You are on page 1of 38

2 3 ห ล ว ง ปู่ มั่ น ภู ริ ทั ต โ ต

ขั น ธ ะ วิ มุ ติ ส ะ มั ง คี ธ ร ร ม
หลวงปู่มั่น ภูริทัตโต
2 3 ห ล ว ง ปู่ มั่ น ภู ริ ทั ต โ ต

ชมรมกัลยาณธรรม
หนังสือดีล�ำดับที่ ๙๘
า ณธรรม
ขันธะวิมุติสะมังคีธรรม
คำค นำน จากชมรมกลั ย
หลวงปู่มั่น ภูริทัตโต

พิมพ์ครั้งที่ ๑ พฤศจิกายน ๒๕๕๒


ถ้าได้มีโอกาสศึกษาชีวประวัติของพระเถรานุเถระ บูรพาจารย์
จำ�นวนพิมพ์ ๕,๐๐๐ เล่ม มาแล้วในจ�ำนวนมาก เราจะเห็นได้ประการหนึง่ ว่า พระอริยสาวกทัง้ หลาย
จัดพิมพ์โดย ชมรมกัลยาณธรรม ดังกล่าวมานี้ เต็มไปด้วยภูมิธรรม ภูมิปัญญา งดงามด้วยศีลาจริยาวัตร
๑๐๐ ถนนประโคนชัย ตำ�บลปากน้ำ� คู่ควรแก่ความเลื่อมใสศรัทธาเหนือเกล้าเหนือเศียรแก่สานุชนทั้งหลาย
อำ�เภอเมือง จังหวัดสมุทรปราการ ๑๐๒๗๐
โทรศัพท์ ๐-๒๗๐๒-๗๓๕๓ และ ๐-๒๖๓๕-๓๙๙๘ เป็นอย่างยิ่ง
ภาพปก/ภาพประกอบ เซมเบ้
จัดรูปเล่ม คนข้างหลัง เราจะเห็นว่า  พระอริยสงฆ์  บูรพคณาจารย์ที่เราน้อมศรัทธา
แยกสี canna graphic โทร. ๐๘-๖๓๑๔-๓๖๕๑ ทั้งหลายนั้น หลายท่านมีพ่อแม่ครูบาอาจารย์ที่อบรมธรรมให้พวกท่าน
จัดพิมพ์โดย บริษัท ขุมทองอุตสาหกรรมการพิมพ์ จำ�กัด
๐-๒๘๘๕-๗๘๗๑-๓ ทั้งหลาย ชื่อของท่านพระอาจารย์มั่น ภูริทัตตเถระ นับเป็นพระอาจารย์
สุดยอดพระนักกัมมัฎฐาน ที่มีลูกศิษย์ลูกหาทั่วประเทศ
สัพพทานัง ธัมมทานัง ชินาติ ท่านเป็นต้นแบบ เป็นยอดของพระอริยสงฆ์ในสายวิปัสสนา ที่
การให้ธรรมะเป็นทาน ย่อมชนะการให้ทั้งปวง พวกเราควรศึกษาเป็นแบบอย่างในแนวทางปฏิปทาอันสละชีวิตอุทิศเพื่อ
www.kanlayanatam.com
4 ขั น ธ ะ วิ มุ ติ ส ะ มั ง คี ธ ร ร ม 5 ห ล ว ง ปู่ มั่ น ภู ริ ทั ต โ ต

พระธรรมเป็นอย่างยิ่ง การบ�ำเพ็ญเพียรธรรมของท่านถือเป็นแบบอย่าง
อันอุกฤษฏ์และมุ่งมั่น ท่านสามารถหยั่งรู้ถึงกรรมและหยั่งรู้ถึงจิตใจ
ของเหล่าสรรพสัตว์น้อยใหญ่อย่างลึกซึ้ง ตลอดจนสามารถพูดคุยกับ
สิงสาราสัตว์ต่างๆ เป็นที่เข้าใจได้ ธรรมะหรือบทธรรมที่ออกมาจากปาก
ของท่าน ช่างจับจิตจับใจของสาธุชนเป็นอย่างยิ่ง สารบัญ
ท่านคือ พระอริยสงฆ์ทยี่ งิ่ ใหญ่ทสี่ ดุ ในยุคสมัยหนึง่  ทีย่ ากจะหาใคร
เทียบเทียมได้ ท่านคือ เอกองค์บูรพาจารย์ ผู้มุ่งการบ�ำเพ็ญเพียรภาวนา ขันธะวิมุติสะมังคีธรรม
ธรรม ขององค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า นมตฺถุ สุคตสฺส ปญฺจ ธมฺมขนฺธานิ ๗
เนื่องในมงคลวาระ ครบรอบ ๖๐ ปี แห่งการละสังขาร ของท่าน ทาน ศีล ภาวนา ๒๕
พระอาจารย์มนั่  ภูรทิ ตั ตเถระ ในพุทธศักราช ๒๕๕๒ ชมรมกัลยาณธรรม
ขอจัดพิมพ์หนังสือขันธะวิมุติสะมังคีธรรมเล่มนี้ เพื่อแจกเป็นธรรมทาน คนดีมีศีลธรรม ๓๙
น้อมถวายแด่องค์บรู พาจารย์ ด้วยความเคารพศรัทธาเหนือเศียรเกล้า หวัง สัตว์โลกย่อมเป็นไปตามกรรม ๔๗
อานิสงส์ในธรรมทานนี้ จักได้เกื้อกูลเหล่าสรรพสัตว์ผู้แสวงหาหนทาง อานิสงส์ของการรักษาศีล ๕ ๕๕
พ้นทุกข์ ให้พบแสงสว่างแห่งปัญญา ตามรอยพระพุทธองค์และพระอริย
สงฆ์สาวกทั้งหลายทั่วกันเทอญ วิธีปฏิบัติของผู้เล่าเรียนมาก ๖๑
ชมรมกัลยาณธรรม
คติธรรมค�ำสอน ๖๕
6 7 ห ล ว ง ปู่ มั่ น ภู ริ ทั ต โ ต

ขันธะวิมุติสะมังคีธรรมะ
นมตฺถุ สุคตสฺส ปญฺจ ธมฺมขนฺธานิ
ข้าพเจ้าขอนอบน้อมซึ่งพระสุคต  บรมศาสดาศากยมุนี
สัมมาสัมพุทธเจ้า แลพระนวโลกุตตรธรรม ๙ ประการ และอริยสงฆ์
สาวกของพระพุทธเจ้านั้น

บัดนี้ ข้าพเจ้าจักกล่าวซึ่งธรรมขันธ์  โดยสังเขปตามสติ
ปัญญาฯ

ยังมีท่านคนหนึ่งรักตัวคิดกลัวทุกข์  อยากได้สุขพ้นภัย
เทีย่ วผายผัน  เขาบอกว่าสุขมีทไี่ หนก็อยากไป  แต่เทีย่ วหมัน่ ไปมา
8 ขั น ธ ะ วิ มุ ติ ส ะ มั ง คี ธ ร ร ม 9 ห ล ว ง ปู่ มั่ น ภู ริ ทั ต โ ต

อยู่ช้านาน  นิสัยท่านนั้นรักตัวกลัวตายมาก  อยากจะพ้นแท้ๆ ทุกข์ไม่ม  ี คือกายคตาสติภาวนา  ชมเล่นให้เย็นใจหายเดือดร้อน


เรื่องแก่ตาย  วันหนึ่งท่านรู้จริงซึ่งสมุทัยพวกสังขาร  ท่านก็ปะ หนทางจรอริยวงศ์  จะไปหรือไม่ไปฉันไม่เกณฑ์  ไม่หลอกเล่น
ถ�้ำสนุกสุขไม่หาย  เปรียบเหมือนดังกายนี้เองฯ บอกความให้ตามจริง

ชะโงกดูถ�้ำสนุกทุกข์คลาย  แสนสบายรู้ตัวเรื่องกลัวนั้นเบา แล้วกล่าวปริศนาท้าให้ตอบ
ด�ำเนินไปเมินมาอยู่หน้าเขา  จะกลับไปป่าวร้องซึ่งพวกพ้องเล่า ปริศนานั้นว่า ระวิ่ง คือ อะไร
ก็ ก ลัวเขาเหมาว่าเป็นบ้าบอ   สู้อยู่ผู้เดียวหาเรื่ อ งเครื่ อ งสงบ ตอบว่า วิง่ เร็ว คือวิญญาณอาการใจ  เดินเป็นแถวตามแนว
เป็นอันจบเรื่องคิดไม่ติดต่อ  ดีกว่าเที่ยวรุ่มร่ามท�ำสอพลอ  เดี๋ยว กัน สัญญาตรงไม่สงสัย  ใจอยูใ่ นวิง่ ไปมา สัญญาเหนียวภายนอก
ถูกยอถูกติเป็นเรื่องเครื่องร�ำคาญฯ หลอกลวงจิต  ท�ำให้คดิ วุน่ วายเทีย่ วส่ายหา  หลอกเป็นธรรมต่างๆ
อย่างมายา
ยังมีบรุ ษุ คนหนึง่   คิดกลัวตายน�ำ้ ใจฝ่อ  มาหาแล้วพูดตรงๆ
น่าสงสาร  ถามว่าท่านพากเพียรมาก็ช้านาน  เห็นธรรมที่แท้จริง ถามว่า ขันธ์ห้า ใครพ้นจนทั้งปวง
แล้วหรือยังที่ใจหวัง  เอ๊ะ! ท�ำไมจึงรู้ใจฉัน  บุรุษผู้นั้นก็อยาก แก้วา่  ใจซิพน้ อยูค่ นเดียว  ไม่เกาะเกีย่ วพัวพันติดสิน้ พิษหวง
อยู่อาศัย  ท่านว่าดีดี ฉันอนุโมทนา  จะพาดูเขาใหญ่ถ�้ำสนุก หมดที่หลงอยู่เดียวดวง  สัญญาลวงไม่ได้หมายหลงตามไป
10 ขั น ธ ะ วิ มุ ติ ส ะ มั ง คี ธ ร ร ม 11 ห ล ว ง ปู่ มั่ น ภู ริ ทั ต โ ต

ถามว่า ที่ว่าตาย ใครเขาตาย ที่ไหนกัน ใจก็นั่งแท่นนิ่งทิ้งอาลัย
แก้ว่า สังขารเขาตาย ท�ำลายผล
ถามว่า สระสี่เหลี่ยมเปี่ยมด้วยน�้ำ
ถามว่า สิ่งใดก่อให้ต่อวน แก้วา่  ธรรมสิน้ อยากจากสงสัย  ใสสะอาดหมดราคีไม่มภี ยั
แก้ว่า กลสัญญาพาให้เวียน  เชื่อสัญญาจึงผิดคิดยินดี สัญญาในนั้นพราก สังขารขันธ์นั้นไม่กวน  ใจจึงเปี่ยมเต็มที่ไม่มี
ออกจากภพนีไ้ ปภพนัน้ เทีย่ วหันเหียน  เลยลืมจิตจ�ำปิดสนิทเนียน พร่อง  เงียบระงับดวงจิตไม่คดิ ครวญ  เป็นของควรชมชืน่ ทุกคืนวัน
ถึงจะเพียรหาธรรมก็ไม่เห็น แม้ ไ ด้ ส มบั ติ ทิ พ ย์ สั ก สิ บ แสน   หาแม้ น เหมื อ นรู ้ จ ริ ง ทิ้ ง สั ง ขาร
หมดความอยากเป็นยิ่งสิ่งส�ำคัญ  จ�ำอยู่ส่วนจ�ำ ไม่ก�้ำเกิน ใจ
ถามว่า ใครก�ำหนดใครหมายเป็นธรรม ไม่เพลินทั้งสิ้นหายดิ้นรน
แก้วา่  ใจก�ำหนดใจหมาย  เรือ่ งหาเจ้าสัญญานัน้ เอง  คือว่า
ดีว่าชั่ว ผลัก ติด รัก ชัง เหมือนดังเอากระจกส่องเงาหน้า  แล้วอย่าคิดติดสัญญา
เพราะสัญญานัน้ เหมือนดังเงา  อย่าได้เมาไปตามเรือ่ งเครือ่ งสังขาร
ถามว่า กินหนเดียวไม่เที่ยวกิน ใจขยับจับใจที่ไม่ปน  ไหวส่วนตนรู้แน่เพราะแปรไป  ใจไม่เที่ยง
แก้ว่า สิ้นอยากดูไม่รู้หวัง  ในเรื่องเห็นต่อไปหายรุงรัง ของใจใช่ต้องว่า  รู้ขันธ์ห้าต่างชนิดเมื่อจิตไหว  แต่ก่อนนั้น
12 ขั น ธ ะ วิ มุ ติ ส ะ มั ง คี ธ ร ร ม 13 ห ล ว ง ปู่ มั่ น ภู ริ ทั ต โ ต

หลงสัญญาว่าเป็นใจ  ส�ำคัญว่าในว่านอกจึงหลอกลวง  คราวนีใ้ จ ถามว่า ห้าหน้าที่ มีครบกัน
เป็นใหญ่ไม่หมายพึ่ง  สัญญาหนึ่งสัญญาใดมิได้ห่วง  เกิดก็ตาม ตอบว่า ขันธ์แบ่งแจกแยกห้าฐานเรื่องสังขาร  ต่างกองรับ
ดับก็ตามสิ่งทั้งปวง  ไม่ต้องหวงไม่ต้องกันหมู่สัญญา  เปรียบ หน้ า ที่ มี กิ จ การ    จะรั บ งานอื่ น ไม่ ไ ด้ เ ต็ ม ในตั ว    แม้ ล าภยศ
เหมื อ นขึ้ น ยอดเขาสู ง แท้ แ ลเห็ น ดิ น    แลเห็ น สิ้ น ทุ ก ตั ว สั ต ว์ ... สรรเสริญ เจริญสุข นินทา ทุกข์ เสือ่ มยศ หมดลาภทัว่  รวมลงตาม
สูงยิง่ นักแลเห็นเรือ่ งของตนแต่ตน้ มา  เป็นมรรคาทัง้ นัน้ เช่นบันได สภาพตามเป็นจริง  ทัง้ แปดสิง่ ใจไม่หนั ไปพัวพัน  เพราะว่ารูปขันธ์
ก็ท�ำแก่ไข้มิได้เว้น  นามก็มิได้พักเหมือนจักรยนต์  เพราะรับผล
ถามว่า น�้ำขึ้นลงตรงสัจจังนั้นหรือ ของกรรมทีท่ ำ� มา  เรือ่ งดีพาเพลิดเพลินเจริญใจ  เรือ่ งชัว่ ขุน่ วุน่ จิต
ตอบว่า สังขารแปรแก้ไม่ได้  ธรรมดากรรมแต่งไม่แกล้งใคร คิดไม่หยุด  เหมือนไฟจุดจิตหมองไม่ผ่องใส  นึกขึ้นเองทั้งรัก
ขืนผลักไสจับต้องก็หมองมัว  ชั่วในจิต ไม่ต้องคิดขัดธรรมดา ทั้งโกรธไปโทษใคร
สภาวะสิ่ ง เป็ น จริ ง ดี ชั่ ว    ตามแต่ เ รื่ อ งของเรื่ อ งเปลื้ อ งแต่ ตั ว
ไม่พัวพันสังขารเป็นการเย็น  รู้จักจริงต้องทิ้งสังขารที่ผันแปร อยากไม่แก่ไม่ตายได้หรือคน  เป็นของพ้นวิสัยจะได้เชย
เมื่อแลเห็น  เบื่อแล้วปล่อยได้คล่องไม่ต้องเกณฑ์  ธรรมก็เย็นใจ เช่นไม่อยากให้จิตเที่ยวคิดรู้  อยากให้อยู่เป็นหนึ่งหวังพึ่งเฉย
ระงับรับอาการ จิตเป็นของผันแปรไม่แน่เลย  สัญญาเคยอยู่ได้บ้างเป็นครั้งคราว
ถ้ารู้เท่าธรรมดาทั้งห้าขันธ์  ใจนั้นก็ขาวสะอาดหมดมลทินสิ้น
14 ขั น ธ ะ วิ มุ ติ ส ะ มั ง คี ธ ร ร ม 15 ห ล ว ง ปู่ มั่ น ภู ริ ทั ต โ ต

เรื่องราว  ถ้ารู้ได้อย่างนี้จึงดียิ่ง  เพราะเห็นจริงถอนหลุดสุดวิถี นั้นแล องค์ธรรมเอก วิเวกจริง  ธรรมเป็นหนึ่งไม่แปรผัน
ไม่ฝ่าฝืนธรรมดาตามเป็นจริง  จะจนจะมีตามเรื่องเครื่องนอกใน เลิศภพสงบยิ่ง  เป็นอารมณ์ของใจไม่ไหวติง  ระงับนิ่งเงียบสงัด
ดี ห รื อ ชั่ ว ต้ อ งดั บ เลื่ อ นลั บ ไป    ยึ ด สิ่ ง ใดไม่ ไ ด้ ต ามใจหมาย ชัดกับใจ  ใจก็สร่างจากเมาหายเร่าร้อน  ความอยากถอนได้หมด
ใจไม่เทีย่ ง ของใจไหววิบวับ  สังเกตจับรูไ้ ด้สบายยิง่   เล็กบังใหญ่ ปลดสงสัย  เรื่องพัวพันขันธ์ซาสิ้นไป  เครื่องหมุนในไตรจักร
รู้ไม่ทันขันธ์บังธรรมมิดผิดที่นี่ มัวดูขันธ์ธรรมไม่เห็นเป็นธุลีไป ก็หักลง  ความอยากใหญ่ยิ่งก็ทิ้งหลุด ความรักหยุดหายสนิท
ส่วนธรรมมีใหญ่กว่าขันธ์นั้นไม่แล สิ้นพิศวง  ร้อนทั้งปวงก็หายหมดดังใจจง

ถามว่า มีไม่ม ี ไม่มีม ี นี้คืออะไร เชิญโปรดชี้อีกอย่างหนทางใจ  สมุทัยของจิตที่ปิดธรรม


ทีนตี้ ดิ หมด คิดแก้ไม่ไหว  เชิญชีใ้ ห้ชดั ทัง้ อรรถแปล  โปรด แก้ว่า สมุทัยกว้างใหญ่นัก  ย่อลงก็คือความรักบีบใจอาลัย
แก้เถิด ที่ว่าเกิดมีต่างๆ ทั้งเหตุผล  แล้วดับไม่มีชัดใช่สัตว์คน ขันธ์  ถ้าธรรมมีกับจิตเป็นนิจนิรันดร์  เป็นเลิกกันสมุทัยมิได้มี
นี้ข้อต้นมีไม่มีอย่างนี้ตรง  ข้อปลายไม่มีมีนี้เป็นธรรม  ที่ลึกล�้ำ จงจ�ำไว้อย่างนี้วิถีจิต  ไม่ต้องคิดเวียนวนจนป่นปี้  ธรรมไม่มี
ไตรภพจบประสงค์  ไม่มีสังขาร มีธรรมที่มั่นคง อยู่เป็นนิตย์ติดยินดี  ใจตกที่สมุทัยอาลัยตัว
16 ขั น ธ ะ วิ มุ ติ ส ะ มั ง คี ธ ร ร ม 17 ห ล ว ง ปู่ มั่ น ภู ริ ทั ต โ ต

ว่าอย่างย่อทุกข์กับธรรมประจ�ำจิต  เอาจนคิดรู้เห็นจริง
จึงเย็นทัว่   จะสุขทุกข์เท่าไรมิได้กลัว  สร่างจากเครือ่ งมัวคือสมุทยั
ไปที่ดี รู้เท่านี้ก็คลายหายความร้อน  พอพักผ่อนเสาะแสวงหา
ทางหนี  จิตรูธ้ รรมลืมจิตทีต่ ดิ ธุล  ี ใจรูธ้ รรมทีเ่ ป็นสุข ขันธ์ทกุ ข์แท้
แน่ประจ�ำ  ธรรมคงเป็นธรรม ขันธ์คงขันธ์เท่านัน้ แล  ค�ำว่าเย็นสบาย
หายเดือดร้อน  หมายจิตถอนจากผิดที่ติดแก้  ส่วนสังขารขันธ์
ปราศจากสุ ข เป็ น ทุ ก ข์ แ ท้    เพราะต้ อ งแก่ ไ ข้ ต ายไม่ ว ายวั น
จิตรู้ธรรมที่ล�้ำเลิศจิตก็ถอน  จากผิดเครื่องเศร้าหมองของแสลง
ผิดเป็นโทษของใจอย่างร้ายแรง  เห็นธรรมแจ้ง ถอนผิดหมดพิษใจ
จิ ตเห็นธรรมดีล้นที่พ้นผิด   พบปะธรรมเปลื้ อ งเครื่ อ งกระสั น
มีสติอยู่ในตัวไม่พัวพัน  เรื่องรักขันธ์ขาดสิ้นหายยินดี  สิ้นธุลีทั้ง
ปวงหมดห่วงใย  ถึงจะคิดก็ไม่หา้ มตามนิสยั  เมือ่ ไม่หา้ มกลับไม่ฟงุ้
พ้นยุ่งไป  พึงรู้ได้บาปมีขึ้นเพราะขืนจริง ตอบว่า บาปเกิดได้
เพราะไม่รู้ถ้าปิดประตูเขลาได้สบายยิ่ง  ชั่วทั้งปวงเงียบหาย
18 ขั น ธ ะ วิ มุ ติ ส ะ มั ง คี ธ ร ร ม 19 ห ล ว ง ปู่ มั่ น ภู ริ ทั ต โ ต

ไม่ไหวติง  ขันธ์ทุกสิ่งย่อมทุกข์ไม่สุขเลย ก็มาชวน  ยกกระบวนทุกอย่างต่างๆ ไป

แต่ก่อนข้าพเจ้ามืดเขลาเหมือนเข้าถ�้ำ  อยากเห็นธรรม เพราะยึดขันธ์ทั้งห้าว่าของตน  จึงไม่พ้นทุกข์ภัยไปได้นา
ยึดใจจะให้เฉย  ยึดความจ�ำว่าเป็นใจหมายจนเคย  เลยเพลิน ถ้ารู้โทษของตัวแล้วอย่าชาเฉย  ดูอาการสังขารที่ไม่เที่ยงร�่ำไป
เชยชม “จ�ำ” ธรรมมานาน  ความจ�ำผิดปิดไว้ไม่ให้เห็น  จึงหลง ให้ใจเคย  คงได้เชยชมธรรมะอันเอกวิเวกจิต  ไม่เทีย่ งนัน้ หมายใจ
เล่นขันธ์ห้าน่าสงสาร ให้ยกตัวอวดตนพ้นประมาณ เที่ยวระราน ไหวจากจ�ำ  เห็นแล้วซ�ำ้ ดูๆ อยูท่ ไี่ หว  พออารมณ์นอกดับระงับไป
ติคนอืน่ เป็นพืน้ ไป  ไม่เป็นผล เทีย่ วดูโทษคนอืน่ นัน้ ขืน่ ใจ  เหมือน หมดปรากฏธรรม  เห็นธรรมแล้วย่อมหายวุ่นวายจิต  จิตนั้น
ก่อไฟเผาตัวต้องมัวมอม ไม่ติดคู่จริงเท่านี้หมดประตู  รู้ไม่รู้อย่างนี้วิถีใจ  รู้เท่าที่ไม่เที่ยง
จิตต้นพ้นริเริ่ม  คงจิตเดิมอย่างเที่ยงแท้  รู้ต้นจิตพ้นจากผิด
ใครผิดถูกดีชวั่ ก็ตวั เขา  ใจของเราเพียรระวังตัง้ ถนอม  อย่า ทั้งปวงไม่ห่วง  ถ้าออกไปปลายจิตผิดทันที
ให้อกุศลวนมาตอม  ควรถึงพร้อมบุญกุศลผลสบาย  เห็นคนอื่น
เขาชั่วตัวก็ดี  เป็นราคียึดขันธ์ที่มั่นหมาย  ยึดขันธ์ต้องร้อนแท้ ค�ำทีว่ า่ มืดนัน้ เพราะจิตคิดหวงดี  จิตหวงนีป้ ลายจิตคิดออก
เพราะแก่ตาย  เลยซ�ำ้ ร้ายกิเลสกลุม้ เข้ารุมกวน  เต็มทัง้ รักทัง้ โกรธ ไป  จิตต้นดีเมื่อธรรมะปรากฏหมดสงสัย  เห็นธรรมอันเลิศล�้ำ
โทษประจักษ์  ทั้งกลัวนักหนักจิตคิดโหยหวน  ซ�้ำอารมณ์กามห้า โลกา   เรื่ อ งคิ ด ค้ น วุ ่ น หามาแต่ ก ่ อ น  ก็ เ ลิ ก ถอนเปลื้ อ งปลด
20 ขั น ธ ะ วิ มุ ติ ส ะ มั ง คี ธ ร ร ม 21 ห ล ว ง ปู่ มั่ น ภู ริ ทั ต โ ต

ได้หมดสิน้   ยังมีทกุ ข์ตอ้ งหลับนอนกับกินไปตามเรือ่ ง  ใจเชือ่ งชิด รู้อยู่เพราะหมายคู่ก็ไม่ใช่  จิตคงรู้จิตเองเพราะเพลงไหว


ต้ น จิ ต คิ ด ไม่ ค รวญ    ธรรมดาของจิ ต ก็ ต ้ อ งนึ ก คิ ด    พอรู ้ สึ ก จิตรูไ้ หวๆ ก็จิตติดกันไป  แยกไม่ได้ตามจริงสิง่ เดียวกัน  จิตเป็น
จิตต้นพ้นโหยหวยเงียบสงัดจากเรือ่ งเครือ่ งรบกวน  ธรรมดาสังขาร สองอาการเรียกว่าสัญญาพาพัวพัน  ไม่เทีย่ งนัน้ ก็ตวั เองไปเล็งใคร
ปรากฏหมดด้วยกัน  เสื่อมทั้งนั้นคงที่ไม่มีเลย ใจรูเ้ สือ่ มของตัวก็พน้ มัวมืด  ใจก็จดื สิน้ รสหมดสงสัย  ขาดค้นคว้า
หาเรื่องเครื่องนอกใน  ความอาลัยทั้งปวงก็ร่วงโรย  ทั้งโกรธรัก
ระวังใจเมื่อจ�ำท�ำละเอียด  มักจะเบียดให้จิตไปติดเฉย เครื่ อ งหนั ก ใจก็ ไ ปจาก    เรื่ อ งใจอยากก็ ห ยุ ด ได้ ห ายหวนโหย
ใจไม่เที่ยงของใจซ�้ำให้เคย  เมื่อถึงเอยหากรู้เองเพลงของใจ พ้นหนักใจทัง้ หลายโอดโอย  เหมือนฝนโปรยใจ ใจเย็นเห็นด้วยใจ
เหมือนดังมายาที่หลอกลวง  ท่านว่าวิปัสสนูปกิเลสจ�ำแลงเพศ ใจเย็นเพราะไม่ต้องเที่ยวมองคน  รู้จิตต้นปัจจุบันพ้นหวั่นไหว
เหมื อ นดั ง จริ ง ที่ แ ท้ ไ ม่ จ ริ ง    รู ้ ขึ้ น เองหมายนามว่ า ความเห็ น ดี ห รื อ ชั่ ว ทั้ ง ปวงไม่ ห ่ ว งใย     ต้ อ งดั บ ไปทั้ ง เรื่ อ งเครื่ อ งรุ ง รั ง
ไม่ใช่เช่นฟังเข้าใจชั้นไต่ถาม  ทั้งตรึกตรองแยกแยะแกะรูปนาม อยู ่ เ งี ย บๆ ต้ น จิ ต ไม่ คิ ด อ่ า น   ตามแต่ ก ารของจิ ต สิ้ น คิ ด หวั ง
ก็ใช่ความเห็นเองจงเล็งดู  รู้ขึ้นเองใช่เพลงคิด  รู้ต้นจิต จิตต้น ไม่ต้องวุ่นต้องวายหายระวัง  นอนหรือนั่งนึกพ้นอยู่ต้นจิต
พ้นโหยหวนต้นจิตรู้ตวั แน่ว่าสังขาร  เรื่องแปรปรวนใช่กระบวนไป
ดูหรือรู้อะไร ท่านชี้มรรคฟังหลักแหลม  ช่างต่อแต้มกว้างขวางสว่างไสว
ยังอีกอย่างทางใจไม่หลุดสมุทยั   ขอจงโปรดชีใ้ ห้พสิ ดารเป็นการดี
22 ขั น ธ ะ วิ มุ ติ ส ะ มั ง คี ธ ร ร ม 23 ห ล ว ง ปู่ มั่ น ภู ริ ทั ต โ ต

ตอบว่ า   สมุ ทั ย   คื อ   อาลั ย รั ก    เพลิ น ยิ่ ง นั ก ท� ำ ภพใหม่ เรื่องอยากดีไม่หยุดคือตัวสมุทัย  เป็นโทษใหญ่กลัวจะไม่ดีนี้ก็แรง


ไม่หน่ายหนี  ว่าอย่างต�่ำกามคุณห้าเป็นราคี อย่างสูงชี้สมุทัย ดีแลไม่ดีนี้เป็นพิษของจิตนัก  เหมือนไข้หนักถูกต้องของแสลง
อาลัยฌาน ถ้าจับตามวิถี มีในจิตก็เรื่องคิดเพลินไปในสังขาร ก�ำเริบโรคด้วยพิษผิดส�ำแลง  ธรรมไม่แจ้งเพราะอยากดีนี้เป็น
เพลิ น ทั้ ง ปวงเคยมาเสี ย ช้ า นานกลั บ เป็ น การดี ไ ปให้ เ จริ ญ เดิม  ความอยากดีมีมากมักลากจิต  ให้เที่ยวคิดวุ่นไปจนใจเหิม
จิตไปในส่วนที่ผิด ก็เลยแตกกิ่งก้านฟุ้งซ่านใหญ่ เที่ยวเพลินไป สรรพชั่ ว มั ว หมองก็ ต ้ อ งเติ ม    ผิ ด ยิ่ ง เพิ่ ม ร�่ ำ ไปไกลจากธรรม
ในผิดไม่คิดเขิน สิ่งใดชอบอารมณ์ก็ชมเพลิน เพลินจนเกินลืมตัว ที่ จ ริ ง ชี้ ส มุ ทั ย นี้ ใ จฉั น คร้ า ม   ฟั ง เนื้ อ ความไปข้ า งนุ ง ทางยุ ่ ง ยิ่ ง
ไม่กลัวภัย เมื่อชี้มรรคฟังใจไม่ไหวติง ระงับนิ่งใจสงบจบกันทีฯ
อันนี้ชื่อว่าขันธวิมุติสะมังคีธรรมประจ�ำอยู่กับที่ไม่มีอาการ
เพลินดูโทษคนอื่นดื่นด้วยชั่ว  โทษของตัวไม่เห็นเป็นไฉน ไปไม่มีอาการมา  สภาวธรรมที่เป็นจริงสิ่งเดียวเท่านี้  และไม่มี
โทษคนอืน่ เขามากสักเท่าไร  ไม่ทำ� ให้เราตกนรกเลย  โทษของเรา เรื่องจะแวะเวียน สิ้นเนื้อความแต่เพียงเท่านี้ฯ
เศร้าหมองไม่ตอ้ งมาก  ส่งวิบากไปตกนรกแสนสาหัส  หมัน่ ดูโทษ ผิดหรือถูกจงใช้ปัญญาตรองดูให้รู้เถิดฯ
ตนไว้ให้ใจเคย  เว้นเสียซึ่งโทษนั้น คงได้เชยชมสุขพ้นทุกข์ภัย
พระภูริทัตโตฯ (มั่น)
เมื่อเห็นโทษตนชัดรีบตัดทิ้ง  ท�ำอ้อยอิ่งคิดมากจากไม่ได้ วัดสระประทุมวัน เป็นผู้แต่งฯ
24 25 ห ล ว ง ปู่ มั่ น ภู ริ ทั ต โ ต

ทาน ศีล ภาวนา

ทาน คือ เครือ่ งแสดงน�ำ้ ใจของมนุษย์ผมู้ จี ติ ใจสูง มีเมตตา


จิตต่อเพื่อนมนุษย์และสัตว์ด้วยการให้ การเสียสละแบ่งปัน มาก
น้อยตามก�ำลังของวัตถุเครื่องสงเคราะห์ที่มีอยู่ จะเป็นวัตถุทาน
ธรรมทานหรือวิทยาทาน เพือ่ สงเคราะห์ผอู้ นื่ โดยไม่หวังสิง่ ตอบแทน
ใดๆ นอกจากกุศล คือ ความดีที่ได้จากทานนั้น เป็นสิ่งตอบแทน
ที่เจ้าของทานได้รับอยู่โดยดีเท่านั้น อภัยทานควรให้แก่กันเมื่ออีก
ฝ่ายหนึ่งผิดพลาดหรือล่วงเกิน
26 ขั น ธ ะ วิ มุ ติ ส ะ มั ง คี ธ ร ร ม 27 ห ล ว ง ปู่ มั่ น ภู ริ ทั ต โ ต

คนมีทานย่อมเป็นผู้สง่าผ่าเผยและเด่นในปวงชน เป็นที่ ได้โดยปลอดภัย แม้โลกเจริญด้วยวัตถุจนกองสูงกว่าพระอาทิตย์
เคารพรักในหมู่ชน จะตกอยู่ทิศใดย่อมไม่อดอยากขาดแคลน แต่ความรุ่มร้อนแผดเผาจะทวีคูณยิ่งกว่าพระอาทิตย์ ถ้ามัวคิดว่า
จะมีสิ่งหรือผู้อุปถัมภ์จนได้ ไม่อับจนทนทุกข์ ผู้มีทานประดับตน วัตถุมีค่ามากกว่าศีลธรรม ศีลธรรมเป็นเพียงสมบัติของมนุษย์
ย่อมไม่เป็นคนล้าสมัย บุคคลทุกชั้นไม่รังเกียจ พระพุ ท ธเจ้ า ผู ้ ค ้ น พบและน� ำ มาประดั บ โลกที่ ก� ำ ลั ง มื ด มิ ด ให้
สว่างไสว ร่มเย็นด้วยอ�ำนาจศีลธรรมเป็นเครื่องปัดเป่า
ผูม้ ที านย่อมเป็นผูอ้ บอุน่  หนุนโลกให้ชมุ่ เย็น การเสียสละจึง
เป็นเครือ่ งค�ำ้ จุนหนุนโลก การสงเคราะห์กนั ท�ำให้โลกมีความหมาย ความคิดของมนุษย์ผู้มีกิเลส ผลิตอะไรออกมาท�ำให้โลก
ตลอดไป ไม่เป็นโลกที่ไร้ชาติขาดกระเจิง เหลือแต่ซากแผ่นดิน ร้อนจะบรรลัยอยู่แล้ว ยิ่งปล่อยให้ความคิดตามอ�ำนาจโดยไม่มี
ไม่แห้งแล้งแข่งกันทุกข์ตลอดไป ศีลธรรมช่วยเป็นยาชโลมไว้บ้าง จะผลิตยักษ์ใหญ่ทรงพิษขึ้นมา
กว้าน กินมนุษย์จนไม่มีอะไรเหลืออยู่บ้างเลย ความคิดของคน
ศีล คือ รั้วกั้นความเบียดเบียนและท�ำลายสมบัติร่างกาย สิน้ กิเลสทีท่ รงคุณอย่างสูง คือพระพุทธเจ้า มีผลให้โลกได้รบั ความ
และจิตของกันและกัน ศีล คือ พืชแห่งความดีอันยอดเยี่ยมที่ควร ร่มเย็นซาบซึง้ กับความคิดทีเ่ ป็นกิเลสมีผลให้ตนเองและผูอ้ นื่ ได้รบั
มีประจ�ำชาติมนุษย์ ไม่ปล่อยให้สูญหายไป เพราะมนุษย์ไม่มีศีล ความเดือดร้อนจนคาดไม่ถึงผิดกันอยู่มาก  ควรหาทางแก้ไข
เป็นรั้วกั้น เป็นเครื่องประดับตัว จะไม่มีที่ให้ซุกหัวนอนหลับสนิท ผ่อนหนักให้เบาลงก่อนจะหมดทางแก้ไข ศีลจึงเป็นเหมือนยาปราบ
28 ขั น ธ ะ วิ มุ ติ ส ะ มั ง คี ธ ร ร ม 29 ห ล ว ง ปู่ มั่ น ภู ริ ทั ต โ ต

โรค ทั้งโรคระบาดและเรื้อรัง การภาวนาจึงเป็นงานเพื่อผลในปัจจุบันและอนาคต การ
งานทุกชนิด ที่ท�ำ ด้วยใจของผู้มีภาวนาจะส� ำ เร็จลงด้วยความ
ภาวนา คือ การอบรมใจให้ฉลาดเทีย่ งตรงต่อเหตุผลอรรถ เรียบร้อย ท�ำด้วยความใคร่ครวญเล็งถึงประโยชน์ที่จะได้รับ เป็น
ธรรม รูจ้ กั วิธปี ฏิบตั ติ อ่ ตัวเองและสิง่ ทัง้ หลาย ยึดการภาวนาเป็นรัว้ ผู้มีหลักมีเหตุผล ถือหลักความถูกต้องเป็นเข็มทิศทางเดินของ
กั้นความคิดฟุ้งของใจให้อยู่ในเหตุผลอันจะเป็นทางแห่งความ กาย วาจา ใจ ไม่เปิดช่องให้ความอยากอันไม่มีขอบเขตเข้ามา
สงบสุข ใจทีย่ งั มิได้รบั การอบรมจากภาวนา จึงเปรียบเหมือนสัตว์ เกี่ยวข้องเพราะความอยากดั้งเดิมเป็นไปตามอ�ำนาจของกิเลส
ที่ยังมิได้รับการฝึกหัด ยังมิได้รับประโยชน์จากมันเท่าที่ควร จ�ำ ตัณหา ซึ่งไม่เคยสนใจต่อความผิดถูก ดีชั่ว พาเราเสียไปจนนับ
ต้องฝึกหัดให้ท�ำประโยชน์ ถึงจะได้รับประโยชน์ตามควร ไม่ถ้วนประมาณไม่ถูก จะเอาโทษมันก็ไม่ได้ ยอมให้เสียไปอย่าง
น่าเสียดาย ถ้าไม่มสี ติระลึกบ้างเลยแล้ว ของเก่าก็เสียไป ของใหม่
ใจจึงควรได้รับการอบรมให้รู้เรื่องของตัว จะเป็นผู้ควรแก่ ก็พลอยจมไปด้วยไม่มวี นั ฟืน้ คืนตัว ฉะนัน้  การภาวนาจึงเป็นเครือ่ ง
งานทัง้ หลาย ทัง้ ส่วนเล็กส่วนใหญ่ภายนอกภายใน ผูม้ ภี าวนาเป็น หักล้างความไม่มีเหตุผลของตนได้ดี วิธีภาวนานั้นล�ำบากอยู่บ้าง
หลักใจ จะท�ำอะไรชอบใช้ความคิดอ่านเสมอ ไม่เสี่ยงและไม่เกิด เพราะเป็นวิธีบังคับใจ
ความเสียหายแก่ตนและผู้เกี่ยวข้อง
30 ขั น ธ ะ วิ มุ ติ ส ะ มั ง คี ธ ร ร ม 31 ห ล ว ง ปู่ มั่ น ภู ริ ทั ต โ ต

วิธีภาวนาก็คือวิธีสังเกตตัวเอง สังเกตจิตที่มีนิสัยหลุกหลิก
ไม่อยู่เป็นปกติสุข ด้วยมีสติตามระลึกรู้ความเคลื่อนไหวของจิต
โดยมีธรรมบทใดบทหนึง่ เป็นค�ำบริกรรม เพือ่ เป็นยารักษาจิตใจให้
ทรงตัวอยู่ได้ด้วยความสงบสุขในขณะภาวนา

ที่ให้ผลดีก็มี อานาปาณสติ คือ ก�ำหนดจิตตามลมหายใจ
เข้าออกด้วยค�ำภาวนา พุทโธ พยายามบังคับใจให้อยู่กับอารมณ์
แห่งธรรมบททีน่ ำ� มาบริกรรมขณะภาวนา พยายามท�ำอย่างนีเ้ สมอ
ด้วยความไม่ลดละความเพียร จิตที่เคยท�ำบาปหาบทุกข์อยู่เสมอ
จะค่อยรูส้ กึ ตัว และปล่อยวางไปเป็นล�ำดับ มีความสนใจหนักแน่น
ในหน้าที่ของตนเป็นประจ�ำ จิตที่สงบตัวลงเป็นสมาธิ เป็นจิตที่
มีความสุขเย็นใจมากและจ�ำไม่ลืม ปลุกใจให้ตื่นตัวและตื่นใจได้
อย่างน่าประหลาด
32 ขั น ธ ะ วิ มุ ติ ส ะ มั ง คี ธ ร ร ม 33 ห ล ว ง ปู่ มั่ น ภู ริ ทั ต โ ต

เมื่อพูดถึงการภาวนา บางท่านรู้สึกเหงาหงอยน้อยใจว่าตน จิตใจยังกล้าเอาตัวเข้าเสี่ยงแบกหามจนได้ มิหน�ำซ�้ำยังหอบเอา
มีวาสนาน้อยท�ำไม่ไหว เพราะกิจการยุ่งยากทั้งภายในบ้านและ มาคิดเป็นการบ้านอีกจนนอนไม่หลับ รับประทานไม่ได้ก็มี ค�ำว่า
นอกบ้าน ตลอดงานสังคมต่างๆ ที่ต้องเป็นธุระ จะมานั่งหลับตา หนักเกินไปยกไม่ไหวเกินก�ำลังใจจะคิดและต้านทานนั้นไม่มี
ภาวนาอยู่ เห็นจะไม่ทันอยู่ทันกินกับโลกเขา ท�ำให้ไม่อยากท�ำ
ประโยชน์ที่ควรได้ จึงเลยผ่านไป ควรพยายามแก้ไขเสียบัดนี้ งานทางกายยังมีเวลาพักผ่อนนอนหลับ และยังรูป้ ระมาณว่า
ควรหรือไม่ควรแก่กำ� ลังของตนเพียงใด ส่วนงานทางใจไม่มเี วลาได้
แท้จริงการภาวนา คือ วิธแี ก้ความยุง่ ยากล�ำบากใจทุกประเภท พักผ่อนเอาเลย พักได้เล็กน้อยขณะนอนหลับเท่านัน้  แม้เช่นนัน้ จิต
ทีเ่ ป็นภาระหนักให้เบาและหมดสิน้ ไป ได้อบุ ายมาแก้ไขไล่ทกุ ข์ออก ยังอุตส่าห์ท�ำงานด้วยการละเมอเพ้อฝันต่อไปอีก ไม่รจู้ กั ประมาณ
จากตัว การอบรมใจด้วยการภาวนาก็เป็นวิธหี นึง่ แห่งการรักษาตัว ว่าเรื่องต่างๆ นั้นควรแก่ก�ำลังของใจเพียงใด เมื่อเกิดอะไรขึ้น
เป็นวิธีที่เกี่ยวกับจิตใจผู้เป็นหัวหน้างานทุกด้าน ทราบแต่ว่าทุกข์เหลือทน ไม่ทราบว่าทุกข์เพราะงานหนักและเรื่อง
เผ็ดร้อนเหลือก�ำลังใจจะสู้ไหว
จิตจ�ำต้องเป็นตัวการรับภาระแบกหาม โดยไม่คำ� นึงถึงความ
หนักเบาว่าชนิดใดพอยกไหวไหม จิตต้องรับภาระทันที ดีชวั่ ผิดถูก ใจคือนักต่อสู้ ดีก็สู้ ชั่วก็สู้ สู้จนไม่รู้จักหยุดยั้งไตร่ตรอง
หนักเบา เศร้าโศกเพียงใด บางเรื่องแทบเอาชีวิตไปด้วย ขณะนั้น สู้จนไม่รู้จักตาย หากปล่อยไปโดยไม่มีธรรมเป็นเครื่องยับยั้ง คง
34 ขั น ธ ะ วิ มุ ติ ส ะ มั ง คี ธ ร ร ม 35 ห ล ว ง ปู่ มั่ น ภู ริ ทั ต โ ต

ไม่ได้รับความสุข แม้จะมีสมบัติก่ายกอง ได้ซ่อมสุขภาพจิต คือนั่งพินิจพิจารณาดูสังขารภายใน คือ ความ
คิดปรุงแต่งของจิตว่าคิดอะไรบ้าง ในวันและเวลาที่นั่งๆ มีสาระ
ธรรม เป็นเครื่องปกครองสมบัติและปกครองใจ ถ้าขาด ประโยชน์ไหม คิดแส่หาเรื่อง หาโทษ ขนทุกข์มาเผาตนอยู่นั้น
ธรรมเพียงอย่างเดียว ความอยากของใจจะพยายามหาทรัพย์ ได้ พอรู้ผิดถูกของตัวบ้างไหม พิจารณาสังขารภายนอกว่ามีความ
กองเท่าภูเขาก็ยงั หาความสุขไม่เจอ ไม่มธี รรมในใจเพียงอย่างเดียว เจริญขึ้นหรือเจริญลง สังขารร่างกายมีอะไรใหม่หรือมีความเก่า
จะอยู่ในโลกใด กองสมบัติใด ก็เป็นเพียงโลกเศษเดนและกอง แก่ชราหลุดลงไป พยายามเตรียมตัวเตรียมใจเสียแต่เวลาที่พอจะ
สมบัตเิ ดนเท่านัน้  ไม่มปี ระโยชน์อะไรแก่จติ ใจแม้แต่นดิ  ความทุกข์ ท�ำได้ ตายแล้วจะเสียการ
ทรมาน ความอดทน ทนทานต่อสิง่ กระทบกระทัง่ ต่างๆ ไม่มอี ะไร
จะแข็งแกร่งเท่าใจ ถ้าได้รับความช่วยเหลือที่ถูกทาง ใจจะกลาย ให้ท่องอยู่ในใจเสมอว่า เรามีความแก่เจ็บตายอยู่ประจ�ำ
เป็นของประเสริฐ ให้เจ้าของได้ชมอย่างภูมใิ จต่อเรือ่ งทัง้ หลายทันที ตัวทั่วหน้ากัน ป่าช้าอันเป็นที่เผาศพภายนอก และป่าช้าที่ฝังศพ
จิตเป็นสมบัตสิ ำ� คัญมากในตัวเรา ทีค่ วรได้รบั การเหลียวแล ภายในคือตัวเราเอง เป็นป่าช้าร้อยแปดพันเก้าแห่งศพที่น�ำมาฝัง
ด้วยวิธเี ก็บรักษาให้ด ี ควรสนใจรับผิดชอบต่อจิตอันเป็นสมบัตทิ มี่ ี ภายในหรือบรรจุอยู่ในตัวเราตลอดเวลา ทั้งศพใหม่ศพเก่าทุกวัน
ค่ายิง่ ของตน วิธที คี่ วรกับจิตโดยเฉพาะก็คอื  ภาวนา ฝึกหัดภาวนา
ในโอกาสอันควร ควรตรวจดูจิตว่ามีอะไรบกพร่องและเสียไป จะ
36 ขั น ธ ะ วิ มุ ติ ส ะ มั ง คี ธ ร ร ม 37 ห ล ว ง ปู่ มั่ น ภู ริ ทั ต โ ต

พิจารณาธรรมสังเวช พิจารณาความตายเป็นอารมณ์ ย่อมมี ทาน ศีล ภาวนา ธรรมทัง้  ๓ นี ้ เป็นรากแก้วของความเป็น


ทางถอดถอนความเผลอเย่อหยิ่งในวันในชีวิตและวิทยฐานะต่างๆ มนุษย์ และเป็นรากเหง้าของพระศาสนา ผู้เกิดมาเป็นมนุษย์ต้อง
ออกได้ จะเห็นโทษแห่งความบกพร่องของตัว และพยายามแก้ไข เป็นผู้เคยสั่งสมธรรมเหล่านี้มาอยู่ในนิสัยของผู้จะมาสวมร่างเป็น
ได้เป็นล�ำดับมากกว่าจะไปเห็นโทษของคนอื่นแล้วมานินทาเขา มนุษย์ที่สมบูรณ์ด้วยมนุษย์สมบัติอย่างแท้จริง
ซึ่งเป็นความไม่ดีใส่ตน

นี่ คื อ การภาวนา  คื อ วิ ธี เ ตือ นตน  สั่ ง สอนตน  ตรวจตรา


ดูความบกพร่องของตนว่าควรแก้ไขจุดใดตรงไหนบ้าง ใช้ความ
พิจารณาอยูท่ ำ� นองนีเ้ รือ่ ยๆ ด้วยวิธสี มาธิภาวนาบ้าง ด้วยการร�ำพึง
ในอิริยาบทต่างๆ บ้าง ใจจะสงบเย็นไม่ล�ำพองผยองตัว และ
ไม่เอาความทุกข์มาเผาลนตัวเอง เป็นผู้รู้จักประมาณในหน้าที่
การงานที่พอเหมาะพอดีแก่ตัวทั้งทางกายและทางใจ ไม่ลืมตัว
มัว่ สุมในสิง่ ทีเ่ ป็นหายนะต่างๆ คุณสมบัตขิ องผูภ้ าวนานีม้ มี ากมาย
ไม่อาจพรรณนาให้จบสิ้นได้
38 39 ห ล ว ง ปู่ มั่ น ภู ริ ทั ต โ ต

คนดีมีศีลธรรม

หาคนดีมศี ลี ธรรมในใจ หายากยิง่ กว่าเพชรนิลจินดา ได้คน


เป็นคนดีเพียงคนเดียวย่อมมีคุณค่ามากกว่าเงินเป็นล้านๆ เพราะ
เงินเป็นล้านๆ ไม่สามารถท�ำความร่มเย็นให้แก่โลกได้อย่างถึงใจ
เหมือนได้คนดีมาท�ำประโยชน์
40 ท า น ศี ล ภ า ว น า 41 ห ล ว ง ปู่ มั่ น ภู ริ ทั ต โ ต

คนดีแม้เพียงคนเดียว ยังสามารถท�ำความเย็นให้แก่โลกได้ นิสัย ดี-ชั่ว สุข-ทุกข์ เพราะกฎของกรรมหรือกฎของตัวเองที่ท�ำ
มากมายและยั่งยืน เช่นพระพุทธเจ้าและพระสาวกทั้งหลายเป็น ขึ้น ไม่ใช่กฎของใครไปท�ำให้ ตัวท�ำเอาเอง
ตัวอย่าง คนดีแต่ละคนมีคุณค่ามากกว่าเงินเป็นก่ายกอง เป็น
คุณค่าแห่งความดีของตนที่จะท�ำต่อไปมากกว่าเงิน แม้จะจนก็ ของดีมีอยู่กับตัวเราทุกคน ก็พากันปฏิบัติเอา ท�ำเอา เมื่อ
ยอมจน ขอแต่ให้ตัวดีและโลกมีความสุข เวลาตายแล้ววุน่ วาย หานิมนต์พระมากุสลามาติกา ไม่ใช่เกาถูกที่
แต่คนโง่ชอบเงินมากกว่าคนดีและความดี ขอแต่ได้เงินแม้ คัน ต้องรีบแก้เสียแต่บดั นี ้ คือเร่งท�ำความดีแต่บดั นี ้ จะได้หายห่วง
ตัวจะเป็นอย่างไรไม่สนใจคิดสนใจดู ถึงจะชั่วช้าลามกหรือแสน
โสมมเพียงไรไม่หลีกห่าง ขนาดยมบาลเกลียดกลัวไม่ยอมนับเข้า อะไรๆ ที่เป็นสมบัติของโลก มิใช่สมบัติอันแท้จริงของเรา
บัญชีผู้ต้องหา กลัวจะไปท�ำลายสัตว์นรกด้วยกันให้เดือนร้อน ขอ ตัวจริงไม่มใี ครเหลียวแล สมบัตใิ นโลกเราแสวงหามา หามาทุจริต
แต่ได้เงินก็เป็นที่พอใจ ส่วนจะผิดถูกประการใดเขาไม่ยุ่งเกี่ยว ก็เป็นไฟเผา เผาตัวท�ำให้ฉิบหายได้จริงๆ ข้อนี้ขึ้นอยู่กับความ
ฉลาดและความโง่เขลาของผู้แสวงหาแต่ละราย ท่านผู้พ้นทุกข์ไป
คนดีกับคนชั่ว สมบัติเงินทองกับธรรมะคือคุณความดี ผิด ด้วยความอุตส่าห์สร้างความดีใส่ตนจนกลายเป็นสรณะของพวกเรา
กันอย่างนี้แล ใครมีหูมีตาก็คิดแก้ไขเสียแต่บัดนี้ อย่าให้สายเกิน ท่านไม่เคยมีสมบัติเงินทองเครื่องหวงแหนเป็นคนร�ำ่ รวย สวยงาม
แก้ ฉะนั้น สัตว์โลกจึงต่างกันทั้งภพก�ำเนิด รูปร่างลักษณะ จริต เฉพาะสมัย จึงพากันรักพากันห่วงจนไม่รู้จักเป็นรู้จักตาย ส�ำคัญ
42 ท า น ศี ล ภ า ว น า 43 ห ล ว ง ปู่ มั่ น ภู ริ ทั ต โ ต

ตนว่าจะไม่ตายและพากันประมาทจนลืมตัว เพลิดเพลินตักตวง เมื่อมีผู้เตือนสติ ควรยึดมาเป็นธรรมค�ำสอน จะเป็นคนมี
เอาแต่สิ่งไม่เป็นท่าใส่ตนแทบหาบไม่ไหว ขอบเขตมีเหตุผล ไม่ทำ� ตามความอยาก เมือ่ พยายามฝ่าฝืนให้เป็น
ไปตามทางของนักปราชญ์ได้ จะประสบผลคือความสุขในปัจจุบนั
อย่าส�ำคัญตนว่าเก่งกาจสามารถฉลาดรู้กว่าเขาเลย ถึงกับ ทันตา แม้จะมิได้เป็นเจ้าของเงินล้าน แต่มีทางได้รับความสุขจาก
สร้างความมืดมิดปิดตาทับถมตัวเองจนไม่มวี นั สร่างซา เมือ่ ถึงเวลา สมบัติและความประพฤติดีของตน
จนตรอกอาจจนยิ่งกว่าสัตว์ ถ้าไม่เตรียมทราบไว้เสียแต่บัดนี้ คนฉลาดปกครองตนให้มีความสุขและปลอดภัย ไม่จ�ำเป็น
ซึ่งอยู่ในฐานะอันควร อาตมาขออภัยด้วยถ้าพูดหยาบคายไป ต้องเทีย่ วแสวงหาทรัพย์มากมาย หรือเทีย่ วกอบโกยเงินเป็นล้านๆ
แต่คำ� พูดทีส่ งั่ สอนคนให้ละชัว่ ท�ำความดี จัดเป็นหยาบคายอยูแ่ ล้ว มาเป็นเครื่องบ�ำรุงจึงมีความสุข ผู้มีสมบัติพอประมาณในทาง
โลกเราก็จะถึงคราวหมดสิ้นศาสนา เพราะไม่มีผู้ยอมรับความจริง ที่ชอบมีความสุขมากกว่าผู้ได้มาในทางมิชอบเสียอีก เพราะนั่น
การท�ำบาปหยาบคายมีมาประจ�ำแทบทุกคน ทัง้ ให้ผลเป็นทุกข์ตน ไม่ใช่สมบัติของตนอย่างแท้จริง ทั้งๆ ที่อยู่ในกรรมสิทธิ์ แต่กฎ
ยังไม่อาจรู้ได้ และต�ำหนิมันบ้างพอมีทางคิดแก้ไข แต่กลับต�ำหนิ ความจริงคือกรรม สาปแช่งไม่เห็นด้วย และให้ผลเป็นทุกข์ไม่สิ้น
ค�ำสั่งสอนหยาบคาย ก็นับเป็นโรคที่หมดหวัง สุด นักปราชญ์ทา่ นจึงกลัวกันนักหนา แต่คนโง่อย่างพวกเราผูช้ อบ
สุกเอาเผากินและชอบเห็นแก่ตัว ไม่มีวันอิ่มพอ ไม่ประสบผลคือ
ความสุขดังใจหมาย
44 ท า น ศี ล ภ า ว น า 45 ห ล ว ง ปู่ มั่ น ภู ริ ทั ต โ ต

คนหิวอยูเ่ ป็นปกติสขุ ไม่ได้ จึงวิง่ หาโน่นหานี ่ เจออะไรก็คว้า


ติดมือมาโดยไม่ส�ำนึกว่าผิดหรือถูก ครั้นแล้วสิ่งคว้ามาก็มาเผา
ตัวเองให้ร้อนยิ่งกว่าไฟ คนที่หลงจึงต้องแสวงหา ถ้าไม่หลงก็ไม่
ต้องหา จะหาไปให้ล�ำบากท�ำไม อะไรๆ ก็มีอยู่กับตัวเองอย่าง
สมบูรณ์อยูแ่ ล้ว จะตืน่ เงาตะครุบเงาไปท�ำไม เพราะรูอ้ ยูแ่ ล้วว่าเงา
ไม่ใช่ตัวจริง ตัวจริงคือสัจจะทั้งสี่ที่มีอยู่ในกายในใจอย่างสมบูรณ์
แล้ว ความมั่งมีศรีสุขจะไม่บังเกิดแก่ผู้ทุจริตสร้างกรรมชั่ว มีมาก
เท่าไหร่ย่อมหมดไป พ่อแม่ ปู่ย่า ตายาย ที่สร้างบาปกรรมไว้
ผลกรรมนั้นย่อมตกอยู่กับลูกหลานรุ่นหลังให้มีอันเป็นไป ผู้ทุจริต
เบียดเบียนรังแกผู้อื่น จะหาความสุขความเจริญไม่ได้เลย
46 47 ห ล ว ง ปู่ มั่ น ภู ริ ทั ต โ ต

สัตว์โลก
ย่อมเป็นไปตามกรรม

เราทั้งหลายต่างเกิดมาด้วยวาสนา มีบุญพอเป็นมนุษย์ได้
อย่างเต็มภูมิ ดังที่ทราบอยู่แก่ใจ อย่าลืมตัวลืมวาสนา โดยลืม
สร้างคุณงามความดีเสริมต่อ ภพชาติของเราที่เคยเป็นมนุษย์จะ
เปลีย่ นแปลงและกลับกลายหายไปเป็นชาติทตี่ ำ�่ ทรามไม่ปรารถนา
จะกลายมาเป็นตัวเราเขาแล้วแก้ไม่ตก
48 สั ต ว์ โ ล ก ย่ อ ม เ ป็ น ไ ป ต า ม ก ร ร ม 49 ห ล ว ง ปู่ มั่ น ภู ริ ทั ต โ ต

ความสูงศักดิ์ ความต�่ำทราม ความสุขทุกชั้นจนถึงบรมสุข กรรมเป็นของลึกลับและมีอ�ำนาจมาก ไม่มีผู้ใดหนีกฎแห่ง
และความทุกข์จนเข้าขั้นมหันตทุกข์เหล่านี้ มีได้กับทุกคนตลอด กรรมได้เลย ถ้าเราสามารถรูเ้ ห็นกรรมดี กรรมชัว่  ทีต่ นและผูอ้ นื่ ท�ำ
สัตว์ ถ้าตนเองท�ำให้มี อย่าเข้าใจว่ามีได้เฉพาะผู้ก�ำลังเสวยอยู่ ขึ้นเหมือนเห็นวัตถุต่างๆ จะไม่กล้าท�ำบาป แต่จะกระตือรือร้น
เท่านั้น โดยผู้อื่นไม่มี เพราะสิ่งเหล่านี้เป็นสมบัติกลาง แต่กลับ ท�ำแต่ความดี ซึ่งเป็นของเย็นเหมือนน�้ำ ความเดือดร้อนในโลกก็
กลายมาเป็นสมบัตจิ ำ� เพาะของผูผ้ ลิตผูท้ ำ� เองได้ ท่านจึงสอนไม่ให้ จะลดน้อยลงเพราะต่างก็รักษาตัว กลัวบาปอันตราย
ดูถกู เหยียดหยามกัน เราอาจมีเวลาเป็นเช่นนัน้  หรือยิง่ กว่านัน้ ก็ได้
เมือ่ ถึงวาระเข้าจริงๆ ไม่มใี ครมีอำ� นาจหลีกเลีย่ งได้ เพราะกรรมดี ท่านว่าดีชั่วมิได้เกิดขึ้นเอง แต่อาศัยการท�ำบ่อยก็ชินไป
กรรมชัว่ เรามีทางสร้างได้เช่นเดียวกับผูอ้ นื่  จึงมีทางเป็นได้เช่นเดียว เอง เมื่อชินแล้วก็กลายเป็นนิสัย ถ้าเป็นฝ่ายชั่วก็แก้ไขยาก คอย
กับผู้อื่น และผู้อื่นก็มีทางเป็นได้เช่นเดียวกับที่เราเคยเป็น แต่จะไหลลงไปตามนิสัยที่เคยท�ำอยู่เสมอ ถ้าเป็นฝ่ายดีก็นับว่า
คล่องแคล่วกล้าขึ้นเป็นล�ำดับ เราเกิดเป็นมนุษย์มีความสูงศักดิ์
ศาสนาเป็นหลักวิชาตรวจตราดูตัวเองและผู้อื่นได้อย่าง มากอย่าน�ำเรื่องของสัตว์มาประพฤติ มนุษย์เราจะต�่ำลงกว่าสัตว์
แม่นย�ำ ไม่มีวิชาใดในโลกเสมอเหมือน สิง่ ดีชวั่ ที่มีและเกิดอยู่กับ และจะเลวกว่าสัตว์อีกมากมาย อย่าพากันท�ำ ให้พากันละบาป
ตนทุกระยะมีใจเป็นตัวการ พาให้สร้างกรรมประเภทต่างๆ จนเห็น บ�ำเพ็ญบุญท�ำแต่คุณความดี อย่าให้เสียชีวิตเปล่าที่มีวาสนาเกิด
ได้ชัดว่ากรรมมีอยู่กับผู้ท�ำ มีใจเป็นเหตุของกรรมทั้งมวล มาเป็นมนุษย์
50 สั ต ว์ โ ล ก ย่ อ ม เ ป็ น ไ ป ต า ม ก ร ร ม 51 ห ล ว ง ปู่ มั่ น ภู ริ ทั ต โ ต

การท�ำความเข้าใจเรื่องของกรรมเป็นการศึกษาธรรมะเพื่อ กรรม คือ การกระท�ำดีชั่วทางกาย วาจา ใจ ต่างหาก
เตรียมพร้อมทีจ่ ะรับภาวะของตัวเราเอง ซึง่ จะต้องเป็นไปตามกรรม ผลจริงคือความสุขทุกข์ที่ได้รับกันอยู่ทั่วโลก กระทั่งสัตว์ผู้ไม่รู้จัก
ที่ได้ท�ำไว้ ตามพุทธภาษิตที่มีว่า “กรรม จ�ำแนกสัตว์ให้ทรามและ กรรม รูแ้ ต่กระท�ำคือหากินหาอยู ่ ทางศาสนาเรียกว่ากรรมของสัตว์
ประณีตต่างกัน” ของบุคคล และผลกรรมของสัตว์ของบุคคล ควรมีเมตตาสงสาร
ในสัตว์ทงั้ หลายซึง่ มีความเกิดแก่เจ็บตายเช่นเดียวกับเรา ไม่มอี ะไร
ผู้สงสัยกรรม หรือไม่เชื่อกรรมว่ามีผล คือ ลืมตนจนกลาย ยิ่งหย่อนกว่ากัน
เป็นผู้มืดบอดอย่างช่วยไม่ได้ แม้เขาจะเกิดและได้รับการเลี้ยงดู
จากพ่อแม่มาเป็นอย่างดีเหมือนโลกทั้งหลายก็ตาม เขาก็มอง ความยิ่งหย่อนแห่งวาสนาบารมีนั้นมีได้ทั้งคนและสัตว์
ไม่เห็นคุณของพ่อแม่ว่าได้ให้ก�ำเนิดและเลี้ยงดูตนมาอย่างไรบ้าง สัตว์บางตัวมีวาสนาบารมีและอัธยาศัยดีกว่ามนุษย์บางคน แต่เขา
แต่เขาจะมองเห็นเฉพาะร่างกายเขาที่เป็นคนหนึ่งก�ำลังรกโลก ตกอยูใ่ นภาวะความเป็นสัตว์กจ็ �ำต้องทนรับเสวยไป สัตว์เดรัจฉาน
อยู่โดยเจ้าตัวไม่รู้เท่านั้น ไม่สนใจคิดว่าเขาเติบโตมาจากท่านทั้ง ก็ยงั มีและเสวยกรรมไปตามวิบากของมัน มิให้ประมาทเขาว่าเป็น
สอง ซึ่งเป็นแรงหนุนร่างกายชีวิตจิตใจเขาให้เจริญเติบโตมาจน สัตว์ที่เกิดในก�ำเนิดต�่ำทราม ความจริงเขาเพียงเสวยกรรมตาม
ถึงปัจจุบัน การดื่มกินเป็นการสร้างสุขภาพความเจริญเติบโตแก่ วาระที่เวียนมาถึงเท่านั้น เช่นเดียวกับมนุษย์ขณะที่ตกอยู่ในความ
ร่างกายไม่จัดว่าเป็นกรรม ทุกข์จนข้นแค้นก็จ�ำต้องทนเอาจนกว่าจะสิ้นกรรม
52 สั ต ว์ โ ล ก ย่ อ ม เ ป็ น ไ ป ต า ม ก ร ร ม 53 ห ล ว ง ปู่ มั่ น ภู ริ ทั ต โ ต

เมือ่ มนุษย์เราเกิดเสวยชาติเป็นคน มีสขุ บ้างมีทกุ ข์บา้ งตาม


วาระของกรรมที่อ�ำนวย มนุษย์ก็มีกรรมชนิดหนึ่งที่พาให้มาเป็น
เช่นนี้ ซึ่งล้วนผ่านก�ำเนิดต่างๆ มาจนนับไม่ถ้วน ให้ตระหนักใน
กรรมของสัตว์ว่ามีต่างๆ กัน
เพราะฉะนั้น ไม่ให้ดูถูกเหยียดหยามในชาติก�ำเนิดความ
เป็นอยูข่ องกันและกัน และสอนให้รวู้ า่ สัตว์ทงั้ หลายมีกรรมดีกรรม
ชั่วเป็นของๆ ตน
54 55 ห ล ว ง ปู่ มั่ น ภู ริ ทั ต โ ต

อานิสงส์ของการรักษาศีล ๕

ค�ำว่า ศีล ได้แก่สภาพเช่นไร ศีลอย่างแท้จริงเป็นไปด้วย
ความมีสติ รู้สิ่งที่ควรหรือไม่ควร ระวังการระบายออกทางทวาร
ทัง้ สาม คอยบังคับ กาย วาจา ใจ ให้เป็นไปในขอบเขตของศีลที่
เป็นสภาพปกติ ศีลที่เกิดจากการรักษามีสภาพปกติไม่คะนองทาง
กาย วาจา ใจ ให้เป็นทีเ่ กลียด นอกจากความปกติงดงามทางกาย
วาจา ใจของผู้มีศีล ว่าเป็นศีลเป็นธรรม เราควรรักษาศีล ๕
56 อ า นิ ส ง ส์ ข อ ง ก า ร รั ก ษ า ศี ล ๕ 57 ห ล ว ง ปู่ มั่ น ภู ริ ทั ต โ ต

๑. สิ่งมีชีวิต เป็นสิ่งที่มีคุณค่า จึงไม่ควรเบียดเบียนข่มเหง ๕. สุรา ยาเสพติด เป็นของมึนเมาและให้โทษ ดื่มเข้าไป
และท�ำลายคุณค่าแห่งความเป็นอยู่ของเขาให้ตกไป ย่อมท�ำให้คนดีๆ กลายเป็นคนบ้าได้ ลดคุณค่าลงโดยล�ำดับ
ผู้ต้องการเป็นคนดีมีสติปกครองตัวอย่างมนุษย์ จึงไม่ควรดื่มสุรา
๒. สิ่งของของใครๆ ก็รักและสงวน ไม่ควรท�ำลาย ฉก ลัก เครื่องท�ำลายสุขภาพทางร่างกายและใจอย่างยิ่ง เป็นการท�ำลาย
ปล้น จี้ เป็นต้น อันเป็นการท�ำลายสมบัติและท�ำลายจิตใจกัน ตัวเองและผู้อื่นไปด้วยในขณะเดียวกัน

๓. ลูก หลาน สามี ภรรยาใครๆ ก็รักสงวนอย่างยิ่ง ไม่ อานิสงส์ของศีล ๕ เมื่อรักษาได้
ปรารถนาให้ใครมาอาจเอื้อมล่วงเกิน เป็นการท�ำลายจิตใจของ ๑. ท�ำให้อายุยืน ปราศจากโรคภัยเบียดเบียน
ผู้อื่นอย่างหนัก และเป็นบาปไม่มีประมาณ ๒. ทรัพย์สมบัตทิ อี่ ยูใ่ นความปกครอง มีความปลอดภัยจาก
โจรผู้ร้ายมาราวีเบียดเบียนท�ำลาย
๔. มุสา การโกหกพกลมเป็นสิ่งท�ำลายความเชื่อถือของ ๓. ระหว่างลูก หลาน สามี ภรรยา อยู่ด้วยกันเป็นผาสุก
ผู้อื่นให้ขาดสะบั้นลงอย่างไม่มีดี แม้เดรัจฉานเขาก็ไม่พอใจค�ำ ไม่มีผู้คอยล่วงล�้ำกล�้ำกราย ต่างครองกันอยู่ด้วยความเป็นสุข
หลอกลวง จึงไม่ควรโกหกหลอกลวงให้ผู้อื่นเสียหาย ๔. พูดอะไรมีผู้เคารพเชื่อถือ ค�ำพูดมีเสน่ห์เป็นที่จับใจ
ไพเราะด้วยสัตย์ด้วยศีล
58 อ า นิ ส ง ส์ ข อ ง ก า ร รั ก ษ า ศี ล ๕ 59 ห ล ว ง ปู่ มั่ น ภู ริ ทั ต โ ต

๕. เป็นผู้มีสติปัญญาดีและเฉลียวฉลาด ไม่หลงหน้าหลง
หลัง จับโน่นชนนีเ่ หมือนคนบ้าคนบอหาสติไม่ได้ ผูม้ ศี ลี เป็นผูป้ ลูก
และส่งเสริมสุขบนหัวใจคนและสัตว์ทั่วโลกให้มีแต่ความอบอุ่น
ไม่เป็นทีร่ ะแวงสงสัย ผูไ้ ม่มศี ลี เป็นผูท้ ำ� ลายหัวใจคนและสัตว์ให้ได้
รับความทุกข์เดือดร้อนทุกหย่อมหญ้า
60 61 ห ล ว ง ปู่ มั่ น ภู ริ ทั ต โ ต

วิธีปฏิบัติ
ของผู้เล่าเรียนมาก

ผู้ที่ได้ศึกษาเล่าเรียนคัมภีร์วินัยมาก  มีอุบายมาก เป็น
ปริยายกว้างขวาง ครั้นมาปฏิบัติทางใจ จิตไม่ค่อยจะรวมง่าย
ฉะนั้น ต้องให้เข้าใจว่าความรูท้ ไี่ ด้ศึกษามาแล้วต้องเก็บใส่ต้ใู ส่หีบ
ไว้เสียก่อน ต้องมาหัดผูร้ คู้ อื จิตนี ้ หัดสติให้เป็นมหาสติ หัดปัญญา
ให้เป็นมหาปัญญา ก�ำหนดรู้เท่ามหาสมมุติมหานิยม อันเอาออก
ไปตั้งไว้ว่าอันนั้นเป็นอันนั้น เป็นวันคืนเดือนปี เป็นดินฟ้าอากาศ
62 วิ ธี ป ฏิ บั ติ ข อ ง ผู้ เ ล่ า เ รี ย น ม า ก 63 ห ล ว ง ปู่ มั่ น ภู ริ ทั ต โ ต

กลางหาว ดาวนักขัตตฤกษ์ สารพัดสิ่งทั้งปวง อันเจ้าสังขาร คือ พึงรู้อุปมารูปเปรียบดังนี้
อาการจิตหากออกไปตั้งไว้บัญญัติไว้ว่าเขาเป็นนั่นเป็นนี่ จนรู้เท่า
แล้ว เรียกว่าก�ำหนดรู้ทุกข์ สมุทัย เมื่อท�ำให้มาก เจริญให้มาก อันบุคคลผู้ท�ำนาก็ต้องท�ำลงไปในแผ่นดิน ลุยตมลุยโคลน
รู้เท่าเอาทันแล้ว จิตก็จะรวมลงได้ ตากแดดกร�ำฝน จึงจะเห็นข้าวเปลือกข้าวสาร ข้าวสุกมาได้ และ
ได้บริโภคดืม่ สบาย ก็ลว้ นท�ำมาจากของมีอยูท่ งั้ สิน้ ฉันใด ผูป้ ฏิบตั ิ
เมื่อก�ำหนดอยู่ก็ชื่อว่าเจริญมรรค หากมรรคพอแล้วนิโรธ ก็ ฉั น นั้ น  เพราะศี ล  สมาธิ  ปั ญ ญา  ก็ มี อ ยู ่ ใ นกายวาจาใจของ
ก็ไม่ตอ้ งกล่าวถึง หากจะปรากฏชัดแก่ผปู้ ฏิบตั เิ อง เพราะศีลก็มอี ยู่ ทุกคนฯ
สมาธิก็มีอยู่ ปัญญาก็มีอยู่ในกายวาจาจิตนี้

ทีเ่ รียกว่า อกาลิโก ของมีอยูท่ กุ เมือ่  โอปนยิโก เมือ่ ผูป้ ฏิบตั ิ


มาพิจารณาของทีม่ อี ยู ่ ปัจจัตตัง จึงจะรูเ้ ฉพาะตัว คือมาพิจารณา
กายอันนี้ให้เป็นของอสุภะ  เปื่อยเน่าแตกพังลงไปตามสภาพ
ความจริงของภูตธาตุ ปุพเพสุ ภูเตสุ ธัมเมสุ ในธรรมอันมีมาแต่
เก่าก่อนสว่างโร่อยู่ทั้งกลางวันและกลางคืน ผู้มาปฏิบัติพิจารณา
64 65 ห ล ว ง ปู่ มั่ น ภู ริ ทั ต โ ต

คติธรรมค�ำสอน

* ผู้สนใจศึกษาปฏิบัติธรรม คือผู้สนใจหาความรู้ความ
ฉลาดเพื่อคุณงามความดีทั้งหลายที่โลกเขาปรารถนากัน
เพราะคนเราจะอยู่และไปโดยไม่มีเครื่องป้องกันตัว ย่อม
ไม่ปลอดภัยต่ออันตรายทั้งภายนอกภายใน เครื่องป้องกันตัว
คือ หลักธรรม มีสติปัญญาเป็นอาวุธส�ำคัญ จะเป็นเครื่องมั่นคง
ไม่สะทกสะท้าน มีสติปัญญาแฝงอยู่กับตัวทุกอิริยาบท จะคิดพูด
ท�ำอะไรๆ ไม่มกี ารยกเว้น มีสติปญั ญาสอดแทรกอยูด่ ว้ ยทัง้ ภายใน
66 ค ติ ธ ร ร ม คํ า ส อ น 67 ห ล ว ง ปู่ มั่ น ภู ริ ทั ต โ ต

และภายนอก มีความเข้มแข็งอดทน มีความเพียรที่จะประกอบ * เมื่อเกิดมาอาภัพชาติแล้ว อย่าให้ใจอาภัพอีก
คุณงามความดี คนอ่อนแอโง่เง่าเต่าตุ่นวุ่นวายอยู่กับอารมณ์ ผู้เกิดมาชาตินี้อาภัพแล้ว อย่าให้ใจอาภัพ คิดแต่ผลิตโทษ
เครื่องผูกพันด้วยความนอนใจ และเกียจคร้านในกิจการที่จะ ท�ำบาปอกุศลเผาผลาญตนให้ได้ทุกข์เป็นบาปกรรมอีกเลย
ยกตัวให้พ้นภัย คนชั่ว ท�ำชั่วได้ง่าย และติดใจไม่ยอมลดละแก้ไขให้ดี
คนดี ท�ำดีได้ง่ายและติดใจกลายเป็นคนรักธรรมตลอดไป
* การต�ำหนิติเตียนผู้อื่น ถึงเขาจะผิดจริงก็เป็นการก่อกวน
จิตใจตนเองให้ขุ่นมัวไปด้วย * เราต้องการของดี คนดีก็จ�ำต้องฝึก ฝึกจนดี จะพ้นการ
ความเดือดร้อนวุน่ วายใจทีค่ ดิ แต่ต�ำหนิผอู้ นื่ จนอยูไ่ ม่เป็นสุข ฝึกไปไม่ได้
นัน้  นักปราชญ์ถอื เป็นความผิดและบาปกรรม ไม่ดเี ลย จะเป็นโทษ งานอะไรก็ต้องฝึกทั้งนั้นฝึกงานฝึกคน  ฝึกสัตว์ ฝึกตน
ให้ท่านได้สิ่งไม่พึงปรารถนามาทรมานอย่างไม่คาดฝัน ฝึกใจ นอกจากตายแล้วจึงหมดการฝึก ค�ำว่า ดี จะเป็นสมบัตขิ อง
การกล่าวโทษผูอ้ นื่ โดยขาดการไตร่ตรอง เป็นการสัง่ สมโทษ ผู้ฝึกดีแล้วแน่นอน
และบาปใส่ตนให้ได้รับความทุกข์ จึงควรสลดสังเวชต่อความผิด
ของตน งดความเห็นที่เป็นบาปภัยแก่ตนเสีย ความทุกข์เป็นของ * ผู้เห็นคุณค่าของตัว จึงควรเห็นคุณค่าของผู้อื่นว่ามีความ
น่าเกลียดน่ากลัว แต่สาเหตุทที่ ำ� ให้เกิดทุกข์ทำ� ไมพอใจสร้างขึน้ เอง รู้สึกเช่นเดียวกัน ไม่เบียดเบียนท�ำลายกัน
68 ค ติ ธ ร ร ม คํ า ส อ น 69 ห ล ว ง ปู่ มั่ น ภู ริ ทั ต โ ต

ผูม้ ศี ลี สัตย์ เมือ่ ท�ำลายขันธ์ไปในสุคติในโลกสวรรค์ ไม่ตกต�ำ่ พร้อมบริบูรณ์แล้ว จะท�ำให้เป็นศีลก็รีบท�ำ ศีลมีอยู่ที่เรานี้แล้ว


เพราะอ�ำนาจศีลคุ้มครองรักษาและสนับสนุน จึงสมควรอย่างยิ่ง รักษาได้ไม่มกี าล ได้ผลไม่มกี าล ผูม้ ศี ลี ย่อมเป็นผูอ้ งอาจกล้าหาญ
ที่จะพากันรักษาให้บริบูรณ์ ธรรมก็สั่งสอนแล้วควรจดจ�ำให้ดี ผูม้ ศี ลี ย่อมมีความสุข ผูจ้ กั มัง่ คัง่  บริบรู ณ์ สมบูรณ์ ไม่อด ไม่ยาก
ปฏิบัติให้มั่นคง จะเป็นผู้ทรงคุณสมบัติทุกอย่างแน่นอน ไม่จน ก็เพราะรักษาศีลได้สมบูรณ์ จิตดวงเดียวเป็นศีล เป็นสมาธิ
เป็นปัญญา
* ศีลนั้นอยู่ที่ไหน มีตัวตนเป็นอย่างไร
ใครเป็นผูร้ กั ษาแล้วก็รวู้ า่ ผูน้ นั้ เป็นศีล ศีลก็อยูท่ ตี่ นนี ้ เจตนา * ผู้มีศีลแท้เป็นผู้หมดเวรหมดภัย
เป็นตัวศีล เจตนาคือจิตใจ คนเราถ้าจิตใจไม่มีก็ไม่เรียกว่าคน * พระพุทธเจ้าตรัสสอนเรือ่ งกายวาจาจิต มิได้สอนอย่างอืน่
มีแต่กายจะท�ำอะไรได้ ร่างกายกับจิตต้องอาศัยซึ่งกันแลกัน เมื่อ ทรงสอนให้ปฏิบัติฝึกหัดจิตใจ
จิตไม่เป็นศีล กายก็ประพฤติไปต่างๆ มีโทษต่างๆ ผู้มีศีลแล้ว ให้เอาจิตพิจารณากาย เรียกว่า กายานุปัสสนาสติปัฏฐาน
ไม่มีโทษ จะเป็นปกติแนบเนียนไม่หวั่นไหว ไม่มีเรื่องหลงหาหลง หัดสติให้มาก ในการค้นคว้าที่เรียกว่า ธัมมวิจยะ พิจารณาให้พอ
ขอ คนที่หาคนที่ขอต้องเป็นทุกข์ ขอเท่าไหร่ยิ่งไม่มี ยิ่งอดอยาก ทีเดียว เมือ่ พิจารณาพอจนเป็น สติสมั โพชฌงค์ จิตจึงจะเป็นสมาธิ
ยากเข็ญ รวมลงเอง การประกอบความพากเพียรท�ำจิตให้ยงิ่  เป็นการปฏิบตั ิ
กายกับจิตเราได้มาแล้วมีอยู่แล้ว ได้มาจากบิดามารดา ค�ำสอนตามค�ำสอนของพระบรมศาสดาสัมมาสัมพุทธเจ้า
70 ค ติ ธ ร ร ม คํ า ส อ น 71 ห ล ว ง ปู่ มั่ น ภู ริ ทั ต โ ต

* คุณธรรม ยังผู้เข้าถึงให้เป็นผู้ฉลาดปราดเปรื่องเลื่อง * ผูม้ ปี ญั ญาไม่ควรให้สงิ่ ทีล่ ว่ งมาแล้วตามมา ไม่ควรหวังใน


ระบือ มีความฉลาดกว้างขวางในอุบายวิธี ไม่มคี วามคับแค้นจนมุม สิง่ ทีย่ งั มาไม่ถงึ  ผูม้ ปี ญั ญาได้เห็นในธรรมซึง่ เป็นปัจจุบนั  ควรเจริญ
ความเห็นนั้นไว้เนืองๆ ควรรีบท�ำเสีย
* ความไม่ยั่งยืน เป็นสิ่งที่ยิ่งใหญ่แน่นอน ผู้มีปัญญาซึ่งมีธรรมเป็นเครื่องอยู่ มีความเพียรแยกกิเลส
ความยิ่งใหญ่ คือ ความไม่ยั่งยืน ชีวิตที่ยิ่งใหญ่ คือ ชีวิต ให้ ห มดไป   จะไม่ เ กี ย จคร้ า น   ขยั น หมั่ น เพี ย รทั้ ง กลางวั น และ
ที่อยู่ด้วยทาน ศีล เมตตา และกตัญญู ชีวิตที่มีความดี อาจมิใช่ กลางคืน
ความยิ่งใหญ่ แต่ชีวิตที่ยิ่งใหญ่ ต้องอาศัยคุณธรรมความดีเท่านั้น

* วาสนา นั้นเป็นไปตามอัธยาศัย
คนที่มีวาสนาในทางที่ดีมาแล้ว แต่คบคนพาลวาสนาก็อาจ
เป็นเหมือนคนพาลได้ บางคนวาสนายังอ่อน เมือ่ คบบัณฑิตวาสนา
ก็เลือ่ นขัน้ ขึน้ เป็นบัณฑิต ฉะนัน้  บุคคลควรพยายามคบแต่บณั ฑิต
เพื่อเลื่อนภูมิวาสนาของตนให้สูงขึ้น
72 73 ห ล ว ง ปู่ มั่ น ภู ริ ทั ต โ ต
บั น ทึ ก

You might also like