You are on page 1of 20

หน่วยควบคุมระยะไกล (Remote Terminal Unit)

RTU (Remote Terminal Unit) คือ อุปกรณ์ท่ีทำำหน้ำที่เชื่อมต่อระหว่ำง


สัญญำณทำงไฟฟ้ ำของงำนอุตสำหกรรม โดยผ่ำนอินพุท/เอำท์พุท แล้วนำำ
ข้อมูลมำประมวลผล, บันทึก, และ ส่งต่อให้กับ ระบบ SCADA (Supervisory
and Data Acquisition System), DCS (Distribution Control System), Data
logger ต่อไป
ภาพแสดงระบบของ SCADA
(ที่มา http://www.veesta-world.com/pages/services_scada_page.htm )

โดยปกติ RTU ตั้งอย่ใู นสถำนที่ห่ำงไกลกับห้องควบคุมส่วนกลำง (Control


Room) ดังนั้ น RTU จึงรองรับกำรเชื่อมต่อที่หลำกหลำย เช่น RS232,
RS485, Ethernet เพื่อที่จะติดต่อกับอุปกรณ์ทำงไฟฟ้ ำ และ ส่วนกลำง
Protocol ที่ทำำงำนอยู่บนกำรเชื่อมต่อส่วนมำก จะเป็ น MODBUS, Field Bus

Remote Terminal Unit (RTU) เป็ นส่ ว นหนึ่ งของระบบ


SCADA ที่ ถูกติดตั้ ง อยู่ ท่ี ส ถำนี ส นำมหรือ สถำนี ตรวจวั ดข้ อ มู ล โดย
RTU ในระบบ SCADA จะถู ก ต่ อ กั บ เครื่อ งมื อ วั ด ข้ อ มู ล ที่ ต้ อ งกำร
ตรวจวัด และรวบรวมข้อมูลที่สถำนี สนำม (Local Station) ทั้งข้อมูล
ที่ เ ป็ นค่ ำ ต่ อ เนื่ อง (Analog) หรื อ ข้ อ มู ล สถำนะ (Digital) โดยต่ อ
อุปกรณ์ตรวจวัดข้อมูลเข้ำกับส่วน Input Unit ของ RTU แล้วนำำเอำ
ค่ำที่ทำำกำรตรวจวัดได้มำทำำกำรประมวลผลและส่งกลับไปแสดงผลที่
ศูนย์ควบคุมโดยผ่ำนระบบสื่อสำร
นอกจำกนั้ น RTU ยั ง จะต้ อ งรั บ คำำ สั ่ ง ในกำรควบคุ ม
อุปกรณ์จำกศูนย์ควบคุม โดยต่ออุปกรณ์ท่ีต้องกำรควบคุมเข้ำกับส่วน
Output Unit ของ RTU ซึ่ ง ในกำรควบคุ ม ต่ ำ ง ๆ ไม่ ว่ ำ จะเป็ นกำร
ควบคุ มกำรตรวจวั ดข้ อ มู ล หรือ เป็ นคำำ สั ่ง จำกศู น ย์ ค วบคุ ม จะต้ อ ง
สร้ำงโปรแกรมในกำรติดต่อกับส่วน Input Unit เพื่ออ่ำนค่ำที่ตรวจวัด
ได้ แ ละทำำ กำรประมวลผลค่ ำ นั้ นให้ อ อกมำในรู ป ที่ ต้ อ งกำรโดยมี ข้ อ
กำำหนดในกำรติดต่อสื่อสำรระหว่ำงสถำนี สนำมกับศูนย์ควบคุม หรือ
สถำนี สนำมกับสถำนี สนำม (Alternative Route) หรือผ่ำนสถำนี ทวน
สัญญำณ โดยผ่ำนช่องสัญญำณในกำรสื่อสำร (Communication Port)
ของ CPU ซึ่ ง โปรแกรมจะถู ก เก็ บ ลงใน Central Processing Unit
(CPU) ของ RTU

RTU เป็ นอุ ป กรณ์ ท่ี จ ะถู ก จั ด อยู่ ใ นส่ ว นของ Remote Station
ซึ่งเป็ นส่วนที่ทำำกำรรวบรวมข้อมูลจำกเครื่องจักรและอุปกรณ์ ส่งไป
ยังศูนย์กลำงของระบบ SCADA โดยสำมำรถแบ่งเป็ น 2 ประเภท
คือ

2.1 Single Board : input และ output เป็ น Fixed Nmber จะมี
ราคาถูกแต่ไม่สามารถรองรับการขยายของระบบสมัยใหม่ได้
High Capability on a very compact SINGLE BOARD

• Single board RTU

• Fits Electric Power (Pole top) and Oil-Gas-Water (low I/O count) applications

• Industrial 32-bit CPU

• Fixed I/O count 16 DI, 4DO, 4AI, 3 RS232

• DNP3 protocol to master station, user-configurable High level serial interface to IEDs

• SALL application programming tool


• 10ms Resolution for Sequence of Events

• Very low consumption (typical 4W) for battery backed operation

(ที่มา
http://www.foxboroscada.com/SCADA_Products_RTU_10.htm)

2.2 Modular Board : สามารถรองรั บ การขยาย Remote Station


ได้ แต่ราคาค่อนข้างแพง
General Purpose for ALL Industries TOP Modularity & Redundancy
• Oil & Gas Pipelines, Water & Wastewater, Electric power, District heating and Municipal
Multi-Service Utility applications

• Industrial 32-bit CPU - 4 Serial communication lines RS232 or RS485

• Multiple Protocols : DNP3, MODBUS, P6008 - Master/Slave RTUs connections

• Very modular configuration and expandability: from few to several hundreds of I/O points

• Redundant CPU, Power supply and Communication I/F modules for high availability
applications
• IEC 61131-3 “Local automatic sequences” configuration

• Store & Forward, Report-by-Exception, Unsolicited and Spontaneous-call communications

• Sequence of Events up to 1 ms. resolution

• PID algorithms & Flow Calculation (AGA3, AGA5, AGA7, AGA8, NX19)

• Very low Power consumption : typical 6 Watts

• Operating temperature from -25 to +70 Deg C

(ที่มา
http://www.foxboroscada.com/SCADA_Products_RTU_20.htm)

ส่วนประกอบหลั กของ RTU ที่สำา คัญมี อยู่ 3 ส่วนดัง


ต่อไปนี้

1) Central Processing Unit (CPU) ข อ ง RTU


หน้ำที่หลัก คือ

- ทำำ หน้ ำ ที่ ใ นกำรประมวลผลสั ญ ญำณที่ รั บ มำจำก Filed


Instrument โดยสั ญ ญำณที่ ได้ ร บ
ั มำจำก Field Instrument จะถู กต่ อ
เข้ ำ กั บ I/O Module ตำมมำตรฐำนสั ญ ญำณต่ ำ งๆ เช่ น สั ญ ญำณ
Analog 4 – 20 mA. หรื อ สั ญ ญำณ Digital On – Off โดยเมื่ อ
CPU รับ สั ญ ญำณจำก Module ที่ ต่ อ ผ่ ำ น I/O Bus แล้ ว จะทำำ กำร
ประมวลผลโดยสัญญำณ Analog จะถูกแปลงเป็ นค่ำ Digital โดยใช้
Analog to Digital Converter แล้วนำำไปประมวลผลต่อไป

- ทำำ หน้ ำ ที่ ใ นกำรประมวลผลข้ อ มู ล ต่ ำ งๆที่ ไ ด้ ร ั บ จำก I/O


Module เพื่อที่จะส่งข้อมูลให้กับศูนย์ควบคุม และทำำ หน้ำที่แปลงคำำ
สัง่ จำกศูนย์ควบคุมเพื่อใช้ในกำรควบคุมอุปกรณ์ต่ำง ๆ ที่ติดตั้งอยู่ท่ี
สถำนี สนำม

- ทำำ หน้ ำ ที่ ใ นกำรควบคุ ม ระบบกำรสื่ อสำรระหว่ ำ ง RTU กั บ


ศูนย์ควบคุม โดยผ่ำน Port ในกำรสื่อสำรซึ่ง Port ที่ใช้ในกำรสื่อสำร
นั้ นจะขึ้นอยู่กับสื่อที่ใช้เช่น สำยสัญญำณต่ำง ๆ Microwave GPRS
ดำวเทียม หรือ วิทยุส่ ือสำร

2) Input / Output Module (I/O Module) ทำำ หน้ ำ ที่


ในกำรรับ - ส่งสัญญำณจำก CPU เพื่อส่งไปควบคุม หรืออ่ำนค่ำ
จำกอุปกรณ์เครื่องมือวัดต่ำงๆ ซึง่ สำมำรถแบ่ง Module ออกเป็ น
4 ชนิ ดดังต่อไปนี้

- Analog Input Module เ ป็ น Module ที่ รั บ สั ญ ญ ำ ณ


Analog ที่เป็ นสัญญำณไฟฟ้ ำ 4 - 20 mA. หรือ 0 - 5 Volts ซึ่ง
เป็ นมำตรฐำนทำงอุตสำหกรรมจำกอุปกรณ์วัดค่ำต่ำงๆ

- Digital Input Module เป็ น Module ที่รบ


ั สัญญำณ Digital 0
หรือ 1 ตำมลักษณะ Close or Open Switch
- Analog Output Module เ ป็ น Module ที่ ส่ ง สั ญ ญ ำ ณ
Analog ที่ เ ป็ นสั ญ ญำณไฟฟ้ ำ 4 - 20 mA. หรือ 0 - 5 Volts
ซึ่งเป็ นมำตรฐำนทำงอุตสำหกรรม

- Digital Output Module เป็ น Module ที่ส่งสัญญำณ Digital


0 หรือ 1 ตำมลักษณะ Close or Open Switch

ในกำรนำำ เอำ RTU ไปต่อร่วมกับอุปกรณ์เครื่องมือ


วั ด ต่ ำ งๆ ได้ อ ย่ ำ งถู ก ต้ อ งจะต้ อ งต่ อ Input / Output Module ของ
RTU ให้ ถู ก ต้ อ งตรงกั บ ลั ก ษณะของสั ญ ญำณที่ ทำำ กำรรับ หรือ ส่ ง
ระหว่ ำ ง Input / Output Module ของ RTU กั บ อุ ป กรณ์ เ ครื่อ งมื อ
หรืออุปกรณ์ที่ใช้ในกำรควบคุมในกระบวนกำรต่ำงๆ ซึ่งจะขึ้นอยู่กับ
ลั ก ษณะสั ญ ญำณ Analog หรือ Digital ตำรำงที่ 1 แสดงลั ก ษณะ
สั ญ ญำณที่ จ ะติ ด ต่ อ กั น ระหว่ ำ ง Input / Output Module ของ RTU
กับ Sensors ต่ำง ๆ และได้แสดงลักษณะกำรต่ออุปกรณ์เครื่องมือวัด
ข้อมูล (Sensor) ตำมรูปที่ 2

ตารางที่ 1 แสดงลั ก ษณะสั ญ ญาณที่ จ ะติ ด ต่ อ กั น ระหว่ า ง Input /


Output Module กับ Sensors

Input / Output Sensors


Module
Analog Input เ ค รื่ อ ง มื อ วั ด (4 – 20
mA)
Digital Input เครื่องมือวัดสถำนะ (On-
Off)
Analog Output อุปกรณ์ควบคุม (4 – 20
mA)
Digital Output อุ ป กรณ์ ค วบ คุ ม สถำน ะ
(On-Off)

รูปที่ 2 แสดงการเชื่อมต่อระหว่าง RTU กับเครื่องมือวัดต่างๆ

3) Communication Port ทำำหน้ำที่เป็ นช่องทำงในกำร


สื่อสำรข้อมูลระหว่ำง RTU กับศูนย์ควบคุมหรือ RTU ด้วยกัน และ
สำมำรถใช้ช่องทำง (Port) ในกำรสื่อสำรมำกกว่ำ 1 Port โดยจะต้อง
กำำหนดชนิ ดของช่องทำงในกำรสื่อสำรและรวมถึงกำรกำำหนดสื่อที่ใช้
ด้วย เช่น วิทยุส่ ือสำร ดำวเทียม Microwave เป็ นต้น
ตัวอย่างการใช้งาน RTU

ระบบโทรมาตร
โครงการประตูระบายนำ้าอุทกวิภาชประสิทธิ

ลักษณะทัว่ ไปของระบบ (General Description)

ระบบโทรมำตรของโครงกำรประตูระบำยนำ้ำอุทกวิภำชประสิทธิ
ประกอบด้วยสถำนี หลัก (Master Station) 1 แห่ง ตั้งอยู่ในห้องควบคุมของโค
รงกำรฯและสถำนี สนำม (RTU) จำำนวน 11 แห่ง หน้ำที่ของสถำนี สนำม
(RTU) จะทำำกำรตรวจวัดและส่งข้อมูลนำ้ำฝน (Rainfall) ระดับนำ้ำ (Water
Level) และข้อมูลกำรเปิ ด-ปิ ดของประตูระบำย (Gate Positioner) โดย
อัตโนมัติ กำรรับส่งข้อมูลระหว่ำงสถำนี หลักและสถำนี สนำมสำมำรถทำำได้ 3
อย่ำงคือ

1. กำำหนดช่วงเวลำเรียกข้อมูล (Polling) สถำนี หลักจะเรียกไปหำสถำนี


สนำมแต่ละ สถำนี ด้วยระยะห่ำงเวลำที่เท่ำ ๆ กัน เพื่อทำำกำร Update
ข้อมูลทั้งหมดใหม่ท่ีสถำนี สนำม ซึ่งกำรรับส่งสำมำรถควบคุมเวลำที่
ต้องกำรเรียกในแต่ละครั้งได้ (Time Mode)
2. ให้รำยงำนเฉพำะข้อมูลใหม่ (Report – Exception) เมื่อสถำนี หลักเรียก
หำข้อมูลจำกสถำนี สถำนี สนำมจะส่งข้อมูลเฉพำะส่วนที่มีกำร
เปลี่ยนแปลงกับข้อมูลที่ถูกเรียกก่อนหน้ำนี้ ซึ่งจะช่วยลดเวลำในกำรส่ง
ข้อมูลที่ต้องกำร Update เท่ำนั้ น
3. รำยงำนเมื่อข้อมูลเปลี่ยนแปลง สถำนี สนำมจะส่งข้อมูลไปให้สถำนี หลัก
เมื่อค่ำกำรวัดที่อ่ำนได้มีกำรเปลี่ยนแปลงซึ่งจะเป็ นวิธีแบบ Event Mode
โดยวิธีน้ ี จะสำมำรถลดกำรใช้ช่องสัญญำณ ได้มำก โดยสถำนี สนำมไม่
จำำเป็ นต้องรอกำรเรียกจำกสถำนี หลัก

กำรสื่อสำรระหว่ำงสถำนี หลัก (MCC) และสถำนี สนำม (RTU)


สำมำรถติดต่อถึงได้หลำยทำง เช่นระบบวิทยุ ระบบโทรศัพท์ ระบบไมโครเวฟ
ระบบเส้นใยแก้วนำำแสง แต่ในระบบโทรมำตรโครงกำรประตูระบำยนำ้ำ
ปำกพนั ง สภำพพื้ นที่เป็ นพื้ นที่ป่ำ ดังนั้ น กำรใช้ระบบวิทยุ VHF/ FM ที่
ควำมถี่ 141.000 MHz ของกรมชลประทำน จึงเป็ นระบบที่ดูจะเหมำะสม
ที่สุดในด้ำนประหยัดงบประมำณและประสิทธิภำพกำรใช้งำน อุปกรณ์กำรเก็บ
และรวบรวมข้อมูล รวมไปถึงอุปกรณ์ระบบวิทยุควำมถี่ VHF / FM เป็ น
ผลิตภัณฑ์ท่ีพัฒนำใหม่ของ Motorola Communication รุ่น MOSCAD RTU
ระบบ MOSCAD สำมำรถที่จะขยำยสถำนี สนำมเพิ่มขึ้นได้ในอนำคต หรือ
เพิ่มจำำนวน Sensor ที่จะตรวจวัดในแต่ละสถำนี สนำมเพิ่มขึ้นเพียงพอต่อ
ควำมต้องกำรได้โดยง่ำย

ข้อมูลที่สง่ จำกสถำนี สนำม (RTU) ทั้ง 11 สถำนี จะถูกรวบรวมที่สถำนี


หลัก (MCC) และถูกเรียกมำแสดงที่เครื่องคอมพิวเตอร์ จำำนวน 2 เครื่อง ซี่
งมีโปรแกรม MacroView ทำำงำนภำยใต้ระบบปฏิบัติกำรของ Windows NT
โดยโปรแกรมนี้ จะทำำหน้ำที่เก็บข้อมูลจำกสถำนี สนำมมำเก็บไว้เป็ นฐำนข้อมูล
ที่หน้ำจอในลักษณะของ Graphic ที่สวยงำมง่ำยต่อกำรใช้งำนและเข้ำใจใน
ส่วนของเครื่องพิมพ์ที่จะต่อกับคอมพิวเตอร์จะมีหน้ำที่แตกต่ำงกันออกไปคือ
เครื่องพิมพ์ที่จะทำำหน้ำที่พิมพ์รำยงำนประจำำ เครื่องพิมพ์ท่ีทำำหน้ำที่พิมพ์เมื่อ
เกิดสัญญำณแจ้งเตือนสภำวะผิดปกติ (Alarm) เครื่องพิมพ์ที่ทำำหน้ำที่พิมพ์
Graphic
อุปกรณ์ Multiscan Prpjector (MEGA POWER) พร้อม Screen 70
นิ้ วจะต่อกับเครื่องคอมพิวเตอร์ เพื่อใช้แสดง Graphic ที่ให้ระบบสี และควำม
ละเอียดสูง กำรต่ออุปกรณ์ Multiscan Projector สำมำรถต่อได้ท้ ังจำกเครื่อง
คอมพิวเตอร์และจำกเครื่องเล่นวิดีโอ นอกจำกนี้ แผงแสดงงผล (Mimic
Panel) ขนำดควำมกว้ำง 3,500 มม. และควำมสูง 2,500 มม. แสดงพื้ นที่
ขอบเขตลุ่มนำ้ำปำกพนั งทั้งหมดโดยมีรำยละเอียดเกี่ยวกับแม่น้ ำำ ลำำคลอง
ถนน ที่ต้ ังสถำนี ตรวจข้อมูล แสดงค่ำตรวจวัดข้อมูล (Value) แสดงผล
(Mimic Panel) จะถูกควบคุมด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์ที่สถำนี หลัก

ระบบการส่งข้อมูล (Data Communication)

สถำนี สนำม 11 สถำนี สำมำรถส่งข้อมูลไปยังสถำนี หลักได้โดยตรง


ทำงโครงข่ำยวิทยุย่ำนควำมถี่ VHF / FM สถำนี หลักจะทำำกำรสอบถำมข้อมูล
(Interrogate) ไปยังสถำนี สนำมเพื่อข้อมูลตำมแบบ Time Mode หรือ สถำนี
สนำมส่งข้อมูลไปยังสถำนี หลักเองตำมแบบ Event Mode กำรสอบถำมเพื่อ
ขอข้อมูลจะเป็ นไปแบบอัตโนมัติ เช่นตั้งเวลำให้มีกำร Polling ทุก ๆ 10 นำที
นอกจำกนี้ ในกรณี ท่ีมีเหตุกำรณ์เฉพำะเกิดขึ้น เช่น อัตรำกำรตกของฝน
(Rainfall Intensity) มีค่ำสูงกว่ำค่ำที่กำำหนด (Pre – set Value) อัตรำค่ำ
ระดับนำ้ำ (Rate of Change) และค่ำระดับนำ้ำ (Gauge Height) เปลี่ยนแปลง
สูงกว่ำที่กำำหนด (Pre – set Value) สถำนี สนำมจะรำยงำนข้อมูลให้แก่สถำนี
หลักทันที

เครื่อง PC Computer ที่สถำนี หลักจะถูกต่อกับ MOSCAD FIU


(Frontend Interface Unit) ผ่ำนทำง Port RS – 232 สำมำรถติดต่อกับ
สถำนี สนำม (RTU) ได้โดยผ่ำนโครงข่ำย VHF โดยใช้ Protocol ชื่อ MDLC
(Motorola Data Link Control) ตำมมำตรฐำนสำกล OSI ทั้ง 7 Layers จะ
ทำำให้สำมำรถมัน
่ ใจได้ว่ำข้อมูลที่ทำำกำรส่งออกไปถึงปลำยทำงแน่นอนและถูก
ต้อง เมื่อข้อมูลที่ส่งออกไปไม่ครบถ้วนระบบจะทำำกำรส่งใหม่ออกไปอีก เจ้ำ
หน้ำที่ตรวจสอบสำมำรถที่จะนำำ Note Book ออกไปยังสถำนี สนำมแต่ละที่
เพื่อทำำกำรเรียกดูข้อมูลที่ Site นั้ น และทำำกำรซ่อมแซมบำำรุงรักษำระบบ ซึ่ง
กำรดูแลระบบยังสำมำรถทำำกำร Remote ไปอ่ำนข้อมูลจำกสถำนี อ่ ืน ๆ ได้
โดยไม่จำำเป็ นต้องอยู่ท่ีสถำนี สนำมนั้ น

คุณลักษณะทัว่ ไปของ RTU (RTU General Specification)

RTU (RTU General Specification) ที่สถำนี สนำมจะทำำหน้ำที่แลก


เปลี่ยนข้อมูลกับ FIU ที่สถำนี หลักผ่ำนโครงข่ำยวิทยุ VHF / FM ซึ่ง RTU ที่
ติดตั้งสถำนี สนำมจะประกอบอุปกรณ์หลักทุกสถำนี คือ CPU Module, Radio
Module, I / O Module และระบบสำยอำกำศซึ่งสถำนี สนำมที่มีอุปกรณ์
Sensor มำกก็จะมี I / O Module แปรตำมกัน

RTU เป็ นผลิตภัณฑ์ MOSCAD RTUs ของบริษัท Motorola ซึ่งเป็ น


อุปกรณ์รุ่นที่พัฒนำล่ำสุด CPU ใช้ Processor รุ่น Motorola 68302 (32 bits)
ประกอบ Memory จะใช้เก็บข้อมูลทั้งโปรแกรมทำำงำนและข้อมูลที่วัดได้จำก
Sensor มีควำมทนทำนสำมำรถทำำงำนในเขตร้อนชื้ น ( - 30 ถึง + 60 องศำ
เซลเซียส) ควำมชื้ นสัมพันธ์ 90 % ที่ CPU Module และ I / O Module จะ
มีไฟ LED แสดงสภำวะกำรทำำงำนและเพื่อกำรตรวจสอบ (Diagnostic) ซึ่ง
จำำเป็ น อีกทั้งยังมี Battery Backup เพื่อใช้ Backup ข้อมูลที่เก็บไว้และกำร
เดินขิงเวลำที่ CPU ให้ยังคงถูกต้องได้อย่ำงน้อย 3 เดือน แม้ในสภำวะที่
Main Power Supply ขัดข้องเพื่อป้ องกันกำรหำยของข้อมูลที่เคยเก็บมำ
ภำยใน CPU Module จะมีกำร Download Application Program ซึ่ง
หน้ำที่ควบคุมและเก็บข้อมูลจำก I/ O Module นอกจำกนี้ ยังทำำหน้ำที่ทำำกำร
คำำนวณเบื้ องต้น เพื่อลดจำำนวนข้อมูลที่ต้องส่งไปยังสถำนี หลักและมีหน่วย
ควำมจำำเก็บข้อมูล หำกเกิดขัดข้องที่สถำนี หลักไม่สำมำรถรับข้อมูลจำกสถำนี
สนำมได้ สถำนี สนำมก็ยังสำมำรถเก็บข้อมูลและประมวลผลเองได้จนกว่ำ
ติดต่อจะกลับมำอีกครั้ง ก็จะส่งไปยังสถำนี ใหม่ กำรเปลี่ยนแปลง Application
Software สำมำรถทำำได้โดยใช้ Note Book ต่อเข้ำไปที่ Port RS – 232 ของ
CPU และด้วยควำมสำมำรถของ MDLC Protocol ทำำให้ระบบสำมำรถที่จะ
Upload / Download ข้อมูลจำกสถำนี หลักและสถำนยีอ่ ืน ๆ ได้โดยไม่จำำเป็ น
ต้องไปทำำงำนที่สถำนี น้ ั น

CPU Module ทำำหน้ำที่ Rum Application สำำหรับงำนตรวจวัดและ


ควบคุมอุปกรณ์ต่ำง เชื่อมกับระบบสื่อสำรวิทยุ I/ O Module ทั้งแบบ Analog
หรือ Digital และมี Port เพื่อใช้ต่ออุปกรณ์อ่ ืน ๆ เช่น Modem, Computer
จำำนวน 3 Port

MOSCAD CPU Series 300 มีส่วนประกอบดังนี้

Processor เป็ น Motorola 68302 ( 32 bits) 16.6 Mhz Clock


Total Memory 896 KB ( 512 KB EPROM, 256 KB RAM, 128 KB
FLASH)
I / O Module ขยำยได้ถึง 240 Modules
3 Ports Interface
มี RTC, Battery Backup RAM
คุณลักษณะเฉพาะของ RTU (Technical Specification) ที่ใช้โครงการประตู
ระบายนำ้าปากพนัง

- RTU ที่สถำนี สนำมได้รบ


ั กำรออกแบบ สำำหรับงำนด้ำนกำรเก็บรวบรวมและ
ส่งข้อมูลในสถำนี สนำมจะประกอบขึ้นด้วย CPU Module ซึ่งมีควำมสำมำรถ
สูง สำมำรถที่จะทำำกำร Upload / Download โปรแกรม ตรวจสอบข้อมูลใน
หน่วยควำมจำำ Setup Parameter ซึ่งกระทำำได้จำกสถำนี หลักหรือสถำนี สนำม
ผ่ำนทำงระบบเครือข่ำย ( Network) โดยกำรใช้ Programming Toolbox ที่ลง
อยู่ใน Note Book กับ Protocol MDKD ของ Motorola เท่ำนั้ น

- I / O Module (ขยำยได้มำกที่สุด 240 Module) I / O Module ทำำหน้ำที่


รับข้อมูลจำก Sensor เช่น ปริมำณนำ้ำฝน ระดับควำมสูงของแม่น้ ำำ ระดับกำร
เปิ ด – ปิ ดประตูระบำยนำ้ำ สำมำรถรับข้อมูลได้ท้ ังแบบ Analog หรือ Digital
และมีหลำยรูปแบบในกำรเลือกใช้ให้เหมำะสมกับชนิ ดของ Sensor

- Processor ที่อยู่ใน UPC Module เป็ นหน่วยประมวลผลกลำงที่ทำำหน้ำที่


คอยดูแลระบบทั้งหมดที่ประจำำสถำนี สนำมนั้ น โดย Processor ที่ใช้เป็ นของ
Motorola รุ่น 68302 เป็ น 32 Bits ทำำด้วยสัญญำณนำฬิกำควำมถี่ 16 MHz
สำมำรถรองรับกำรขยำย Memory และ Math Coprocesser ( MC 68882)
เพื่อใช้ในกำรที่ต้องกำรควำมซับซ้อน

- CPU Module ทำำหน้ำที่ Rum Application ที่ต้องกำรให้วัดในแต่ละสถำนี


สนำม โดยจะมีสัญญำณไฟสำำหรับแสดงสภำวะ Power On/Off ลำำโพงสำำหรับ
แสดงสัญญำณ Alarm ที่ CPU Module จะประกอบด้วย Port
Communication 3 Ports ซึ่งมีคุณสมบัติดังนี้

Port # 1 RS 232 (9,600 bps) หรือ RS 485 (19,200 bps)


Port # 2 RS 232 (9,600 bps)
Port # 3 Communication Board สำำหรับ Conventional Radio, Line หรือ
Trunked Radio หรือ Serial Part

คุณสมบัติของอุปกรณ์ที่สถานี หลัก (Master control Specification)

ที่สถำนี หลักจะประกอบด้วยอุปกรณ์ FIU (frontend Interface Unit)


ที่มีคุณสมบัติเหมือนกับอุปกรณ์ RTU จะแตกต่ำงกันเฉพำะ Software
เท่ำนั้ น จำก Port ทั้ง 3 ของ FIU จะถูกต่อกับอุปกรณ์เครื่องคอมพิวเตอร์ 2
เครื่องเพื่อนำำข้อมูลออกมำแสดงผล ภำยใต้ระบบปฏิบัติของ Windows NT
ซึ่งมีส่วนประกอบกำรทำำงำนต่ำง ๆ ดังนี้

1. MOSCAD Central Software เลือกใช้ Software ที่ใช้งำนทัว่ ไปในงำน


SCADA คือ Macro View ซึ่งสำมำรถที่จะทำำงำนได้ท้ ังระบบปฏิบัติกำร
UNIX หรือ Window NT จุดประสงค์ท่ีจะนำำมำใช้กับงำนโครงกำรนี้ คือ

- กำรจัดเก็บข้อมูล กำรนำำเสนอข้อมูล ซึ่งสำมำรถที่จะนำำมำเป็ นฐำนข้อมูล


เพื่อส่งไปให้โปรแกรม Data Base เรียกดูได้ กำรนำำเสนอสำมำรถทำำออกมำใน
รูปของ Graph ต่ำงๆหรือรูปภำพแบบเคลื่อนไหว ตำมกำรเปลี่ยนแปลงของ
ข้อมูล

- กำรพิมพ์รำยงำนข้อมูล สำมำรถทำำได้ท้ ังสภำวะที่ปกติ หรือข้อมูลสภำวะที่


เกิด Alarm โดยจะถูกแบ่งแยกออกให้เห็นอย่ำงชัดเจน

2. PC Hardware จะใช้ไมโครคอมพิวเตอร์จำำนวน 2 ชุดต่อกับ FIU เพื่อแยก


หน้ำที่กำรทำำงำนกัน โดยจะมีเครื่องพิมพ์จำำนวน 3 ตัวแบ่งแยกหน้ำที่กำร
ทำำงำนกันดังนี้ Alarm Printer, Display Printer และ Report เพื่อนำำไปใช้งำน
แต่ละด้ำนต่อไป อุปกรณ์สำำรองข้อมูลเมื่อผ่ำนไปเป็ นระยะเวลำนำน

3. Multiscan Projector และ Mimic Panel จะนำำมำใช้แสงผลข้อมูลที่วัดให้


เห็นอย่ำงชัดเจนยิ่งขึ้น ง่ำยต่อกำรที่จะอธิบำยแก่ผู้ท่ีสนใจ

Programming Toolbox

ประกอบด้วย Software ที่ติดตั้งบนเครื่อง Note Book เพื่อใช้ฝนกำร


Configuration ในแต่ละสถำนี สนำมกรณี ท่ีออกไปทดสอบ ซึง่ รวมถึงกำรตรวจ
สอบและบำำรุงรักษำระบบด้วย กำรเขียน Application Program จะทำำโดยใช้
Programming Toolbox เช่นกัน

คุณลักษณะของเครื่องมือตรวจวัด (Sensor Specification)

เครื่องมือวัดระดับนำ้ำ เป็ นชนิ ด Bubble Type ซึงเป็ นผลิตภัณฑ์จำกบริษัท


Hydrological Service ใช้งำนแพร่หลำยในประเทศออสเตรเลีย
เครื่องมือวัดช่องเปิ ด – ปิ ด ของประตูระบำยนำ้ำ เป็ นชนิ ด - - - - - - - - -
ซึ่งเป็ นผลิตภัณฑ์จำกบริษัท Hydrological Service
เครื่องมือวัดปริมำณนำ้ำฝน เป็ นแบบ Tipping Bucket ของบริษัท
Hydrological Service Data Logger จะติดตั้งกับเครื่องวัดระดับนำ้ำ
และ เครื่องมือวัดปริมำณนำ้ำฝน

กำรสื่อสำรระหว่ำงระบบควบคุม (SCADA SYSTEM) และระบบโทรมำตร


สื่อสำรแบบ Communication Protocol

Net DDE ใช้ Network DDE (Dynamic Data Exchange) เพื่อรับ - ส่ง
ข้อมูลระหว่ำงระบบ
data base share

จุดประสงค์ของระบบโทรมาตร

1. เพื่อเป็ นสถิติกำรเก็บข้อมูลนำ้ำฝน นำ้ำท่ำ เพื่อให้ทรำบปริมำณนำ้ำ


ในที่ต่ำง ๆ และปริมำณในลำำนำ้ำปำกพนั ง เพื่อแจ้งให้ทรำบระดับนำ้ำที่
เปลี่ยนแปลงไปในลำำนำ้ำปำกพนั ง เพื่อให้ควบคุมกำรปิ ด – เปิ ดประตูระบำย
นำ้ำอุทกวิภำชประสิทธิทำำงำนอย่ำงมีประสิทธิภำพและถูกต้องทันเวลำ

2. เพื่อแจ้งเหตุกำรณ์เฉพำะที่สำำคัญ เช่น อัตรำกำรตกของฝนมีค่ำสูงเกิน


กว่ำค่ำที่กำำหนดอัตรำระดับนำ้ำและค่ำระดับนำ้ำเปลี่ยนแปลงสูงกว่ำค่ำที่
กำำหนด
3. เพื่อวิเครำะห์ว่ำจะควบคุมกำรปิ ด – เปิ ดประตูระบำยนำ้ำอย่ำงไรในขณะ
เดียวกันก็ใช้ประโยชน์ เพื่อแจ้งให้ประชำชนในพื้ นที่ทรำบสถำนกำรณ์
และให้ทุกคนรวมทั้งผู้เกี่ยวข้องเตรียมตัวรับสถำนกำรณ์

การเลือกที่ต้ ังสถานี สนาม ของระบบโทรมาตร

1. เป็ นพื้ นที่ของกรมชลประทำน


2. เป็ นพื้ นที่ว่ำงเปล่ำสำธำรณะ
3. เป็ นพื้ นที่บริจำค
4. ต้องอยูรม
ิ คลองหรือแม่น้ ำำ
5. มีไฟฟ้ ำ และนำ้ำใช้
6. สำมำรถดูแลและบำำรุงรักษำได้ง่ำย
7. สำมำรถติดต่อกับสถำนี หลักหรือสถำนี อ่ ืนได้โดย
ทำงวิทยุ

วิธีเลือกอุปกรณ์ส่ ือสารเพื่อใช้ระบบโทรมาตร

1. ภูมิประเทศ
2. ระยะทำงในกำรติดต่อ
3. ระดับคงวำมทสูงของสถำนี และควำมสูงสำย
อำกำศ
4. ควำมถี่วิทยุ
5. กำำลังส่งของเครื่องรับวิทยุ
6. สำยอำกำศและสำยส่งกำำลัง
7. กำรคำำนวณกำรติดต่อทำงคลื่นวิทยุ

สถานที่ก่อสร้างสถานี โทรมาตร ดังนี้

สถำนี หลักหัวงำน ต.หูล่อง อ.ปำกพนั ง จ.นครศรีธรรมรำช

1. สถำนี ท้ำยปตร.อุทกวิภำชประสิทธิ ต.หูลอ


่ ง อ.ปำกพนั ง จ.นครศรีธรรมรำช

2. สถำนี วัดสองพี่น้อง ต.หูล่อง อ.ปำกพนั ง จ.นครศรีธรรมรำช

3. สถำนี ปตร.บำงไทร หมู่ท่ี 8 ต.บ้ำนใหม่ อ.ปำกพนั ง จ.นครศรีธรรมรำช

4. สถำนี วัดปำกแพรก หมู่ท่ี 5 ต.ปำกแพรก อ.ปำกพนั ง จ.นครศรีธรรมรำช

5. สถำนี ท่ีว่ำกำร อ.หัวไทร หมู่ท่ี 1 ต.หัวไทร อ.หัวไทร จ.นครศรีธรรมรำช


6. สถำนี ปตร.เชียรใหญ่ หมู่ท่ี 1 ต.ท้องลำำเจียก อ.เชียรใหญ่
จ.นครศรีธรรมรำช

7. สถำนี คลองชะเมำ หมู่ท่ี 1 ต.ทำงพูน อ.เฉลิมพระเกียรติ


จ.นครศรีธรรมรำช

8. สถำนี ปตร.เสำธงท่ำดี หม่ท


ู ่ี 3 ต.ขุนทะเล อ.ลำนสกำ จ.นครศรีธรรมรำช

9. สถำนี ปตร.คลองฆ้อง หมู่ท่ี 7 ต.แม่เจ้ำอยู่หัว อ.เชียรใหญ่


จ.นครศรีธรรมรำช

10. สถำนี คลองตูล หม่ท


ู ่ี 4 ต.บ้ำนตูล อ.ชะอวด จ.นครศรีธรรมรำช

11. สถำนี โครงกำรไม้เสียบ หม่ท


ู ่ี 9 ต.เกำะขัน อ.ชะอวด จ.นครศรีธรรมรำช
บรรณานุกรม

ควำมรู้ควำมเข้ำใจในหลักกำรของระบบโทรมำตร. (9 มิถุนำยน 2551).


Available URL: http://water.rid.go.th/hyd/scada/scada_uc.htm
What is SCADA system?. (9 มิถุนำยน 2551). Available URL:
http://www.veesta-world.com/pages/services_scada_page.htm
SCADA (Part 2). (9 มิถุนำยน 2551). Available URL:
http://www.4uengineer.com/modules.php?
name=News&file=categories&op=newindex&catid=5
What's RTU. (9 มิถุนำยน 2551). Available URL:
http://riverplus.com/index.php?
option=com_content&task=view&id=7&Itemid=2
About SCADA System. (9 มิถุนำยน 2551). Available URL:
http://www.elecnet.chandra.ac.th/learn/courses/5503101/scada/SCADAlin
k.html

You might also like