You are on page 1of 21

สิ่งมีชีวิตในดิน

Soil organism
ชนิดของสิ่ งมีชีวติ ในดิน

1. พืช Primary producer ผู้ผลิตปฐมภูมิ


2. สั ตว์ Consumer ผู้บริโภค
3. จุลนิ ทรีย์ Decomposer ผู้ย่อยสลาย
พืช
1. ให้อินทรี ยส์ ารแก่ดิน
2. ผลกระทบต่อคุณสมบัติของดินโดยตรง
- โครงสร้างดิน
- ความชื้นดิน, อุณหภูมิ
- การเปลี่ยนแปลงแก๊สในดิน
- การใช้ธาตุอาหาร
- การเปลี่ยนแปลง pH
สั ตว์
- โปรโตซัวเป็ นสัตว์เซลล์เดียวที่มีปริ มาณมากที่สุด
- ไส้เดือนฝอยเป็ นสัตว์หลายเซลล์ที่มีปริ มาณมากรองจากโปรโตซัว
- แมลง
- ไร
- ไส้เดือน ฯลฯ
บทบาทของสั ตว์
- ทำให้เกิดช่องว่างในดิน
- กัดกินอินทรี ยธ์ าตุขนาดใหญ่
- คลุกเคล้าอินทรี ยวัตถุในดิน
ไส้ เดือนดิน
- มีขนาดใหญ่ การชอนไชทำให้เกิดช่องว่าง
- มีประโยชน์ในดินช่วยย่อยสลายซากพืชซากสัตว์
ไส้ เดือนฝอย
- มีขนาดเล็ก มีปริ มาณมาก
- ส่ วนใหญ่เป็ นปรสิ ต (parasite)
- ดูดกินโปรโตพลาสซึมในรากพืช
- กิน แบคทีเรี ย เชื้อรา
จุลนิ ทรีย์ดนิ
จำแนกตามชนิดของอาหาร
1. Heterothroph
- ใช้สารอินทรี ยเ์ ป็ นแหล่งคาร์บอน
- เกี่ยวข้องกับการย่อยสลาย
2. Autothroph
- ใช้คาร์บอนไดออกไซด์เป็ นแหล่งคาร์บอน
- ได้พลังงานจากแสงหรื อจากการออกซิเดชัน่ ของสารอินทรี ย ์
การจำแนกตามระบบของสิ่ งมีชีวติ
1. แบคทีเรี ย (Bacteria)
2. แอคทิโนไมซี ส (Actinomycete)
3. เชื้อรา (Fungi)
4. จุลินทรี ยอ์ ื่นๆ
แบคทีเรี ย
- มีขนาดเล็ก 0.05 – 2 ไมโครเมตร
- มีมากที่สุดในดิน 108 – 109 เซลล์/ดิน 1 กรัม
- ส่ วนใหญ่เป็ นพวก Heterothroph
- มีบทบาทสำคัญในการย่อยสลายซากพืชซากสัตว์
- บางชนิดเป็ นเชื้อโรคของพืชและสัตว์
แอคติโนไมซีส
- มีขนาดเท่ากับแบคทีเรี ยแต่มีลกั ษณะรู ปร่ างยืดยาวเป็ นเส้นใย
คล้ายรา
- มีปริ มาณน้อยกว่าแบคทีเรี ย 107 – 108 เซลล์/ดิน 1 กรัม
- สามารถสร้างสปอร์ได้
- บางชนิดตรึ ง N ได้
- ย่อยสลายซากพืชซากสัตว์
- บางชนิดเป็ นเชื้อโรคของพืชและสัตว์
เชื้อรา
- รู ปร่ างเป็ นเส้นใย
- สามารถสร้างสปอร์ได้
- มีปริ มาณน้อยกว่าแบคทีเรี ยและแอคติโนไมซีส แต่น ้ำหนักหรื อ
มวลมากกว่า
- ส่ วนใหญ่เป็ นพวก heterothroph
- ย่อยสลายซากพืชซากสัตว์ได้
- บางชนิดเป็ นเชื้อโรคของพืชและสัตว์
- สามารถทน pH ต่ำได้ดีกว้าแบคทีเรี ย
จุลิทรี ยอ์ ื่นๆ
- สาหร่ าย (Algae)
- สาหร่ ายสี เขียวแกมน้ำเงิน (Blue – green Algae)
- ไวรัส (Virus)
ปัจจัยทีม่ ผี ลต่ อการดำรงชีวติ ของจุลนิ ทรีย์
1. อาหารและแหล่งพลังงาน
2. สภาพแวดล้อม
อาหารและแหล่ งพลังงาน
อาหาร
- แหล่งของคาร์บอน
จากอินทรี ยวัตถุในดิน
จากคาร์บอนไดออกไซด์
- ธาตุอื่นๆ
O, N, S, P ฯลฯ
พลังงาน
- ได้จากแสง
- ได้จากสารอินทรี ย ์
- สารอนินทรี ย ์
สภาพแวดล้อม
1. อากาศ
2. ความชื้น
3. อุณหภูมิ
4. สภาพ pH
บทบาทและความสำคัญของจุลินทรี ยด์ ิน
1. ย่อยสลายซากพืชและสัตว์
- ได้ธาตุอาหารให้พืช
- ได้สารฮิวมิค
2. การแปรสภาพของสารอนินทรี ย ์
2.1 อิมโมบิไลเซชัน่ (Immobilisation) คือ การใช้สารอนิทรี ย ์ เช่น
NH4+ NO3- แล้วเปลี่ยนเป็ นสารอินทรี ย ์ เช่น กรดอะมิโนหรื อโปรตีน

2.2 ขบวนการ Oxidation และ Reduction


- Nitrification
- Denitrification
3. การตรึ งไนโตรเจน
4. การย่ อยสลายสารเคมี
สารกำจัดวัชพืช
สารกำจัดโรค แมลง
โลหะหนัก
5. ไมโคไรซา (Mycorrhiza)
- เพิ่มพื้นที่ที่ผวิ รากในการดูดธาตุอาหาร
- ทนแร้งได้ดีข้ ึน
- ทนทานต่อโรค

You might also like