You are on page 1of 9

แกะโดย มีนอามา 140+เอก 78 

Proof โดย เอก 78+นะ 86 

Mechanics of breathing 
(สอนโดย อ.วิไลวรรณ กฤษณะพันธ วันที่ 12/11/2551) 

กอนอื่นตองขอโทษเพื่อนๆทุกคนที่แกะเทปชุดนี้ออกชา จนไดขาวมาวาหลายๆคนแกะเองแลวก็มี เราและทีมงานก็ได
พยายามแกะกันอยางเต็มที่แลว ถาผิดพลาดตรงไหนก็ขออภัยเปนอยางยิ่งและขอใหแจงมาดวยวาผิดที่ใด ทางเราจะไดรีบ
แกไขให

Content 

1. Generation of a pressure gradient between atmosphere and alveoli 

  1.1 Passive expansion of alveoli ปอดมันสามารถยืดไดดี เพราะวาถุงลมมันบางมากกกกกกกกก แตวาถาไม


มีความดันเลยก็จะยืดไมได  

1.2 Negative pleural pressure คือคาความดันของถุงลมที่ต่ํากวาคาความดันบรรยากาศ ถาความดันทั้งสองที่
เทากัน เรียกวาเปน 0 คาความดันใน pleural cavity นั้นมีคาเปนลบเสมอ

  1.3 muscles of respiration 

  1.4 The breathing cycle 

2. Elastic property of the lungs คุณสมบัติการยืดและหดกลับ ดูไดจาก 

  2.1 Pressure‐volume curve

     Compliance คือความสามารถในการยืดขยาย recoil คือความสามารถในการหดกลับ 

  2.2 Surface tension แรงตึงผิว 

3. Elastic property of the chest wall การหายใจจะปกติได ผนังทรวงอกก็จะตองขยายและหดกลับไดดวย 

4. Airway resistance เชน ถามี bronchospasm AR ก็จะสูง  

  4.1 Airway through tubes

  4.2 Pressure during the breathing cycle

        4.3 Chief site of airway resistance 
  4.4 Factors determining airway resistance

    Dynamic compression of airways คือ airways ถูกกด

5. Tissue resistance 

6. Work of breathing

  work done on the lung

  total work of breathing 

มาเริ่มกันเลยดีกวา!! 

1. Generation of a pressure gradient between atmosphere and alveoli 

อากาศจะไหลเมื่อมีความแตกตางของความดัน ขณะหายใจเขา

‐ contraction of diaphragm การหดตัวของกระบังลม ทําใหมันเลื่อนลงมา ปกติหายใจเขามันจะเลื่อนลงมา


ประมาณ 1 cm ถาหายใจเขาเยอะๆ อาจเลื่อนลงไดถึง 10 cm 

‐ increased alveolar volume 

‐ decreased alveolar pressure (Boyle’s law) ความดันในถุงลมจะตองต่ํากวาขางนอก ถาหายใจเขา ออก


แลวหยุดจากนั้นวัดความดันจะวัดความดันภายในถุงลมเปน 0 เพราะถุงลมมันติดกันหมดและมันยังติดตอกับขาง
นอกทาง airway มาเรื่อยๆ

“หายใจเขา alveolar pressure ตองเปนลบ หายใจออกเปนบวก” 

1.1 Passive expansion of alveoli 

ถุงลมไมสามารถขยายออกเองได จะตองมีความดันที่กระทําตอผนังของมัน เรียก distending or transmural 


or transpulmonary pressure มีคาเทากับความดันภายในถุงลม (PA) ลบกับความดันภายนอกถุงลม (Ppl)  หรือ ( PA‐ 
Ppl)

1.2 Negative pleural pressure (Synonyms: intrapleural, intrathoracic)

End of expiration: no airflow

  คือความดันภายในเยื่อหุมปอดที่มีคาเปนลบ โดยธรรมชาติแลวถุงลมมันอยากจะหดกลับ(recoil เขาใน)
ตลอดเวลา  ในขณะที่ผนังทรวงอกพยายามที่จะขยายออก(recoil ออกนอก) ซึ่งจะทําใหทั้งสองแรงนี้มีทิศทางตรงกันขาม
สงผลให pleural pressure นั้นมีคาต่ํากวา atmospheric pressure(ความดันบรรยากาศ) ทําใหความดันใน pleural 
cavity เปนลบ  
 

1.3 The Muscle of Respiration 

Inspiration: หายใจเขาเปนกระบวนการที่ตองใชพลังงานเสมอ  

ขณะพักเต็มที่ : diaphragm ซึ่งสําคัญที่สุด( ทํางานประมาณ 70 %) มี vertical dimension ของทรวงอกมากขึ้น (เสน


ผานศูนยกลางแนวตั้ง)

  external Intercostals ( ทํางานประมาณ 30 % )ขยายไปในแนวหนา หลังและขาง(antero‐posterior and 


transverse)

ขณะที่หายใจมากกวาปกติ:   จะใช accessory muscles in neck, thorax and the abdominal muscles 

Expiration: มีทั้งกระบวนการที่ตองใชพลังงานและไมใชพลังงาน

ขณะพักเต็มที่ : ไมไดใชกลามเนื้อและพลังงาน เปนแคเพียงการหดกลับมาที่เกาของกระบังลม(recoil),  ปอดมีการ recoil  

ขณะที่หายใจออกมากกวาปกติ: internal intercostals, neck and abdominal muscles เปนแบบใชพลังงาน 

1.4 The breathing cycle   

  1. เริ่มจาก สมองสั่งการใหหายใจเขา มาเปนระยะๆ เปนแบบอัตโนมัติ 

2. มาตาม nerve  ไปที่กลามเนื้อหายใจเขา  

3. กลามเนื้อในที่นี้เปน diaphragm ( อาจมี external intercostal muscle ดวยก็ได )หดตัว

4. Thoracic volume  มันก็จะเพิ่ม 

5. Intrapleural pressure  เปนลบมากขึ้นกวา ( จากเดิมที่เปนลบอยูแลว ) 

6. พอ intrapleural pressure เปนลบมันมากขึ้น จึง transcript ( ถาฟงไมผิด อ. ใชคํานี้นะ ) ไปที่ถุงลมใชมั้ย จึงมีผล


ให transmural pressure gradient  เพิ่มขึ้น ( transmural pressure = intra‐alveolar pressure – intrapleural 
pressure  ) 

7. ถุงลมก็จะขยายออก ตาม transmural pressure  gradient  ซึ่งพอยืดออกก็จะ เพิ่ม alveolar  elastic recoil ดวย  

8.ตอนนี้ alveolar pressure  ก็จะนอยกวาขางนอกแลว จึงมีการ flow ของอากาศจากขางนอกเขามาขางใน

9. อากาศจะflow  เขามาเรื่อยๆจน alveolar pressure  สมดุล กับ atmospheric pressure 

สวนการหายใจออก ก็ตองเริ่มจากคําสั่งใหกลามเนื้อหายใจเขาหดตัวนั้นหมดไปแตนอกจากนั้น อาจารยใหไปอานเอง


 

ในขณะพักความดันภายในถุงลมและความดัน 

บรรยากาศจะมีคาเทากัน นั่นคือมีความแตกตางกันเทากับ 0  

ในระหวางหายใจเขาความดันภายในถุงลมจะต่ํากวา 

ความดันบรรยากาศ เพื่อใหอากาศไหลเขามาได การที่ความ 

ดันภายในถุงลมต่ําลงนั้น เปนเพราะปอดถูกขยายออก  

เมื่อชองอกขยายก็จะดึง parietal pleura ติดไปดวย visceral pleura ก็เคลื่อนที่ตามไป ทําให visceral pleura ขยาย


ออก เปนการบังคับใหปอดขยายตามไปดวย 

สรุป คือ

Thorax expandsÆpulls on the parietal pleuraÆvisceral pleura moves with itÆvisceral pleura 
expandsÆthe lung is forced to expand 

A.ขณะหายใจออกสิ้นสุด B.ขณะเริ่มหายใจเขา จะเห็นวา


จะเปนลบเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ จนถึงจมูก  
            จะเปน 0

      C.สิ้นสุดการหายใจเขา D.ขณะหายใจออก ความดันจะ


คอยๆ ลดลงเรื่อยๆ จนในที่สุดก็จะ 

กลายเปน 0  อีกครั้ง 

(สังเกตวาในถุงลมเปน +)

 
2. Elastic Properties of the Lung  

เนื่องจากปอดมีความยืดหยุน ทั้งนี้เนื่องมาจากโครงสรางของเนื้อปอดซึ่งมี elastic และ collagen fiber ซึ่งการประสาน


ของ fiber เหลานี้ทําใหมีความยืดหยุน พิจารณาจาก

2.1 Pressure‐volume curve คือกราฟที่แสดงความสัมพันธระหวางความดันกับปริมาตรของปอด

Alveolar distending pressure = (alveolar) transmural pressure

  = Δ P across the whole lung 

  = transpulmonary pressure 

  = p. in the trachea ‐ intrapleural p. 

 
ผนังทรวงอก  ปอด 
Respiratory system (ผนังทรวงอกและปอด)

จากกราฟจะเห็นวาเมื่อความดันสูงขึ้น ปริมาตรปอดก็สูงขึ้นดวย 

  ความดัน

การหายใจเราตองสนใจทั้งผนังทรวงอกและปอด  

เพราะ total  compliance นั้นเกิดจากทั้งสองสวนนี้ เชน 

ในคนที่เปนโรคอวนจะมี chest wall compliance ต่ํา ทําให 

หายใจลําบากกวาปกติ 

ความหยุนของปอด (Lung compliance)  
ถุงลมโปงพอง
            คือการเปลี่ยนแปลงของปริมาตรตอ 1 หนวยความดันที่เปลี่ยน 

ปกติ CL=ΔV/ΔP       (หนวย litre/cm.H2O) 

            โดยวัดในสภาวะที่ไมมีการเคลื่อนที่ของทรวงอกและปอด 
Fibrosis
 

 
 

และ 1/total compliance = 1/compliance of lung+1/compliance of chest  

TLC คือ ปริมาตรปอดที่ใหญที่สุด 

RV คือ ปริมาตรของปอดเมื่อหายใจเขาลึกที่สุดและหายใจออกจนสุดแลว (ปริมาตรปอดที่เล็กที่สุด)  

ยกตัวอยางในคนที่เปนโรคถุงลมโปงพอง( emphysema ) จะมีการยืดขยายไดดีมาก นั่นคือ compliance ของปอดมีคา


สูง มีPressure นอยๆ แตยืดขยายไดมาก  ถามันเสีย recoil ดวย  มันขยายออกไปแลวไมยอมหดกลับ ทําใหปอดมันก็
ขยายๆๆๆ ออกไปเรื่อยๆ เปนถุงลมโปงพอง ( อาจารยจะพูดวามันเปน COPD ( Chronic obstructive pulmonary 
disease ) ซึ่ง COPD นั้นไดแก ถุงลมโปงพอง : อางอิง ศิริราชหนา 497 ) เปนมากๆก็ตองตัดปอดสวนที่มันพองมากทิ้ง 

สูตรการหาคา compliance คือ C = ∆V /∆P   

  2.2 Surface tension แรงตึงผิว 

ที่ถุงลมจะมีสารประกอบ phospholipid ที่เรียกวา surfactant เคลือบอยูเปนฟลมบางๆ สรางจาก alveolar 


type II โดยจะเริ่มสรางตอน 3 เดือนกอนคลอด ( trimester ที่ 3 ) ถาเด็กคลอดกอนกําหนด การสรางจะไมสมบูรณ ทําให
เด็กคนนี้มี compliance ต่ํามีelastic recoil มาก หนาที่ของ surfactant มีดังนี้ 

1. ชวยลดแรงตึงผิวของถุงลม โดยชวยลด elastic recoil ของปอด และชวยทําใหปอดมี compliance มากขึ้น


นั่นก็คือเปนการเพิ่มปริมาตรของปอดในขณะพัก 

2. เปนตัวรักษาถุงลมไมใหแฟบ โดยปกติแลวถุงลมที่มีขนาดเล็กจะมีความดันสูง( เพราะ r มีคานอยตัวหารนอย


P จึงมาก ) ถุงลมที่มีขนาดใหญความดันจะต่ํา (จาก Laplace’s law  P=2Tension/r   เมื่อ P = ความดันภายในทรงกลม
อางอิงจาก : ศิริราชหนา 493) ซึ่งจะทําใหอากาศไหลจากถุงลมเล็กไปยังถุงลมใหญผลก็คือถุงลมเล็กจะแฟบ ถุงลมใหญก็
จะแตก แตเหตุการณนี้มันไมเกิดขึ้น เพราะวามี surfactant เปนตัวชวยลดsurface tension จึงเปนการลดความดันของ
ถุงลมแตละขนาดใหเทากันตลอด  ( ถุงเล็ก surface tension นอย , ถุงใหญ surface tension มาก พอหารกัน P ก็จะ
เทาๆกัน )

INFANT  RESPIRATORY DISTRESS SYNDROME คือ กลุมอาการที่หายใจยาก เพราะทารกขาด surfactant ซึ่งจะทํา


ใหมีความลําบากในการขยายปอดในการหายใจครั้งแรก 

3. Elastic property of the chest wall ผนังชองอกเมื่อมีการยืดขยายแลวจะตองมีการหดกลับดวย 

4. Airway resistance การตานทานตอการไหลของอากาศ  

  total resistance  = pulmonary resistance 
 = lung tissue resistance (20%)  +airway resistance (80%) 

เชน เมื่อเกิด bronchospasm ก็จะมี Airway Resistance  สูงขึ้น นั่นคือ Total Resistance  ก็สูงขึ้น

4.1 Flow of airway through tubes การไหลของอากาศผานทอ ซึ่งขึ้นอยูกับวิธีการไหล 

(laminar flow,transitional flow,turbulent flow) ขนาดและความยาวของทอ 

ซึ่งหาไดจาก   airflow = pressure gradient/total resistance 

4.2 Pressure during the breathing cycle 

              ‐ ความดันในถุงลมจะลดลงเรื่อยๆ ในขณะหายใจเขา  

และลดต่ําที่สุดเมื่อถึงกึ่งกลางการหายใจเขา จากนั้นจะ 

เพิ่มขึ้นเรื่อยๆ จนสูงสุดตอนกึ่งกลางการหายใจออก 

‐ intrapleural pressure จะลดต่ําสุดตอนสิ้นสุด 

การหายใจเขา ( อาจารยพูดอยางนั้นนะ แตถาดูในรูป


จะเห็นวามันต่ําสุดตอนที่กอนจะสิ้นสุดเล็กนอย ซึ่งก็
จะสอดคลองกับรูปใน slide ที่ 11 )

‐ ปริมาตรของอากาศสูงสุดตอนที่สิ้นสุดการหายใจเขา ซึ่งมีคาประมาณ 0.5 ลิตร 

4.3 Chief site of airway resistance อยูที่  medium‐sized bronchi ประมาณ generation ที่ 5‐6 

          ‐ เมื่อปริมาตรของปอดเพิ่มขึ้น AWR ก็จะลดต่ําลง  

          Conductance (สวนกลับของ AWR) จะสูงขึ้น 

          ( AWR แปรผกผันกับ ปริมาตรของปอด)

‐ ทางเดินหายใจสวนปลายๆ จะมีขนาดเล็ก แต AWR มี 

ประมาณ 20% เทานั้น 50% ของAWR อยูที่ Upper airways 

          ‐ การที่ไดยินเสียง wheezing เกิดจากมีการตีบตันในทางเดิน 

หายใจ มักเกิดกับพวกสวนปลายๆ ซึ่งจะทําให AWR สูงขึ้น 

 
 

4.4 Factors determining airway resistance  ( slideนี้อาจารยบอกวานักศึกษามีหนาที่ตองจํา T_T )

Bronchoconstriction             Bronchodilation  

• parasympathetic stimulation    sympathetic          
          stimulation

• slow reacting substances agents   noradrenaline, (LTC4, LTD4,LTE4)    

adrenaline,          
  isoprenaline,          
  salbutamol  ( มี theophylline ดวยไวรักษา Asthma
อาจารยบอกเพิ่ม )

PGD2                    

noradrenergic nonchlinergic         

(NANC)

histamines, serotonin, LTB4,  

*อาจารยเนนวา histamines จะเกิดรวมกับ hydrosecretion 

Dynamic compression of the airways 

Distending pressure = ความดันภายในถุงลม – ความดันภายนอกถุงลม
เมื่อมีการหายใจออกมากกวาปกติ(อยางที่ใครที่เขาเรียนก็จะตกใจกับการ
หายใจของอาจารย 555+) จะทําใหความดันภายในถุงลมมีคานอยกวา 

ภายนอก ทําใหเกิดการตีบของ airways และคาความดันรวมเปนลบ 

5. Tissue resistance เกิดจากการเสียดสีของเนื้อเยื่อที่เคลื่อนไหวขณะหายใจ ซึ่งมีคา 20% ของ total resistance 

ดังนี้ total resistance = pulmonary resistance = tissue resistance (20%)  + airway resistance (80%)  
6. Work of Breathing การทํางานนี้เปนการทํางานเพื่อรักษาสมดุลของ blood gas ซึ่งจะตองทําใหกลามเนื้อหายใจ
ทํางานนอยที่สุด  ซึ่งตองการเพื่อเคลื่อนไหวปอดและผนังทรวงอก ( ถามีมากแสดงวาหายใจลําบาก ) ซึ่งแบงไดดังนี ้

Inspiratory work     

  Nonelastic work

     viscous resistance (7%) เพื่อเอาชนะ lung tissue resistance 

     airway resistance (28%) เพราะในสวนปลายๆทางเดินหายใจมีการหดไดเนื่องจากไมมี cartilage  

  Elastic work (65%)   

$$$$$$$$$$$$$$$$$$$$$$$$$$$$$$$ 

แซวที่ทุกคนรอคอย 55+ 

-ไดขาวจาก small group 13 ในเคส CVS วา Tutor บอกใหรอยเอ็ดวิทยาลัยปรับปรุง accent โดยดวน! 

‐จาก small group 13 เชนกัน มีขาววา กิ๊ฟสันมักใจลอยในระหวางทําเคสบอยๆ(ใจลอยถึงบัก “ห..”เปลาเนี่ย?) 

-ในโลกใบนี้มีเผาพันธุอยางนอย 3 เผา คือ คอเคซอยด นิกรอยด มองโกลอยด แตทําไมในแถวหนาๆหองบรรยาย 3 กลับพบ


เจอหนึ่งในเผาพันธุ “ครอคโคดอยด” อีก(แถมยังแอบช้ําใจ เอามือถือไปลอยพรอมกระทงดวย เอิ๊กๆๆ)

-เกมยอดนิยม Pro evolution 2009 ใกลถึงยุคมืด เมื่อทีม Konami เลน edit ให Manchester United ซะเกงเกินจริง 

โดยเฉพาะสังเกตไดวา เวร Rooney ทําไดทุกอยาง คงจะมีอยางเดียวคือบินไมได  ( คนพรูฟ : อืมม เคาคงเห็นความจริง


แลว 55+ )

-อิจฉาคูรักที่ “Gross นําพาใหเราไดมาพบเจอ กิ๊วๆๆๆๆ”  มันเกิดตอนไหนเนี่ย หรือวาเริ่มที่ผัดไทยราชา 55+

-มีคนมอง “วุน บดินทร”ขางหลังแลวเรียกวา “เพิ่ม” (ใครควรเสียใจกันแนเนี่ย..) 

‐ถึง ปุน กรุณาเปลี่ยนทรงผมเถิด(เอาทรงเห็ดออกไป!) ไมตองไปสนใจตุย  

‐อามาไปกินติ่มซําบุฟเฟต ขึ้นชิงบัลลังกนักกินจุกับกะตั้ว จนกะตั้วยอมแพ 

-เบียรหญิง ประกาศ(จากชมรม 6 ป ไมมีใคร) ระวังเคาจะแตงงานคนแรกของ med  ก็ละกัน หุหุ 

-เหรัญญิกของเรา ไดขาววาไมไดเลน MSN แตไหงมีรูปไปอยูในดิสเพลยของใครบางคนนะ อิอิ

-แกะเทปนี้หวังวาคงพอชวยเพื่อนๆไดบางไมมากก็นอยนะครับผม โชค AAAAAA 

You might also like