You are on page 1of 12

1.

การขึ้นรูปโลหะ (Metal Forming) มีกี่ประเภท ยกตัวอย่างกระบวนการในแต่ละ


ประเภท

ตอบ มี 2 ประเภทใหญ่ๆ คือ 1 การขึ้นรูปร้อน ( Hot Working of Metal ) 2 การขึ้นรูปเย็น (Cold


Working of Metal )
โดยแต่ละกระบวนการสามารถแยกย่อยได้ดังนี้
1 การขึ้นรูปร้อน ( Hot Working of Metal ) คือการขึ้นรูปของโลหะที่ขึ้นรูปได้ยาก โดยอาศัย
กรรมวิธีทางความร้อน ตัวอย่างเช่น
1. การรีด (Rolling)
การรีดร้อน เป็นการรีดที่อุณหภูมิสูงกว่าอุณหภูมิการจัดเรียงผลึกใหม่ แล้วนาไปผ่านลูกรีด
เพื่อลดขนาดพื้นที่หน้าตัดลง การรีดก่อนที่จะได้ชิ้นงานสาเร็จต้องมีการทาให้ได้ขนาดชิ้นงานที่
เหมาะสม กับการนาไปขึ้นรูปผลิตภัณฑ์ต่อไป
- การรีดเป็นแผ่น (Flat rolling) เป็นการนาเอา สแลบ ไปอบที่เตา และให้ความร้อนอย่าง
ช้า ๆ จนถึง อุณหภูมิการรีด แล้วนาไปรีดบนลูกรีด จนได้ขนาดความหนาและความกว้างที่ต้องการ มี
อยู่ 2 ลักษณะคือ การรีดเป็นโลหะแผ่น (Flat plate) ความหนามากกว่า 6 mm. และการรีดเป็น
แผ่นบาง (Sheet metal) โดยทั่วไปความหนาน้อยกว่า 6mm.
- การรีดขึ้นรูป (Shape rolling) เป็นการนาเอาโลหะกึ่งสาเร็จรูปไปอบในเตา ให้ความร้อนอย่าง
ช้า ๆ จนถึงอุณหภูมิการรีด แล้วนาไปรีดขึ้นรูปตามต้องการ เช่น I-beam , U-beam
2. การตี (Forging)
การตีเป็นกระบวนการขึ้นรูป หรือแปรรูปโลหะให้กลายเป็นชิ้นงานโดยการใช้แรงทุบ ตี
อัด หรือกระแทก ร่วมกับการใช้แบบดายหรือไม่ใช้แบบดายก็ได้ กระบวนการนี้แบ่งออกเป็นชนิดย่อย ๆ ได้
หลายชนิดได้แก่

- การตีด้วยค้อน (hammering) เป็นวิธีการที่ช่างตีเหล็กในสมัยโบราณใช้กันอยู่ วิธีการนี้ใน


สมัยก่อนนั้นจะไม่ใช้แบบดาย (dies) การตีให้เกิดเป็นรูปร่างต่าง ๆ จะต้องอาศัยทักษะและความ
ชานาญพิเศษของช่าง การตีในสมัยนั้นก็จะอาศัยแรงงานจากคน แต่ในปัจจุบันนี้อาจใช้แบบดาย
เปิด (open - face dies) ช่วยให้การขึ้นรูปทาได้ง่ายขึ้น และใช้เครื่องจักรช่วยในการตี เช่น เครื่องตี
เหล็กที่ทางานด้วยไอน้า (steam hammer)
- การตีกระแทก (drop forging) การตีขึ้นรูปด้วยวิธีการนี้จะใช้แบบดายที่มีลักษณะเป็น
แบบดายปิด (closed - impression dies) ซึ่งจะแตกต่างจากแบบดายที่ใช้ในกรณีการตีด้วยค้อนที่
เป็นแบบดายเปิดตามที่ได้กล่าวมาแล้ว ลักษณะการทางานในกรณีการตีกระแทก
- การตีบีบ (upset forging) เป็นกรรมวิธีที่ใช้ในการผลิตชิ้นงานที่มีรูปร่างเป็นบ่าหรือขอบโดยการ
เตรียมชิ้นงานมาก่อนให้มีขนาดใกล้เคียงกับแบบดายที่จะใช้ในการขึ้นรูป
- การตีรีด (roll forging) เป็นการตีโดยการใช้ลูกรีด (rolls) หมุนกลิ้ง ไปบนชิ้นงาน นาโลหะที่ผ่าน
การ อบให้ร้อนจนกระทั่งมีอุณหภูมิสูงกว่าอุณหภูมิการตกผลึกใหม่ ป้อนเข้าไปในเครื่องลูกรีดจะหมุน
กลิ้งไปบนชิ้นงานทาการตีรีดจนกระทั่งได้ขนาดตามที่ต้องการ
3. การอัด (Extrusion)
การอัด เป็นกระบวนการอัดและรีดให้โลหะเคลื่อนออกจากห้องอัดผ่านแบบ
ดาย (dies) ออกมาเป็นชิ้นงาน ชิ้นงานที่ได้ส่วนใหญ่จะมีลักษณะเป็นแท่งยาว ส่วนรูปร่างลักษณะ
ของพื้นที่หน้าตัด ของชิ้นงานจะขึ้นอยู่กับลักษณะของแบบดายที่ใช้กระบวนการอัดรีดแบ่ง
ออกเป็น 3 ชนิด คือ การอัดรีดโดยตรง (direct extrusion) การอัดรีดโดยอ้อม (indirect
extrusion) และการอัดรีดโดยกระแทก (impact extrusion)
- การอัดรีดโดยตรง (direct extrusion) โลหะที่ผ่านการอบให้ร้อนจนกระทั่งมีอุณหภูมิสูง
กว่าอุณหภูมิการตกผลึกใหม่(recrystallization temperature) ถูกนามาใส่ลงในห้อง
อัด (chamber) จากนั้นอาศัยแรงอัดจากก้านกระทุ้ง (ram) อัดให้โลหะเคลื่อนที่ผ่านแบบ
ดาย (dies) ออกจากห้องอัดกลายเป็นชิ้นงาน ทิศทางที่ชิ้นงานเคลื่อนที่ออกจากห้องอัดนั้นจะเป็นไป
ในทิศเดียวกับการเคลื่อนที่ของก้านกระทุ้ง (ram)
- การอัดรีดโดยอ้อม (indirect extrusion) จะมีลักษณะการทางานคล้ายคลึงกับการอัดรีด
โดยตรง จะแตกต่างกันตรงทิศทางที่ชิ้นงานเคลื่อนที่ออกจากห้องอัด (chamber) จะสวนทางกับทิศ
ทางการเคลื่อนที่ของก้านกระทุ้ง (ram)
- การอัดรีดโดยกระแทก (impact extrusion) กระบวนการนี้จะใช้วิธีกระแทกก้าน
กระทุ้ง (ram) เข้าหาโลหะที่อยู่ภายในห้องอัด โลหะจะถูกกระแทกให้เคลื่อนตัวออกจากห้องอัดผ่าน
แบบดายออกมากลายเป็นชิ้นงาน โดยปกตินิยมใช้กับงานแปรรูปเย็น (cold working) แต่ในกรณีที่
ชิ้นงานมีขนาดใหญ่หรือชิ้นงานมีผนังหนามากๆ จะไม่สะดวกในการทางานแปรรูปเย็น จึงจาเป็นต้อง
ทาในลักษณะงานแปรรูปร้อน
4. การดึงหรือการดัน (Drawing Process)
กระบวนการนี้จะนาโลหะที่ผ่านการอบจนกระทั่งมีอุณหภูมิสูงกว่าอุณหภูมิการตกผลึกใหม่
มาดันหรือดึงให้เคลื่อนตัวผ่านแบบดายก็จะได้ชิ้นงานตามที่ต้องการ
5. การผลิตท่อ (Pipe and Tube Manufacturing)
ในการผลิตท่อนั้นจะใช้กระบวนการต่างๆ ดังนี้ การเชื่อมชน (butt welding) การเชื่อม
เกย (lap welding) และการเชื่อมชนด้วยไฟฟ้า(electric butt welding) กระบวนการผลิตท่อ ทั้ง
สามวิธีนี้จะใช้ เหล็กอ่อนทาท่อ (skelp) เป็นวัตถุดิบ และท่อที่ผลิตได้จากวิธีการเหล่านี้จะเป็นท่อที่มี
ตะเข็บ ซึ่งจะนาไปใช้สาหรับงานโครงสร้างหรืองานขนส่งก๊าซและของเหลวที่มีความดันต่า ส่วนการ
ผลิตท่อไร้ตะเข็บ(seamless tubes and pipes) นั้นจะใช้วิธีการที่แตกต่างออกไปจากการผลิตท่อมี
ตะเข็บ ได้แก่ การอัดรีด (extrusion) และการทะลวง (piercing process) วัตถุดิบที่ใช้ในการผลิต
ท่อไร้ตะเข็บอาจจะอยู่ในรูปเหล็กแท่งเล็ก (billets) หรือเหล็กเส้นกลม (round bars) ท่อไร้ตะเข็บ
โดยทั่วไปจะนาไปใช้ในงานขนส่งก๊าซและของเหลวที่ความดันสูง
- การเชื่อมชน (butt welding process) สามารถทาได้ 2 วิธี กล่าวคือ วิธีแรก นาเหล็ก
อ่อนทาท่อ (skelp) มาอบให้ร้อนจนกระทั่งมีอุณหภูมิสูงกว่าอุณหภูมิการตกผลึก
ใหม่ (recrystallization temperature) จากนั้นนาไปดึงผ่านแบบดาย ซึ่งมีลักษณะคล้าย
ระฆัง เรียกว่า กรวยเชื่อม (welding bell) ในขณะที่เหล็กอ่อนทาท่อ (skelp) ถูกบังคับให้วิ่งผ่าน
กรวยเชื่อมจะเปลี่ยนรูปกลายเป็นท่อ และขอบทั้งสองข้างถูกบังคับให้วิ่งมาชนกันและเชื่อมติดกันโดย
อาศัยความร้อนและแรงกด ต่อจากนั้นท่อที่ได้จะถูกส่งต่อไปยังชุดลูกรีด เพื่อรีดให้ได้ขนาดต่อไป
ส่วนวิธีที่สองจะนาเหล็กพืดทาท่อ (skelp) ที่ผ่านการอบให้ร้อนจนได้ที่แล้ว ส่งผ่านเข้าไปใน
ชุดลูกรีด (rolls) เพื่อรีดบังคับให้แผ่นเหล็กกลายเป็นท่อ และขอบทั้งสองข้างเชื่อมติดกันโดยอาศัย
ความร้อนและแรงอัดจากลูก
- การเชื่อมชนด้วยไฟฟ้า (electric butt welding) นาแผ่นเหล็กมาตัดให้ได้ความกว้างตามที่
ต้องการ จากนั้นนาเข้าเครื่องรีดทาการรีดให้เป็นท่อ ในขณะที่แผ่นเหล็กนั้นมีอุณหภูมิอยู่ที่อุณหภูมิ
บรรยากาศปกติ โดยใช้ชุดลูกรีด (rolls) จากนั้นเชื่อมรอยต่อของขอบให้ติดกัน โดยใช้เครื่องเชื่อม
ไฟฟ้าแบบอัตโนมัติ
- การเชื่อมเกย (lap welding process) เหล็กอ่อนทาท่อที่ผ่านการอบให้ร้อนจนกระทั่งมีอุณหภูมิ
สูงกว่าอุณหภูมิการตกผลึกใหม่(recrystallization temperature)
- การผลิตท่อที่ไม่มีตะเข็บ (Piercing) เป็นกรรมวิธีการผลิตท่อที่มีคุณภาพสูง ทนต่อ
แรงอัดได้สูงมาก แต่ผลิตยุ่งยากกว่าแบบมีตะเข็บ และมีความหนากว่า การผลิตท่อโดยใช้เพลาแกน
ดันระหว่างกลางชิ้นงานและให้วิ่งในทิศทางเดียวแท่งแกนจะเป็นตัวนาศูนย์ก่อน ใช้แรงอัดและความ
ร้อนของเหล็กเป็นตัวควบคุมขนาดของรูท่อ
- การอัดรีดท่อ (Tube Extrusion) การอัดรีดท่อ เป็นกรรมวิธีผลิตท่อแบบไม่มีตะเข็บอีกวิธีหนึ่ง
ใช้หลักการเหมือนกับการอัดรีดโดยตรง

2 การขึ้นรูปเย็น (Cold Working of Metal )


การขึ้นรูปแบบเย็น (Cold Working) หมายถึง ขบวนการรีดขึ้นรูปเพื่อให้วัสดุหรือโลหะเกิดการเปลี่ยน
แปลง รูปร่างชนิดถาวรในที่ ๆ อุณหภูมิต่า ๆ ทั้งนี้โดยไม่ทาให้เกิดผลึกใหม่ขึ้น ขบวนการขึ้นรูปแบบเย็น จะ
ประกอบไปด้วย

1.การรีดเย็น (Cold Rolling)


คือ การรีดในลักษณะเช่นเดียวกับ Hot Rolling แต่จะทาในขั้นสุดท้ายเท่านั้น (เฉพาะใน Flat Products)
เพื่อให้ได้โลหะมีขนาดแน่นอนและผิวเรียบ เช่นการรีดเหล็ก ทองเหลืองและอะลูมิเนียม ที่มีขายอยู่ใน
ท้องตลาดทั่ว ๆ ไป จะสังเกตได้จากโลหะพวกนี้จะมีผิวเรียบเป็นมัน

2.การดึงโลหะ (Drawing)
ใช้วิธีดึงโลหะผ่านแบบ (Die) ซึ่งจะออกแบบให้มีรูปร่างตามต้องการ โดยทั่วไปมักใช้ในการผลิตเส้นลวดโลหะ
เรียกว่าการทา Wire Drawing ดังในรูปที่ 6.6 การดึงโลหะนี้จะเกิดการเสียดสีอย่างรุนแรงระหว่างโลหะกับ
Die ดังนั้น โลหะที่ทาเป็น Die จะต้องมีความแข็งสูงมาก จะใช้พวกทังสเตนคาร์ไบด์

3.การทา Deep Drawing


เป็นการขึ้นรูปเย็นสาหรับโลหะแผ่น (อาจเรียกรวมว่า การทา Sheet Metal Forming) ที่ใช้สาหรับทาภาชนะ
ทาพวกลูกถ้วยหรือพวกหลอดต่าง ๆ โดยใช้แรงดันผ่าน Die ทาให้โลหะเปลี่ยนรูปจากลักษณะหนึ่งไปเป็นอีก
ลักษณะหนึ่ง ดังตัวอย่างในรูปที่ 6.7 การทาหลอดหรือท่อจากโลหะแผ่น

ขั้นที่ 1 จะตัดโลหะแผ่นเป็นวงกลมขนาดพอเหมาะ เรียกว่า Shearing


ขั้นที่ 2 เอาโลหะแผ่นมาอัดใน Die ให้เป็นลูกถ้วย เรียกว่า Cupping
ขั้นที่ 3 เอา Cup มาอัดใน Die อีกครั้งให้ยาวออกไปจากเดิม (ความหนาจะลดลง) เรียกว่า การทา Drawing
หรือ Deep Drawing

4.กรรมวิธีโลหะผง (Powder Metallurgy)


เป็นการขึ้นรูปโลหะประเภทหนึ่งจากโลหะที่เป็นผงละเอียด (Fine Metal Powder) โดยใส่โลหะผงในแบบที่
เตรียมไว้ (Die) แล้วอัดโลหะผงด้วยความดันสูง จนทาให้โลหะผงอัดตัวแน่นกันเป็นรูปร่างตามที่ต้องการ ในขั้น
นี้โลหะผงที่เป็นรูปร่างจะยังไม่มีความแข็งแรงมากนัก จะต้องนาไปเผาที่อุณหภูมิสูง แต่ต่ากว่าจุดหลอมตัวของ
โลหะเล็กน้อย จะทาให้อะตอมของโลหะมีการเคลื่อนไหวเชื่อมโยงกันระหว่างจุดสัมผัสของเม็ดเล็ก ๆ ของ
โลหะอันเป็นผลมาจากการแพร่ของอะตอมในสภาพของแข็ง (Diffusion in Solid State) ทาให้โลหะเมื่อผ่าน
การเผามีความแข็งแรงมากขึ้น และสามารถนาไปใช้งานได้ตามลักษณะของโลหะนั้น ๆ เราอาจจะแยกขั้นการ
ทางานตามกรรมวิธีโลหะผงออกเป็น 4 ขั้น คือ
1) ขั้นผลิตโลหะผง
2) ขั้นผสมผงโลหะให้เข้ากัน
3) อัดโลหะผงในแบบตามรูปร่างที่ต้องการ
4) เผาโลหะผงที่อุณหภูมิต่ากว่าจุดหลอมตัว (Sintering)

การทาโลหะผงนั้นมีกรรมวิธีที่ใช้หลายประการ วิธีที่ทากันทั่ว ๆ ไป สาหรับโลหะที่มีความแข็งสูง ใช้การบด


(Mill Grinding) เป็นงานที่ต้องใช้เทคนิคสูง เพราะของแข็งจะถูกบดได้ก็ต้องมีของแข็งกว่าเป็นตัวบด ดังนั้นจึง
มักใช้ตัวของมันบดกันเองจนละเอียด
ถ้าโลหะที่มีเนื้ออ่อนการบดในลักษณะนี้ทาได้ยาก เพราะมันจะไม่แตกออกจากกันได้ง่าย เนื่องจากมีความ
เหนียว ดังนั้นจึงใช้วิธีหลอมให้ละลายแล้วพ่นเป็นฝอย (Atomizing) อีกวิธีหนึ่งใช้วิธีเผาโลหะจนร้อนกลายเป็น
ไอ แล้วทาให้กลั่นตัวจากไอมาเป็นโลหะผงทีเดียว แต่เป็นวิธีที่ค่าใช้จ่ายสูง เพราะต้องใช้พลังงานมาก
การผสมโลหะผงให้เข้ากันก่อนที่จะนาไปอัดเป็นรูปร่าง นับว่ามีความสาคัญมาก เพราะโลหะผงส่วนมากมักจะ
ผสมกันหลายชนิด คือมีโลหะหลักและโลหะที่เป็นตัวประสาน (Binder) ดังตัวอย่างเช่น การทาโลหะทังสเตน
คาร์ไบด์สาหรับทามีดกลึง จะใช้โลหะโคบอลต์เป็นโลหะประสาน ดังนั้นการผสมจึงต้องกระทาเป็นพิเศษเพื่อให้
โลหะและตัวประสานผสมกันอย่างทั่วถึง การผสมกระทาทั้งในสภาพแห้ง (Dry) และสภาพเปียก (Wet)
การอัดโลหะผงลงแบบ Die ขั้นแรกต้องทราบจานวนของโลหะผงที่จะใช้ให้พอเหมาะ โดยต้องทราบปริมาณ
ของแบบ แล้วจึงเทโลหะผงลงไปในแบบ โดยให้มีปริมาณเกินกว่าปริมาตรที่ต้องใช้จริง ๆ เล็กน้อย การอัดใช้
เครื่องไฮดรอลิค มีความดันสาหรับอัดประมาณ 5-50 ตันต่อตารางนิ้ว

การเผาที่อุณหภูมิต่ากว่าจุดหลอมตัวของโลหะ เรียกว่า Sintering และมักจะเรียกโลหะที่ผ่านกรรมวิธีนี้ว่า


โลหะซินเตอร์ อุณหภูมิที่ใช้จะสูงราว ๆ 70-80% ของอุณหภูมิหลอมเหลว (คิดหน่วยเคลวิน) ในบางกรณี เช่น
พวกวัสดุทนความร้อน อาจจะต้องใช้อุณหภูมิสูงถึงประมาณ 90% ของอุณหภูมิหลอมเหลว สาหรับโลหะผสม
ที่มีโลหะประสานอยู่ด้วยจะต้องทาซินเตอร์ที่อุณหภูมิใกล้จุดหลอมเหลวตัวของโลหะประสาน การทาซินเตอร์
จะต้องใช้เวลานานหลายชั่วโมง โดยจะต้องควบคุมบรรยากาศภายในเตาด้วย เพราะในขณะที่เผาออกซิเจนใน
อากาศอาจจะทาให้โลหะกลายเป็นออกไซด์ได้ง่าย ส่วนใหญ่จึงทาซินเตอร์ภายในบรรยากาศของก๊าซเฉื่อย เช่น
ไนโตรเจนหรืออาร์กอน
ข้อดีของขบวนการขึ้นรูปแบบเย็น
1.ใช้อุณหภูมิน้อยในการขึ้นรูป (ประมาณ 20o - 25o C)
2.มีความสวยที่ผิว เรียบ สะอาด และเงางามของชิ้นงาน
3.ชิ้นงานที่ได้มีขนาดที่เที่ยงตรง และแน่นอนดีมาก
4.ได้ความแข็งแรง และแข็งมากขึ้นกว่าเดิม

ข้อเสียของขบวนการขึ้นรูปแบบเย็น
1.เกิดความเค้น (Stress) มาก
2.เกิดความเครียด (Strain) มาก
3.เกรนของโลหะเกิดการแตกหักได้ง่าย
4.ต้องลงทุนมากในการติดตั้งเครื่องจักรที่มีกาลังมาก ๆ และขนาดใหญ่ ๆ
2.คุณสมบัติของวัสดุทตี่ ้องพิจารณาสาหรับการบวนการการขึ้นรูปโลหะมีอะไรบ้าง
อธิบายแต่ละกระบวนการ

ตอบ วัสดุนั้นส่วนใหญ่จะกล่าวถึงวัสดุที่เป็นโลหะ หรือ บางอย่างที่เรียกว่า Deformation


Process ซึ่งเป็นการทางาน ในช่วงการเปลี่ยนแปลงอย่างถาวร (Plastic Deformation) สามารถ
แบ่งออกเป็นหลายวิธีดังนี้
แบ่งตามชนิดของแรงกระทาบนชิ้นงาน เช่น แรงอัด แรงดึง และแรงเฉือน
แบ่งตามการใช้งานของชิ้นงานสาเร็จ เช่น ชิ้นงานที่สามารถนาไปใช้งานได้เลย และชิ้นงานที่ต้อง
นาไป ประกอบกับชิ้นงานอื่น ๆ จึงสามารถนาไปใช้งานได้
แบ่งตามขนาดของชิ้นงาน เช่น ชิ้นงานที่มีขนาดใหญ่ หรือชิ้นงานที่ขึ้นรูปทั้งก้อน และชิ้นงานที่
ขึ้นรูปเป็นแผ่น แบ่งตามอุณหภูมิในการทางาน เช่น การขึ้นรูปร้อน และการขึ้นรูปเย็น
การรีดขึ้นรูป (Roll Forming)
เป็นการขึ้นรูปที่กระทาได้ทั้งขณะร้อน และเย็น การรีดเย็นเป็นกรรมวิธที่ต้องใช้แรงสูงกว่าการรี
ร้อน
อะตอมเกิดจากการบิดเบี้ยว ทาให้เกรนเสียรูป และมีผลทาให้เกิดความเค้น (Stress) ชิ้นภายใน
ซึ่งจะทาให้
โลหะมีความแข็งแรง และ ความแข็งเพิ่มขึ้นมากกว่าเดิม
การรีดเย็น กระทาที่อุณหภูมิต่ากว่าอุณหภูมิวิกฤตจนถึงอุณหภูมิห้อง เป็นกรรมวิธีที่ ทาให้งานที่
ผ่าน
กรรมวิธีรีดร้อนมาแล้ว มีผิวเรียบและเป็นเงามันขึ้น โลหะที่ไม่สามารถเพิ่มความแข็งได้โดยวิธีการ
อบชุบก็
อาจจะทาให้แข็งได้ด้วยวิธีรีดเย็น
การรีดร้อน กระทาที่อุณหภูมิสูงกว่าอุณหภูมิวิกฤต จนกระทั้งโลหะอยู่ไนสภาพอ่อนตัว (Plastic)
แล้ว
นาไปผ่าน ลูกรีด เพื่อลดขนาดพื้นที่หน้าตัดลง การรีดก่อนที่จะได้ชิ้นงานสาเร็จนั้นต้องทาให้
ชิ้นงานมีขนาดที่
เหมาะสมกับการนาไป ขึ้นรูปเป็นผลิตภัณฑ์ต่อไป
3.อธิบายความหมายของ Cold working อย่างละเอียด
ตอบ การขึ้นรูปแบบเย็น (Cold Working) หมายถึง ขบวนการรีดขึ้นรูปเพื่อให้วัสดุหรือโลหะเกิดการ
เปลี่ยน แปลง รูปร่างชนิดถาวรในที่ ๆ อุณหภูมิต่า ๆ ทั้งนี้โดยไม่ทาให้เกิดผลึกใหม่ขึ้น ขบวนการขึ้นรูปแบบ
เย็น จะประกอบไปด้วย

1.การรีดเย็น (Cold Rolling)


คือ การรีดในลักษณะเช่นเดียวกับ Hot Rolling แต่จะทาในขั้นสุดท้ายเท่านั้น (เฉพาะใน Flat Products)
เพื่อให้ได้โลหะมีขนาดแน่นอนและผิวเรียบ เช่นการรีดเหล็ก ทองเหลืองและอะลูมิเนียม ที่มีขายอยู่ใน
ท้องตลาดทั่ว ๆ ไป จะสังเกตได้จากโลหะพวกนี้จะมีผิวเรียบเป็นมัน

2.การดึงโลหะ (Drawing)
ใช้วิธีดึงโลหะผ่านแบบ (Die) ซึ่งจะออกแบบให้มีรูปร่างตามต้องการ โดยทั่วไปมักใช้ในการผลิตเส้นลวดโลหะ
เรียกว่าการทา Wire Drawing ดังในรูปที่ 6.6 การดึงโลหะนี้จะเกิดการเสียดสีอย่างรุนแรงระหว่างโลหะกับ
Die ดังนั้น โลหะที่ทาเป็น Die จะต้องมีความแข็งสูงมาก จะใช้พวกทังสเตนคาร์ไบด์

3.การทา Deep Drawing


เป็นการขึ้นรูปเย็นสาหรับโลหะแผ่น (อาจเรียกรวมว่า การทา Sheet Metal Forming) ที่ใช้สาหรับทาภาชนะ
ทาพวกลูกถ้วยหรือพวกหลอดต่าง ๆ โดยใช้แรงดันผ่าน Die ทาให้โลหะเปลี่ยนรูปจากลักษณะหนึ่งไปเป็นอีก
ลักษณะหนึ่ง ดังตัวอย่างในรูปที่ 6.7 การทาหลอดหรือท่อจากโลหะแผ่น

ขั้นที่ 1 จะตัดโลหะแผ่นเป็นวงกลมขนาดพอเหมาะ เรียกว่า Shearing


ขั้นที่ 2 เอาโลหะแผ่นมาอัดใน Die ให้เป็นลูกถ้วย เรียกว่า Cupping
ขั้นที่ 3 เอา Cup มาอัดใน Die อีกครั้งให้ยาวออกไปจากเดิม (ความหนาจะลดลง) เรียกว่า การทา Drawing
หรือ Deep Drawing

4.กรรมวิธีโลหะผง (Powder Metallurgy)


เป็นการขึ้นรูปโลหะประเภทหนึ่งจากโลหะที่เป็นผงละเอียด (Fine Metal Powder) โดยใส่โลหะผงในแบบที่
เตรียมไว้ (Die) แล้วอัดโลหะผงด้วยความดันสูง จนทาให้โลหะผงอัดตัวแน่นกันเป็นรูปร่างตามที่ต้องการ ในขั้น
นี้โลหะผงที่เป็นรูปร่างจะยังไม่มีความแข็งแรงมากนัก จะต้องนาไปเผาที่อุณหภูมิสูง แต่ต่ากว่าจุดหลอมตัวของ
โลหะเล็กน้อย จะทาให้อะตอมของโลหะมีการเคลื่อนไหวเชื่อมโยงกันระหว่างจุดสัมผัสของเม็ดเล็ก ๆ ของ
โลหะอันเป็นผลมาจากการแพร่ของอะตอมในสภาพของแข็ง (Diffusion in Solid State) ทาให้โลหะเมื่อผ่าน
การเผามีความแข็งแรงมากขึ้น และสามารถนาไปใช้งานได้ตามลักษณะของโลหะนั้น ๆ เราอาจจะแยกขั้นการ
ทางานตามกรรมวิธีโลหะผงออกเป็น 4 ขั้น คือ
1) ขั้นผลิตโลหะผง
2) ขั้นผสมผงโลหะให้เข้ากัน
3) อัดโลหะผงในแบบตามรูปร่างที่ต้องการ
4) เผาโลหะผงที่อุณหภูมิต่ากว่าจุดหลอมตัว (Sintering)

การทาโลหะผงนั้นมีกรรมวิธีที่ใช้หลายประการ วิธีที่ทากันทั่ว ๆ ไป สาหรับโลหะที่มีความแข็งสูง ใช้การบด


(Mill Grinding) เป็นงานที่ต้องใช้เทคนิคสูง เพราะของแข็งจะถูกบดได้ก็ต้องมีของแข็งกว่าเป็นตัวบด ดังนั้นจึง
มักใช้ตัวของมันบดกันเองจนละเอียด
ถ้าโลหะที่มีเนื้ออ่อนการบดในลักษณะนี้ทาได้ยาก เพราะมันจะไม่แตกออกจากกันได้ง่าย เนื่องจากมีความ
เหนียว ดังนั้นจึงใช้วิธีหลอมให้ละลายแล้วพ่นเป็นฝอย (Atomizing) อีกวิธีหนึ่งใช้วิธีเผาโลหะจนร้อนกลายเป็น
ไอ แล้วทาให้กลั่นตัวจากไอมาเป็นโลหะผงทีเดียว แต่เป็นวิธีที่ค่าใช้จ่ายสูง เพราะต้องใช้พลังงานมาก
การผสมโลหะผงให้เข้ากันก่อนที่จะนาไปอัดเป็นรูปร่าง นับว่ามีความสาคัญมาก เพราะโลหะผงส่วนมากมักจะ
ผสมกันหลายชนิด คือมีโลหะหลักและโลหะที่เป็นตัวประสาน (Binder) ดังตัวอย่างเช่น การทาโลหะทังสเตน
คาร์ไบด์สาหรับทามีดกลึง จะใช้โลหะโคบอลต์เป็นโลหะประสาน ดังนั้นการผสมจึงต้องกระทาเป็นพิเศษเพื่อให้
โลหะและตัวประสานผสมกันอย่างทั่วถึง การผสมกระทาทั้งในสภาพแห้ง (Dry) และสภาพเปียก (Wet)
การอัดโลหะผงลงแบบ Die ขั้นแรกต้องทราบจานวนของโลหะผงที่จะใช้ให้พอเหมาะ โดยต้องทราบปริมาณ
ของแบบ แล้วจึงเทโลหะผงลงไปในแบบ โดยให้มีปริมาณเกินกว่าปริมาตรที่ต้องใช้จริง ๆ เล็กน้อย การอัดใช้
เครื่องไฮดรอลิค มีความดันสาหรับอัดประมาณ 5-50 ตันต่อตารางนิ้ว

การเผาที่อุณหภูมิต่ากว่าจุดหลอมตัวของโลหะ เรียกว่า Sintering และมักจะเรียกโลหะที่ผ่านกรรมวิธีนี้ว่า


โลหะซินเตอร์ อุณหภูมิที่ใช้จะสูงราว ๆ 70-80% ของอุณหภูมิหลอมเหลว (คิดหน่วยเคลวิน) ในบางกรณี เช่น
พวกวัสดุทนความร้อน อาจจะต้องใช้อุณหภูมิสูงถึงประมาณ 90% ของอุณหภูมิหลอมเหลว สาหรับโลหะผสม
ที่มีโลหะประสานอยู่ด้วยจะต้องทาซินเตอร์ที่อุณหภูมิใกล้จุดหลอมเหลวตัวของโลหะประสาน การทาซินเตอร์
จะต้องใช้เวลานานหลายชั่วโมง โดยจะต้องควบคุมบรรยากาศภายในเตาด้วย เพราะในขณะที่เผาออกซิเจนใน
อากาศอาจจะทาให้โลหะกลายเป็นออกไซด์ได้ง่าย ส่วนใหญ่จึงทาซินเตอร์ภายในบรรยากาศของก๊าซเฉื่อย เช่น
ไนโตรเจนหรืออาร์กอน

ข้อดีของขบวนการขึ้นรูปแบบเย็น
1.ใช้อุณหภูมิน้อยในการขึ้นรูป (ประมาณ 20o - 25o C)
2.มีความสวยที่ผิว เรียบ สะอาด และเงางามของชิ้นงาน
3.ชิ้นงานที่ได้มีขนาดที่เที่ยงตรง และแน่นอนดีมาก
4.ได้ความแข็งแรง และแข็งมากขึ้นกว่าเดิม
ข้อเสียของขบวนการขึ้นรูปแบบเย็น
1.เกิดความเค้น (Stress) มาก
2.เกิดความเครียด (Strain) มาก
3.เกรนของโลหะเกิดการแตกหักได้ง่าย
4.ต้องลงทุนมากในการติดตั้งเครื่องจักรที่มีกาลังมาก ๆ และขนาดใหญ่ ๆ
4 .การขึ้นรูปโลหะที่เป็นชิ้น (Bulk Deformation) ว่ามีกี่ประเภท อะไรบ้าง
ตอบ
มี3 ประเภทคือ
1กระบวนการทุบขึ้น รูป (Forging Process)
2กระบวนการอัดรีดขึ้นรูป (Extrusion Process)
3กระบวนการรีดขึ้นรูป (Rolling Process)
5.การขึ้นรูปโลหะที่เป็นแผ่น (Sheet Metal Working) ว่ามีกี่ประเภท อะไรบ้าง
ตอบ
แบ่งได้เป็น 3 กรรมวิธีพื้นฐานหลัก คือ
1. การตัดเฉือน (shearing) ซึ่งแบ่งเป็นการปั๊มเจาะ (balking) และการตัดเจาะรู (piercing)
2. การตัด (bending) หรือการขึ้นรูป (forming) และ
3. การลากขึ้นรูป (drawing)
จัดทาโดย
นาย นพรุจ พานาดา
59130042486

You might also like