You are on page 1of 6

การซักประวัตแิ ละตรวจร่ างกายเด็กโรคหัวใจภาค 2

ในเด็กปกติเสียงที่ได้ ยินจากการฟั งด้ วย stethoscope มีเสียงหลักคือ First heart sound (S1) และ Second heart
sound (S2) เกิดจากลิ ้นทัง้ 4 ของหัวใจได้ ยินชัดในตาแหน่งต่างๆกันของทรวงอกส่วนหน้ า
1. เสียงที่เกิดจาก pulmonic valveได้ ยินชัดที่ intercostal space(ICS) ช่องที่ 2 หรื อ 3 บริ เวณ left parasternal border เรี ยก
บริ เวณนี ้ว่า pulmonic valvular area (PVA)
2. เสียงที่เกิดจาก aortic valveได้ ยินชัดที่ ICS ช่องที่ 2 บริ เวณ right parasternal border เรี ยกบริ เวณนี ้ว่า aortic valvular area
(AVA)
3. เสียงที่เกิดจาก MV ได้ ยินชัดที่บริ เวณ apex เรี ยกบริเวณนี ้ว่า mitral valvular area (MVA)
4. เสียงที่เกิดจาก TV ได้ ยินชัดที่ ICS ช่อง 4 บริ เวณใกล้ กบั right sternal border เรี ยกบริ เวณนี ้ว่า tricuspid valvular area
(TVA)
S1
เสียงที่ได้ ยินเกิดจาก 2 component คือ จากการปิ ดของ MV และการปิ ดของ TV การเปลีย่ นแปลงของ S1 ที่พบได้ บอ่ ย
และมีความสาคัญในเด็กก็มี increased S1 ใน ASD และ decreased S1 ใน myocardial diseasesหรื อ pericardial effusion
S2
เสียงที่ได้ ยินเกิดจาก 2 component ได้ แก่ เสียงซึง่ เกิดจากการปิ ดของ aortic valve(A2) และ pulmonic valve(P2)
ตามลาดับ ปกติ aortic valve จะปิ ดก่อน pulmonic valve ประมาณ 0.03 วินาที แล้ ว หูผ้ ฟู ั งก็ไม่สามารถบอกได้ วา่ มีการ split
เกิดขึ ้นเมื่อฟั งด้ วย stethoscope เวลาหายใจเข้ า A2 และ P2 จึงจะแยกออกจากกันทาให้ ฟังได้ ยินเป็ น 2 components บอกได้ วา่
มี splitting ของ S2 เมื่อฟั งด้ วย stethoscope แต่เมื่อหายใจออกทัง้ 2 components นี ้จะเข้ ามาอยูช่ ิดกันจนฟั งได้ เสียงเดียวทังนี
้ ้
เนื่องจาก
1. เมื่อหายใจเข้ า intrathoracic negative pressure เพิ่มขึ ้น intra-abdominal pressure เพิ่มขึ ้นและ tone ของ small
peripheral veins เพิ่มขึ ้นสิง่ ต่าง ๆ เหล่านี ้ทาให้ เพิ่ม systemic venous return เพิ่ม RV filling และเกิด prolonged RV emptying
time จึงทาให้ เกิด delayed closure ของ pulmonic valve ทาให้ P2 ห่างออกไปจาก A2
2. เมื่อหายใจเข้ า ทาให้ มีการเพิ่ม pulmonary vascular capacity เกิดการคัง่ ของเลือดที่ปอด ทาให้ venous return มาสู่ LA
น้ อยลง LV ก็ได้ รับเลือดน้ อยลง ทาให้ LV emptying time สันลง ้ aortic valve closure เกิดเร็วขึ ้นกว่าเมื่อหายใจออกทาให้ A2
ห่างออกไปจาก P2
การเปลี่ยนแปลงของ S2
การเปลีย่ นแปลงของ S2 เป็ นส่วนที่สาคัญมากในการตรวจโรคหัวใจเด็กจนมีผ้ กู ล่าวว่า การตรวจ S2 เป็ นเสมือนหัวใจ
ของการฟั งในการตรวจโรคหัวใจเด็กทีเดียว
1. Intensity
1.1 Intensity เพิ่มขึน้ ในคนไข้ ที่มี chest wall บาง นอกจากนี ้ intensity ยังเพิ่มขึ ้น เมื่อมี dilatation หรื อมีการเพิม่
ความดันใน aorta(AO) หรื อ pulmonary artery เช่นใน systemic hypertension, pulmonary hypertension
1.2 Intensity ลดลงในคนไข้ ที่มี chest wall หนา หรื อในพวกทีม่ ีการแข็งตัวของ aortic valve หรื อ pulmonic valve
เช่น ใน AS, PS หรื อพวกที่ใน AO หรื อ pulmonary artery มีความดันตา่
2. Single second heart sound
2.1 เมื่อ component หนึง่ ค่อยลงมากจนฟั งไม่ได้ ยนิ ได้ แก่ใน severe AS, severe PS, TOF
2.2 murmur กลบเสียง A2 ได้ แก่ ใน VSD, PDA, PS, rupture sinus of Valsalva
2.3 มี functioning valve ที่ออกจากหัวใจเพียงอันเดียวได้ แก่ใน persistent truncus arteriosus, pulmonary
atresia
2.4 pressure ใน ventricle ทังสองข้
้ างเท่ากันได้ แก่ใน Eisenmenger syndrome, single ventricle
2.5 aortic valve อยูห่ น้ าต่อ pulmonic valve ทาให้ ไม่ได้ ยินเสียง P2 ได้ แก่ TGA, corrected TGA
3. Abnormally wide splitting พบใน right bundle branch block, PS, TOF (mild), PAPVR เพราะมี prolong RV ejection
นอกจากนี ้ยังพบใน VSD, mitral regurgitation(MR) เพราะมี shorten LV ejection
4. Abnormally wide and relatively fixed splitting
4.1 ASD A2 split กว้ างขึ ้นเพราะมี prolong RV ejection เนื่องจาก left to right shunt ผ่าน ASD เข้ าสู่ RA ลงสู่
RV เกิด RV volume overload การหายใจเข้ าออกไม่ทาให้ volume overload ของ RV ซึง่ มีเต็มที่อยูแ่ ล้ วเปลีย่ นแปลงไป เพราะ
เมื่อมี ASD ขนาดใหญ่ผลการเปลีย่ นแปลงใน intrathoracic pressure จะมีตอ่ atria ทังสองเสมื ้ อนหนึง่ ว่าเป็ น atrium ใหญ่เพียง
อันเดียว คือเมื่อหายใจเข้ า เลือดกลับเข้ าสู่ RA มากขึ ้น ทาให้ left to right shunt ผ่านทาง ASD จะเพิ่มขึ ้น ทาให้ เลือดนี ้ผ่านจาก
RA เข้ าสู่ RV ทังเวลาหายใจเข้
้ าและเวลาหายใจออกมีประมาณค่อนข้ างคงที่ RV ejection time จึงคงที่ แต่นานขึ ้น ทาให้ S2 มี
abnormally wide and fixed splitting ใน TAPVR ก็พบการตรวจนี ้ได้ เช่นกัน
4.2 RV failure ทาให้ เกิด fixed splitting ของ S2 ได้ แต่ไม่ widely split ทังนี
้ ้อธิบายได้ โดยที่ในภาวะที่มี RV failure
นัน้ RV ejection จะคงที่เพราะ RV ไม่สามารถเพิ่ม stroke volume ให้ มากขึ ้นอีกขณะที่หายใจเข้ า
5. Paradoxical splitting
เป็ นการ split ของ S2 ที่ตรงกันข้ ามกับในภาวะปกติ คือ เมื่อหายใจเข้ า S2 จะ split แคบกว่าเวลาหายใจออก เกิดได้
เนื่องจาก delayed aortic closure เช่นใน left bundle branch block, AS (severe), systemic hypertension, COA, coronary
heart disease, acute coronary insufficiency, PDA นอกจากนี ้ยังเกิดได้ ใน Wolff-Parkinson-White syndrome เพราะมี early
electrical activation ของ RV หรื ออาจเกิดจาก early pulmonic closure ซึง่ พบได้ ใน RA myxoma, tricuspid regurgitation(TR)
Third heart sound (S3)
S3 เป็ นเสียง low-pitched เกิดจาก tension ของ chordae tendineae และ mitral valve leaflets ขณะที่ ventricle
ขยายตัวและยาวขึ ้นอย่างรวดเร็ว เมื่อมีการไหลของเลือดจาก atrium ใน early diastole ถ้ าเป็ น S3 ที่เกิดจาก LV ฟั งได้ แถว apex
ส่วน S3 ที่เกิดจาก RV ฟั งได้ แถว left sternal border การได้ ยิน S3 พบได้ ในเด็กปกติ S3 นี ้อาจหายไปเมื่อเด็กนัง่ หรื อยืน บางคน
พบได้ จนถึงผู้ใหญ่ สิง่ ทีช่ ่วยทาให้ ฟัง S3 ได้ ดีขึ ้น ได้ แก่ เด็กทีม่ ี chest wall บาง ฟั งในห้ องที่เงียบในท่านอนหงาย หรื อ นอนตะแคง
ซ้ าย ใช้ สว่ น bell ของ chest piece ของ stethoscope แตะเบา ๆ บนหน้ าอกคนไข้ และเจาะจงฟั งในระยะ early diastole S3มัก
ฟั งได้ ชดั บริเวณ apex ฟั งได้ ชดั เมื่อหายใจออก S3จะดังขึ ้นเมื่อออกกาลัง กดหน้ าท้ องคนไข้ หรื อคนนอนยกขา S3อาจหายไปถ้ า
คนไข้ หายใจเข้ าเต็มที่แล้ วกลันไว้

S3 ที่พบในภาวะผิดปกติ อาจได้ ยินดัง หรื อได้ ยินแม้ เด็กยืน ได้ แก่กรณี high cardiac output เช่น hyperthyroidism,
anemia หรื อมี increased LV filling ใน early diastole เช่นใน complete heart block, significant MR หรื อมี cardiac
dilatation เช่นในภาวะหัวใจวายจาก coronary heart disease, systemic hypertension, aortic valvular disease,
cardiomyopathy, pulmonary hypertension, pulmonary embolus
Forth heart sound (S4)
S4 ก็เป็ นเสียง low-pitch เช่นเดียวกับ S3 เพราะฉะนันในการฟั
้ ง S4 ก็ต้องฟั งด้ วยส่วน bell ของ chest piece ของ
stethoscope ด้ วยวิธีการอย่างเดียวกับการฟั ง S3 ดังกล่าวแล้ วข้ างต้ น S4 จากข้ างซ้ ายฟั งได้ ชดั บริ เวณ apex ส่วน S4 จากข้ าง
ขวาฟั งได้ ชดั แถว left sternal border S4 เกิดจาก sudden upward movement ของ atrioventricular valve ใน ventricular
chamber เนื่องจากการที่ atrium บีบตัวอย่างแรงเพื่อไล่เลือดให้ ผา่ นลงไปใน ventricle ที่ยืดไม่ออกเพราะมี hypertrophy,
fibrosis, inflammation หรื อโรคของ myocardium
S4ไม่พบในเด็กปกติ มักพบร่วมกับ S3ที่ดงั กว่าปกติด้วยใน cardiomyopathy, aortic stenosis (severe), pulmonary
stenosis (severe), pulmonary hypertension การที่มี S3 และ/หรื อ S4 ร่วมกับ tachycardia หรื อ cardiac pathology พบบ่อย
ใน advanced myocardial failure ถ้ ามีทงั ้ S3, S4 เวลาฟั งเสียงหัวใจก็จะได้ เป็ น quadruple rhythm คือฟั งได้ เป็ น 4 เสียง ได้ แก่
S1, S2, S3, และ S4 บางครัง้ เรี ยกเป็ น Gallop rhythm

Systolic ejection click (SEC)


เป็ นเสียงทีเ่ กิดตามหลัง S1 แต่หา่ งจากเสียงทีเ่ กิดจาก splitting ของ S1, systolic ejection click เกิดจาก
1. การเปิ ดของ semilunar valve (aortic valve หรื อ pulmonic valve) ที่ตีบยังไม่แข็ง แล้ วหยุดทันที เพราะเปิ ดได้ ไม่เต็มที่เมื่อ
ventricle เริ่ มบีบตัว
2. เกิดเนื่องจาก sudden distention ของผนัง aorta หรื อ pulmonary artery เนื่องจาก impact อย่างแรงของกระแสเลือดต่อ
ผนังเส้ นเลือด
pulmonary systolic ejection click ฟั งได้ ชดั แถว PVA เสียง click จะค่อยลงหรื อหายไปเมื่อหายใจเข้ า พบได้ ใน mild
and moderate PS, idiopathic dilatation of PA, Eisenmenger syndrome
aortic systolic ejection click ฟั งได้ ชดั แถว apex บางครัง้ ฟั งได้ แถว AVA และ TVA เสียงนี ้จะคงอยูไ่ ม่วา่ จะหายใจ
เข้ าหรื อหายใจออก พบได้ ใน congenital AS (ไม่คอ่ ยพบใน acquired AS เพราะตัวลิ ้นมักมี calcification), truncus arteriosus,
TOF บางครัง้ อาจฟั งได้ ใน AR และ aortic aneurysm

Valve opening sound (opening snap, OS)


พบใน MS และ TS เกิดใน early diastole เกิดเนื่องจากการที่ลิ ้นที่ตีบแต่ยงั ไม่แข็งพยายามที่เปิ ดออก แต่ต้องหยุดทันที
เพราะเปิ ดไม่ได้ เต็มที่ ทาให้ เกิด tension ขึ ้นและเกิดเสียง OS ขึ ้น ถ้ า MS หรื อ TS น้ อย หรื อตัวลิ ้นมี calcification ก็จะไม่มีเสียง
OS, OS ของ MV ฟั งได้ ชดั บริ เวณ low LSB หรื อที่ apex ในท่านอนตะแคงซ้ าย OS ของ TV ฟั งได้ ชดั บริ เวณ lower RSB หรื อ
บริ เวณด้ านซ้ ายต่อ Xiphoid area ลักษณะของเสียงของ OS intensity, pitch และ duration คล้ าย S2 OS แยกจาก P2 ได้ คือ
OS มัก radiate ได้ กว้ างกว่า P2 ไม่เปลีย่ นแปลงตามการหายใจ และ OS ห่างจาก A2 มากกกว่า P2

Heart murmur
Murmur เป็ นเสียงที่เกิดจาก turbulent flow ของเลือด การเกิด turbulent flow นี ้ขึ ้นโดยตรงกับขนาดของช่องที่เลือด
ไหลผ่าน ความเร็ วของการไหลของเลือด ความหนืด และความหนาแน่นของเลือด เพราะฉะนัน้ murmur จะเกิดขึ ้นได้ เมื่อมีการตีบ
หรื อ รั่วของลิ ้นหัวใจ หรื อเส้ นเลือดมีช่องติดต่อที่ผิดปกติในหัวใจหรื อที่เส้ นเลือด เส้ นเลือดมีการพองตัวหรื อโป่ งออก หัวใจเต้ นเร็ ว
ขึ ้น เลือดไหลเร็ วขึ ้นหรื อในภาวะที่ความหนืดน้ อยลงเช่นในภาวะที่คนไข้ เป็ นโรคโลหิตจางมากๆ
ในการบรรยายถึงลักษณะของ murmur ควรบรรยายสิง่ ต่อไปนี ้คือ
1. Timing คือเป็ น systolic, diastolic หรื อ continuous โดย systolic murmur คือ murmur ที่เกิดพร้ อมกับ S1 หรื อตามหลัง S1
และสิ ้นสุดลงก่อน S2 หรื อที่ S2, diastolic murmur คือ murmur ที่เกิดพร้ อมกับ S2 หรื อตามหลัง S2 และสิ ้นสุดลงก่อน S1 หรื อที่
S1 ส่วน continuous murmur คือ murmur ที่เริ่ มที่ S1 แล้ วผ่าน S2 ไปสิ ้นสุดก่อน S1 ใน stroke ต่อไปหรื อที่ S1 ใน stroke ต่อไป
2. Nature เป็ นการบอกถึงลักษณะของ murmur ซึง่ อาจจะเป็ นแบบ ejection, regurgitant, rough, musical, blowing,
rumbling, crescendo-decrescendo, machinery, etc.
3. Grade of maximal intensity อาศัยความเบาดังของ murmur แบ่งเป็ น 6 grade ดังนี ้
grade I เบามาก มักไม่คอ่ ยได้ ยินในระยะแรกของการฟั ง ต้ องตังใจฟั
้ งมากจึงจะได้ ยิน
grade II เบา แต่ได้ ยนิ ทันทีที่เริ่ มฟั ง
grade III ดังปานกลาง ได้ ยินชัดเจน
grade IV ดัง ร่วมกับการมี thrill
grade V ดังมากฟั งได้ แม้ กระทัง่ ใช้ ขอบใดขอบหนึง่ ของส่วน chest piece ของ stethoscope แตะกับ chest wall
grade VI ดังมาก ๆ ได้ ยินแม้ กระทัง่ เมื่อเอาส่วน chest piece ของ stethoscope ให้ หา่ งจาก chest wall เล็กน้ อย
4. Duration หมายถึงความยาวของ murmur เช่น ถ้ า murmur ยาวตลอดระยะ systole ก็บรรยายว่าเป็ น holosystolic หรื อ
pansystolic
5. Pitch หรือ frequency เช่น murmur ของ AR เป็ นพวก high frequency พวกนี ้ต้ องฟั งด้ วยส่วน diaphragm ของ chest piece
จึงจะได้ ยินชัด ส่วน murmur ของ MS เป็ นพวก low หรื อ frequency ซึง่ ต้ องใช้ สว่ น bell ของ chest piece ในการฟั งจึงจะได้ ยินชัด
6. Point of maximal intensity คือตาแหน่งที่ได้ ยินเสียง murmur ดังที่สดุ เช่น murmur ของ AS มักได้ ยินดังที่สดุ บริ เวณ AVA
7. Respiratory variation คือการเปลีย่ นแปลงตามการหายใจ เช่น murmur ของ TR จะดังขึ ้นเมือ่ หายใจเข้ า (Carvallo’s sign)
8. Degree of localization of transmission ขึ ้นกับความดังของ murmur และความหนาของทรวงอก เพราะฉะนันในคนไข้ ้ ที่ผอม
จะมี murmur ดังมาก มักจะฟั ง murmur ได้ ในบริ เวณกว้ างและ บางครัง้ อาจได้ ยินบริ เวณส่วนหลังของทรวงอกด้ วย เช่น murmur
ของ MR
Systolic murmur
เป็ น murmur ที่เกิดขึ ้นในระยะ systole คือ เกิดระหว่าง S1 และ S2 แบ่งได้ เป็ น
1. systolic ejection murmur (SEM) เกิดจาก relative stenosis หรื อการตีบจริ งของ outflow tracts ของ ventricles ซึง่ ได้ แก่
พวก subvalvular stenosis หรื อเกิดจากการตีบของ semilunar valves (aortic หรื อ pulmonary) หรื อของ great vessels (aortic
or pulmonary artery) murmur เหล่านี ้เป็ นลักษณะ crescendo-decrescendo murmur murmur จะเกิดตามหลัง S1 ค่อยๆดัง
ขึ ้นจนถึงดังที่สดุ ที่สว่ นกลางของ systole แล้ วก็คอ่ ยลงและหายไปก่อน หรื อที่ S2 murmur แบบนี ้พบได้ ใน AS, PS,
TOF นอกจากนี ้ murmur แบบนี ้ยังพบได้ ใน pulmonary artery stenosis และ coarctation of aorta
relative semilunar valve stenosis ก็ให้ murmur แบบนี ้ได้ เช่นกัน ตัวอย่างของ murmur ที่เกิดจาก relative
semilunar valve stenosis ได้ แก่ murmur ของ relative PS ใน ASD และ murmur ของ relative AS ในรายที่เป็ น AR มากๆ
พวก functional หรื อ innocent murmur ส่วนใหญ่ก็เป็ นพวก systolic ejection murmur
2. pansystolic หรือ holosystolic murmur เป็ น murmur ที่ดงั เท่ากันและยาวตลอดระยะ systole พบได้ ใน VSD และในพวกที่มี
การรั่วของ atrioventricular valve เช่น MR หรื อ TR ซึง่ อาจเนื่องจาก congenital heart disease เช่นใน Ebstein anomaly ของ
tricuspid valve หรื อ acquired เช่นใน rheumatic heart disease
Diastolic murmur
เป็ น murmur ที่เกิดขึ ้นในระยะ diastole คือระหว่าง S2 กับ S1 แบ่งเป็ น
1. protodiastolic murmur ซึง่ พบได้ ในพวกทีม่ ี semilunar valve insufficiency เช่น AR หรื อ pulmonic insufficiency ซึง่ มักฟั ง
ได้ ชดั ที่ AVA หรื อ PVA ตามลาดับ murmur นี ้เกิดทันทีตามหลังการปิ ดของ aortic valve หรื อ pulmonic valve เป็ นแบบ
decrescendo murmur คือ เริ่ มต้ นดัง แล้ วค่อยๆเบาลงจนหายไป murmur ของ AR ฟั งได้ ชดั ด้ วยส่วน diaphragm ของ chest
piece เป็ นชนิด low หรื อ medium frequency murmur ของ pulmonic insufficiency จะดังขึ ้นเมื่อหายใจเข้ า
2. diastolic rumbling murmur เป็ น mid-diastolic murmur ฟั ง ได้ ชดั ในท่านอนตะแคงซ้ าย การฟั งควรฟั งด้ วยส่วน bell ของ
chest piece เป็ น low frequency murmur พบได้ ในพวกทีม่ ี true หรื อ relative stenosis ของ atrioventricular valve, murmur
ของ MS ฟั งได้ ชดั บริ เวณ apex ส่วน murmur ของ tricuspid stenosis(TS) ฟั งได้ ชดั บริเวณ TVA หรื อบริ เวณ xiphi-sternal
area จะดังขึ ้นเมื่อหายใจเข้ า
diastolic flow murmur ที่เกิดจากการมี relative stenosis ของ atrioventricular valve เช่น murmur ของ relative MS
พบได้ ใน VSD หรื อ PDA ที่มี shunt ขนาดใหญ่ หรื อ MR มากๆ ทังนี ้ ้เนื่องจากปริ มาณเลือดที่ไหลจาก LA สู่ LV มีมากกว่าปรกติ
มาก murmur พวกนี ้เป็ น low frequency murmur ฟั งได้ ชดั ด้ วยส่วน bell ของ chest piece
ใน active carditis จาก rheumatic fever บางครัง้ อาจได้ ยิน mid-diastolic murmur ที่เรี ยกว่า Carey-Coomb’s
murmur ซึง่ เกิดจากการอักเสบและการบวมของ MV มี relative mitral stenosis
Austin Flint murmur เป็ น mid-diastolic หรื อ presystolic murmur ที่ฟังได้ แถว apex ในรายที่มี AR มากๆ การเกิด
murmur นี ้เชื่อกันว่าเนื่องจากกระแสเลือดจาก aorta ไหลย้ อนกลับเข้ าไปใน LV ดันให้ anterior leaflet ของ MV สูงขึ ้นไป เกิด
partial closure ของ MV จึงเกิด turbulent flow จาก LA เข้ าสู่ LV และเกิด diastolic murmur ที่คล้ ายกับ murmur ของ MS
ใน ASD ที่มีขนาดใหญ่ ก็จะได้ ยิน murmur ของ relative TS ซึง่ เป็ น early diastolic flow murmur เกิดจากจานวน
เลือดที่มากกว่าปกติไหลผ่านจาก RA ลงสู่ RV ทาง TV ที่มีขนาดปกติ
3. presystolic หรื อ atrial systolic murmur เกิดจาก atrial contraction ในพวกที่มี MS หรื อ TS murmur นี ้จะหายไปเมื่อเกิด
atrial fibrillation
Continuous murmur
เป็ น murmur ที่ยาว เริ่ มจากระยะ systole ผ่าน S2 เข้ าไปในระยะ diastole แต่ไม่จาเป็ นต้ องยาวตลอดระยะ systole
และ diastole ในเด็กที่พบบ่อยพบได้ ใน PDA, aortopulmonary window, coronary arteriovenous fistula, rupture aortic sinus
of Valsalva aneurysm, cervical (jugular) venous hum, after shunt operation, bronchial collateral circulation in tetralogy
of Fallot และ pulmonary atresia, intercostal collaterals in coarctation of the aorta เป็ นต้ น
Pericardial friction rub
เกิดจากการขยับ visceral และ parietal pericardium ที่มีการอักเสบ เป็ นเสียง high pitch, superficial scratchy
sound ที่คล้ ายกับเสียงทีเ่ กิดจากการเอากระดาษหยาบสองแผ่นมาถูกนั มักฟั งได้ ทงในระยะ ั้ systole และ diastole แต่ในระยะ
systole เสียงมักดังกว่าใน diastole และฟั งได้ ชดั มากขึ ้นถ้ ากดส่วน chest piece ของ stethoscope ให้ แนบแน่นกับหน้ าอก
บริ เวณที่ฟังได้ ชดั มักเป็ นบริ เวณ upper sternum กับ apex บางครัง้ ถ้ าสงสัยว่าจะมี pericardial friction rub หรื อไม่อาจต้ องฟั ง
โดยให้ คนไข้ อยูใ่ นท่าต่างๆ เช่น นัง่ นอนตะแคงซ้ าย หรื อท่า knee chest จึงได้ ยินเสียงที่ผิดปกตินี ้ แม้ จะมี pericardial effusion
จานวนมากก็ยงั สามารถฟั ง rub นี ้ได้ การแยก pericardial friction rub จาก pleural rub นันแยกโดยที
้ ่ถ้าให้ คนไข้ กลันหายใจ

pericardial friction rub จะยังคงได้ ยินอยู่ ส่วน pleural rub จะได้ ยินเฉพาะช่วงหายใจ นอกจากนี ้ pericardial friction rub มัก
ได้ ยินบริ เวณ precordium ส่วน pleural rub มักได้ ยินบริ เวณถัดจาก apex ออกไปทาง axilla
Reference
1. Bernstein D. Evaluation of the Cardiovascular System. In: Kliegman RM, Behrman RE, Jenson HB, Stanton BF,
editors: Nelson Textbook of Pediatrics, 18th edition. Phildelphia: Saunders Elsevier; 2007. P 1857-64
2. Allen HD, Phillips JR, Chan DP. History and physical examination. In: Allen HD, Driscoll DJ, Shaddy RE, Feltes
TF, editors: Moss and Adams' Heart Disease in Infants, Children, and Adolescents: Including the Fetus and
Young Adults, 7th Edition. Philadelphia: Lippincott Williams & Wilkins; 2008. P 59-67
3. นวลจันทร์ ปราบพาล. บทนา. ใน: นวลจันทร์ ปราบพาล วรศักดิ์ โชติเลอศักดิ์ ปราโมทย์ ไพรสุวรรณา จิตลัดดา ดีโรจนวงศ์.
(บรรณาธิการ) การซักประวัติและตรวจร่างกายในเด็ก กรุงเทพมหานคร: บริ ษัท บียอนด์ เอ็นเทอร์ ไพรซ์ จากัด; 2552. หน้ า
1-3
4. Duff DF, Mcnamara DG. History and physical examination of the cardiovascular system. In: Garson Jr A,Bricker
JT, Fisher DJ, Neish SR, eds. The science and practice of pediatric cardiology, 2nd edition. Baltimore, Williams
and Wilkins; 1997. P 693-713
5. Geggel RL, Fyler DC. History, Growth, Nutrition, Physical Examination, and Routine Laboratory Tests. In: Keane
JF, Lock JE, Fyler DC. Eds. Keane: Nadas' Pediatric Cardiology, 2nd ed. 2006 Saunders; p. 129-44
6. อภิชยั คงพัฒนะโยธิน. การตรวจร่างกายทางระบบหัวใจและหลอดเลือด. ใน: นวลจันทร์ ปราบพาล วรศักดิ์ โชติเลอศักดิ์
ปราโมทย์ ไพรสุวรรณา จิตลัดดา ดีโรจนวงศ์. (บรรณาธิการ) การซักประวัติและตรวจร่างกายในเด็ก กรุงเทพมหานคร:
บริ ษัท บียอนด์ เอ็นเทอร์ ไพรซ์ จากัด; 2552. หน้ า 77-102
7. ธนะรัตน์ ลยางกูร. โรคหัวใจพิการแต่กาเนิดชนิดที่ไม่เขียว. ใน: ศรีศภุ ลักษณ์ สิงคาลวณิชย์ ชัยสิทธิ์ แสงทวีสนิ สมจิต ศรี
อุดมขจร สมใจ กาญจนาพงศ์กลุ . (บรรณาธิการ) ปั ญหาโรคเด็กทีพ่ บบ่อย กรุงเทพมหานคร: กรุงเทพเวชสาร; 2549. หน้ า
109-18
8. ธนะรัตน์ ลยางกูร. โรคหัวใจพิการแต่กาเนิดชนิดเขียว. ใน: ศรี ศภุ ลักษณ์ สิงคาลวณิชย์ ชัยสิทธิ์ แสงทวีสนิ สมจิต ศรี อดุ ม
ขจร สมใจ กาญจนาพงศ์กลุ . (บรรณาธิการ) ปั ญหาโรคเด็กที่พบบ่อย กรุงเทพมหานคร: กรุงเทพเวชสาร; 2549. หน้ า 119-
34
9. Layangool T, Sangtawesin C, Kirawittaya T, Prompan W, Attachoo A, Pechdamrongsakul A, et al. A comparison
of oral chloral hydrate and sublingual midazolam sedation for echocardiogram in children. J Med Assoc Thai.
2008; 91 Suppl 3: S45-52

You might also like