You are on page 1of 30

เอกสารประกอบการอบรม ความรูพื้นฐานสําหรับการผลิตไฟฟา DATE

8/1998
วิชา STEAM TURBINE REV. 0
PAGE 1
of 30

บทที่ 1
หลักการพื้นฐานของ Steam Turbine

หลักการพื้นฐานของ Steam Turbine

1.1 หลักการทั่ว ๆ ไปของโรงไฟฟาพลังไอน้ํา


หลักการพื้นฐานของโรงไฟฟาใชหลักการเปลี่ยนแปลงพลังงานเคมีของเชื้อเพลิงเพื่อใหเปนพลังงานไฟฟา โดยมี
สวนประกอบที่สําคัญคือ Boiler, Turbine และ Generator

1-1 Boiler, Turbine, Generator

1-2 Analogy Components

เมื่อเปรียบเทียบรูปที่ 1-1 และ 1-2 เพื่อใหงายตอการทําความเขาใจ จะเห็นวา Boiler ก็คือเปลวไฟ และกา


ตมน้ํา, Turbine ก็คือกังหันลม และ Generator ก็คือแทงแมเหล็กที่หมุนอยูระหวาง Coil นั่นเอง

OPERATION DIVISION
เอกสารประกอบการอบรม ความรูพื้นฐานสําหรับการผลิตไฟฟา DATE
8/1998
วิชา STEAM TURBINE REV. 0
PAGE 2
of 30

ในการทํางาน เมื่อเราจุดไฟเพื่อใหเชื้อเพลิงลุกไหมจะไดพลังงานความรอนออกมา น้ําที่อยูในกาจะรับพลังงาน


ความรอนนี้ และจะเริ่มเดือดและกลายสภาพเปนไอ ไอน้ําที่ไดนี้จะพาพลังงานความรอนไปยังกังหัน ซึ่งเมื่อไอน้ํานี้กระทบ
กับกังหันพลังงานจากไอน้ําจะทําใหกังหันหมุน ดังรูป 1-3

1-3 Fuel, Energy, Windmill

สําหรับกังหันลมทั่วไปประสิทธิภาพที่ไดจะไมเต็มที่เนื่องจากไอน้ําสวนใหญจะไมกระทบกังหันซึ่งไอน้ําสวนนี้จะ
ยังคงมีพลังงานเหลืออยู

1-4 Steam Misses Windmill

เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของกังหันใหสูงขึ้น จึงมีการบรรจุกังหันไวใน Cylinder หรือ Casing ซึ่งผลที่ไดคือ


จะมีการสูญเสียไอน้ํานอยลง โดยที่พลังงานสวนใหญจะถูกสงใหกับ Blades ของกังหัน

OPERATION DIVISION
เอกสารประกอบการอบรม ความรูพื้นฐานสําหรับการผลิตไฟฟา DATE
8/1998
วิชา STEAM TURBINE REV. 0
PAGE 3
of 30

1-5 Enclosed Windmill

ถาเราเพิ่มชุดของ Blade เขาไปอีก ซึ่ง Blade แตละชุดจะทําหนาที่เหมือนกับกังหันลมหนึ่งชุดนั่นเอง


ดังนั้นเราจะสามารถนําพลังงานมาใชไดมากขึ้น ซึ่งเปนการเพิ่มประสิทธิภาพขึ้นอีกนั่นเอง

1-6 Rows of Blades Increase Efficiency

2. หลักการทั่วไปของ Steam Turbine


สําหรับ Turbine ที่ใชงานทั่วไปจะประกอบดวยสวนใหญ ๆ สองสวนคือ สวนที่อยูกับที่ หรือ Stationary
Part และสวนที่หมุนหรือ Rotating Part ซึ่งมีชื่อเรียกเฉพาะวา Rotor โดยที่ Rotor จะมี Blade หรือ
Airfoil ประกอบติดอยู

OPERATION DIVISION
เอกสารประกอบการอบรม ความรูพื้นฐานสําหรับการผลิตไฟฟา DATE
8/1998
วิชา STEAM TURBINE REV. 0
PAGE 4
of 30

1-7 Rotor Blades

สําหรับ Stationary Part ของ Turbine จะประกอบดวย Cylinder หรือ Casing ซึ่งเปนสวนที่
หอหุม Rotating Part เอาไว

1-8 Cylinder and Rotor

นอกจากนี้ที่ Cylinder จะมี Blade ติดอยูภายใน ซึ่ง Blade เหลานี้เรียกวา Stationary Blade
โดยมีหนาที่บังคับและกําหนดทิศทางของ Steam ใหไหลผานกระทบกับ Rotating Blade ในทิศทางที่ถูกตอง

OPERATION DIVISION
เอกสารประกอบการอบรม ความรูพื้นฐานสําหรับการผลิตไฟฟา DATE
8/1998
วิชา STEAM TURBINE REV. 0
PAGE 5
of 30

1-9 Steam Flow against Blades

สําหรับ Bearing ก็เปน Stationary Part อีกสวนหนึ่ง ซึ่งมีหนาที่รองรับน้ําหนักของ Rotor

1-10 Bearing Locations

Stationary Part สวนสุดทายของ Turbine คือ Gland Seal assembly ซึ่งจะอยูที่บริเวณ


Rotor สอดผาน Cylinder

OPERATION DIVISION
เอกสารประกอบการอบรม ความรูพื้นฐานสําหรับการผลิตไฟฟา DATE
8/1998
วิชา STEAM TURBINE REV. 0
PAGE 6
of 30

1-10 Gland Seal Assembly

นอกจากสวนประกอบเหลานี้แลว ยังมี Auxiliary System อื่น ๆ ซึ่งมีหนาที่ทําใหการทํางานของ


Turbine สมบูรณขึ้น System เหลานี้ไดแก
Turbine Steam Gland System ซึ่งมีหนาที่ควบคุมการรั่วของอากาศและ Steam ในบริเวณที่
Turbine Rotor ผานพน Cylinder

1-12 Turbine Steam Gland System

Lubrication Oil System เปนสวนที่ทําหนาที่หลอลื่น Bearing ลดความเสียหายและลดความสึก


หรอของ Bearing

1-12 Lubrication Oil System

ระบบสุดทายคือ Control System ซึ่งใชสําหรับควบคุมจํานวน Steam Flow เขา Turbine ให


เหมาะสมกับพลังงานที่จายออกจาก Generator

OPERATION DIVISION
เอกสารประกอบการอบรม ความรูพื้นฐานสําหรับการผลิตไฟฟา DATE
8/1998
วิชา STEAM TURBINE REV. 0
PAGE 7
of 30

Control Systems

OPERATION DIVISION
เอกสารประกอบการอบรม ความรูพื้นฐานสําหรับการผลิตไฟฟา DATE
8/1998
วิชา STEAM TURBINE REV. 0
PAGE 8
of 30

บทที่ 2
สวนประกอบของ Steam Turbine

Steam Turbine จะประกอบดวย Stationary และ Rotating Components สําหรับ


Stationary Component ประกอบดวย Outer Cylinder, Inner Cylinder, Nozzle
Chamber, สวน Rotating Component ประกอบดวย Rotor Shaft และ Rotating Blades

2.1 Outer Cylinder

2-1 Outer Cylinder

ซึ่งแบงเปนสองสวนคือ Base และ Cover โดยที่ Base จะเปนตัวรองรับน้ําหนักของ Stationary


Component ตาง ๆ และที่ Base และ Cover จะมี Steam Inlet และ Outlet Pipe ตออยูหลายจุด
เนื่องจากภายใน Cylinder มี Steam ที่มี Pressure ดังนั้น จึงจําเปนที่จะตองปองกันเพื่อใหมี Steam รั่ว
ออกมาตาม Horizontal Joint ใหนอยที่สุด ดังนั้น ผิวหนาของ Base และ Cover ตองเรียบที่สุด และขัน
Boltติดกัน

2.2 Inner Cylinder


สําหรับที่ Inner Cylinder จะมี Inlet และ Exhaust Opening ตออยูกับ Inlet และ
Exhaust Steam Connection ของ Outer Cylinder สําหรับ Steam ที่ไหลเขาและออกจาก Inner
Cylinder จะผานทอตาง ๆ ที่ตอกับ Outer Cylinder โดยที่จะมี Main Steam Inlet Sleeve ซึ่ง
ชิ้นสวนดานในของ Sleeve ที่เปน Flexible จะยื่นเขาไปใน Nozzle Chamber สวนที่ปลายของ Sleeve
คือ Slip Joint เรียกวา Bell Seal

OPERATION DIVISION
เอกสารประกอบการอบรม ความรูพื้นฐานสําหรับการผลิตไฟฟา DATE
8/1998
วิชา STEAM TURBINE REV. 0
PAGE 9
of 30

2-2 Inner and Outer Cylinder

Slip Joint มีไวเพื่อเวลาที่เกิด Differential Thermal Expansion ระหวาง Inner และ


Outer Cylinder โดยจะเปน Pressure Seal ระหวาง Inlet pipe และ Inner cylinder นอกจากนี้
ยังชวยใหการถอดและประกอบ Cylinder ทั้งสองทําไดงายขึ้น

2-3 Main Steam Inlet Sleeve

2.3 Nozzle Chamber Block

OPERATION DIVISION
เอกสารประกอบการอบรม ความรูพื้นฐานสําหรับการผลิตไฟฟา DATE
8/1998
วิชา STEAM TURBINE REV. 0
PAGE 10
of 30

Nozzle Chamber และ Nozzle Block สําหรับ Nozzle Block จะติดอยูกับ Nozzle
Chamber และทําหนาที่เปน Stationary Blade ชุดแรกเพื่อบังคับทิศทางของ Steam ใหกระทบกับ
Rotating Blade ชุดแรกที่เรียกวา Control Stage Blade

2-4 Nozzle Chamber, Nozzle Block, and Control Stage Blade

2.4 Stationary Blade


Stationary Blade จะสวมอยูใน Groove ของ Blade ring และที่ Stationary blade ชุด
สุดทายจะมี Seal สวมอยูใน Blade ring เพื่อปองกัน Steam ใหรั่วออกนอยที่สุด ซึ่งเปนการรักษาประสิทธิภาพ
ของ Turbine โดยควบคุมให Steam ไหลผาน Turbine blade path และมีการรั่วของ Steam ระหวาง
Stationary และ Rotating Blade นอยที่สุด

2-5 Blade Ring Seals

2.5 Moving Blade

OPERATION DIVISION
เอกสารประกอบการอบรม ความรูพื้นฐานสําหรับการผลิตไฟฟา DATE
8/1998
วิชา STEAM TURBINE REV. 0
PAGE 11
of 30

Moving Blade หรือ Rotating Blade จะยึดติดอยูบน Shaft โดยทําหนาที่รับพลังงานความรอน


และเปลี่ยนไปอยูในรูปของพลังงานกลโดยการหมุน

2-6 MOVING BLADE

2.6 Dummy Ring


Dummy Ring Assembly เปนตัวแยก Pressure Zone ใน Inner Cylinder โดยจะ
ควบคุมและบังคับทิศทางการไหลของ Steam ระหวาง High Pressure และ Intermediate Pressure
สําหรับ Dummy Ring ใน HP-IP Turbine มีสามแบบคือ High Pressure, Intermediate
Pressure และ Low Pressure อยางละหนึ่งชุด นอกจากนี้ Dummy ring จะมี Seal เพื่อใชปองกัน
การรั่วของ Steam ตาม Rotor

2-7 Dummy Ring Assemblies

บทที่ 3

OPERATION DIVISION
เอกสารประกอบการอบรม ความรูพื้นฐานสําหรับการผลิตไฟฟา DATE
8/1998
วิชา STEAM TURBINE REV. 0
PAGE 12
of 30

AUXILIARY SYSTEM OF STEAM TURBINE

3.1 Turbine Gland Seal System


เนื่องจาก Rotor ของ Turbine ซึ่งเปนตัวสงพลังงานนั้นมีบางสวนที่สอดผาน Cylinder และ
เนื่องจาก Pressure ภายใน Turbine จะไมเทากับ Atmospheric Pressure โดยที่ขณะ Operate
ทางดาน High Pressure และ Intermediate pressure turbine จะมี Steam ที่มี Pressure สูง
กวา Atmospheric pressure สวนทางดาน Low Pressure Turbine จะมี Steam ที่มี Pressure
ต่ํากวา Atmospheric pressure คือเปน Vacuum ดังนั้นที่ HP-IP Turbine จะมี Steam Leak
ออกมา สวนทางดาน LP-Turbine อากาศจะ Leak เขา Turbine ดวยเหตุนี้จึงจําเปนตองมีระบบ
Gland Seal System

3-1 Seal Assembly

สําหรับ Seal Assembly จะประกอบดวย Stationary Ring ซึ่งอยูที่ Turbine


Cylinder โดยจะรับกับ Groove ของ Rotor Shaft
ที่ Stationary Ring และสวนปลายของ Rotor Groove จะเปนชองเล็ก ๆ ซึ่ง เมื่อ Steam ไหล
ผาน Clearance ออกมาจะมีผลทําให Pressure ลดลง สวนปริมาตรจะเพิ่มขึ้น และเมื่อ Steam ไหลผาน
Clearance หลาย ๆ ชุด Pressure จะลดลงเรื่อย ๆ และเมื่อไหลผาน Clearance Steam ชวงสุดทายจะมี
Steam จํานวนเพียงเล็กนอยเทานั้นที่รั่วผาน Seal ออกมา

OPERATION DIVISION
เอกสารประกอบการอบรม ความรูพื้นฐานสําหรับการผลิตไฟฟา DATE
8/1998
วิชา STEAM TURBINE REV. 0
PAGE 13
of 30

3-2 Steam Leakage to Atmosphere

สําหรับ Seal ที่ใชงานนั้นจะเปน Three Piece Seal โดยจะมี Steam Line และ Suction
Line อยูดวยในกรณีที่Turbine เปน Vacuum จะมี Steam จาก Steam Line ไหลผาน Inner Seal
เขาสู Turbine นอกจากนี้ Steam บางสวนจะไหลผาน Middle Seal เขาสู Suction header แลวรวมกับ
อากาศที่ Leak ผานบริเวณ Outer Seal หลังจากนั้นก็จะเขาสู Suction Line ตอไป

3-3 Three Piece Seal : Vacuum Operation

เมื่อภายใน Turbine เปน High Pressure Steam ดังนั้น Steam จะพยายาม Leak ออกจาก
Turbine โดยไหลผาน Inner Seal หลังจากนั้นจะดัน Steam ใน Steam Line ใหไหลกลับเขาสู Gland
Steam Supply Header นอกจากนี้จะมี Steam บางสวน Leak ผาน Middle Seal รวมกับอากาศที่
Leak ผาน Outer Seal เขาสู Suction Line ตอไป

OPERATION DIVISION
เอกสารประกอบการอบรม ความรูพื้นฐานสําหรับการผลิตไฟฟา DATE
8/1998
วิชา STEAM TURBINE REV. 0
PAGE 14
of 30

3-4 Three Piece Seal : HP Operation

สําหรับ Steam Line และ Suction Line จะตอรวมอยูกับ Gland Seal Assembly สวนอื่น
คือ Steam Header ซึ่งสง Steam ที่มี Pressure สูงกวา Atmospheric Pressure เล็กนอยเขาสู
Steam Line นอกจากนี้คือ Suction Header ของ Suction Line ซึ่งจะเปน Vacuum โดยมี
Pressure ต่ํากวา Atmospheric Pressure เล็กนอย สําหรับ Steam Supply Header จะควบคุม
โดย Pressure Regulating System สวน Suction Header เปน Vacuum โดยใช Gland
Steam Condenser และ Air Exhauster

3-5 Gland Seal System Diagram

3.2 Turbine Drain System

OPERATION DIVISION
เอกสารประกอบการอบรม ความรูพื้นฐานสําหรับการผลิตไฟฟา DATE
8/1998
วิชา STEAM TURBINE REV. 0
PAGE 15
of 30

เนื่องจาก Turbine นั้น Operate ภายใต Steam และมี Speed สูงมาก ดังนั้น ถามีน้ําจํานวนเพียง
เล็กนอยคางอยูภายใน Turbine อาจนําไปสูการเกิด Cylinder Distortion คือ Cylinder จะบิดตัวเสีย
รูปทรง ผลที่ตามมาคือจะเกิดการเสียดสีกันระหวาง Stationary และ Rotating Part และจะเกิดปญหาทางดาน
Alignment

3-6 Contact Damage

ดวยเหตุนี้ที่ Turbine จึงตองมีชุดของ Drain Line เพื่อระบายน้ําที่เกิดจากการกลั่นตัวของ Steam


ออกจากบริเวณ Critical Area ซึ่งไดแกบริเวณ Main Steam Piping และ Reheat Steam Piping
และจาก Specific Area ภายใน Turbine เชนที่ Impulse Chamber และที่ Cylinder Base ของ
HP and IP Turbine โดย Drain Line เหลานี้จะระบายน้ําที่เกิดขึ้นลงสู Condenser

3-7 Drain Locations on Simplified HP-IP Turbine Unit (Underside View)


น้ําที่เขาสู Turbine อาจมาจาก Slug of Water จาก Boiler หรือน้ํา Condensate ซึ่งเกิดจาก
Cold Metal Pipe หรือน้ําที่คางอยูภายใน Turbine นอกจากนี้อาจไหลยอนมาจาก Extraction Steam

OPERATION DIVISION
เอกสารประกอบการอบรม ความรูพื้นฐานสําหรับการผลิตไฟฟา DATE
8/1998
วิชา STEAM TURBINE REV. 0
PAGE 16
of 30

สําหรับ Turbine Drain System ที่ใชทั่ว ๆ ไป 3 แบบ คือ


1. Drain Line
2. Automatic Drain Valve
3. Orifice Controlled Drain Line
ซึ่งเรียกวา Continuous Drain และ Waste หรือ Slope Drain
หลักการทั่ว ๆ ไปของตําแหนงของ Drain Line คือ Drain Line จะอยูที่จุดต่ําสุดของ Steam
Line ที่ตองการ Drain สําหรับที่ Main Steam Line ที่ตอไปยัง Throttle Valve จะมี Drain Line
อยูหนึ่งชุด สวน HP Steam Inlet Pipe จาก Steam Chest เขาสู Turbine แตละชุดจะมี Drain
Line ของตัวเอง และ Drain Line เหลานี้จะตอไปยัง Common Manifold โดยที่ Steam Chest แต
ละตัวจะมี Common Manifold อยูหนึ่งชุด และที่ Manifold แตละชุดจะมี Air-operated Drain
Line อยูหนึ่งชุด

3-8 Drain Line System

3.3 Exhaust Hood Spray System

OPERATION DIVISION
เอกสารประกอบการอบรม ความรูพื้นฐานสําหรับการผลิตไฟฟา DATE
8/1998
วิชา STEAM TURBINE REV. 0
PAGE 17
of 30

หนาที่ของ Exhaust Hood Spray System คือควบคุมอุณหภูมิของ Exhaust Steam เพื่อ


ปองกัน Overheating ที่ LP-Outer Cylinder โดยมี Spray Nozzle สําหรับ Spray น้ํา
Condensate เขาสู Exhaust Steam

3-9 Exhaust Hood Spray Nozzles on Exhaust Hood Flow Guide

3.4 Turbine Bearing Housing and Pedestal


จากรูปจะเปนตัวอยางของ Rotor Assembly ของ Turbine-generator System ซึ่งจะแบง
ออกเปนหาสวนคือ Rotor Extension Shaft, HP-IP Turbine Rotor, LP-Turbine Rotor,
Generator Rotor และ Exciter Rotor และสวนตาง ๆ เหลานี้จะใช Rotor Coupling ตอเขาดวยกัน
เพื่อใหเกิดเปน Rotor System สําหรับ Turning Gear จะประกอบอยูที่ Coupling ระหวาง LP
Rotor และ Generator Rotor

3-10 Primary Rotor Assemblies

OPERATION DIVISION
เอกสารประกอบการอบรม ความรูพื้นฐานสําหรับการผลิตไฟฟา DATE
8/1998
วิชา STEAM TURBINE REV. 0
PAGE 18
of 30

น้ําหนักของสวนประกอบเหลานี้จะรองรับดวย Bearing ชุดตาง ๆ ซึ่งเรียกวา Journal Bearing โดยที่


Bearing เหลานี้จะชวยรักษา Radial หรือ Vertical Alignment ระหวาง Rotating และ
Stationary Component เพื่อปองกันไมใหมีการสัมผัสกัน
สําหรับ Thrust Bearing จะชวยรักษา Axial หรือ Lenghtwise Alignment ของ System
เพื่อปองกันการสัมผัสกันตามแนว Axial ของ Rotating และ Stationary Component
Bearing เหลานี้จะมี Bearing Housing และ Pedestal เปนตัวหอหุมและรองรับ สวนประกอบ
อื่น ๆ นอกจากนี้คือ Oil Supply Line และ Control and Momitoring System
สําหรับ Governor Pedestal เปนตัวรองรับ Rotor Assembly ทางดาน Governor End
นอกจากนี้ยังรองรับ HP-IP Turbine Outer Cylinder ทางดาน Governor End ซึ่งอีกดานหนึ่งจะ
รองรับโดย LP-Turbine Bearing Housing โดยใช Support Flange ซึ่งอยูบน Support Key

3-11 Governor Pedestal

Governor Pedestal จะติดตั้งอยูบน Steel Sole Plate และสามารถเคลื่อนที่ไปมาไดตาม


แนว Axial บน Keyway เมื่อ Turbine เกิดการขยายตัวหรือหดตัว สําหรับ Sole Plate นี้จะยึดติดกับ
Foundation

OPERATION DIVISION
เอกสารประกอบการอบรม ความรูพื้นฐานสําหรับการผลิตไฟฟา DATE
8/1998
วิชา STEAM TURBINE REV. 0
PAGE 19
of 30

3-12 Governor Pedestal on Sole Plate

3.5 Lifting Oil หรือ Bearing Lift System


Bearing Lift System จะใชในชวงที่ Unit on Turning Gear ซึ่งขณะนี้ที่ LP Sleeve
Bearing จะยังไมเกิด Oil Film ที่เพียงพอสําหรับการหลอลื่นที่ดี โดยระบบนี้จะ Pump High Pressure
Oil เขาสู Bearing ทางรูดานใตของ Rotorโดยตรง โดยที่ระบบนี้อาจใช Motor Driven Pump ประกอบ
อยูที่ดานขางของ LP Bearing Housing แตละชุดเพื่อสง High Pressure Oil ใหแก Bearing แตละ
ตัวหรือใช Pump ขนาดใหญติดตั้งที่ Main Lube Oil Reservoir เพื่อสง High Pressure Oil ไปยัง
LP Turbine Bearing ทุกตัว

3-13 Bearing Lift System

OPERATION DIVISION
เอกสารประกอบการอบรม ความรูพื้นฐานสําหรับการผลิตไฟฟา DATE
8/1998
วิชา STEAM TURBINE REV. 0
PAGE 20
of 30

High Pressure Oil จาก Bearing Lift System จะยก Rotor ขึ้นเล็กนอยเพื่อใหเกิดการหลอ
ลื่นที่ดีระหวางที่ใช Turning Gear


3-14 Bearing Lift System (Cross-Section View)

Coupling ใชสําหรับยึด Rotor ตาง ๆ ใหเปน Rigid Rotor System นอกจากนี้ Coupling
ยังเปนตัวสง Torque ของ Turbine Blade และเปนตัวสง Axial Thrust อีกดวย
Rotor Coupling สวนใหญประกอบดวย Flange สองชุดขัน Bolt ติดกันโดยมี Spacer อยูตรง
กลาง ความสําคัญของ Coupling Spacer คือชวยรักษา Axial Alignment ระหวาง Rotating และ
Stationary Part

3-15 Typical Coupling


สําหรับ Coupling ระหวาง LP Rotor และ Generator Rotor จะมี Spacer ซึ่งเปนแบบ
Toothed Gear ซึ่งเปนสวนหนึ่งของ Turning Gear

OPERATION DIVISION
เอกสารประกอบการอบรม ความรูพื้นฐานสําหรับการผลิตไฟฟา DATE
8/1998
วิชา STEAM TURBINE REV. 0
PAGE 21
of 30

3-16 Coupling with Turning Gear Spacer

3.6 Turning Gear or Rotor Bearing


ในขณะที่ Turbine ยังรอนอยูกอนการ Startup และหลังการ Shutdown ถาเราปลอยให Hot
Rotor หยุดอยูที่ตําแหนงใดตําแหนงหนึ่ง เนื่องจากการเย็นตัวที่ไมสม่ําเสมอ ดังนั้น Rotor จะเกิดการโกงงอได
ดวยเหตุนี้จึงมีการใช Turning Gear เพื่อให Rotor หมุนไปชา ๆ เพื่อปองกันการโกงงอของ Rotor Turbine
Gear จะอยูบริเวณ Bearing Housing ระหวาง LP-Turbine และ Generator โดยมีสวนประกอบตาง
ๆ คือ Motor, Gear Train, Toothed Spacer, Gear Ring ประกอบอยูท่ี Rotor Coupling
สําหรับสวนประกอบอื่น ๆ ไดแก Enclosed Operating Lever พรอมดวย Control และ Monitoring
Device ตาง ๆ
ระหวางการใช Turning Gear ตัว Motor จะขับให Gear Train หมุน เนื่องจาก Gear Train
ขบ (Engage) กับ Coupling Spacer Gear บน Rotor ดังนั้น Rotor จะหมุนตามไปดวย Speed ชา
ๆ ระหวาง Startup เมื่อ Rotor Speed มากกวา Turning Gear Speed ตัว Clash Gear ใน
Drive Trainจะหลุด (Disengage) จาก Spacer Gear Ring โดยอัตโนมัติ

3-17 Turning Gear


สําหรับ Governor Pedestal จะหุม Rotor Extension Shaft ซึ่งตอกับ Main Oil
Lubrication Pump และ Overspeed Trip Mechanism โดยที่ Main Oil Lubrication

OPERATION DIVISION
เอกสารประกอบการอบรม ความรูพื้นฐานสําหรับการผลิตไฟฟา DATE
8/1998
วิชา STEAM TURBINE REV. 0
PAGE 22
of 30

3-18 Main Oil Lubrication Pump

3.7 Oil System


เนื่องจากที่ Rotor ตองมี Bearing รองรับอยูทั้งสองขาง ดังนั้นจึงจําเปนตองมี Lubrication เพื่อลด
Friction และ Wear นอกจากนี้ยังตองลด Heat ที่เกิดขึ้นอีกดวย นอกจากนี้ Lubrication Oil System
ยังมีหนาที่อยางอื่นอีกคือ
⎩ Lubricate the Turbine-generation Journal Bearings
⎩ Cool the Couplings
⎩ Lubricate the Turning-gear Assembly
⎩ The Bearing Lift System
นอกจากนี้ยังใชเพื่อ
⎩ Back-up Sources of Oil for the Generator Seal Oil System
⎩ Oil Pressure for Operation of the Mechanical Overspeed Trip and
Manual Trip Mechanisms
สําหรับ Journal Bearing ซึ่งใชรองรับน้ําหนักของ Rotor และชวยรักษาRadial Alignment
ระหวาง Stationary และ Rotating part นั้น Lubrication Oil System จะสราง Oil Film
ระหวาง Rotor และ Bearing เพื่อปองกันการสัมผัสกันระหวางโลหะ (Metal-to-Metal contact) คือ
ปองกันการเกิด Wear และลด Friction นอกจากนี้ยังชวยถายความรอนจาก Bearing และ Journal
Surface โดยรับความรอนแลวผานออกทาง Drain Line

OPERATION DIVISION
เอกสารประกอบการอบรม ความรูพื้นฐานสําหรับการผลิตไฟฟา DATE
8/1998
วิชา STEAM TURBINE REV. 0
PAGE 23
of 30

3-19 Oil Film Between Rotor and Bearing


เพื่อใหมี Supply Oil เขาสู Steam Turbine-Generator ดังนั้น Lubrication Oil
System จะตองประกอบดวยสวนตาง ๆ คือ
⎩ Oil Pump
⎩ Pipes to Carry Oil
⎩ Oil Reservoir
⎩ Oil Cooler
⎩ Oil Purification
⎩ Oil Filter

3-20 Oil System and Points of Use


3.7.1 Auxiliary Oil Pump
เปน Pump ที่มี Motor ติดตั้งอยูบน Reservoir สําหรับตัว Pump จะจุมอยูใตระดับน้ํามันใน
Reservoir Auxiliary Oil pump นี้จะใชงานในชวง Turbine prestart, Turning gear

OPERATION DIVISION
เอกสารประกอบการอบรม ความรูพื้นฐานสําหรับการผลิตไฟฟา DATE
8/1998
วิชา STEAM TURBINE REV. 0
PAGE 24
of 30

operation, start-up และ Shut-down ซึ่งในชวงนี้ Main Oil Pump Discharge Pressure ยัง
ต่ํามากไมเพียงพอที่จะใชงาน

Auxilairy Oil Pump จะสง Low Pressure Oil ไปยัง


⎩ The main oil pump suction
⎩ The low pressure seal oil backup line
⎩ Through the oil coolers to the turning gear and bearings

3.7.2 Emergency Oil Pump


สําหรับ DC Emergency Oil Pump จะคลายกับ Bearing Oil Pump คือ Motor จะอยู
บน Reservoir สวน Pump จะจุมอยูใตระดับน้ํามันใน Reservoir สําหรับ Power ที่ใชคือ DC
Battery
Emergency Oil Pump นี้เปน Backup ของ Bearing Oil Pump ในกรณีที่ Station
Power เกิดขัดของหรือ Bearing Oil Pump ชํารุด โดยจะสง Oil ไปยังอุปกรณชุดเดียวกับ Bearing Oil
Pump คือ

⎩ The main oil pump suction


⎩ The low pressure seal oil backup line
⎩ Through the oil coolers to the turning gear and bearings

3.7.4 Main Oil Pump


Main Oil Pump เปน Shaft-driven pump ซึ่งติดอยูกับ Rotor Extension Shaft ใน
Governor Pedestal เนื่องจากเหตุนี้ในชวงแรกที่ความเร็วรอบของ Steam turbine ยังไมสูงมากนัก Lube
Oil จะถูกสงมาจาก Auxiliary Oil Pump โดยที่ Main Oil Pump จะทํางานเมื่อความเร็วรอบของ
Steam Turbine สูงมากเพียงพอแลวซึ่งสามารถตรวจสอบโดยการวัดแรงดันของน้ํามันที่ดานทางออกของ Main
Oil Pump เมื่อไดตามที่กําหนดแลวก็จะมีสัญญาณสงไปหยุด Auxiliary Oil Pump

OPERATION DIVISION
เอกสารประกอบการอบรม ความรูพื้นฐานสําหรับการผลิตไฟฟา DATE
8/1998
วิชา STEAM TURBINE REV. 0
PAGE 25
of 30

3-21 แสดง Main Oil Pump/ Aux.Oil Pump/Emergency Oil Pump

Reservoir Vapor Extractor, Seal Oil system and Loop Seal Vapor
Extractor
เนื่องจากที่ Rotor จะมี Oil Vapor Leak ผาน Oil Seal ดังนั้น จึงจําเปนจะตองทําให Drain
ทั้งหมดของ Lubrication System เปน Vacuum เล็กนอย โดยการใช Vapor Extractor ซึ่งอยูที่
Reservoir รักษา Vacuum ที่ Turbine และ Exciter Component ของ Lubrication System

OPERATION DIVISION
เอกสารประกอบการอบรม ความรูพื้นฐานสําหรับการผลิตไฟฟา DATE
8/1998
วิชา STEAM TURBINE REV. 0
PAGE 26
of 30

3-22 Location of Reservoir Vapor Extractor and Vacuum Area

Reservoir Vapor Extractor จะทําใหเกิด Vacuum จํานวนเล็กนอยเพื่อดึง Oil Vapor


ออกจาก Turbine และ Exciter Bearing โดยมี Oil Drain Piping ตออยู สําหรับอุปกรณของ
Reservoir vapor extractor ไดแก AC Motor ซึ่งใชขับ Turbo-Blower, Adjustable
Butterfly Valve และ Demister

3-23 Reservoir Vapor Extractor Components

OPERATION DIVISION
เอกสารประกอบการอบรม ความรูพื้นฐานสําหรับการผลิตไฟฟา DATE
8/1998
วิชา STEAM TURBINE REV. 0
PAGE 27
of 30

3-24 Vapor Extractor Operation

สําหรับ Adjustable Butterfly Valve ซึ่งอยูระหวาง Turbo-blower และ Demister จะ


ใชสําหรับปรับแตง Vacuum ที่เกิดจาก Extractor ในบริเวณ Bearing Housing, Oil Drain
Piping และที่ Reservoir open space
เนื่องจากที่ Bearing Housing มี Vacuum อยูเล็กนอย ดังนั้น อากาศจึงสามารถ Leak ผาน Oil
Seal เขาสู Housing ได โดยที่อากาศจะผาน Drain-guarded เขาสู Reservoir และถูกดูดออกโดย
Vapor Extractor

3-25 Air Entering Housing


ดังนั้น เพื่อปองกันการเกิด Air block ซึ่งจะขัดขวางการไหลของ Oil ดังนั้นที่ Drain Piping จึงมี
Vent pipe ตออยูดวย

OPERATION DIVISION
เอกสารประกอบการอบรม ความรูพื้นฐานสําหรับการผลิตไฟฟา DATE
8/1998
วิชา STEAM TURBINE REV. 0
PAGE 28
of 30

3-26 Vent Pipes

3.8 Trip Mechanism System


สําหรับ Trip Mechanism, Mechanical Overspeed และ Manual Trip Header
พรอมดวย Interface Diaphragm Valve ซึ่งตอ Lubrication System กับ Hydraulic
System ซึ่งใชควบคุมการทํางานของ Turbine Steam Inlet Valve จะมีลักษณะการทํางานอยางคราว ๆ
คือ
Manual Trip Header และ Interface Diaphragm Valve จะอยูที่ Governor
Pedestal สวน Mechanical Overspeed Trip Mechanism จะอยูภายใน Governor
Pedestal
เนื่องจากเราใช Steam เพื่อหมุน Turbine Rotor โดยใช Steam Inlet Valve ควบคุม
Steam Flow สําหรับ Steam Inlet Valve จะทํางานโดย Hydraulic System ซึ่งแยกจาก
Generator Lubrication System

OPERATION DIVISION
เอกสารประกอบการอบรม ความรูพื้นฐานสําหรับการผลิตไฟฟา DATE
8/1998
วิชา STEAM TURBINE REV. 0
PAGE 29
of 30

3-27 Steam Inlet Valve

Interface Diaphragm Valve จะเชื่อมระหวาง Hydraulic System และ Lubrication


System โดยที่ High Pressure Oil จาก Lubrication System จะทําให Mechanical
Overspeed และ Manual Trip Header มี Pressure ซึ่ง Pressure นี้จะทําให Interface
Diaphragm Valve ปด สวนผลที่ไดคือ Hydraulic System จะมี Pressure ที่ใชสั่งให Valve
ทํางาน

3-28 Operating Position


ในกรณีที่ Turbine-generator Rotor Assembly หมุนไปดวยความเร็วสูงกวา Rated
Speed หรือเกิด Overspeed ซึ่ง Speed ที่สูงมากนี้จะเปนอันตรายตอ Turbine-generator Unit
เมื่อเกิด Overspeed ที่ Mechanical Overspeed Trip Mechanism จะทํางานโดยการ
Drain Oil ออกจาก Trip Header ผลที่ตามมาคือ Interface Diaphragm Valve จะเปดเพื่อ

OPERATION DIVISION
เอกสารประกอบการอบรม ความรูพื้นฐานสําหรับการผลิตไฟฟา DATE
8/1998
วิชา STEAM TURBINE REV. 0
PAGE 30
of 30

Drain Hydraulic Fluid เมื่อ Hydraulic Fluid Drain ออก จะทําให Steam Inlet Valve ปด
และ Turbine-Generator จะ Trip

3-29 Tripped Position

นอกจากนี้เราสามารถที่จะ Trip Mechanical Overspeed และ Manual Trip Header


โดยยกมาใช Manual Trip Lever ซึ่งอยูที่ดานหนาของ Governor Pedestal

OPERATION DIVISION

You might also like