You are on page 1of 16

ห้ องเรี ยนพิเศษ ชัน้ ม.

3 โรงเรี ยนสุรศักดิ์มนตรี
สอนโดย อ.นรพนธ์ บุญเคลือบ (พี่นิกส์)

เรขาคณิตวิเคราะห์
ความรู ้เบื้องต้น ระบบพิกดั ฉากและจตุภาค

พิกดั คือ .....................................

จุดกาเนิด (Origin) คือ.................

จตุภาคที่ 1 (Quadrant 1) มีคา่ X เป็ น และ Y เป็ น

จตุภาคที่ 2 (Quadrant 2) มีคา่ X เป็ น และ Y เป็ น

จตุภาคที่ 3 (Quadrant 3) มีคา่ X เป็ น และ Y เป็ น

จตุภาคที่ 4 (Quadrant 4) มีคา่ X เป็ น และ Y เป็ น

สู ตรที่ 1 ระยะทางระหว่างจุดสองจุด

(x1 , y1) พิสูจน์

(x2 , y2)

d  ( x1  x2 )2  ( y1  y2 )2

1. จงหาระยะห่างระหว่างสองจุดต่อไปนี้

1.1 (3,4) และ (2,2) 1.2 (-1,-2) และ (3,-4)

1
ห้ องเรี ยนพิเศษ ชัน้ ม.3 โรงเรี ยนสุรศักดิ์มนตรี
สอนโดย อ.นรพนธ์ บุญเคลือบ (พี่นิกส์)

2. จงหาความยาวของเส้นรอบรู ปของรู ปสามเหลี่ยม ABC ซึ่ง A มีพิกดั เป็ น (3,4) B มีพิกดั เป็ น (7,8) และ C มี
พิกดั เป็ น (-1,-2)

3. จงหาจุดซึ่ งอยูบ่ นแกน Y และอยูห่ ่างจากจุด (2,5) และ (3,-7) เป็ น ระยะทางเท่ากัน

ก. 3 ข. 4 ค. 5 ง. 6

4. จุดบนแกน X ที่ห่างจากจุด (3, 4) และ (12, -5) เป็ นระยะทางเท่ากันคือจุดใด

ก.(18, 0) ข.(8, 0) ค.(-8, 0) ง.(-18, 0)

2
ห้ องเรี ยนพิเศษ ชัน้ ม.3 โรงเรี ยนสุรศักดิ์มนตรี
สอนโดย อ.นรพนธ์ บุญเคลือบ (พี่นิกส์)

สู ตรที่ 2 จุดกึ่งกลางระหว่างสองจุด สู ตรที่ 3 จุดที่แบ่งระยะทางเป็ นอัตราส่ วน M : N

(x1 , y1)
(x1 , y1)
N
C
M
P
(x2 , y2)

x x y y  (x2 , y2)  Mx  Nx2 My1  Ny2 


C  1 2 , 1 2  P 1 , 
 2 2   M N M N 

5. จงหาจุดกึ่งกลางระหว่างสองจุดต่อไปนี้

(1) (0,0) และ (6,4) (2) (5,-8) และ (-2,-10)

(3) (-10,3) และ (2,9) (4) (-5,-2) และ (-2,-1)

6. เส้นตรง AB มีจุด P (-2, -1) เป็ นจุดกึ่งกลาง ถ้าจุด A มีพิกดั เป็ น (-2, -6) แล้ว จุด B มีพิกดั เท่ากับเท่าใด

ก. (2, 1) ข.(1, 4) ค.(4, 1) ง.(-2, 4)

3
ห้ องเรี ยนพิเศษ ชัน้ ม.3 โรงเรี ยนสุรศักดิ์มนตรี
สอนโดย อ.นรพนธ์ บุญเคลือบ (พี่นิกส์)

7. วงกลมหนึ่งมีศูนย์กลางที่จุด (-3,2) และผ่านจุด (7,4) จงหารัศมีของวงกลมนี้

8. เส้นผ่านศูนย์กลางของวงกลมมีจุดปลายอยูท่ ี่จุด  2  และ 


3,1 3, 1  แล้ววงกลมนี้มีพ้นื ที่เท่ากับเท่าใด

9. กาหนด A(2,-2) และ B(-8,3) เป็ นจุดปลายของเส้นตรง AB จงหาจุด C ที่ทาให้ AC : CB  3: 2

10. จุด C เป็ นจุดภายนอกที่แบ่ง AB ออกเป็ นอัตราส่ วน CA : CB  1: 5 โดยที่ A(6,3) และ B (-2,7) จงหาจุด C

4
ห้ องเรี ยนพิเศษ ชัน้ ม.3 โรงเรี ยนสุรศักดิ์มนตรี
สอนโดย อ.นรพนธ์ บุญเคลือบ (พี่นิกส์)

สู ตรที่ 4 จุดตัดของเส้นมัธยฐานของสามเหลี่ยม

A (x1 , y1) เส้ นมัธยฐาน คือ


.....................................................................
.....................................................................

สมบัติของเส้ นมัธยฐาน

1.
C (x3 , y3)

2.
B (x2 , y2)

จุดตัดของเส้ นมัธยฐาน คือ ...............................................................................

11. จงหาจุดตัดของเส้นมัธยฐานของสามเหลี่ยม ABC มี A(7,4) , B(3,-6) และ C (-5,2)

12. กาหนดให้ A(3,6) , B(-1,0) และ C (5,10) เป็ นจุดยอดของสามเหลี่ยม ABC และ P เป็ นจุดภายในสามเหลี่ยม
ที่ทาให้พ้นื ที่ APB, BPC, APC เป็ นสามเหลี่ยมที่มีพ้นื ที่เท่ากันจงหาพิกดั ของจุด P

5
ห้ องเรี ยนพิเศษ ชัน้ ม.3 โรงเรี ยนสุรศักดิ์มนตรี
สอนโดย อ.นรพนธ์ บุญเคลือบ (พี่นิกส์)

13. กาหนด A(6,4) , B(3,0) , C(-1,3) เป็ นจุดยอดของสามเหลี่ยมรู ปหนึ่ง จงพิจารณาว่า สามเหลี่ยม ABC เป็ น
สามเหลี่ยมชนิดใด

14. กาหนด A(-2,-3) , B(0,1) , C(1,3) เป็ นจุดยอดของสามเหลี่ยมรู ปหนึ่ง จงพิจารณาว่า สามเหลี่ยม ABC เป็ น
สามเหลี่ยมชนิดใด

15. สามเหลี่ยม ABC มีจุดยอดสองจุดอยูท่ ี่ B(6,7) , C(-4,-3) ถ้าจุด P(4/3,1) เป็ นจุดตัดของเส้นมัธยฐานแล้ว เส้น
มัธยฐานที่ลากจากจุด A มีค่าเท่าใด

6
ห้ องเรี ยนพิเศษ ชัน้ ม.3 โรงเรี ยนสุรศักดิ์มนตรี
สอนโดย อ.นรพนธ์ บุญเคลือบ (พี่นิกส์)

สู ตรที่ 5 การหาพื้นที่ของรู ปหลายเหลี่ยม

E (x5 , y5)
A (x1 , y1)

D (x4 , y4)
Area

C (x3 , y3)
B (x2 , y2)

หลักการคูณไขว้
1 x1 x2 x3 x4 x5 x1
Area  คูณลงคงเดิม คูณขึน้ เปลี่ยนเครื่องหมาย
2 y1 y2 y3 y4 y5 y1

16. จงหาพื้นที่ของรู ปสามเหลี่ยมที่มีจุดยอดที่ A(1,2) , B(6,3) , C(3,5)

17. จงหาพื้นที่ของรู ปห้าเหลี่ยมที่มีจุดยอดที่ A(0,2) , B(1,-3) , C(3,-5) , D (6,3) , C(2,5)

7
ห้ องเรี ยนพิเศษ ชัน้ ม.3 โรงเรี ยนสุรศักดิ์มนตรี
สอนโดย อ.นรพนธ์ บุญเคลือบ (พี่นิกส์)

18. จุด A(-4,1) , B(-5,-4) , C(1,-2) และ D(X,Y) เป็ นจุดยอดของสี่ เหลี่ยมด้านขนาน จงหาพื้นที่ของสี่ เหลี่ยม
ต่อไปนี้

19. กาหนด A(3,10) , B(7,7) , C(X,Y) เป็ นจุดยอดของสามเหลี่ยมรู ปหนึ่ง และจุดตัดของเส้นมัธยฐาน


คือ (8/3 , 6) แล้วจงหาพื้นที่ของสามเหลี่ยม ABC

8
เรขาคณิตวิเคราะห์
สู ตรที่ 6 ความชัน

(x1 , y1)
ข้ อสรุปเกีย่ วกับความชัน

(x2 , y2)
y2  y1
m  tan 
x2  x1

1. จงหาความชันของเส้นตรงที่ผา่ นจุดต่อไปนี้

(a) (1,2) และ (7,8) (d) (-2,1) และ (6,1)

(b) (-3,5) และ (6,2) (e) (3,5) และ (3,-6)

(c) (5,6) และ (5,9)

9
ห้ องเรี ยนพิเศษ ชัน้ ม.3 โรงเรี ยนสุรศักดิ์มนตรี
สอนโดย อ.นรพนธ์ บุญเคลือบ (พี่นิกส์)

เส้นขนาน เส้นตัง้ ฉาก

M1
M1

M2

2. เส้นตรงที่ผา่ นจุด A(X,1) และ B(-3,-2) ตั้งฉากกับเส้นตรงที่ผา่ นจุด C(1,-4) ,D(3,2)


จงหาความชันของ AC มีค่าเท่าใด

3. เส้นตรงที่ผา่ นจุด A(0,7) และ B(-3,-2) ขนานกับเส้นตรงที่ผา่ นจุด C(3,2) และ D(K,4) แล้วระยะระหว่างจุด D
และ(0,0) คือเท่าไร

10
ห้ องเรี ยนพิเศษ ชัน้ ม.3 โรงเรี ยนสุรศักดิ์มนตรี
สอนโดย อ.นรพนธ์ บุญเคลือบ (พี่นิกส์)

4. จงแสดงว่าจุด A(1,2) B(3,10) และ C(4,-4) อยูบ่ นเส้นตรงเดียวกัน

5. ข้อใดเป็ นจุดยอดของสามเหลี่ยมมุมฉาก

ก) A(0,0) , B(8,0) , C(6,1)

ข) A(0,4) , B(-4,1) , C(3,-3)

ค) A(2,4) , B(5,1) , C(6,5)

ง) A(10,5) , B(3,2) , C(6,-5)

6. AB ตัดแกน x และ y โดยมีระยะตัดเป็ น 4 และ 3 หน่วยตามลาดับ จุดตัดสองจุดนี้ แบ่ง AB ออกเป็ น 3 ส่ วน


เท่าๆกันพอดี ให้หาพิกดั ของจุด A กับ B

11
ห้ องเรี ยนพิเศษ ชัน้ ม.3 โรงเรี ยนสุรศักดิ์มนตรี
สอนโดย อ.นรพนธ์ บุญเคลือบ (พี่นิกส์)

สู ตรที่ 7 สมการเส้นตรง และ สู ตรหาสมการเส้นตรง

รู ปสมการแบบทัว่ ไป

รู ปสมการแบบมาตราฐาน

ลักษณะของสมการเส้ นตรง

12
ห้ องเรี ยนพิเศษ ชัน้ ม.3 โรงเรี ยนสุรศักดิ์มนตรี
สอนโดย อ.นรพนธ์ บุญเคลือบ (พี่นิกส์)

สู ตรหาสมการเส้ นตรง

สิ่งที่จำเป็ นต้ องทรำบเพื่อที่จะหำสมกำรเส้ นตรง 1.

m (x1 , y1) 2.

สูตรสมกำรเส้ นตรง y  y1  m  x  x1 

7. จงหาสมการเส้นตรงที่สอดคล้องกับเงื่อนไขต่อไปนี้

ผ่าน (3,1) และ (5,4) มีระยะตัดแกน x และ y เป็ น -3 และ 4 ตามลาดับ

ผ่าน (-2,5) และความเอียง 60 องศา ความชัน -2 และระยะตัดแกน x เป็ น 4

13
ห้ องเรี ยนพิเศษ ชัน้ ม.3 โรงเรี ยนสุรศักดิ์มนตรี
สอนโดย อ.นรพนธ์ บุญเคลือบ (พี่นิกส์)

8. สมการเส้นตรงผ่านจุดกึ่งกลางส่ วนของเส้นตรง A(3,-4) B(-5,6) และลากไปตั้งฉากกับเส้นตรง 3x-5y+6=0 มี


สมการตรงกับข้อใด

ก. 5x-3y+2=0

ข. 10x-6y+1=0

ค. 6x+10y-3=0

ง. 5x+3y+2=0

9. สมการของเส้นตรงที่สัมผัสกับวงกลมรัศมี 5 หน่วยและมีจุดศูนย์กลางที่ (0,0) ณ จุด (3,-4) คือสมการใด

ก. 3x+4y-25=0

ข. 3x-4y-25=0

ค. 3x+4y+7=0

ง. 3x-4y-7=0

10. เส้นตรง L ผ่านจุด (2, 5) แล (1, 3) รู ปสามเหลี่ยมที่ปิดล้อมด้วยเส้นตรงเส้นนี้ กับ แกน x และแกน y มีพ้นื ที่
เท่าใด

14
ห้ องเรี ยนพิเศษ ชัน้ ม.3 โรงเรี ยนสุรศักดิ์มนตรี
สอนโดย อ.นรพนธ์ บุญเคลือบ (พี่นิกส์)

สู ตรที่ 8 ระยะทางระหว่างจุดถึงเส้นตรง สู ตรที่ 9 ระยะทางระหว่างเส้นขนาน 2 เส้น

(x1 , y1) Ax+By+C1=0


y1)Ax
d d
Ax+By+C=0
y1)Ax
Ax+By+C2=0
Ax1  By1  C C1  C2
d d
A2  B 2 A2  B 2

11. ระยะทางระหว่างจุด (-2,-3) ไปยังเส้นตรง 8x+15y-24=0 เท่ากับกี่หน่วย

12. วงกลมวงหนึ่งมีจุดศูนย์กลางที่ (2,3) และมีเส้นตรง 7x+24y=11 เป็ นเส้นสัมผัสความยาวรัศมีของวงกลมนี้


เท่ากับข้อใด

ก. 3

ข. 4

ค. 5

ง. 6

15
ห้ องเรี ยนพิเศษ ชัน้ ม.3 โรงเรี ยนสุรศักดิ์มนตรี
สอนโดย อ.นรพนธ์ บุญเคลือบ (พี่นิกส์)

13. ระยะห่างของเส้นคู่ขนาน x y4 2 0 และ x y 6 2  0 คือเท่าไร

14. พื้นที่วงกลมซึ่ งสัมผัสกับเส้นตรง 4x-3y-12=0 และ 4x-3y+18=0 มีค่ากี่ ตารางหน่วย

16. สามเหลี่ยม ABC มีจุดยอด A(-1,2) B(3,-2) และ (4,6) เส้นตั้งฉากที่ลากจาก A ไปยัง BC ยาวกี่หน่วย

16

You might also like