You are on page 1of 14

การสละมรดก

การสละมรดกเป นเหตุ อี กประการหนึ่ งที่ ทํ าให เสี ยไปซึ่ งสิ ทธิ ในการรั บมรดก การเสี ยสิ ทธิ
ในกรณีนี้เกิดจากความประสงคของทายาทเอง ทายาทที่สละมรดกนั้นอาจเปนทายาทโดยธรรม
หรือผูรับพินัยกรรมก็ได แตการสละมรดกตองทํ าตามแบบที่กฎหมายกํ าหนดไว
(๑) แบบของการสละมรดก
กฎหมายกํ าหนดแบบของการสละมรดกไวในมาตรา ๑๖๑๒ แหงประมวลกฎหมายแพง
และพาณิชย
มาตรา ๑๖๑๒ ““การสละมรดกนั้นตองแสดงเจตนาชัดแจงเปนหนังสือมอบไวแก
พนักงานเจาหนาที่ หรือทําเปนสัญญาประนีประนอมยอมความ”
ตามมาตราขางตน แบบของการสละมรดกมี ๒ แบบ คือ
(๑) แสดงเจตนาชัดแจงเปนหนังสือมอบไวแกพนักงานเจาหนาที่
(๒) แสดงเจตนาชัดแจงโดยทํ าเปนสัญญาประนีประนอมยอมความ
หากการสละมรดกทํ าผิ ดแบบก็ ไม มี ผลเป นการสละมรดก (ทายาทที่ สละมรดกจึ งยังมี
สิทธิในการรับมรดก) ดังเชนที่เกิดในคดีขางลางนี้ซึ่งศาลฎีกาไดตัดสินไว
ฎีกา ๑๖๑๐/๒๕๑๓
โจทกกับจําเลยถู กฟ องขอแบ งมรดก โจทกทํ าหนังสื อมอบใหจํ าเลยว าขอสละสิ ทธิ รับ
มรดก เพราะไมตองการไปศาล สุขภาพไมดี ไมมีเงินสูคดี ขอใหจํ าเลยสูคดีไปตามลํ าพัง ดั่งนี้
ยังถื อไม ไดวาโจทกสละมรดก เพราะไมไดเปนหนังสือมอบไวแกพนักงานเจาหนาที่ และไมใช
เปนสัญญาประนีประนอมยอมความ (เพราะโจทกแสดงเจตนาเพียงฝายเดียว)
๑.๑ การสละมรดกโดยแสดงเจตนาชั ดแจ งเป นหนั งสื อมอบไว แก พนั กงานเจ าหน าที่
การสละมรดกแบบนี้ตองทํ าเปนหนังสือแลวมอบใหพนักงานเจาหนาที่
๑.๒ การสละมรดกโดยทําเปนสัญญาประนีประนอมยอมความ
การสละมรดกโดยทํ าเป นสัญญาประนี ประนอมยอมความเป นการที่ ทายาทคนหนึ่ งทํ า
ความตกลงระงับขอพิ พาทเกี่ ยวกับทรัพยมรดกกับทายาทคนอื่ น โดยที่ ทายาทคนนั้นยอมสละ
มรดกส วนที่ ตกไดแก ตนทั้งหมดใหเป นประโยชนแก ทายาทอื่ นทุ กคน และทายาทอื่ นยอมให
ประโยชนอย างใดเป นการตอบแทน ทั้งนี้ ประโยชนที่ใหตอบแทนนั้นตองเกี่ยวกับทรัพยนอก
กองมรดก

ลักษณะของสัญญาประนีประนอมยอมความ
(๑) สัญญาประนีประนอมยอมความตองทํ ากับทายาทที่มีสิทธิรับมรดกรวมกับทายาท
ผูจะสละมรดก
ตัวอยาง
ก. มีบุตรคือ ข. และ ข. มีบุตร คือ ค. เมื่อ ก. ตาย มรดกของ ก. ตกเปนของ ข. โดยที่
ค. ไมมีสิทธิในการรับมรดกของ ก. ดวย (เพราะ ค. เปนทายาทโดยธรรมลํ าคับ ๑ ชั้นหลาน
ของ ก. จึงถูกตัดสิทธิไดย ข. ซึ่งเปนทายาทโดยธรรมชั้นบุตรของ ก.) ข. ทํ าหนังสือตกลงกับ ค.
วายอมสละสิทธิในการรับมรดกและประโยชนใด ๆ ที่จะไดจาก ก. โดยยอมใหตกทอดแก ค.
หนังสือนี้ไมใชสัญญาประนีประนอมยอมความสละมรดกตามมาตรา ๑๖๑๒ (สวนหนังสือนี้จะ
ใชบังคับไดหรือไมระหวาง ข. และ ค. ขึ้นอยูกับวาเปนนิติกรรมสัญญาลักษณะใดหรือไม และ
ทํ าตามแบบตามนิติกรรมสัญญานั้น ๆ หรือไม กรณีนี้ เปนการยกให (ทั้งสังหาริมทรัพยและ
อสังหาริ มทรัพย) เมื่ อไม ไดมี การส งมอบทรัพย (ในส วนสังหาริ มทรัพย) และไม ไดทํ าเป น
หนังสือและจดทะเบียน (ในสวนอสังหาริมทรัพย) สัญญานี้ก็ไมสมบูรณ
(๒) ประโยชนตอบแทนที่ทายาทคนอื่นตกลงใหแกทายาทที่ประสงคจะสละมรดกตอง
เปนทรัพยสินนอกกองมรดก
ตัวอยาง
ก. ข. และ ค. เปนพี่นองกัน มีสิทธิไดรับมรดกรวมกันเทา ๆ กัน ก. ทํ าความตกลงเปน
หนังสือกับ ข. วาจะสละมรดกทั้งหมดเพื่อประโยชนแก ข. และ ค. ในการนี้ ข. ตกลงใหเงินสวน
ตัวตอบแทน ก. ๑ ลานบาท สัญญานี้เปนสัญญาประนีประนอมยอมความสละมรดกตามมาตรา
๑๖๑๒
แตถา ข. และ ค. ตอบแทน ก. โดยการให ก. มีสิทธิในที่ดินแปลงหนึ่งซึ่งเปนทรัพย
มรดก สัญญานี้มิใชสัญญาประนีประนอมยอมความเพื่อสละมรดกตามมาตรา ๑๖๑๒ แตเปน
สัญญาประนีประนอมยอมความแบงปนมรดก ตามมาตรา ๑๗๕๐
ขอสังเกต: สัญญาประนี ประนอมยอมความเพื่ อสละมรดกไม จํ าเป นตองทํ ากับทายาท
ทุกคน แตตองทํ าเพื่อประโยชนของทายาททุกคน ทายาทที่มิไดเปนคูสัญญาประนีประนอมยอม
ความเพื่อสละมรดกก็มีสิทธิกลาวอางวาทายาทที่ไดทํ าสัญญานั้นไดสละมรดกแลว
(๒) หลักเกณฑทั่วไปเกี่ยวกับการสละมรดก
การสละมรดก (ไม ว าโดยแสดงเจตนาชั ดแจ งเป นหนั งสื อมอบไว แก พนั กงานเจ าหน าที่
หรื อโดยทํ าเป นสัญญาประนีประนอมยอมความ) ตองมีลักษณะดังตอไปนี้
๒.๑ เปนการสละมรดกเพื่อประโยชนของบรรดาทายาททั้งปวง
ทายาทที่ ประสงค จะสละมรดกตองสละมรดกส วนของตนเพื่ อประโยชน ของบรรดา
ทายาททั้งปวง โดยไมเจาะจงวาสละใหแกทายาทผูใดเปนการเฉพาะ หากเปนกรณีที่สละมรดก

ใหแกทายาทคนใดโดยเฉพาะ มิใชการสละมรดกตามมาตรา ๑๖๑๒ แตนิติกรรมที่ทํ าอาจเขา
ลักษณะเปนนิติกรรมใดโดยเฉพาะ เชน ซื้อขาย แลกเปลี่ยน หรือให ซี่งก็ตองทํ าตามแบบที่
กฎหมายในเรื่องนั้น ๆ กํ าหนดดวย
ฎีกา ๙๘๐/๒๔๗๙
ผูรับมรดกยกสวนไดในมรดก (ที่ดิน) แกทายาทคนหนึ่ง โดยทายาทนั้นออกเงินใหเปน
การชดเชย มิใชสัญญาประนีประนอมยอมความสละมรดกตามมาตรา ๑๖๑๒ แตเปนสัญญาซื้อ
ขาย เมื่อไมทํ าเปนหนังสือและจดทะเบียนก็เปนโมฆะ
ฎีกา ๒๘๘/๒๔๙๔
ผูรับพิ นัยกรรมคนหนึ่ งทํ าหนังสื อยอมมอบสิ ทธิ การรับมรดกของตนตามพิ นัยกรรมให
แกผูรับพินัยกรรมอีกคนหนึ่ง มิใชการสละมรดก แตก็เปนนิติกรรมที่ใชบังคับได ผูรับโอนยอมมี
สิทธิฟองเรียกทรัพยมรดกจากผูยึดถือทรัพยนั้นไวได
ฎีกา ๒๐๔๙/๒๕๑๗
ทายาททํ าหนังสือสละที่ดินมรดกสวนของตนใหทายาทอีกคนหนึ่งโดยเฉพาะ หนังสือ
ลงลายมือชื่อของทั้งสองฝาย ตามหนังสือฉบับนี้ ทายาทอีกคนหนึ่งนั้นจะใชหนี้ของเจามรดกให
แกเจาหนี้ สัญญานี้มิใชสัญญาสละมรดกตามมาตรา ๑๖๑๒ แตเปนสัญญาประนีประนอมยอม
ความ ซึ่งใชบังคับกันได
๒.๒ เปนการสละมรดกทั้งหมดโดยไมมีเงื่อนไขหรือเงื่อนเวลา
การสละมรดกตองเปนการสละมรดกทั้งหมดโดยไมมีเงื่อนไขหรือเงื่อนเวลา ทั้งนี้ ตาม
มาตรา ๑๖๑๓ แหงประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย
มาตรา ๑๖๑๓ ““การสละมรดกนั้นจะทําแตเพียงบางสวน หรือทําโดยมีเงื่อนไข
หรือเงื่อนเวลาไมได”
ตัวอยาง
เจามรดกมีพี่นองรวมมารดาเดียวกัน ๒ คน และมีภรรยา (ซึ่งในกรณีนี้ภริยาไดรับสวน
แบ งในทรัพยมรดกสองในสาม) ภริ ยาทําหนังสื อขอรับมรดกหนึ่ งในสามเท านั้น โดยมอบ
หนังสือไวใหพนักงานเจาหนาที่ ดังนี้ มิใชการสละมรดก ภริยายังมีสิทธิไดรับทรัพยมรดกสอง
ในสาม
ตัวอยางการสละมรดกโดยมีเงื่อนไข/เงื่อนเวลา
- ใหการสละมรดกมีผลเมื่อตนไดรับตํ าแหนงนายอํ าเภอ
- ใหการสละมรดกสิ้นผลเมื่อตนถูกออกจากงาน
- ใหการสละมรดกมีผลเมื่อพนเวลา ๒ ปนับแตเจามรดกตาย

- ใหการสละมรดกสิ้นผลเมื่อเจาหนี้ฟองคดีตน
ฎีกา ๕๙๗/๒๕๐๘
สัญญาประนีประนอมยอมความทํ าขึ้นระหวาง ก. และ ข. (บุตร ก.) ตกลงกันวา ก.
ยอมสละมรดกสวนของตนทั้งสิ้น และมีขอตกลงวาให ก. มีสิทธิเก็บกินจนกวา ก. จะตาย ดังนี้
เปนการสละมรดกทั้งหมดโดยไมถือวามีเงื่อนเวลาหรือเงื่อนไข ไมฝาฝนมาตรา ๑๖๑๓
(๓) การสละมรดกจะสละสิทธิอันหากจะมีในภายหนาในการรับมรดกของผูที่ยังมีชีวิตอยู
ไมได
การสละมรดกจะตองกระทํ าเมื่ อเจามรดกตายแลวเท านั้น จะทํ าล วงหนาในขณะที่ เจา
ของทรัพยสินยังมีชีวิตอยูไมได ตองหามตามมาตรา ๑๖๑๙
มาตรา ๑๖๑๙ ““ผูใดจะสละหรือจําหนายจายโอนโดยประการใดซึ่งสิทธิอันหากจะ
มีในภายหนาในการสืบมรดกผูที่ยังมีชีวิตอยูนั้นไมได””
ฎีกา ๔๖๖/๒๕๐๕ การสละมรดกกอนเจามรดกตายเปนการขัดตอมาตรา ๑๖๑๙ ถา
หลังจากที่ เจามรดกตายแลว ทายาทยังมี ความตั้งใจจะสละมรดกอยูเชนเดิมก็ตองแสดงเจตนา
สละมรดกใหมใหถูกตองตามมาตรา ๑๖๑๒ การสละมรดกจึงจะมีผลตามกฎหมาย
ฎีกา ๑๔๕๒/๒๕๐๘ หนังสือที่ทํ าขึ้นกอนเจามรดกตายมีขอความวา “แตนี้ไปขาพเจา
นางนวลจะไมเกี่ยวของกับสมบัติแมอีก” ไมใชหนังสือสละมรดก และจะถือวาเปนการสละสิทธิ
รับมรดกในภายหนาก็ตองหามตาม ปพพ. มาตรา ๑๖๑๙
ฎีกา ๒๑๖๗/๒๕๑๘ เจามรดกทํ าพินัยกรรมยกทรัพยสินใหทายาทคนหนึ่งแตเพียงผู
เดียว (ผูรอง) ตอมา ทายาทคนนั้นและเจามรดกทํ าสัญญากันมีใจความวาตนไมขอเกี่ยวของกับ
ทรัพยสินของเจามรดกนอกจากที่นา ๑๐ ไรและยุงขาวครึ่งหนึ่ง และตนยอมสละสิทธิหมดทุก
อยางเทาที่มีสิทธิจะพึงได หลังจากนั้น เจามรดกตาย ดั่งนี้ สัญญานี้มิใชเปนการสละมรดก
เพราะไดทํ าไวกอนเจามรดกถึงแกกรรม สัญญานี้จึงไมมีผลกระทบกระเทือนตอพินัยกรรมที่
เจามรดกทํ าไว
ขอสังเกต: มาตรา ๑๖๑๙ มิไดหามเฉพาะการ “สละ” สิทธิอันหากจะมีในภายหนาใน
การรับมรดกผูที่ยังมีชีวิตเทานั้น แตยังหามรวมไปถึงการ “จํ าหนายจายโอน” สิทธิอันหากจะมี
ในภายหนาในการรับมรดกผูที่ยังมีชีวิตอีกดวย
ฎีกา ๒๔๑/๒๕๒๒
เจามรดกจดทะเบียนรับ ก. เปนบุตรบุญธรรม ตอมา เจามรดกตายโดยไมไดทํ าพินัย
กรรม และมีเพียง ก. เปนบุตรบุญธรรม ซึ่ง ก. มีฐานะเชนเดียวกับบุตรที่ชอบดวยกฎหมาย
(ตามมาตรา ๑๖๒๗) กอนเจามรดกตาย ก. และ ข. ซึ่งเปนพี่นองรวมบิดามารดากับเจามรดก
ไดทํ าสัญญาแบงมรดกกันเพื่อให ข. มีสิทธิไดรับทรัพยมรดกบางสวน แมสัญญานี้มีลักษณะเปน
สัญญาประนีประนอมยอมความ กลาวคือ เปนสัญญาระงับขอพิพาท แตก็เปนสัญญาที่จํ าหนาย

จายโอนสิทธิอันหากจะมีในภายหนาในการรับมรดกผูที่ยังมีชีวิตอยู ขัดตอมาตรา ๑๖๑๙ จึงไม
มีผลบังคับ
(๔) การสละมรดกของผูหยอนความสามารถ
มาตรา ๑๖๑๑ ““ทายาทซึ่งเปนผูเยาว บุคคลวิกลจริตหรือบุคคลผูไมสามารถจะ
จัดทํ าการงานของตนเองไดตามความหมายแห งมาตรา ๓๒ แห งประมวลกฎหมายนี้
[บุคคลที่มีกายพิการ หรือจิตฟนเฟอนไมสมประกอบ หรือประพฤติสุรุยสุรายเสเพลเปนอาจิณ
หรื อติ ดสุ รายาเมา หรื อมี เหตุ อื่ นใดทํ านองเดี ยวกันจนไม สามารถจัดทํ าการงานของตนเองได]
จะทํ าการดังต อไปนี้ไม ได เวนแต จะไดรับความยิ นยอมของบิ ดามารดา ผูปกครอง ผู
อนุบาล หรือผูพิทักษ แลวแตกรณี และไดรับอนุมัติจากศาลแลว คือ
(๑) สละมรดก
(๒) รับมรดกอันมีคาภาระติดพันหรือเงื่อนไข”
บทบัญญัตินี้เปนเรื่องของการที่ผูหยอนความสามารถทั้ง ๓ ประเภท (ผูเยาว บุคคลวิกล
จริต หรือผูไมสามารถจัดทํ าการงานของตนเอง) สละมรดกดวยตนเอง กฎหมายกํ าหนดใหตอง
ไดรับความยินยอม ๒ ชั้น คือ
- ความยินยอมของบิดามารดา ผูปกครอง ผูอนุบาล หรือผูพิทักษ
- ความยินยอมของศาล
(๔) ผลของการสละมรดก
มาตรา ๑๖๑๕ ““การที่ ทายาทสละมรดกนั้นมีผลยอนหลังไปถึงเวลาที่เจามรดก
ตาย
เมื่ อทายาทโดยธรรมคนใดสละมรดก ผูสื บสันดานของทายาทคนนั้นสื บมรดกได
ตามสิ ทธิ ของตน และชอบที่ จะไดรับส วนแบ งเท ากับส วนแบ งที่ ผูสละมรดกนั้นจะไดรับ
แตผูสืบสันดานนั้นตองไมใชผูที่บิดามารดา ผูปกครอง หรือผูอนุบาล แลวแตกรณี ไดบอก
สละมรดกโดยสมบูรณในนามของผูสืบสันดานนั้น””
เมื่อทายาทสละมรดก การสละมรดกนั้นมีผลยอนหลังไปถึงเวลาที่เจามรดกตาย ทํ าให
ไมมีฐานะเปนทายาทตั้งแตเจามรดกตาย ดังนั้น หากผูสละมรดกถูกฟองเรียกทรัพยมรดกที่ตน
ไดครอบครองไว จึงไมสามารถยกเอาอายุความขึ้นเปนขอตอสูได
๔.๑ กรณีทายาทโดยธรรมสละมรดก
เมื่ อทายาทโดยธรรมสละมรดกผูสื บสันดานของทายาทโดยธรรมที่ สละมรดกมี สิ ทธิ สื บ
มรดกไดตามมาตรา ๑๖๑๕ แตถาทายาทโดยธรรมผูที่ไดสละมรดกไมมีผูสืบสันดานที่จะรับ
มรดกไดก็ ตองนํามรดกส วนนั้นไปแบ งป นใหแก ทายาทอื่ นของเจามรดกต อไป (ตามมาตรา
๑๖๑๙) อยางไรก็ตาม มีขอสังเกตดังนี้

(๑) การที่ กฎหมายกําหนดว าเมื่ อทายาทโดยธรรมสละมรดกก็ ใหผูสื บสันดานของ
ทายาทโดยธรรมที่ สละมรดกมี สิ ทธิ สื บมรดกไดนั้นตองเป นกรณี ที่ เป นทายาทโดยธรรมลํ าดับ
(๑) (๓) (๔) หรือ (๖) สละมรดกเทานั้น แมมาตรา ๑๖๑๕ ไมไดกลาวอยางชัดเจนวา การสืบ
มรดกโดยผูสื บสันดานตามมาตรานี้มี ไดเฉพาะกรณี ที่ ทายาทโดยธรรมผูสละมรดกเป นทายาท
โดยธรรมลํ าดับ (๑) (๓) (๔) หรือ (๖) เทานั้นแตก็ตองเขาใจวามาตรานี้ใชเฉพาะกรณีที่
ทายาทผูสละมรดกเปนทายาทลํ าดับ (๑) (๓) (๔) หรือ (๖) เทานั้น เพราะหากใหผูสืบ
สันดานของทายาทโดยธรรมลํ าดับ (๒) และ (๕) สืบมรดกเมื่อทายาทโดยธรรมลํ าดับ (๒)
หรือ (๕) สละมรดกได จะทํ าใหทายาทในลํ าดับหลังไดรับมรดกรวมกับทายาทลํ าดับกอนดวย
ซึ่งเปนการขัดกับหลัก “ญาติสนิทตัดญาติหาง”
(๒) การที่ ผูสื บสันดานของทายาทโดยธรรมที่ สละมรดกสื บมรดกแทนไดนั้นตองเป น
กรณี ที่ ทายาทโดยธรรมดังกล าวสละมรดกโดยทําเป นหนังสือมอบไวแกพนักงานเจาหนาที่
เทานั้น เพราะหากเป นกรณี สละมรดกโดยทํ าเป นสัญญาประนี ประนอมยอมความสละมรดก
ทรัพยมรดกก็ ตองตกเป นสิ ทธิ ของทายาทอื่ นตามที่ สัญญาประนี ประนอมยอมความสละมรดก
ระบุไวนั่นเอง
๔.๒ กรณีผูรับพินัยกรรมสละมรดก
ในกรณี ที่ ผูรับพิ นัยกรรมสละมรดก ผูสื บสันดานของผูรับพิ นัยกรรมไม มี สิ ทธิ รับมรดก
ทั้งนี้ เปนไปตามมาตรา ๑๖๑๗ ซึ่งบัญญัติวา ““ผูรับพินัยกรรมคนใดสละมรดก ผูนั้นรวม
ตลอดทั้งผูสื บสันดานไม มี สิ ทธิ จะรับมรดกที่ ไดสละแลวนั้น” กรณี นี้ก็ ตองนํ าทรัพยมรดก
ตามพิ นัยกรรมที่ ผูรับพิ นัยกรรมไดสละมรดกนั้นไปแบ งป นใหแกทายาทอื่นของเจามรดกตอไป”
(มาตรา ๑๖๑๙)
(๕) การเพิกถอนการสละมรดก
๕.๑ กรณีทั่วไป
เมื่ อมี การสละมรดกแลว โดยหลักแลวกฎหมายไม อนุ ญาตใหเพิ กถอนการสละมรดก
มาตรา ๑๖๑๓ วรรคสองบัญญัติวา “การสละมรดกนั้น จะถอนเสียมิได”
๕.๒ กรณีสละมรดกโดยฉอฉลเจาหนี้
อยางไรก็ตาม กฎหมายกํ าหนดขอยกเวนไว ในกรณีที่ทายาทไดสละมรดกโดยฉอฉล
เจาหนี้ของตน กฎหมายใหเพิกถอนการสละมรดกไดเพื่อใหเจาหนี้ไดรับประโยชนในการรับการ
ชํ าระหนี้จากทรัพยมรดกที่ลูกหนี้ (ทายาทที่สละมรดก) ไดสละนั้น แตผูที่มีสิทธิขอเพิกถอนก็
คือเจาหนี้นั่นเอง ทั้งนี้เปนไปตามมาตรา ๑๖๑๔ ซึ่งบัญญัติไวดังนี้
มาตรา ๑๖๑๔ ““ถาทายาทสละมรดกดวยวิธีใด โดยที่รูอยูวาการที่ทําเชนนั้นจะทํา
ใหเจาหนี้ของตนเสียเปรียบ เจาหนี้มีสิทธิที่จะรองขอใหเพิกถอนการสละมรดกนั้นเสียได

แตความขอนี้มิใหใชบังคับถาปรากฏวาในขณะที่สละมรดกนั้น บุคคลซึ่งเปนผูไดลาภงอก
แตการนั้นมิไดรูเทาถึงขอความจริงอันเปนทางทําใหเจาหนี้ตองเสียเปรียบนั้นดวย แตหาก
กรณี เป นการสละมรดกโดยเสน หา เพี ยงแต ทายาทผูสละมรดกเป นผูรูฝ ายเดี ยวเท านั้นก็
พอแลวที่จะขอเพิกถอนได””
หลักการของมาตรานี้เป นไปทํานองเดี ยวกันกับหลักการในบทบัญญัติ มาตรา ๒๓๗
เรื่องการเพิกถอนนิติกรรมที่ลูกหนี้ทํ าลงโดยรูวาเปนทางใหเจาหนี้เสียเปรียบ
การที่ เจาหนี้จะขอใหเพิ กถอนการสละมรดกที่ ทายาทกระทํ าโดยรูว าจะทํ าใหเจาหนี้ของ
ตนเสียเปรียบนั้น เจาหนี้ตองแสดงใหศาลเห็ นว าทรัพยสิ นของทายาทไม เพี ยงพอที่ เจาหนี้จะ
บังคับเอาชํ าระหนี้ได จึงตองใหเจาหนี้ไดรับชํ าระหนี้จากทรัพยมรดกที่ลูกหนี้จะไดรับ
ในบางกรณี ลูกหนี้ที่สละมรดกไมรูวาการสละมรดกจะทํ าใหเจาหนี้เสียเปรียบ เชน ไมรู
ว าทรัพยที่ ตนมี อยู สู ญหายหรือถูกทํ าลายไปแลว (หากทรัพยนั้นยังอยู มูลคาของทรัพยนั้นสูง
เพียงพอที่เจาหนี้จะบังคับหนี้ได) ในกรณีเชนวานี้ หากลูกหนี้สละมรดก เจาหนี้ก็ไมสามารถขอ
ใหเพิกถอนการสละมรดกของลูกหนี้ได
แต ในกรณี ที่ ลู กหนี้รูอยู ว าการสละมรดกจะทํ าใหเจาหนี้ของตนเสี ยเปรี ยบ เจาหนี้ก็ ขอ
ใหเพิกถอนการสละมรดกได เวนแตทายาทผูไดรับประโยชนจากการสละมรดก (“บุคคลซึ่งเปน
ผูไดลาภงอกจากการนั้น”) ไม รูว าการที่ ทายาทสละมรดกนั้นทําใหเจาหนี้ของทายาทที่ สละ
มรดกตองเสียเปรียบ แตถาการสละมรดกนั้นทํ าโดยเสนหา แมทายาทผูไดรับประโยชนจากการ
สละมรดกไม รูว าการที่ ทายาทสละมรดกจะทํ าใหเจาหนี้ของทายาทที่ สละมรดกนั้นตองเสี ย
เปรียบ กฎหมายก็ใหเจาหนี้ขอใหเพิกถอนการสละมรดกได
ดังไดกลาวมาแลวในตอนตน แบบของการสละมรดก ๒ แบบ คือ (๑) แสดงเจตนาชัด
แจงเปนหนังสือมอบไวแกพนักงานเจาหนาที่ และ (๒) แสดงเจตนาชัดแจงโดยทํ าเปนสัญญา
ประนีประนอมยอมความ การสละมรดกที่ทํ าโดยเสนหานั้นก็คือการสละมรดกแบบที่ ๑ นั่นเอง
(หากเป นการสละมรดกแบบที่ ทํ าเป นสัญญาประนี ประนอมยอมความนั้นก็ เป นกรณี ที่ ทายาทที่
สละมรดกไดรับสิ่งตอบแทนจากทายาทอื่น จึงมิใชการสละมรดกโดยเสนหา)
ผลของการเพิกถอนการสละมรดกตามคําขอของเจาหนี้
มาตรา ๑๖๑๔ วรรคสอง และวรรคสาม
“เมื่อไดเพิกถอนการสละมรดกแลว เจาหนี้จะรองขอใหศาลสั่งเพื่อใหตนรับมรดก
แทนที่ทายาทและในสิทธิของทายาทนั้นก็ได
ในกรณีเชนนี้ เมื่อไดชําระหนี้ของทายาทนั้นใหแกเจาหนี้แลว ถาสวนของทายาท
นั้นยังมี เหลื ออยู อี ก ก็ ใหไดแก ผูสื บสันดานของทายาทนั้น หรื อทายาทอื่ นของเจามรดก
แลวแตกรณี”

เมื่ อศาลสั่ งเพิ กถอนการสละมรดกตามคํ ารองขอของเจาหนี้แลว ทรัพยมรดกก็ จะกลับ
คื นมาเป นของทายาทที่ สละมรดกเป นการชั่ วคราวเพื่ อประโยชนแห งการบังคับหนี้ของเจาหนี้
เจาหนี้อาจขอใหตนรับมรดกแทนทายาทและในสิ ทธิ ของทายาท แต การรับมรดกแทนทายาท
และในสิทธิของทายาทนี้ มิไดหมายความวาเจาหนี้จะไดรับทรัพยมรดกทั้งหมด หากแตไดรับ
เทากับจํ านวนที่ทายาทที่สละมรดกเป นหนี้เท านั้น ทรัพยส วนที่ เหลื อจะตกไดแก ผูสื บสันดาน
ของทายาทนั้น (ในกรณีทายาทโดยธรรมสละมรดก) หรือตกแกทายาทอื่นของเจามรดก (ใน
กรณีที่ผูรับพินัยกรรมเปนผูสละมรดก)

มรดกของพระภิกษุและสิทธิการฟองคดีมรดกของพระภิกษุ
(๑) มรดกของพระภิกษุ
แมวากฎหมายจะวางหลักเกณฑเกี่ยวกับการตกทอดแหงมรดกไวในกรณีทั่วไป แตหาก
เปนกรณีของพระภิกษุ กฎหมายวางหลักเกณฑเปนพิเศษไว โดยใหทรัพยสินที่พระภิกษุไดมา
ระหวางที่อยูในสมณเพศตกเปนสมบัติของวัดเมื่อพระภิกษุนั้นมรณภาพ
บทบัญญัติที่เกี่ยวของมี ๒ มาตรา คือ มาตรา ๑๖๒๓ และมาตรา ๑๖๒๔
มาตรา ๑๖๒๓ ““ทรัพยสินของพระภิกษุที่ไดมาในระหวางเวลาที่อยูในสมณเพศ
เมื่ อพระภิ กษุ นั้นถึ งแก มรณภาพใหตกเป นสมบัติ ของวัดที่ เป นภู มิ ลํ าเนาของพระภิ กษุ นั้น
เวนไวแตพระภิกษุนั้นจะไดจําหนายไประหวางชีวิตหรือโดยพินัยกรรม”
มาตรา ๑๖๒๔ “ทรัพยสินใดเปนของบุคคลกอนอุปสมบทเปนพระภิกษุ ทรัพยสิน
นั้นหาตกเปนสมบัติของวัดไม และใหเปนมรดกตกทอดแกทายาทโดยธรรมของบุคคลนั้น
หรือบุคคลนั้นจะจําหนายโดยประการใดตามกฎหมายก็ได””
ตามมาตรา ๑๖๒๓ และมาตรา ๑๖๒๔ เมื่อพระภิกษุมรณภาพนั้น ทรัพยสินที่พระ
ภิ กษุ มี อยู จะเป นมรดกตกทอดไปยังทายาทหรื อจะตกเป นสมบัติ ของวัดก็ ขึ้นอยู กับว าทรัพยสิ น
นั้นพระภิกษุไดมากอนอุปสมบทหรือหลังอุปสมบท (ระหวางที่อยูในสมณเพศ)
- หากเปนทรัพยสินที่พระภิกษุไดมาหลังจากที่ไดอุปสมบทแลว ทรัพยสินนั้นตกเปน
สมบัติของวัด
- หากเป นทรัพบสิ นที่ ไดมาก อนอุ ปสมบท ทรัพยสิ นนั้นจะเป นมรดกตกทอดไปยัง
ทายาท
อยางไรก็ตาม ไมวาจะเปนทรัพยสินนั้นจะไดมากอนหรือหลังพระภิกษุอุปสมบท พระ
ภิกษุมีสิทธิจํ าหนายทรัพยสินของตนไดเสมอ ไมวาจะจํ าหนายโดยพินัยกรรม หรือโดยทางอื่น
สิ่ งที่ ตองพิ เคราะหก็ คื อว าทรัพยสิ นนั้นพระภิ กษุ ซึ่ งมรณภาพระหว างที่อยูในสมณเพศได
มาก อนหรื อหลังอุ ปสมบท หากเป นทรัพย สิ นที่ ไดมาก อนอุ ปสมบทก็ เป นกรณี ตามมาตรา
๑๖๒๔ แตถาเปนทรัพยสินที่ไดมาภายหลังจากอุปสมบทแลวก็เปนกรณีตามมาตรา ๑๖๒๓
ขอสังเกต
๑) ในกรณี ที่ เป นทรัพยสิ นซึ่ งพระภิ กษุ ไดมาก อนอุ ปสมบทแต กระบวนการโอนไดเกิ ด
ขึ้นภายหลังการอุ ปสมบท ก็ถือวาทรัพยสินนั้นเปนทรัพยสินที่ไดมากอนอุปสมบท และตกอยู
ภายใตบังคับมาตรา ๑๖๒๔
๑๐
ฎีกา ๒๗๓/๒๔๗๕
พระภิ กษุ รับมรดกที่ ดิ นมี โฉนดมาก อนอุ ปสมบท แต ไดโอนโฉนดที่ดินเปนชื่อของพระ
ภิกษุภายหลังที่อุปสมบทแลว ดังนี้ เมื่อพระภิกษุมรณภาพโดยไมไดทํ าพินัยกรรมยกที่ดินนั้นให
แกผูใด ที่ดินไมตกเปนสมบัติของวัดแตตกทอดแกทายาทโดยธรรมของพระภิกษุ
ฎีกา ๙๐๓/๒๕๓๖
พระภิ กษุ ซึ่ งมรณภาพไดเช าซื้อที่ ดิ นก อนอุ ปสมบทและชํ าระค าเช าซื้อครบถวนก อน
อุปสมบท ตอมาการจดทะเบียนการไดมาซึ่งที่ดิน (ตามมาตรา ๑๒๙๙ วรรคแรก) กระทํ าหลัง
จากที่พระภิกษุอุปสมบทแลว ถือวาที่ดินเปนทรัพยสินที่พระภิกษุไดมากอนอุปสมบท ที่ดินไม
เปนสมบัติของวัดแตตกไปยังทายาทโดยธรรมของพระภิกษุ
๒) ทรัพยสินที่พระภิกษุไดมากอนอุปสมบท หากพระภิกษุไดจํ าหนายหรือแลกเปลี่ยน
เป นทรัพยอื่ น เงิ นหรื อทรัพยสิ นที่ ไดมาก็ ถื อว าเป นทรัพยสิ นที่ ไดมาก อนอุ ปสมบท (กรณี นี้
สามารถเที ยบเคี ยงไดกับหลักกฎหมายที่ ว าเงิ นหรื่ อทรัพย สิ นที่ ไดมาจากการขายหรื อแลก
เปลี่ยนสินสวนตัวเปนสินสวนตัว – มาตรา ๑๔๗๒)
[มาตรา ๑๔๗๒ “สินสวนตัวนั้น ถาไดแลกเปลี่ยนเปนทรัพยสินอื่นมาก็ดี หรือขาย
ไดเงินมาก็ดี ทรัพยสินอื่นหรือเงินที่ไดมาเปนสินสวนตัว
สิ นส วนตัวที่ ถู กทํ าลายไปทั้งหมดหรื อแต บางส วน แต ไดทรัพยสิ นอื่ นหรื อเงิ นมา
ทดแทน ทรัพยสินอื่นหรือเงินที่ไดมาเปนสินสวนตัว”]
๓) ทรัพยสินที่พระภิกษุไดมาหลังจากอุปสมบท หากพระภิกษุไดจํ าหนายไป เงินหรือ
ทรัพยสิ นที่ ไดมาจากการจํ าหน ายนั้น (รวมทั้งดอกผลของเงิ นหรื อทรัพยสิ นนั้น) ก็ถื อว าเป น
ทรัพยที่พระภิกษุไดมาหลังจากอุปสมบท
ฎี กา ๑๐๖๔/๒๕๓๒ บิดายกที่นาใหพระภิกษุภายหลังจากที่บวชเปนพระภิกษุแลว
ต อมาเมื่ อพระภิ กษุ ไดขายที่ นาและนําเงิ นที่ ขายไปฝากในธนาคาร เงิ นและดอกเบี้ยถื อเป น
ทรัพยสินที่ไดมาระหวางอยูในสมณเพศ จึงตกเปนของวัดตามมาตรา ๑๖๒๓
๔) กรณีที่พระภิกษุสมรสกอนอุปสมบท
- หากภรรยาตาย ตองแบงสินสมรสของภรรยาใหพระภิกษุครึ่งหนึ่ง สินสมรสสวนที่ตก
เปนของพระภิกษุจะถือวาเปนทรัพยสินที่ไดมา “ในระหวางที่พระภิกษุอยูในสมณเพศ” เฉพาะ
ในสวนของทรัพยสินที่ไดมาหลังจากที่พระภิกษุอุปสมบทเทานั้น แตสํ าหรับทรัพยสินที่ไดมา
กอนพระภิกษุอุปสมบท เมื่อตกแกพระภิกษุโดยผลของการแบงสินสมรสก็ถือวาเปนทรัพยสินที่
พระภิกษุไดมากอนอุปสมบท (จึงเปนกรณีตามมาตรา ๑๖๒๔ มิใชมาตรา ๑๖๒๓)
๑๑
-ทรัพยสินที่พระภิกษุไดมาหลังจากอุปสมบท (โดยที่การสมรสยังไมสิ้นสุดลง) นั้น แม
ว าในกรณี บุ คคลทั่ วไปกฎหมายถื อว าทรัพยที่ คู สมรสไดมาระหว างสมรสเป นสิ นสมรส แต ใน
กรณี ของพระภิ กษุ ที่ อุ ปสมบทภายหลังที่ ไดสมรสนั้น ทรัพยสิ นที่ ไดมาในขณะที่ อยู ในสมณเพศ
ไมถือวาเปนสินสมรส เมื่อพระภิกษุมรณภาพในขณะที่อยูในสมณเพศ ทรัพยสินนี้จึงไมตองแบง
ปนใหภรรยา แตจะตกเปนสมบัติของวัดตามมาตรา ๑๖๒๓
๕) ในกรณีที่พระภิกษุอุปสมบทหลายครั้ง
ทรัพยสินที่จะตกเปนสมบัติของวัดตามมาตรา ๑๖๒๓ นั้นจํ ากัดอยูเพียงทรัพยสินที่พระ
ภิ กษุ ไดมาในระหว างที่ อยู ในสมณเพศครั้งหลังสุ ดเท านั้น ส วนทรัพยสินที่ไดมาในระหวางที่อยู
ในสมณเพศครั้งกอนก็เปนมรดกตกทอดแกทายาทตามมาตรา ๑๖๒๔
๖) ทรัพยสินที่ “ตกเปนสมบัติของวัด” ตามมาตรา ๑๖๒๓ ถือเปน “มรดก” หรือไม
หากถือวามิใชมรดก หากแตกฎหมายใหตกเปนสมบัติของวัด ก็จะมีผลดังนี้:
- เมื่อทายาทอื่นพิพาทกับวัดเกี่ยวกับทรัพยสินนั้น ทายาทจะยกอายุความมรดกตอสู
วัดมิได
- เจาหนี้ของพระภิกษุบังคับหนี้ (ที่พระภิกษุเปนลูกหนี้) จากวัดไมได (เพราะเจาหนี้
อาจบังคับหนี้จากกองมรดกหรือทายาทเทานั้น)
หากพิ เคราะหตามคํ าพิพากษาศาลฎีกา ศาลฎีกาเคยวินิจฉัยในทํ านองที่วาทรัพยสินที่
กฎหมายใหตกเปนสมบัติของวัดนั้นมิใชมรดก
ฎีกา ๑๒๖๕/๒๔๙๕
พระภิ กษุ ไดที่ นามาหลังจากที่ อุ ปสมบทเป นพระภิกษุและมรณภาพระหวางที่อยูในสมณ
เพศ (ซึ่งตามมาตรา ๑๖๒๓ ที่ดินนั้นตกเปนสมบัติของวัด) ทายาทโดยธรรมเขาครอบครองที่
นานั้นกวา ๑๐ ป ตอมาวัดฟองเรียกที่นาคืน ทายาทที่ครอบครองที่นาตอสูวาคดีขาดอายุความ
ศาลฎีกาวินิจฉัยวาเมื่อที่นาตกเปนของวัด ทายาทจะยกอายุความขึ้นยันวัดใหวัดเสียสิทธิไมได
อย างไรก็ ตาม ก็ ปรากฏวาศาลฎีกาก็เคยวินิจฉัยในทํ านองวาทรัพยที่ตกเปนสมบัติของ
วัดตามมาตรา ๑๖๒๓ เปน “มรดก”
ฎีกา ๑๑๒๗/๒๕๒๔ (ป)
พระภิกษุมรณภาพโดยมีเงินฝากธนาคารที่ไดมาระหวางที่อยูในสมณเพศ วัดไปขอเบิก
เงินแตธนาคารปฏิเสธและยืนยันวาจะจายเงินใหผูจัดการมรดกเทานั้น วัดรองขอใหตั้งวัดเปนผู
จัดการมรดก เมื่อมีขอพิจารณาวาหากเงินนั้น (ซึ่ง “ตกเปนสมบัติของวัด”) มิใชมรดก ก็ไมมี
กรณีตองตั้งผูจัดการมรดก ศาลฎีกาวินิจฉัยวาเงินนี้เปนมรดกและวัดเปนผูจัดการมรดกได
๑๒
อันที่จริงแลว (ความเห็นของผูเขียน) ไมนาจะถือวาทรัพยสินที่ “ตกเปนสมบัติของวัด”
เป นมรดกแต น าจะถื อว ากฎหมายมี เหตุ ผลพิ เศษที่ ใหทรัพยสิ นที่ พระภิ กษุ ไดมาในระหว างที่ อยู
ในสมณเพศตกเปนของวัด ซึ่งจะมีผลตามมาดังนี้
(ก) เมื่ อทายาทพิ พาทกับวัดเกี่ ยวกับทรัพยสินนั้นทายาทก็จะยกอายุความมรดกตอสู
วัดมิได (อันที่จริงหากทรัพยสินนั้นเปนที่ดินก็จะเปนธรณีสงฆ ซึ่งพระราชบัญญัติคณะสงฆ พ.ศ.
๒๕๐๕ หามมิใหผูใดอางอายุความขึ้นตอสูวัดอยูแลว และธรณีสงฆก็จะโอนกันมิไดเวนแตโดย
ทํ าเปนพระราชบัญญัติเทานั้น (มาตรา ๓๔) นอกจากนี้ ก็ไมอยูในความรับผิดแหงการบังคับคดี
(มาตรา ๓๕))
ในกรณีที่วัดไดทรัพยสินมาโดยทางพินัยกรรม วัดเปนผูรับพินัยกรรม หากมีทายาทอื่น
พิพาทกับวัดเกี่ยวกับทรัพยสินที่วัดไดมาโดยทางพินัยกรรมนั้น ศาลฎีกาเคยวินิจฉัยไวในคดีขาง
ลางนี้วา ทายาทอื่นก็อาจยกอายุความขึ้นตอสูได
ฎีกา ๑๕๐๖/๒๕๐๓ (ป)
วัดไดรับที่ ดิ นโดยเจามรดกทําพิ นัยกรรมยกที่ ดิ นนั้นพรอมสิ่ งปลู กสรางใหวัด พิ นัย
กรรมระบุ ใหยายและมารดาของเจามรดกอาศัยในที่ดินและสิ่งปลูกสรางและมีสิทธิเก็บกินตลอด
ชีวิต สวนทรัพยสมบัติอื่น ๆ ใหตกเปนของยายและมารดาคนละเทา ๆ กัน วัดปลอยใหมารดา
ของเจามรดกครอบครองที่ดินและจดทะเบียนโอนเปนของตนจนลวงเลย ๑๐ ปไปแลว วัดเพิ่งจะ
มาฟองเรียกรองสิทธิตามพินัยกรรม มารดาตอสูวาขาดอายุความ และศาลพิพากษาวาาคดีขาด
อายุความ
(ขอสังเกต: ทรัพยที่พิพาทในคดีขางตนเปนที่ดิน คดีขางตนวินิจฉัยกอนที่จะมีพระราช
บัญญัติคณะสงฆ พ.ศ. ๒๕๐๕ ในปจจุบัน ที่ที่วัดไดมาไมวาโดยทางพินัยกรรมหรือทางอื่นยอม
เปนธรณีสงฆตามพระราชบัญญัติคณะสงฆ พ.ศ. ๒๕๐๕ ซึ่งผูใดจะยกอายุคงามตอสูวัดไมได)
(ข) สิทธิของเจาหนี้ในการบังคับหนี้จากทรัพยสินที่วัดไดจากพระภิกษุ
เมื่อไมถือวาทรัพยสินของพระภิกษุที่ “ตกเปนสมบัติของวัด” เปน “มรดก” แลว ผล
ทางกฎหมายก็คือวาเจาหนี้ของพระภิกษุจะบังคับหนี้ของพระภิกษุนั้นจากทรัพยสินที่ตกเปนของ
วัดไมได เจาหนี้จึงตองไปบังคับเอาจากทายาทโดยธรรม (เพราะหนี้สินและความรับผิดของเจา
มรดกเป นทรัพยมรดกที่ ตกทอดแก ทายาทโดยธรรม แต ทายาทโดยธรรมไม จํ าตองรับผิ ดเกิ น
กวาทรัพยมรดกที่ตกทอดไดแกตน (มาตรา ๑๖๐๐ และมาตรา ๑๖๐๑)
อยางไรก็ตาม ถาเปนหนี้ของพระภิกษุที่ติดพันอยูกับตัวทรัพย เชน หนี้ตามสัญญาเชา
ทรัพย หรือหนี้จํ านอง วัดก็ตองใหเจาหนี้สามารถบังคับหนี้นั้นได แตถาเปนหนี้อื่นๆ โดยปกติ
ศาลฎี กาเคยวิ นิ จฉัยว าเจาหนี้สามารถเรี ยกรองเอาจากทรัพยสิ นที่ จะตกเป นสมบัติ ของวัดได
โดยวัดตองใชหนี้ใหเจาหนี้เสียกอน (ฎีกา ๔๓๙/๒๔๗๙)
๑๓
(๒) สิทธิของพระภิกษุในการเรียกรองเอาทรัพยมรดก
กฎหมายไดวางขอกํ าหนดเกี่ ยวกับสิ ทธิ ของพระภิ กษุ ในการเรี ยกรองเอาทรัพยมรดกไว
โดยไม ใหพระภิ กษุ เรี ยกรองเอาทรัพยมรดกในฐานะที่ เป นทายาทโดยธรรมในขณะที่ อยู ในสมณ
เพศ ทั้งนี้ มาตรา ๑๖๒๒ บัญญัติไวดังนี้
““พระภิ กษุ นั้นจะเรี ยกรองเอาทรัพยมรดกในฐานะที่ เป นทายาทโดยธรรมไม ได
เวนแตจะไดสึกจากสมณเพศมาเรียกรองภายในกําหนดอายุความตามมาตรา ๑๗๕๕
แตพระภิกษุนั้นอาจเปนผูรับพินัยกรรมได””
หลักเกณฑ
๑) การหามมิใหพระภิกษุเรียกรองเอาทรัพยมรดกในระหวางที่อยูในสมณเพศนั้น เปน
การหามในฐานะที่ เป นทายาทโดยธรรมเท านั้น พระภิ กษุ จึ งสามารถเรี ยกรองหรื อฟ องรองใน
ฐานะที่เปนผูรับพินัยกรรมได
อนึ่ง ในกรณีที่พระภิกษุเปนทายาทโดยธรรม และมีการทํ าสัญญาแบงปนทรัพยมรดก
กัน (ตามมาตรา ๑๗๕๐ ซึ่งตองมีหลักฐานเปนหนังสือ) หากมีการไมปฏิบัติตามสัญญานั้น
พระภิกษุก็ฟองรองไดแมวาจะอยูในสมณเพศ เพราะถือวาเปนการเรียกรองในฐานะทายาทโดย
ธรรม แตในฐานะคูสัญญา
๒) การหามมิ ใหพระภิ กษุเรียกรองเอาทรัพยมรดกในระหวางที่อยูในสมณเพศนั้นเปน
การหามเฉพาะการ “ฟองรอง” (กลาวคือ ฟองคดีมรดก) เทานั้น ไมรวมถึงการเรียกรอง
ประการอื่ นโดยไม ถึ งขั้นการฟ องรองคดี มรดก ทั้งนี้ เพราะหากพิ จารณาความตอนทายของ
มาตรา ๑๖๒๒ ที่วา “เวนแตจะไดสึกจากสมณเพศมาเรียกรองภายในกําหนดอายุความ
ตามมาตรา ๑๗๕๕“ นั้น จะเห็นวากฎหมายมุงหมายเฉพาะการฟองคดีมรดกเทานั้น หากมิใช
การฟ องคดี มรดกก็ ไม มี กรณี ที่ พระภิ กษุ จะตองเรี ยกรองภายในกํ าหนดอายุ ความตามมาตรา
๑๗๕๕
ฎีกา ๗๗๙/๒๔๘๕
พระภิกษุฟองขับไลจํ าเลย (บุคคลซึ่งมิใชทายาท) ออกจากที่นาอันเปนมรดก มิใชเปน
กรณีที่ทายาทฟองเรียกทรัพยมรดก พระภิกษุฟองไดโดยไมตองสึกจากสมณเพศ
ฎีกา ๑๖๙/๒๔๙๖
พระภิ กษุ ซึ่ งเป นทายาทโดยธรรมฟ องเรี ยกรองทรัพยมรดกที่ บุ คคลภายนอกยึ ดถื อไวได
ไมตองหามตามมาตรา ๑๖๒๒
๓) กฎหมายหามพระภิกษุฟองรอง แตไมหามพระภิกษุเขามาเปนจํ าเลยในคดีที่ทายาท
อื่นฟองพระภิกษุ ดังนั้น ในคดีเชนนั้น ศาลจึงพิพากษาใหพระภิกษุไดรับสวนแบงในมรดกได
๑๔
(ฎีกา ๓๔๑/๒๔๙๔) แตพระภิกษุที่เขามาเปนจํ าเลยจะฟองแยงเรียกรองใหแบงปนทรัพยมรดก
ใหตนไมได
อนึ่ง ในกรณีที่ทายาทอื่นฟองคดีมรดกกันเอง หากพระภิกษุซึ่งเปนทายาทโดยธรรมคน
หนึ่ งดวยมิ ไดเขาเป นคู ความร วมดวย ศาลจะพิ พากษาแบ งป นทรัพยสิ นโดยคิ ดส วนแบ งรวมถึ ง
สวนของพระภิกษุนั้นได (ฎีกา ๑๐๒๖/๒๕๑๙)
๔) มาตรา ๑๖๒๒ มุงหมายใชบังคับกับทรัพยมรดกที่พระภิกษุไดมาในระหวางที่อยูใน
สมณเพศเทานั้น

You might also like