำกับดูแลการสัง่ ใช้ยาบัญชี
ได้ในโรงพยาบาลเครือข่ายภายในเวลาไม่เกิน 2 สัปดาห์ นับ จ(2) ทีค่ ณะอนุกรรมการพัฒนาบัญชียาหลักแห่งชาติแต่งตัง้ โดยนำเสนอ
หลักฐานทางการแพทย์ที่สนับสนุนว่าการใช้ยานอกเหนือจากแนวทาง
จากวันที่ให้การวินิจฉัยโรค โดยให้สถานพยาบาลแจ้งความ ที่กำหนดไว้ จะเกิดผลดีกับผู้ป่วย และมีความคุ้มค่า

52 Thai National Formulary 2010 : Special Access Medicines of National List of Essential Medicines
แนวทางกำกับการใช้ยาและแบบฟอร์มกำกับการใช้ยา < Human normal immunoglobulin, intravenous (IVIG)
drug hypersensitivity reactions, Stevens-Johnson 4.5 กรอกแบบฟอร์มที่คณะอนุกรรมการพัฒนาบัญชียา
syndrome, juvenile rheumatoid arthritis, Rocky หลักแห่งชาติกำหนดทุกครั้งที่ใช้ยากับผู้ป่วย***
mountain spotted fever, leptospirosis, mercury 5. ขนาดยาที่แนะนำ และวิธีให้ยา
hypersensitivity reaction (acrodynia) ให้ยาในขนาด 2 กรัมต่อน้ำหนักตัว 1 กิโลกรัมต่อครั้ง
4.2 วินิจฉัยโรคได้ไม่ครบถ้วนตามเกณฑ์ของคาวาซากิ โดยการให้ยาเพียงครัง้ เดียว (single dose) ภายในระยะ 10
(incomplete Kawasaki disease) แต่มีการตรวจทางห้อง วันหลังจากทีเ่ ริม่ มีไข้ เนือ่ งจากมีหลักฐานว่าการให้ยาเกินกว่า
ปฏิบัติการที่เข้าได้กับโรค ตามเกณฑ์ของ American Heart ระยะเวลาดังกล่าวไม่ให้ประโยชน์ในการรักษา ให้ยาด้วยวิธี
Association และ American Academy of Pediatrics continuous drip โดยเริ่มให้ยาในขนาด 0.6 มิลลิลิตรต่อ
(AHA/AAP guidelines) ได้แก่ข้อใดข้อหนึ่งดังต่อไปนี้ น้ำหนักตัว 1 กิโลกรัมต่อชัว่ โมง และเพิม่ อัตราครัง้ ละเท่าตัวทุก
4.2.1 มีค่า ESR > 40 mm/hour และ/หรือ CRP 30 นาที (ขนาดสูงสุดไม่เกิน 4.8 มิลลิลิตรต่อน้ำหนักตัว 1
> 3 mg/dL ร่วมกับผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการอื่นพบ กิโลกรัมต่อชัว่ โมง) จนได้อตั ราทีใ่ ห้ IVIG ได้หมดใน 12 ชัว่ โมง
ความผิดปกติตั้งแต่ 3 ข้อขึ้นไป ได้แก่ 6. การติดตามผลการรักษา
• ALT สูงกว่า 2.5 เท่าของค่าปกติ 6.1 ขณะให้ยาควรบันทึกสัญญาณชีพ ทุก 15 นาที ใน
• WBC count > 15,000/mm3 2 ชัว่ โมงแรก หลังจากนัน้ ถ้าไม่พบความผิดปกติให้บนั ทึกทุก
• มีภาวะโลหิตจาง (เมือ่ เทียบกับอายุของผูป้ ว่ ย) 1 ชั่วโมง
• platelet count > 450,000/mm3 (ไข้ 6.2 ให้สงั เกตการเกิดผืน่ และการหายใจ ถ้ามีอาการผิดปกติ
มากกว่า 7 วัน) ให้หยุดการให้ยา และรักษาอาการแพ้
• การตรวจปัสสาวะพบเม็ดเลือดขาว > 10/HPF 6.3 ผู้ป่วยโรคคาวาซากิทุกรายที่ยังไม่ได้รับการตรวจ
• serum albumin < 3g/dL echocardiogram ณ วันที่วินิจฉัยโรค ต้องได้รับการตรวจ
4.2.2 ตรวจพบความผิดปกติของ echocardiogram echocardiogram ภายในเวลาไม่เกิน 2 สัปดาห์
4.3 กรณีโรคคาวาซากิระยะเฉียบพลันทีด่ อ้ื ต่อการรักษา 6.4 ควรทำ echocardiogram ซ้ำที่ 2 เดือน หลังเริม่ ป่วย
ด้วย IVIG ในครั้งแรก พิจารณาให้ IVIG ซ้ำได้อีก 1 ครั้ง
เท่านัน้ (ใช้ขนาดยาและวิธกี ารให้ยาตามข้อ 5) โดยมีเกณฑ์
การวินิจฉัยดังต่อไปนี้
• ลักษณะทางคลินกิ และผลการตรวจทางห้องปฏิบตั กิ าร
ยังคงเข้าได้กับโรคคาวาซากิ
• ยังตรวจไม่พบสาเหตุอื่นๆ ของไข้
• หลังจากการให้ IVIG dose แรกเสร็จสิ้นไปแล้ว
นานกว่า 36 - 48 ชั่วโมงผู้ป่วยยังคงมีไข้อยู่
4.4 ต้องไม่เป็นผู้ป่วยระยะสุดท้าย (terminally ill)**

** ผู้ป่วยระยะสุดท้าย (terminally ill) หมายถึง ผู้ป่วยโรคทางกายซึ่งไม่


สามารถรักษาได้ (incurable) และไม่สามารถช่วยให้ชีวิตยืนยาวขึ้น
(irreversible) ซึ่งในความเห็นของแพทย์ผู้รักษา ผู้ป่วยจะเสียชีวิตใน
ระยะเวลาอันสั้น
หมายเหตุ ผูป้ ว่ ยดังกล่าวควรได้รบั การรักษาแบบประคับประคอง (palliative *** โปรดเก็บรักษาข้อมูลไว้เพื่อใช้เป็นหลักฐานในการตรวจสอบการใช้ยา
care) โดยมุง่ หวังให้ลดความเจ็บปวดและความทุกข์ทรมานเป็นสำคัญ โดยหน่วยงานการกำกับดูแลการสั่งใช้ยาบัญชี จ(2)

คู่มือการใช้ยาอย่างสมเหตุผลตามบัญชียาหลักแห่งชาติ บัญชี จ(2) 53


54 Thai National Formulary 2010 : Special Access Medicines of National List of Essential Medicines
คู่มือการใช้ยาอย่างสมเหตุผลตามบัญชียาหลักแห่งชาติ บัญชี จ(2) 55
56 Thai National Formulary 2010 : Special Access Medicines of National List of Essential Medicines
แนวทางกำกับการใช้ยาและแบบฟอร์มกำกับการใช้ยา < Human normal immunoglobulin, intravenous (IVIG)

5.3.2 โรค Guillain–Barre syndrome ทีม่ อี าการรุนแรง 4.2 อาการ อาการแสดงและผลการตรวจทางห้องปฏิบตั ิ


การที่สนับสนุนการวินิจฉัย ได้แก่
แนวทางกำกับการใช้ยา 4.2.1 อาการอ่อนแรงมีลกั ษณะค่อนข้าง symmetry
1. ระบบอนุมัติการใช้ยา 4.2.2 มี sensory symptoms หรือ signs เล็กน้อย
เนือ่ งจากการใช้ IVIG ให้ใช้เฉพาะเมือ่ ผูป้ ว่ ยมาด้วยภาวะ 4.2.3 มีการอ่อนแรงของอวัยวะที่ควบคุมโดยเส้น
ฉุกเฉิน เช่น severe type, progressive weakness หรือมี ประสาทสมอง โดยเฉพาะอย่างยิง่ การอ่อนแรงของกล้ามเนือ้
acute respiratory failure จำเป็นต้องได้รับยาในทันที (ไม่ ใบหน้าทั้งสองซีก ซึ่งเป็นชนิด LMN
นานเกิน 1-2 วัน) มิเช่นนั้นผู้ป่วยอาจถึงแก่ชีวิตได้ (Life- 4.2.4 หลังการดำเนินโรคสิน้ สุดลงแล้ว 2-4 สัปดาห์
threatening) จึงควรกำหนดให้ขออนุมตั กิ ารใช้ยา IVIG จาก ผู้ป่วยจะมีอาการเริ่มดีขึ้น
หน่วยงานสิทธิประโยชน์ภายหลังการรักษา (post-authori- 4.2.5 มี autonomic dysfunction
zation) 4.2.6 ไม่มีไข้ขณะเริ่มมีอาการ
หมายเหตุ ควรมีระบบการอนุมตั กิ ารใช้ยาภายในโรงพยาบาล 4.2.7 กล้ า มเนื้ อ ส่ ว นปลายอาจอ่ อ นแรงมากกว่ า
(pre-authorization) เนือ่ งจากไม่ได้เป็นโรคทีเ่ ป็นภาวะฉุกเฉิน หรือ เท่ากับส่วนต้น
ที่ต้องให้ในทันที อาจรอปรึกษาใน 24-48 ชั่วโมงก่อนได้ 4.2.8 พบลักษณะ electrodiagnostic features
2. คุณสมบัติของสถานพยาบาล ที่ตรงแบบ (typical) ดังต่อไปนี้
เป็นสถานพยาบาลระดับตติยภูมิขึ้นไป ที่มีคุณสมบัติใน • slow nerve conduction velocity หรือ
การดูแลผูป้ ว่ ย Guillain – Barre syndrome ทีส่ ำคัญ ได้แก่ conduction block
ICU ทีม่ ี respiration care ยาทีจ่ ำเป็น และแพทย์ผเู้ ชีย่ วชาญ • พบ normal หรือ small compound
ตามที่กำหนด muscle action potentials
3. คุณสมบัติของแพทย์ผู้ทำการรักษา • absent or prolonged F-waves
เป็นแพทย์ผเู้ ชีย่ วชาญทีไ่ ด้รบั หนังสืออนุมตั ิ หรือวุฒบิ ตั ร • acute denervation หรือ decreased
จากแพทยสภาในสาขาประสาทวิทยา หรืออนุสาขากุมาร- recruitment/interference pattern
เวชศาสตร์ประสาทวิทยา ซึ่งปฏิบัติงานในสถานพยาบาลที่ หมายเหตุ ผลการตรวจขึ้นกับช่วงเวลาที่ทำการตรวจ
ได้รับการอนุมัติในข้อ 2 electrodiagnostic test
4. เกณฑ์การวินิจฉัยโรค 5. เกณฑ์อนุมัติการใช้ยา*
ผู้ ป่ ว ยได้ รั บ การวิ นิ จ ฉั ย ว่ า เป็ นโรค Guillain–Barre อนุมัติการใช้ IVIG ในโรค Guillain–Barre syndrome
syndrome โดยมีลักษณะทางคลินิกครบถ้วนดังต่อไปนี้ ที่มีอาการรุนแรง ด้วยเกณฑ์ดังนี้
4.1 อาการ อาการแสดงและผลการตรวจทางห้ อ ง 5.1 ผู้ป่วยได้รับการวินิจฉัยว่าเป็นโรค Guillain–Barre
ปฏิบัติการที่ต้องมี ได้แก่ syndrome ตามเกณฑ์การวินิจฉัยโรคในข้อ 4
4.1.1 แขน และขาอ่อนแรงทั้งสองข้าง 5.2 ผู้ป่วยต้องมีอาการรุนแรง ซึ่งหมายถึงอาการหายใจ
4.1.2 ไม่มี deep tendon reflexes (areflexia) ล้มเหลวหรือมีอาการกล้ามเนื้ออ่อนแรงขั้นรุนแรงร่วมด้วย
หรือมีการตอบสนองที่ลดลงของข้อเข่าหรือ biceps (เช่น ต้องใช้อุปกรณ์ช่วยในการเดิน) หรือมีอาการเลวลง
4.1.3 มีการดำเนินโรคในช่วงเวลาหลายวัน โดยมีอาการ อย่างรวดเร็ว
ตั้งแต่เริ่มต้นจนถึงรุนแรงที่สุดไม่เกิน 4 สัปดาห์
4.1.4 cerebrospinal fluid (CSF) analysis พบ * กรณีที่แพทย์ผู้รักษาเห็นว่า ควรใช้ยาแตกต่างจากเกณฑ์การใช้ยาที่
ปริมาณของโปรตีนเพิ่มขึ้น โดยพบเซลล์น้อยกว่า 10 เซลล์ กำหนด ให้ขออนุมตั กิ ารใช้ยาต่อคณะทำงานกำกับดูแลการสัง่ ใช้ยาบัญชี
จ(2) ทีค่ ณะอนุกรรมการพัฒนาบัญชียาหลักแห่งชาติแต่งตัง้ โดยนำเสนอ
ต่อมิลลิลติ ร (บางครัง้ การเพิม่ ขึน้ ของโปรตีนอาจตรวจไม่พบ หลักฐานทางการแพทย์ที่สนับสนุนว่าการใช้ยานอกเหนือจากแนวทาง
จนเข้าปลายสัปดาห์ที่สองของโรค) ที่กำหนดไว้ จะเกิดผลดีกับผู้ป่วย และมีความคุ้มค่า

คู่มือการใช้ยาอย่างสมเหตุผลตามบัญชียาหลักแห่งชาติ บัญชี จ(2) 57


Human normal immunoglobulin, intravenous (IVIG) > แนวทางกำกับการใช้ยาและแบบฟอร์มกำกับการใช้ยา
5.3 อนุมัติให้ใช้ IVIG ได้ไม่เกิน 2 กรัมต่อน้ำหนักตัว 1
กิโลกรัมต่อการรับไว้ในโรงพยาบาล 1 ครัง้ โดยอนุมตั ใิ นราย
ที่สามารถให้ IVIG ภายใน 2 สัปดาห์ หลังจากผู้ป่วยเริ่มมี
อาการทางคลินิก
5.4 ต้องไม่เป็นผู้ป่วยระยะสุดท้าย (terminally ill)**
5.5 กรอกแบบฟอร์มที่คณะอนุกรรมการพัฒนาบัญชียา
หลักแห่งชาติกำหนดทุกครั้งที่จะใช้ยากับผู้ป่วย***
6. ขนาดยาที่แนะนำ และวิธีการให้ยา
ขนาดยาทีแ่ นะนำ คือ 2 กรัมต่อน้ำหนักตัว 1 กิโลกรัมต่อ
การรับไว้ในโรงพยาบาล 1 ครั้ง แบ่งให้ 2-5 วัน (เช่น 0.4
กรัมต่อน้ำหนักตัว 1 กิโลกรัมต่อวัน นาน 5 วัน) ให้ยาด้วยวิธี
continuous drip และต้องได้รับ IVIG ภายใน 2 สัปดาห์
หลังจากเริ่มมีอาการทางคลินิก
7. ข้อสังเกต
• ประสิ ท ธิ ผ ลของ IVIG เที ย บเท่ า กั บ plasma
exchange
• การให้สเตียรอยด์ ร่วมกับ IVIG หรือ plasma
exchange พบว่าไม่มีประโยชน์
• การให้ IVIG ร่วมกับ plasma exchange พบว่าไม่มี
ประโยชน์มากกว่าอย่างใดอย่างหนึ่งเพียงอย่างเดียว

** ผู้ป่วยระยะสุดท้าย (terminally ill) หมายถึง ผู้ป่วยโรคทางกายซึ่งไม่


สามารถรักษาได้ (incurable) และไม่สามารถช่วยให้ชีวิตยืนยาวขึ้น
(irreversible) ซึ่งในความเห็นของแพทย์ผู้รักษา ผู้ป่วยจะเสียชีวิตใน
ระยะเวลาอันสั้น
หมายเหตุ ผู้ป่วยดังกล่าวควรได้รับการรักษาแบบประคับประคอง
(palliative care) โดยมุง่ หวังให้ลดความเจ็บปวดและความทุกข์ทรมาน
เป็นสำคัญ
*** โปรดเก็บรักษาข้อมูลไว้เพื่อใช้เป็นหลักฐานในการตรวจสอบการใช้ยา
โดยหน่วยงานการกำกับดูแลการสั่งใช้ยาบัญชี จ(2)

58 Thai National Formulary 2010 : Special Access Medicines of National List of Essential Medicines
คู่มือการใช้ยาอย่างสมเหตุผลตามบัญชียาหลักแห่งชาติ บัญชี จ(2) 59
60 Thai National Formulary 2010 : Special Access Medicines of National List of Essential Medicines
แนวทางกำกับการใช้ยาและแบบฟอร์มกำกับการใช้ยา < Human normal immunoglobulin, intravenous (IVIG)
4.1.2.4 มี fluctuation of weakness
5.3.3 โรคกล้ามเนื้ออ่อนแรงชนิดร้ายระยะวิกฤต
(myasthenia gravis, acute exacerbation 4.1.3 มีประวัติหรือมีผลทางห้องปฏิบัติการข้อใดข้อ
หรือ myasthenic crisis) หนึ่งดังนี้
4.1.3.1 มีบนั ทึกในประวัตวิ า่ เป็นโรคกล้ามเนือ้
แนวทางกำกับการใช้ยา
อ่อนแรงชนิดร้าย(MG)
1. ระบบอนุมัติการใช้ยา
4.1.3.2 repetition nerve stimulation (RNS)
ขออนุมัติการใช้ยา IVIG จากหน่วยงานสิทธิประโยชน์
test ให้ผลบวก
ภายหลังการรักษา (post authorization) เนือ่ งจากเป็นโรค
4.1.3.3 prostigmine test ให้ผลบวก
ฉุกเฉินและจำเป็นต้องให้ยาในทันทีมิฉะนั้นผู้ป่วยอาจถึงแก่
4.1.3.4 single-fiber electromyography
ชีวิตได้
(SFEMG) ให้ผลบวก
2. คุณสมบัติของสถานพยาบาล
4.2 อนุมัติให้ใช้ยา IVIG ได้ไม่เกิน 2 กรัมต่อกิโลกรัม
เป็นสถานพยาบาลระดับตติยภูมิขึ้นไปที่มีศักยภาพใน
ต่อการรับไว้ในโรงพยาบาล 1 ครัง้ โดยอาจให้ยา 1 หรือ 1.2
การดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ
กรัมต่อกิโลกรัมก่อนในวันแรก ถ้าไม่ได้ผลจึงให้ตอ่ จนครบ 2
3. คุณสมบัติของแพทย์ผู้ทำการรักษา
กรัมต่อกิโลกรัม หลังการรักษาภาวะฉุกเฉิน แพทย์ควรให้
เป็นแพทย์ผเู้ ชีย่ วชาญทีไ่ ด้รบั หนังสืออนุมตั ิ หรือวุฒบิ ตั ร
การรักษาโรคด้วยวิธีการอื่นที่เหมาะสมต่อไป
จากแพทยสภาในสาขาประสาทวิทยาหรืออนุสาขากุมารเวช-
4.3 ต้องไม่เป็นผู้ป่วยระยะสุดท้าย (terminally ill)**
ศาสตร์ประสาทวิทยา ซึง่ ปฏิบตั งิ านในสถานพยาบาลตามข้อ 2
4.4 กรอกแบบฟอร์มทีค่ ณะอนุกรรมการพัฒนาบัญชียา
4. เกณฑ์อนุมัติการใช้ยา*
หลักแห่งชาติกำหนดทุกครั้งที่จะใช้ยากับผู้ป่วย***
อนุมัติการใช้ IVIG ในโรคกล้ามเนื้ออ่อนแรงชนิดร้ายระ
5. ขนาดยาที่แนะนำ
ยะวิกฤตเท่านัน้ (ไม่อนุมตั ใิ ห้ใช้ในโรคกล้ามเนือ้ อ่อนแรงชนิด
ให้ยา IVIG ในขนาด 1-1.2 กรัมต่อกิโลกรัม เป็นเวลา 1
ร้ายในระยะอื่น) โดยมีเกณฑ์ดังนี้
วัน แล้วประเมินผลการรักษา หากไม่ได้ผล จึงให้ตอ่ อีกจนครบ
4.1 ผูป้ ว่ ยได้รบั การตรวจวินจิ ฉัยว่าเป็นโรคกล้ามเนือ้ อ่อน
2 กรัมต่อกิโลกรัม โดยมีวิธีการบริหารยาดังนี้
แรงชนิดร้ายระยะวิกฤต อย่างชัดเจนโดยมีประวัติ อาการ
5.1 ให้ยา IVIG 0.4 กรัมต่อกิโลกรัมต่อวัน เป็นเวลา 3
และอาการแสดงดังต่อไปนี้
วัน หากไม่ได้ผลจึงพิจารณาให้ต่ออีก 2 วัน จนครบ 2 กรัม
4.1.1 มีการหายใจล้มเหลวซึ่งมีสาเหตุจากกะบังลม
ต่อกิโลกรัม (ขนาดยารวม 1.2 กรัมต่อกิโลกรัม มีประสิทธิผล
หรือกล้ามเนื้อระหว่างซี่โครงอ่อนแรง
เท่ากับ 2 กรัมต่อกิโลกรัม)
4.1.2 มีอาการแสดงทางคลินิกข้อใดข้อหนึ่งดังนี้
5.2 1 กรัมต่อกิโลกรัมต่อวัน เป็นเวลา 1 วัน หากไม่ได้
4.1.2.1 มี ห นั ง ตาตก เห็ น ภาพซ้ อ น หรื อ
ผลจึงพิจารณาให้ต่ออีก 1 วัน จนครบ 2 กรัมต่อกิโลกรัม
การกลอกตาผิดปกติ (oculomotor disturbance)
(ขนาดยารวม 1 กรัมต่อกิโลกรัม มีประสิทธิผลเท่ากับ 2
4.1.2.2 มีอาการที่เกี่ยวเนื่องกับเส้นประสาท
กรัมต่อกิโลกรัม)
สมอง เช่น อัมพาตใบหน้าครึ่งซีก (facial palsy) หรือ
bulbar weakness
** ผู้ป่วยระยะสุดท้าย (terminally ill) หมายถึง ผู้ป่วยโรคทางกายซึ่งไม่
4.1.2.3 มี generalized weakness หรือ สามารถรักษาได้ (incurable) และไม่สามารถช่วยให้ชีวิตยืนยาวขึ้น
proximal muscle weaknes (irreversible) ซึ่งในความเห็นของแพทย์ผู้รักษา ผู้ป่วยจะเสียชีวิตใน
ระยะเวลาอันสั้น
* กรณีที่แพทย์ผู้รักษาเห็นว่า ควรใช้ยาแตกต่างจากเกณฑ์การใช้ยาที่ หมายเหตุ ผู้ป่วยดังกล่าวควรได้รับการรักษาแบบประคับประคอง
กำหนด ให้ขออนุมตั กิ ารใช้ยาต่อคณะทำงานกำกับดูแลการสัง่ ใช้ยาบัญชี (palliative care) โดยมุง่ หวังให้ลดความเจ็บปวดและความทุกข์ทรมาน
จ(2) ทีค่ ณะอนุกรรมการพัฒนาบัญชียาหลักแห่งชาติแต่งตัง้ โดยนำเสนอ เป็นสำคัญ
หลักฐานทางการแพทย์ที่สนับสนุนว่าการใช้ยานอกเหนือจากแนวทาง *** โปรดเก็บรักษาข้อมูลไว้เพื่อใช้เป็นหลักฐานในการตรวจสอบการใช้ยา
ที่กำหนดไว้ จะเกิดผลดีกับผู้ป่วย และมีความคุ้มค่า โดยหน่วยงานการกำกับดูแลการสั่งใช้ยาบัญชี จ(2)

คู่มือการใช้ยาอย่างสมเหตุผลตามบัญชียาหลักแห่งชาติ บัญชี จ(2) 61


62 Thai National Formulary 2010 : Special Access Medicines of National List of Essential Medicines
คู่มือการใช้ยาอย่างสมเหตุผลตามบัญชียาหลักแห่งชาติ บัญชี จ(2) 63
Human normal immunoglobulin, intravenous (IVIG) > แนวทางกำกับการใช้ยาและแบบฟอร์มกำกับการใช้ยา
bilirubin ในปัสสาวะ (indirect bilirubin เพิ่มสูงขึ้น
5.3.4 autoimmune hemolytic anemia (AIHA) ที่ไม่
ตอบสนองต่อการรักษาตามขั้นตอนของมาตรฐาน ในเลือด)
การรักษา และมีอาการรุนแรงที่อาจเป็นอันตราย 4.2 ไม่ตอบสนองต่อการรักษาตามขัน้ ตอนของมาตรฐาน
ถึงแก่ชีวิต การรักษา ได้แก่ ไม่ตอบสนองต่อ corticosteroid และ
แนวทางกำกับการใช้ยา การให้เลือด
1. ระบบอนุมัติการใช้ยา 4.3 มีอาการรุนแรงที่อาจเป็นอันตรายถึงแก่ชีวิต ได้แก่
ขออนุมัติการใช้ยา IVIG จากหน่วยงานสิทธิประโยชน์ unstable angina กล้ามเนื้อหัวใจตายจากการขาดเลือด
ภายหลังการรักษา (post-authorization) เนื่องจากผู้ป่วย (myocardial infarction) หัวใจวาย และ stroke
ส่วนใหญ่มักมาด้วยอาการฉุกเฉิน และจำเป็นต้องได้รับยา 4.4 ไม่เป็นผู้ป่วยเด็ก เนื่องจากไม่มีหลักฐานสนับสนุน
อย่างทันท่วงทีมิฉะนั้นอาจทำให้ผู้ป่วยเสียชีวิตได้ และเด็กส่วนใหญ่ไม่ตอบสนองต่อการรักษาด้วย IVIG แม้ให้
2. คุณสมบัติของสถานพยาบาล ยาในขนาดสูงมาก (เช่น 1 กรัมต่อน้ำหนักตัว 1 กิโลกรัม
2.1 เป็นสถานพยาบาลระดับตติยภูมิขึ้นไป เป็นเวลา 5 วัน) แล้วก็ตาม
2.2 กรณีเป็นสถานพยาบาลระดับทุตยิ ภูมทิ ม่ี คี วามพร้อม 4.5 ต้องไม่เป็นผู้ป่วยระยะสุดท้าย (terminally ill)**
เป็นไปตามเกณฑ์ ให้สถานพยาบาลแจ้งความประสงค์ต่อ 4.6 มีการกรอกแบบฟอร์มที่คณะอนุกรรมการพัฒนา
หน่วยงานกำกับดูแลการสัง่ ใช้ยาบัญชี จ(2) เพือ่ ขออนุมตั แิ ละ บัญชียาหลักแห่งชาติกำหนดทุกครั้งที่ใช้ยากับผู้ป่วย***
ลงทะเบียนสถานพยาบาลแต่ละแห่งเป็นกรณีไป 5. ขนาดยาที่แนะนำ และวิธีการให้ยา
3. คุณสมบัติของแพทย์ผู้ทำการรักษา 400–500 มิลลิกรัมต่อน้ำหนักตัว 1 กิโลกรัมต่อวัน
เป็นแพทย์ผเู้ ชีย่ วชาญทีไ่ ด้รบั หนังสืออนุมตั ิ หรือวุฒบิ ตั ร เป็นเวลา 4-5 วัน หรือ 1 กรัมต่อน้ำหนักตัว 1 กิโลกรัมต่อวัน
จากแพทยสภาในสาขาอายุรศาสตร์ หรืออายุรศาสตร์โรคเลือด เป็นเวลา 2 วัน ขนาดรวมไม่เกิน 2 กรัมต่อน้ำหนักตัว 1
ซึ่งปฏิบัติงานในสถานพยาบาลที่ได้รับการอนุมัติในข้อ 2 กิโลกรัม และไม่อนุมตั ใิ ห้ใช้ยาซ้ำในการรักษาคราวเดียวกัน
4. เกณฑ์อนุมัติการใช้ยา* ให้ยาด้วยวิธหี ยดเข้าหลอดเลือดดำอย่างต่อเนือ่ ง โดยเริม่
อนุมัติการใช้ IVIG ในโรค autoimmune hemolytic ให้ยาในขนาด 0.6 มิลลิลติ รต่อน้ำหนักตัว 1 กิโลกรัมต่อชัว่ โมง
anemia (AIHA) เมื่อครบตามเงื่อนไขดังต่อไปนี้ (30 มิลลิกรัมต่อน้ำหนักตัว 1 กิโลกรัมต่อชั่วโมง) และ
4.1 ได้รับการวินิจฉัยว่าเป็นโรค AIHA ตามเกณฑ์ครบ เพิ่มอัตราครั้งละเท่าตัวทุก 30 นาที ขนาดสูงสุดไม่เกิน 4.8
ทุกข้อต่อไปนี้ มิลลิลิตรต่อน้ำหนักตัว 1 กิโลกรัมต่อชั่วโมง (240 มิลลิกรัม
4.1.1 เป็นภาวะโลหิตจางชนิด acquired hemolytic ต่อน้ำหนักตัว 1 กิโลกรัมต่อชัว่ โมง) และหยดเข้าหลอดเลือดดำ
anemia อย่างต่อเนื่องจนยาหมด
4.1.2 ตรวจร่างกายพบอาการแสดงของโลหิตจาง หากให้ยาด้วยวิธีข้างต้นโดยใช้ยาในขนาดสูงสุดคือ 1
ดีซ่าน อาจมีตับและม้ามโต กรัมต่อน้ำหนักตัว 1 กิโลกรัม ยาจะหมดในเวลาประมาณ
4.1.3 ตรวจสเมียร์เลือดพบ spherocyte, poly- 5-6 ชั่วโมง
chromasia และ nucleated red blood cell
4.1.4 ตรวจ direct Coombs’ test ให้ผลบวก ร่วมกับ ** ผู้ป่วยระยะสุดท้าย (terminally ill) หมายถึง ผู้ป่วยโรคทางกายซึ่งไม่
สามารถรักษาได้ (incurable) และไม่สามารถช่วยให้ชีวิตยืนยาวขึ้น
การเพิ่มขึ้นของ reticulocyte count และการตรวจพบ
(irreversible) ซึ่งในความเห็นของแพทย์ผู้รักษา ผู้ป่วยจะเสียชีวิตใน
ระยะเวลาอันสั้น
* กรณีที่แพทย์ผู้รักษาเห็นว่า ควรใช้ยาแตกต่างจากเกณฑ์การใช้ยาที่ หมายเหตุ ผู้ป่วยดังกล่าวควรได้รับการรักษาแบบประคับประคอง
กำหนด ให้ขออนุมตั กิ ารใช้ยาต่อคณะทำงานกำกับดูแลการสัง่ ใช้ยาบัญชี (palliative care) โดยมุง่ หวังให้ลดความเจ็บปวดและความทุกข์ทรมาน
จ(2) ทีค่ ณะอนุกรรมการพัฒนาบัญชียาหลักแห่งชาติแต่งตัง้ โดยนำเสนอ เป็นสำคัญ
หลักฐานทางการแพทย์ที่สนับสนุนว่าการใช้ยานอกเหนือจากแนวทาง *** โปรดเก็บรักษาข้อมูลไว้เพื่อใช้เป็นหลักฐานในการตรวจสอบการใช้ยา
ที่กำหนดไว้ จะเกิดผลดีกับผู้ป่วย และมีความคุ้มค่า โดยหน่วยงานการกำกับดูแลการสั่งใช้ยาบัญชี จ(2)

64 Thai National Formulary 2010 : Special Access Medicines of National List of Essential Medicines
แนวทางกำกับการใช้ยาและแบบฟอร์มกำกับการใช้ยา < Human normal immunoglobulin, intravenous (IVIG)
หมายเหตุ ยาแต่ละบริษัทอาจมีวิธีการให้ยาที่แตกต่างกัน
โปรดอ่านวิธีให้ยาจากเอกสารกำกับยาก่อนให้ยา
6. การติดตามผลการรักษา
6.1 ขณะให้ยาควรวัดชีพจร และความดันโลหิต ทุก 15
นาที ใน 2 ชั่วโมงแรก หลังจากนั้นถ้าไม่พบความผิดปกติ
ให้บนั ทึกทุก 1 ชัว่ โมง จนสิน้ สุดการให้ IVIG แล้ว 60 นาที
6.2 ให้สงั เกตการเกิดผืน่ และการหายใจ ถ้ามีอาการผิดปกติ
ให้หยุดการให้ยา และรักษาอาการแพ้
6.3 หากเกิดอาการข้างเคียง เช่น มีอาการเวียนศีรษะ
ปวดศีรษะ หรือคลื่นไส้อาเจียน ให้แก้ไขโดยการลดอัตรา
การให้ยาลงร้อยละ 25-50

คู่มือการใช้ยาอย่างสมเหตุผลตามบัญชียาหลักแห่งชาติ บัญชี จ(2) 65


66 Thai National Formulary 2010 : Special Access Medicines of National List of Essential Medicines
คู่มือการใช้ยาอย่างสมเหตุผลตามบัญชียาหลักแห่งชาติ บัญชี จ(2) 67
Human normal immunoglobulin, intravenous (IVIG) > แนวทางกำกับการใช้ยาและแบบฟอร์มกำกับการใช้ยา
4.1.5 Hypertriglyceridemia และ/หรือ hypofi-
5.3.5 hemophagocytic lymphohistiocytosis
(HLH) brinogenemia
• Fasting triglyceride > 2 mmol/L
แนวทางกำกับการใช้ยา • Fibrinogen < 1.5 g/L
1. ระบบอนุมัติการใช้ยา 4.1.6 Serum ferritin > 500 mg/L
ขออนุมัติการใช้ยา IVIG จากหน่วยงานสิทธิประโยชน์ 4.1.7 Soluble interleukin-2 receptor (sCD25)
ภายหลังการรักษา (post-authorization) เนื่องจากผู้ป่วย > 2400 U/mL
ส่วนใหญ่มกั จะมาด้วยอาการฉุกเฉิน และจำเป็นต้องได้รบั ยา 4.1.8 Natural killer cell activity ต่ำ หรือไม่มี
ในทันทีมิเช่นนั้นผู้ป่วยอาจถึงแก่ชีวิตได้ 4.2 ต้องไม่เป็นผู้ป่วยระยะสุดท้าย (terminally ill)**
2. คุณสมบัติของสถานพยาบาล 4.3 กรอกแบบฟอร์มที่คณะอนุกรรมการพัฒนาบัญชียา
เป็นสถานพยาบาลระดับตติยภูมิขึ้นไป หลักแห่งชาติกำหนดทุกครั้งที่จะใช้ยากับผู้ป่วย***
3. คุณสมบัติของแพทย์ผู้ทำการรักษา
เป็นแพทย์ผเู้ ชีย่ วชาญทีไ่ ด้รบั หนังสืออนุมตั ิ หรือวุฒบิ ตั ร
จากแพทยสภาในอนุสาขาโลหิตวิทยาและมะเร็งในเด็ก หรือ
อนุสาขากุมารเวชศาสตร์โรคติดเชื้อ
4. เกณฑ์อนุมัติการใช้ยา*
การใช้ IVIG ในโรค hemophagocytic lymphohistio-
cytosis (HLH) ชนิดรุนแรงที่อาจเป็นอันตรายถึงชีวิตมีข้อ
กำหนดดังนี้
4.1 ผูป้ ว่ ยเด็กทีไ่ ด้รบั การวินจิ ฉัยว่าเป็นโรค HLH โดยต้อง
มีการตรวจพบครบถ้วนทั้ง 4 ข้อต่อไปนี้
4.1.1 มีไข้
4.1.2 ม้ามโต
4.1.3 Cytopenia มากกว่า หรือ เท่ากับ 2 cell lines
(โดยมีอย่างน้อย 2 ใน 3 ข้อต่อไปนี้)
• Hemoglobin < 9 g/dL (อายุน้อยกว่า
4 สัปดาห์ Hb < 12 g/dL)
• Absolute neutrophil <1000/mL
• Platelet < 100,000/mL
4.1.4 มีการตรวจพบ Hemophagocytosis ใน
ไขกระดูก ต่อมน้ำเหลือง
นอกจากนี้ อ าจมี ผ ลการตรวจอื่ น ๆ ที่ ส นั บ สนุ น
** ผู้ป่วยระยะสุดท้าย (terminally ill) หมายถึง ผู้ป่วยโรคทางกายซึ่งไม่
การวินิจฉัยโรค HLH ได้แก่ สามารถรักษาได้ (incurable) และไม่สามารถช่วยให้ชีวิตยืนยาวขึ้น
(irreversible) ซึ่งในความเห็นของแพทย์ผู้รักษา ผู้ป่วยจะเสียชีวิตใน
ระยะเวลาอันสั้น
* กรณีที่แพทย์ผู้รักษาเห็นว่า ควรใช้ยาแตกต่างจากเกณฑ์การใช้ยาที่ หมายเหตุ ผู้ป่วยดังกล่าวควรได้รับการรักษาแบบประคับประคอง
กำหนด ให้ขออนุมตั กิ ารใช้ยาต่อคณะทำงานกำกับดูแลการสัง่ ใช้ยาบัญชี (palliative care) โดยมุง่ หวังให้ลดความเจ็บปวดและความทุกข์ทรมาน
จ(2) ทีค่ ณะอนุกรรมการพัฒนาบัญชียาหลักแห่งชาติแต่งตัง้ โดยนำเสนอ เป็นสำคัญ
หลักฐานทางการแพทย์ที่สนับสนุนว่าการใช้ยานอกเหนือจากแนวทาง *** โปรดเก็บรักษาข้อมูลไว้เพื่อใช้เป็นหลักฐานในการตรวจสอบการใช้ยา
ที่กำหนดไว้ จะเกิดผลดีกับผู้ป่วย และมีความคุ้มค่า โดยหน่วยงานการกำกับดูแลการสั่งใช้ยาบัญชี จ(2)

68 Thai National Formulary 2010 : Special Access Medicines of National List of Essential Medicines
คู่มือการใช้ยาอย่างสมเหตุผลตามบัญชียาหลักแห่งชาติ บัญชี จ(2) 69
70 Thai National Formulary 2010 : Special Access Medicines of National List of Essential Medicines
แนวทางกำกับการใช้ยาและแบบฟอร์มกำกับการใช้ยา < Human normal immunoglobulin, intravenous (IVIG)
4.3 กรณีมี absolute indication โดยผู้ป่วยโรค ITP
5.3.6 โรค idiopathic thrombocytopenic purpura
(ITP) ชนิดรุนแรง มีอาการรุนแรง เป็นไปตามเกณฑ์ครบถ้วนทุกข้อดังนี้
4.3.1 ไม่ใช้ IVIG เป็นยาขนานแรก และไม่ใช้ IVIG
แนวทางกำกับการใช้ยา เป็นยาเดี่ยวในการรักษา โดยให้ IVIG ร่วมกับเกล็ดเลือด
1. ระบบอนุมัติการใช้ยา และคอร์ติโคสเตอรอยด์
ขออนุมัติการใช้ยา IVIG จากหน่วยงานสิทธิประโยชน์ 4.3.2 มีจำนวนเกล็ดเลือดน้อยกว่า 20,000/mm3
ภายหลังการรักษา (post-authorization) เนื่องจากผู้ป่วย 4.3.3 มีภาวะเลือดออกรุนแรงทีค่ กุ คามต่อชีวติ ได้แก่
ส่วนใหญ่ มักมาด้วยอาการฉุกเฉิน และจำเป็นต้องได้รับยา ภาวะเลือดออกในอวัยวะสำคัญ เช่น สมอง ปอด ช่องท้อง
อย่างทันท่วงทีมิฉะนั้นอาจทำให้ผู้ป่วยเสียชีวิตได้ ช่องอก และทางเดินอาหาร
2. คุณสมบัติของสถานพยาบาล 4.3.4 ใช้ยา IVIG ภายหลังการให้การรักษามาตรฐาน
2.1 เป็นสถานพยาบาลระดับตติยภูมิขึ้นไป แล้วไม่ตอบสนองต่อการรักษา เช่น anti-Rho (D) immune
2.2 กรณีเป็นสถานพยาบาลระดับทุตยิ ภูมทิ ม่ี คี วามพร้อม globulin, คอร์ติโคสเตรอยด์ หรือเกล็ดเลือดร่วมกับคอร์ติ-
ในการวินิจฉัยและติดตามผลการรักษา ให้สถานพยาบาล โคสเตรอยด์นาน 3-7 วันยังคงมีจำนวนเกล็ดเลือดต่ำมาก
แจ้งความประสงค์ต่อหน่วยงานกำกับดูแลการสั่งใช้ยาบัญชี หรือมีจำนวนลดลง
จ(2) เพือ่ ขออนุมตั ิ และลงทะเบียนสถานพยาบาลแต่ละแห่ง 4.4 กรณีมี relative indication โดยผูป้ ว่ ยโรค ITP ทีจ่ ำเป็น
ต้องได้รับการตัดม้าม โดยมีเกณฑ์ครบถ้วนทุกข้อดังนี้
เป็นกรณีไป
4.4.1 มีจำนวนเกล็ดเลือดน้อยกว่า 50,000/mm3
3. คุณสมบัติของแพทย์ผู้ทำการรักษา
ก่อนการผ่าตัด
เป็นแพทย์ผเู้ ชีย่ วชาญทีไ่ ด้รบั หนังสืออนุมตั ิ หรือวุฒบิ ตั ร
4.4.2 ได้รับคอร์ติโคสเตรอยด์ และ anti-Rho (D)
จากแพทยสภาในสาขาอายุรศาสตร์โรคเลือด หรืออนุสาขา immune globulin แล้ว แต่ไม่สามารถเพิม่ จำนวนเกล็ดเลือด
โลหิตวิทยาและมะเร็งในเด็ก ซึง่ ปฏิบตั งิ านในสถานพยาบาล ให้มากกว่า 50,000/mm3 ได้
ที่ได้รับการอนุมัติในข้อ 2 4.5 ต้องไม่เป็นผู้ป่วยระยะสุดท้าย (terminally ill)**
4. เกณฑ์อนุมัติการใช้ยา* 4.6 กรอกแบบฟอร์มที่คณะอนุกรรมการพัฒนาบัญชียา
อนุมัติการใช้ยา IVIG ในโรค idiopathic thrombocy- หลักแห่งชาติกำหนดทุกครั้งที่จะใช้ยากับผู้ป่วย***
topenic purpura (ITP) ชนิดรุนแรง โดยมีเกณฑ์ดังนี้ 5. ขนาดยาที่แนะนำ และวิธีการให้ยา
4.1 ผูป้ ว่ ยแต่ละรายอนุมตั ใิ ห้ใช้ยา IVIG ได้ไม่เกิน 2 กรัม เด็กและผูใ้ หญ่ ให้ยาในขนาด 400 มิลลิกรัมต่อน้ำหนักตัว
ต่อกิโลกรัม ต่อการรับไว้ในโรงพยาบาล 1 ครัง้ และไม่ให้ยาซ้ำ 1 กิโลกรัมต่อวัน เป็นเวลา 2-5 วัน หรือ ให้ยาในขนาด 1
ในการรักษาคราวเดียวกัน กรัมต่อน้ำหนักตัว 1 กิโลกรัมต่อวัน เป็นเวลา 2 วัน โดยเริม่
4.2 เป็นผู้ป่วยที่ได้รับการวินิจฉัยว่าเป็นโรค ITP ที่มี ให้ยาในขนาด 0.6 มิลลิลติ รต่อน้ำหนักตัว 1 กิโลกรัมต่อชัว่ โมง
อาการรุนแรง โดยมีเกณฑ์ครบถ้วนทุกข้อดังนี้ และเพิม่ อัตราครัง้ ละเท่าตัวทุก 30 นาที (ขนาดสูงสุดไม่เกิน
4.2.1 มีเลือดออกผิดปกติทเ่ี กิดจากจำนวนเกล็ดเลือดต่ำ 4.8 มิลลิลติ รต่อน้ำหนักตัว 1 กิโลกรัมต่อชัว่ โมง) จนได้อตั รา
4.2.2 มี isolated thrombocytopenia ร่วมกับมี ที่ให้ IVIG ได้หมดใน 8-12 ชั่วโมง ให้ยาซ้ำครั้งที่สอง 24
จำนวน megakaryocyte ในไขกระดูกปกติ ชั่วโมงหลังการให้ยาครั้งแรก
4.2.3 ไม่มีสาเหตุอื่นๆ ของจำนวนเกล็ดเลือดต่ำ หมายเหตุ ผูป้ ว่ ยหลังการตัดม้าม ไม่จดั อยูใ่ นเกณฑ์การอนุมตั ิ
เช่น ติดเชื้อ ยา เป็นต้น การใช้ยา IVIG
4.2.4 เป็ น ไปตามเกณฑ์ ใ นข้ อ 4.3 absolute
** ผู้ป่วยระยะสุดท้าย (terminally ill) หมายถึง ผู้ป่วยโรคทางกายซึ่งไม่
indication หรือในข้อ 4.4 relative indication ข้อใดข้อหนึง่ สามารถรักษาได้ (incurable) และไม่สามารถช่วยให้ชีวิตยืนยาวขึ้น
(irreversible) ซึ่งในความเห็นของแพทย์ผู้รักษา ผู้ป่วยจะเสียชีวิตใน
ระยะเวลาอันสั้น
* กรณีที่แพทย์ผู้รักษาเห็นว่า ควรใช้ยาแตกต่างจากเกณฑ์การใช้ยาที่ หมายเหตุ ผู้ป่วยดังกล่าวควรได้รับการรักษาแบบประคับประคอง
กำหนด ให้ขออนุมตั กิ ารใช้ยาต่อคณะทำงานกำกับดูแลการสัง่ ใช้ยาบัญชี (palliative care) โดยมุง่ หวังให้ลดความเจ็บปวดและความทุกข์ทรมาน
จ(2) ทีค่ ณะอนุกรรมการพัฒนาบัญชียาหลักแห่งชาติแต่งตัง้ โดยนำเสนอ เป็นสำคัญ
หลักฐานทางการแพทย์ที่สนับสนุนว่าการใช้ยานอกเหนือจากแนวทาง *** โปรดเก็บรักษาข้อมูลไว้เพื่อใช้เป็นหลักฐานในการตรวจสอบการใช้ยา
ที่กำหนดไว้ จะเกิดผลดีกับผู้ป่วย และมีความคุ้มค่า โดยหน่วยงานการกำกับดูแลการสั่งใช้ยาบัญชี จ(2)

คู่มือการใช้ยาอย่างสมเหตุผลตามบัญชียาหลักแห่งชาติ บัญชี จ(2) 71


72 Thai National Formulary 2010 : Special Access Medicines of National List of Essential Medicines
คู่มือการใช้ยาอย่างสมเหตุผลตามบัญชียาหลักแห่งชาติ บัญชี จ(2) 73
Human normal immunoglobulin, intravenous (IVIG) > แนวทางกำกับการใช้ยาและแบบฟอร์มกำกับการใช้ยา
5.1 ผูป้ ว่ ยได้รบั การวินจิ ฉัยว่าเป็นโรค pemphigus vulgaris
5.3.7 โรค pemphigus vulgaris ที่มีอาการรุนแรง
และไม่ตอบสนองต่อการรักษาด้วยยามาตรฐาน ตามเกณฑ์การวินิจฉัยโรคในข้อ 4
5.2 ผูป้ ว่ ยต้องมีอาการรุนแรง ซึง่ หมายถึงมีพนื้ ทีร่ อยโรค
แนวทางกำกับการใช้ยา (body surface area involvement) > 30% ของพืน้ ทีผ่ วิ กาย
1. ระบบอนุมัติการใช้ยา 5.3 มีความจำเป็นต้องใช้ IVIG เนื่องจากไม่สามารถใช้
ขออนุมัติการใช้ยา IVIG จากหน่วยงานสิทธิประโยชน์ ยาอื่นได้ ซึ่งหมายถึงข้อใดข้อหนึ่งดังต่อไปนี้
ภายหลังการรักษา (post-authorization) เนื่องจากผู้ป่วย 5.3.1 ไม่สามารถควบคุมโรคได้ดว้ ยยา prednisolone
ส่วนใหญ่เป็นผู้ป่วยหนัก อาการฉุกเฉินเร่งด่วน และจำเป็น 1 มิลลิกรัมต่อน้ำหนักตัว 1 กิโลกรัมต่อวัน ร่วมกับยากด
ต้องได้รับยาในทันทีมิเช่นนั้นผู้ป่วยอาจถึงแก่ชีวิตได้ ภูมคิ มุ้ กัน เช่น cyclophosphamide หรือ azathioprine ใน
2. คุณสมบัติของสถานพยาบาล ขนาด 100 มิลลิกรัมต่อวัน เมือ่ ให้ยาติดต่อกันนาน 6 สัปดาห์
สถานพยาบาลระดับตติยภูมิขึ้นไป 5.3.2 ไม่สามารถใช้การรักษาทีใ่ ช้อยูไ่ ด้ เนือ่ งจากผล
3. คุณสมบัติของแพทย์ผู้รักษา ข้างเคียงของยาหรือพิษของยาทีใ่ ช้อยู่ เช่น โรคติดเชือ้ ทีร่ นุ แรง
เป็นแพทย์ผเู้ ชีย่ วชาญทีไ่ ด้รบั หนังสืออนุมตั ิ หรือวุฒบิ ตั ร เบาหวานทีค่ วบคุมได้ไม่ดี โรคกระดูกพรุนจนยุบตัวลง การกด
จากแพทยสภาในสาขาตจวิทยา ซึง่ ปฏิบตั งิ านในสถานพยาบาล ไขกระดูก
ที่ได้รับการอนุมัติในข้อ 2 5.3.3 มีข้อห้ามใช้ยากลุ่ม immunosuppressive
4. เกณฑ์การวินิจฉัยโรค drugs
ผูป้ ว่ ยได้รบั การวินจิ ฉัยว่าเป็นโรค pemphigus vulgaris 5.4 หากควบคุมโรคได้อนุมตั ใิ ห้ใช้ IVIG ได้ไม่เกิน 6 cycle
โดยมีลักษณะทางคลินิกครบถ้วนดังต่อไปนี้ แต่ถา้ ให้ยาครบ 3 cycle แล้วยังควบคุมโรคไม่ได้ให้พจิ ารณา
4.1 อาการ และอาการแสดงเข้าได้กับโรค pemphigus หยุดยา
vulgaris 5.5 ต้องไม่เป็นผู้ป่วยระยะสุดท้าย (terminally ill)**
4.2 มีผลการตรวจทางห้องปฏิบตั กิ ารทีส่ นับสนุนการวินจิ ฉัย 5.6 กรอกแบบฟอร์มที่คณะอนุกรรมการพัฒนาบัญชียา
ข้อใดข้อหนึ่งดังต่อไปนี้ หลักแห่งชาติกำหนดทุกครั้งที่จะใช้ยากับผู้ป่วย***
• histopathology พบลักษณะทางพยาธิวทิ ยาเข้า 6. ขนาดยาที่แนะนำ และวิธีการให้ยา
ได้กับโรค pemphigus vulgaris ขนาดยาทีแ่ นะนำ คือ 2 กรัมต่อน้ำหนักตัว 1 กิโลกรัมต่อ
• direct immunofluorescence study ให้ผลบวก cycle แบ่งให้ในเวลา 3 วัน โดย 1 cycle มีระยะเวลา
ว่ามี IgG หรือ C3 ติดอยู่ที่ช่องว่างระหว่างเซลล์ kerati- 3-4 สัปดาห์ ถ้าให้ 3 cycle แล้วยังควบคุมโรคไม่ได้ให้
nocyte (Intercellular space) พิจารณาหยุดยา หากควบคุมโรคได้และไม่มรี อยโรคใหม่นาน
• indirect immunofluorescence study ให้ 3 สัปดาห์แล้ว ให้ค่อยๆ ลดขนาดยาลง หรือให้ยาในระยะ
ผลบวก anti-intercellular antibody เวลาทีห่ า่ งออกไป รวมทัง้ หมดไม่เกิน 6 cycle แล้วพิจารณา
• enzyme link immunosorbent assay (ELISA) เปลี่ยนไปใช้ยาอื่น
สำหรับ desmoglein 1 และ 3 ให้ผลบวกชนิดหนึ่งชนิดใด
หรือทั้งสองชนิด
5. เกณฑ์อนุมัติการใช้ยา*
อนุมัติการใช้ IVIG ในโรค pemphigus vulgaris ที่มี ** ผู้ป่วยระยะสุดท้าย (terminally ill) หมายถึง ผู้ป่วยโรคทางกายซึ่งไม่
อาการรุนแรง ด้วยเกณฑ์ดังนี้ สามารถรักษาได้ (incurable) และไม่สามารถช่วยให้ชีวิตยืนยาวขึ้น
(irreversible) ซึ่งในความเห็นของแพทย์ผู้รักษา ผู้ป่วยจะเสียชีวิตใน
ระยะเวลาอันสั้น
* กรณีที่แพทย์ผู้รักษาเห็นว่า ควรใช้ยาแตกต่างจากเกณฑ์การใช้ยาที่ หมายเหตุ ผู้ป่วยดังกล่าวควรได้รับการรักษาแบบประคับประคอง
กำหนด ให้ขออนุมตั กิ ารใช้ยาต่อคณะทำงานกำกับดูแลการสัง่ ใช้ยาบัญชี (palliative care) โดยมุง่ หวังให้ลดความเจ็บปวดและความทุกข์ทรมาน
จ(2) ทีค่ ณะอนุกรรมการพัฒนาบัญชียาหลักแห่งชาติแต่งตัง้ โดยนำเสนอ เป็นสำคัญ
หลักฐานทางการแพทย์ที่สนับสนุนว่าการใช้ยานอกเหนือจากแนวทาง *** โปรดเก็บรักษาข้อมูลไว้เพื่อใช้เป็นหลักฐานในการตรวจสอบการใช้ยา
ที่กำหนดไว้ จะเกิดผลดีกับผู้ป่วย และมีความคุ้มค่า โดยหน่วยงานการกำกับดูแลการสั่งใช้ยาบัญชี จ(2)

74 Thai National Formulary 2010 : Special Access Medicines of National List of Essential Medicines
คู่มือการใช้ยาอย่างสมเหตุผลตามบัญชียาหลักแห่งชาติ บัญชี จ(2) 75
76 Thai National Formulary 2010 : Special Access Medicines of National List of Essential Medicines
แนวทางกำกับการใช้ยาและแบบฟอร์มกำกับการใช้ยา < Human normal immunoglobulin, intravenous (IVIG)
หมายเหตุ ผูป้ ว่ ยควรพบแพทย์ผเู้ ชีย่ วชาญผูใ้ ห้การวินจิ ฉัย
5.3.8 โรคภูมิคุ้มกันบกพร่องปฐมภูมิ
(primary immunodeficiency diseases) ทุก 3-6 เดือน
3.2 แพทย์ในสาขาอืน่ ทีผ่ อู้ ำนวยการโรงพยาบาลมอบหมาย
แนวทางกำกับการใช้ยา ซึง่ สามารถรับคำปรึกษาจากแพทย์ผเู้ ชีย่ วชาญเพือ่ ให้การรักษา
1. ระบบอนุมัติการใช้ยา ผูป้ ว่ ยในภาวะฉุกเฉิน หรือเป็นการรักษาตามปกติแบบต่อเนือ่ ง
ขออนุมัติการใช้ยา IVIG จากหน่วยงานสิทธิประโยชน์ โดยมีหนังสือส่งตัวจากแพทย์ผู้เชี่ยวชาญ
ดังนี้ 4. เกณฑ์การวินิจฉัยโรค
1.1 กรณี Post-Authorization ผูป้ ว่ ยโรคภูมคิ มุ้ กันบกพร่องปฐมภูมอิ าจมีอาการทางคลินกิ
กรณีเมือ่ ผูป้ ว่ ยมาด้วยภาวะฉุกเฉินและจำเป็นต้องได้ ที่หลากหลาย การวินิจฉัยโรคอาจคลาดเคลื่อนได้หากไม่ได้
รับยาในทันที มิเช่นนั้นผู้ป่วยอาจถึงแก่ชีวิตได้ (life-threat- รับการยืนยันด้วยผลการตรวจทางห้องปฏิบตั กิ ารทีเ่ หมาะสม
ening) ให้ขออนุมตั กิ ารใช้ยา IVIG จากหน่วยงานสิทธิประโยชน์ ร่วมกับการตรวจพบลักษณะทางคลินกิ บางประการทีช่ ว่ ยให้
ภายหลังการรักษา พร้อมแนบรายงานการใช้ IVIG โดยเร็วทีส่ ดุ วินจิ ฉัยแยกโรคได้อย่างแม่นยำ เกณฑ์การวินจิ ฉัยโรคภูมคิ มุ้ กัน
1.2 กรณี Pre-Authorization บกพร่องปฐมภูมิประกอบด้วย
สำหรับในกรณีที่ไม่ใช่ภาวะฉุกเฉิน เช่น การให้เพื่อ 4.1 อาการแสดงทางคลินิก (clinical presentation)
การรักษาตามปกติ (Replacement Therapy) จะต้องมีการ 4.1.1 มีภาวะติดเชื้อของระบบทางเดินหายใจ และ
ลงทะเบียนผูป้ ว่ ยไว้ลว่ งหน้ากับหน่วยงานสิทธิประโยชน์ และ ระบบอื่นๆ ได้บอ่ ย เช่น ปอดอักเสบ หูอักเสบ ไซนัสอักเสบ
ก่อนได้รบั ยาในครัง้ (course) ต่อไป ให้ขออนุมตั กิ ารใช้ยา IVIG การติดเชือ้ ในทางเดินอาหาร สมองติดเชือ้ การติดเชือ้ บริเวณ
จากหน่วยงานสิทธิประโยชน์ก่อนการรักษา เนื่องจากผู้ป่วย ผิวหนัง การติดเชื้อของระบบกระดูกและกล้ามเนื้อ ซึ่งอาจ
ไม่จำเป็นต้องได้รบั ยาในทันที ยกเว้นในรายทีม่ อี าการรุนแรง รุนแรงถึงขั้นติดเชื้อในกระแสเลือด โดยมี spectrum ของ
และฉุกเฉินควรทำตามแบบ post-authorization แล้วจึง เชื้อดังแสดงไว้ในตารางที่ 1
แจ้งให้หน่วยงานสิทธิประโยชน์ทราบภายหลังการรักษา 4.1.2 การตรวจร่างกายทีช่ ว่ ยในการวินจิ ฉัยโรค คือ
2. คุณสมบัติของสถานพยาบาล อาจพบน้ำหนักตัวน้อย อาจตรวจไม่พบต่อมน้ำเหลืองหรือ
2.1 เป็นสถานพยาบาลระดับตติยภูมิ ทีม่ แี พทย์ผวู้ นิ จิ ฉัย ต่อมทอนซิล
ตามคุณสมบัติที่ระบุไว้ในข้อ 3 4.1.3 มีผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการที่สนับสนุน
2.2 เป็นสถานพยาบาลทีส่ ามารถรับคำปรึกษาจากแพทย์ การวินิจฉัยโรค ดังแสดงไว้ในตารางที่ 2
ที่มีคุณสมบัติของแพทย์ผู้วินิจฉัยตามที่ระบุไว้ในข้อ 3 โดย
ตารางที่ 1 spectrum ของเชือ้ ทีม่ กั เป็นสาเหตุของการติด
ให้สถานพยาบาลแจ้งความประสงค์ตอ่ หน่วยงานกำกับดูแล
เชื้อในผู้ป่วยโรคภูมิคุ้มกันบกพร่องปฐมภูมิ
การสัง่ ใช้ยาบัญชี จ(2) เพือ่ ขออนุมตั ิ และลงทะเบียนสถาน-
พยาบาลแต่ละแห่งเป็นกรณีไป A. Bacterial respiratory tract and gastrointestinal
infections
3. คุณสมบัติของแพทย์ผู้ทำการรักษา • Haemophilus influenzae
สถานพยาบาลจำเป็นต้องใช้ยาโดยแพทย์ผมู้ คี วามพร้อม • Streptococcus pneumoniae
ในการใช้ยานีท้ ง้ั ในแง่ความสามารถในการวินจิ ฉัยโรค การใช้ยา • Staphylococcus aureus
ให้ตรงตามข้อบ่งใช้ การระมัดระวังอันตรายจากยา และ
• Neisseria meningitidis
• Pseudomonas aeruginosa
การติดตามผลการรักษา ได้แก่ • เชื้ออื่นๆ ที่อาจพบได้ คือ Mycoplasma,
3.1 เป็นแพทย์ผเู้ ชีย่ วชาญทีไ่ ด้รบั หนังสืออนุมตั ิ หรือวุฒบิ ตั ร Campylobacter, Ureaplasma urealyticum
B. Enterovirus
จากแพทยสภาในอนุสาขากุมารเวชศาสตร์โรคติดเชื้อ หรือ • Echovirus เป็น virus สำคัญที่พบบ่อย
อนุสาขากุมารเวชศาสตร์โรคภูมแิ พ้และภูมคิ มุ้ กัน หรืออนุสาขา • Coxsackie virus A และ B
อายุรศาสตร์โรคติดเชือ้ หรืออนุสาขาอายุรศาสตร์โรคภูมแิ พ้ • Poliovirus
C. Opportunistic organism เช่น Pneumocystis jirovecii
และภูมิคุ้มกันทางคลินิก (Pneumocystic carinii)

คู่มือการใช้ยาอย่างสมเหตุผลตามบัญชียาหลักแห่งชาติ บัญชี จ(2) 77


Human normal immunoglobulin, intravenous (IVIG) > แนวทางกำกับการใช้ยาและแบบฟอร์มกำกับการใช้ยา
ตารางที ่ 2 ผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการที่สนับสนุนการ 1. Cardiac defect
วินจิ ฉัยโรคภูมคิ มุ้ กันบกพร่องปฐมภูมิ 2. Hypocalcemia of greater than 3 weeks
A. ผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการที่จำเป็นในการวินิจฉัย duration that requires therapy
ครั้งแรก 3. Dysmorphic facies or palatal
• Complete blood count (CBC) abnormalities
• Quantitative serum immunoglobulin (IgG, IgA, 4.2.4 X-linked agammaglobulinemia (XLA or
IgM) levels
Bruton’s agammaglobulinemia)
B. ผลการตรวจทางห้องปฏิบตั กิ ารทีค่ วรพิจารณาในการวินจิ ฉัย
ครั้งแรก เช่น Male patients with less than 2% CD19+
• CD marker เช่น CD3, CD4, CD8 (T cells), B cells in whom other causes of hypogamma-
CD19 or CD20 (B cells), CD16/56 (NK cells) globulinemia have been excluded and at least one
• Serum IgE level of the following criteria:
• IgG subclasses 1. Onset of recurrent bacterial infections
• T cell function in the first 5 years of life
• Antigen specific antibody response 2. Serum IgG, IgM and IgA more than
2 SD below normal for age
4.2 เกณฑ์ ก ารวิ นิ จ ฉั ยโรคภู มิ คุ้ ม กั น บกพร่ อ งปฐมภู มิ 3. Absence of isohemagglutinins
แต่ละชนิด 4.2.5 Autosomal recessive agammaglobulinemia
4.2.1 Common Variable Immunodeficiency Male or female patients with less than
(CVID) 2% CD19+ B cells in whom other causes of
Male or female, one of major isotypes
hypogammaglobulinemia have been excluded and
(IgM, IgG, and IgA) < 2 SD mean for age and all
at least one of the following criteria:
of the following criteria
1. Onset of recurrent bacterial infections
1. Onset > 2 years of age
in the first 5 years of life
2. Absent isohemagglutinin and/or poor
2. Serum IgG, IgM and IgA more than
response to vaccine
2 SD below normal for age
3. Defined causes of hypogamma -
globulinemia have been excluded 3. Absence of isohemagglutinins
4.2.2 Severe Combined Immunodeficiency 4.2.6 X-linked hyper-IgM syndrome
(SCID) Male patient with serum IgG concentra-
Male or female < 2 years of age with tion < 2 SD below normal for age, normal number
either of T cells and B cells and one or more of the
1. < 20% CD3+ T cells, an absolute following:
lymphocyte count < 3,000/mm3 and 1. Serum IgM concentration at least
proliferative responses to mitogen 2 SD above normal for age
less than 10% of control or 2. Pneumocystis jiroveci in the first year
2. The presence of maternal lymphocytes of life
in the circulation 3. Parvovirus-induced aplastic anemia
4.2.3 DiGeorge anomaly 4. Cryptosporidium-related diarrhea
Male or female with CD3+ T cells < 5. Severe liver disease (sclerosing
1,500/mm3 and at least one of the following: cholangitis)

78 Thai National Formulary 2010 : Special Access Medicines of National List of Essential Medicines
แนวทางกำกับการใช้ยาและแบบฟอร์มกำกับการใช้ยา < Human normal immunoglobulin, intravenous (IVIG)
4.2.7 Autosomal recessive hyper-IgM 4.2.12 IgA with IgG subclass deficiency
syndrome All of the following
Male or female patient with serum IgG 1. Reduced IgA (value below 2 SD for
and IgA concentration < 2 SD below normal for age appropriate level)
age, serum IgM concentration at least 2 SD above 2. Reduction in one or more of IgG
normal for age, normal number of T cells and B subclass (value below 2 SD for age
cells, and lymphadenopathy appropriate level)
4.2.8 Ataxia telangiectasia 3. No other cause of other primary
Male or female with progressive immunodeficiency can be identified
cerebellar ataxia and at least one of the following 4.2.13 Specific antibody deficiency with normal
1. Ocular or facial telangiectasia Ig concentrations and numbers of B cells
2. Serum IgA < 2 SD normal for age All of the following
3. Alpha fetoprotein > 2 SD 1. Abnormal antibody response to
4. Increased chromosomal breakage vaccine
after exposure to irradiation 2. No other cause of other primary
4.2.9 Wiskott-Aldrich syndrome immunodeficiency can be identified
Male patient with congenital thrombo-
4.2.14 Reticular dysgenesis
cytopenia (less than 70,000/mm3), small platelets,
All of the following without other cause
or male patient splenectomized for thrombocytopenia,
such as malignancy or drug
and at least one of the following
1. Markedly decreased T cells
1. Eczema
2. Decreased or normal B cells
2. Abnormal antibody response to
3. Decreased serum Immunoglobulin
polysaccharide antigens
3. Recurrent bacterial or viral infections 4. Granulocytopenia
4. Autoimmune diseases 5. Thrombocytopenia
5. Lymphoma, leukemia, or brain 4.2.15 Omenn syndrome
tumors All of the following
4.2.10 X-linked lymphoproliferative syndrome 1. Normal or decreased B cells
(XLP) 2. Decreased serum immunoglobulin
Male patient experiencing death, 3. Elevated serum IgE
lymphoma/ Hodgkin disease, immunodeficiency, 4. Erythroderma
aplastic anemia or lymphohistiocytic disorder 5. Eosinophilia
following acute EBV infection 6. Adenopathy
4.2.11 Isolated IgG subclass deficiency 7. Hepatosplenomegaly
All of the following 4.2.16 Thymoma with immunodeficiency (Good
1. Reduction in one or more of IgG syndrome)
subclass (value below 2 SD for age All of the following
appropriate level) 1. Thymoma
2. No other cause of other primary 2. Decreased numbers of B cells
immunodeficiency can be identified 3. Decreased serum immunoglobulin

คู่มือการใช้ยาอย่างสมเหตุผลตามบัญชียาหลักแห่งชาติ บัญชี จ(2) 79


Human normal immunoglobulin, intravenous (IVIG) > แนวทางกำกับการใช้ยาและแบบฟอร์มกำกับการใช้ยา
4.2.17 Transient hypogammaglobulinemia of หมายเหตุ เกณฑ์การวินิจฉัยโรคภูมิคุ้มกันบกพร่องปฐมภูมิ
infancy แต่ละชนิดตามข้อ 4.2 ดัดแปลงจาก
At least criteria number 1-4 at the 1. Diagnostic criteria for primary immunodeficiencies
initial diagnosis by Pan-American Group for Immunodeficiency
1. Age < 2 years old (PAGID) and European Society for Immunodeficiencies
2. Decreased serum IgG and IgA (ESID) Clin Immunol 1999;93:190-97.
3. Normal numbers of B cells
2. Classification of primary immunodeficiency by
4. No other cause of other primary
Primary Immunodeficiency Diseases Classification
immunodeficiency can be identified
5. Recovery after 2 years of age Committee, The International Union of Immunological
4.2.18 Cartilage hair hypoplasia Societies. J Allergy Clin Immunol 2006;117:883-96.
All of the following โปรดให้ความสนใจ การใช้ยาโดยขาดการวินจิ ฉัยโรคทีแ่ ม่นยำ
1. Normal or decreased numbers of T จัดเป็นการใช้ยาอย่างไม่สมเหตุผล สถานพยาบาลอาจไม่ได้
cells รับการชดเชยยาหากไม่ระบุการวินจิ ฉัยโรคตามข้อ 4.2 ข้อใด
2. Normal or decreased numbers of B ข้อหนึ่งให้กับผู้ป่วย
cells 5. เกณฑ์อนุมัติการใช้ยา*
3. Short-limbed dwarfism with meta อนุมัติการใช้ IVIG ในโรคภูมิคุ้มกันบกพร่องปฐมภูมิ
physeal dysostosis (primary immunodeficiency diseases) ด้วยเกณฑ์ดังนี้
4. Sparse hair 5.1 ผู้ป่วยได้รับการวินิจฉัยว่าเป็นโรคภูมิคุ้มกันบกพร่อง
5. Anemia
ปฐมภู มิ (primary immunodeficiency diseases)
6. Neutropenia
ประเภทใด ประเภทหนึง่ ดังนี้ โดยมีการระบุชอื่ โรคอย่างชัดเจน
4.2.19 Hyper-IgE syndrome (sporadic or
autosomal dominant form) ตามตารางที่ 3
At least criteria number 1-4 5.1.1 ผูป้ ว่ ยโรคภูมคิ มุ้ กันบกพร่องปฐมภูมปิ ระเภทที่
1. serum IgE > 2,000 IU/mL or more ขาด B cell เช่น X-linked agammaglobulinemia, severe
than 2 SD normal for age combined immunodeficiency
2. Staphylococcal skin abscess 5.1.2 ผูป้ ว่ ยโรคภูมคิ มุ้ กันบกพร่องปฐมภูมปิ ระเภทที่
3. Pneumonia and pneumatocoele มีปริมาณ immunoglobulin ต่ำ และมีความผิดปกติใน
4. Disorders of bone, joint, and teeth การสร้าง specific antibody เช่น common variable
such as osteoporosis, hyperextensible immunodeficiency, hyper-IgM syndrome
joint, scoliosis, retain primary teeth 5.1.3 ผูป้ ว่ ยโรคภูมคิ มุ้ กันบกพร่องปฐมภูมปิ ระเภทที่
5. Candidiasis มีปริมาณ immunoglobulin ปกติ แต่มีความผิดปกติ
6. Facial features such as broad nasal ในการสร้าง specific antibody เช่น Wiskott-Aldrich
bridge, and facial asymmetry
syndrome, hyper-IgE syndrome, specific antibody
4.2.20 WHIM syndrome
deficiency
All of the following
1. Hypogammaglobulinemia
2. Decreased B cells * กรณีที่แพทย์ผู้รักษาเห็นว่า ควรใช้ยาแตกต่างจากเกณฑ์การใช้ยาที่
3. Severe neutropenia กำหนด ให้ขออนุมตั กิ ารใช้ยาต่อคณะทำงานกำกับดูแลการสัง่ ใช้ยาบัญชี
จ(2) ทีค่ ณะอนุกรรมการพัฒนาบัญชียาหลักแห่งชาติแต่งตัง้ โดยนำเสนอ
4. Warts or human papilloma virus หลักฐานทางการแพทย์ที่สนับสนุนว่าการใช้ยานอกเหนือจากแนวทาง
infection ที่กำหนดไว้ จะเกิดผลดีกับผู้ป่วย และมีความคุ้มค่า

80 Thai National Formulary 2010 : Special Access Medicines of National List of Essential Medicines
แนวทางกำกับการใช้ยาและแบบฟอร์มกำกับการใช้ยา < Human normal immunoglobulin, intravenous (IVIG)
5.1.4 ผปู้ ว่ ยโรคภูมคิ มุ้ กันบกพร่องปฐมภูมปิ ระเภทที่ ตารางที ่ 3 รายชื่อโรคภูมิค้มุ กันบกพร่องปฐมภูมิแต่ละชนิด
มีปริมาณ immunoglobulin subclass ผิดปกติ ร่วมกับมี ที่ต้องได้รับการระบุในแบบฟอร์มขออนุมัติการใช้ยา (ต่อ)
การติดเชื้อบ่อยๆ หรือมีความผิดปกติในการสร้าง specific 16 Thymoma with immunodeficiency
antibody (Good syndrome)
5.2 ไม่ใช่ผู้ป่วยที่มีภาวะ selective IgA deficiency 17 Transient hypogammaglobulinemia of infancy
เนือ่ งจากไม่มขี อ้ บ่งชี้ และอาจเป็นอันตรายต่อผูป้ ว่ ยเนือ่ งจาก 18 Cartilage hair hypoplasia
เกิดภาวะแอนาฟิแล็กซิสได้ง่ายจากการใช้ IVIG 19 Hyper- IgE syndrome
20 WHIM syndrome
5.3 ต้องไม่เป็นผู้ป่วยระยะสุดท้าย (terminally ill)**
5.4 กรอกแบบฟอร์มที่คณะอนุกรรมการพัฒนาบัญชียา
6. ขนาดยาที่แนะนำ และวิธีการให้ยา
หลักแห่งชาติกำหนดทุกครั้งที่จะใช้ยากับผู้ป่วย***
เริม่ ด้วย 400-600 มิลลิกรัมต่อน้ำหนักตัว 1 กิโลกรัมต่อ
ตารางที ่ 3 รายชื่อโรคภูมิค้มุ กันบกพร่องปฐมภูมิแต่ละชนิด ครั้ง ทุก 2-4 สัปดาห์ จากนั้นปรับระดับให้ได้ IgG trough
ที่ต้องได้รับการระบุในแบบฟอร์มขออนุมัติการใช้ยา level มากกว่า 500 มิลลิกรัมต่อเดซิลิตร หรือ มากกว่า
800 มิลลิกรัมต่อเดซิลิตร กรณีที่มี bronchiectasis หรือ
01 Common variable immunodeficiency
การติดเชื้อที่รุนแรง
02 Severe combined immunodeficiency (SCID)
03 DiGeorge anomaly หมายเหตุ ยาแต่ละบริษทั อาจมีวธิ กี ารให้ยาทีแ่ ตกต่างกัน โปรด
04 X-linked agammaglobulinemia (XLA or Bruton’s อ่านวิธีให้ยาจากเอกสารกำกับยาก่อนให้ยา
agammaglobulinemia) 7. ระยะเวลาในการรักษา
05 Autosomal recessive agammaglobulinemia ขึ้นอยู่กับชนิดของโรคและดุลยพินิจของแพทย์ผู้วินิจฉัย
06 X-linked hyper-IgM syndrome
โดยประเมินว่าผู้ป่วยมีความจำเป็นต้องใช้ IVIG ต่อเนื่อง
07 Autosomal recessive hyper-IgM syndrome
08 Ataxia-telangiectasia and diseases of DNA repair หรือไม่ เช่นกรณี IgG subclass deficiency อาจพิจารณา
defects หยุดการให้ IVIG หลังการรักษา 6 เดือน ถึง 1 ปี สำหรับ
09 Wiskott-Aldrich syndrome ผู้ป่วยภูมิคุ้มกันบกพร่องที่ได้รับการรักษาด้วยการปลูกถ่าย
10 X-linked lymphoproliferative syndrome (XLP) ไขกระดูก ควรให้แพทย์ผวู้ นิ จิ ฉัยหรือแพทย์ผทู้ ำการรักษาเป็น
11 Isolated IgG subclass deficiency ผูพ้ จิ ารณาให้ความเห็นในการหยุดการให้ IVIG ตามมาตรฐาน
12 IgA with IgG subclass deficiency
13 Specific antibody deficiency with normal Ig การรักษา
concentrations and numbers of B cells
14 Reticular dysgenesis
15 Omenn syndrome

** ผู้ป่วยระยะสุดท้าย (terminally ill) หมายถึง ผู้ป่วยโรคทางกายซึ่งไม่


สามารถรักษาได้ (incurable) และไม่สามารถช่วยให้ชีวิตยืนยาวขึ้น
(irreversible) ซึ่งในความเห็นของแพทย์ผู้รักษา ผู้ป่วยจะเสียชีวิตใน
ระยะเวลาอันสั้น
หมายเหตุ ผู้ป่วยดังกล่าวควรได้รับการรักษาแบบประคับประคอง
(palliative care) โดยมุง่ หวังให้ลดความเจ็บปวดและความทุกข์ทรมาน
เป็นสำคัญ
*** โปรดเก็บรักษาข้อมูลไว้เพื่อใช้เป็นหลักฐานในการตรวจสอบการใช้ยา
โดยหน่วยงานการกำกับดูแลการสั่งใช้ยาบัญชี จ(2)

คู่มือการใช้ยาอย่างสมเหตุผลตามบัญชียาหลักแห่งชาติ บัญชี จ(2) 81


82 Thai National Formulary 2010 : Special Access Medicines of National List of Essential Medicines
คู่มือการใช้ยาอย่างสมเหตุผลตามบัญชียาหลักแห่งชาติ บัญชี จ(2) 83
84 Thai National Formulary 2010 : Special Access Medicines of National List of Essential Medicines

You might also like