You are on page 1of 157

หลักสูตรครุศาสตรมหาบัณฑิต

สาขาวิชาเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
(หลักสูตรใหม่ พ.ศ. 2548)

1. ชื่อหลักสูตร
หลักสูตรครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
Master of Education Program in Industrial Technology

2. ชื่อปริญญา
ชื่อเต็ม : ปริญญาครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยี
อุตสาหกรรม
Master of Education (Industrial Technology)
ชื่อย่อ : ค.ม. (เทคโนโลยีอุตสาหกรรม)
M.Ed. (Industrial Technology)

3. หน่ วยงานที่รับผิดชอบ
คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช

4. ปรัชญาและวัตถุประสงค์
4.1 ปรัชญาหลักสูตร
หลักสูตรครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
เป็ นหลักสูตรเพื่อพัฒนาทรัพยากรบุคคลของสังคมและท้องถิ่น ให้มีความ
รู้ความสามารถทางการบริหาร การพัฒนาหลักสูตร การสอนและการ
ถ่ายทอดเทคโนโลยี มุ่งพัฒนาบุคลากรให้เป็ นนั กวิชาการและวิชาชีพที่มี
2
วิสัยทัศน์กว้างไกลมีคุณธรรม จริยธรรม เป็ นผ้น
ู ำ าที่สามารถพัฒนาตนเอง
สังคมและท้องถิ่นได้อย่างมีประสิทธิภาพ

4.2 วัตถุประสงค์เฉพาะของหลักสูตร
เพื่อผลิตครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
1. ให้มีความร้ค
ู วามสามารถในการบริหารและการจัดการศึกษาด้าน
เทคโนโลยีอุตสาหกรรมทัง้ ในและนอกระบบการศึกษาได้อย่างมี
ประสิทธิภาพ
2. ให้มีความร้คู วามสามารถในการพัฒนาหลักสูตร การจัดการเรียน
การสอน และการฝึ กอบรม ด้านเทคโนโลยีอุตสาหกรรมตามความต้องการ
ของท้องถิ่นและสังคมโดยส่วนรวม
3. ให้มีความร้ค ู วามสามารถในการศึกษาวิจัยด้านเทคโนโลยี
อุตสาหกรรมที่ส่งผลต่อพัฒนาวิชาการและวิชาชีพทางด้านอุตสาหกรรม
4. ให้มีความร้ค ู วามสามารถในการพัฒนาและถ่ายทอดเทคโนโลยี
อุตสาหกรรมที่เอื้อต่อการเรียนการสอนและนำ าไปใช้เพื่อพัฒนาตนเองและ
ท้องถิ่น
5. ให้มีคุณธรรมจริยธรรมในการประกอบอาชีพ ตลอดจนตระหนั ก
ในการอนุรักษ์ และพัฒนาสิ่งแวดล้อมให้สอดคล้องกับสภาพการ
เปลี่ยนแปลงของสังคม

5. กำาหนดการเปิ ดสอน
ปี การศึกษา 2548

6. คุณสมบัติของผููเขูาศึกษา
6.1 คุณสมบัติทั่วไปของผููมีสิทธิสมัครมีดังต่อไปนี้
6.1.1 มีความรู้ภาษาไทยและภาษาอังกฤษเป็ นอย่างดี
6.1.2 มีความประพฤติดี
6.1.3 เป็ นผู้ท่ีอยู่ในประเทศไทยอย่างถูกต้องตามกฎหมาย
3

6.1.4 ไม่เป็นโรคติดต่อร้ายแรง หรือมีความผิดปกติทจ่ี ะเป็นอุปสรรคต่อ


การศึกษา
6.1.5 ไม่เคยถูกให้ออกจากสถาบันอุดมศึกษาใด ๆ มาแล้ว เพราะความ
ประพฤติไม่เหมาะสมหรือกระทำาความผิดต่าง ๆ

6.2 คุณสมบัติเฉพาะหลักสูตรของผููมีสิทธิสมัครมีดังต่อไปนี้
6.2.1 สำาเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีหรือเทียบเท่าในสาขาวิชา
ต่อไปนี้
วิ ศ ว ก ร ร ม ศ า ส ต ร์ อุ ต ส า ห ก ร ร ม ศ า ส ต ร์ ค รุ ศ า ส ต ร
อุตสาหกรรม วิทยาศาสตร์สายเทคโนโลยีอุตสหกรรม การศึกษาหรือ
ครุศาสตร์วิชาเอกอุตสาหกรรมศิลป์ ช่างอุตสาหกรรม หรือ เทียบเท่า
หรือให้อย่ใ่ นดุลยพินิจของคณะกรรมการบัณฑิตประจำาสาขาวิชาเทคโนโลยี
อุตสาหกรรม หรือ
6.2.2 สำาเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีหรือเทียบเท่าและมี
ประสบการณ์การทำางานด้านการบริหารงาน และ/หรือด้านการสอน
ไม่น้อยกว่า 2 ปี หรือให้อย่่ในดุลยพินิจของคณะกรรมการบัณฑิต
ประจำาสาขาวิชาเทคโนโลยีอุตสาหกรรม

7. การคัดเลือกผููเขูาศึกษา
สอบคัดเลือก โดยพิจารณาจากหลักฐานการสมัคร การสอบข้อเขียนและ
การสัมภาษณ์

8. ระบบการศึกษา
4

8.1 ใช้ระบบการศึกษาแบบทวิภาค หนึ่ งปี การศึกษาแบ่งออกเป็ น 2


ภาคเรียน หนึ่ งภาคเรียนมีระยะเวลาการศึกษาไม่น้อยกว่า 15 สัปดาห์
หรือเทียบเท่า
8.2 การจัดการเรียนการสอนให้เป็ นไปตามข้อบังคับของสภาวิชาการ
มหาวิทยาลัยราชภัฏ

9. ระยะเวลาการศึกษา
ใช้เวลาในการศึกษาไม่น้อยกว่า 2 ปี การศึกษา และไม่เกิน 5 ปี การ
ศึกษา

10. การลงทะเบียนเรียน
ให้ลงทะเบียนเรียนได้ไม่น้อยกว่า 9 หน่ วยกิต และไม่เกิน 15 หน่ วยกิต
ในแต่ละภาคการศึกษา

11. การวัดผลและการสำาเร็จการศึกษา
11.1 การวัดและการประเมินผลการศึกษาให้เป็ นไปตามข้อบังคับของ
คณะกรรมการสภาวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
11.2 การสำาเร็จการศึกษา
11.2.1 ได้ศก
ึ ษารายวิชาครบถ้วนตามที่กำาหนดในหลักสูตร
11.2.2 ได้คะแนนเฉลี่ยสะสมที่เรียนไม่ตำ่ากว่า 3.00 จากระบบ
4 ระดับคะแนนหรือเทียบเท่า
11.2.3 เสนอวิทยานิ พนธ์ – ผ่านการสอบปากเปล่าขัน ้ สุดท้าย
โดยคณะกรรมการที่มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราชแต่งตัง้
11.2.4 ผลงานวิทยานิ พนธ์จะต้องได้รับการตีพิมพ์ หรืออย่างน้ อย
ดำาเนิ นการให้ผลงานหรือส่วนหนึ่ งของผลงานได้รับการยอมรับให้ตีพิมพ์
5
ในวารสารหรือสิ่งพิมพ์ทางวิชาการเทคโนโลยีอุตสาหกรรมทัว่ ประเทศหรือ
เสนอต่อที่ประชุมวิชาการที่มีรายงานการประชุม (Proceeding)
12. จำานวนและคุณวุฒิของอาจารย์
12.1 อาจารย์ประจำาหลักส่ตรครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีอุตสาหกรรม (คม.)
เป็นคุณวุฒิ
คุณวุ สำาเร็จการศึกษาจาก
ตำาแหน่ งทาง ประเภท
รหัส ชื่อ-สกุล ฒิ สาขาวิชาวิชา ปี
วิชาการ ตร สัมพั
สูงสุด สถาบัน
พ.ศ. ง นธ์
3 9202 ผู้ช่วย ดร.สมบูรณ์ สาร Ph.D. Technology Technological University of 254
ศาสตราจารย์
00471 69 1 สิทธิ ์ Management Philippines 6 /
(ประธาน กศ.ม. อุตสาหกรรมศึกษา มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 253
ประสานมิตร
หลักสูตร) 7
ค.บ. ศิลปหัตถกรรมเครื่อง วิทยาลัยครูพระนคร 252
เคลือบดินเผา
9
3 4701 อาจารย์ ดร.ธนาภรณ์ Ed.D. Industrial Education Technological University of 254
01286 71 7 เมืองมุงคุณ Management Philippines 7 /
(เลขานุการ ศศ.ม. นโยบายการจัดการทรัพยากร มหาวิทยาลัยเกริก 254
และสิ่งแวดล้อม
หลักสูตร) 0
วท.บ. วิทยาศาสตร์สุขภาพ วิทยาลัยครูพระนคร 253
7

4
3 1005 ผู้ช่วย * ดร.ประดุจฤดี Ph.D. Technology Technological University of 254 /
ศาสตราจารย์
04427 46 0 สารสิทธิ ์ Management Philippines 6
กศ.ม. อุตสาหกรรมศึกษา มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 253
ประสานมิตร
7
วท.บ. เทคโนโลยีเซรามิกส์ วิทยาลัยครูพระนคร 253
(เกียรตินิยมอันดับ 1)
3
3 8001 อาจารย์ นางสาววิลาวัณย์ ค.ม. เทคโนโลยีอุตสาหกรรม สถาบันราชภัฏพระนคร 254
จินวรรณ
00022 01 1 7 /
ศป.บ. ทัศนศิลป์ - เซรามิกส์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 254
ประสานมิตร
1
3 8001 อาจารย์ นายสถาพร จันทวี วศ.ม. วิศวกรรมอุตสาหการ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ 254
00174 95 4 5 /
วศ.บ. อุตสาหการ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ 253
6
12.2 อาจารย์ผ้่รบ
ั ผิดชอบหลักส่ตรครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีอุตสาหกรรม (คม.)
เป็นคุณวุฒิ
คุณวุ สำาเร็จการศึกษาจาก
ตำาแหน่ งทาง ประเภท
รหัส ชื่อ-สกุล ฒิ สาขาวิชาวิชา ปี
วิชาการ ตร สัมพั
สูงสุด สถาบัน
พ.ศ. ง นธ์
3 9202 ผู้ช่วย ดร.สมบูรณ์ สาร Ph.D. Technology Technological University of 254
ศาสตราจารย์
00471 69 1 สิทธิ ์ Management Philippines 6 /
(ประธาน กศ.ม. อุตสาหกรรมศึกษา มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 253
ประสานมิตร
หลักสูตร) 7
ค.บ. ศิลปหัตถกรรมเครื่อง วิทยาลัยครูพระนคร 252
เคลือบดินเผา
9
3 4701 อาจารย์ ดร.ธนาภรณ์ Ed.D. Industrial Education Technological University of 254
01286 71 7 เมืองมุงคุณ Management Philippines 7 /
(เลขานุการ ศศ.ม. นโยบายการจัดการ มหาวิทยาลัยเกริก 254
ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม
หลักสูตร) 0
วท.บ. วิทยาศาสตร์สุขภาพ วิทยาลัยครูพระนคร 253
4
9

3 1005 ผู้ช่วย * ดร.ประดุจฤดี Ph.D. Technology Technological University of 254


ศาสตราจารย์
04427 46 0 สารสิทธิ ์ Management Philippines 6 /
กศ.ม. อุตสาหกรรมศึกษา มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 253
ประสานมิตร
7
วท.บ. เทคโนโลยีเซรามิกส์ วิทยาลัยครูพระนคร 253
(เกียรตินิยม
3
อันดับ 1)
10
12
13
14
15
16
17
18
19
20
21
22
23
24
25
26
27
28
29
30
31
32
33
34
35
36
37
38
39
40
41
42
43
44
45
46
47
48
49
50
51
52
53
54
55
56
57
58
59
60
61
62
63
64
65
66
67
68

13. จำานวนนั กศึกษา


นั กศึกษาที่จะ ปี การศึกษา
รับ 2548 2549 2550 2551 2552 2553
เขูาศึกษา
รับเข้าศึกษา 25 25 25 25 25 -
สำาเร็จการศึกษา - - - - 25 25
รวม 25 25 25 25 25 25

14. สถานที่และอุปกรณ์การศึกษา
14.1 สถานที่
สถานที่สำาหรับการเรียนการสอน และอาคารสถานที่ตัง้
หน่ วยประสานงานบัณฑิตศึกษา ได้แก่ อาคาร 9
14.1.1 ห้อง 931 เป็ นหน่ วยประสานงานบัณฑิตศึกษา
14.1.2 ห้อง 932 เป็ นห้องปฏิบัติการบัณฑิตศึกษา
69

14.1.3 ห้อง 933, 934, 935, 941 เป็ นห้องเรียน


บัณฑิตศึกษา
14.1.4 ห้อง 936 เป็ นสำานั กงานโปรแกรมวิชา
ห้องทัง้ หมดเป็ นห้องปรับอากาศ และมีเครื่องอำานวยความ
สะดวกต่างๆ อย่างพร้อมเพรียง โดยห้องปฏิบัติการบัณฑิตศึกษาจะมี
โต๊ะทำางานเป็ นอย่างเพียงพอ โดยมีเจ้าหน้ าที่อำานวยความสะดวกพร้อม
ด้วยวิทยานิ พนธ์ของสาขาวิชาไทยคดีศึกษาอย่างครบถ้วนสมบูรณ์
รวมทัง้ มีบริการระบบอินเตอร์เน็ต

14.2 ครุภัณฑ์ เครื่องมือและอุปกรณ์การเรียนการสอน

รายการ จำานวน
(ชื่อ ลักษณะ ชนิ ด ขนาด) (หน่ วย ประจำา
ที่
หูอง
)
70

1 ชัน
้ เก็บเอกสารขนาด 36 x 12 x 37 นิ้ว 2 ตัว อาคาร 9
2 (แบบ S366) 2 ตัว ้ 4
ชัน
3 โต๊ะประชุม ขนาด 100 x 180 ซม. 15 ตัว อาคาร 9
4 เก้าอีน
้ ั่ งประชุม (แบบ C102) 6 ตัว ้ 4
ชัน
5 โต๊ะทำางานข้าราชการ ระดับ 7 - 9 (แบบ 2 ตัว อาคาร 9
6 TW 50) 6 ตัว ้ 4
ชัน
7 โต๊ะทำางานข้าราชการ ระดับ 3 - 5 (แบบ 2 ตัว อาคาร 9
8 TW 40) 6 ตัว ้ 4
ชัน
้ ั่ งข้าราชการ ระดับ 7 – 9 (แบบ CA
เก้าอีน อาคาร 9
9 30 B) 2 ้ 4
ชัน
้ ั่ งข้าราชการ ระดับ 3 – 5 (แบบ CA
เก้าอีน เครื่อง อาคาร 9
11 C) ้ 4
ชัน
1 ชัน
้ วางหนั งสือ ขนาด 48 x 12 x 36 นิ้ว อาคาร 9
1 ชุด
0 (แบบ S 204) เหล็กยี่ห้อ TAIYO ้ 4
ชัน
4
1 เครื่องปรับอากาศ แบบแยกส่วน ยี่ห้อเฟรด อาคาร 9
เครื่อง
1 ริค ขนาด 1800 BTU/hr รุ่น 10 ชุด ้ 4
ชัน
1
2 FC18/RCV18

3 ห้องเรียน
เครื่อง 935 และ
1 เครื่องเล่น V.D.O. (HIFI and
3 KARAOKE) ห้อง สนง.
3 ชุด
เครื่องฉายข้ามศีรษะ (Komax รุ่น TTB 1 ตัว อาคาร 9
1
200-Z Classic Model)
4 ้ 4
ชัน
เครื่องปรับอากาศแบบแยกส่วน ยี่ห้อเฟรด 12 ตัว
1
ริค ขนาด 25000 BTU/hr รุ่น 36 ตัว อาคาร 9
5
FC25/RCV25 พร้อมพัดลมดูดอากาศ 3 ชัน้ 4
ขนาด 18 นิ้ว ชุดละ 1 ตัว ควบคุมการ เครื่อง อาคาร 9
71

้ 4
ชัน

อาคาร 9
ทำางานด้วยระบบรีโมทคอนโทรล
้ 4
ชัน
เครื่องฉายภาพนิ่ ง แบบถาดกลม/นอน ยี่ห้อ
1 KODAK EKTALITE 1000 Slide
อาคาร 9
6 CERIALEK 41196
้ 4
ชัน
1 จอฉายชนิ ดแขวน
อาคาร 9
7 โต๊ะวางเครื่องฉาย ขนาด 28.5 x 19 x 25
ชัน้ 4
1 นิ้ว ทำาด้วยไม้อัดดีโคราช สีคลาสสิค
8 โต๊ะพับเอนกประสงค์
อาคาร 9
้ ั่ ง (แบบ C 102)
เก้าอีน
้ 4
ชัน
โทรทัศน์สี ระบบมัลติมีเดีย 29 นิ้ว
อาคาร 9
ชัน้ 4
อาคาร 9
ชัน ้ 4

จำานวน
รายการ ประจำา
ที่ (หน่ วย
(ชื่อ ลักษณะ ชนิ ด ขนาด) หูอง
)
72
1 โต๊ะประชุม (แบบ TM 247) 15 ตัว อาคาร 9
9 เก้าอีน้ ั่ ง (แบบ C 102) 30 ตัว ้ 4
ชัน
2 ฉากกัน ้ ห้องขนาด 100 x 150 ซม. 2 ชุด อาคาร 9
0 ตู้เอกสาร 3 ลิน ้ ชัก (แบบ FC 743) 3 ตู้ ชัน้
2 ตู้อีคอมเก็บเอกสาร (แบบ C 141) ทำาด้วย 6 ตู้ 4 อาคาร
1 ไม้ 1 9 ชัน ้
2 เครื่องถ่ายเอกสาร DC – 1556 เครื่อง 4 อาคาร
2 เครื่องทำานำ ้ าเย็น ชนิ ดใช้ขวด ยี่ห้อ Standard 1 9 ชัน ้
2 โต๊ะประชุมเอนกประสงค์ ขนาด 47 x 24 x เครื่อง 4 อาคาร
3 29 นิ้ว 36 ตัว 9 ชัน ้ 4
2 เก้าอีน ้ ั่ งประชุม 46 ตัว อาคาร 9
4 โต๊ะวางโทรทัศน์ 2 ตัว ชัน ้ 4
2 เครื่องเล่นวีดิทัศน์ แบบเล่นและบันทึกได้ 2 อาคาร 9
5 ชนิ ดตัง้ โต๊ะแบบ VHS เครื่อง ชัน ้ 4
2 จอรับภาพ ขนาด 70 x 70 นิ้ว อาคาร 9
6 เครื่องคอมพิวเตอร์ 2 ชุด ชัน ้ 4
2 เครื่อง Printer Laser Jet 6L, Laser Jet 4 ชุด อาคาร 9
7 1100 2 ตัว ชัน ้ 4
2 ตู้เก็บวิทยานิ พนธ์ ขนาด 1486 (W) x 4 ตู้ อาคาร 9
8 406 (L) x 935 (H) mm 3 ตู้ ชัน ้ 4
2 ตู้เก็บเอกสาร 15 ลิน ้ ชัก ขนาด 368(W) x 4 อาคาร 9
9 457(L) x 1320(H) mm เครื่อง ชัน ้ 4
เครื่องวิทยุเทปชนิ ดอัดได้ไร้สายแบบ
3 กระเป๋ าหิว้ ขนาด 270 x 200 x 120 mm 1 ห้อง อาคาร 9
0 ห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ สำาหรับบัณฑิต (40 เค ชัน้ 4
3 ศึกษา รื่อง) อาคาร 9
1 ชัน้ 4
3 อาคาร 9
2 ชัน ้ 4
3 อาคาร 9
3 ชัน ้ 4
3 อาคาร 9
4 ชัน ้ 4
3 อาคาร 9
5 ชัน ้ 4
73

3 อาคาร 9
6 ้ 4
ชัน

15. หูองสมุด

สำา นั กวิทยบริการ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราชเป็ น


หอสมุ ด กลางมี บ ริ ก ารระบบอิ น เตอร์ เ น็ ต มี เ อกสาร ตำา รา
วิ ท ยานิ พ นธ์ รายงานการวิ จั ย และบทความทางวิ ช าการจาก
วารสารต่ า ง ๆ ทั้ ง ในส่ ว นที่ เ ป็ นเอกสารภาษาไทยและภาษาต่ า ง
ประเทศซึ่ งสามารถที่ จะจั ดจำา แนกเอกสารเหล่ า นั้ นตามชื่ อและคำา
อธิ บ ายรายวิ ช าของหลั ก ส่ ต รครุ ศ าสตรมหาบั ณ ฑิ ต สาขาวิ ช า
74

เทคโนโลยีอุตสาหกรรม ของมหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
ดั ง นี้

15.1 หนั งสือ ตำารา ภาษาไทย

ที่ รายการหนั งสือ ชื่อผููแต่ง จำานวน


1 การจัดการอุตสาหกรรมและการ เปรื่อง กิจรัตน์ 4
2 ผลิต ภร 1
3 แรงงานสัมพันธ์และการจัดการ พรรณี ประเสริฐ 3
4 อุตสาหกรรมตอน 2 วงษ์ 3
5 การจัดการโรงฝึ กงานช่าง ไพโรจน์ ตีรณ 3
6 อุตสาหกรรม ธนากุล 1
7 100 ถาม-ตอบ 5 ส นิ ยม ดีสวัสดิ ์ 16
8 ศิลปะการบริหารแบบแม็คคอร์แม็ค มงคล 4
9 การจัดองค์การและบริหาร มาร์ก เอช แม็ค 2
1 อุตสาหกรรม คอร์แม็ค 5
0 การบริหารการผลิต เปรื่อง กิจรัตน์ภร 1
1 การบริหารเชิงกลยุทธ์และกรณี สุปัญยา ไชยชาญ
1 ศึกษา ศิริวรรณ เสรี 3
การประสานงานอุตสาหกรรม รัตน์
1 การศึกษาการทำางาน วีระพันธ์ สิทธิ ์ 2
2 ขอพูดเรื่อง SME ด้วยคน พงค์ 3
วิจิตร ตัณทสุทธิ ์
1 พื้นฐานการบริหารและระบบการ บริษัทไทยวิจัย 3
3 ผลิตในงาน และฝึ กอบรม
1 อุตสาหกรรม ยุทธพงษ์ ไกย 3
4 ธุรกิจอุตสาหกรรมและการประกอบ วรรณ์ 5
อุตสาหกรรม
1 เทคนิ คการใช้โปรแกรมในการ จินตนา เกิดลาภี 3
75

5 บริหารงานผลิตและอุตสาหกรรม พิภพ เล้าประจง


การบริหารการผลิตในธุรกิจ 2
1 อุตสาหกรรมและบริการ สันห์ชัย กลิ่น 1
6 ลูกค้าปฏิวัติ พิกุล และ 1
1 การเพิ่มผลผลิตในอุตสาหกรรม ยอดดวง พันธ์
7 เทคนิ คและ นรา 2
กรณี ศึกษา แพทริเชีย บี ซี
1 การปรับปรุงการเพิ่มผลผลิตเพื่อ โมลด์
8 เพิ่มศักยภาพการแข่งขันใน วันชัย ริจริ วนิ จ
อุตสาหกรรม
1 การเพิ่มผลผลิตสำาหรับ SMEs สถาบันเพิ่ม
9 หลักการเพิ่มผลผลิต ผลผลิตแห่งชาติ
2 แนวบริหารกลุ่มคุณภาพปี 2529 วิฑูรย์ สิมะโชคดี
0 นิ ยม ดีสวัสดิ ์
2 การบริหารด้วยการควบคุมคุณภาพ มงคล
1 บริษัทกระเบื้อง
กระดาษไทย
2 จำากัด
2 กลุ่มวิทยาลัยครู
ภาคใต้
ที่ รายการหนั งสือ ชื่อผููแต่ง จำานวน
76

2 การศึกษากิจกรรมกลุ่มคุณภาพ ชัยฉลอง อัศว 1


3 คิวซีเซอร์เคิล เสนา 1
2 การบริหารคุณภาพแบบญี่ปุ่น ธานี มงคลธนา 1
4 คู่มือทำากิจกรรมกลุ่มสร้างคุณภาพ นนท์ 3
2 งาน นิ ตย์ สัมมาพันธ์ 1
5 คิวซีหัวใจคู่สู่ความสำาเร็จ ประวิทย์ จงวิศาล 3
2 ทฤษฎีและการประยุกต์ของคิว ซี ซี ปรียาลักษณ์ 2
6 รวมผลงานคิวซีเซอร์เคิล โทณะวณิ ก 4
2 การบริหารแบบมีส่วนร่วม วีระพล สุวรรณ 1
7 TQC การบริหารคุณภาพทัว่ ทัง้ นั นต์
2 องค์การใน ศูนย์พัฒนา 1
8 สหรัฐอเมริกาและไทย คุณภาพ 2
2 การบริหารงานแบบญี่ปุ่นใน สมยศ นาวีการ 7
9 ประเทศไทย สุรศักดิ ์ นานากูล 5
3 เอ็ม บี โอ ญี่ปุ่น: การบริหารเพื่อมุ่ง 3
0 อนาคต จุฑา เทียนไทย 3
3 ระบบบริหารงานคุณภาพ ISO ฮองโง ทาคาโนบุ 4
1 9000 ประเวศ ยอดยิ่ง 7
คุณภาพในงานบริการ 1 วิรพงษ์ เฉลิมจิระ 5
3 คู่มือปรับปรุงคุณภาพงาน รัตน์ 3
2 คุณภาพคือการปรับปรุง วีรพจน์ ลือ 3
3 ถกคุณภาพภาค 2 ประสิทธิส ์ กุล
3 การวางแผนและควบคุมการผลิต วิฑูรย์ สิมะโชคดี 7
3 ระบบการวางแผนและควบคุมการ กฤษฎ์ อุทัยรัตน์ 2
4 ผลิต ชุมพล สฤงดาร 1
3 ระบบการควบคุมการผลิตระดับ ศิริ 1
5 โรงงาน พิภพ ลลิตาภรณ์
3 วิศวกรรมคุณค่า : เทคนิ คการลด พิภพ ลลิตาภรณ์ 1
6 ต้นทุนอย่าง อัมพิการ ไกร 3
3 มีระบบ ฤทธิ ์
7 ขัน
้ ตอนเชิงปฏิบัติของกิจกรรม
3 วิศวกรรมคุณค่า คะเนโอะ กะกิยา
77

8 ธุรกิจอุตสาหกรรมและการประกอบ มา
3 อุตสาหกรรม จินตนา เกิดลาภี
9 การวางแผนและควบคุมธุรกิจ ไพบูลย์ สุวรรณ
4 อุตสาหกรรม โพธิศ
์ รี
0 การวางแผนและควบคุมธุรกิจ ไพบูลย์ สุวรรณ
4 อุตสาหกรรม โพธิศ์ รี
1 ภาคตัวอย่างปฏิบัติ
4 การบริหารการผลิตในธุรกิจ สันห์ชัย กลิ่น
2 อุตสาหกรรมและบริการ พิกุล และยอด
การบริหารงานผลิต การบริหาร ดวง พันธิรา
4 โรงงาน สุรศักดิ ์ นานากูล
3 อุตสาหกรรม และกิจการบริการ
4
4
4
5
4
6

4
7
4
8
ที่ รายการหนั งสือ ชื่อผููแต่ง จำานวน
78

4 จริยธรรมทางธุรกิจอุตสาหกรรม บรรยงค์ โตจินดา 3


9 ยุทธวิธีสู่ความสำาเร็จในการประกอบ มหาวิทยาลัย
ธุรกิจอุตสาหกรรม ราชภัฏ
จันทรเกษม 1
5 การปรับปรุงประสิทธิภาพในการ ไมตรี จันทรา 7
0 ทำางาน วัชรี ธุวธรรม 1
5 ระบบพัฒนาประสิทธิภาพการ วิสูตร จิระดำาเกิง 8
1 ทำางาน สุพาดา สิริกุตตา 7
5 การบริหารโครงการ ฐาปนา ฉิ น 13
2 การวางแผนและการบริหาร ไพศาล 8
5 โครงการ ภิภพ เล้าประจง 3
3 การบริหารโครงการและการศึกษา สุวัฒน์ พัฒน
5 ความเป็ นไปได้ ไพบูลย์ 3
4 เทคนิ คการบริหารโครงการโดย มหาวิทยาลัย
5 CPM และ PERT สุโขทัย- ธรรมาธิ 5
5 บริหารโครงการ ราช
5 การบริหารโครงการ: Project มหาวิทยาลัย 4
6 management สุโขทัย- ธรรมาธิ 3
5 ราช 15
7 การวางนโยบายโครงการและการ รังสรรค์ ดวง 12
บริหารโครงการ: หน่ วยที่ 1-5 สร้อยทอง 1
5 การวางนโยบายโครงการและการ 4
8 บริหารโครงการ: หน่ วยที่ 6-15 สมิท วิลเลี่ยม 5
วัสดุศาสตร์ เอฟ 8
5 วัสดุศาสตร์มูลฐาน สมจินต์ มนูญ 7
9 วัสดุเหลือใช้ได้ประโยชน์ ศิลป์ 8
วัสดุอุตสาหกรรม ประเสริฐ มหา 2
6 กลศาสตร์ของวัสดุ ศรานนท์ 3
0 5 เทคโนโลยีกบ ั 76 อาชีพ สมโพธิ ์ วิวิชเกยูร 1
6 ความแข็งแรงของวัสดุ วงศ์ 1
1 กำาลังวัสดุ ชัยวัฒน์ คุประ
6 วัสดุวิศวกรรม ตกุล
79

2 งานทดสอบวัสดุอุตสาหกรรม อนั นต์ วงศ์


6 วัสดุในงานวิศวกรรม กระจ่าง
3 วัสดุช่าง สิริศักดิ ์ ปโยธรศิริ
6 วัสดุช่างอุตสาหกรรม มานพ ตันตระ
4 คู่มือฉนวนความร้อน บัณฑิตย์
6 มานพ ตันตระ
5 บัณฑิตย์
6 ชาญวุฒิ ตัง้
6 จิตวิทยา
6 บุญธรรม ภัทรา
7 จารกุล
6 มานพ ตันตระ
8 บัณฑิต
6 ตระการ ก้าว
9 กสิกรรม
7 ปรีดา พิมพ์ขาวขำา
0
7
1
7
2
7
3

ที่ รายการหนั งสือ ชื่อผููแต่ง จำานวน


80

7 วัตถุทนไฟ เล็ก สีดง 1


4 วัสดุวิศวกรรมและอุตสาหกรรม เล็ก สีดง 1
7 เอกสารเพิ่มเติมวิชา 235-230: วิเลี่ยม เอฟ, 5
5 Engineering materials สมิทธิ ์
7 วัสดุวิศวกรรมเบื้องต้น เล่ม 1 3
6 ทฤษฎีและตัวอย่างโจทย์ เจ. จอร์น 1
สถิตยศาสตร์และ แจ็กสัน
7 กลศาสตร์ของวัสดุ สุรเชษฐ์ ร่งุ วัฒน 1
7 กลศาสตร์ของแข็ง พงษ์
7 2
8 ความรู้เบื้องต้นด้านวัสดุ ศูนย์เทคโนโลยี
และวัสดุแห่งชาติ 1
7 เทคโนโลยีวัสดุสำาหรับอุตสาหกรรม แชน เซน บอย 4
9 ไกลฝั่ ง ฮัลแลน 1
ทฤษฎีและตัวอย่างโจทย์ความแข็ง แนช วิลเลียม เอ 3
8 แรงของวัสดุ สมศักดิ ์ ตรีสัตย์ 5
0 การออกแบบและวางผังโรงงาน สัญห์ชัย กลิ่น 2
การออกแบบวางผังโรงงานเชิง พิกุล 2
8 ปฏิบัติ สัญห์ชัย กลิ่น 6
1 การออกแบบโรงงาน พิกุล 2
8 การออกแบบผังโรงงาน วันชัย วิจิรวนิ ช 2
2 การออกแบบผังโรงงานเพื่อเพิ่ม ชัยนนท์ ศรีสภ ุ ินา 8
8 ผลผลิต นนท์
3 กฎหมายอุตสาหกรรม สุดาสิริ วศวงศ์ 6
8 กฎหมายเกี่ยวกับอุตสาหกรรมและ นิ คม จันทรวิฑูร
4 แรงงาน พวงผกา บุญ 6
8 คำาบรรยายกฎหมายเกี่ยวกับ โสภาคน์ 5
5 อุตสาหกรรม ไพศิษย์ พิพัฒ 2
8 กฎหมายแรงงานและอุตสาหกรรม นกุล 1
6 วิฑูรย์ สิมะโชคดี
8 วิศวกรรมและการบริหารความ มหาวิทยาลัย
7 ปลอดภัยในโรงงาน สุโขทัย- ธรรมาธิ
81

8 การบริหารวัสดุและการจัดซื้อ ราช
8 หน่ วยที่ 1-6 มหาวิทยาลัย
8 การบริหารวัสดุและการจัดซื้อ สุโขทัย- ธรรมาธิ
9 หน่ วยที่ 7-15 ราช
9 การศึกษาการทำางาน วิจิตร ตัณฑสุทธิ ์
0 การศึกษาการทำางาน: หลักการและ วันชัย วิจิรวนิ ช
9 กรณี ศึกษา กรมแรงงาน
1 ความปลอดภัยในการทำางานที่เกี่ยว วิศวกรรมสถาน
กับปั ้ นจัน
่ แห่งประเทศไทย
9
2

9
3
9
4
9
5
9
6

ที่ รายการหนั งสือ ชื่อผููแต่ง จำานวน


82

9 มาตรฐานความปลอดภัยสำาหรับงาน วิรพงษ์ เฉลิมจิยะ 2


7 ก่อสร้างอาคาร รัตน์ 1
9 คู่มือวิศวกรโรงงานวิศวกรรมและ อธิวัฒน์ สาริ
8 การบริหารความปลอดภัย พันธ์ุ
มหาวิทยาลัย 2
ความปลอดภัยในโรงงาน สุโขทัย- 3
9 หลักความปลอดภัยในการทำางาน ธรรมาธิราช 3
9 หน่ วยที่ 11-15 3
1 การบริหารงานความปลอดภัย ” 3
0 หน่ วยที่ 9-15 5
0 หลักความปลอดภัยในการทำางาน ” 1
1 หน่ วยที่ 6-10 วิฑูรย์ สิมะโชคดี 3
0 การบริหารงานความปลอดภัย นิ พนธ์ กามสลัม 4
1 หน่ วยที่ 1-8 พล 2
1 วิศวกรรมความปลอดภัย ชำานาญ นพรัตน์ 1
0 ความปลอดภัยในการทำางาน เมต
2 ความปลอดภัยในงานอุตสาหกรรม วิฑูรย์ สิมะโชคดี 1
1 คู่มือความปลอดภัยสำาหรับพนั กงาน สำานั กงานความ 1
0 ใหม่ ปลอดภัยในการ
3 คู่มือวิทยากรฝึ กอบรมด้านความ ทำางาน 8
1 ปลอดภัย วิฑูรย์ สิมะโชคดี 1
0 Safety first ปลอดภัยไว้ก่อน สถาบันความ 3
4 ปลอดภัยในการ 5
1 แนวปฏิบัติเกี่ยวกับการเคลื่อนย้าย ทำางาน
0 วัสดุด้วยมือ
5 แนวปฏิบัติในการป้ องกันโรคที่เกิด ”
1 จากการทำางาน ซำา้ ซากใน นงนุช วงษ์
0 อุตสาหกรรม สุวรรณ
6 การพัฒนาบุคคลและการฝึ กอบรม
1 เทคนิ คการฝึ กอบรมและการประชุม สมคิด บางโม
0 เกมและกิจกรรมผสมผสานเพื่อการ สมชาติ กิจบรรยง
7 พัฒนาบุคลากร ฮิเดะโอะ อิโนะยะ
83

1 การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์: ระ
0 เทคนิ คการบริหาร
8
1
0
9

1
1
0
1
1
1

1
1
2
1
1
3
1
1
4
1
1
5
84

15.2 หนั งสือ ตำารา ภาษาต่างประเทศ

ที่ รายการหนั งสือ ชื่อผููแต่ง จำานวน


85

1 Manufacturing engineering and Kalpakjian, 1


2 technology Serope 1
3 Manufacturing process Robert, Todd 2
4 Manufacturing technology Komacek 1
5 Manufacturing technology Stanley A. 1
6 Volume 1 Timings R.L. 1
7 Technology today and Brusic, Sharon 1
tomorrow A.
8 Manufacturing and his Kalpakjian, 1
9 technology Serope 1
1 Qm: an introduction to Eck, Roger D. 1
0 quantitative methods for 1
1 business application Daane, Bavis 3
1 Business research for decision Melven J., 1
1 making Standord 1
2 Management policy Waen, Danie 1
1 Management: process, structure A. 1
3 and behavior Dyer, Elwood 1
1 Management science operations S. 1
4 research Srioor, 1
1 Introduction to business Parnswan 1
5 Industrial mechanics and Chastain, Larry 1
1 maintenance Hass, Robert 1
86

6 Industrial marketing W. 1
1 management Mccagt, F. 1
7 The legal environment of William 1
1 business Block, A.A. 7
8 Micro-controllers in process Block, Marilgn 1
1 and product control Feorge
9 Identifying environmental Gruenwald
2 aspects and impacts Wagner,
0 New product development: Harvey M.
2 what really works Hillier,
1 Principles of operation research Frederick S.
2 Introduction to operation Buffa, Elwood
2 research S.
2 Management science operations Anthong,
3 research Robert N.
2 Management control systems Carkisle,
4 Management: concepts and Haward M.
2 situations Robbins,
5 Management: concepts and Stephen P.
2 practices Bateman,
6 Management: competing in the Thomas S.
2 new era Zikmuna,
7 Business research methods William G.
87

Business statistics Rungon,


Richard P.

ที่ รายการหนั งสือ ชื่อผููแต่ง จำานวน


2 Business statistics: a problem- Spercer, 1
88

8 solving approach Harbert F. 1


2 Business today Mescon, 1
9 Corporate performance Michoel H. 4
3 Management Steckmest, 6
0 Management by quality Francis W. 1
3 Strategic management Bartol, Kathryn 1
1 Statistical analysis and M.
3 modeling for management คูเมะ,อิโตชิ 1
2 decision-making Thompson, 1
3 Statistical analysis Arthur A. 1
3 Management: skills and Willis, 1
3 application Raymond E. 2
4 Information technology for
management Bryant, Edward 1
3 Information technology: inside C.
5 and outside Rue, Leslie W. 3
3 Information technology for Lucas, Henry 1
6 management: making C.
3 connections for strategic Cyganski, 1
7 advantage David
3 Information technology: the Turban, Efraim 1
8 management challenge 1
3 Management policy, strategy, Daniels, 1
89

9 and plan Caroline N.


Strategic decision analysis: a 1
4 general management framework Stanford, 1
0 Business policy and strategy: Melvin J. 1
concepts and readings Patz, Alau L. 1
4 Promotional strategy 1
1 Safety every day McCarthy,
4 Human resource management: Daniel J.
2 strategies for managing a divers
and global workforce Engel, James F.
4 Manpower projection and Andress, Mace
3 strategies J.
Technical report writing today Carrell,
4 Technical services today and Michael R.
4 tomorrow
4 Technical writing Yoontai, Kim
5 Computers toda Riordan, Daniel
4 G.
6 Gorman,
Michael
4 Mills, Gordon
7 H.
4 Murdock,
90

8 Everett E
4
9
5
0
5
1
ที่ รายการหนั งสือ ชื่อผููแต่ง จำานวน
5 Computers: tools for an Capron, H.L. 1
2 information Baker, Larry L. 1
5 Communications Awad, Elias M. 1
3 Introductions to computers and
5 information processing Jackson, 1
4 Computer models in Barbara B. 1
management Comer, 3
5 Computer networks and Douglas E. 1
5 internets Tanenbaum, 1
5 Computer network Andrew S. 1
6 Statistical aspects of quality Dermau, Cyrus 1
5 control Besterfield, 1
7 Quality control Dale H. 1
5 Statistical methods for quality Ryan, Thomas 1
8 improvement P. 2
5 Introduction to materials Shackelford, 1
91

9 science for engineers James F. 1


6 Engineering materials properties Budinski, 1
0 and selection Kenneth G. 1
6 Materials for civil and highway Derucher, 1
1 engineers Kenneth N.
6 Materials science Narula, G.K.
2 Mechanics of materials Shanley, F.R.
6 Workshop processes and Edward,
3 materials: book 1 Patterson
6 Elements of materials science Vlack,
4 and engineering Lawrence H.
6 Foundations of materials Van
5 science and engineering Smith, William
6 Materials technology F.
6 Manual on elastic-plastic Dean, Yvonne
6 fracture: laboratory test Joyce, James
7 procedures A.
6
8
6
9
7
0
92

15.3 วารสาร สิ่งพิมพ์

ที่ รายการวารสาร ที่ รายการวารสาร


1 เทคโนโลยี 14 กรมวิทยาศาสตร์บริการ
2 โลกการค้า 15 ชีพจรเศรษฐกิจ
3 ผ้ส่ ่งออก 16 พลาสติก
4 บริหารธุรกิจ 17 เทคโนโลยี มทส. สู่ชุมชน
5 เทคโนโลยีท่ีเหมาะสม 18 วิทยาศาสตร์ และ
6 นโยบายพลังงาน 19 เทคโนโลยี
7 นิ กส์ 20 วารสารพระจอมเกล้า
8 นั กบริหาร 21 พระนครเหนื อ
9 ข่าวช่าง 22 ส่งเสริมเทคโนโลยี
10 เศรษฐกิจ 23 สสวท
11 ประสิทธิภาพพลังงาน 24 สารคดี
12 ธุรกิจก้าวหน้า 25 อุตสาหกรรมสาร
13 ผู้จดั การ 26 MTEC เทคโนโลยีวัสดุ
14 Internet-Intranet 31 โลกพลังงาน
15 Far Eastern Economic 32 เทคนิ ค
16 Review 33 Computer Review
17 Leader 34 Business.Com
Computer Today Update
LAB. Today
93

15.4 งานวิจัย

ที่ ชื่อเรื่อง ชื่อผููแต่ง


94

กล่่มบริหารงานอ่ตสาหกรรม
1 ภาวะการใช้พลังงานในสถาบันเทคโนโลยี ธราคม สุนทรชัย
พระจอมเกล้าพระนครเหนื อ (2530) นาคแสง
การจัดการขยะมูลฝอยด้วยวิธีหมุนเวียนกลับ
2 มาใช้ใหม่และความเป็ นไปได้เชิงเศรษญศาสตร์ การุณย์ แสง
การลงทุน (2541) บุริมทิศ

3 การประหยัดพลังงานในอาคารพาณิ ชย์ : กรณี


บุตรบำารุง ธรรม
ศึกษาอาคารพหลโยธิน ธนาคารกสิกรไทย
โชติ
(2541)
4
การประเมินผลความร่วมมือระหว่างภาครัฐกับ
เกียรติมา ศรีอุดม
ภาคเอกชนในการผลิตบุคลากรสู่อุตสาหกรรม
5 อัญมณี และเครื่องประดับ (2541)
ประจวบ ธิมา
การจัดการระบบบำาบัดนำ ้ าเสียที่เหมาะสม
สำาหรับโรงงานฆ่าและชำาแหละไก่ (2542)
6 พิสิทธิ ์ พิพัฒน์โภค
การจัดตัง้ ระบบการบำารุงรักษาเครื่องจักรเชิง
ากุล
ป้ องกัน กรณี ศึกษาโรงงานผลิตเครื่องเล่น
7 วิดีโอเทป (2542) ชาญชัย หุตะจินดา
การปรับปรุงคุณภาพการให้บริการของอู่ซ่อม
ตัวถังรถยนต์ : กรณี ศึกษาบริษัทบางกระบือ
8 นพรัตน์ โค้วบุญ
เอ็นจิเนี ยริ่งเซอร์วิสจำากัด (2542) ญะราศรี
การพัฒนาระบบการประเมินคุณภาพผู้ส่งมอบ
9 สำาหรับโรงงานผลิตฮาร์ดดิสก์ไดรฟ์ (2542) บุญเลิศ อุดมเดช
การพัฒนาระบบตรวจรับบัตรโดยสารผู้โดยสาร ทรัพย์
ขาออก กรณี ศึกษาบริษัทการบินไทยจำากัด
1
(มหาชน) (2542) เกียรติพงษ์ รัชตะ
0 การศึกษาความเป็ นไปได้ในการจัดตัง้ โรงงาน ศิลปิ น
ผลิตแผ่นพื้นปิ ดผิวสำาเร็จรูปจากแผ่นใยไม้อด ั
ความหนาแน่ นสูง (2542) สุขุม เจริญนวรัตน์
1
การศึกษาความเป็ นไปได้ในการจัดตัง้ โรงงาน
95

1 ผลิตกรอบรูปโดยใช้เศษธนบัตรที่หมดอายุการ
ใช้งานแล้วจากธนาคารแห่งประเทศไทยเป็ น
เฉลิมศักดิ ์ สรุจก
ิ ำาจร
วัตถุดิบ (2542) วัฒนะ
การศึกษาระยะเวลาการคืนทุนของ
1 กระบวนการผลิตไอซีโดยใช้ นิ เกิลพา
เรเดียมหลีดเฟรม (2542
2

ที่ ชื่อเรื่อง ชื่อผููแต่ง


1 การศึกษารูปแบบการฝึ กอบรมบุคลากรใน กานต์ อัมพานนท์
อุตสาหกรรมการผลิตและบริการของสถาน
3 ประกอบการในเขตกรุงเทพมหานคร และ
ปริมณฑล (2542)
96
การประเมินผลทางการเงินของธุรกิจ นั นทรัตน์ นามบุรี
อุตสาหกรรมยางพารา (2542) ศศิธร ศุภรางกูร
1 เสาวนี ย์ ปทุมชาติ
ข้อจำากัดในธุรกิจอุตสาหกรรมยาแผนโบราณ
4 วิชัย ฉกามานนท์
(2542)
1 ตลาดอุตสาหกรรมยาแผนโบราณตามทัศนะ
จันทนี รุ่งเรืองธนา
5 ของผู้บริโภค (2542) ผล
1 แนวทางการลดต้นทุนของอุตสาหกรรมผลิต
ยาเม็ดแผนปั จจุบัน (2542) พนิ ตสุภา ธรรม
6
ปั จจัยทีส่งผลต่อการตัดสินใจเลือกสถานที่ตัง้ ประมวล
1 โรงงานอุตสาหกรรมของผู้ส่งออกในนิ คม
7 อุตสาหกรรม (2542) สุรัตน์ ตัง้ ศักดิช์ ัย
ปั ญหาในธุรกิจอุตสาหกรรมการผลิตนำ ้ านมดิบ สกุล
ตามทัศนะของผู้ประกอบการฟาร์มโคนม
1 (2542) ปฏิพัทธ์ หงษ์
8 การควบคุมวัสดุคงคลัง : กรณี ศึกษาการ สุวรรณ
ควบคุมวัสดุคงคลังในโรงงานฉี ดพลาสติกที่ใช้
ภาคภูมิ เนี ยมหอม
1 ในอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิ ค (2543)
การจัดการข้อมูลผลิตภัณฑ์สำาหรับการหา
9 พารามิเตอร์ในการตัดเฉื อนสำาหรับชื้นงาน
กลมและชิน ้ งานเหลี่ยม (2543) นุกูล อุบลบาน
2 การนำ าแผนภูมิควบคุมตามลักษณะตัวแปรพหุ
0 (multivariate NP Chart) มาประยุกต์ใช้ใน
แผนภูมิควบคุมตัวแปรพหุโฮเทลลิ่งที สแคว
นิ พนธ์ บัญปสาท
(Multivariate Control Chart Using
2
Hotelling’s T ) (2543)
2
พรฉั ตรชัย สังข
1 การปรับปรุงกรอบการทำางานของกระบวนการ รัตน์
วางแผนการผลิตในอุตสาหกรรมการผลิตแม่ อนุชิต พิชญธาดา
พิมพ์โดยใช้กระบวนการคิดจากทฤษฎีข้อจำากัด
2
(2543) สิริสิน ทับอุไร
97

2 การปรับปรุงประมิทธิภาพการผลิตด้วยวิธีการ
มอบหมายงานเพื่อการสมดุลบนสายการผลิต
กรณี ศึกษา : อุตสาหกรรมเสื้อผ้าสำาเร็จรูป
(2543)การพัฒนาโปรแกรมจัดการงานบำารุง
2
รักษาเชิงป้ องกัน (2543)
3 การพัฒนาระบบการวางแผนความต้องการ
กำาลังการผลิต : กรณี ศึกษาโรงงานผลิตแผ่น
พิมพ์ลายวงจรไฟฟ้ า (2543)
2 การพัฒนาและประเมินผลระบบคุณภาพ
QS.9000
4

2
5
2
6

2
7

ที่ ชื่อเรื่อง ชื่อผููแต่ง


2 การพัฒนาและประยุกต์ใช้เครื่องวัด เธียรศักดิ ์ ชูชีพ
สัมประสิทธิค์ วามเสียดทานสำาหรับพื้นเดินและ
8
พื้นรองเท้า (2543) ฐนั ย สุทธิวงษ์ รัชต์
การวิเคราะห์กระบวนการลำาดับชัน้ ทางด้านการ
2 จัดการวัตถุดิบ (2543) นั นทกฤษณ์ ยอด
98

9 การศึกษาตัวแปรที่ใช้สำาหรับเครื่องวัด พิจิตร
สัมประสิทธิค์ วามเสียดทานระหว่างพื้นเดิน
และพื้นรองเท้า (2543) บุญเยือน สาย
3 การจัดการด้าการเงินและบัญชีของธุรกิจ แสงทอง
0 อุตสาหกรรมการผลิตเครื่องปรับอากาศ
(2543) อภิเชษฐ์ ศรีจันทร์
การตลาดอุตสาหกรรมข้าวกล้องตามทรรศนะ นั นทิยา กัมพลา
3 ของผู้บริโภค (2543) นนท์
1 การตลาดอุตสาหกรรมอาหารมุสลิมภายใต้
เครื่องหมาย “ฮาลาล” (2543) ประกอบ มิ่งสอน
แนวทางการเตรียมความพร้อมของธุรกิจ
3
อุตสาหกรรมในการยื่นขอการรับรองมาตรฐาน
2 ระบบการจัดการอาชีวอนามัยและความ
ไพโรจน์ กนกม
3 ปลอดภัย มอก.18001 ด้วยวิธีเทคนิ คเดลฟาย หกุล
3 (2543)
แนวทางการเตรียมความพร้อมของ มยุรี สุทธะนั นทน์
อุตสาหกรรมการผลิตในการขอรับการรับรอง
3 มาตรฐานระบบคุณภาพ ISO 9002 (2543)
4 แนวทางการเตรียมความพร้อมในการขอรับ
การรับรองระบบการจัดการสิ่งแวดล้อม ISO
14001 ขององค์กรธุรกิจอุตสาหกรรม
3 (2543)
5

3
6
กลุ่มหลักสูตรและการสอนเทคโนโลยี
อุตสาหกรรม
กฤษมันต์ วัฒนา
99

1 การประเมินหลักสูตรคุรศาสตรอุตสาหกรรม ณรงค์
มหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีเทคนิ คศึกษา
สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนื อ
(2538)
ประสงค์ พรจินดา
2 การพัฒนาคู่มือคุณภาพและวิธีการดำาเนิ นงาน รักษ์
เพื่อใช้ในการประกันคุณภาพการศึกษาสาขา
วิชาวิชาครุศาสตร์อุตสาหกรรม (2541)
3 การศึกษาความต้องการขัน ธีระ กุลวิทย์
้ พื้นฐานความเป็ น
ช่างของแรงงานไร้ฝีมือที่สอดคล้องกับความ
ต้องการของสถานประกอบการอุตสาหกรรม
การผลิตและประกอบชิน ้ ส่วนยานยนต์ในเขต
กรุงเทพมหานครและปริมาณฑล (2541)
ที่ ชื่อเรื่อง ชื่อผููแต่ง
100

4 การควบคุมคุณภาพการเรียนการสอนของ สมพิศ อยู่


วิทยาลัยพณิ ชยการ สังกัดกรมอาชีวศึกษา ใน สุขสวัสดิ ์
เขตกรุงเทพมหานคร (2541)
5 การพัฒนาและหาประสิทธิภาพบทเรียน เสาวคนธ์ อุ่นยนต์
คอมพิวเตอร์ช่วยสอนระบบมัลติมีเดียวิชา
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น (2541) เบญญพร มหา
6
แนวโน้ มการใช้นวัตกรรมและเทคโนโลยีการ พิรุณ
ศึกษาระดับอุดมศึกษาในปี พ.ศ. 2545 (หลัง
แผนพัฒนาการศึกษาแห่งชาติฉบับที่ 8)
7 (2541) ดวงใจ ปี ปทุม
การวิเคราะศักยภาพของสถานประกอบการ
และสถานศึกษาในการจัดการฝึ กงานให้
นั กเรียนระดับประกาศนี ยบัตรวิชาชีพ (ปวช.)
กลุ่มวิชาการเลขานุการของวิทยาลัยพณิ ชยการ
บุณสงค์ คงศรี
8 ในเขตกรุงเทพมหานคร (2541)
การศึกษาภาวะผู้นำาและคุณลักษณะของผู้
กัลยาณี สูงสมบัติ
บริหารวิทยาลัยการอาชีพ กรมอาชีวศึกษา
9
(2541)
ความเหมาะสมของหลักสูตรวิชาพิมพ์ดีดระดับ
ประกาศนี ยบัตรวิชาชีพชัน
้ สูง สาขาวิชา สุขเกษม มานพ
วิชาการเลขานุการ สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล พงศ์
1
(2541)
0 สภาพการจัดการเรียนการสอนกลุ่มวิชาชีพ สมพงษ์ ทิพย์
เลือกสาขาวิชาวิชาพณิ ชยการของสถานศึกษา สุวรรณ
สังกัดกรมอาชีวศึกษา เขตกรุงเทพมหานคร วิทยา ดีวุ่น
1 ปาริชาติ อุตตมะ
(2541)
1 สภาพการจัดการเรียนการสอนตามหลักสูตร บูรณ

1 ครุศาสตร์อุตสาหกรรมในวิทยาเขตสถาบัน
เทคโนโลยีราชมงคล (2541)
2
การศึกษาปั ญหาการจัดการอาชีวศึกษาระบบ นิ รมล สุขสุมิตร
101

1 ทวิภาคีของสถานศึกษาสังกัดกรมอาชีวศึกษา
ในทัศนะของผู้บริหารสถานศึกษาและสถาน
3 คณิ ต เฉลยจรรยา
ประกอบการ (2542)
การศึกษาปั จจัยที่ส่งผลต่อการเรียนของ
สิริลก
ั ษณ์ หาญ
นั กศึกษาระดับปริญญาตรีสาขาวิชาออกแบบ
วัฒนานุกูล
ผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม (2542)
1
ปั จจัยที่มีผลต่อการใช้เทคโนโลยีทางการศึกษา
4 ของอาจารย์ผู้สอนวิชาช่างอุตสาหกรรมใน
วิทยาลัยเทคนิคสังกัดกรมอาชีวศึกษา (2542)การ
พัฒนาหลักสูตรการฝึ กอบรมการบำารุงรักษาทวี
1 ผลที่ทุกคนมีส่วนร่วมในอุตสาหกรรมการผลิต
(2543)
5

1
6

ที่ ชื่อเรื่อง ชื่อผููแต่ง


102

1 การพัฒนาชุดการสอนสำาหรับนั กเรียนที่มี ถนอมศักดิ ์ ศรี


ความบกพร่องทางการ ได้ยินวิชา จันทรา
7
เครื่องปั ้ นดินเผา 2 ระดับมัธยมศึกษาตอน
ปลายสายอาชีพ โรงเรียนเศรษฐเสถียร
(2543) กมลพรรณ
1 การพัฒนาและหาประสิทธิภาพบทเรียน เครือวัลย์
คอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเตอร์เน็ตในการ
8 สอนวิชาการสื่อสารข้อมูล (2543)
กลุ่มออกแบบและเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
1. รายวิชาพัฒนางาน
เทคโนโลยี
1 สุรเษม มีลาภ
อุตสาหกรรม
การเพิ่มผลผลิตในกระบวนการผลิตตู้แผงส
วิทช์ไฟฟ้ าหลัก : กรณี ศึกษาการไฟฟ้ า ยงวิทย์ ทองนาค
2
นครหลวง (2542)
การศึกษาผลกระทบของการบำารุงรักษาเชิง
ป้ องกันต่อค่าประสิทธิผลโดยรวมของ เพรียวพันธ์ สิริ
เครื่องจักร กรณี ศึกษาเครื่องเป่ าภาชนะกลวง วัลย์ภก
ั ดี
3
(2542) วิสูตร ศิลปวานิ ชย์
4
การสูญเสียสมรรถภาพการได้ยินเนื่ องจาก
เสียงรบกวนอุตสาหกรรม กรณี ศึกษาโรงงาน
ผลิตบรรจุภัณฑ์พลาสติก (2543)
ผลกระทบของนำ ้ ายาขัดพื้นต่อสัมประสิทธิ ์
ความเสียดทานพลวัตและความลื่นในการเดิน
(2543)
2. รายวิชาเทคโนโลยีเซ
1 รามิกส์ ศรัทธา สินสาธิตสุ
การพัฒนาและหาประสิทธิภาพบทเรียน กุล
คอมพิวเตอร์ช่วยสอนระบบมัลติมีเดียเรื่องการ
ออกแบบลวดลายเขียนสีเพื่อตกแต่ง
103

เครื่องปั ้ นดินเผา (2542)


3. รายวิชาออกแบบผลิตภัณฑ์และ
1 อุตสาหกรรม อุบล บรรจงแสวง
การศึกษาสภาพการดำาเนิ นการฝึ กงานของ
นั กศึกษาระดับปริญญาตรี สาขาวิชาอาหาร
และโภชนาการ-พัฒนาผลิตภัณฑ์ สถาบัน สมศักดิ ์ พงษ์ เดช
2 จักรพงศ์ ตรีตรง
เทคโนโลยีราชมงคล วิทยาเขตพระนครใต้
3
(2541) เกื้อกูล สุขีโรจน์
การตลาดอุตสาหกรรมนำ ้ าดื่มบรรจุขวด (2541) ธิดา เข็มทองใหญ่
4
การออกแบบผลิตภัณฑ์โมเดลไม้สำาหรับทำาพื้น
รองเท้ากีฬาด้วยวิธีฟีทเจอร์ (2543)
คุณลักษณะผ้าไทยตามความต้องการของนั ก
ออกแบบเสื้อผ้า
ที่ ชื่อเรื่อง ชื่อผููแต่ง
6 ทัศนคติของเกษตรกรต่อระบบการผลิต ไพโรจน์ ม่วง
สับปะรดตามสัญญาข้อตกลงล่วงหน้ าเพื่อการ ไหมทอง
ผลิตสับปะรดกระป๋ อง (2543)
4. รายวิชาเทคโนโลยีสถาปั ตยกรรม
5. รายวิชาเทคโนโลยีก่อสรูาง
1 การวิเคราะห์ปัจจัยที่มีผลต่อภาวะการมีงานทำา สิทธิชัย โรจน์รุ่ง
และคุณภาพในการทำางานของบัณฑิต สาขา ศศิธร
วิชาวิศวกรรมโยธาและมหาบัณฑิต สาขาวิชา
วิชาโยธา ภาควิชาครุศาสตร์อุตสาหกรรม
สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนื อ
(2541)
2 การซ่อมแซมและปรับปรุงเสาสัน ้ ธานี สิริสม
คอนกรีตเสริมเหล็กหลังถูกไฟไหม้ (2542)
การซ่อมเสาคอนกรีตเสริมเหล็กด้วยซีเมนต์ สันติช์ าย พิทักษ์
3
104
มอร์ต้าและซีเมนต์มอร์ต้าผสมสารลดนำ ้ าพิเศษ
(2542) ปรเมษฐ์ วงค์สาย
4
จีดีอาร์ : โปรแกรมออกแบบทางด้านเรขาคณิ ต
ของงานถนน (2543)
6. รายวิชาเทคโนโลยีไฟฟู า
1 การพัฒนาระบบบริหารคุณภาพ มอก.9001 สุรศักดิ ์ รัศมี
พรหม
สำาหรับอุตสาหกรรมหม้อแปลงไฟฟ้ า (2541)
2 การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิท ์ างการเรียนเรื่อง
ประสิทธิ ์ สุขเสริม
เครื่องกำาเนิ ดไฟฟ้ ากระแสสลับที่เรียนในชัน้
เรียนปกติและเรียนผ่านระบบโทรทัศน์
วงจรปิ ดสองทาง (2541)
3 ปั จจัยที่มีอิทธิพลต่อการเกิดอุบัติเหตุของ วิลย์วาณี สวัสดิวัต
พนั กงานที่ปฏิบัติงานด้านระบบจำาหน่ ายไฟฟ้ า น์
แรงสูงของการไฟฟ้ าส่วนภูมิภาค : กรณี ศึกษา
ด้านการเรียนการสอนและการปฏิบัติงาน
4 (2541) วีรพล ทับแก่น
การสร้างและหาประสิทธิภาพชุดฝึ กอบรมการ
ประกันคุณภาพงานเชื่อมไฟฟ้ า (2542) สุเมธ สงวนใจ
5
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนแบบ
มัลติมีเดียเรื่อง หม้อแปลง (2542) รุจน์ นะสานี
6 การศึกษาปั จจัยที่มีผลกระทบต่อคุณภาพของ
การผลิตหลอด ฟลูออเรสเซนต์ชนิ ดตรง
กรณี ศึกษา : โรงงานผลิตหลอดไฟ ฟลูออ
เรสเซนต์ (2543)
ที่ ชื่อเรื่อง ชื่อผููแต่ง
7 การสร้างและหาประสิทธิภาพของบทเรียน สุวิทย์ ฉุยฉาย
คอมพิวเตอร์ช่วยสอนแบบมัลติมีเดียเรื่อง
หม้อแปลงไฟฟ้ าสามเฟส หลักสูตรอนุปริญญา
105

วิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏ (2543)


7. รายวิชาเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิ กส์
1 การพัฒนาผิวเหล็กกล้าไร้สนิ ม AISI 316L เกล็ดนที เวปุลา
นนท์
เพื่อใช้ประโยชน์ทางการแพทย์โดยใช้วิธีทาง
เคมีไฟฟ้ าในการตรวจสอบคุณภาพผิว (2541)
2 บงการ ไวโสภา
การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิท ์ างการเรียนเรื่อง
วงจรมัลติไวเบรเตอร์วิชาอิเล็กทรอนิ กส์ 2 ที่
เรียนด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนและ
3 ชุดแบบเรียนสำาเร็จรูป (2542) วิทวัส ทิพย์
สุวรรณ
การพัฒนาโปรแกรมในระบบเครือข่าย
คอมพิวเตอร์สำาหรับการจัดการข้อสอบ (2542)
4 อนั นต์ พูลสวัสดิ ์
การพัฒนาและหาประสิทธิภาพบทเรียน
คอมพิวเตอร์ช่วยสอนผสมไฮเปอร์เท็กซ์เรื่อง
วิธีการซ่อมพัดลมตัง้ โต๊ะและพัดลมตัง้ พื้น
สำาหรับนั กเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
ตามแนวการสอนที่ยด ึ ผู้เรียนเป็ นศูนย์กลาง
จิระพันธ์ อุยยานุ
5 (2542)
กูล
ปั ญหาและความต้องการใช้คอมพิวเตอร์และ
ระบบเครือข่ายดินเตอร์เนตของนั กศึกษา
สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
6 (2543) สุทิน เกษตรรัตน
ปั ญาและความต้องการใช้คอมพิวเตอร์และ ชัย
ระบบเครือข่ายอินเตอร์เน็ตของนั กศึกษา
7 สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล (2543) ชูชัย พิทักษ์ เมือง
คอมพิวเตอร์เพื่องานบัญชีในธุรกิจ แมน
อุตสาหกรรม (2543)
8. รายวิชาเทคโนโลยีเครื่องกล
1 การศึกษาปั ญหาและสภาพความพร้อมในการ สำาเริง แพ่งศรี
ใช้และการบำารุงรักษาเครื่องมือเครื่องจักรและ
อุปกรณ์ในการฝึ กปฏิบัติของนั กศึกษาสาขา
106
วิชาช่างกลโรงงาน ระดับประกาศนี ยบัตร
วิชาชีพชัน ้ สูงสถาบันเทคโนโลยีราชมงคล
(2541)
วีระภัทร ปิ ณฑะ
การศึกษาความต้องการด้านสมรรถนะในการ
แพทย์
2 ปฏิ บ ต
ั ง
ิ านของช่ า งยนต์ ระดั บ ประกาศนี ย บั ตร
วิชาชีพ (ปวช.) ของศูนย์บริการซ่อมรถยนต์ใน
เขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล (2543)

ที่ ชื่อเรื่อง ชื่อผููแต่ง


3 การสร้างชุดฝึ กอบรมระบบพีแอลซีพ้ืนฐาน ณั ฐวัฒน์ ตะก้อง
สำาหรับช่างซ่อมบำารุงในโรงงานอุตสาหกรรม
(2543) ชัยศร โลกิต
4 การสร้างและหาประสิทธิภาพชุดการสอน สถาพร
วิชาการทำาความเย็นและปรับอากาศเครื่องการ
ออกแบบระบบทำาความเย็นและปรับอากาศ
ภายใต้การวิเคราะห์ตามลักษณะงาน (2543)
5 กิติชัย เตมียกุล
แนวทางการลดต้นทุนของโรงงานผลิตชิน ้ ส่วน
ยานยนต์ตามทัศนะของผู้บริหารสูงสุดของ
โรงงาน (2543)
9. รายวิชาเทคโนโลยีการผลิต
การพัฒนาระบบสารสนเทศสำาหรับโรงงาน
1 ประดิษฐ์ คุ้มเมธา
ผลิตท่อ PVC (2541) ปรีชา ด้วงน้ อย
2 การเพิ่มผลผลิตของสายการประกอบแบตเตอรี่
รถยนต์ด้วยระบบการบำารุงรักษาเชิงป้ องกัน
ไพรวัลย์ กอมหา
และการปรับปรุงกระบวนการผลิต (2541) สิทธิกุล
3
การศึกษาดัชนี การใช้พลังงานสำาหรับโรงงาน
ฆ่าและชำาแหละไก่ (2541) กิตติภัฏ รัตน
4 ผลกระทบจากดรอว์บด ี ในการขึ้นรูปโลหะแผ่น จันทร์
(2542) สมศักดิ ์ ปานสกุล
5
ผลกระทบอุณหภูมิอบคืนตัวของเหล็กกล้าเครื่
อมืองานเย็นที่มีต่อการสึกหรอและความ ชรินทร์ สิงห์นิล
107

6 เหนี ยว (2542) แสงอรุณ ภูตา

7 การปรับปรุงกระบวนการเพิ่มผลผลิตธนบัตร
(2542) กิตติเดช ลียะ
วณิ ชย์
การปรับปรุงการผลิตแผ่นและกล่องกระดาษ
8
ลูกฟูก : กรณี ศึกษาบริษัททีเปเปอร์อินดัสเตรี
ชัยยุทธ บูรณะ
ยลจำากัด (2542) สิงห์
9 การสร้างและหาประสิทธิภาพชุดฝึ กอบรมการ
ประกันคุณภาพการควบคุมกระบวนการผลิต
รัตนาวลี เมือง
ถังรับแรงดัน (2542) เชียงหวาน
ออกแบบและพัฒนาต้นแบบชุดเฟื องสำาหรับรถ
1 ไถเดินตามชนิ ด 4 เกียร์ (2543)
0 การพัฒนาแบบจำาลองทางคณิ ตศาสตร์เพื่อใช้
ในการวางแผนการใช้เทคโนโลยีการผลิตที่
เหมาะสม (2543)

15.5 ฐานขูอมูล Online


ฐานข้อมูล Online ของมหาวิทยาลัย มีดังนี้
1. ฐานข้อมูล OCLC สำาหรับวิทยานิ พนธ์ภาษาอังกฤษ
2. ฐานข้อมูล http://www.ara.rint.ac.th สำาหรับ ข้อมูล
บรรณานุกรม
3. ฐานข้อมูลวิทยานิ พนธ์ ในรูปแบบ CD-Rom บริการที่
้ 5 สำานั กวิทยบริการ
ฝ่ ายบริการตอบคำาถามและช่วยค้นคว้า ชัน
มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
108

ลำาดั ชื่อเรื่อง
บที่
1 การวิจัย
ความสัมพันธ์ระหว่างการวิจย

2 บุคลิกภาพ
3 ทฤษฎีการเรียนรู้
ความแตกต่างระหว่างบุคคล
4 การพัฒนาบุคลิกภาพเพื่อประสิทธิภาพในการทำางาน
การพัฒนาจริยธรรมในเมืองไทย
5
การวางแผนการผลิต
6 เทคนิ คการบริหารการผลิต
7 การจัดทำาระบบคุณภาพ ISO 9000

8 ISO 9000

9 พ.ร.บ.การส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม พ.ศ. 2535


การบริหารความปลอดภัยในโรงงานอุตสาหกรรม
10 ความปลอดภัย
11 RECYCLE
12 ปั ญหาสิ่งแวดล้อม
วิธีสอนสื่อกับกลุ่มการทำางานพื้นฐานอาชีพ
13 อันตรายจากเสียง
14 สถานการณ์ส่ิงแวดล้อมไทย
ระบบบำาบัดนำ ้ าเสีย
15
โลหะวิทยาสำาหรับบุคคลทัว่ ไป NO. 4/6, NO. 1/6, NO. 6/6,
16
NO. 5/6, NO. 3/6, NO. 2/6 หนั งสืออ้างอิงการเขียนรายงาน
17 การพัฒนาบุคลิกภาพการพูดในที่ชุมชน
18
19
20
21
109

22
23
ลำาดั ชื่อเรื่อง
บที่
54 การบริหารความปลอดภัยในโรงงาน
องค์ประกอบการเพิ่มผลผลิต QCDSMEE
55
5 ส เพื่อการเพิ่มผลผลิต QCDSMEE
56
5 ส หลักการ 5 ส
57
Safety : ความปลอดภัย
58
Internal customer : ลูกค้าภายใน
59
Benchmarking ทางลัดสู่ความเป็ นเลิศ
60
การทำางานเป็ นทีม
61 การลดต้นทุนการผลิต
62

16. งบประมาณ

การจั ด การศึ ก ษาระดั บ บั ณ ฑิ ต ศึ ก ษาหลั ก ส่ ต รครุ ศ าสตรมหา


บั ณ ฑิ ต สาขาวิ ช าเทคโนโลยี อุ ต สาหกรรมตามโครงการมี ร าย
ล ะ เ อี ย ด ข อ ง ง บ ป ร ะ ม า ณ ดั ง นี้

หมวดเงิน งบประมาณ
2548 2549 2550 2551 2552
ค่าตอบแทน 650,00 700,00 750,000 800,00 850,000
0 0 0
ค่าใช้สอย 70,000 75,000 80,000 85,000 90,000
110
ค่าวัสดุและ 100,00 150,00 150,000 200,00 200,000
ค่าใช้จา่ ยอื่น
ๆ 0 0 0
รวมงบ 820,00 925,00 980,000 1,085,0 1,140,00
ดำาเนิ นการ 0 0 00 0
ค่าครุภัณฑ์ 200,00 200,00 250,000 250,00 300,000
0 0 0
รวมทัง้ สิน
้ 1,020,0 1,125,0 1,230,00 1,335,0 1,440,00
00 00 0 00 0

17. โครงสรูางหลักสูตร
17.1 จำานวนหน่ วยกิต
ห ลั ก ส่ ต ร ค รุ ศ า ส ต ร ม ห า บั ณ ฑิ ต ส า ข า วิ ช า เ ท ค โ น โ ล ยี
อุตสาหกรรม มีจำา นวนหน่วยกิตทั้งหมดตลอดหลักส่ตรต้องเรียน
ไ ม่ น้ อ ย ก ว่ า 45 ห น่ ว ย กิ ต ดั ง นี้
17.1 แผน ก (2) ทำา วิ ท ยานิ พนธ์ 12 หน่ ว ยกิ ต เรีย น
ห ม ว ด วิ ช า สั ม พั น ธ์
111

ไม่น้อยกว่า 10 หน่วยกิต หมวดวิชาเฉพาะด้านไม่น้อยกว่า 19


หน่ ว ยกิ ต และหมวดวิ ช าเลื อ กเสรี ไ ม่ น้ อ ยกว่ า 4 หน่ ว ยกิ ต
ป ร ะ ก อ บ ด้ ว ย
17.2 โครงสรูางหลักสูตร
หลักสูตรครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีอต
ุ สาหกรรม
มีสด
ั ส่วนจำานวนหน่วยกิต แยกตามแผนการเรียนและหมวดวิชาดังนี้

หมวดวิชา แผน ก (2)


17.2.1 หมวดวิชาสัมพันธ์ 10
17.2.2 หมวดวิชาเฉพาะด้าน 19
(1)วิทยานิ พนธ์ 12
(2)ภาคนิ พนธ์ -
17.2.3 หมวดวิชาเลือก 4
เสรี
รวม 45

17.3 การจัดการเรียนการสอน

17.3.1 หมวดวิชาสัมพันธ์ ให้เรียนไม่น้อยกว่า


10 หน่ วยกิต
(1) วิชาบังคับ ให้เรียน 7 หน่ วยกิต ประกอบด้วย
5505201 ปรัชญาอาชีวะ อุตสาหกรรมและ
เทคโนโลยีศึกษา 2(2-0)
1045401 ระเบียบวิธีการวิจัย
3(3-0)
112

4415201 สถิติเพื่อการวิจัย
2(2-0)
(2) วิชาเลือก ให้เรียนไม่น้อยกว่า 3 หน่ วยกิตประกอบ
ด้วย
5505801 จริยธรรมวิชาชีพ
2(2-0)
5515603 การพัฒนาเทคโนโลยีท่ีเหมาะสม
2(2-0)
5505302 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการวิจัย
2(1-2)
5506902 การสัมมนางานวิจัย
2(1-2)
17.3.2 หมวดวิชาเฉพาะดูาน
แผน ก(2) เรียนไม่น้อยกว่า
19 หน่ วยกิต
แผน ข เรียนไม่น้อยกว่า
23 หน่ วยกิต
(1) วิชาบังคับร่วม แผน ก (2) และแผน ข
เรียน 10 หน่ วยกิต
5505401 การพัฒนาหลักสูตรเทคโนโลยี
อุตสาหกรรม 2(2-0)
5505202 การพัฒนาการสอนเทคโนโลยี
อุตสาหกรรม 2(1-2)
113

5515503 การจัดองค์การและบริหารอุตสาหกรรม
3(3-0)
5516601 การวิจัยพัฒนาเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
3(2-2)
(2) วิชาเลือก แผน ก (2) เรียนไม่น้อยกว่า
9 หน่ วยกิต แผน ข เรียนไม่น้อยกว่า 13 หน่ วยกิต โดยให้เลือกเรียน
กลุ่มใดกลุ่มหนึ่ งต่อไปนี้

กลุ่มบริหารงานอุตสาหกรรม
5515501 เศรษฐศาสตร์อุตสาหกรรม 3(3-0)
5515502 สังคมอุตสาหกรรมและเทคโนโลยี 2(2-0)
5516501 มนุษยสัมพันธ์การบริหารงาน
อุตสาหกรรม 3(3-0)
5515602 การวางแผนและพัฒนาเทคโนโลยี
อุตสาหกรรม 2(2-0)
5516301 การควบคุมคุณภาพงานอุตสาหกรรม
3(3-0)
5516901 การสัมมนาการบริหารเทคโนโลยี 3(2-2)
5515301 การบริหารจัดการในโรงงาน 3(3-0)
5515302 การผลิตและการบริหารการดำาเนิ นการ
3(3-0)
5516503 การวิเคราะห์การลงทุนทางอุตสาหกรรม
3(3-0)
114

5506203 การฝึ กอบรมและพัฒนาทรัพยากรมนุษย์


3(2-2)

กลุ่มหลักสูตรและการสอนเทคโนโลยี
อุตสาหกรรม
5505402 การวิเคราะห์หลักสูตรเทคโนโลยี
อุตสาหกรรม 3(2-2)
5505203 นวัตกรรมการสอนเทคโนโลยี
อุตสาหกรรม 3(2-2)
5505204 การพัฒนาแผนการสอนเทคโนโลยี
อุตสาหกรรม 3(2-2)
5506201 การวัดและการประเมินผลการสอน
เทคโนโลยีอุตสาหกรรม
2(2-0)
5515307 หลักการเทคโนโลยีศึกษา 2(2-0)
5506301 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการศึกษา
2(1-2)
5506901 การสัมมนาการสอนเทคโนโลยี
อุตสาหกรรม 3(2-2)
5516502 การบริหารและการนิ เทศเทคโนโลยี
อุตสาหกรรม 3(3-0)
5506401 เทคโนโลยีอุตสาหกรรมเปรียบเทียบ
2(1-2)
115
กลุ่มออกแบบและเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
ให้เลือกเรียนจากรายวิชาต่อไปนี้ตามคำาแนะนำ าของอาจารย์ท่ป
ี รึกษา
หรือกรรมการบริหารหลักสูตร
1. รายวิชาพัฒนางานเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
5515604 การวิเคราะห์ระบบงานอุตสาหกรรม
3(3-0)
5515605 คอมพิวเตอร์เพื่อพัฒนาเทคโนโลยี
อุตสาหกรรม 3(2-2)
5516302 การพัฒนาและกระบวนการผลิตงานสู่
มาตรฐานสากล 3(3-0)
5516902 การสัมมนาเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
3(2-2)

2. รายวิชาเทคโนโลยีเซรามิกส์
5525401 เทคโนโลยีเตาและการเผา 3(2-2)
5526501 เทคโนโลยีการเคลือบและเนื้ อดินปั ้ น
3(2-2)
5525501 ความก้าวหน้ าในการเตรียมวัสดุ 2(1-2)
5525301 กระบวนการขึ้นรูปเซรามิกส์ชัน
้ สูง 3(2-2)
5526902 การวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีเซรามิกส์
3(2-2)
5526901 การสัมมนาเทคโนโลยีเซรามิกส์ 3(2-2)
116

3. รายวิชาการออกแบบผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม
5545101 เทคโนโลยีการออกแบบลิตภัณฑ์
อุตสาหกรรมชัน
้ สูง 3(3-0)
5545102 คอมพิวเตอร์ในการออกแบบผลิตภัณฑ์
3(2-2)
5546902 การวิจัยและพัฒนาการออกแบบ
ผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม 3(2-2)
5546901 การสัมมนาการออกแบบผลิตภัณฑ์
อุตสาหกรรม 3(2-2)

ง. รายวิชาเทคโนโลยีสถาปั ตยกรรม
5556902 การวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยี
สถาปั ตยกรรม 3(2-2)
5555401 สถาปั ตยกรรมและการก่อสร้างชัน
้ สูง
3(2-2)
5555501 การวางผังบริเวณอาคารทางการศึกษา
3(2-2)
5555101 คอมพิวเตอร์เพื่อการออกแบบ
สถาปั ตยกรรม 2(1-2)
5556901 การสัมมนาเทคโนโลยีสถาปั ตยกรรม
3(2-2)
117

จ. รายวิชาเทคโนโลยีก่อสร้าง
5566902 การวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีชัน
้ สูง
3(2-2)
5565301 เทคโนโลยีการพัฒนางานครุภัณฑ์3(2-2)
5565701 การบริหารงานก่อสร้างยุคใหม่ 2(2-0)
5565401 เทคโนโลยีงานคอนกรีต 3(3-0)
5566901 การสัมมนาเทคโนโลยีก่อสร้าง 3(2-2)

ฉ. รายวิชาเทคโนโลยีไฟฟ้ า
5576902 การ
วิจัยและการพัฒนาเทคโนโลยีไฟฟ้ า 3(2-2)
5575301 ระบบ
ควบคุมการผลิตและการสัง่ จ่าย 3(2-2)
5575302
คอมพิวเตอร์ในการควบคุม 3(2-2)
5575401
วิศวกรรมไฟฟ้ าแรงสูง 3(2-2)
5576901 การ
สัมมนาเทคโนโลยีไฟฟ้ า 3(2-2)

ช. รายวิชาเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิ กส์
5586902 การ
วิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิ กส์ 3(2-2)
118

5585401
เทคโนโลยีการออกแบบอิเล็กทรอนิ กส์ 3(2-2)
5585701
โปรแกรมคอมพิวเตอร์พัฒนางานอุตสาหกรรม
3(2-2)
5586901 การ
สัมมนาเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิ กส์ 3(2-2)

ซ. รายวิชาเทคโนโลยีเครื่องกล
5596902 การ
วิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีเครื่องกล 3(2-2)
5595501
เทคโนโลยีเครื่องกลชัน
้ สูง 3(3-0)
5595201 สมรรถ
ของโรงานต้นกำาลัง 3(3-0)
5595101
เทคโนโลยีพลังงานแลสิ่งแวดล้อม 3(3-0)
5596901 การ
สัมมนาเทคโนโลยีเครื่องกล 3(2-2)

ฌ. รายวิชาเทคโนโลยีการผลิต
5615102 โลหะ
วิทยาชัน
้ สูง 3(3-0)
5615201
เทคโนโลยีการเชื่อมโลหะ 3(2-2)
119

5616902 ปั ญหา
พิเศษเทคโนโลยีการผลิต 3(2-2)
5615101
เทคโนโลยีวัสดุ 3(3-0)
5616901 การ
สัมมนาเทคโนโลยีการผลิต 3(2-2)

17.3.3 วิทยานิ พนธ์


12 หน่ วยกิต
นั กศึกษาที่ศึกษาตาม แผน ก (2) ต้องทำาวิทยานิ พนธ์
โดยสามารถลงทะเบียนได้ครัง้ ละไม่น้อยกว่า 3 หน่ วยกิต จนครบ
จำานวน 12 หน่ วยกิต
17.3.4 ภาคนิ พนธ์
นั กศึกษาที่ศึกษาตามแผน ข ต้องทำาภาคนิ พนธ์หรือการ
ศึกษาอิสระ จำานวน 8 หน่ วยกิต
17.3.5 หมวดวิชาเลือกเสรี เลือกเรียนไม่น้อยกว่า
4 หน่ วยกิต
นั กศึกษาสามารถเลือกเรียนวิชาใด ๆ จากรายวิชาใน
หลักสูตร ตามคำาแนะนำ าจากอาจารย์ท่ป
ี รึกษา โดยความเห็นชอบของ
กรรมการบริหารหลักสูตร

คำาอธิบายรายวิชา หมวดวิชาสัมพันธ์

5505201 ปรัชญาอาชีวะ อุตสาหกรรมและเทคโนโลยีศึกษา


2(2-0)
120

Philosophy of vocational Industrial and Technology


Education
ประวัติ ปรัชญาอาชีวศึกษา อุตสาหกรรมศึกษาและ
เทคโนโลยีศึกษา การศึกษาอาชีพ (Occupational Education) การ
ศึกษาเพื่ออาชีพ (Career Education) ความและความสัมพันธ์และ
ความแตกต่างระหว่างการศึกษาสายสามัญและสายอาชีพ ศึกษาองค์
ประกอบ ปั จจัย และแนวโน้ มการเปลี่ยนแปลงต่าง ๆ ที่ส่งผลต่อการ
จัดการศึกษาในประเทศไทย และประเทศต่าง ๆ โดยเน้ นถึงปรัชญา
หลักสูตรการเรียนการสอน การจัดโปรแกรมการศึกษา การฝึ กอบรม
คณาจารย์ และผู้บริหารการศึกษา

1045401 ระเบียบการวิธีวิจัย
3(3-0)
Research Methodology
แนวคิดและหลักการเกี่ยวกับการวิจัย ประเภทของการวิจัย
ลักษณะของขัน ้ ตอนต่าง ๆในโครงการวิจัย การกำาหนดปั ญหา การ
วิเคราะห์ตัวแปร สมมุติฐานการวิจัย เครื่องมือ และเทคนิ คสำาหรับการ
รวบรวมข้อมูล การสร้างเครื่องมือการวิจย
ั ประชากรและเทคนิ คการ
สุ่มตัวอย่าง การรวบรวมและจัดทำาข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูล และการ
แปลความหมาย การวางแผนทำาเค้าโครงการวิจัยและรายงานการวิจัย

4415201 สถิติเพื่อการวิจัย
2(2-0)
Statistics for Research
ความจำาเป็ นของสถิติต่อการวิจัย ทบทวนสถิติพ้ืนฐาน ได้แก่
ค่าเฉลี่ย ร้อยละค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และอื่น ๆ ตลอดจนสถิติท่ีใช้
121
ในการวิเคราะห์ความแปรปรวน สหสัมพันธ์ การทดสอบสมมุติฐาน
ทางสถิติ เช่น F-Test t-Test chi-square ANOVA เป็ นต้น

5505801 จริยธรรมวิชาชีพ
2(2-0)
Professional Ethics
ศึกษาเกี่ยวกับสิ่งที่มีอยู่ และสิ่งที่ควรจะเป็ น ความหมายของ
คำาว่า “ความดี” ความหมายของคำาว่า “จริยธรรม” ทัง้ ในด้านศีลธรรม
และจรรยาในวิชาชีพ การพิจารณาการเลือกศีลธรรมและจรรยาที่เหมาะ
สมกับวิชาชีพของตน การพิจารณาและจรรยาในวิชาชีพที่ใช้อยู่ใน
ปั จจุบัน รวมทัง้ จรรยาที่เหมาะสมของวิชาชีพชัน ้ สูงอื่น ๆ โดยอาจจะนำ า
มาปรับปรุงและประยุกต์ใช้ได้

5515603 การพัฒนาเทคโนโลยีท่ีเหมาะสม
2(2-0)
Appropriate Technology Development
ศึกษาภูมิปัญญาชาวบ้าน สังคมชนบทเพื่อพัฒนาเทคโนโลยี
อาชีพที่เหมาะสม สำาหรับท้องถิ่นและการถ่ายทอดเทคโนโลยีท่ีเอื้อต่อ
การพัฒนาการเรียนการสอนและการนำ าไปใช้ในการดำารงชีวิตและ
ประกอบอาชีพ

5505302 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการวิจัย
2(1-2)
Information Technology for Research
ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ แหล่งและการใช้เทคโนโลยี
สารสนเทศเพื่อการศึกษาวิจยั และการแก้ปัญหาการวิจัยศึกษาและเลือก
ใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ท่ีเหมาะสมกับปั ญหาวิจัย
122

5506902 การสัมมนางานวิจัย
2(1-2)
Seminar on Research
ศึกษาค้นคว้างานวิจัยทัง้ ในและต่างประเทศ วิเคราะห์
วิจารณ์ เกี่ยวกับผลการวิจัยเสนอแนวคิดเกี่ยวกับงานวิจัยทาง
เทคโนโลยีอุตสาหกรรม จัดสัมมนาเกี่ยวกับการวิจัย นำ าผลการสัมมนา
เพื่อเป็ นแนวทางการทำาวิทยานิ พนธ์

คำาอธิบายรายวิชา หมวดวิชาเฉพาะดูาน

5505401 การพัฒนาหลักสูตรเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
2(2-0)
Curriculum Development for Industrial Technology
การวิเคราะห์ทฤษฎีและหลักการพัฒนาหลักสูตรศึกษา สำารวจ
ความต้องการ และแนวโน้ มของหลักสูตร การจัดหลักสูตรอุตสาหกรรม
และเทคโนโลยีในปั จจุบัน ศึกษาปั จจัย และองค์ประกอบต่าง ๆ ที่มีผล
ต่อการพัฒนาหลักสูตร การวิเคราะห์องค์ประกอบของหลักสูตร
แนวทางในการพัฒนาและปรับปรุงหลักสูตรอุตสาหกรรมและ
เทคโนโลยีทัง้ ในระบบและนอกระบบการศึกษา

5505202 การพัฒนาการสอนเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
2(1-2)
Instructional Development for Industrial Technology
วิเคราะห์เนื้ อหาในหลักส่ตร ทฤษฎีการเรียนร้่ จุด
ประสงค์ การสอนการจัดกิจกรรมการเรียน ศึกษาและทดลอง นำา
เทคโนโลยีมาปรับปรุง และพัฒนาใช้ กับกิจกรรมการเรียน ฝึ ก
123

ทักษะการสอนตามเนื้ อหาหลักส่ตร ประเมินผล วิจารณ์การสอน


และใช้เทคโนโลยีรว่ มกัน

5515503 การจัดองค์การและบริหารอุตสาหกรรม
3(3-0)
Industrial Organization and Management
หลักการและกระบวนการจัดและบริหารองค์การทาง
อุตสาหกรรม การวางแผนด้านบุคลากร งบประมาณ การลงทุน
ระบบและวิธีการผลิต การตลาด กระบวนการฝึ กอบรมเพิ่มเติมการ
เลื่อนตำาแหน่ ง สวัสดิการของพนั กงาน กฎหมาย และระเบียบในทาง
อุตสาหกรรม

5516601 การวิจัยพัฒนาเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
3(2-2)
Research and Development in Industrial Technology
การศึกษาความเป็ นมาของเทคโนโลยีธรรมชาติและองค์
ประกอบของเทคโนโลยีความสัมพันธ์การศึกษากับเทคโนโลยี ศึกษา
ค้นคว้าและวิจัยความก้าวหน้ าทางเทคโนโลยีอุตสาหกรรมประเภทต่าง
ๆ ตามความสนใจของผู้เรียน ได้แก่ การสื่อสาร การพลังงาน การ
ก่อสร้าง และ / หรือการผลิตทางอุตสาหกรรม เพื่อนำ าผลที่ได้มา
ประยุกต์ และพัฒนาเทคโนโลยีอุตสาหกรรม

คำาอธิบายรายวิชา กลุ่มการบริหารงานอุตสาหกรรม

5515501 เศรษฐศาสตร์อุตสาหกรรม
3(3-0)
124

Industrial Economics
ความหมาย ความสำาคัญ ขอบเขต องค์ประกอบของ
เศรษฐศาสตร์อุตสาหกรรมการวางแผนอุตสาหกรรมตามหลัก
เศรษฐศาสตร์ ความสำาคัญของอุตสาหกรรมต่อเศรษฐกิจของประเทศ
การพัฒนาอุตสาหกรรมให้สอดคล้องกับสภาวะและการเปลี่ยนแปลง
ทางเศรษฐกิจ

5515502 สังคมอุตสาหกรรมและเทคโนโลยี
2(2-0)
Industrial and Technological Sociology
ศึกษาสังคมในวงการอุตสาหกรรมและเทคโนโลยีการปฏิบัติ
งาน อำานาจการประสานงานแบบในระบบ และนอกระบบ การจัด
บุคลากรที่เหมาะสมมาปฏิบัติงาน การพัฒนาบุคลากรในสังคม
อุตสาหกรรมปั จจุบันและแนวโน้ มในสังคมเทคโนโลยีท่ีเป็ นปั จจัยและ
องค์ประกอบในการพัฒนาสังคมและเทคโนโลยี

5516501 มนุษยสัมพันธ์การบริหารงานอุตสาหกรรม
3(3-0)
Human Relation in Industrial Management
ศึกษาองค์ประกอบการบริหารอุตสาหกรรม หลักและ
แนวคิดเกี่ยวกับมนุษยสัมพันธ์ งานกลุ่มสัมพันธ์ ความเป็ นผู้นำา
ความพึงพอใจ ขวัญและแรงจูงใจ การประเมินผลตนเอง ความเข้าใจ
ตนเองและผู้อ่ ืน ตลอดจนการประยุกต์ความรู้ไปใช้ในการสร้าง
มนุษยสัมพันธ์การบริหารงานอุตสาหกรรมการผลิตและการบริการ

5515602 การวางแผนและพัฒนาเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
2(2-0)
Planning and Development for Industrial Technology
125
ระบบ หลักการและเทคนิ ควิธีการวางแผนวิเคราะห์ข้อ
สนเทศต่าง ๆ ที่มีผลกระทบต่อการวางแผนเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
ศึกษาการวางแผนพัฒนา และดำาเนิ นการในด้านบุคลากร อาคาร
สถานที่ เครื่องมือ อุปกรณ์ งบประมาณที่ใช้ในวงการอุตสาหกรรม
และสถานศึกษา

5516301 การควบคุมคุณภาพงานอุตสาหกรรม
3(3-0)
Quality Control in Industry
ประวัติเบื้ องต้นเกี่ยวกับการควบคุมคุณภาพของผลิตภัณฑ์
ในงานอุตสาหกรรม การประยุกต์กระบวน การควบคุมคุณภาพ
หลักการในงานควบคุมคุณภาพ การสร้างกลุ่มคุณภาพ การ
ควบคุมคุณภาพแบบสมดุลย์ การบริหารคุณภาพ ตลอดจนศึกษา
การควบคุมคุณภาพเชิงสถิติ

5516901 การสัมมนาการบริหารเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
3(2-2)
Seminar on Industrial Technology Management
ศึกษา วิเคราะห์ และอภิปราย ปั ญหาเกี่ยวกับเทคโนโลยี
อุตสาหกรรมตามสภาพการเปลี่ยนแปลงทางด้านเศรษฐกิจ สังคมและ
เทคโนโลยี นำ าผลที่ได้ มาเป็ นแนวทางพัฒนาและการบริหารเทคโนโลยี
อุตสาหกรรม
126

5515301 การบริหารจัดการในโรงงาน
3(3-0)
Plant Management
ศึกษาการจัดบริหารงานในองค์การอุตสาหกรรม การจัดและ
วางแผนโรงงานอุตสาหกรรมมาตรฐานพื้นที่ใช้งาน การจัดการสภาพ
แวดล้อมในโรงงาน เกี่ยวกับ แสง สี เสียง มลภาวะต่างๆ การจัดหาที่
ตัง้ และติดตัง้ เครื่องมือ เครื่องจักร

5515302 การผลิตและการบริหารการดำาเนิ นการ


3(3-0)
Production and Operation Management
แนวคิดเกี่ยวกับการผลิตและการดำาเนิ นงานขององค์การ
อุตสาหกรรม การวิเคราะห์ ปั ญหาการวางแผนและควบคุมการดำาเนิ น
งาน ทัง้ เชิงคุณภาพและปริมาณ กระบวนการผลิตและให้บริการ
ความสามารถการผลิตของโรงงาน การพิจารณาการตัดสินใจ การ
ควบคุมการผลิตและการดำาเนิ นการ
5516503 การวิเคราะห์การลงทุนทางอุตสาหกรรม
3(3-0)
Industrial Investment Analysis
ศึกษากระบวนการลงทุน การวิเคราะห์เกี่ยวกับตลาดและ
ตลาดเงิ น ทุ น การวิ เ คราะห์ห ลั กทรัพ ย์ การกำา หนดม่ ล ค่ า ทรัพ ย์
การกำา หนดนโยบายและแผนการบริหารลงทุน สำา หรับบุคคลและ
ส ถ า บั น ต่ า ง ๆ โ ด ย ใ ช้ ก ร ณี ศึ ก ษ า

5506203 การฝึ กอบรมและพัฒนาทรัพยากรมนุษย์


3(2-2)
127

Human Resource Development and Training


ศึกษาการวางแผนและนโยบายขององค์การและประเทศ
การสำารวจและการวิเคราะห์กำาลังคนโดยเฉพาะด้านวิทยาศาสตร์และ
เทคโนโลยี การพยากรณ์ความต้องการกำาลังคน การคัดเลือกพัฒนา
หลักสูตรการฝึ กอบรม ศึกษากระบวนการและขัน ้ ตอนพัฒนาบุคลากร
กระบวนการฝึ กอบรม การประเมินผลการฝึ กอบรม

คำาอธิบายรายวิชา กลุ่มหลักสูตรและการสอนเทคโนโลยีอุตสาหกรรม

5505402 การวิเคราะห์หลักสูตรเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
3(2-2)
Curriculum Analysis for Industrial Technology
วิเคราะห์ ปรัชญา หลักการ จุดมุ่งหมาย โครงสร้าง และ
รายละเอียด เนื้ อหาวิชาในหลักสูตรเทคโนโลยีอุตสาหกรรม ความ
สำาคัญและบทบาทของอุตสาหกรรมในระบบการศึกษา เพื่อนำ าไป
ปรับปรุงเทคโนโลยีอุตสาหกรรม ให้มีประสิทธิภาพ มุ่งเน้ นความคิด
เชิงระบบ เทคนิ คการวิเคราะห์ระบบการติดตามผล แนวคิดและข้อ
เสนอแนะในการปรับปรุงหลักสูตร

5505203 นวัตกรรมการสอนเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
3(2-2)
Innovation on Industrial Technology Instruction
ทฤษฎีพ้ืนฐานในการเรียนการสอน ประเภทของสื่อสารการ
เรียนการสอนแบบต่าง ๆ วิเคราะห์และสังเคราะห์คุณลักษณะขององค์
ประกอบของสื่อการเรียนการสอนแต่ละประเภท ศึกษาความจำาเป็ น
ของการนำ าเทคโนโลยี และนวัตกรรมมาใช้เพื่อปรับปรุงคุณภาพการ
ดำาเนิ นงาน และแก้ปัญหารวมทัง้ วิเคราะห์สังเคราะห์คุณค่าข้อดีและข้อ
เสียของเทคโนโลยีและนวัตกรรมทางการศึกษาบางประเภท เพื่อนำ าไป
ประยุกต์ใช้ในการสอนเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
128

505204 การพัฒนาแผนการสอนเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
3(2-2)
Development on Industrial Technology Instruction
ทฤษฎีและชนิ ดรูปแบบต่างๆของเทคโนโลยีการเรียนการ
สอน การเลือกเนื้ อหาวิชาการสร้างและการพัฒนาการแก้ไขบทเรียน
เพื่อให้เหมาะสมกับทฤษฎีการสอน การทำาโครงการสอนโดยนำ าทฤษฎี
มาพัฒนาและประยุกต์ใช้ในเทคโนโลยีอุตสาหกรรม

5506201 การวัดและประเมินผลการสอนเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
2(2-0)
Measurement & Evaluation forIndustrial Technology
Instruction
ประยุกต์ทฤษฎีการวัดและการประเมินผลการทางการศึกษา
มาใช้ในการประเมินผลการเรียนการสอนอุตสาหกรรมและเทคโนโลยี
การสร้างและการวิเคราะห์เครื่องมือ เพื่อวัดความสัมฤทธิผ
์ ลทางด้าน
การเรียนให้สอดคล้องกับจุดมุ่งหมายการสอน และการคิดค่าระดับ
คะแนน

5515303 หลักการเทคโนโลยีศึกษา
2(2-0)
Foundation of Technology Education
ปรัชญาแนวคิดและสาระของเทคโนโลยีศึกษา ความสัมพันธ์
และการบูรณาการห้องปฏิบัติการ อุปกรณ์และสิ่งอำานวยความสะดวกใน
กระบวนการเรียนการสอน การพัฒนาหลักสูตรยุทธศาสตร์และปฏิบัติ
การสอน และการจัดและการบริหารเทคโนโลยีศึกษา ในแต่ละระดับ
การศึกษา
129

5506301 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการศึกษา
2(1-2)
Information Technology for Education
ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเกี่ยวกับการศึกษา การใช้
คอมพิวเตอร์เพื่อช่วยในบริหารและการพัฒนาการเรียนการสอน ได้แก่
คอมพิวเตอร์กราฟิ ก (Graphic Computer) อินเตอร์เน็ต (Internet )
อีเมล์ (E – mail) ระบบสื่อการสอนทางไกล (Video Conference
System)

5506901 การสัมมนาการสอนเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
3(2-2)
Seminar on Industrial Technology Instruction
อภิปรายเกี่ยวกับทฤษฎี และรูปแบบและยุทธวิธีในการจัดทำา
แผนการเรียนการสอนเทคโนโลยีอุตสาหกรรม จัดการสัมมนาและ
ร่วมฟั งการสัมมนาพร้อมสรุปผลและข้อเสนอแนะเพื่อพัฒนาและ
ปรับปรุงการเรียนการสอนที่เหมาะสมต่อไป
5516502 การบริหารและการนิ เทศเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
3(3-0)
Administration and Supervision in Industrial
Technology
หลักการและวิธีการบริหารและการนำ าเทคโนโลยี
อุตสาหกรรม โครงสร้างการบริหารและการนิ เทศ บทบาทและอำานาจ
หน้ าที่ของผู้บริหารระดับต่าง ๆ วิเคราะห์ปัญหาและแนวโน้ มในการ
จัดการศึกษาเทคโนโลยีอุตสาหกรรม การให้คำาปรึกษาและการ
แนะแนวอาชีพ ตลอดจนปั ญหาที่เกี่ยวข้อง รวมทัง้ ความร่วมมือ
ระหว่างสถาบันการศึกษากับแหล่งประกอบการอุตสาหกรรม
130

5506401 เทคโนโลยีอ่ตสาหกรรมศึกษาเปรียบเทียบ
2(1-2)
Comparative Industrial Technology Education
เปรียบเทียบ ปรัชญา และหลักการจัดการศึกษาเทคโนโลยี
อุตสาหกรรมตลอดจนวิเคราะห์บทบาทของเทคโนโลยีอุตสาหกรรมกับ
การพัฒนาประเทศ สำาหรับประเทศที่น่าสนใจ ได้แก่ สหรัฐอเมริกา
อังกฤษ สหภาพโซเวียต สหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมัน ออสเตรเลีย
ญี่ปุ่น สิงคโปร์ เกาหลีใต้ และประเทศไทยเน้ นถึงการจัดการบริหาร
และแนวทางการปรับปรุงการจัดการอาชีวศึกษา อุตสาหกรรมศึกษา
และเทคโนโลยีศึกษา ทัง้ ในปั จจุบันและอนาคต

คำาอธิบายรายวิชา กลุ่มออกแบบและเทคโนโลยีอุตสาหกรรม

1. รายวิชาพัฒนางานเทคโนโลยีอ่ตสาหกรรม

5515604 การวิเคราะห์ระบบงานอุตสาหกรรม
3(3-0)
Industrial System Analysis
ศึกษาชนิ ดและประเภทงานอุตสาหกรรม วิเคราะห์ระบบงาน
โครงสร้างและดำาเนิ นงานอุตสาหกรรม ตลอดจนศึกษาระบบการ
วางแผนการผลิตและบริการการพัฒนาบุคลิกกร และติดตามผลโดย
คำานึ งถึงการประกันคุณภาพอุตสาหกรรม

5515605 คอมพิวเตอร์เพื่อพัฒนาเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
3(2-2)
Computer for Industrial Technology Development
ศึกษาและวิเคราะห์ระบบงานที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาการ
ผลิต การบริหารการจัดการออกแบบทางอุตสาหกรรมในสาขาวิชาที่ผู้
เรียนมีความสนใจและตัง้ ใจนำ าไปใช้งาน แล้วนำ าโปรแกรมสำาเร็จรูปที่มี
131
ในท้องตลาดหรือพัฒนาโปรแกรมที่เกี่ยวข้องแก้ปัญหาระบบงานให้
สามารถพัฒนางานทางด้านอุตสาหกรรม

5516302 การพัฒนาและกระบวนการผลิตงานสู่มาตรฐานสากล
3(3-0)
Production Process & Development for International
Standard
ศึกษากระบวนการผลิต การจัดการปั จจัยการผลิต การ
พัฒนาการผลิตทัง้ เชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ ศึกษามาตราฐานสากล
ในการประกันคุณภาพ เช่น ISO และอื่น ๆ

5516903 การสัมมนาเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
3(2-2)
Seminar on Industrial Technology
ศึกษา วิเคราะห์ อภิปราย สภาพและปั ญหาการวิจัย และ
พัฒนาทางด้านเทคโนโลยีอุตสาหกรรมตามความถนั ดและสนใจ
จัดการสัมมนารวบรวม สรุปผล เพื่อเสนอแนะและพัฒนางาน
เทคโนโลยีอุตสาหกรรม

ข. รายวิชาเทคโนโลยีเซรามิกส์

5525401 เทคโนโลยีเตาและการเผา
3(2-2)
Kiln & Firing Technology
พัฒนาการของเตาเผา ชนิ ดของเตาเผาแบบต่าง ๆ องค์
ประกอบของเตา การออกแบบเตาเผา หลักและวิธีการเผาและอุปกรณ์
ควบคุม
132

5526501 เทคโนโลยีการเคลือบและเนื้ อดินปั ้ น


3(2-2)
Ceramic Glaze Technology & Body Calculation
หลักการเคลือบ การคำานวณนำ ้ าเคลือบ การส่วนผสมของ
เนื้ อดิน ตลอดจนการทดสอบนำ ้ าเคลือบ และเนื้ อดิน

5525501 ความกูาวหนู าในการเตรียมวัสดุ


2(1-2)
Advance in Material Preparation
ศึกษาเกี่ยวกับการเตรียมวัสดุเซรามิกส์ โดยเน้ นถึง
เทคโนโลยีสมัยใหม่ เช่น การเตรียมสารเครื่องบดประสิทธิภาพสูง โดย
วิธีทางเคมี การเตรียมสารเฟอร์ไรท์ เส้นใยนำ าแสง และแผ่นฟิ ล์ม
เป็ นต้น

5525301 กระบวนการขึน
้ รูปเซรามิกส์ชัน
้ สูง
3(2-2)
Advanced Ceramics Fabrication Process
ศึกษาเกี่ยวกับการขึ้นรูปทางเซรามิกส์ โดยวิธีการใช้
เทคโนโลยีชัน
้ สูง เช่น การรีดผ่านหัวแบบการอัดแห้ง การอัดร้อน
และวิธีการ Doctor Blade เป็ นต้น

5526902 การวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีเซรามิกส์
3(2-2)
133

Research & Development in Ceramics Technology


ศึกษาปั ญหาทางเซรามิกส์ วิเคราะห์การแก้ปัญหาโดยใช้
กระบวนการวิจัย ทดลองเก็บข้อมูล วิเคราะห์ และรายงานผลการวิจัย
และพัฒนา

5566901 การสัมมนาเทคโนโลยีเซรามิกส์
3(2-2)
Seminar on Ceramics Technology
ศึกษาผลงานวิจัย วิเคราะห์ปัญหาจัดโครงการสัมมนาโดย
เชิญผู้ทรงคุณวุฒิมาร่วม สรุปผลการแก้ปัญหา ข้อเสนอแนะ เพื่อการ
พัฒนาต่อไป

ค. รายวิชาการออกแบบผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม

5545101 เทคโนโลยีการออกแบบผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมชัน
้ สูง
3(3-0)
Advanced Industrial Product Design Technology
ศึกษานวัตกรรมและเทคโนโลยีการออกแบบผลิตภัณฑ์
อุตสาหกรรม การวิเคราะห์ การวางแผน กระบวนการทำางานของการ
ออกกแบบผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม การนำ าเสนอโครงการที่เกี่ยวข้อง
กับเทคโนโลยีใหม่ ๆ และ/หรือ เรื่องที่น่าสนใจในปั จจุบัน ตลอดจนการ
วิเคราะห์และแก้ปัญหาในงานออกแบบผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมใน
ลักษณะสร้างสรรค์เฉพาะตน

5545102 คอมพิวเตอร์ในการออกแบบผลิตภัณฑ์
3(2-2)
Computer Application on Product Design
134
ศึกษาเกี่ยวกับระบบคอมพิวเตอร์ หน่ วยประมวลผลกลาง
หน่ วยความจำาและเครื่องประกอบการใช้คอมพิวเตอร์ การนำ า
คอมพิวเตอร์มาช่วยในการออกแบบ เขียนแบบช่วยการผลิต การ
คำานวณและการแก้ปัญหาในการออกแบบ

5546902 การวิจัยและพัฒนาการออกแบบผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม
3(2-2)
Research & Development in Industrial Product
Design
ศึกษาค้นคว้า วิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีในการออกแบบ
ผลิตภัณฑ์ ศึกษาอิทธิพลต่าง ๆ ทัง้ ทางด้านเศรษฐกิจสังคม และ
เทคโนโลยี ที่มีผลต่อการออกแบบผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม

5546901 การสัมมนาการออกแบบผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม
3(2-2)
Seminar on Industrial Product Design
ศึ ก ษาแนวคิ ด และวิ ธี ก ารใหม่ ๆ ทางการออกแบบโดย
ศึกษาตำารา บทความ ผลงานวิจัย ผลการทดลอง และหาข้อม่ล
ต่ า ง ๆ โดยพบปะ อภิ ป รายกั บ ผ้่ ท รงคุ ณ วุ ฒิ แ ละผ้่ เ กี่ ย วข้ อ ง
ดำาเนิ นการประชุมสัมมนาอภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็นและข้อ
เสนอแนะใหม่ ๆ พร้อมทั้งสรุปผลเพื่อเสนอแนวทางในการพัฒนา
ผ ลิ ต ภั ณ ฑ์

ง. รายวิชาเทคโนโลยีสถาปั ตยกรรม
135

5556902 การวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีสถาปั ตยกรรม


3(2-2)
Research & Development in Architectural
Technology
ศึกษาพัฒนาการทางด้านสถาปั ตยกรรม วิเคราะห์และศึกษา
พัฒนารูปแบบสถาปั ตยกรรมที่เหมาะสม สัมมนาและรายงานผลการ
ศึกษาวิจัย

5555401 สถาปั ตยกรรมและการก่อสรูางชัน


้ สูง
3(2-2)
Advanced Architecture & Construction
ศึกษานวัตกรรมทางเทคโนโลยีการก่อสร้าง การใช้
้ ส่วนและอาคารสำาเร็จรูป (Prefabrication) การ
เครื่องจักรกล ชิน
วิเคราะห์กระบวนการของระบบการก่อสร้าง การก่อสร้างทัง้ ในและ
นอกสถานที่ ระบบการก่อสร้างที่เหมาะสมสำาหรับประเทศที่พัฒนาแล้ว
และกำาลังพัฒนา

5555501 การวางผังบริเวณอาคารทางการศึกษา
3(2-2)
Educational Building Planning
ศึกษาอิทธิพลต่าง ๆ ทัง้ ทางด้านเศรษฐกิจ เทคโนโลยี และ
สังคม ที่มีผลต่อการออกแบบอาคารทางการศึกษา การวิเคราะห์
กระบวนการออกแบบทาง สถาปั ตย์

5555101 คอมพิวเตอร์เพื่อการออกแบบสถาปั ตยกรรม


2(1-2)
Computer Aided Design for Architecture
136
ศึกษาการใช้คอมพิวเตอร์ในงานออกแบบและเขียนแบบงาน
ทัว่ ๆ ไป โดยอาศัยโปรแกรมสำาเร็จรูปต่าง ๆ

5556901 การสัมมนาเทคโนโลยีสถาปั ตยกรรม


3(2-2)
Seminar on Architectural Technology
ศึกษาสำารวจปั ญหา จัดร่วมฟั งการสัมมนา ด้านงาน
สถาปั ตยกรรมสรุปผลข้อเสนอแนะและแนวทางแก้ปัญหานั้ น ๆ

จ. รายวิชาเทคโนโลยีก่อสรูาง

5566902 การวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีก่อสรูาง
3(2-2)
Research & Development in Construction
Technology
ศึกษาพัฒนาการก่อสร้างตัง้ แต่อดีตจนถึงปั จจุบัน วิเคราะห์
เทคนิ คและเทคโนโลยีใหม่ ๆที่นำามาใช้ในการก่อสร้าง ศึกษาการจัด
และวางแผนก่อสร้าง สัมมนางานวิจัยและพัฒนาด้านงาน ก่อสร้าง

5565301 เทคโนโลยีการพัฒนางานครุภัณฑ์
3(2-2)
Furniture Technology Development
ศึกษาพัฒนาการของครุภัณฑ์ ในอดีตจนถึงปั จจุบันและแนว
โน้ มในอนาคตวัสดุและเทคโนโลยีใหม่ ในการทำาครุภัณฑ์
137

5565701 การบริหารงานก่อสรูางยุคใหม่
2(2-0)
Modern Construction Management
หลักการจัด และ บริหารองค์การ การจัดบริหารปั จจัยการ
ผลิตใน การก่อสร้าง การวางแผนงานก่อสร้าง กลยุทธ์ในการ
วางแผนก่อสร้าง เช่น PERT/CPM เป็ นต้น

5565401 เทคโนโลยีงานคอนกรีต
3(3-0)
Concrete Technology
องค์ประกอบและคุณสมบัติของคอนกรีตที่ได้มาตรฐาน
วิเคราะห์ปรับปรุงคุณภาพของคอนกรีต

5566901 การสัมมนาเทคโนโลยีก่อสรูาง
3(2-2)
Seminar on Construction Technology
การศึกษาความเคลื่อนไหวในวงการก่อสร้าง วิเคราะห์ปัญหา
และจัดสัมมนาทางเทคโนโลยีก่อสร้าง
ฉ. รายวิชาเทคโนโลยีไฟฟู า

5576902 การวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีไฟฟู า
3(2-2)
Research & Development in Electrical Technology
ความรู้เกี่ยวกับการวิจย
ั ลักษณะขัน
้ ตอนต่าง ๆ ในโครงการ
วิจัยปั ญหาในงานไฟฟ้ า สมมุติฐาน ข้อมูล เครื่องมือ และเทคนิ คใน
การรวบรวมข้อมูล เครื่องมือการวิจัย เทคนิ คการสุ่มตัวอย่าง
แนวทางการวิจัยแบบต่าง ๆ แบบวิเคราะห์และแบบทดลอง เป็ นต้น
ศึกษาปั ญหาและวิเคราะห์ทดลอง สรุปผลการวิจัยและรายงานการวิจัย
138

5575301 ระบบการควบคุมการผลิตและการส่งจ่าย
3(2-2)
Power System & Distribution
การควบคุมการส่งจ่ายไฟฟ้ าแรงดันสูง และอุปกรณ์ท่ีใช้งาน
เกี่ยวกับการควบคุม และ การจำาหน่ าย การหาค่าความสัมพันธ์ระหว่าง
แรงดันกับกระแสไฟฟ้ าการปฏิบัติงานของเครื่องควบคุม และ งาน
บริหารติดตัง้ ต่าง ๆ

5575302 คอมพิวเตอร์ในการควบคุม
3(2-2)
Computers in Control System
โครงสร้างและหลักการคอมพิวเตอร์ หน่ วยต่าง ๆ ใน
คอมพิวเตอร์ เทคโนโลยี การเก็บข้อมูล การใช้คอมพิวเตอร์ ควบคุม
เครื่องจักรกลไฟฟ้ าในโรงงานอุตสาหกรรมในด้านต่าง ๆ

5575401 วิศวกรรมไฟฟู าแรงสูง


3(2-2)
High Voltage Engineering
แหล่งกำาเนิ ดของไฟฟ้ ากำาลัง การเปลี่ยนรูปต่าง ๆ มาเป็ น
พลังงานไฟฟ้ าหลักการและการทำางานของหม้อแปลงไฟฟ้ า การควบคุม
การผลิตและจ่ายพลังงานไฟฟ้ า

5576901 การสัมมนาเทคโนโลยีไฟฟู า
3(2-2)
Seminar on Electrical Technology
139
จัดและเข้าร่วมสัมมนา เกีย
่ วกับปั ญหาและความก้าวหน้าทาง
ด้านงานไฟฟ้ า พร้อมสรุปผลข้อเสนอแนะ เพื่อการแก้ปัญหาและพัฒนา
ต่อไป

ช. รายวิชาเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิ กส์

5586902 การวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิ กส์


3(2-2)
Research & Development in Electronics Technology
ศึกษาปั ญหาเกี่ยวกับงานอิเล็กทรอนิ กส์ วิเคราะห์
ออกแบบ วิจัยพัฒนา เพื่อแก้ปัญหาทางอิเล็กทรอนิ กส์ท่ีเหมาะสม

5585401 เทคโนโลยีการออกแบบอิเล็กทรอนิ กส์


3(2-2)
Electronics Design Technology
ลักษณะและคุณสมบัตขิ องอุปกรณ์สารกึง่ ตัวนำ า ชนิดวงจรเดีย่ ว
และ วงจรร่วมอุปกรณ์เชิงเส้น วงจรตรรกะและวงจรลำาดับชัน ้ การ
ออกแบบเพจใช้งานอุตสาหกรรม การหรีเ่ สียง การควบคุมความเร็ว คอน
เวิร์ตเตอร์ การปรับแรงดันวงจรขยาย วงจร Op – Amp เครื่องกำาเนิ ด
ความถี่แบบต่าง ๆ ของวงจรตรรกะ เทคนิคการใช้เครือ
่ งมือวัด อิทธิพล
ต่าง ๆ ในการออกแบบ การวิเคราะห์ และการประลองควบคู่กันไปกับ
ทฤษฎีต่าง ๆ

5585701 โปรแกรมคอมพิวเตอร์พัฒนางานอุตสาหกรรม
3(2-2)
Computer Program for Industrial Development
ศึกษาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ เพื่อพัฒนางานอุตสาหกรรม
ได้แก่ คอมพิวเตอร์เพื่อควบคุมเครื่องจักร โปรแกรมการออกแบบต่าง ๆ
ในงานอุตสาหกรรม
140

5586901 การสัมมนาเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิ กส์


3(2-2)
Seminar on Electronic Technology
ศึกษาปั ญหาและความก้าวหน้ าโดยจัด และเข้าร่วมการ
สัมมนาเกี่ยวกับความเคลื่อนไหวทางเทคนิ คสรุปผลและข้อเสนอแนะ
ในการแก้ปัญหานั ้น

ซ. รายวิชาเทคโนโลยีเครื่องกล

5596902 การวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีเครื่องกล
3(2-2)
Research & Development in Mechanical Technology
ศึกษาปั ญหาที่เกี่ยวกับงานเครื่องกล เทคโนโลยีใหม่เกี่ยวกับ
เครื่องกล วิเคราะห์ ออกแบบ วิจัย และพัฒนา เพื่อแก้ปัญหาให้เหมาะ
สม
5595501 เทคโนโลยีเครื่องยนต์ชัน
้ สูง
3(3-0)
Advanced Automotive Technology
การศึกษาระบบการควบคุมในระบบต่าง ๆ ของเครื่องยนต์
เช่น ระบบต้นกำาลัง ระบบส่งกำาลัง ศึกษาวัสดุพลังงานต่าง ๆ ที่ใช้กบ

เครื่องยนต์

5595201 สมรรถนะของโรงตูนกำาลัง
3(3-0)
Power Plant Performance
141
ศึกษาขบวนการของโรงต้นกำาลัง วัฏจักรที่ยุ่งยาก แฟกเตอร์
วิกฤติในการใช้เครื่องยนต์ต้นกำาลังแบบต่าง ๆ การใช้งาน เช่น ขนาดตัง้
เครื่องแฟคเตอร์ภาระงาน (Load Factor) เสียงรบกวน
มลภาวะ และ การควบคุมความเร็ว

5595101 เทคโนโลยีพลังงานและสิ่งแวดลูอม
3(3-0)
Power and Environmental Technology
ความสำาคัญของพลังงาน แหล่งพลังงานและการถ่ายทอด
พลังงานเพื่อพัฒนางานอุตสาหกรรม มลภาวะทางอุตสาหกรรม ผลกระ
ทบของมลภาวะในสิ่งแวดล้อม เช่น นำ ้ าอากาศ ของเสีย การแผ่รังสี แสง
เสียง ฯลฯ การจัดและควบคุมมลภาวะต่าง ๆ

5596901 การสัมมนาเทคโนโลยีเครื่องกล
3(2-2)
Seminar on Mechanical Technology
จัดและร่วมฟั งบรรยายและสัมมนา เกี่ยวกับความเคลื่อนไหว
ทางด้านเทคโนโลยีเครื่องกล พร้อมสรุปผล และข้อเสนอแนะเพื่อแก้
ปั ญหาและพัฒนาต่อไป

ฌ. รายวิชาเทคโนโลยีการผลิต

5615120 โลหะวิทยาชัน
้ สูง
3(3-0)
Advanced Metallurgy
ศึกษาหลักของโลหะวิทยากายภาพ ครอบคลุมถึงโครงสร้าง
ของโลหะ ขบวนการต่าง ๆ เกี่ยวกับโลหะโยเน้ นถึงพฤติกรรมเชิงกล
และ สถานะของโลหะผสมในภาวะแวดล้อมของการใช้งานต่าง ๆ
142

5615201 เทคโนโลยีการเชื่อมโลหะ
3(2-2)
Advanced Welding Technology
กรรมวิธีเชื่อมต่าง ๆ พร้อมเครื่องมือและอุปกรณ์ เชื่อมก๊าซ
พิเศษแบบต่าง ๆ เป็ น Tigmig Plasma อุลตร้าโซนิ ค และ Laser วัสดุ
ที่ใช้ในการงานเชื่อมเหล็กเหนี ยวเกรดต่าง ๆ เหล็กต่อโลหะเบา พลาสติก
เทคนิ คการเตรียมงานเชื่อมโครงสร้างและการตรวจสอบคุณภาพแนว
เชื่อมลักษณะต่าง ๆ

5616902 ปั ญหาพิเศษเทคโนโลยีการผลิต
3(2-2)
Special Problems in Production Technology
ศึกษา ค้นคว้า เป็นกล่ม
ุ หรือรายบุคคล เพือ
่ คิดแก้ปัญหา ในงาน
ด้านการผลิต

5615101 เทคโนโลยีวัสดุ
3(2-2)
Meterial Technology
ศึกษาวัสดุในทางวิศวกรรม คุณสมบัติทัง้ ทางกายภาพและ
เคมี ปั ญหาการเลือกใช้วัสดุทัง้ ทางเทคนิ คและเศรษฐศาสตร์

5616901 การสัมมนาเทคโนโลยีการผลิต
3(2-2)
Seminar on Production Technology
143
ศึกษา สำารวจ ปั ญหาจากบทความ ตำารา ผลการวิจัย จัด
ประชุมสัมมนาที่เกีย
่ วข้องกับเทคโนโลยีการผลิตโดยเชิญผ้ท
ู รงคุณวุฒม
ิ า
ร่วมอภิปราย สรุปผล ข้อเสนอแนะ และแนวทางเพื่อแก้ปัญหาและ
พัฒนา

วิทยานิ พนธ์และภาคนิ พนธ์

5506903 แผน ก (2) วิทยานิ พนธ์


12 หน่ วยกิต
Thesis
การศึกษาค้นคว้าวิจัยอย่างเป็ นระบบเกี่ยวกับการบริหาร
อุตสาหกรรม หรือการพัฒนา หลักสูตรและการสอน หรือการออกแบบ
และเทคโนโลยีอุตสาหกรรมและเขียนรายงานอย่างเป็ นระบบ โดยอยู่ใน
ความควบคุมดูแลของอาจารย์ท่ป ี รึกษา โดยแบ่งสาระดังนี้

วิทยานิ พนธ์ 1
3 หน่ วยกิต
Thesis 1
การเสนอเค้าโครงวิทยานิ พนธ์ เพื่อขออนุมัติจากหน่ วย
ประสานงานบัณฑิตศึกษา

วิทยานิ พนธ์ 2 6
หน่ วยกิต
Thesis 2
การศึกษาค้นคว้า ตามเค้าโครงที่เสนอในวิทยานิ พนธ์ 1
และเขียนรายงานการศึกษาค้น
คว้าเป็ นวิทยานิ พนธ์ฉบับสมบูรณ์
144

วิทยานิ พนธ์ 3
3 หน่ วยกิต
Thesis 3
การเสนอรายงานการศึกษาค้นคว้าแก้ไข ปรับปรุง ให้
สมบูรณ์

5506904 แผน ข. ภาคนิ พนธ์


8 หน่ วยกิต
Independent Studies
การศึกษาค้นคว้าวิจัย หรือ การศึกษาอิสระเกี่ยวกับการ
บริหารอุตสาหกรรม หรือหลักสูตร และการสอนเทคโนโลยี
อุตสาหกรรม หรือการออกแบบและเทคโนโลยีอุตสาหกรรม และการ
เขียนรายงานการศึกษาค้นคว้าโดยอยู่ในความดูแลของอาจารย์ท่ี
ปรึกษา
การสอบขูอเขียนประมวลความรูู
Comprehensive Examination
สอบความรู้เกี่ยวกับเนื้ อหาต่าง ๆ ตลอดหลักสูตร
17.4 การสอบเบื้องตูนและการสอบประมวลความรููความ
สามารถ

17.4.1 การสอบเบื้องตูน (Preliminary Examination)


คณะกรรมการบัณฑิตศึกษาประจำาสาขาวิชาวิชา จะจัดให้มีการ
สอบเบื้องต้นในภาคเรียนที่หนึ่ งของแต่ละรุ่น ในรายวิชาภาษาอังกฤษ
และวิชาชีพครูสำาหรับผ้ไู ม่มีวุฒิครูตามที่หลักสูตรกำาหนด ถ้าผู้เรียนสอบ
ไม่ผ่านตามเกณฑ์ท่ีกำาหนด ให้ลงทะเบียนเรียนตามแผนการจัดการ
เรียนการสอน

17.4.2 การสอบประมวลความรููความสามารถ
145

คณะกรรมการบัณฑิตศึกษาประจำาสาขาวิชาวิชา จะจัดให้มีการ
สอบวัดประมวลความร้่ความสามารถเป็ นครั้งแรกในภาคเรียนที่ส่ี
ของแต่ละรุ่น หลังจากนั้ นจะจัดภาคเรียนละหนึ่ งครั้งอีกจำานวน 2
ภาคเรียน รวมทั้งสิ้นจะมีการสอบประมวลความร้่ความสามารถ 3
ครั้ง สำาหรับแต่ละรุ่นผ้่เรียนจะต้องสอบให้ผ่านภายใน 3 ครั้งดัง
กล่าว หรือภายในระยะเวลาไม่เกิน 3 ปี นั บจากวันเริม
่ เข้าเรียน
มิฉะนั้ นจะหมดสภาพเป็ นนั กศึกษาตามหลักส่ตรนี้ ยกเว้นจะได้รบ

อนุ ญาตเป็ นพิเศษจากคณะกรรมการบัณฑิตศึกษาประจำาสาขาวิชา
วิชาให้อย่่ในเงื่อนไขอย่างอื่น
ผู้มีสิทธิส
์ มัครสอบประมวลความรู้ความสามารถ คือ ผู้ท่ีได้สอบ
ผ่านการสอบเบื้องต้นอย่างสมบูรณ์แล้วในภาคเรียนก่อนหน้ านี้ ผู้เรียน
ไม่อาจสมัครสอบทัง้ สองอย่างในภาคเรียนเดียวกัน
วัตถุประสงค์ของการสอบประมวลความรู้ความสามารถ คือ เพื่อ
ประเมินผลสัมฤทธิโ์ ดยรวมของผู้เรียน ทัง้ ด้านความรอบรู้ในเนื้ อหาวิชา
และด้านทักษะความสามารถปฏิบัติงาน ตามเจตนารมย์ของหลักสูตร
และเพื่อประเมินความพร้อมที่จะดำาเนิ นการทำาวิทยานิ พนธ์มหาบัณฑิต
ต่ อ ไป การสอบจึ ง มี ลั ก ษณะเป็ นการประเมิ น โดยส่ ว นใหญ่ (mainly
evaluative) แต่ อ าจมี ลั ก ษณะเป็ น การวิ เ คราะห์ เ ป็ น บางส่ ว น (partly
diagnostic) ตามที่คณะกรรมการบั ณฑิ ตศึ กษาประจำา สาขาวิช าวิ ชา
เห็นสมควร
โครงสร้ า งของการสอบ จะเป็ นไปตามที่ ค ณะกรรมการบั ณ ฑิ ต
ศึกษาประจำา สาขาวิชาวิชาจะกำา หนด อย่างไรก็ตาม โดยปกติจะไม่แบ่ง
เป็ นหมวด ๆ ตามโครงสร้ า งของหลั ก สู ตร แต่ จ ะมี ลั ก ษณะบู ร ณาการ
หลักวิชาต่าง ๆ เข้าด้วยกัน และจะแบ่งเป็ นการสอบในเวลา กับการสอบ
นอกเวลา และอาจมี ก ารสอบปากเปล่ า เพิ่ ม เติ ม หากคณะกรรมการ
บัณฑิตศึกษาประจำาสาขาวิชาวิชาเห็นสมควร โดยเนื้ อหาของข้อสอบทัง้
สองส่วนหรือสามส่วนที่กล่าวมาอาจเป็ นเรื่องเดียว

17.5 การทำาวิทยานิ พนธ์มหาบัณฑิต


146

การทำาวิทยานิ พนธ์มหาบัณฑิตมีจุดประสงค์เพื่อให้ผู้เรียนได้
แสดงออกซึ่งความเป็ นผู้มีความรู้ความสามารถอย่างแท้จริง และมี
ความเป็ นอิสระในการตรวจสอบความถูกต้องของแนวคิดและข้อค้นพบ
ที่มีผู้อ่ ืนได้คด
ิ และค้นพบไว้ก่อน หรือการสร้างองค์ความร้หู รือเครื่อง
มืออุปกรณ์ใหม่เพื่อแก้ปัญหาเฉพาะ ซึ่งจะช่วยให้ผู้จบการศึกษาเกิด
ความมัน ่ ใจและได้มีโอกาสในการผลิตงานที่มีคุณค่าด้านเทคโนโลยี
อุตสาหกรรมให้แก่สังคม อันจะนำ าไปปฏิบัติประยุกต์ใช้หรือนำ าไป
ศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติมทำาให้เกิดความเจริญก้าวหน้ าแก่สังคมและท้อง
ถิ่นสืบไป
ในการจัดแนวทางการทำาวิทยานิ พนธ์นั้น บุคคลหรือคณะบุคคล
ที่มหาวิทยาลัยแต่งตัง้ เพื่อให้คำาปรึกษาจะได้แนะแนวทางให้นักศึกษา
ได้ศก ึ ษาค้นคว้าเอกสารต่าง ๆ เพื่อรวบรวมข้อมูลซึ่งสามารถนำ าไป
ประกอบการแก้ปัญหาที่นักศึกษาสนใจได้ และมีกระบวนการทำา
วิทยานิ พนธ์แบ่งได้เป็ น 4 ขัน
้ ตอนใหญ่ ๆ โดยแยกเป็ น 12 ขัน
้ ตอน
ย่อย ตามการลงทะเบียนรายวิชาวิทยานิ พนธ์ซ่ ึงแบ่งเป็ น 3 ภาคเรียน
ดังนี้
17.5.1 ภาคเรียนที่ 2 ลงทะเบียนวิทยานิ พนธ์ 1 (Thesis 1)
3 หน่ วยกิต มีเป้ าหมายให้ นั กศึกษาได้หัวข้อวิทยานิ พนธ์
เป็ นการเสนอเค้าโครงวิทยานิ พนธ์เพื่อขออนุมัติจากหน่ วยประสานงาน
บัณฑิตศึกษา ซึ่งมีกระบวนการในการเลือกหัวข้อเรื่องและเสนอ
เค้าโครงดังนี้
17.5.1.1 การเลือกหัวข้อเรื่องที่สนใจ
17.5.1.2 การกำาหนดแนวทางค้นคว้าวิจัย
17.5.1.3 การเขียนเค้าโครงและขออนุมัติ
17.5.2 ภาคเรียนที่ 3 ลงทะเบียนวิทยานิ พนธ์ 2 (Thesis 2)
6 หน่ วยกิต มีเป้ าหมายให้นักศึกษาได้ศึกษาค้นคว้าตามเค้าโครงที่
เสนอในวิทยานิ พนธ์ 1 และเขียนรายงานการศึกษาค้นคว้าเป็ น
วิทยานิ พนธ์ฉบับสมบูรณ์ และนำ าเสนอให้คณะกรรมการหน่ วย
ประสานงานบัณฑิตศึกษา ซึ่งมีกระบวนการในการเตรียมเครื่องมือ
และการปฏิบัติงานสนามดังนี้
147

17.5.2.1 การกำาหนดเบื้องต้นของเครื่องมือและแหล่งข้อมูล
17.5.2.2 การทดสอบความเหมาะสม
17.5.2.3 การปรับปรุงให้เป็ นตัวจริง
17.5.2.4 การเก็บรวบรวมข้อมูลจากแหล่งข้อมูล
17.5.2.5 การวิเคราะห์ข้อมูล ประมวลผลและสังเคราะห์เป็ น
ข้อสรุป
17.5.2.6 การเขียนเรียบเรียงวิทยานิ พนธ์
17.5.3 ภาคเรียนที่ 4 ลงทะเบียนวิทยานิ พนธ์ 3 (Thesis 3)
3 หน่ วยกิต มีเป้ าหมายให้นักศึกษาได้จด
ั ทำารายงานวิทยานิ พนธ์ด้วย
การเสนอรายงานการศึกษาค้นคว้า แก้ไขปรับปรุงให้เป็ นวิทยานิ พนธ์
ฉบับสมบูรณ์เสร็จ และนำ าเสนอหน่ วยประสานงานบัณฑิตศึกษาตาม
กำาหนดเวลา ซึ่งมีกระบวนการในการสอบป้ องกันและเสนอ
วิทยานิ พนธ์ดังนี้
17.5.3.1 การสอบป้ องกัน
17.5.3.2 การแก้ไขปรับปรุงและจัดทำาฉบับจริง
17.5.3.3 การเสนอต่อมหาวิทยาลัย
การจัดทำาวิทยานิ พนธ์ตามขัน ้ ตอนดังกล่าวเป็ นความรับผิดชอบ
ของผู้เรียนโดยตรง ฝ่ ายมหาวิทยาลัยมีหน้ าที่ควบคุมคุณภาพและ
มาตรฐานของการทำาวิทยานิ พนธ์โดยการแต่งตัง้ บุคคลหรือคณะบุคคล
เพื่อให้คำาปรึกษาและตรวจสอบตามขัน ้ ตอนสำาคัญ ๆ เช่น ขัน
้ อนุมัติ
เค้าโครง ขัน้ จัดทำาเครื่องมือและกำาหนดแหล่งข้อมูล ขัน ้ ปฏิบัติงาน
สนามและขัน ้ เขียนเรียบเรื่องเพื่อเสนอวิทยานิ พนธ์

17.6 แผนการศึกษา
148

จัดการเรียนการสอนตามหลักสูตรแผน ก (2) ดังต่อไปนี้


ภาค รหัส ชื่อวิชา หน่ วยกิ หมวด
เรียน วิชา ต วิชา
ที่
1/1 55052 ปรัชญาอาชีวะ อุตสาหกรรมและ 2(2-0) สบ.1
เทคโนโลยีฯ
01 ระเบียบวิธีวิจัย 3(3-0) สบ.2
10454 การจัดองค์การและบริหาร 3(3-0) บร.1
อุตสาหกรรม
01 การควบคุมคุณภาพงาน 3(3-0) ฉบ.1
อุตสาหกรรม
55155 3(2-2) ฉล.1
การวิเคราะห์หลักสูตรเทคโนโลยี
03 อุตสาหกรรม 2(1-2) สล.1
เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการวิจัย
55163
01
55054
02
55053
02
หน่ วยกิตรวม 13
1/2 44152 สถิติเพื่อการวิจัย 2(2-0) สบ.3
การประเมินผลการเรียน
01 การพัฒนาการสอนเทคโนโลยี 2(1-2) เสริม
บร.2
10421 อุตสาหกรรม 2(1-2)
การพัฒนาแผนการสอน ฉล.2
03 เทคโนโลยีอุตสาหกรรม 3(2-2)
เศรษฐศาสตร์อุตสาหกรรม ฉบ.2
55052 3(3-0)
การพัฒนาเทคโนโลยีท่ีเหมาะสม
สล.2
02 ภาษาอังกฤษสำาหรับบัณฑิตศึกษา 2(2-
เสริม
55052 0)
วิทยานิ พนธ์ 1
149

04 3(2-2)
55155 3
01
55156
02
15551
01
55069
03
หน่ วยกิตรวม 12
2/1 55166 การวิจัยพัฒนาเทคโนโลยี 3(2-2) บร.3
อุตสาหกรรม
01 การพัฒนาหลักสูตรเทคโนโลยี 2(2-0) บร.4
55054 อุตสาหกรรม 2(1-2) เส.1
การสัมมนางานวิจยั
01 การวางแผนและพัฒนาเทคโนโลยี 2(2-0) เส.2
อุตสาหกรรม
55069 6
วิทยานิ พนธ์ 2
02
55156
02
55069
03
หน่ วยกิตรวม 15
150



ภาค รหัส ชื่อวิชา หน่ วย หมวด
เรียน วิชา กิต วิชา
ที่
2/2 55156 มนุษยสัมพันธ์การบริหารงาน 3(3-0) ฉบ.3
อุตสาหกรรม
01 การสัมมนาการสอนเทคโนโลยี 3(2-2) ฉล.3
55069 อุตสาหกรรม 2(2-0) เสริม
ความเป็ นครู เสริม
01 จิตวิทยาการเรียนการสอน 2(1-2) เสริม
หลักการสอน
10111 3(2-2)
วิทยานิ พนธ์ 3
01 3
10512
02
10223
01
55069
03
หน่ วยกิตรวม 6

หมายเหตุ : สบ. หมายถึง หมวดวิชาสัมพันธ์(วิชาบังคับ)


สล. หมายถึง หมวดวิชาสัมพันธ์ (วิชาเลือก)
บร. หมายถึง หมวดวิชาเฉพาะด้าน (วิชาบังคับร่วม)
ฉบ. หมายถึง หมวดวิชาเฉพาะด้าน (วิชาเลือกกลุ่ม
บริหารงานอุตสาหกรรม)
151

ฉล. หมายถึง หมวดวิชาเฉพาะด้าน (วิชาเลือกกลุ่ม


หลักสูตรและการสอนเทคโนโลยี-
อุตสาหกรรม)
เส หมายถึง หมวดวิชาเลือกเสรี
เสริม หมายถึง วิชาเสริม (ไม่นับหน่ วยกิต)

รายวิชาเสริม
(1) นั กศึกษาทัง้ แผน ก(2) และแผน ข จะต้องสอบผ่าน
ความรู้ความสามารถด้านภาษาอังกฤษและการใช้คอมพิวเตอร์อยู่ใน
เกณฑ์ท่ีคณะกรรมการบัณฑิตศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏกำาหนด กรณี
ความรู้ความสามารถตำ่ากว่าเกณฑ์ท่ีมหาวิทยาลัยกำาหนด จะต้องเรียน
รายวิชาต่อไปนี้โดยไม่นับหน่ วยกิต
1555101 ภาษาอังกฤษสำาหรับบัณฑิตศึกษา
3(2-2)
4125101 คอมพิวเตอร์สำาหรับบัณฑิตศึกษา 3(2-2)
(2) นั กศึกษาทัง้ แผน ก(2) และแผน ข ที่ไม่เคยเรียนวิชาการ
ศึกษามาก่อน จะต้องสอบผ่านความรู้พ้ืนฐานทางการศึกษาให้ได้ตาม
เกณฑ์ท่ีคณะกรรมการบัณฑิตศึกษากำาหนด กรณี สอบไม่ผ่านเกณฑ์
จะต้องเรียนรายวิชาต่อไปนี้ โดยไม่นับหน่ วยกิต อย่างน้ อย 8 หน่ วยกิต

1011101 ความเป็ นครู 2(2-0)


1011102 การศึกษาไทย 2(2-0)
1022301 หลักการสอน 3(2-2)
1032101 เทคโนโลยีการศึกษา
2(1-2)
1042103 การประเมินผลการเรียน 2(1-2)
152

1051202 จิตวิทยาการเรียนการสอน 2(1-2)

18. การประกันค่ณภาพ
มีการกำาหนดแนวทางและระบบการบริหารหลักสูตรเพื่อการประกัน
คุ ณภาพตามเกณฑ์ ม าตรฐานหลั ก สู ตรระดั บ อุ ด มศึ ก ษา พุ ท ธศั ก ราช
2548 ใน 4 ประเด็นหลักได้แก่
1) ประเด็นการบริหารหลักสูตร
1. การนำ าหลักสูตรไปใช้งาน ได้กำาหนดวิธีการดำาเนิ นงานอัน
นำ าไปสู่การประกัน-คุณภาพ ดังนี้
1.1 มีการคัดเลือกผู้เรียนที่มีพ้ืนความรู้ ความ
สามารถตรงกับข้อกำาหนดของหลักสูตร
1.2 มีแผนการเรียนตลอดหลักสูตรที่แจ้งให้
นั กศึกษาทราบ
1.3 การจัดผู้สอนที่มีความรู้ความสามารถ และ
คุณวุฒิตรงหรือสัมพันธ์กับรายวิชาที่สอน
1.4 ทุกรายวิชามีการประเมินผลการจัดการเรียน
การสอนที่นำาผลการประเมินไปส่ก ู ารปรับปรุงพัฒนา
2. การประเมินและการพัฒนาหลักสูตร นอกจากการ
ประเมินผลผู้สอนของรายวิชาตามหลักสูตรแล้ว ภาย
หลังการใช้งานหลักสูตรเป็ นระยะเวลา 5 ปี มีการ
ประเมินผลหลักสูตรเพื่อนำ าผลมาใช้ในการพัฒนาทุก
ระยะ 1-2 ปี
2) ประเด็นทรัพยากรประกอบการเรียนการสอน
1. มีห้องเรียนที่มีอุปกรณ์สนั บสนุนการเรียนการสอนที่
ทันสมัยพร้อมใช้งาน เช่น เครื่องทึบแสง เครื่องฉาย
แผ่นใส โปรเจ็คเตอร์ กระดานขาว
2. มีห้องปฏิบัติการพื้นฐานวิชาชีพรวมทุกสาขาวิชา
153

3. มีห้องปฏิบัติการเฉพาะทุกสาขาวิชา
4. มีห้องเครื่องมือและอุปกรณ์ สำาหรับทดลอง
ค้นคว้างานวิจัย
3) ประเด็นการสนั บสนุนและการให้คำาแนะนำ านั กศึกษา
1. นั กศึกษามีอาจารย์ท่ีปรึกษาทุกกลุ่มเรียน
2. มีรองคณบดีฝ่ายกิจการนั กศึกษา ในการดูแลด้าน
นโยบายและให้คำาปรึกษาการดำาเนิ นกิจกรรมนั กศึกษา
ของคณะ
3. มีการประเมินอาจารย์ท่ีปรึกษาเพื่อนำ าผลมาสู่การ
ปรับปรุงและพัฒนา
4) ประเด็นความต้องการของตลาดแรงงาน สังคม และ/หรือ
ความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิต
1. มีการพิจารณาความต้องการของตลาดแรงงานจากค่า
ร้อยละการมีงานทำาของบัณฑิต
2. มีการพิจารณาความต้องการของสังคม จากจำานวน
นั กศึกษาที่เข้าเรียนในแต่ละปี การศึกษา
3. มีการพิจารณาความคิดเห็น และความพึงพอใจของผู้ใช้
บัณฑิต โดยการวิจัยทุกปี และร่วมวิพากษ์หลักสูตรใน
ขัน
้ ตอนกระบวนการประเมินหลักสูตร รวมทัง้ การ
สอบถามความคิดเห็นที่มีต่อมหาบัณฑิต

มีการกำาหนดระบบ หลักเกณฑ์ และวิธีการประกันคุณภาพ


ของหลักสูตรตามกฎกระทรวงว่าด้วยการประกันคุณภาพภายในของ
สถานศึกษาระดับอุดมศึกษาจำานวน 9 องค์ประกอบ ตัวบ่งชีค
้ ุณภาพ
32 ตัวบ่งชี้ และมีความเชื่อมโยงสัมพันธ์กับการประกันคุณภาพ
ภายนอกตามมาตรฐานการประเมินของสำานั กงานรับรองมาตรฐานและ
ประกันคุณภาพการศึกษา
นอกจากนี้ยังมีกิจกรรมต่าง ๆ ที่จัดขึ้นอย่างต่อเนื่ องตามช่วง
เวลาที่เหมาะสมของการใช้หลักสูตร ซึ่งกิจกรรมต่าง ๆ นี้ได้แก่
154

1) ประชาพิจารณ์หลักสูตรครัง้ ที่ 1 ในปี ท่ี 3 หลังใช้


หลักสูตร
2) ทบทวนปรับปรุงและแก้ไขหลักสูตร
3) ประชาพิจารณ์หลักสูตรครัง้ ที่ 2 ในปี ท่ี 5 หลังใช้
หลักสูตร
4) ทบทวนปรับปรุงและแก้ไขหลักสูตร
5) ติดตามผลมหาบัณฑิตที่สำาเร็จการศึกษาในแต่ละรุ่น

19. การพัฒนาหลักสูตร
ดัชนี บ่งชีม
้ าตรฐานและคุณภาพการศึกษา สำาหรับหลักสูตรนี้
(ระบุ)
(1) จำานวนผู้สำาเร็จการศึกษา
(2) ระดับความพึงพอใจผู้ใช้บัณฑิต
(3) ร้อยละของวิทยานิ พนธ์ท่ีได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่ใน
ระดับท้องถิ่น ระดับชาติ
หรือระดับนานาชาติ ต่อจำานวนวิทยานิ พนธ์
กำาหนดการประเมินคุณภาพหลักสูตรตามดัชนี บ่งชีข้ ้างต้น ทุก ๆ
ระยะ 5 ปี มีการประเมิน
ผล หลักสูตรเพื่อนำ าผลไปใช้พัฒนาทุก 1-2 ปี

20. จำานวนเอกสาร
จัดส่งเอกสารหลักสูตรให้สำานั กงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา
จำานวน 5 ชุด พร้อมแนบมติการเห็นชอบของสภามหาวิทยาลัย
155
156

ราชกิจจา
นุเบกษา
ฉบับประกาศและงานทั่วไป
157

เล่ม ๑๒๓ ตอนที่ ๕๔ ง


วันที่ ๑ มิถุนายน ๒๕๔๙

You might also like