You are on page 1of 22

85

บทที่ 8
ประกันดวยบุคคลและทรัพย

ค้ําประกัน
ค้ําประกันนั้น คือ สัญญาซึ่งบุคคลภายนอกคนหนึ่ง เรียกวา ผูค้ําประกันผูกพันตนตอ
เจาหนี้ คนหนึ่ง เพื่อชําระหนี้ในเมื่อลูกหนี้ไมชําระหนี้นั้น

หลักสําคัญของการค้ําประกัน
1. ผูค้ําประกันตองเปนบุคคลภายนอก ลูกหนี้จะทําสัญญาค้ําประกันตนเองไมได
2. หนี้ที่ค้ําประกันจะเปนหนี้อะไรก็ได เชน กูยืม เชาทรัพย ซื้อขาย จางทําของ เชาซื้อ
ฯลฯ แตตองเปนหนี้ที่สมบูรณ
3. เปนสัญญาที่ผูค้ําประกันผูกพันตนวาจะชําระหนี้ในเมื่อลูกหนี้ไมชําระ แตถาลูกหนี้
ตอง ปฏิบัติชําระหนี้ดวยตนเอง เชน แสดงภาพยนตรทีวี ผูค้ําประกันหนี้แทนไมได แตอาจค้ําประกัน
ในทํานองใหเบี้ยปรับ หรือคาเสียหายก็ได เชน นาย ก. ไปศึกษาตอตางประเทศ จึงทําสัญญากับ
กรมเจาสังกัดวาเมื่อศึกษาจบแลวจะกลับมารับราชการเปน 2 เทาของเวลาที่รับทุน มิฉะนั้นจะใหปรับ
เปนเงิน 2 เทาของเงินทุนและเงินเดือนที่ไดรับไประหวางลาและมี นาย ข. เปนผูค้ําประกันโดยตรง
ลงวา ถานาย ก. ผิดสัญญาตนจะชําระหนี้นั้นแทน ดังนี้เปนสัญญาค้ําประกัน
4. ไมจําเปนที่ลูกหนี้จะตองรูเห็นยินยอมในการค้ําประกัน
5. ถาไมใชค้ําประกันแลว ก็ไมตองนําบทบัญญัติซึ่งเปนลูกหนี้ในเรื่องค้ําประกันมา ใช
บังคับ เชน ก. ลูกหนี้กับ ข. เจาหนี้ ค. ทําสัญญาค้ําประกัน ก. ซึ่งเปนลูกหนี้
ตอมายังมีสัญญาระหวาง ค. กับ ง. อีกบอกวาถา ค. ตองเสียหายจากการค้ําประกัน
ก. ภายหลัง ง. จะรับผิดชดใชให ค. เชนนี้ไมใชการค้ําประกันเพราะเหตุวา ค. ไมใชลูกหนี้ที่ ง. จะเขา
ไปทําสัญญาค้ําประกันไดตามหลักกฎหมายในเรื่องค้ําประกันที่บอกวา “เพื่อชําระหนี้ ในเมื่อลูกหนี้
ไมชําระ ค. ยังไมตกเปนลูกหนี้แตอยางใด ง. จึงจะมาทําสัญญาค้ําประกันไมได หากจะทําก็ไดแตเรา
ไมเรียกวาอยูในหลักกฎหมายค้ําประกันดังกลาว
86

6. ตองมีหลักฐานเปนหนังสืออยางใดอยางหนึ่ง ลงลายมือผูค้ําประกัน ถาไมมีก็ไมเปน


โมฆะ5 เพียงแตจะฟองรองบังคับคดีไมไดเทานั้นและหนังสือนั้น ๆ เมื่ออานดูแลวตองมีขอความให
พอเขาใจไดวาเปนการค้ําประกันดวย ขอความก็คือ “ถาลูกหนี้ไมชําระหนี้ผูค้ําประกันจะตอง ชดใชให
แทน” หรือขอความใด ๆ ใหเขาใจไดตามนี้ จึงจะเขาลักษณะของสัญญาค้ําประกัน
7. หนี้ที่จะค้ําประกันไดตองเปนหนี้ที่สมบูรณอาจจะเปนหนี้มีเงื่อนไข หรืออนาคตก็ได
เชน ลูกจางเมื่อทํางานจะกอใหเกิดความเสียหาย ก็อาจค้ําประกันในการทํางานของลูกจางไดเชนกัน ถา
วัตถุประสงคผิดกฎหมายก็ค้ําประกันไมได
8. หนี้ใดที่ลูกหนี้ทําลงเพราะสําคัญผิด หรือเปนผูไรความสามารถก็อาจค้ําประกันได ก็
ตอเมื่อผูค้ําประกันไดรูในขณะทําสัญญาค้ําประกัน เชน ลูกหนี้เปนคนไรความสามารถไปทําสัญญากู
เงิน ผูค้ําประกันยังไปค้ําประกันเชนนี้ ผูค้ําประกันตองรับผิดชอบ เพราะตัวเองรูอยูแลววาเขาเปน คน
ไรความสามารถ

ผูรับเรือน
การเปนผูรับเรือน ก็ตองมีหลักฐานเปนหนังสือ เหมือนผูค้ําประกันจึงจะฟองรอง บังคับ
คดีกันได
ตัวอยาง ก. กูเงิน ข. มี ค. ค้ําประกัน และมี ง. เขารับเรือนค้ําประกัน ค. อีกชั้นหนึ่ง
โดยสัญญาวาถาเจาหนี้เรียกรองเอากับ ค. ไมได ง. จะใชหนี้ใหเอง เชนนี้ ค. เปนผูค้ําประกัน ง. เปนผู
รับเรือน
ผูรับเรือนไมใชผูค้ําประกันลูกหนี้ ความรับผิดชอบมิไดเกิดขึ้นเมื่อลูกหนี้ไมชําระหนี้
แตเกิดขึ้นเมื่อผูค้ําประกันไมใชหนี้ในกรณีที่ลูกหนี้ไมชําระ
หนี้รายเดียวกันมีคนค้ําประกันหลายคน ผูค้ําประกันก็ตองรับผิดอยางลูกหนี้รวมกัน แมวา
จะมิไดเขารับค้ําประกันรวมกันก็ตาม

ขอสังเกต
1. การเพิ่มผูค้ําประกันไมทําใหผูค้ําประกันคนเดิมหลุดพนจากความรับผิด
2. เจาหนี้ปลดหนี้จํานวนหนึ่งใหผูค้ําประกันคนหนึ่ง การปลดหนี้นั้นเปนประโยชน
แก ผูค้ําประกันคนอื่นเพียงสวนที่เจาหนี้ ปลดหนี้ให 13 เชน นาย ก. เปนหนี้ นาย ข. 1,000,000 บาท มี
นาย ค. นาย ง. นาย จ. เขาค้ําประกัน นาย ข. เจาหนี้ปลดหนี้ให นาย ค. 100,000 บาท นาย ง. นาย
87

จ. ก็ตองรับผิดอีก 900,000 บาท ก็คือ การปลดหนี้ให นาย ค. เปนประโยชนแก นาย ง. กับ นาย
จ. เพียง 100,000 บาทเทานั้น เปนตน
3. ผูค้ําประกันคนหนึ่ง ใชหนี้แทนลูกหนี้ไป ก็มีสิทธิไลเบี้ยเอาจากคนอื่นตามสวน เชน
ตัวอยาง ขอ 2. นาย ง. ใชหนี้ให นาย ข. ไป 1,000,000 บาท นาย ง. ก็มีสิทธิไปไลเบี้ยเอากับ นาย
ค. นาย จ. ตามสวนเฉลี่ยของผูค้ําประกันแตละคน

ผลของสัญญาค้ําประกัน
1. ผลกอนชําระหนี้
หากลูกหนี้ผิดนัดลง เมื่อใด ทานวาเจาหนี้ชอบที่จะเรียกใหผูค้ําประกันชําระหนี้ ไดแต
นั้น หมายความวา แมวาหนี้ยังไมถึงกําหนดชําระ ผูค้ําประกันก็ตองรับผิดถาลูกหนี้ผิดนัด เชน
นาย ก. ให นาย ข. กูยืมเงิน 50,000 บาท มี นาย ค. เปนผูค้ําประกัน นาย ข. สัญญาวาจะใหดอกเบี้ย
แตไมไดกําหนดเวลาชําระคืนเงินกูกันไว ก็เลยเรียกให นาย ข. ชําระไดทันที (ตามกฎหมาย) นาย ก.
ก็บอก เตือนให นาย ข. ชําระ นาย ข. ก็เพิกเฉยเสีย เชนนี้แสดงวา นาย ข. ผิดนัดแลว นาย ก. ก็
สามารถเรียกให นาย ค. ผูค้ําประกันชําระหนี้แทน นาย ข. ไดทันที
ถากําหนดเวลาเดียวกันไวตามปฏิทิน นาย ข. ผิดนัดทันทีที่ถึงกําหนดเวลาที่ไดตกลง
กันไว ตัวอยางเชน ถามีขอสัญญากําหนดใหลูกหนี้ชําระเงินวันที่ 1 พฤศจิกายน 2538 เมื่อถึง
กําหนด 1 พฤศจิกายน 2538 ก็ถือวาถึงเวลากําหนดชําระหนี้ ถาลูกหนี้ไมชําระก็ถือวา ลูกหนี้ผิดนัด
โดยเจาหนี้ ไมตองเตือนอีกเลย เชนนี้เจาหนี้ก็เรียกผูค้ําประกันชําระหนี้ไดตั้งแตนั้นเปนตนไป
อีกกรณีหนึ่ง กฎหมายบอกวาผูค้ําประกันไมจําเปนตองชําระหนี้กอนถึงเวลากําหนด
ที่จะชําระ แมวาลูกหนี้จะไมอาจถือเอาซึ่งประโยชนแหงเงื่อนเวลาเริ่มตนหรือเวลาสิ้นสุดได ตอไป
แลว เวนแต ผูค้ําประกันจะไดตกลงยินยอมกับเจาหนี้ โดยตรงหรือปริยาย วาจะยอมชําระหนี้แทน
ลูกหนี้ แมวา หนี้นั้นยังไมถึงกําหนด
กรณีที่ลูกหนี้ ไมอาจถือเอาประโยชนแหงเงื่อนเวลาเริ่มตนหรือสิ้นสุดไดมีดังนี้
1. ลูกหนี้ถูกศาลสั่งใหเปนคนลมละลาย
2. ลูกหนี้ไดทําลายหรือทําใหลดนอยถอยลงซึ่งประกันอันไดใหไว
3. ลูกหนี้ไมใหประกันเมื่อจําตองให
4. ลูกหนี้นําทรัพยสินของบุคคลอื่นมาใหเปนประกัน โดยเจาของทรัพยสิน
นั้นมิได ยินยอมดวย
88

ตัวอยาง เชน นาย ก. กูเงิน นาย ข.โดยมอบรถยนตจํานําไวเปนประกันสัญญา จะใชหนี้


ใหภายใน 1 ป โดยมี นาย ค. เปนผูค้ําประกัน พอกอนครบ 1 ป นาย ก. ก็ไปเอา รถยนตที่จํานําไว
กับ นาย ข. มาเผาทิ้งเสียเชนนี้ก็ถือวา ลูกหนี้ไดทําลายทรัพยที่ไดประกันไวกับเจาหนี้ ดังนี้ นาย ข. ก็
ฟอง นาย ก. ใหชําระหนี้ไดกอนครบ 1 ป แตจะฟอง นาย ค. ผูค้ําประกันใหชําระหนี้แทน นาย ข.
กอนครบกําหนดเวลาชําระหนี้ 1 ป ไมได เพราะกฎหมายบอกวาผูค้ําประกันไมตอง รับผิดกอนครบ
กําหนด แมลูกหนี้จะไมอาจถือเอาประโยชนแหงเงื่อนเวลาเริ่มตนหรือ สิ้นสุดได (เปนกรณีตามขอ 2
ขางตน เพราะ นาย ก. ทําใหรถยนตซึ่งไดมอบใหไวเปนประกันเสียหาย)

2. สิทธิของผูค้ําประกัน เมื่อถูกทวงถามใหชําระหนี้
หลักในเรื่องนี้ตองดูกอนวา ผูค้ําประกันรับผิดชอบชําระหนี้แทนลูกหนี้แคไหน
ถาผูค้ําประกันรับผิดรวมกับลูกหนี้เลย คืออยูในฐานะเดียวกับลูกหนี้ ก็ไมอาจอางสิทธิตาง ๆ ที่จะ
กลาว ตอไปนี้ได
แตถาผูค้ําประกันไมตองรับผิดรวมกับลูกหนี้ คือ ค้ําประกันธรรมดา ผูค้ําประกันมี
สิทธิ ดังตอไปนี้
1. เมื่อเจาหนี้ทวงใหผูค้ําประกันชําระหนี้ ผูค้ําประกันก็จะขอใหเจาหนี้เรียก
ใหลูกหนี้ ชําระเงินกอนก็ได เวนแตวาลูกหนี้ถูกศาลพิพากษา ใหลมละลาย หรือไมปรากฏวาลูกหนี้ไป
อยูแหงใด ในพระราชอาณาจักรเชนนี้ ผูค้ําประกันจะใชสิทธิในขอนี้ไมได 20
2. ถาผูค้ําประกันพิสูจนไดวา
ก. ลูกหนี้มีทางที่จะชําระหนี้ได
ข. กรณีที่จะบังคับใหลูกหนี้ชําระหนี้นั้นไมเปนการยาก เชนนี้เจาหนี้จะ
ตองบังคับการชําระหนี้เอาจากทรัพยสินของลูกหนี้กอน
3. ถาเจาหนี้มีทรัพยของลูกหนี้ยึดถือไวเปนประกัน ผูค้ําประกันอาจรองขอ
ใหเจาหนี้เอาทรัพยสิน ซึ่งถือไวเปนประกันนั้น ๆ ชําระหนี้เสียกอน
ตัวอยางเชน รถยนตจํานําเปนประกันขางตนผูค้ําประกัน อาจขอใหเอารถ
ยนตชําระหนี้กอนได อยาลืมวาถาผูค้ําประกันตองรับผิดรวมกับลูกหนี้ ก็จะอางสิทธิตามขอ 1,2,3 ขาง
ตนไมได
89

3. ผลภายหลังการชําระหนี้
เมื่อผูค้ําประกันชําระหนี้ใหกับเจาหนี้แทนลูกหนี้แลว จะทําใหมีสิทธิดังตอไปนี้
1. เมื่อผูค้ําประกันชําระหนี้ไปแทนลูกหนี้แลว ยอมมีสิทธิที่จะไลเบี้ยเอา
จากลูกหนี้ทั้งตนเงินกับดอกเบี้ยรวมถึงการใดที่ตองสูญหายหรือเสียหายไปอยางใด เพราะการค้ํา
ประกันนั้น 23 เชน ผูค้ําประกันใชหนี้ไป 50,000 บาท ดอกเบี้ยอีก 2,000 บาท ก็ไลเบี้ยเอาจากลูกหนี้
ได 52,000 บาท เปนตน
2. ผูค้ําประกันยังมีสิทธิรับชวงสิทธิของเจาหนี้บรรดามีเหนือลูกหนี้ดวย
ตัวอยางเชน ลูกหนี้กูเงินโดยจํานองที่ดินของตัวเองเปนประกัน เมื่อผูค้ํา
ประกัน ชําระหนี้แทนไปแลว ก็มีสิทธิไลเบี้ยเอาจากลูกหนี้ตามขอ 1 และก็ยังมีสิทธิที่จะรับชวงสิทธิ
ของเจาหนี้ ฟองบังคับจํานองที่ดินของลูกหนี้ ไดในนามตนเองอีกดวยซึ่งจริง ๆ แลว สิทธิในการบังคับ
จํานอง อยูที่เจาหนี้ไมใชเปนของผูค้ําประกันเพราะลูกหนี้จํานองที่ดินกับเจาหนี้ แตเมื่อผูค้ําประกันได
สิทธิรับ ชวงสิทธิก็ใชสิทธิของเจาหนี้ได ตามหลักกฎหมายขางตน

ขอตอสูของผูค้ําประกัน
1. ยกขอตอสูของตนเองขึ้นตอสูกับเจาหนี้ และยกขอตอสูของลูกหนี้ขึ้นตอสู
(1) ยกขอตอสูของตนเองขึ้นตอสูกับเจาหนี้ เชน สัญญาค้ําประกัน ไมไดทํา
หลักฐานเปนหนังสือลงลายมือชื่อผูค้ําประกัน เจาหนี้ก็ฟองรองบังคับคดีไมได หรือวาสัญญาค้ํา
ประกัน ทําไปเพราะโดยขมขูหรือสําคัญผิด สัญญาค้ําประกันตกเปนโมฆียะ
(2) ยกขอตอสูของลูกหนี้ขึ้นตอสู เชน หนี้ที่ลูกหนี้ทําสัญญาไวไมไดมีหลัก
ฐาน เปนหนังสือก็ฟองรองบังคับคดีไมไดหรือวาหนี้ของลูกหนี้ขาดอายุความ หรือหนี้ของลูกหนี้มีวัตถุ
ประสงค ขัดตอความสงบเรียบรอย ศีลธรรมอันดีของประชาชน ก็ยกขึ้นอางไดเชนกัน
2. ถาผูค้ําประกันรูวามีขอตอสูของลูกหนี้อยู แตไมยกขึ้นมาเปนขอตอสูเจาหนี้ ก็
ทําให ผูค้ําประกันสิ้นสิทธิที่จะไลเบี้ยเอาแกลูกหนี้ เพียงเทาที่ไมยกขึ้นเปนขอตอสูก็คือ เมื่อไมยกขอ
ตอสูของ ลูกหนี้ขึ้นยันตอเจาหนี้ ก็ไมมีสิทธิไปเรียกรองเอาอะไรกับลูกหนี้ เวนแตพิสูจนไดวาการที่
ตน ไมไดยกขอตอสูนั้นเปนเพราะวาตนเองไมรูวามีขอตอสูอยู โดยไมใชความผิดของตน ตัวอยางเชน
ลูกหนี้กูเงิน 10,000 บาท ผูค้ําประกันรูวาลูกหนี้ชําระหนี้ไปแลว 7,000 บาท แตผูค้ําประกัน ก็ยังไป
ชําระใหเจานี้เต็มจํานวน 10,000 บาท อีก เชนนี้ผูค้ําประกันก็มีสิทธิไลเบี้ยจากลูกหนี้ไดเพียง
90

3,000 บาท หากผูค้ําประกันอางวาตนไมรู ก็แลวแตการนําพิสูจนพยานในศาล ผูค้ําประกัน ก็อาจเรียก


จากลูกหนี้ไดเต็ม 10,000 บาท เปนตน
3. อายุความสะดุดหยุดลงเปนโทษแกลูกหนี้ยอมเปนโทษแกผูค้ําประกันดวย อายุ
ความ สะดุดหยุดลงเปนยังไง สมมุติตัวอยาง เชน อายุความในการฟองรองคดีกูยืมเงินมีอายุ 10 ป
อยู ๆ ในระหวางกอนถึง 10 ป ลูกหนี้ก็ไปทําหนังสือรับสภาพหนี้ใหกับเจาหนี้อีกวาผมเปนหนี้จริง
ๆ จะนําเงินมาชําระพรอมดอกเบี้ยในปที่ 7 แสดงวาอายุความฟองรองคดี 10 ป สะดุดหยุดลง
เพราะฉะนั้น แทนที่อายุความจะเหลือ 3 ป ก็จะเริ่มนับอายุความใหม จากปที่ 7 ไปอีก 10 ป อายุความ
ในการฟองรอง บังคับคดี 10 ป ก็จะเริ่มกลายเลื่อนไปเปน 17 ป นับแตเงินกู เชนนี้ก็ตกเปนโทษแกลูก
หนี้ สมมุติวาหนี้เงินกูดังกลาวมีผูค้ําประกันก็ตองโดนอายุความ 17 ป ไปดวยเพราะกฎหมายถือวาอายุ
ความ สะดุดหยุดลงเปนโทษแกผูค้ําประกันดวย
4. กรณีผูค้ําประกันไมมีสิทธิไลเบี้ยเอาจากลูกหนี้ อีกกรณีหนึ่งก็คือ
ผูค้ําประกันไปชําระหนี้แทนลูกหนี้โดยไมไดบอกใหลูกหนี้รู ตอมาลูกหนี้ก็ไป
ชําระเงิน ใหเจาหนี้อีก เชนวา นาย ก. กูยืมเงิน นาย ข. 100,000 บาท โดยมี นาย ค. เปนผูค้ําประกัน
กําหนด ชําระคืน 2 ป พอปที่ 1 ผานไป นาย ค. ไปชําระหนี้โดยไมไดบอกให นาย ก.ทราบ
นาย ข. เจาหนี้ก็วาดีไดรับชําระหนี้คืนโดยยังไมถึงกําหนดเวลา พอครบ 2 ป นาย ก. ไป ชําระ
หนี้ให นาย ข. อีก 100,000 บาท นาย ข. เจาหนี้ก็รับไวอีก เชนนี้ กฎหมายบอกวา นาย ค. จะไปใช
สิทธิไลเบี้ยเงิน 100,000 บาทจาก นาย ข. ไมได นาย ค. ตองไปเรียกเอาจาก นาย ข. ในฐานะ ลาภมิ
ควรได ถือวา 100,000 บาท ที่ นาย ค. ไปชําระเปนการชําระหนี้ที่ไมมีมูลกันอยู ตามหลักกฎหมายใน
เรื่องลาภมิควรได30 นาย ข. ก็ตองคืนเงินให นาย ค.ไป
5. การกระทําของเจาหนี้ ทําใหผูค้ําประกันไมอาจเขารับชวงไดทั้งหมดหรือบาง
สวนใน สิทธิก็ดี จํานองก็ดี จํานําก็ดี และบุริมสิทธิ อันไดใหไวแกเจาหนี้ แตกอนหรือในขณะทํา
สัญญาค้ําประกัน เพื่อชําระหนี้ผูค้ําประกันยอมหลุดพนจากความรับผิดชอบเทาที่ตน ตองเสียหาย
เพราะการนั้น
ตามตัวอยางขางตน ตามมาตรา 693 วรรค 2 บัญญัติวาผูค้ําประกันซึ่งไดรับ
ชําระหนี้ให เจาหนี้แลว ไดรับชวงสิทธิของเจาหนี้บรรดามีเหนือลูกหนี้ และใหรวมถึงบุคคลอื่นซึ่งเจา
หนี้ มีสิทธิเหนือบุคคลนั้นดวย เชน นาย ก. กูเงิน นาย ข. โดยมี นาย ค. ค้ําประกัน และก็มี นาย ง.
จํานองที่ดินเปนประกันหนี้ดวย ถา นาย ก. ไมชําระหนี้ นาย ข. เจาหนี้ก็มีสิทธิบังคับจํานอง เอาจาก
ที่ดินของ นาย ง. ได เชนนี้เรียกวาการรับชวงในสิทธิจํานอง
91

ตัวอยาง มาตรา 697 เชน นาย ก. กูเงิน นาย ข. ไป 100,000 บาท โดยจํานอง
ของ ที่ดินของตนราคา 80,000 บาท เปนประกันแลวก็มี นาย ค. เปนผูค้ําประกัน ตอมา นาย ข.
ปลดจํานองให นาย ก.ก็เลยทําให นาย ค.เสียหาย เพราะทําใหไมอาจรับชวงสิทธิบังคับจํานอง นาย ก.
ได ดังนั้น นาย ค. จึงหลุดพนความรับผิดเทาที่ตนเสียหาย คือ 80,000 บาท ตามราคา ที่ทรัพยที่
จํานองไว นาย ข. เจาหนี้มีสิทธิฟองรองจาก นาย ค. ไดเพียง 20,000 บาท เพราะการปลดจํานองให
นาย ก. ของนาย ข. ทําให นาย ค. เสียหายที่ไมอาจรับสิทธิได 80,000 บาท
ตามตัวอยางแรกแทนที่ นาย ก. จํานองที่ดินแต นาย ก. ไดเอาแหวนเพชร
ราคา 50,000 บาท จํานําไวเปนประกันหนี้ นาย ข. คืนแหวนให นาย ก. ไป ( จํานําระงับ เพราะมีการ
คืนของ ใหผูรับจํานําไป ) นาย ค. ผูค้ําประกันไมอาจรับชวงสิทธิจํานําได นาย ค. ก็หลุดพนความรับ
ผิดชอบ ในราคาแหวน 50,000 บาท นาย ข. เจาหนี้มีสิทธิฟองเรียกจาก นาย ค. เพียง 50,000 บาท
ตัวอยางที่เกี่ยวกับหนี้บุริมสิทธิ เชน บุริมสิทธิในมูลพักอาศัยในโรงแรม นาย
ก. เชา ที่พักโรงแรมของ นาย ข. เปนหนี้คาหองพัก 10,000 บาท โดยมี นาย ค. ค้ําประกันคาหองพัก
ใหที่นี้ นาย ก. ก็มีเครื่องเดินทาง กระเปาเดินทางและมีของอยูขางใน เชน เครื่องประดับราคา
ประมาณ 3,000 บาท แทนที่ นาย ข. จะยึดเอาเครื่องเดินทางเอาไว กลับปลอยให นาย ก. เอาคืนไปดวย
เชนนี้เห็นวาทําให นาย ค. ผูค้ําประกันไมอาจเรียกรองสิทธิ 3,000 บาท เอาจาก นาย ก. ได นาย ค.
ก็หลุดพนไป 3,000 บาท นาย ค. รับผิดตอ นาย ข. 7,000 บาท เทานั้น

ความระงับสิ้นไปแหงการค้ําประกัน
อันผูค้ําประกันยอมหลุดพนความรับผิดชอบในเมื่อหนี้ของลูกหนี้ระงับสิ้นไป ไมวา เพราะ
เหตุใด
1. ความระงับแหงหนี้ตามกฎหมายลักษณะหนี้ เชน ลูกหนี้ชําระหนี้ เจาหนี้ปลด
หนี้ให หักกลบลบหนี้ แปลงหนี้ใหม หนี้เกลื่อนกลืนกัน เชนนี้ หนี้ของลูกหนี้ระงับสิ้นไป ก็เลยทําให
ผูค้ําประกันหลุดพนความรับผิดชอบตามหลักกฎหมายมาตรา 698 ขางตน
2. เหตุอื่น ๆ เชน หนี้ของลูกหนี้ขาดอายุความ หนี้ค้ําประกันไมสมบูรณ หนี้ค้ํา
ประกัน ไมมีหลักฐานเปนหนังสือเชาซื้อไมไดทําเปนหนังสือ เปนตน
เมื่อผูค้ําประกันหลุดพนความผิด ผูรับเรือนก็หลุดพนไปดวย เพราะถือวาเปนผูค้ํา
ประกัน เหมือนกัน เมื่อหนี้ประธานระงับไป
3. หนี้ค้ําประกันระงับไปเพราะเหตุค้ําประกันหลายคราวเปนการค้ําประกัน เพื่อ
92

- กิจการตอเนื่องกันเปนหลายคราว43 หรือ
- ค้ําประกันไมจํากัดเวลา
กฎหมายใหสิทธิผูค้ําประกันบอกเลิกสัญญาค้ําประกันได เชน นาย ก. ทําสัญญา
เบิกเงินเกินบัญชีจากธนาคาร 1,000,000 บาท โดยมี นาย ข. ค้ําประกันโดยไมจํากัดเวลาไว ตอมา
นาย ก. เบิกเงินมาใช 600,000 บาท ดังนี้เมื่อสัญญาค้ําประกันไมไดจํากัดเวลาไว นาย ข. ก็บอกเลิกไป
ที่ ธนาคารจะรับผิดชอบแค 600,000 บาท เชนนี้หากภายหลังบอกเลิกแลว นาย ก. เบิกเงินมาใชอีก
นาย ข. ก็ไมตองรับผิดในสวนที่เกิดภายหลังนี้
4. ถาหนี้ไดกําหนดชําระกันแนนอน หากเจาหนี้ผอนเวลาชําระหนี้ใหแกลูกหนี้
โดยที่ ผูค้ําประกันไมยินยอม ผูค้ําประกันก็ยอมหลุดพนความรับผิด สาระสําคัญอยูที่หนี้นั้นตองได
กําหนดเวลาชําระกันอยางแนนอนแลว เชน กําหนดชําระภายใน 1 ป หรือวันที่นั้น วันที่นี้ ตาม
ปฏิทิน
ตัวอยาง เชนนี้ของลูกหนี้กําหนดชําระกันในวันที่ 31 ตุลาคม 2538 พอถึงวัน
ดังกลาว เจาหนี้ก็บอกวาไมเปนไร เอามาใหทีหลังก็ได เชนนี้ยังไมถือวาเจาหนี้ผอนเวลาชําระหนี้ให
ลูกหนี้ ผูค้ําประกันยังไมพนความรับผิดชอบเจาหนี้ตองบอกวาถึงกําหนดชําระแลว ไมเปนไรเอามา
ใหทีหลังก็ได และก็ตองตกลงวาในระหวางที่ผอนเวลาใหนี้ จะไมดําเนินการฟองรองคดี เชนนี้จึงถือวา
ผอนเวลาให ผูค้ําประกันจึงหลุดพนความรับผิด

บทสรุป
จากลักษณะสําคัญของการค้ําประกันดังกลาวขางตน จะสรุปหลักเกณฑที่สําคัญไดดังนี้
1. ตองเปนหนี้ที่มีกําหนดชําระกันแนนอน
2. ตองเปนกรณีที่เจาหนี้ตกลงผอนเวลาให โดยมีการตกลงผอนเวลากันแนนอน
และ ในระหวางที่ผอนเวลาใหนั้น จะใหสัญญาวาจะไมใชสิทธิเรียกรองแตอยางใด จึงจะเปนการผอน
เวลา ที่ทําใหผูค้ําประกันหลุดพนความรับผิด
ความระงับสิ้นไปของสัญญาค้ําประกันอีกกรณีหนึ่งก็คือ เมื่อหนี้ถึงกําหนดชําระ
แลว ผูค้ําประกันขอชําระหนี้แตเจาหนี้ไมยอมรับชําระหนี้ ผูค้ําประกันก็หลุดพนความรับผิด เชน
นาย ก. กูเงิน นาย ข. มี นาย ค. ค้ําประกัน กําหนดเวลาชําระเงินกูกันภายใน 1 ป พอถึง 1 ป นาย ค.
ก็ขอ ชําระหนี้ ให นาย ข. แทน นาย ก. นาย ข. เจาหนี้ไมยอมรับเงินคืน เพราะยังอยากไดดอกเบี้ย จาก
นาย ก. อยูเชนนี้ถือวา นาย ค. ผูค้ําประกันหลุดพนความผิด เพราะขอชําระหนี้แลว เจาหนี้ไมยอมรับ
93

ชําระ หากมิฉะนั้นแลวจะทําใหผูค้ําประกันเสียหาย โดยตองรับผิดไมมีเวลาสิ้นสุด กฎหมายยังใหสิทธิ


ไลเบี้ย เอากับลูกหนี้ไมไดอีกดวย เพราะจะไลเบี้ยไดก็ตอเมื่อผูค้ําประกันไดรับชําระหนี้ใหแกเจาหนี้
แลวเทานั้น
3. หนี้ยังไมถึงกําหนดชําระผูค้ําประกันจะขอชําระหนี้กอนนั้นไมได หากวาถึงแม
ขอชําระหนี้ แตเจาหนี้ไมยอมรับชําระ ผูค้ําประกันก็ยังไมหลุดพนจากความรับผิดชอบ

จํานํา

ความหมาย
จํานํา หมายถึง สัญญาซึ่งบุคคลหนึ่งเรียกวา ผูจํานําสงมอบสังหาริมทรัพยสิ่งหนึ่งใหแก
บุคคลอีกคนหนึ่งเรียกวาผูรับจํานํา เพื่อเปนประกันการชําระหนี้

ลักษณะสําคัญของจํานํา
จะพิจารณาลักษณะที่สําคัญของสัญญาจํานําไดดังนี้
1. กฎหมายไมไดบังคับวาจะตองทําเปนหนังสือหรือตองมีหลักฐานเปนหนังสือ
2. จํานํา ไดเฉพาะสังหาริมทรัพย อสังหาริมทรัพยจํานําไมได กฎหมายบอกวา
การสงมอบ สังหาริมทรัพยใหผูรับจํานํา เพราะฉะนั้นอสังหาริมทรัพยสงมอบไมได ก็จํานําไมได
3. การจํานําตองมีการสงมอบทรัพยที่จํานําใหแกผูรับจํานําไว เพื่อเปนการประกัน
การชําระหนี้ หากไมมีการสงมอบทรัพยจํานําใหแกผูรับจํานํา ก็ไมเปนการจํานําตามกฎหมาย แต
อาจจะมีการสงมอบทรัพยที่จํานําใหบุคคลภายนอกเปนผูเก็บรักษาไวก็ได โดยผูจํานํากับผูรับจํานํา ตก
ลงกัน
4. จํานําจะมีผลบังคับไดตองเปนการประกันหนี้ที่สมบูรณ หากเปนหนี้ที่ไม
สมบูรณ แลวก็ บังคับการจํานําไมได ตัวอยางเชน หนี้กูยืมเงินเพื่อเอาไปคาเฮโรอีน หรือเอาไปจางยิง
คนถือวาขัดตอ ความสงบเรียบรอยเมื่อมีการจํานําประกันหนี้ดังกลาวก็บังคับไมได
5. ผูจํานําอาจเปนลูกหนี้ หรือบุคคลอื่นก็ได ที่นําทรัพยสินของตนจํานําประกัน
หนี้เหมือน การจํานอง
94

6. การจํานําจํานองผูที่เปนเจาของทรัพยสินเทานั้น จึงจะจํานองได
7. สิทธิของผูรับจํานําในการรับชําระหนี้ จะไดรับชําระหนี้จากสินทรัพยที่จํานํา
กอนเจาหนี้ สามัญ เชนเดียวกับผูรับจํานอง
8. การที่ลูกหนี้หรือผูค้ําประกันมอบโฉนด54 ใหเจาหนี้ยึดถือไวไมเปนการจํานํา
จํานองหรือค้ําประกัน

สังหาริมทรัพยที่จํานําได
สังหาริมทรัพยทุกชนิด เชน รถ นาฬิกา แวนตา ฯลฯ สังหาริมทรัพยเปนสิทธิซึ่งมี
ตราสาร เชน หนังสือสัญญากู หนังสือสัญญาเชาซื้อ เช็ค ตั๋วแลกเงิน ใบหุน การจํานําดังกลาว
ตองสงมอบตราสารนั้น ๆ ใหแกผูรับจํานํา และตองบอกกลาวเปนหนังสือแจงถึงการจํานําแก ลูกหนี้
แหงสิทธิ มิเชนนั้นเปนโมฆะ เชน การกูเงินมีหนังสือสัญญาตอกัน ระหวางที่หนี้ยังไมถึงกําหนด เจา
หนี้อยากไดรับชําระเงินกอน ก็นําเอาหนังสือสัญญากูไปจํานําตอบุคคลภายนอก ก็โดยสงมอบสัญญา
กู ใหแกผูรับจํานําและทําเปนหนังสือแจงใหลูกหนี้ทราบถาไมเชนนั้นการจํานําดังกลาวเปนโมฆะ
ขอตกลงใหทรัพยสินเปนของผูรับจํานํา เปนประการอื่นนอกจากบทบัญญัติของกฎหมาย
ขอตกลงดังกลาวไมสมบูรณ กลาวคือ การที่จะตกลงกันไวเสียแตกอนเวลาหนี้ถึงกําหนดชําระเปน ขอ
ความอยางใดอยางหนึ่ง ถาไมชําระหนี้ ใหผูรับจํานําเปนเจาของทรัพยสินจํานําหรือ ใหจัดการแก
ทรัพยสินนั้นเปนประการอื่น นอกจากตามบทบัญญัติทั้งหลายวาดวยการบังคับจํานํา ขอตกลงเชนนั้น
ทานวาไมสมบูรณ
บทบัญญัตินี้เหมือนกับการจํานอง57 ก็คือ จะตกลงกันกอนหนี้ถึงกําหนดชําระวา ถาผูจํานํา
ไมชําระหนี้ ใหผูรับจํานําเปนเจาของทรัพยสินที่จํานํา หรือใหจัดการแกทรัพยสินที่จํานําเปนประการ
อื่น ขอตกลงดังกลาวไมสมบูรณเปนโมฆะแตถาตกลงกันจากหนี้ถึงกําหนดชําระแลวสามารถทําได

สิทธิและหนาที่ของผูจํานําและผูรับจํานํา
สําหรับสิทธิและหนาที่ของคูสัญญาจํานํา จะพิจารณาไดดังนี้
1. ผูรับจํานํา ชอบที่จะยึดของจํานําไวไดทั้งหมด จนกวาจะไดรับชําระหนี้และคา
อุปกรณ ครบถวน
2. ผูรับจํานําตองรักษาทรัพยสินไวใหปลอดภัย และตองสงวนสิทธิในทรัพยสิน
อันจํานํานั้น อยางเชน วิญูชนจะพึงสงวนทรัพยสินของตนเอง เชนวา มีการจํานําเครื่องทองรูป
95

พรรณ ผูรับจํานําตองเก็บไวในหีบในตูหรือในที่ปลอดภัยไมใชทิ้งเรี่ยราด หรือมีการจํานํารถยนตก็ควร


มีการลางทําความสะอาด ไมใชทิ้งตากแดดตากฝน
3. ถาผูรับจํานําเอาทรัพยสินซึ่งจํานําออกใช หรือเอาใหบุคคลภายนอกใชสอย
หรือเก็บ รักษาโดยที่ผูจํานํามิไดยินยอมดวยไซร ผูรับจํานําตองเปนผูรับผิดชอบถาทรัพยสินสูญหายบุบ
สลาย แมเปนเหตุสุดวิสัย เวนแตจะพิสูจนไดวาอยางไรก็คงจะตองสูญหาย หรือบุบสลายอยูนั่นเอง62
4. ผูรับจํานํามีสิทธิเอาดอกเอาผลนิตินัย ชําระคาดอกเบี้ยกับเงินตนได ถาไมได
กําหนดไวเปนอยางอื่นในสัญญา หากมีดอกผลนิตินัยงอกจากทรัพยสินนั้นอยางไร ทานใหผูรับจํานํา
จัดสรรใชเปนคาดอกเบี้ย อันคางชําระแกตน และถาไมมีดอกเบี้ยคางชําระทานใหจัดสรรใชเงินตน
แหงนี้ อันไดจํานําทรัพยสินเปนประกันนั้น
ดอกผลนิตินัย64 ก็คือ ดอกเบี้ย กําไร คาเชา คาปนผล หรือลาภอื่น ๆ ที่
ไดเปนครั้งคราว แกเจาทรัพยจากผูอื่นเพื่อที่ไดใชทรัพยนั้น
เชน นาย ก. กูเงิน นาย ข. เอารถยนตมาจํานําไวเปนประกัน โดยตกลงกันวาให
นาย ข. นําเอารถยนตไปใหคนเชาขับแท็กซี่ได ดังนั้นคาเชารถก็ถือเปนดอกผลนิตินัย นาย ข. ผูรับจํานํา
ตองจัดสรรเอาคาเชานั้นชําระคาดอกเบี้ยเงินกูกอน ถาเหลือจากนั้นก็เอาชําระตนเงินกูได
ถาเปนดอกผลธรรมดา จะจัดเอาชําระคาดอกเบี้ยกับเงินตนไมได เพราะ
กฎหมายให อํานาจผูรับจํานํา มีสิทธิจะยึดทรัพยสินที่จํานําไวไดจนกวาจะไดรับชําระหนี้ และคา
อุปกรณ ดังนั้น ผูรับจํานําจะยึดเอาดอกผลธรรมดาไวไมได เชน กูเงินแตจํานําโค กระบือไว
ระหวางนั้น โค กระบือ เกิดลูกขึ้นมาเชนนี้ลูกโค ลูกกระบือไมใชดอกผลนิตินัยแตเปนดอกผลธรรมดา
ผูจํานําเปนเจาของ โค กระบือ ผูรับจํานําจะยึดเอาลูกโค ลูกกระบือไวไมได ดังนั้นจึงจะยึดเอาลูกโค
ลูกกระบือ มาชําระ ดอกเบี้ยหรือตนเงินกูไมได
5. ผูจํานําตองชดใชคาใชจายใด ๆ เกี่ยวกับการบํารุงรักษาทรัพยสินใหแกผูรับ
จํานํา เวนแต กําหนดไวเปนอยางอื่นในสัญญา

การบังคับจํานํา
เมื่อจะบังคับจํานํา ผูรับจํานําตองบอกกลาวเปนหนังสือไปยังลูกหนี้เสียกอนวาใหชําระหนี้
และอุปกรณภายในเวลาอันสมควร ซึ่งกําหนดใหในคําบอกกลาวนั้น ถาลูกหนี้ละเลย ไมปฏิบัติตาม คํา
บอกกลาว ผูรับจํานําชอบที่จะเอาทรัพยสินจํานําออกขายได แตตองขายทอดตลาด
96

อนึ่ง ผูรับจํานําตองมีจดหมายบอกกลาวไปยังผูจํานํา บอกเวลาและสถานที่ซึ่งจะ ขาย


ทอดตลาดดวย

สรุป หลักเกณฑในการจะบังคับจํานํา
1. ตองทําเปนหนังสือบอกกลาวไปยังลูกหนี้ วาใหชําระหนี้ภายในกําหนดเวลาอันสม
ควร ตองกําหนดระยะเวลาชําระหนี้ไวดวย แมวาหนี้ถึงกําหนดชําระแลวก็ตาม การบังคับจํานําจะตอง
บอกกลาวเปนหนังสือเสมอ
2. ถาระยะในหนังสือบอกกลาว สิ้นสุดไปแลว ลูกหนี้ก็ยังไมชําระหนี้ผูรับจํานํา จึงจะ
เอา ทรัพยสินที่จํานําออกขายไดแตตองขายทอดตลาดเทานั้น
3. การจะขายทอดตลาด ก็จะตองบอกกลาวเปนจดหมายไปยังผูจํานํา โดยบอกเวลา
สถานที่ ที่จะขายทอดตลาดดวย
4. ผูรับจํานํามีสิทธิที่จะเอาทรัพยสินที่จํานําออกขายทอดตลาดได โดยไมตองฟองรอง
เปนคดีตอศาล
5. ถาไมอยากบังคับจํานําเจาหนี้ก็สามารถฟองลูกหนี้บังคับใหชําระหนี้ อยางเจาหนี้
สามัญได
ตัวอยาง นาย ก. กูเงิน นาย ข. โดยมี นาย ค. จํานํารถยนต นาย ค. เปนประกันเงินกู
กําหนด ชําระภายใน 1 ป พอ 1 ป นาย ก. ไมชําระเงินกู นาย ข. สามารถฟอง นาย ก. ใหชําระเงินกูได
หรือ นาย ข. สามารถบังคับจํานําเอากับรถยนตของนาย ค. ไดตามหลักการบังคับจํานํา ก็โดยทํา
หนังสือบอกวาจะบังคับ จํานําไปยัง นาย ก. กําหนดใหชําระหนี้ใหม ภายในเวลาสมควร สมมุติวา
ภายใน 1 เดือน
พอหลังจาก 1 เดือน ก็ยังไมชําระหนี้เงินกู นาย ข. สามารถเอารถยนตของ นาย ค.
ออกขายทอดตลาดได โดยบอกเวลาสถานที่ขายทอดตลาดรถยนตให นาย ค. ทราบเสียกอน จึงจะ
ขายทอดตลาดได
เมื่อบังคับจํานําเอาทรัพยสินออกขายทอดตลาดแลว กฎหมายกําหนดใหเอาเงินที่ขาย ทอด
ตลาดไดนั้น ชําระคาดอกเบี้ยกับอุปกรณกับเงินตนเพื่อเสร็จสิ้นไป ถามีเงินเหลือ ก็ตองสงคืน ใหผู
จํานํา
97

ถาเงินจากการบังคับจํานํา ไมพอชําระหนี้ กฎหมายบอกวาลูกหนี้ก็ยังคงตองรับผิด ใช


ใน สวนที่ขาดอยูนั้น71 แตจะไปเรียกเอาสวนขาดจากผูจํานําไมได72 (กรณีลูกหนี้กับผูจํานํา เปนคนละ
คนกัน)
ตางจากจํานอง เพราะถาเปนจํานอง เมื่อบังคับจํานองแลว เงินไมพอชําระหนี้ ไม
ตองรับผิดในสวนที่ขาด เวนแตจะตกลงกันไวเปนพิเศษ

ความระงับสิ้นไปแหงการจํานํา
สัญญาจํานําจะระงับลง ดังนี้
1. เมื่อหนี้ซึ่งจํานําเปนประกัน ระงับสิ้นไปดวยเหตุการณอื่น มิใชเพราะ อายุความ
เหมือนกรณีจํานอง เหตุประการอื่นก็คือ มีการชําระหนี้ เจาหนี้ปลดหนี้ให หักกลบลบหนี้ แปลง
หนี้ใหม หนี้เกลื่อนกลืนกัน เปนตน
แตกรณีหนี้ที่จํานําเปนประกันขาดอายุความ การจํานําไมระงับ เชน หนี้กูยืม
ที่มี การจํานํา เปนประกัน อายุความมี 10 ป แตเจาหนี้ไมฟองรองคดี ภายใน 10 ป หนี้กูยืม
ขาดอายุความฟองรอง แตหนี้จํานําเปนประกันไมระงับไปดวย เจาหนี้ยังคงใชสิทธิบังคับทรัพยสินที่
จํานําได
2. เมื่อผูรับจํานํายอมใหทรัพยสินจํานํากลับคืนไปสูครอบครัวของผูจํานํา การจํานํา
ยอม ระงับสิ้นไป เพราะการจํานําทําโดยสงมอบทรัพยสินใหแกผูรับจํานําเปนประกัน เมื่อมีการคืน
ทรัพยสิน ใหแกผูจํานําไป การจํานํายอมระงับสิ้นไป

การจํานําตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชยกับการจํานําของโรงจํานํา
บทบัญญัติทั้งหลายในเรื่องจํานํา ทานใหใชบังคับแกสัญญาจํานําที่ทํากับผูตั้งโรงรับจํานํา
โดยรัฐบาลอนุญาต แตเพียงที่ไมขัดกับกฎหมายหรือกฎขอบังคับวาดวยโรงจํานํา
แสดงวา หากไมมีกฎหมายแพงหรือขอบังคับวาดวยโรงรับจํานําโดยเฉพาะแลวก็ใหนํา
บทบัญญัติจํานําไปใชบังคับได
การจํานําตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย ผูจํานําจะตองเปนเจาของทรัพยสิน
ที่จํานําตามมาตรา 747 ถาไมใชเจาของแลว ผูที่เปนเจาของที่แทจริงมีสิทธิติดตามเอาทรัพยที่จํานํา คืน
ไดโดยไมตองเสียเงินไถถอนทรัพยที่จํานําไว เวนแตเจาของทรัพยสินนั้นประมาทเลินเลอ
98

แตกรณีของโรงรับจํานํา ไดรับความคุมครองตามพระราชบัญญัติโรงรับจํานํา ซึ่งเปน


กฎหมายพิเศษ ซึ่งตามพระราชบัญญัตินี้ ถามีการจํานําทรัพยสินกับโรงรับจํานํา แมผูจํานําจะไมใช เจา
ของทรัพยสินที่จํานําก็ตามเจาของที่แทจริงจะติดตามเอาทรัพยสินที่จํานําคืนไมได นอกเสียจากวา จะ
ใชหนี้คาจํานําทรัพยสินเสียกอน
ขอยกเวน กรณีที่โรงรับจํานําจะตองคืนทรัพยสินซึ่งจํานําใหแกเจาของที่แทจริง โดย จะ
เรียกใหชําระหนี้ใหเกิดจากการรับจํานําทรัพยนั้นมิได คือ81
1. โรงรับจํานําไดรับจํานําสิ่งของที่เห็นไดวาเปนของที่ใชในราชการ
2. โรงรับจํานําไดรับจํานําสิ่งของที่ไดรับแจงจากเจาพนักงานในเรื่องของหาย
3. โรงรับจํานําไดรับจํานําสิ่งของไว โดยรูหรือมีเหตุอันควรรูวาทรัพยจํานํานั้นได
มา โดยกระทําความผิด
4. โรงรับจํานําไดรับจํานําทรัพยไว โดยมิไดจดแจงรายการเกี่ยวกับบัตรประชาชน
ของ ผูจํานําไวใหชัดแจงในตนขั้วของตั๋วรับจํานํา หรือมิไดจดเกี่ยวกับเอกสารแสดงชื่อที่อยูของผูจํานํา
ไว
5. โรงรับจํานํา จํานําสิ่งของแตละรายเกิน 10,000 บาท ก็ไมไดรับความคุมครอง
เชนเดียวกัน

ขอแตกตางของการจํานองกับจํานําและค้ําประกัน
การบังคับจํานองบังคับแลว ไดเงินจากการขายทอดตลาดเทาใด หากยังชําระหนี้ ไมพอหนี้
ยังขาดอยูลูกหนี้ไมตองรับผิดในสวนที่ขาดนั้น82
การบังคับจํานํา ถาไดเงินนอยกวาหนี้ที่คางชําระลูกหนี้ยังตองรับผิดในหนี้ที่ขาดอยู83
สวนการค้ําประกันก็บอกวาถาบังคับตามสัญญาค้ําประกันแลวหนี้ยังขาด หรือเหลืออยูเทา
ใด ลูกหนี้ยังตองรับผิดชอบตอเจาหนี้ในหนี้ที่ยังขาด84 หรือในสวนที่เหลืออยูนั้นแสดงวา ถาเปนการ
จํานอง และบังคับแลวหนี้ขาดเทาใด ลูกหนี้ไมตองรับ ถาเปนกรณีอื่น ๆ เชน จํานําหรือค้ําประกัน
บังคับแลว หนี้ขาดอยูเทาใด ลูกหนี้ยังตองรับผิดอยู
99

จํานอง

ลักษณะสําคัญของสัญญาจํานอง
จํานองนั้นคือสัญญาซึ่งบุคคลหนึ่งเรียกวาผูจํานอง เอาทรัพยสินตราไวแกบุคคลอีกคน
หนึ่ง เรียกวา ผูรับจํานองเปนประกันการชําระหนี้ โดยไมสงมอบทรัพยสินนั้นใหแกผูรับจํานอง
จากหลักกฎหมายดังกลาว หลักของการจํานองทรัพยสิน สรุปไดเปนขอ ๆ ดังนี้
1. ผูจํานองจะเปนตัวลูกหนี้เอง หรือบุคคลอื่นก็ได
2. การจํานองทําโดยเพียงแตเอาทรัพยสินตราไวเปนประกันโดยไมตองสงมอบ
ทรัพยสิน ตราไวก็คือ ทําเปนหนังสือและจดทะเบียนตอพนักงานเจาหนาที่ ดังนั้น โดยทั่วไปการที่
มอบโฉนดหรือ น.ส. 3 ไวเปนประกันจึงไมใชการจํานองตามกฎหมาย เจาหนี้ไมมีสิทธิอะไร เหนือ
ทรัพยสินนั้น ๆ เลย ก็แสดงวาถือกระดาษไวเปนประกันหนึ่งใบเทานั้น
3. สิทธิของผูรับจํานอง ยอมไดรับชําระหนี้จากทรัพยสินที่จํานองกอนเจาหนี้อื่น
เชน นาย ก. กูเงิน นาย ข. 100,000 บาท โดยจํานองที่ดินของตนเองเปนประกัน นาย ก. เปนหนี้
เจาหนี้ อื่น ๆ อีก 3 ราย ๆ ละ 50,000 บาท ตอมาเมื่อ นาย ก. ไมชําระหนี้ นาย ข. ก็บังคับ
จํานอง โดยเอาที่ดินออกขายทอดตลาดไดเงินมา 100,000 บาท พอดี ดังนี้ นาย ข. ก็ไดรับเงินไป
100,000 บาท โดยเจาหนี้อื่น ๆ อีก 3 รายไมไดอะไรเลย ก็ตองไปบังคับเรียกรองเอาจาก นาย ก. ใน
ทรัพยสินอื่น ๆ ตอไป ดวยเหตุที่วา นาย ข. ผูรับจํานองยอมไดรับชําระหนี้จากทรัพยสินที่จํานองกอน
เจาหนี้อื่น ๆ ของนาย ก.

ทรัพยสินที่จะจํานองได
สรุปไดวาทรัพยสินที่อาจจํานองไดก็ คือ
1. อสังหาริมทรัพย 90
2. สังหาริมทรัพยชนิดพิเศษ เชน เรือกําปน หรือ เรือมีระวางตั้งแต 6 ตันขึ้นไป
เรือกลไฟหรือเรือยนตมีระวางตั้งแต 5 ตันขึ้นไป แพ สัตว พาหนะ91 ฯลฯ ทรัพยสิน
ดังกลาวเหมือนกับลักษณะซื้อขายที่บอกวาทรัพยสินเหลานี้ ถาจะซื้อขาย ตองทําเปนหนังสือและ จด
ทะเบียนตอพนักงานเจาหนาที่ มิเชนนั้นเปนโมฆะตามมาตรา 456 ในลักษณะซื้อขาย
100

ผูมีสิทธิจํานองทรัพยสิน
การจํานองทรัพยสินนั้น นอกจากผูเปนเจาของในขณะนั้นแลว ใครอื่นจะจํานองไมได92
เจาของก็หมายถึงผูมีกรรมสิทธิ์หรือมีสิทธิครอบครองเทานั้นที่จะจํานองไดบุคคลอื่น ๆ ไมมีสิทธิเอา
ทรัพยสินของผูอื่นไปจํานอง (กรณีเจาของรวม สามารถจํานองไดเฉพาะสวนตัวเทานั้น )
มาตรา 706 บอกอีกวา “บุคคลมีกรรมสิทธิ์ในทรัพยสินแตภายในบังคับเงื่อนไข เชนใด
จะจํานองทรัพยสินนั้นไดแตภายในบังคับเงื่อนไขเชนนั้น”
ตัวอยางเชน กรณีขายฝาก เราไดเรียนมาแลววากรรมสิทธิ์ในทรัพยสินที่ขายฝากตกไป
เปน ของผูรับซื้อฝาก โดยมีขอกําหนดเกี่ยวกับการไถคืนไว
นาย ก. ขายฝากที่ดินไวกับ นาย ข. กําหนดไถถอนใน 5 ป เชนนี้ นาย ข. ก็นําที่ดิน
ไปจํานองไดเพราะถือวากรรมสิทธิ์ในที่ดินตกเปนของ นาย ข. นาย ข. ก็จํานองได แตก็ตองอยู ใน
เงื่อนบังคับของการขายฝากที่มีอยูวา นาย ก. สามารถไถคืนไดภายใน 5 ป ดังนั้นแมจํานองได นาย ก.
สามารถไปไถทรัพยสินไดเมื่อไถแลว การจํานองก็หมดสิ้นไปตามมาตรา 502 ที่บอกวา “ทรัพยสิน
ซึ่งไถนั้น เมื่อไถแลวผูไถยอมรับคืนไปโดยปลอดจากสิทธิใด ๆ ซึ่งผูซื้อเดิม ทายาทหรือผูรับโอน จาก
ผูซื้อเดิมกอใหเกิดขึ้นกอนเวลาไถ”
หรือถาเปนกรณีทรัพยสินอยางอื่นๆ เชน สิทธิเหนือพื้นดิน สิทธิเก็บกินสิทธิอาศัย ฯลฯ
เมื่อจํานองก็ตองอยูในเงื่อนไขวามีทรัพยสิทธิ์ติดอยูตลอดไป

วิธีการจํานอง
อันสัญญาจํานองนั้น ทานวาตองทําเปนหนังสือและจดทะเบียนตอพนักงานเจาหนาที่
จํานองแลวยังจํานองกับบุคคลอื่นในระหวางที่สัญญากอนยังมีอายุอยูก็ได
เชน กูเงิน 100,000 บาทและจํานองที่ดินเปนประกัน ตอมาที่ดินมีมูลคาถึง 1,000,000
บาท ก็เลยสามารถเอาไปจํานองประกันหนี้รายอื่นไดอีกเมื่อถึงเวลาการบังคับจํานองก็ตองเอา ใชหนี้
ใหกับ ผูรับจํานํารายแรกกอนตามกฎหมาย ใครจดทะเบียนกอนก็ไดรับชําระหนี้กอน

สิทธิจํานองครอบเพียงใด
1. ทรัพยสินซึ่งจํานองยอมเปนประกัน เพื่อการชําระหนี้กับทั้งอุปกรณตอไปนี้ดวย คือ
ดอกเบี้ย คาสินไหมทดแทนในการไมชําระหนี้ คาฤชาธรรมเนียมในการบังคับคดีจํานอง
101

2. จํานองยอมครอบไปถึงทรัพยสินที่จํานองหมดทุกอยาง แมจะไดชําระหนี้แลวบางเชน
นาย ก. กูยืมเงิน นาย ข. ไป 300,000 บาท โดยจํานองบาน 1 หลัง กับที่ดิน 1 แปลง เปนประกัน
ตอมา นาย ก . ก็ชําระหนี้เงินกูไป 200,000 บาท เราก็ยังถือวาบานและที่ดินยังคงเปน
ทรัพยสินที่จํานองเปนประกันหนี้อยูอีก 100,000 บาท แตก็อาจตกลงกันไดวาทรัพยสินสวนไหน
จํานอง ประกันในราคาเทาไรก็ตองเปนไปตามนั้น
3. จํานองยอมครอบไปถึงทรัพยทั้งปวงอันติดพันอยูกับ ทรัพยสินซึ่งจํานองแตตองอยูใน
บังคับ 3 ขอตอไปนี้ (ขอยกเวน)
เชน นาย ก. กูเงิน นาย ข. โดยจํานองที่ดินไวเปนประกัน ปรากฏวาในขณะจํานอง ที่
ดินนั้น มีบานของ นาย ก. ปลูกอยูติดกับที่ดิน เชนนี้การจํานองที่ดินยอมครอบไปถึงบานดวย แมวา
การจํานอง ไมไดกลาวถึงบานของ นาย ก. ก็ตาม (บานเปนสวนควบของที่ดินตามลักษณะทรัพย ใน
เรื่องสวนควบ)

ขอยกเวน มีดังตอไปนี้
(1) จํานองที่ดินไมครอบไปถึงเรือนโรง อันผูจํานองปลูกสรางในที่ดินไวภายหลังวัน
จํานอง เวนแตจะมีขอความกลาวไว โดยเฉพาะในสัญญาวาใหครอบไปถึง แตกระนั้นก็ดีผูรับจํานอง
จะใหขาย โรงเรือนนั้นรวมไปกับที่ดินดวยก็ได แตผูรับจํานองอาจใชบุริมสิทธิของตนไดเพียงแคราคา
ที่ดินเทานั้น
ยกตัวอยางเชน จํานองที่ดินแลวปลูกบานทีหลังเชนนี้การจํานองไมครอบไปถึงบาน
แตผูรับจํานองเวลาบังคับจํานอง ก็อาจขอใหขายบานรวมไปกับที่ดินไปในขณะเดียวกันได แตก็มี
บุริมสิทธิ ใชบังคับไดเพียงที่ดินเทานั้น
(2) จํานองเรือนโรงหรือสิ่งปลูกสรางอยางอื่นซึ่งไดทําขึ้นไวบนดินหรือใตดินในที่ดิน
อันเปนของคนอื่นนั้น ยอมไมครอบไปถึงที่ดินนั้นดวยฉันใดกลับกันก็ฉันนั้น
เชน บานของ นาย ก. ปลูกอยูบนที่ดินของ นาย ข. นาย ก. ก็จํานองบาน ของตนเอง
ประกันเงินกู เชนนี้การจํานองไมครอบครองไปถึงที่ดินของนาย ข. ในทางกลับกัน นาย ข. จํานองที่ดิน
ของตน ที่มีบานของ นาย ก. ปลูกอยูการจํานองก็ไมครอบไปถึงบานของ นาย ก.
ทีนี้ปญหาเกิดขึ้น เมื่อบานเปนของ นาย ข. ที่ดินก็เปนของนาย ข. ที่ดินของนาย ข.
นาย ข. จํานองบานก็ไมครอบไปถึงที่ดินเพราะที่ดินไมใชทรัพยที่อยูติดกับบาน แตถา นาย ข. จํานองที่
102

ดิน ของตนเอง เชนนี้การจํานองยอมครอบไปถึงบานของ นาย ข. ดวย เพราะถือวาบานเปนทรัพยสิน


ที่ติดอยูกับที่ดิน ตามมาตรา 718 ที่กลาวมาแลว
(3) จํานองไมครอบไปถึงดอกผลแหงทรัพยสินซึ่งจํานอง เวนแตในเมื่อผูรับจํานองได
บอกกลาวแกผูจํานอง หรือผูรับโอนแลววาตนประสงคจะบังคับจํานองดวยตนเอง
ตัวอยางเชน นาย ก. จํานองที่ดินซึ่งเปนสวนทุเรียนไวกับ นาย ข. ดังนั้นเวลาทุเรียน มี
ดอกผลเกิดขึ้นผลทุเรียนก็เปนของ นาย ก. นาย ก. สามารถมาเก็บกินหรือเอาไปเอาขายได แตถาเกิดวา
นาย ข. บอกให นาย ก. ทราบวาจะบังคับจํานองแลวนะ ตั้งแตนั้นไปถือวาการจํานองครอบไปถึง ผล
ทุเรียนและเงินที่ขายทุเรียนไดดังนั้น นาย ก. จะตองสงผลทุเรียนหรือเงินดังกลาวให นาย ข. ผูรับจํานอง
ตอไปตามมาตรา 721

สิทธิของผูรับจํานอง
สิทธิดังกลาวจะเกิดขึ้นเมื่อกรณีลูกหนี้ ไมชําระหนี้ผูรับจํานองก็มีสิทธิ์ที่จะเลือกใชสิทธิ ดัง
นี้
(1) บังคับจํานอง วิธีทําก็คือ ผูรับจํานองตองมีหนังสือบอกกลาว ไปยังลูกหนี้ กอน
วา ใหชําระหนี้ภายในเวลาอันสมควร ถาลูกหนี้ละเลยไมชําระ ผูรับจํานองจะตองนําคดีขึ้นฟองรอง
ตอศาล ขอใหศาลยึดทรัพยสิน ซึ่งจํานองแลวเอาออกขายทอดตลาด
(2) เอาทรัพยจํานองหลุดมีสิทธิ เงื่อนไขมีอยูวา
ก. ลูกหนี้ขาดสงดอกเบี้ยมาแลวถึง 5 ป
ข. ผูจํานองมิไดแสดงใหเปนที่พอใจแกศาลวา ราคาทรัพยสินทวมเงิน
อันคางชําระ หมายความวา พิสูจนไมไดวาทรัพยสินที่จํานองมีราคาสูงกวาหนี้ที่เปนอยู
ค. ไมมีการจํานองรายอื่น หรือบุริมสิทธิอื่นใดจดทะเบียนไวเหนือทรัพยสิน
อันเดียว นี้เอง ก็หมายถึงวา ผูรับจํานองไมอยากใหขายทอดตลาดทรัพยสิน อยากใหทรัพยสินนั้น ๆ
ตกเปนสิทธิ ของตนเลย ก็ตองเขาเงื่อนไข 3 ขอ ขางตน และตองมีการบอกกลาวเปนหนังสือ ตาม
หลักเรื่องการบังคับ ในขอ (1) ดวย
หากมีการตกลงกัน ใหทรัพยสินตกเปนสิทธิแกผูรับจํานอง โดยไมตองมีการฟองรอง
คดีถือวาขอตกลงไมสมบูรณ แตการจํานองยังคงสมบูรณอยู ขอตกลงถือวาไมมีผลผูกพัน
103

สิทธิของผูจํานอง
1. ผูจํานองอยากชําระหนี้เสียเองแทนลูกหนี้เพื่อมิใหเจาหนี้บังคับจํานองทานวา ผูจํานอง
ชอบที่จะไดรับเงินใชคืนจากลูกหนี้ตามจํานวนที่ตนไดชําระไป
เชน ผูจํานองไมอยากใหเจาหนี้บังคับจํานองเอาแกทรัพยสินของตนก็สามารถ เอาเงิน
ไปชําระหนี้ใหแกเจาหนี้เสียเอง เมื่อชําระแลวก็มีสิทธิที่จะไลเบี้ยเอาเงินจํานวนดังกลาวคืนจาก ลูกหนี้
ได
2. หากวามีการบังคับจํานอง ผูจํานองชอบที่จะไดรับเงินใชคืนจากลูกหนี้ตามจํานวน ซึ่ง
ผูรับจํานองจะไดรับใชหนี้จากการบังคับจํานองนั้น 113 เชน กรณีเจาหนี้ฟองบังคับจํานองเอาที่ดิน ของผู
จํานองออกขายทอดตลาด ไดเงินไป เทาไร ผูจํานองก็ชอบที่จะไดเงินจํานวนนั้น คืนจากลูกหนี้ ตาม
จํานวนที่ขายทอดตลาดได

ความรับผิดของผูจํานองกับลูกหนี้หลังจากมีการบังคับจํานอง
ถาเอาทรัพยจํานองหลุด และราคาทรัพยสินนั้นมีประมาณต่ํากวาจํานวนเงินที่คางชําระกัน
อยูก็ดีหรือถาเอาทรัพยซึ่งจํานองออกขายทอดตลาดใชหนี้ไดเงินจํานวนสุทธินอยกวา จํานวนเงินที่คาง
ชําระกันอยูก็ดีเงินยังขาดจํานวนอยูเทาใดลูกหนี้ไมตองรับผิดในเงินนั้น หลักกฎหมายมาตรานี้ถือเปน
หลักฐานของลักษณะจํานอง ซึ่งจะแตกตางกับจํานําหรือค้ําประกัน
ตัวอยาง เชน นาย ก. กูเงิน นาย ข. 1,000,000 บาท โดยมี นาย ค. จํานองที่ดิน
ประกัน กําหนดชําระคืนภายใน 1 ป พอ 1 ป นาย ก. ไมชําระ นาย ข. ก็เลยฟองทั้ง นาย ก. และ นาย
ค. ให นาย ก. ชําระหนี้และใหบังคับจํานองเอาที่ดินของ นาย ค. ออกขายทอดตลาด
ปรากฏวาที่ดินของ นาย ค. ขายทอดตลาดได 800,000 บาท ตามหลักกฎหมายก็คือ
หนี้ที่เหลืออีก 200,000 บาท นาย ก. ไมตองรับผิดชําระใหแก นาย ข. อีก แตถาเปนการจํานํา เชน
นาย ก. เอารถยนตของตนมาจํานําให นาย ข. พอ นาย ก. ไมชําระเงิน นาย ข. ก็เอารถยนต ตีใชหนี้
โดยไดราคา 400,000 บาท เชนนี้ นาย ก. ก็ตองใชหนี้สวนที่เหลือ 600,000 บาท ให นาย ข. อยูดี

ขอยกเวน
หากคูสัญญาตกลงกันวาแมบังคับจํานองแลว ไดเงินนอยกวาเปนหนี้ ลูกหนี้ก็ยังคง
ตองรับผิดอยูขอตกลงนั้น ๆ ใชบังคับไดไมขัดตอความเรียบรอยหรือศีลธรรมอันดีของประชาชน ก็
คือตกลงยกเวนหลักกฎหมาย มาตรา 733 ดังกลาวขางตน สามารถทําไดและในปจจุบันบรรดา ผู
104

รับจํานองทั้งหลาย จะระบุขอยกเวนนี้ไวในสัญญาจํานองเสมอ เพื่อปองกันการเกิดปญหา ในภาย


หลัง115

สิทธิและหนาที่ของผูรับโอนทรัพยสินซึ่งจํานอง
เกิดขึ้นจากกรณีที่ทรัพยสินที่จํานอง กฎหมายไดบอกวาเอาตราไวกับบุคคลอีกคนหนึ่งเทา
นั้น เพราะฉะนั้นจึงมีการโอนกรรมสิทธิ์ในทรัพยสินนั้น ๆ ตอไปอีกได เชน นาย ก. กูเงิน นาย ข.
โดยมี นาย ค. จํานองที่ดินเปนประกัน ตอมา นาย ค. ก็ขายที่ดินดังกลาวให นาย ง. ไปเชนนี้ทําได ก็
จะมาดูวาสิทธิและหนาที่ของ นาย ง. ผูรับโอนที่ดินไปมีอะไรบาง
กฎหมายกําหนดวา จํานองยอมตกติดไปกับทรัพยสินซึ่งจํานองเสมอ เพราะฉะนั้น
การจํานองของ นาย ค. ที่ทําไวกับ นาย ข. ยอมติดไปถึงดวย แมวา นาย ง. ไดที่ดินมาจาก การซื้อขายก็
ตาม การจํานองก็ยังคงติดไปอยู

สิทธิของผูรับโอนทรัพยสินซึ่งติดจํานอง

ผูจํานองมีสิทธิไถถอนจํานอง ถามิไดเปนตัวลูกหนี้หรือผูค้ําประกันหรือทายาทของ
ลูกหนี้หรือผูค้ําประกัน และจะไถถอนจํานองเมื่อใดก็ได แตถาผูรับจํานองบอกกลาววาจะบังคับจํานอง
ผูรับโอนทรัพยสินซึ่งติดจํานองไปตองไถถอนภายใน 1 เดือน นับแตรับคําบอกกลาว จาก ผูรับ
จํานอง117

หนาที่ของผูรับโอนทรัพยสินซึ่งติดจํานอง

1. ตองไมทําใหทรัพยสินเสื่อมราคา 118
2. ตองยอมรับการถูกบังคับจํานอง หากตนไมแสดงการไถถอนจํานอง จนผูรับจํานอง
ฟอง บังคับเอาทรัพยสินออกขายทอดตลาด
105

การไถถอนจํานอง
ทําไดโดยชําระเงินเทากับจํานวนหนี้ หรือชําระเงินเทากับราคาทรัพยสิน สุดแตวา ผู
รับโอนจะเลือกเอาอยางไหน ถาทรัพยสินจํานองราคาสูงกวาหนี้ ผูรับโอนก็เลือกใชราคาตามราคา
ทรัพยสินนั้น ๆ ไมจําเปนตองชําระหนี้ที่คางชําระอยูทั้งหมด

ความระงับสิ้นไปแหงสัญญาจํานอง
สําหรับสัญญาจํานองจะระงับสิ้นไปดวยเหตุดังจะกลาวตอไปนี้
1. หนี้ที่ประกันระงับสิ้นไป ดวยเหตุประการอื่นใดมิใชเหตุอายุความ เชน มีการ
ชําระหนี้ เจาหนี้ปลดหนี้ให หักกลบลบหนี้ แปลงหนี้ใหม หนี้เลื่อนกลืน ปกติแลว หนี้ที่ขาดอายุ
ความนั้น หนี้ไมไดระงับไปเพียงแตกฎหมายมิใหเจาหนี้ฟองรองลูกหนี้เทานั้น เพราะฉะนั้นแมหนี้ที่
เปนประกัน ขาดอายุความฟองรองไปแลว การจํานองยังคงมีอยู ผูจํานองยังไมหลุดพนจากความรับ
ผิด
2. ปลดจํานองเปนหนังสือ เชน นาย ก. กูเงิน นาย ข. มี นาย ค. จํานองที่ดิน เปน
ประกันตอมา นาย ข. ก็ทําหนังสือปลดจํานองให นาย ค. เชนนี้จํานองก็ระงับสิ้นไป แตหนี้ระหวาง
นาย ก. กับ นาย ข. ยังมีอยูเหมือนเดิม
3. เมื่อผูจํานองหลุดพน คือ กรณีผูจํานองหลุดพนจากความรับผิดชอบ โดยนําเรื่อง
การค้ําประกันมาบังคับใชในกรณีนี้ เชน นาย ก. กูเงิน นาย ข. กําหนดชําระภายใน 1 ป โดยมี
นาย ค. จํานองที่ดินเปนประกัน ตอมาหนี้ถึงกําหนดชําระ นาย ข. ก็ไปตกลงผอนเวลาให นาย ก. โดย
นาย ค. มิไดยินยอมดวย เชนนี้ นาย ค. ผูจํานอง ยอมหลุดพนจาก ความรับผิดชอบ การจํานองที่ดิน
ของ นาย ค. ยอมระงับสิ้นไป เพราะมีเวลาการผอนเวลาชําระหนี้ใหลูกหนี้ เชนเดียวกับลักษณะค้ํา
ประกัน
4. จํานอง ระงับเมื่อถอนจํานอง เปนกรณีที่ผูรับโอนทรัพยสินซึ่งจํานอง ขอไถ
ถอน จํานองโดยเสนอราคาตามสมควรกับราคาทรัพยสินซึ่งจํานอง การจํานองก็ระงับสิ้น
ไป ถาผูรับจํานอง ยอมรับการไถถอนจํานองของผูรับโอนทรัพยสิน
5. เมื่อมีการขายทอดตลาด เปนกรณีที่ผูรับจํานองฟองบังคับจํานอง ใหศาล
นําทรัพยสินที่จํานองออกขายทอดตลาด เชนนี้เมื่อขายทอดตลาดแลวการจํานองก็ระงับสิ้นไป
6. เมื่อเอาทรัพยสินซึ่งจํานองหลุด เปนกรณีที่ผูรับจํานองไมฟองบังคับจํานองให
เอา ทรัพยสินออกขายทอดตลาด แตตองการทรัพยสินนั้น ๆ เปนของตนก็ เรียกวา เอาทรัพยจํานอง
106

หลุด ก็คือหลุดไปเปนของผูรับจํานองเลย ซึ่งตองปรากฏเงื่อนไขตามมาตรา 729 ที่ไดกลาวมาใน


เรื่อง สิทธิของผูรับจํานองจึงจะทําได เชนนี้เมื่อจํานองหลุด การจํานองก็ระงับสิ้นไป
สรุป เรื่องของจํานอง การชําระหนี้ไมวาครั้งใด ๆ จํานวนเทาใด การระงับหนี้อยางใด ๆ
การแกไขเปลี่ยนแปลงจํานองตามความนั้น ไปจดทะเบียนเพราะในตอนตนการจํานองตอง จด
ทะเบียนและทําเปนหนังสือ เมื่อจะแกไขอะไรก็ตองไปจดทะเบียนดวย มิเชนนั้นทานมิให ยกขึ้น
เปนขอตอสูบุคคลภายนอก

You might also like