You are on page 1of 4

เช่า

ถามตอบข้อที่ต้องเพิ่มเติม 15 17 18 24 28 35 38

1213/2517 คำมั่นจะให้เช่า หากผู้ให้เช่าตายก่อนมีรับคำมั่น คำมั่นเป็นอันไร้ผล สิ้นผล


163/ /2518
1729/2524 เช่าเกิน3ปี ไม่มีหลักฐานเป็นหนังสือ ฟ้องบังคับตามสัญญาเช่ามิได้
3303/2552 ฟ้องขับไล่ไม่ใช่การฟ้องตามสัญญาเช่า ไม่จำต้องมีหลักฐาน
2170/2521 and 4796/2540 ผู้ให้เช่าไม่จำต้องเป็นเจ้าของทรัพย์ที่ให้เช่า
451/2508 ข้อตกลงกำหนดขึ้นค่าเช่าไว้ล่วงหน้า ข้อตกลงใช้บังคับได้ ตามฎีกาเป็นเรื่อง หากรัฐขึ้นภาษี ผู็ให้
เช่าจะขึ้นค่าเช่า
1735/2517 การไม่ไปให้ความยินยอมรังวัดที่ดิน ไม่ถือเป็นการขัดมาตรา 553 จะบอกเลิกสัญญาตามมาตรา
554 มิได้
502/2490ผู้เช่าดัดเเปลงปราศจากความยินยอมของผู้ให้เช่าทรัพย์ ผู้เช่ามีหน้าที่ทำให้ทรัพย์กลับคืนสู่สภาพ
เดิม เเละชดใช้ค่าเสียหายที่เกิดขึ้นจากการดัดเเปลงนั้น ***ไม่มีสิทธิเลิกสัญญา***
1261/2507 and 162/2512 การต่อเติมเพื่อประโยชน์ของผู้เช่าเอง จะเรียกเอากับผู้ให้เช่าซึ่งเป็นเจ้าทรัพย์มิได้
567/2505 and 1600/2519 การขับไล่ทำได้ ไม่ใช่การใช้สิทธิตามสัญญาเช่า
133/2507 and 20/2519 การกล่าวอ้างตามมาตรา566 ต้องชอบด้วยมาตรา538 ถูกต้องตามกฎหมาย
3243/2529 การอ้างสิทธิในสัญญาเช่าต่างราย ใช่มาตรา543
1299/2517 ทำสัญญา ไม่จดทะเบียน การเช่าเกิน 3ปี เช่น เช่า8 ปี ระยะเวลาหลัง3 ปี การเช่าเป็นการเช่าไม่มี
กำหนดเวลาตามมาตรา 570 จะไปบังคับให้ จดทะเบียน ภายหลังไม่ได้
1299/2519 and 1800 - 1803 / 2535 กรณีมาตรา 538 บวก 570 การเช่าเกิน3ปี ไม่จดทะเบียน บังคับได้เเค่
3ปีนั้น กลายเป็นสัญญาเช่า ไม่มีกำหนดเวลาตามมาตรา570
1676/2517
4038/2532 and 6190/2538 ข้อตกลงคืนค่าประกันความเสียหาย เป็นเพียงสิทธิเเละหน้าที่ตามสัญญาเช่า
ไม่ใช่สาระสำคัญเกี่ยวกับสัญญาเช่า
2725/2532 ซื้อทรัพย์พิพาทไปอย่างสังหาริมทรัพย์ (ซื้อเพื่อรื้อถอน)(บ้าน)เเต่ตัวทรัพย์ยังอยู่ภายใต้สัญญษเช่า
ผู้ซื้อย่อมรับไปทั้งสิทธิเเละหน้าที่ กล่าวคือต้องรอให้สัญญษเช่าสิ้นสุดลง มาตรา569
อสังหาริมทรัพย์ อยู่ภายใต้569 สังหาริมทรัพย์ไม่อยู่ภายใต้มาตรา569
993/2495 and 2237/2524 การให้เช่าช่วงทรัพย์ที่ปลูกทรัพย์บนทรัพย์ที่เช่ากันนั้น ไม่ขัดมาตรา 544
1471 /2494 and 383/2540 ปพพ.ไม่ได้บัญญัติไว้ ผู้เช่าตาย สัญญาระงับ สิทธิในการเช่าตกสู่ทายาท เพราะ
สัญญาเช่า ผู้ให้เช่าต้องพิจารณาคุณสมบัติของผู้เช่าเเล้วว่าสมควรจะให้เช่า เช่า ให้สาวโรงงานเช่า ห้องเช่า ต่อ
มาสาวโรงงานตาย สิทธิในการเช่าห้องเช่า จะตกสู่ทายาทของสาวโรงงาน คือลูกที่เป็นขโมย หรือมีนิสัยทะเลาะ
วิวาท ถ้ากฎหมายอนุญาตเช่นนั้น อาจเกิดปัญหาได้ ถ้าทายาทประสงค์จะเช่า ก็ให้ทำสัญญากันใหม่

1176/2506 and 876/2537 คำมั่นว่าจะให้เช่ามีได้ เเต่ต้องรับคำมั่นก่อนสัญญาเช่าครบกำหนด สิ้นสุดลง (อัน


เเรก) มิฉะนั้น คำมั่นเป็นอันไร้ผล เช่น เช่ากัน15ปี ผู็ให้เช่าบอกว่าจะให้เช่าต่ออีก10ปี ผู็เช่าต้องเข้ารับคำมั่น
ก่อนสัญญา 15ปีสิ้นสุดลง

1002/2509 and 412/2514 สัญญายิ่งกว่าสัญญาเช่าทรัพย์ธรรมดา ฟ้องบังคับคดีได้เเม้ไม่มีหลักฐานเป็น


หนังสือ หรือไม่ได้จดทะเบียน
1437/2510 and 2325/2514 พิจารณาสัญญายิ่งกว่าสํญญษเช่าดูจาก สิ่งที่คู่สัญญาให้เเก่กัน เป็นค่าตอบเเท
นพิเศษนอกเหนือ ไปกว่า ค่าเช่า หรือไม่
***รวม*** เงินกินเปล่า เงินค่าหน้าดิน ช่วยค่าสร้างตึกหลังตึกสร้างเสร็จเเล้ว ถือเป็นส่วนหนึ่งของค่าเช่า
ช่วยค่าก่อสร้างตึกก่อนหรือระหว่างสร้างตึก เช่าที่ดินสร้างตึก เช่าครบเวลายกตึกให้ (1460/2495) ( ต้อง
เกี่ยวเนื่องทรัพย์ที่เช่านะ) 1252/2506 and 145/2533 ตามกรณีย่อมไม่เป็นส่วนหนึ่งของค่าเช่า จึงเป็นสัญญา
ยิ่งกว่าสัญญาเช่าธรรมดา ไม่ต้องอยู่ภายใต้บังคับ มาตรา538 ไม่มีหลักฐานเป็นหนังสือ หรือ ไม่จดทะเบียน
สัญญาบังคับกันได้ ฟ้องได้

762/2508 and 2940/2526 สัญญายิ่งกว่าสัญญาเช่าธรรมดา เป็นบุคลสิทธิเท่านั้น คือผูกพันเพียงคู่สัญญา


ไม่มีผลผูกพันผู้รับโอน ดังนั้นเมื่อรับโอนไป ก็เป็นไปตามสํญญาเช่าธรรมดา ดูว่าทำตาม มาตรา538 หรือไม่ถ้า
ทำ หรือทำเท่าใดมีผลใช้บังคับเท่านั้น จะมีกรณีที่ต้องเป็นสัญญายิ่งกว่าสัญญาเช่าธรรมดา ไม่ทำตาม
มาตรา538 บังคับได้ตามเวลาของสัญญาเช่านั้น(2077/2514 or 1437/2517) ตกอยู่ภายใต้บังคับมาตรา569

ตัวอย่าง เช่ากัน15ปี ทำเพียงหลักฐานเป็นหนังสือ เช่นนี้สัญญาจึงบังคับได้เพียง3 ปี หากปรากฎการโอน ในปี


ที่2 ผู้รับโอนย่อมผูกพันตามสัญญาเพียงอีก1 ปี เว้นเเต่เข้ากรณีมาตรา 570 คือให้ผู้เช่าครองทรัพย์ต่อไปโดย
ไม่ทักท้กท้วง จึงถือเป็นกรณีสัญญาไม่มีกำหนดเวลา นั่นเอง

379 / 2511 สัญญายิ่งกว่าสัญญาเช่าธรรมดาครบเวลา ทำสัญญษใหม่สัญญานั้นไม่ใช่สัญญายิ่งกว่าสัญญาเช่า


ธรรมดาอีกต่อไป เป็นสัญญาเช่า พิจารณามาตรา 538ด้วย
สัญญายิ่งกว่าสัญญาเช่าธรรมดา
ผู้เช่าตาย สัญญาไม่ระงับ ตกสู่ทายาท ไม่มีการโอน***
***มีการโอนตัวทรัพย์*** กลายเป็นสัญญาเช่าธรรมดา ผู้รับโอนผูกพันตามมาตรา 569 ดูมาตรา538 พอกลาย
เป็นสัญญาเช่าธรรมดา กรณีนี้ผู้เช่าตายสัญญาระงับ

854/2490 and 1070/2507 การเช่าตลอดอายุผู้เช่าหรือผู้ให้เช่า ไม่ชอบด้วย มาตรา 538 ชำระกันรายปี ต้อง


บอกกล่าวก่อนล่วงหน้าสองเดือน ตามาตรา566 การฟ้องศาลเพื่อขับไล่ ถือเป็นการบอกกล่าวโดยชอบ สัญญา
เช่าระงับสิ้นไป
768/2490 and 2587/ 2521 การเช่ามีเจตนาหลีกเลี่ยงการจดทะเบียน ตามฎีกาคือทำสัญญาเช่ากัน 3 ปี สาม
ฉบับ 1 ปีหนึ่งฉบับ บังคับได้เพียง3ปี อสังริมทรัพย์*** ดูถ้อยคำในมาตรา538 ดีๆ

831/2512 ควายโดนปล้น ไม่ใช่ความผิดของผู้เช่า ตามมาตรา562

4198/2532 การฟ้องขับไล่ถือเป็นการทักท้วงเเล้วตามมาตรา570 ผู้เช่าครอบทรัพย์ต่อไปก็ไม่ใช่กรณี การเช่า


ทรัพย์ไม่มีกำหนดเวลา ผู้รับโอนมีหน้าที่ตามมาตรา 569เท่านั้น เเละให้เป็นไปตาม มาตรา564
เช่าซื้อ

ดูถามตอบข้อ 9 15 22

2578-2579 /2515 and 1366/2516 ปพพไม่ได้กำหนดไว้ ผู้เช่าซื้อตาย ไม่ทำให้สํญญษเช่าซื้อระงับ สัญญา


เช่าซื้อตกสู่ทายาท

1192/2501 and 3842/2526 มาตรา574ไม่ใช่บทบัญญัติเกี่ยวกับความสงบเรียบร้อย ตกลงยกเว้นเป็อย่างอื่น


ได้

ถ้ามีการตกลงเเล้ว ให้ใช้บังคับตมข้อตกลงนั้น ไม่กลับมาใช้มาตรา574 เพื่อประโยชน์เเห่งตน ให้ใช้บังคับตาม


ข้อตกลงที่คู่สัญญาได้ตกลงกันไว้ ************ ดูถามตอบข้อ11 ดูเพิ่ม1341/2515

ไม่มีปพพ บํญญัติกรณีทรัพย์ที่ให้เช่าซื้อกัน สูญหายไปทั้งหมด (ดูถามตอบข้อ 22) ให้นำเอามาตรา567มาใช้


ศาลวางเเนวไว้ ให้สัญญษเช่าระงับสิ้นไป 304/2572 1536/2525

สิทธิผู้ให้เช่าซื้อ หลังเลิกสัญญา
- มีสิทธิกลับเข้าครองทรัพย์
- ไม่มีสิทธิเรียกค่าเช่าซื้ออีก ในส่วนที่ค้างชำระติดกันสองงวดอันเป็นเหตุให้เลิกสัญญา
- เเต่มีสิทธิในการเรียกค่าใช้ทรัพย์ตลอดการครอบครองของผู้เช่าที่ไม่ส่งมอบคืน
- ถ้าเกิดความเสียหายผู้เช่ารับผิดในความเสียหายนั้นด้วย 1195/2511

*เช่าซื้ออสังหาริมทรัพย์ ไม่จำต้องจำทะเบียน กฎหมายไม่ได้กำหนด เเบบดูมาตรา572 ให้ทำเป็นหนังสือ คือลง


ลายมือชื่อคู่สัญญษทั้งสองฝ่าย
*การให้บุคคลภายนอกใช้ทรัพยที่เท่าซื้อ ไม่เป็นเหตุให้ผู้ให้เช่าซื้อมีสิทธิบอกเลิกสัญญา
ไม่ระงับด้วยการบอกเลิกสัญญา ระงับด้วยวิธีการตามมาตรา573 ระวัง*** การส่งมอบคืนการครอบครองต่าง
หาก ไม่ใช่การบอกเลิกสัญญา
*คำพิพากษาวางเเนวไว้
ข้อตกลงที่ตกลงยกเว้นมาตรา574 เกี่ยวกับการเลิกสัญญาเช่าซื้อคู่สัญญามิได้ถือเอาข้อตกลงเป็นการเคร่งครัด
หากจะเลิกสัญญาต้องปฎิบัติตาม มาตรา 387 กำหนดเวลาพิสมควรให้ชำระ หากไม่ชำระภายในเวลาที่กำหนด
จึงเลิกสัญญาได้
*กฎหมายกำหนดว่าต้องเป็นเจ้าของทรัพย์จึงจะให้เช่าซื้อได้ เเต่มิได้กำหนดชัดว่าต้องเป็นเจ้าของทรัพย์ขณะทำ
สัญญา ดังนั้นการที่อนาคตจะได้เป็นเจ้าของทรััพย์ ย่อมให้เช่าซื้อได้ 615/2517
*กรณีสัญญาเช่าซื้อตกสู่ทายาท ศาลไม่ได้กำหนดให้ต้องชำระ เเต่เป็นการได้รับมรดก จึงได้รับสิทธิเเลหน้าที่ไป
หากไม่ประสงค์จะเอาประโยชน์จากสัญญาเช่าซื้อย่อมทำได้หลายวิธี เช่น ส่งมอบทรัพย์คืน ตามมาตรา573
ทำให้สัญญาเช่าซื้อระงับ
* กรณี567 ทรัพย์สูญหายเป็นเหตุให้สัญญาระงับ ถ้ามีค่าเช่าซื้อค้างกันก่อนสัญญาเช่าซื้อระงับ *** ต้องชำระ***
*ถ้าสัญญาเช่าซื้อระงับ ไม่ต้องชำระในส่วนที่ขาด เว้นเเต่มีข้อตกลงก็บังคับไปตามข้อตกลง หากสูงเกินควร ศาล
จะปรับก็ได้

เหตุที่ทำให้สัญญาเช่าซื้อระงับ
1 มาตรา573
2 มาตรา574
3 ทรัพย์สูยหานทั้งหมดตามมาตรา567

เหตุที่ไม่ทำให้สัญญาเช่าซื้อไม่ระงับ เช่น ผู้เช่าซื้อตาย

You might also like