You are on page 1of 13

GSM

home

back

PHS

WCDMA

MAT

CDMA

การพัฒนามาตรฐานระบบ Digital Cellular GSM สู่ความเป็ นสากล

•เนื่ องจากในแตูละประเทศ เลือกระบบโทรศัพท์เคลื่อนที่ใช้งานภายใน


ประเทศของตนเองโดยใช้ระบบที่แตกตูางกัน จึงไมูสามารถนำาโทรศัพท์
เคลื่อนที่จากประเทศหนึ่ ง ไปใช้งานในประเทศอื่นๆ ได้ ทั้งมีข้อจำากัดในเรื่อง
ของความถี่ท่ีแตกตูางกัน จึงมีแนวความคิดที่จะสร้างมาตรฐานของระบบ
โทรศัพท์ท่ีสามารถนำาไปใช้ในประเทศตูางๆ ได้อยูางอิสระ ทั้งไมูมีข้อจำากัด
ในเรื่องของความถี่ใช้งานที่แตกตูางกัน โดยเป็ นระบบที่เป็ นหนึ่ งเดียว โดย
เริม
่ ในปี 1982 โดย CEPT, (Conf'erence Europ'eenne des Administrations des
Postes et des Te'le'communications) ได้ตัดสินใจตั้ง Groupe Spe'ciale Mobile เริม

ต้นเป็ นแกนนำาในการสร้างระบบ GSM โดยได้เริ่มพัฒนาสร้างมาตรฐานรวม
สำาหรับโครงขูายในอนาคตของระบบโทรศัพท์เคลื่อนที่ GSM ในกลู่มประเทศ
pan European
ร่ป แสดงกลูม
่ ประเทศย่โรปตะวันตก ที่กูอตั้งระบบ GSM

•กำาหนดให้ใช้ความถี่เดียวกันที่ยูาน 900MHz ชูวงของความถี่ 25MHz ทั้งยูาน


สูงและรับ โดยใช้ความถี่ยูานสูงที่ 890 - 915MHz และใช้ความถี่ยูานรับที่ 935
-960MHz ,มีความถี่ของยูานรับและยูานสูงหูางกัน 45MHz ,โดยแบูงความถี่
ยูานรับ และสูง ออกเป็ น channel no.1 -124 ความถี่แตูละ channel หูางกัน
200kHz

•ใช้วิธีการ TDMA techniques นอกจากระบบ GSM จะแบูง channel ไปในแกน


ของความถี่แล้ว ระบบ GSM ยังแบูงความถี่ในแตูละ channel ไปในแกนของ
เวลาได้อีก 8 timeslots รวมแล้วระบบ GSM มี channel ให้ใช้งานในระบบ ได้ถึง
124 frequency channels x 8 time slots = 992 digital channels,ในแตูละชูวงใน
ท่กๆ 8 time slots ถ่กกำาหนดให้ใช้งานสำาหรับผ้่ใช้แตูละรายเรียกวูา TDMA
frame และผ้่ใช้ท้ังหมดของความถี่หนึ่ งก็จะแบูงกันใช้ TDMA frame รูวมกันทั้ง
8 time slots ตัวอยูาง ถ้าเครื่องโทรศัพท์ GSM ของเรา ถ่กกำาหนดให้ใช้ time
slots ที่ 1 เครื่องโทรศัพท์ของเราก็จะสูงเฉพาะใน time slots ที่ 1 เทูานั้น และ
อีก 7 time slots ที่เหลือก็จะอยู่ในสภาวะวูาง เพื่อให้ผ้่ใช้รายอื่น ได้ใช้งานตูอ
ไป ดังนั้นเมื่อถึงชูวงเวลาของ time slots ที่ 1 เครื่องโทรศัพท์ของเราจะทำาการ
สูงได้น้ันคือ Transmitter ON และเมื่อหมดเวลาของ time slots ที่ 1 ก็จะหย่ดสูง
นั้นคือ Transmitter OFF ชูวงเวลาของ Transmitter ON - OFF เราเรียกวูา burst
timing, ชูวงเวลาของ burst timing ถ่กกำาหนดไว้เทูากับ 577microsec ดังนั้นชูวง
เวลา TDMA frame ของทั้ง 8 time slots ใช้เวลาเทูากับ 577microsec x 8 time
slots = 4.615ms *****แม้วูาโครงสร้างของระบบ GSM แสดงถึงการเพิ่ม
capacity ของระบบ มีค่ณคูาควรที่จะจูาย แตูกม ็ ีข้อเสียอยู่วูา ถ้าเครื่อง
โทรศัพท์ GSM ของเราต้องทำาการสูง burst ท่กๆ 4.615ms ซึ่งเทูากับความถี่
216.6 Hz ( 1 / 4.615ms) ซึ่งอยู่ในยูานของสัญญาน Audio หรือ สัญญานเสียง
ถ้านำาเครื่องโทรศัพท์ GSM ไปใช้งานใกล้กับระบบ home stereo เสียงของ
ความถี่ 216.6 Hz นี้ จะได้ยินที่ลำาโพงของระบบ home stereo ของค่ณ ตรงนี้
เป็ นสิ่งที่นูากังวลอยูางมากถ้ามันไปรบกวนตูออ่ปกรณ์ electronic อื่นๆ ดัง
เชูน เครื่องชูวยฟั ง, เครื่องกระต้่นหัวใจ, หรืออ่ปกรณ์ควบค่มรถยนต์อัตโนมัติ
เนื่ องจากเครื่องโทรศัพท์ GSM ใช้กำาลังสูงส่งถึง 33 dBm หรือ 2 W จึงไมูอาจม
องข้ามผลกระทบนี้ ได้, ผ้่ผลิต GSM mobile บางรายแนะนำาให้ใช้สายอากาศ
ติดตั้งภายนอกรถยนต์ สำาหรับรถยนต์าที่มีอ่ปกรณ์ electronic ควบค่ม
รถยนต์โดยอัตโนมัติ เพราะวูาถ้าใช้สายอากาศที่ติดกับเครื่องโทรศัพท์ GSM
ใช้ภายในรถยนต์ สัญญานจากเครื่องโทรศัพท์ GSM อาจจะไป block หรือไป
อ่ปกรณ์ air bag หรือระบบสำาคัญอื่นๆ
trigger ****** เราจึงควรต้องรับร้่และไมู
ควรมองข้ามความปลอดภัยตรงนี้

•กำาหนดให้มี บริการใหมูๆ โดยเฉพาะการ roaming และ security ,การลด


power consumption ลงได้เนื่ องจากความได้เปรียบในระบบ digital และ
ค่ณสมบัติของอ่ปกรณ์ semiconductor ในเทคโนโลยีของ TDMA จึงทำาให้ใช้
พลังงาน battery น้อยลง และทำาให้ค่ณภาพของเสียงดีขึ้น การกำาหนดการให้
บริการตูางๆ ในระบบ GSM จะแบูงการให้บริการตูางๆ ตามค่ณลักษณะการ
ให้บริการดังตูอไปนี้ (1.) teleservices services (2.) bearer services (3)
supplementary services โดยกำาหนดการให้บริการ แบูงเป็ น GSM Phase 1
Services และ GSM Phase 2 Services ดังนี้

GSM Phase 1 Services

Services category

Service

Comment

Teleservices Telephony (speech)

Emergency calls (speech)

Short-message services :

Telefax

So-called full rate,13kbps

---------------------

Alphanumeric information

Group 3

Bearer services Asynchronous data


Synchonous data

Asynchronous PAD (packet-switched,packet assembler / disassembler) access

Alternate speech and data

300-9,600 bps, 1,200/75 bps

300-9,600 bps

300-9600 bps

---------------------

300-9,600 bps

Supplementary Services Call forwarding

Call barring

For example, subscriber busy,not reachable or does not answer

For example,all calls,internation calls,incoming calls

Services Added Through GSM Phase 2

Services category

Service

Comment

Teleservices Telephony (speech) Half rate,6.5kbps

Bearer services Synchronous dedicated packed data access 2,400-9,600 bps


Supplementary Services Calling/connected line identity presentation

Calling/connected line identity restriction

---------------------------

Call waiting

---------------------------

Call hold

---------------------------

Multiparty communication, Closed user group

Advice of charge

Unstructured supplementary services data

---------------------------

---------------------------

Operator-determined barring

Displays calling party's directory number before/after call connection

Restricts the display of the calling party's number at called party's side
before/after call connection

Informs the user about a second (incoming) call and allows to answer it
Puts an active call on hold in order to answer or originate another (second) call

Conference calls Establishment of groups with limited access

Online charge information

Offers an open communications link for use between network and user for
operator-defined services

Restriction of different services,call types by the operator

โครงสร้างของระบบ GSM (System Architecture)

ร่ป แสดงโครงสร้างโครงขูายของระบบ GSM

•โครงสร้างของระบบ GSM ประกอบด้วยอ่ปกรณ์ดังตูอไปนี้

1.เครื่องโทรศัพท์เคลื่อนที่ GSM (Mobile Station Terminal Equipment, MS)

2.SIM Card (Subsriber Identity Module, SIM)

3.สถานี ฐาน (Base Station or Base Transceiver Station, BTS)

4.ระบบควบค่มสถานี ฐาน (Base Station Controller, BSC)


5.ช่มสาย Switching ตูอผูาน (Gateway Mobile Services Switching Centers
,GMSC)

6.ระบบอำานวยการและการบำาร่งรักษา (Operation and Maintenance Center,


OMC)

7.ระบบลงทะเบียนผ้่ใช้ภายในพื้นที่ (Home Location Register, HLR)

8.ระบบลงทะเบียนผ้่ใช้นอกในพื้นที่ (Visitor Location Register, VLR)

9.ระบบศ่นย์พิส่จน์ข้อม่ล (Authentication, AC)

10.ระบบการลงทะเบียน ID ของอ่ปกรณ์เครื่องที่ GSM (Equipment Identity


Register, EIR)

•รายละเอียดหน้าที่และหลักการทำางานของแตูละอ่ปกรณ์มีดังตูอไปนี้

1. เครื่องโทรศัพท์เคลื่อนที่ GSM (Mobile Station Terminal Equipment) ชนิ ด


ตูางๆ ของเครื่องโทรศัพท์เคลื่อนที่ GSM จะแบูงได้ตามลักษณะของ Power ที่
สูงออกอากาศ และลักษณะการใช้งาน ดังนี้ (1.1) เครื่องโทรศัพท์เคลื่อนที่
GSM ที่ติดตั้งใช้งานอยูางถาวร เชูนในรถยนต์ จะยอมให้มี RF output power ได้
ส่งถึง 20W (1.2) เครื่องโทรศัพท์เคลื่อนที่ GSM แบบ Portable (bag phones)
สามารถสูง RF output power ได้ส่งถึง 8W (1.3) ครื่องโทรศัพท์เคลื่อนที่ GSM
มือถือ (Handheld) สามารถสูง RF output power ได้ส่งถึง 2W สำาหรับโทรศัพท์
เคลื่อนที่ใน generation ที่ 2 เริ่มออกตลาดตั้งแตูปี 1993 ระบบ GSM สามารถ
ทำารายได้ ได้อยูางมาก เพราะเครื่องโทรศัพท์เคลื่อน GSM แบบมือถือ
(Handheld) มีขนาดเล็กลงมากกวูาระบบ analog ทำาให้ระบบ GSM เป็ นที่นิยม
ชมชอบ โดยเฉพาะตลาดในยูานของ Asian และ Pacific

2. SIM Card (Subsriber Identity Module) SIM Cardเป็ นตัวจัดการที่ตัวโทรศัพท์


เคลื่อนที่ GSM ด้วยการแสดงพิส่จน์และแสดงตัวตนของผ้่ใช้งาน ถ้า
ปราศจาก SIM เครื่องโทรศัพท์เคลื่อนที่ในระบบ GSM จะไมูสามารถใช้งานได้
นอกจาก emergency calls , SIM เป็ น smart card และมีวงจรอิเล็กโทรนิ คส์และ
memory chip ติดตั้งอยู่อยูางถาวรในแผูน พลาสติก ขนาดเทูากับบัตรเครดิต
จะต้องใสู SIM Card ไปในชูองอูาน (reader) ในเครื่องโทรศัพท์เคลื่อนที่ GSM
ท่กครั้งกูอนใช้งาน เพื่อทำา routine check สำาหรับเครื่องโทรศัพท์เคลื่อนที่
GSM ที่มีขนาดเล็กมากๆ SIM ขนาดเทูาบัตรเครดิตจะมีขนาดใหญูไป, จึงมี SIM
รู่นเล็กออกมาเรียกวูา plug-in SIM เพื่อใช้งานกับเครื่องโทรศัพท์เคลื่อนที่ GSM
ที่มีขนาดเล็กมากๆ

parametersตูางๆ ของเครื่องโทรศัพท์เคลื่อนที่ GSM จะถ่กเก็บไว้ใน SIM card


รวมถึงข้อม่ลในการใช้งานเครื่องโทรศัพท์ ดังเชูน เลขหมายโทรศัพท์ของผ้่
ใช้, SIM card จะพิส่จน์และยืนยันเครื่องโทรศัพท์ไปยังโครงขูาย GSM ดังนั้น
SIM card อันหนึ่ งแสดงถึงโทรศัพท์ GSM สูวนบ่คคลเครื่องหนึ่ ง มันเป็ นไปได้ท่ี
เราจะเดินทางไปตูางประเทศได้โดยนำา SIM card ติดตัวไปเพียงอันเดียว และ
ไปเชูาเครื่องโทรศัพท์ GSM ยังตูางประเทศ และใช้เครื่องโทรศัพท์ GSM โดย
ใสู SIM card ที่เรานำาติดตัวไป เทูานี้ กเ็ สมือนเรานำาเครื่องโทรศัพท์ GSM
ติดตัวไปด้วย ท่กครั้งที่เราใช้เครื่องโทรศัพท์ GSM โทรออก ไมูวูาจะอยู่
ประเทศใดก็ตาม บิลคูาโทรศัพท์ก็จะคิดจากเบอร์โทรศัพท์ของเรา ***( อัตรา
คูาโทรศัพท์ ที่นำาเลขหมายของเราไปใช้ยังประเทศตูางๆ นั้น อาจมีอัตราใน
แตูละประเทศไมูเทูากัน ขึ้นอยู่กับเจ้าของโครงขูาย GSM ในแตูละประเทศได้
ตกลงเอาไว้ในอัตราเทูาไหรู ทูานสามารถตรวจสอบอัตราตูางๆ เหลูานี้ ได้ท่ี
เจ้าของโครงขูาย GSM ที่ทูานได้ขึ้นทะเบียนเลขหมายของทูานอยู่)***

Short messages ตูางๆ ที่รับมาจากโครงขูาย GSM จะถ่กเก็บไว้ใน SIM card ซึ่ง


ในปั จจ่บันนี้ SIM card เป็ นหนู วยความจำาที่มีขนาดใหญูมาก และเป็ น
microprocessors ที่ดี จะทำาให้ SIM card สามารถนำาไปใช้ให้บริการตูางๆ ได้
มาก และมีค่ณประโยชน์ได้มากขึ้นในอนาคต ดังเชูน credit และ service card
เป็ นต้น

ระบบการป้ องกัน SIM card ถ้ามีบ่คคลอื่นนำา SIM card ของเราไปใช้งาน ,SIM


card จะมีระบบความปลอดภัยสร้างขึ้นไว้ภายใน กูอนบ่คคลอื่นจะสามารถใช้
เครื่องโทรศัพท์ได้,การป้ องกันโดยเราจะต้องใสูรหัสสูวนตัว 4 หลัก ที่เรียกวูา
personal identification number (PIN) ,PIN จะถ่กเก็บไว้ใน SIM card ถ้ามีการใสู
PIN code ผิด 3 ครั้งตูอเนื่ องกัน SIM card จะ blocks ตัวมันเอง และจะเลิก
blocks ให้สามารถใช้งานได้อีกครั้งถ้าใสูรหัส 8 หลัก ที่เรียกวูา personal
unblocking key (PUK) ซึ่งถ่กเก็บไว้ใน SIM card อีกเชูนกัน

3. สถานี ฐาน (Base Station or Base Transceiver Station) สิ่งที่ทำางานคู่กบ


ั เครื่อง
โทรศัพท์เคลื่อนที่ GSM ภายในโครงขูายของระบบ cellular คือสถานี ฐานซึง ่
ถ่กเรียกวูา base transceiver station (BTS) ,BTS จะเป็ นตัวเชื่อมตูอระหวูาง
เครื่องโทรศัพท์ GSM ไปโครงขูาย โดยปกติตำาแหนู งของ BTS จะอยู่ตรง
จ่ดศ่นย์กลางของ cell size ,BTS 1 สถานี จะมี 1 -16 Transceivers แยกกันแตูละ
RF channel ,ความฉลาดบางอยูางที่มีสามารถในการตัดสินใจ ที่มีอยู่ในระบบ
analog base stations และ host network ดังเชูน การวัดใน radio channels เพื่อ
หาจ่ดสำาหรับ handover ,ในสถานี ฐาน BTS ของระบบ GSM จะโยนหน้าที่น้ี ไป
ให้ตัวเครื่องโทรศัพท์ GSM จึงทำาให้ลดหน้าที่เล็กๆ น้อยๆ ลงไป ทำาให้
โครงสร้าง GSM ถ่กกวูาระบบ analog หลักการนี้ มีดังนี้ ในโครงขูายของ
cellular จะทำาการวัดสัญญาณความแรงของ cell size ที่ใช้งานอยู่ กับ cell size
ข้างเคียง เมื่อสัญญาณจาก cell ที่ใช้งานอยู่อูอนกวูา cell size ข้างเคียง ก็
ทำาการโอนไปใช้ยัง cell size ข้างเคียงที่มีสัญญาณแรงกวูา การโอนเปลี่ยน
cell size ขณะใช้งานนี้ ในระบบ analog เรียกวูา handoff สูวนในระบบ GSM
เรียกวูา handover ซึง
่ มีหลักการทำางานที่แตกตูางกันดังนี้

ในระบบ analog สถานี ฐานจะทำาการวัด power level ของเครื่องโทรศัพท์


ระหวูางใช้งาน เมื่อค่ณภาพของสัญญาณตำ่าลงเนื่ องจากระยะทาง สถานี ฐาน
ก็ทำาการสั่งให้เครื่องโทรศัพท์จับสัญญาณจาก cell size ข้างเคียงแล้วทำาการ
วัด power level จากเครื่องโทรศัพท์รายงานไปยังโครงขูาย ถ้า power level
ของ cell size ไหนแรงกวูาแสดงวูาเครื่องโทรศัพท์อยู่ใกล้ cell size นั้น โครง
ขูายก็จะตัดสินใจให้ไปใช้ channel ความถี่ของ cell size ใหมู และสั่งให้เครื่อง
โทรศัพท์ tune ความถี่ไปยังความถี่ของ cell size ใหมูใช้สนสนาตูอไป จะเห็น
ได้วูาเครื่องโทรศัพท์จะเป็ นลักษณะในการรับคำาสั่งอยูางเดียวใน
กระบวนการ handoff การวัดและการทำางานกระบวนการตัดสินใจจะทำาที่ตัว
สถานี ฐานและโครงขูายทั้งสิ้น

ในระบบ GSM การ handover มีลักษณะการทำางานที่แตกตูางกันคือ ในระบบ


GSM เครื่องโทรศัพท์ GSM จะต้องทำาการวัด power level ของ cell size ข้างเคียง
อยูางตูอเนื่ อง วิธก
ี ารนี้ สถานี ฐาน (BTS) จะให้เครื่องโทรศัพท์ GSM ทำา
รายงานผลการวัด power level ของ channel ที่ใช้งานและ power level ของ cell
size ข้างเคียงอยูางตูอเนื่ อง และรายงานผลการวัดสูงกลับไปให้สถานี ฐาน
(BTS) ในร่ปของรายงานผลการวัด (measurement report) เป็ นระยะๆ ,ที่ตัว
สถานี ฐานเองก็ทำาการวัดค่ณภาพสัญญาณของ power level ของเครื่อง
โทรศัพท์ GSM ที่ติดตูอมายังสถานี ฐานด้วยอีกทางหนึ่ ง ถ้าผลของการวัด
แสดงถึงความจำาเป็ นในการ handover, ดังนั้นก็สามารถปฏิบต ั ิการการได้เลย
โดยไมูชักช้า ความเหมาะสมในการ handover สถานี ฐานจะร้่อยู่แล้ว โดยจ่ด
thresholds สำาหรับการ handover สามารถปรับให้สอดคล้องกับสภาพแวดล้อม
และเงื่อนไขการทำางานที่เปลี่ยนไปได้

จากการลดภาระของสถานี ฐาน (BTS) ในระบบ analog ที่ต้องสั่งการและ


ประมวลผลให้กับเครื่องโทรศัพท์เคลื่อนที่ท่กเครื่องในระบบอยู่ฝูายเดียว
ตลอดเวลา ทำาให้โครงสร้างของโครงขูาย GSM มีราคาถ่กกวูาโครงขูายของ
ระบบ analog เป็ นผลให้ประเทศตูางๆ หันมาติดตั้งระบบ digital cellular แทน
ระบบ analog เดิมเชูน AMPS, NMT, TACS เพิม
่ มากขึ้น

การติดตูอระหวูางตัวเครื่องโทรศัพท์ GSM กับ สถานี ฐาน (BTS) ใช้การเชื่อม


ตูอแบบผูานอากาศ หรือ Radio Interface (Um)
4.ระบบควบค่มสถานี ฐาน (Base Station Controller,BSC) BSC ทำาหน้าที่ monitor
และควบค่มสถานี ฐาน ซึ่ง 1 BSC อาจควบค่มสถานี ฐานได้ 10 หรือ 100 สถานี
แล้วแตูการออกแบบระบบ งานของ BSC คือการจัดการความถี่และการ
ควบค่มสถานี ฐาน และจัดการ functions ตูางๆ จากช่มสาย

การติดตูอระหวูางสถานี ฐาน (BTS) กับ ระบบควบค่มสถานี ฐาน (BSC) จะ


เชื่อมโยงผูาน Abis โดยทาง 2.048-Mb,PCM-30 link (32 slots X 64kbps = 2.048-
Mb) fixed-line standard

5.ช่มสาย Switching ตูอผูาน (Gateway Mobile Services Switching Centers


,GMSC) GMSC เป็ นตัวเชื่อมโครงขูาย GSM ไปยัง PSTN, GMSC ทำางานใน
ลักษณะของช่มสาย โดยทำาหน้าที่บริการผ้่ใช้ท่ีทำาการลงทะเบียนทั้งหมดใน
ระบบให้สามารถเรียกจาก fixed network ผูานทาง BSC และ BTS ไปยังเครื่อง
โทรศัพท์ GSM ในแตูละเครื่องได้ หรือเรียกในทางกลับกันไปยัง PSTN ได้,
GMSC ยังทำาหน้าที่จัดการโครงขูายสำาหรับข้อม่ลจำาเพาะของเครื่องโทรศัพท์
GSM แตูละเครื่องอีกด้วย จำานวนของ GMSC ขึ้นอยู่กับขนาดของโครงขูาย
และปริมาณการดำาเนิ นการเชื่อมโยงไปยัง fixed network ในแตูละคู่สายของ
GMSC ถ้า traffic ภายในโครงขูาย cellular ต้องการความสามารถของ GMSC
มากกวูา 1 GMSC ก็สามารถเพิม ่ ช่มสาย Switching (Mobile Services Switching
Centers ,MSC) ให้ทำางานรูวมกับ GMSC โดยไมูต้องเชื่อมตูอกับ fixed network
ความสามารถของ GMSC และ MSC จะเหมือนกัน แตูจะแตกตูางกันตรงที่
MSC ไมูต้องเชื่อมตูอกับ home location register (HLR)

การติดตูอระหวูางระบบควบค่มสถานี ฐาน (BSC) กับ ช่มสาย Switching


(GMSC หรือ MSC) จะเชื่อมโยงผูาน A-interface โดยทาง 2.048-Mb,PCM-30 link
(CCITT G.703,ISDN standard, 32 slots X 64kbps = 2.048-Mb) fixed-line standard
ระบบ switching ของ GSM PLMN เป็ นลักษณะของ CCITT SSN7 protocol

6.ระบบอำานวยการและการบำาร่งรักษา (Operation and Maintenance Center,


OMC) OMC จะติดตูอทั้งช่มสาย switching (GMSC,MSC) และระบบควบค่มสถานี
ฐาน (BSC) โดยทำาหน้าที่คอยจับ error message ที่เข้ามายังโครงขูาย และ
ควบค่ม traffic load ของ BSC และ BTS , โดย OMC จะติดตูอไปยัง BTS ผูานทาง
BSC และทำาการดำาเนิ นการตรวจเช็กสูวนตูางๆ ของระบบ เพื่อควบค่ม
ค่ณภาพของระบบให้ดีอยู่ตลอดเวลา

7. ระบบลงทะเบียนผ้่ใช้ภายในพื้นที่ (Home Location Register, HLR) HLR จะ


เป็ นระบบฐานข้อม่ล ทำาหน้าที่เก็บข้อม่ล ID และ ข้อม่ลของผ้่ใช้ท่กคนซึ่งอยู่
ในพื้นที่ของ GMSC นั้นๆ , ข้อม่ลตูางๆ จะถ่กเก็บไว้อยูางถาวร ดังเชูนข้อม่ล
ของ international mobile subscriber number (IMSI) ของผ้่ใช้แตูละคน , ข้อม่ล
ของเลขหมายโทรศัพท์ของผ้่ใช้แตูละคน, ข้อม่ล authentication key, ข้อม่ลการ
ยอมให้มีการใช้บริการเสริมตูางๆ ของล่กค้า, และข้อม่ลชั่วคราวตูางๆ,ข้อม่ล
ชั่วคราวตูางๆ ประกอบด้วย (1) ที่อยู่ของผ้่ใช้ตูางพื้นที่ท่ีขอเข้ามาลงทะเบียน
ใช้งาน visitor location register (VLR) ซึง
่ จะต้องเขาไปจัดการให้เครื่องโทรศัพท์
เคลื่อนที่ท่ีเข้ามาขอลงทะเบียนให้สามารถใช้งานได้ (2) เลขหมายที่ขอให้มี
การเรียก call forwarding และ (3) บาง parameters สำาหรับ authentication และ
ciphering

IMSI จะถ่กเก็บไว้อยูางถาวรใน SIM card , IMSI จะเป็ นสูวนที่สำาคัญอยูางมาก


ของขูาวสารที่ใช้เป็ นหลักฐานข้อม่ลของ subscriber ภายในระบบ GSM รหัส
ตัวเลขของ IMSI จะมีร่ปแบบดังนี้ 262 02 454 275 1010 ความหมายของรหัส
อธิบายได้ดังนี้ รหัส 3 หลักแรกแสดง mobile country code (MCC) และรหัส 2
หลักตูอไปแสดง mobile network code (MNC) และรหัส 10 หลักส่ดท้ายที่เหลือ
แสดง mobile subscriber identification number (MSIC) จากข้อม่ลดังกลูาวเรา
สามารถแปลรหัสข้อม่ลได้ดังนี้ หลักฐานของ subscriber นี้ เป็ นของประเทศ
เยอรมัน (MCC=262) บิลเรียกเก็บคูาบริการประจำาเดือนจะต้องจูายให้กับ
เจ้าของโครงขูายคือ บริษท ั D2 privat (MNC=02) รหัสตัวเลขแสดงเลขหมาย
ของ SIM คือ (MSIC) 454 275 1010 , ตัวเลขรหัสที่ทำาการเรียกจากโครงขูาย
สาธารณะไปยังเครื่องโทรศัพท์เคลื่อนที่ GSM จะแตกตูางจาก IMSI และจะ
ต้องเริ่มต้นด้วย area code เชูน 0127 และตามด้วยเลขหมายโทรศัพท์ 7 หลัก
โดยหลักแรกของเลขหมายโทรศัพท์แสดงความกี่ยวข้องกับ HLR จำานวนของ
หลักที่ใช้ขึ้นอยู่กับขนาดของโครงขูายและจำานวนของ HLRs ในโครงขูาย, IMSI
มู่งหมายให้ใช้เฉพาะภายในโครงขูาย

8. ระบบลงทะเบียนผ้่ใช้นอกในพื้นที่ (Visitor Location Register, VLR) VLR ทำา


หน้าที่บรรจ่ข้อม่ลที่ท่ีเกี่ยวข้องกับเครื่องโทรศัพท์เคลื่อนที่ GSM ท่กเครื่องที่
เข้ามา serving ภายในพื้นที่ของ (G)MSC ข้อม่ลที่จัดเก็บจะมีการจัดเก็บอยู่ 2
แบบคือ (1) การจัดเก็บข้อม่ลอยูางถาวร โดยจะมีข้อม่ลเหมือนกับข้อม่ลใน
HLR, (2) การจัดเก็บข้อม่ลอยูางชั่วคราว ซึง ่ ข้อม่ลที่จัดเก็บอยูางชั่วคราวจะ
แตกตูางกันกับข้อม่ลใน HLR ตัวอยูาง VLR จะบรรจ่ temporary mobile
subscriber identity (TMSI) ซึง่ จะใช้เพื่อจำากัดชูวงเวลาในการสูง IMSI ผูานทาง
air interface และทำาหน้าที่แทนด้วย TMSI สำาหรับหน้าที่ของ IMSI serves , VLR
ทำาหน้าที่ให้ข้อม่ลรองรับการทำางานของ (G)MSC ระหวูางทำาการเรียกและ
พิส่จน์ข้อม่ล (call establishment and authentication procedure) ดังนั้นมันจึงต้อง
มีข้อม่ลจำาเพาะของ subscriber ที่เข้ามาขอใช้บริการภายในพื้นที่ของ (G)MSC
สูงให้ (G)MSC ทราบ, พื้นที่เก็บข้อม่ลของ subscriber ใน VLR จะเหมือนกับใน
HLR เพื่อลด traffic ของข้อม่ล ใน HLR เพราะวูาไมูจำาเป็ นต้องถามเพื่อเอา
ข้อม่ลอยู่ตลอดเวลามันต้องการเทูาที่จำาเป็ น อีกเหต่ผลหนึ่ งสำาหรับการเก็บ
ข้อม่ลในสูวนที่เหมือนกันในพื้นที่ของ HLR และ VLR นั้น เป็ นความมู่งหมายใน
การ serves ที่แตกตูางกัน ,HLR จะต้องมีการจัดการข้อม่ลของ subscriber ไป
ให้ GMSC เมื่อมีการเรียกมาจาก public network , สูวน VLR จะอีกกรณีหนึ่ งที่
serves ใน function ที่ตรงกันข้ามกันกับ HLR โดยจัดการข้อม่ลของข้อม่ล
subscriber ไปให้ (G)MSC เมื่อมีการเรียกมาจากเครื่องโทรศัพท์เคลื่อนที่ GSM (
เชูน ระหวูาง authentication) ถ้าเครื่องโทรศัพท์เคลื่อนที่ GSM กลับมาอยู่ใน
พื้นที่ของ (G)MSC ของตัวมัน มันยังคงใช้หลักการนี้ และยังใช้บริการข้อม่ล
จากทั้ง HLR และ VLR อยู่ แม้วูาข้อม่ลในสูวน VLR จะด่เสมือนซำ้าซ้อน แตูมันก็
นู าเชื่อถือและงูายที่จะปฏิบัติอยูางเข้าใจ

9. ระบบศ่นย์พิส่จน์ข้อม่ล (Authentication, AC) AC จะทำางานสัมพันธ์กับ HLR


มันจะจัดการข้อม่ลจาก HLR ด้วย set ที่แตกตูางกันของ parameters เพื่อการ
พิส่จน์ข้อม่ลที่สมบ่รณ์ของเครื่องโทรศัพท์เคลื่อนที่ GSM, AC จะต้องร้ค ่ วาม
จริงซึ่ง algorithm ที่มีใช้เพื่อข้อม่ลจำาเพาะของ subscriber ในลำาดับที่จะทำาการ
คำานวณคูา input และ ออกผลที่ต้องการ เนื่ องจากท่ก algorithms สำาหรับ
ปฏิบัตก ิ ารพิส่จน์ข้อม่ลถ่กเก็บไว้ภายใน AC ดังนั้นจึงต้องมีการป้ องกันการนำา
ไปใช้โดยไมูถ่กต้องอีกชั้นหนึ่ ง, SIM card ที่ออกมาในพื้นที่ถ่กกำาหนดให้ AC ใช้
algorithms เดียวกันสำาหรับให้ AC ทำาการพิส่จน์ข้อม่ล ถ้า AC จัดการ
parameter ของ input และ output สำาหรับ algorithms นี้ โดยข้อม่ลใน HLR หรือ
VLR ข้อม่ลในระบบการลงทะเบียนทั้งสองก็ต้องสามารถพิส่จน์ข้อม่ลของ
เครื่องโทรศัพท์เคลื่อนที่ GSM ได้

10. ระบบการลงทะเบียน ID ของอ่ปกรณ์เครื่องที่ GSM (Equipment Identity


Register, EIR) EIR เป็ น option นั้นคือ ขึ้นอยู่กับการใช้งานของผ้่ดำาเนิ นการ
โครงขูาย อ่ปกรณ์ของ EIR เป็ นความสัมพันธ์ในลักษณะของความปลอดภัย
ในระบบ GSM, ภายใน EIR เราจะพบ serial number ของอ่ปกรณ์เครื่อง
โทรศัพท์เคลื่อนที่ GSM ทั้งหมดในระบบ , international mobile equipment
identity (IMEI) ไมูได้เป็ นเฉพาะ serial number แตูยง ั แสดงโรงงานผ้่ผลิต
ประเทศผ้่ผลิต และการรับรองรูน ่ , ความคิดที่จะ check หลักฐานการลง
ทะเบียนหรือการ call setup ของเครื่องโทรศัพท์เคลื่อนที่ GSM เครื่องใดๆ ได้
ขึ้นอยู่กับ IMEI ของตัวมัน เป็ นการรับรองหรือ การ access เครื่องโทรศัพท์
เคลื่อนที่ GSM ไปในระบบ

[ home ] [ back ]
This Page is an antiquarian - possibly outdated - usergenerated website brought
to you by an archive. It was mirrored from Geocities in the end of october 2009.
For any questions about this page contact the respective author. To report any
mal content send URL to oocities[at]gmail[dot]com. For any questions
concerning the archive visit our main page:OoCities.org. a a ADGRPID:|
SERVTYPE:

You might also like