You are on page 1of 40

เลขยกกำลัง

6 Jun 2017
สารบัญ

รากที่ 𝑛 ..................................................................................................................................................................................... 1
ค่าหลักรากที่ 𝑛......................................................................................................................................................................... 2
การ บวก ลบ คูณ หาร รูท ........................................................................................................................................................ 7
รูทสองของจานวนที่ตดิ รูท ..................................................................................................................................................... 16
เลขยกกาลัง ........................................................................................................................................................................... 19
สมการเลขชี ้กาลัง .................................................................................................................................................................. 26
อสมการเลขชี ้กาลัง................................................................................................................................................................ 33
เลขยกกาลัง 1

รากที่ 𝑛

รากที่ 𝑛 ของ 𝑥 คือ จานวนที่ยกกาลัง 𝑛 แล้ วได้ 𝑥


เช่น รากที่ 2 ของ 16 → อะไร 2 = 16 → 4 กับ −4
รากที่ 2 ของ −16 → อะไร 2 = −16 → ไม่มี (รากที่ 2 ของ −16 หาค่าไม่ได้ )
รากที่ 3 ของ 8 → อะไร 3 = 8 → 2
รากที่ 3 ของ −8 → อะไร 3 = −8 → −2

สรุป
รากที่คู่ ของจานวนบวก → มีสองจานวน (บวกกับลบ)
รากที่คู่ ของจานวนลบ → หาค่าไมได้
รากที่คี่ ของจานวนบวก → มีจานวนเดียว และเป็ นบวก
รากที่คี่ ของจานวนลบ → มีจานวนเดียว และเป็ นลบ

แบบฝึ กหัด
1. จงเติมคาตอบทีถ่ กู ต้ องลงในช่องว่าง
1. รากที่ 2 ของ 64 คือ ....................... 2. รากที่ 9 ของ 1 คือ ........................
3. รากที่ 4 ของ −16 คือ ......................... 4. รากที่ 3 ของ −1 คือ ........................
5. รากที่ 2 ของ 25 คือ ......................... 6. รากที่ 4 ของ 1 คือ ........................
7. รากที่ 5 ของ −1 คือ ......................... 8. รากที่ 2 ของ −1 คือ ........................
9. จานวนทีย่ กกาลัง 2 ได้ 16 คือ ........................ 10. จานวนทีย่ กกาลัง 3 ได้ 8 คือ ........................
11. จานวนทีย่ กกาลัง 4 ได้ −1 คือ ........................ 12. จานวนทีย่ กกาลัง 5 ได้ −32 คือ ........................

2. ถ้ า (𝑝 − 2)2 = 25 และ (𝑞 + 1)2 = 81 แล้ ว ค่ามากที่สดุ ที่เป็ นไปได้ ของ 𝑝 − 2𝑞 เท่ากับเท่าใด


[O-NET 54/26]
2 เลขยกกาลัง

ค่าหลักรากที่ 𝑛

หัวข้ อนี ้ คล้ ายหัวข้ อที่แล้ ว ต่างกันแค่มีคาว่า “ค่าหลัก” โผล่มา


จากหัวข้ อที่แล้ ว รากที่คขู่ องจานวนบวก จะมีสองจานวน (บวกกับลบ) เราจะเรี ยกรากที่เป็ นบวกว่าราก “ค่าหลัก”
เช่น รากที่สองของ 16 คือ 4 และ −4
แต่ “ค่าหลักรากที่สอง” ของ 16 คือ 4 แค่จานวนเดียว

ส่วนรากที่คี่ จะมีจานวนเดียวอยูแ่ ล้ ว จานวนนันเลยได้


้ เป็ น “ค่าหลัก” โดยอัตโนมัติ
เช่น รากที่สามของ 8 คือ 2 รากที่สามของ −8 คือ −2
ค่าหลักรากที่สามของ 8 ก็คือ 2 ค่าหลักรากที่สามของ −8 ก็คือ −2

“ค่าหลักรากที่ 𝑛” จะแทนด้ วยสัญลักษณ์ 𝑛√ (อ่านกว่า “กรณฑ์อนั ดับที่ 𝑛” หรื อ “รูทที่ 𝑛”)


ในกรณีที่ 𝑛 = 2 มักจะละ 𝑛 ไว้ ในฐานที่เข้ าใจ เช่น √16 จะหมายถึง 2√16 นัน่ เอง
เช่น √16 = 4 √−16 = หาค่าไม่ได้
3 3
√8 = 2 √−8 = −2
3 3
√43 = √64 = 4 √(−3)2 = √9 = 3

ตัวอย่างที่แสดง ตัวเลขไม่เยอะ ทาให้ คดิ ง่าย แต่ถ้าตัวเลขมากๆ ก็ต้องใช้ อีกวิธี


เมื่อ 𝑥 มีคา่ เยอะๆ ถ้ าจะหา 𝑛√𝑥 เรามักจะใช้ วิธีแยกตัวประกอบ 𝑥 โดยการตังหารสั ้ นไปเรื
้ ่ อยๆ
 ถ้ าตัวประกอบซ ้าครบ 𝑛 ตัว จะกลายเป็ นผลลัพธ์ ได้ 1 ตัว
 ถ้ าตัวประกอบที่ซ ้าไม่ถงึ 𝑛 ตัว จะกลายเป็ นผลลัพธ์ ไม่ได้ ต้ องติดอยูใ่ นเครื่ องหมายราก

ตัวอย่าง จงหาค่าของ 3√1728


วิธีทา เอา 1728 มาแยกตัวประกอบโดยตังหารสั ้ นไปเรื
้ ่ อยๆ
ข้ อนี ้ หารากที่ 3 ดังนัน้ ตัวประกอบซ ้า 3 ตัว จะกลายเป็ นผลลัพธ์ 1 ตัว

2 ) 1728
ได้ 2 หนึ่งตัว 2 ) 864
2 ) 432
2 ) 216
ได้ 2 อีกตัว 2 ) 108
2 ) 54
3 ) 27
ได้ 3 อีกตัว 3)9
3

จะได้ คาตอบคือ 2 × 2 × 3 = 12 #
เลขยกกาลัง 3

ตัวอย่าง จงหาค่าของ √588


วิธีทา เอา 588 มาแยกตัวประกอบโดยตังหารสั
้ นไปเรื
้ ่ อยๆ
ตัวประกอบซ ้า 2 ตัว จะกลายเป็ นผลลัพธ์ 1 ตัว

2 ) 588
ได้ 2 หนึ่งตัว
2 ) 294
3 ) 147
ได้ 7 หนึ่งตัว 7 ) 49
7

จะเห็นว่า 2 กับ 7 มีซ ้าครบคู่ แต่ 3 ซ ้าไม่ครบสองตัว ดังนัน้ คาตอบคือ 2 × 7 × √3 = 14√3 #

หมายเหตุ: ถ้ าเห็นตัวเลขอยูห่ น้ ารูท แปลว่ามันกาลัง “คูณ” กับรูทอยู่


กล่าวคือ 14√3 = 14 × √3 = √3 × 14
แต่ 14√3 ไม่เหมือนกับ 14√3 นะ
14 คูณรากที่สองของ 3 ค่าหลักรากที่ 14 ของ 3

ตัวอย่าง จงหาค่าของ 3√−500


วิธีทา ข้ อนี ้ ถามรากที่คี่ของจานวนลบ จะยังพอหาได้ (แต่ถ้าถามรากทีค่ ขู่ องจานวนลบ จะหาไม่ได้ )
จากหัวข้ อที่แล้ ว รากที่คี่ของจานวนลบ จะได้ คาตอบเป็ นจานวนลบ
ดังนัน้ วิธีทาคือ เราจะทาโดยไม่สนใจเครื่ องหมายลบ แต่ตอนสุดท้ าย เราจะเติมเครื่ องหมายลบเค้ าไปก่อนตอบ
ข้ อนี ้หารากที่ 3 นัน่ คือ ตัวประกอบซ ้า 2 ตัว จะกลายเป็ นผลลัพธ์ 1 ตัว

2 ) 500
2 ) 250
5 ) 125
ได้ 5 หนึ่งตัว 5 ) 25
5

จะเห็นว่า 2 ได้ ไม่ครบสามตัว ดังนัน้ ได้ ตวั เลขคาตอบ คือ 5√2


3 3
× 2 = 5√4
แต่เนื่องจากรากทีค่ ี่ของจานวนลบ ต้ องได้ จานวนลบ ดังนัน้ คาตอบคือ −5√4
3
#

จะเห็นว่า ต้ องจับคูค่ รบ 𝑛 ตัว จึงจะสามารถโยนออกมานอก 𝑛√ ได้ 1 ตัว


ทานองกลับกัน ถ้ าเราจะหดตัวนอก 𝑛√ กลับเข้ าไปข้ างใน จะต้ องแตกซ ้า 𝑛 ตัว
เช่น 2√3 = √2 × 2 × 3 = √12 3 3
3√5 = √3 × 3 × 3 × 5
3
= √135
4 4 4 √6 6 3
2√2 = √2 × 2 × 2 × 2 × 2 = √32 2
= √2×2 = √2
4 เลขยกกาลัง

ตัวอย่าง จงเรี ยงลาดับจานวนต่อไปนี ้ จากมากไปหาน้ อย 3√5 , 4√3 , 5√2


วิธีทา ข้ อนี ้ มีทงตั
ั ้ วเลขหน้ ารูทและหลังรูท ทาให้ เปรี ยบเทียบยาก
ดังนัน้ เราจะหดตัวเลขหน้ ารูท กลับเข้ าไปอยูห่ ลังรูท ดังนี ้
3√5 = √3 × 3 × 5 = √45
4√3 = √4 × 4 × 3 = √48
5√2 = √5 × 5 × 2 = √50

เนื่องจาก √45 < √48 < √50 ดังนัน้ 3√5 < 4√3 < 5√2 #

ถ้ าต้ องการดึง “ตัวแปร” ออกมาจาก 𝑛√ ก็ยงั ใช้ วิธีเดิม คือ ตัวแปรซ ้าครบ 𝑛 ตัว ดึงออกมาเป็ น 1 ตัว
สิง่ ที่ต้องระวัง คือ ในกรณีที่ 𝑛 เป็ นเลขคู่ ผลลัพธ์จะเป็ นลบไม่ได้
ดังนัน้ เราต้ องใส่เครื่ องหมาย ค่าสัมบูรณ์ เพื่อให้ ผลลัพธ์เป็ นบวกเสมอ
เช่น √𝑎7 = |𝑎3 |√𝑎 √
12𝑥 3 𝑦 5
=
2|𝑥|𝑦 2
√3𝑥𝑦 ไม่ต้องเอา 𝑧 4 ไว้ ในค่าสัมบูรณ์ก็ได้
𝑧4 𝑧2
เพราะ 𝑧 4 เป็ นบวกตลอดอยูแ่ ล้ ว
4 4
√𝑥 2 = |𝑥| √𝑥 12 𝑦15 𝑧16 = |𝑥 3 𝑦 3 |(𝑧 4 )(√𝑦 3 )

แต่ถ้า 𝑛 เป็ นเลขคี่ ก็ทาเหมือนปกติ ไม่มีอะไรต้ องระวัง


เช่น 3
√𝑎4 = 𝑎 √𝑎
3 3
√𝑎6 𝑏 5 = 𝑎2 𝑏 √𝑏 2
3

5 5 3 𝑎 7 𝑏12 𝑎2 𝑏4 3
√𝑎13 𝑏15 = 𝑎2 𝑏 3 √𝑎3 √
𝑐3
= 𝑐
∙ √𝑎

หมายเหตุ: คนส่วนใหญ่มกั คิดว่า √𝑥 2 = 𝑥 ซึง่ จะถูกเฉพาะเมื่อ 𝑥 เป็ นบวกหรื อศูนย์เท่านัน้


ประโยคที่ถกู ต้ องจริงๆ คือ √𝑥 2 = |𝑥| ตามที่แสดงในตัวอย่างข้ างต้ น

แบบฝึ กหัด
1. ข้ อใดถูกต้ อง
1. 3√(−3)3 = −3 2. 4
√(−4)4 = −4
3. 5√−2 หาค่าไม่ได้ 4. √𝑥 2 = 𝑥
5. √𝑥 2 = 𝑥 เมื่อ 𝑥 ≥ 0 6. √𝑥 4 = 𝑥 2

2. จงหาผลสาเร็ จของค่าในแต่ละข้ อต่อไปนี ้


1. 4√81 2. 3
√216
เลขยกกาลัง 5

3. 5
√−243 4. 3
√−432

5. √1764 6. 3
√10125

7. √(−17)2 8. √𝑎10 𝑏 4

8𝑥 5 𝑦 6
9. √
𝑧7
10. 2𝑛+1
√𝑥 2𝑛+1 เมื่อ 𝑛 เป็ นจานวนนับ
6 เลขยกกาลัง

3. กาหนดให้ 𝑎 เป็ นจานวนจริงบวก และ 𝑛 เป็ นจานวนคูบ่ วก ข้ อใดถูกต้ องบ้ าง [O-NET 53/9]
𝑛
1. ( 𝑛√𝑎) = |𝑎| 2. 𝑛√𝑎𝑛 = |𝑎|

2
4. (|4√3 − 5√2| − |3√5 − 5√2| + |4√3 − 3√5|) เท่ากับเท่าใด [O-NET 53/8]
เลขยกกาลัง 7

การ บวก ลบ คูณ หาร รูท

จานวนทีต่ ิดรูท จะบวกลบกันได้ เมื่อส่วนที่เป็ นรูทของทังสองตั


้ ว เหมือนกัน
เช่น 2√5 + 3√5 บวกกันได้ เพราะส่วนทีเ่ ป็ นรูทเท่ากัน เท่ากับ √5
2√5 + 4√2 บวกกันไมได้ เพราะตัวแรกเป็ น √5 แต่ตวั หลังเป็ น √2
2√5 − 3√5 ลบกันไมได้ เพราะตัวตังเป็ ้ น √5 แต่ตวั ลบเป็ น 3√5
3

ในกรณีที่บวกลบกันได้ ผลลัพธ์ จะได้ จากการเอาตัวเลขหน้ ารูทมาบวกลบกัน (ถ้ าไม่มีตวั เลขหน้ ารูท ให้ ถือว่าเป็ น 1)
เช่น 2√5 + 3√5 = 5√5 3 3
√2 + 3√2 = 4√2
3

2√2 − √2 = √2 √2 + √3 = รวมกันไม่ได้ = √2 + √3

2√2 + 3√2 + √3 − √2 = 4√2 + √3

ในกรณีที่บวกลบกันไม่ได้ ให้ ลองพยายามจัดรูปดูก่อน โดยจะมีวิธีจดั คือ


 หดตัวเลขเข้ าออกรู ท
เช่น √8 = √2 × 2 × 2 = 2√2 √18 = √2 × 3 × 3 = 3√2
√50 = √2 × 5 × 5 = 5√2 √12 = √2 × 2 × 3 = 2√3 เป็ นต้ น


𝑛
√( )𝑚 → คูณหรื อหาร 𝑚 และ 𝑛 ด้ วยตัวเลขที่เท่ากันได้ (เหมือนตัดเศษส่วน)
เช่น 9
√26 = √22
3 8
√56 = √53
4

6 3 4
√22 = √2 √32 = √3
3
√3 = √32
6 3
√22 =
12
√28 เป็ นต้ น

ตัวอย่าง จงหาค่าของ √8 + √18 − 4√4


วิธีทา ดูเผินๆ ข้ อนี ้เหมือนรวมกันไม่ได้ แต่ถ้าดูดีๆ จะพบว่า √8 = √2 × 2 × 2 = 2√2
√18 = √2 × 3 × 3 = 3√2
4 4
√4 = √22 = √2
ดังนัน้ 4
√8 + √18 − √4 = 2√2 + 3√2 − √2
= (2 + 3 − 1)√2
= 4√2 #

สาหรับการคูณจานวนติดรูท จะคูณกันได้ เมื่อ “อันดับของรูทเท่ากัน”


เช่น 2√5 × 3√2 คูณกันได้ เลย เพราะเป็ นรากอันดับที่ 2 เหมือนกัน
2√5 × 4√2 ตัวแรกเป็ นรากที่สอง แต่ตวั หลังเป็ นรากที่สาม ยังคูณกันไม่ได้ (ต้ องจัดรู ปให้ อน
ั ดับรูทเท่ากันก่อน)
3

ในกรณีที่อนั ดับรู ทเท่ากัน ให้ เอาตัวนอกรูทคูณตัวนอกรูท และ ตัวในรูทคูณตัวในรูท


ถ้ าตัวในรูท คูณกันแล้ วเกิด ซ ้ามากพอ ก็จบั กลุม่ ดึงออกไปนอกรูทได้
8 เลขยกกาลัง

เช่น 2√5 × 3√2 = 6√10

2√2 × 3√6 = 6√2 × 6 = 6√2 × 2 × 3 = 12√3


2
(√3) = √3 × √3 = √3 × 3 = 3
3 6 3 3 3 3 3 3 3
(√2) = √2 × √2 × √2 × √2 × √2 × √2 = √2 × 2 × 2 × 2 × 2 × 2 = 4

ถ้ าอันดับรูทไม่เท่ากัน ให้ ลองแปลง 𝑛


√( )𝑚 โดย คูณหรื อหาร 𝑚 กับ 𝑛 ด้ วยตัวเลขทีเ่ ท่ากันก่อน
เช่น 4
√2 × √4 = √2 × √22 = √2 × √2 = 2
4

3
√2 × √3 = √23 × √32 = √72
6 6 6
เป็ นต้ น

ถ้ าตัวที่คณ
ู กัน มีการบวกกันอยูด่ ้ วย ให้ เราใช้ วิธีกระจาย เหมือนตอนคูณพหุนาม

เช่น (2 + √3)(4 − √3) = 8 − 2√3 + 4√3 − √3 × 3

= 8 + 2√3 − 3 = 5 + 2√3

2
(√3 + √2) = (√3 + √2)(√3 + √2) = 3 + √6 + √6 + 2
= 5 + 2√6

(5 + 2√2)(5 − 2√2) = 25 − 10√2 + 10√2 − 4√2 × 2

= 25 − 8 = 17

สาหรับการหารจานวนติดรูท ให้ ทาเหมือนคูณ คือ ตัวหน้ ารูท ก็หารกับตัวหน้ ารูท ส่วนตัวในรูท ก็หารกับตัวในรูท
8√6 2
เช่น 2√3
= 4√2 3√6 ×
√2
= 6√3
3
10√2 2 6 √3 3
5√10
= 3 = 3
√5 2 √15 √5

แต่ในเรื่ องการหาร จะมีสงิ่ ที่ต้องทาเพิ่มคือ ต้ องจัดรูปผลลัพธ์ให้ “ตัวส่วนไม่ตดิ รูท”


เพราะตัวติดรูท มักจะเป็ นตัวเลขไม่ลงตัว ถ้ าเป็ นตัวส่วน จะคิดเลขลาบากกว่าเป็ นเศษ
วิธีจดั รูป ให้ คณ
ู อะไรสักอย่าง ให้ รูทที่ตวั ส่วนหายไป โดยต้ องคูณทังเศษและส่
้ วน เพื่อไม่ให้ คา่ เปลีย่ น ดังนี ้
 คูณด้ วย “ตัวที่ขาด” โดยเมื่อคูณแล้ ว ตัวส่วนจะซ ้าครบคู่ และดึงออกไปนอกรู ทได้
2 2 √2 2√2 6 6 √3 6√3 2√3
เช่น √2
=
√2
×
√2
=
2
= √2
5√3
=
5√3
×
√3
= (5)(3)
=
5
3 3
4√2 4√2 √5 4√10 1 1 √22 √4
= × = 5 3 = 3 ×3 = 2
√5 √5 √5 √2 √2 √22
เลขยกกาลัง 9

 คูณด้ วย “คอนจูเกต” ในกรณีทตี่ วั ส่วน เป็ น √ บวกหรื อลบ กับจานวนอื่น ให้


หมายเหตุ : “คอนจูเกต” หรื อ “สังยุค” คือ จานวนที่เครื่ องหมายตรงกลางเปลีย่ นเป็ นตรงข้ าม
เช่น คอนจูเกตของ 5 + 2√2 คือ 5 − 2√2
คอนจูเกตของ √3 − 4 คือ √3 + 4 เป็ นต้ น
การคูณด้ วยคอนจูเกต จะทาให้ เข้ าสูตร (น − ล)(น + ล) = น2 − ล2 ทาให้ √ หายไปได้
เช่น 2
=
2 √6+2
× 6+2
1−√3
=
1−√3 √2−√3
× 2− 3
√6−2 √6−2 √ √2+√3 √2+√3 √ √
(2)(√6+2) √2−√3−√6+3
= = 2−3
6−4

= √6 + 2 √2−√3−√6+3
= −1

= −√2 + √3 + √6 − 3

 คูณด้ วยตัวอื่นๆ ที่เข้ าสูตร ผลบวก - ผลต่าง กาลัง 𝑛


เช่น ในกรณีที่ตวั ส่วน เป็ น 3√ บวกหรื อลบ กับจานวนอื่น จะต้ องให้ คณ
ู ด้ วย (น2 ± นล + ล2 )
เพื่อเข้ าสูตร (น − ล)(น2 + นล + ล2 ) = น3 − ล3
(น + ล)(น2 − นล + ล2 ) = น3 + ล3
3 3
2 2 22 +2 √2+ √22
เช่น 3
2− √2
= 3 ∙
2− √2 22 +2 3√2+ √22
3

3
(2)(22 +2 3√2+ √22 )
= 3
23 − √23

(2)(4+2 3√2+ 3√4) 3 3


4+2 √2+ √4
= 6
= 3

ตัวอย่าง กาหนดให้ √2 = 1.414 จงหาค่าประมาณของ 3√22


วิธีทา ข้ อนี ้ แทน √2 ลงไปตรงๆ จะได้ 3√22 = 3(1.414)
2 2
= 4.242 → หารเลขลาบาก เพราะส่วนเป็ นตัวเลขไม่สวย
2 2 √2 2√2 √2
เราจะจัดรูปให้ สว่ นไม่ติดรูทก่อน จะได้ 3√2
= 3√2
× 2

= (3)(2)
= 3
1.414
แทน √2 = 1.414 จะได้ 3
= 0.471 → จะเห็นว่าคิดเลขง่ายกว่าเยอะเลย #

ตัวอย่าง จงหาค่าของ √2+√13+√5


วิธีทา ข้ อนี ้ ตัวส่วนมี 3 ตัว เราจะค่อยๆกาจัด √ โดยค่อยๆคูณด้ วยคอนจูเกตทีละเปลาะ
1 1 √2+√3−√5
= × 2+ 3−√5
√2+√3+√5 √2+√3+√5 √ √
√2+√3−√5
= 2 2
(√2+√3) −(√5)
√2+√3−√5
= 2+2√2√3+3−5
√2+√3−√5
= 2√6
√2+√3−√5 √6 2√3+3√2−√30
= × = #
2√6 √6 12
10 เลขยกกาลัง

แบบฝึ กหัด
1. จงหาผลบวกและผลลบของจานวนต่อไปนี ้
1. 3√5 + 5√5 2. 2√3 − √3

1
3. √32 − √18 + √2 4. √3 + √3

9 1
5. 4
√50 − √4 + √2 6. 2√𝑥 3 − 𝑥 √𝑥 − 𝑥 2 √𝑥

2. จงหาผลคูณของจานวนต่อไปนี ้
1. √6 × √2 2. 3√2 × √8

3. 3 3
√3 × √9 4. 3
√−2 × 3√4
3

5. 3
√3 × √2 6. 4
√9 × √5
เลขยกกาลัง 11

7. 5
√3 × √2 8. (√2 − 1)(√2 + √3)

2
9. (1 − √2)(1 + √2) 10. (1 − √2)

2 2
11. (√3 − 1) 12. (3√2 + 2√3)

3. จงเขียนจานวนต่อไปนี ้ ให้ อยูใ่ นรูปที่ตวั ส่วนไม่ตดิ รูท


2 1 √3
1. √5−√3
2. √3
+ 2

1 2
3. √2
4. √3+1
12 เลขยกกาลัง

2
√2 √6 √2×√3×√10
5. (
√3
− 2
) 6. √6×√5

2−√3 6√3
7. 2+√3
8. 3√2+2√3

√2+1 √2−1 4
9. √2−1
+ 2+1

10. √3+√4+√7

4. กาหนดให้ √2 = 1.414 , √3 = 1.732 และ √5 = 2.236 จงหาค่าประมาณของ จานวนต่อไปนี ้ ให้ ถกู ต้ อง


ถึงทศนิยมตาแหน่งที่ 2
1
1. √8 − √2 2. √6 × √8
เลขยกกาลัง 13

3 −1
3. √2
4. (√5 − 2)

5. ถ้ า 𝑎 = −5 และ 𝑏=8 แล้ ว 6


√𝑎2 𝑏 √𝑎4 𝑏
6
มีคา่ เท่าใด [O-NET 59/4]

2
6. (√2 + √8 + √18 + √32) มีคา่ เท่ากับเท่าใด [O-NET 49/1]

7. 3
√18 + 2√−125 − 3√4
4
มีคา่ เท่ากับเท่าใด [O-NET 51/3]

1
8. ค่าของ 2 อยูใ่ นช่วงใดต่อไปนี ้ [O-NET 56/4]
(1−√3)
1. [1.5, 1.6) 2. [1.6, 1.7) 3. [1.7, 1.8)
4. [1.8, 1.9) 5. [1.9, 2.0)
14 เลขยกกาลัง

2
√2
9. (
√5
√6

√15
) มีคา่ เท่ากับเท่าใด [O-NET 51/1]

√3+2 √2+2
10. √2−1
÷ 2− 3

มีคา่ เท่ากับข้ อใด [O-NET 56/5]
1
1. −
√2
2. √12 3. −√2 4. √2 5. 1
2

√2+√3 √2−√3
11. ถ้ า 𝑥=
√2−√3
และ 𝑦=
√2+√3
แล้ ว 𝑥 2 − 4𝑥𝑦 + 𝑦 2 เท่ากับเท่าใด [O-NET 54/23]

1
12. ถ้ า 𝑎=
√5+2
√5−2
แล้ ว √𝑎 + − 2
𝑎
มีคา่ เท่ากับเท่าใด [O-NET 57/4]
เลขยกกาลัง 15

√3+√2 1
13. ถ้ า 𝑎=
√3−√2
แล้ ว 𝑎2 + 𝑎2 มีคา่ เท่าใด [O-NET 58/8]

1 1
14. |2 −
√2
| − |2 − √2| มีคา่ เท่ากับข้ อใดต่อไปนี ้ [O-NET 50/1]
3 √2 √2 3 5 3√2 3√2 5
1. 2
− 2 2. 2
−2 3. 2
− 2
4. 2
−2

2 2 3 3
15. (1 − √2) (2 + √8) (1 + √2) (2 − √8) มีคา่ เท่ากับเท่าใด [O-NET 50/3]
16 เลขยกกาลัง

รูทสองของจานวนที่ตดิ รูท

ในหัวข้ อนี ้ จะเรี ยนเรื่ องการหารูท ของจานวนที่ติดรูท โดยจะพูดถึงการหารูทสอง ของจานวนในรูป 𝑥 ± 2√𝑦


2
เนื่องจาก (√𝑎 + √𝑏) = (𝑎 + 𝑏) + 2√𝑎𝑏 ดังนัน้ √(𝑎 + 𝑏) + 2√𝑎𝑏 = √𝑎 + √𝑏

บวกกัน คูณกัน
ได้ 𝑥 ได้ 𝑦

ดังนัน้ ถ้ าจะหา √𝑥 + 2√𝑦 วิธีงา่ ยๆ คือ ให้ หาตัวเลขสองตัวที่ “บวกกันได้ 𝑥 คูณกันได้ 𝑦”


แล้ วเอาสองตัวนันมาใส่
้ รูท บวกกัน ตอบได้ ทนั ที

ตัวอย่าง จงหาค่าของ √17 + 2√72


วิธีทา ต้ องลองหาว่าอะไรบวกกันได้ 17 คูณกันได้ 72 ลองสุม่ หาดูซกั พัก จะได้ 9 กับ 8
ดังนัน้ คาตอบคือ √9 + √8 = 3 + 2√2 #

ในกรณีที่เครื่ องหมายตรงกลางเป็ นลบ ก็ทาเหมือนเดิม และตอบคาตอบในรูป √ตัวมาก − √ตัวน้ อย


เนื่องจาก √ จะให้ ผลลัพธ์เป็ นบวกเท่านัน้ จึงต้ องเอาตัวมากขึ ้นก่อนเสมอ

ตัวอย่าง จงหาค่าของ √4 − 2√3


วิธีทา หาว่าอะไรบวกกันได้ 4 คูณกันได้ 3 ลองสุม่ ดูซกั พัก จะได้ 1 กับ 3
แต่ 3 มากกว่า 1 ดังนัน้ ต้ องตอบโดยเอา 3 ขึ ้นก่อน
ดังนัน้ คาตอบคือ √3 − √1 = √3 − 1 #

ตัวอย่าง จงหารากที่สองของ 11 − 2√24


วิธีทา ข้ อนี ้ เหมือนกันกับคาถามว่า √11 − 2√24 เท่ากับเท่าไหร่นนั่ เอง
เพียงแต่ถ้าถาม “รากที่สอง” แบบนี ้ ต้ องตอบสองค่า คือค่าบวกกับค่าลบ
หาว่าอะไรบวกกันได้ 11 คูณกันได้ 24 ลองสุม่ ดูซกั พัก จะได้ 8 กับ 3 โดยจะได้ 8 เป็ นตัวมาก
ดังนัน้ คาตอบคือ ±(√8 − √3) = ±(2√2 − √3) #

ตัวอย่าง จงหาค่าของ √12 + 6√3


วิธีทา จะเห็นว่า มี 6 คูณอยูห่ น้ า √3 แต่ตามสูตร จะต้ องมี 2 คูณอยูห่ น้ า √
ดังนัน้ ยังทาไม่ได้ ต้ องจัดรูปก่อน 12 + 6√3 = 12 + (2)(3)√3 = 12 + 2√27
หด 3 เข้ าไปในรูท กลายเป็ น 9

ดังนัน้ ข้ อนี ้ เราต้ องหาว่าอะไรบวกกันได้ 12 คูณกันได้ 27 ซึง่ จะได้ 9 กับ 3


ดังนัน้ คาตอบคือ √9 + √3 = 3 + √3 #
เลขยกกาลัง 17

ตัวอย่าง จงหาค่าของ √4 − √15


วิธีทา จะเห็นว่าข้ อนี ้ไม่มเี ลข 2 อยูห่ น้ า √15 แต่ตามสูตรมันต้ องมีเลข 2 หน้ า √15 ถึงจะตรงกับรูปแบบของเรา
ดังนัน้ ยังทาไม่ได้ ต้ องจัดรูปก่อน วิธีจดั คือ เราจะคูณ 22 เข้ าไปที่ √15 แล้ วหด 12 เข้ าไป แต่คง 2 ข้ างบนไว้
2 15 15
นัน่ คือ 4 − √15 = 4 − (2 × √15) = 4 − 2√2×2 = 4 − 2√ 4
ดังนัน้ ข้ อนี ้ เราต้ องหาว่าอะไรบวกกันได้ 4 คูณกันได้ 15
4
คราวนี ้ยากหน่อย เพราะเป็ นเศษส่วน
สุม่ ดูซกั พัก จะได้ 52 กับ 32 ดังนัน้ คาตอบคือ √52 − √32
แต่บางคนก็ไม่ชอบให้ มตี วั ส่วนในรูท ก็ต้องจัดรูปต่อ
5 3 5 2 3 2 √10 √6 √10−√6
จะได้ √ −√ = √ × −√ × =
2 2 2 2 2 2 2
− 2 = 2
#

แบบฝึ กหัด
1. จงหาผลสาเร็ จของค่าในแต่ละข้ อต่อไปนี ้
1. √13 + 2√30 2. √6 − 2√5

3. √9 − 2√20 4. √13 − 4√10

5. รากที่สองของ 8 − 4√3 6. รากที่สองของ 8 + 2√7


18 เลขยกกาลัง

7. √7 − 4√3 8. √6 − √35

9. รากที่สองของ 2 − √3 10. รากที่สองของ 6 + 3√3

11. 12. รากที่ 4 ของ


4
√17 − 12√2 7 + 4√3

2. จานวนจริ ง √84 + 18√3 มีคา่ เท่าใด [O-NET 59/3]

3. ค่าของ √5 + √24 − √18 + √12 อยูใ่ ดช่วงใด [O-NET 58/7]


1. (2.2 , 2.3) 2. (2.3 , 2.4) 3. (2.4 , 2.5)
4. (2.5 , 2.6) 5. (2.6 , 2.7)
เลขยกกาลัง 19

เลขยกกาลัง

หัวข้ อนี ้ จะเป็ นการทบทวนความรู้เกี่ยวกับเรื่ องเลขยกกาลังที่เคยเรี ยนมาเมื่อตอน ม. ต้ น


โดยเราจะได้ เจอเลขชี ้กาลังทีเ่ ป็ นเศษส่วน ทศนิยม ด้ วย แต่กฎเดิมก็ยงั ใช้ ได้

 ฐานเหมือนกัน คูณกัน ให้ เอาเลขชี ้กาลังมาบวกกัน


ฐานเหมือนกัน หารกัน ให้ เอาเลขชี ้กาลังมาลบกัน
เช่น 25 × 24 = 29 23 × 2 = 24
1 1 1 1 5
𝑚4
𝑚
= 𝑚3 32 × 33 = 32+3 = 36
1 3 1 7 1 10
31.5 × 32.2 = 33.7 (2) × (2) = (2)
𝑥 5 𝑦𝑧 𝑥4𝑧
𝑎2 𝑏 ∙ 𝑎𝑏 3 = 𝑎3 𝑏 4 𝑥𝑦 3
= 𝑦2

 ยกกาลังซ้ อน ให้ เอาเลขชี ้กาลังมาคูณกัน


เช่น (23 )4 = 212 ((𝑎2 )3 )4 = 𝑎24
1 6
(𝑚2 ) = 𝑚3

 เลขยกกาลัง กระจายเข้ าไปในคูณหารได้ แต่กระจายในบวกลบไม่ได้


เช่น (2 × 3)4 = 24 ∙ 34 (2 ∙ 32 )4 = 24 ∙ (32 )4 = 24 ∙ 38
1 6 2
𝑎2 𝑏 𝑎4 𝑏2
(𝑎2 𝑏 3 ) = 𝑎12 𝑏2 ( 𝑐3 ) = 𝑐6

แต่ (2 + 3)4 ≠ 24 + 34

 ย้ ายบนลงล่าง หรื อล่างขึ ้นบน เลขชี ้กาลังจะเปลีย่ นเครื่ องหมาย บวก → ลบ , ลบ → บวก
เช่น 2−3 = 213 1
3−4
= 34
𝑏3 𝑎 −2 𝑏3
𝑎−2 𝑏 3 𝑐 −1 = 𝑎2 𝑐 𝑏−3
= 𝑎2
หมายเหตุ: ปกติเราจะไม่ชอบให้ เลขชี ้กาลังเป็ นลบ ก่อนตอบจึงนิยมย้ ายขึ ้นลงให้ เลขชี ้กาลังเป็ นบวกก่อนค่อยตอบ

 อะไรก็ตามยกกาลังศูนย์ จะได้ 1 เสมอ และ ศูนย์ยกกาลังอะไรก็ตาม จะได้ 0 เสมอ


ยกเว้ น 00 หาค่าไม่ได้

 ถ้ า “เลขชี ้กาลัง” เป็ นเศษส่วน ให้ เปลีย่ น “ส่วน” ของเลขชี ้กาลังเป็ น “รูท”
ถ้ า “เลขชี ้กาลัง” เป็ นทศนิยม ให้ เปลีย่ นทศนิยมเป็ นเศษส่วนอย่างต่า แล้ วเปลีย่ นตัวส่วนให้ เป็ นรูท
1 3
เช่น 3
23 = √21 = √2
3 4
34 = √33
1 1 5 1
3 6
√2 ∙ √2 = 22 ∙ 23 = 26 = √25 250.5 = 252 = √25 = 5
20 เลขยกกาลัง

1
จากสมบัติข้อหลังสุดนี่ จะเห็นว่า รูท ก็คือการยกกาลังแบบหนึง่ นัน่ คือ 𝑛√𝑎 = 𝑎𝑛 นัน่ เอง
ตรงจุดนี ้ จะทาให้ รูท มีสมบัติทกุ อย่างของเรื่ องเลขยกกาลัง
ตัวอย่างเช่น จากสมบัติทวี่ า่ “เลขยกกาลัง กระจายเข้ าไปในคูณหารได้ แต่กระจายในบวกลบไม่ได้ ”
5
ถ้ านามาใช้ กบั รูท ก็เช่น √2 × 3 = √2 × √3 และ √ =
4
√5
√4
=
√5
2
แต่ √𝑥 + 2 ≠ √𝑥 + √2 เป็ นต้ น

อีกเรื่ องที่โจทย์นิยมนามาออกข้ อสอบ คือ การเปรี ยบเทียบเลขยกกาลัง ว่าตัวไหนมาก ตัวไหนน้ อย


หลักคือ เราต้ องพยายามจัดรูปเลขยกกาลัง ให้ อยูใ่ นรูปอย่างง่ายทีส่ ดุ ให้ ตวั เลขน้ อยที่สดุ ก่อน
 ถ้ าเลขชี ้กาลังเป็ นเศษส่วน เรามักยกกาลังทังสองข้
้ างด้ วยเลขเยอะๆ ที่ตดั ตัวส่วนทุกส่วนลงตัว (ค.ร.น.)
 ถ้ าเลขชี ้กาลังเป็ นจานวนเยอะๆ เรามักยกกาลังทังสองข้
้ างด้ วยเศษส่วนที่ทอนเลขชี ้กาลังให้ ได้ มากที่สดุ (ห.ร.ม.)

ตัวอย่าง จงตรวจสอบว่า √2 > √3


3
หรื อไม่
1 1 1 1
วิธีทา เนื่องจาก √2 = 2 2 และ 3√3 = 33 ดังนัน้ ข้ อนี ้ถามว่า 22 > 33 หรื อไม่ นัน่ เอง
เราจะปรับ 12 กับ 1
3
ให้ เป็ นจานวนเต็มง่ายๆก่อน โดยการยกกาลัง 6 ทังสองข้
้ าง (6 = ค.ร.น. ของ 2 กับ 3)
1 6 1 6
(22 ) > (33 )
23 > 32
8 > 9 → ไม่จริ ง
ดังนัน้ √2 > √3
3
เป็ นประโยคที่เป็ นเท็จ #

ตัวอย่าง จงตรวจสอบว่า 236 < 324 หรื อไม่


1
วิธีทา จะเห็นว่า 36 กับ 24 สามารถทอนให้ น้อยลงได้ โดยยกกาลัง 12
ทังสองข้
้ าง (12 = ห.ร.ม. ของ 36 กับ 24)
1 1
(236 )12 < (324 )12
23 < 32
8 < 9 → จริ ง
ดังนัน้ 236 < 324 จริ ง #

อีกเรื่ องที่ต้องระวัง คือ ยิง่ ยกกาลังมาก ไม่ได้ แปลว่าจะได้ ผลลัพธ์มากขึ ้นเสมอไป


เช่น 22 = 4 (0.8)2 = 0.64
23 = 8 มากขึ ้น (0.8)3 = 0.512 น้ อยลง

จะเห็นว่า ถ้ า “ฐานน้ อยกว่า 1” ยิ่งยกกาลังมาก กลับจะยิง่ ได้ คา่ น้ อย


sin หรื อ cos ของมุมบวกที่น้อย
เช่น 0.55 > 0.59 30.5 > 30.2 กว่า 90° จะน้ อยกว่า 1 เสมอ
15 20
𝑥2 𝑥2
(1+𝑥2 ) ≥ (1+𝑥2 ) (sin 60°)6 < sin 60°
5 4 2 −5 2 −4
(√2) > (√2) (3) > (3)
1 1
1 −2 1 −3
(0.2)0.5 < (0.2)0.4 (5) > (5)
เลขยกกาลัง 21

แบบฝึ กหัด
1. ข้ อใดถูกต้ อง
2
1. (−4)10 < 0 2. (−1)6 > 0
3. (−1)0 = 1 4. 1−5 = −1

2. จงเติมเครื่ องหมาย มากกว่า หรื อ น้ อยกว่า ให้ ถกู ต้ อง


1 3 1 5
1. 23 ...... 25 2. (2) ...... (2)

1 1 3 5
3. 23 ...... 25 4. (√2) ...... (√2)

1 1
−3 −5
5. (√3) ...... (√3) 6. (√2 − 1) 3
...... 5
(√2 − 1)

7. √0.5 ...... (0.5)4 8. 3


√1.5 ...... 5
√1.5

9. (0.2)3 ∙ (0.2)5 ...... (0.2)4 ∙ (0.2)6 10. √2√2


4
...... 2

11. 6
√25 ...... 9
√1000 12. 10
√16 ...... 15
√27

3. จงทาให้ อยูใ่ นรูปผลสาเร็ จ


30 2 2
1. 360 2. 325 + 643

1 6 3
3. (23 ∙ √3) 4. 1252 × √25−1
4
22 เลขยกกาลัง

1 1 1
5. (−8)3 6. 52 × 53

1 1 1 1
7. 27 ∙ 33 8. 82 + 182 − 44

1 1 −6 1
−1
𝑎2 𝑏3 𝑎 2 𝑏3 𝑐 4 2 𝑎√𝑏
9. ( 𝑎𝑏 ) 10. ( 3 ) ( 1)
𝑥
23 𝑥 2

5𝑛+2 +5𝑛+1 3𝑛 −3𝑛−2


11. 5𝑛
12. 3𝑛 −3𝑛−1

3∙2𝑛+1 +2𝑛
13. 2𝑛 −2𝑛−1
เลขยกกาลัง 23

4. กาหนดให้ 𝑎 และ 𝑥 เป็ นจานวนจริ งใดๆ ข้ อใดต่อไปนี ้ถูก [O-NET 50/27]


1. ถ้ า 𝑎 < 0 แล้ ว 𝑎 𝑥 < 0 2. ถ้ า 𝑎 < 0 แล้ ว 𝑎−𝑥 < 𝑎
3. ถ้ า 𝑎 > 0 แล้ ว 𝑎−𝑥 > 0 4. ถ้ า 𝑎 > 0 แล้ ว 𝑎 𝑥 > 𝑎

2 1
83 (18)2
5. 4
√144

√6
มีคา่ เท่ากับเท่าใด [O-NET 50/2]

5
√−32 26
6. 3
√27
+ 3 มีคา่ เท่ากับเท่าใด [O-NET 49/1-2]
(64)2

1/2 +2
7. ค่าของ √(−2)2 + (8 √32
√2
) เท่ากับเท่าใด [O-NET 52/2]

8. ถ้ า 𝑎 เป็ นจานวนจริ งบวก แล้ ว เท่ากับเท่าใด


3
√𝑎 3√𝑎 [O-NET 58/5]
1 2 4 5 7
1. 𝑎 9 2. 𝑎 9 3. 𝑎 9 4. 𝑎9 5. 𝑎9
24 เลขยกกาลัง

9. ข้ อใดมีคา่ ต่างจากข้ ออื่น [O-NET 53/7]


1. (−1)0 2. (−1)0.2 3. (−1)0.4 4. (−1)0.8

1 1

𝑥 2 − √3𝑥 2
10. ถ้ า 𝑥 = 1 + √3 แล้ ว 𝑥
เท่ากับเท่าใด [O-NET 59/6]
1 1

1. 1 + √3 2. (1 + √3) 2
3. (1 + √3) 2

3
−1 −
4. (1 + √3) 5. (1 + √3) 2

11. ข้ อใดต่อไปนี ้ผิด [O-NET 51/22]


1. (24)30 < 220 ∙ 330 ∙ 440 2. (24)30 < 230 ∙ 320 ∙ 440
3. 220 ∙ 340 ∙ 430 < (24)30 4. 230 ∙ 340 ∙ 420 < (24)30

12. อสมการในข้ อใดต่อไปนี ้เป็ นจริง [O-NET 49/1-18]


1. 21000 < 3600 < 10300 2. 3600 < 21000 < 10300
3. 3600 < 10300 < 21000 4. 10300 < 21000 < 3600
เลขยกกาลัง 25

5⁄ 1⁄ 1⁄
13. ให้ 𝐴=2 6 , 𝐵=3 2 และ 𝐶=5 3 จงเรี ยงลาดับ 𝐴, 𝐵, 𝐶 จากน้ อยไปมาก [O-NET 57/2]

3 2 1
14. ให้ 𝐴 = 22 , 𝐵 = 33 และ 𝐶 = 2166 จงเรียงลาดับ 𝐴, 𝐵, 𝐶 จากน้ อยไปมาก [O-NET 58/6]
26 เลขยกกาลัง

สมการเลขชี ้กาลัง

หัวข้ อนี ้ จะพูดถึงสมการที่เอา 𝑥 ไปใช้ เป็ นเลขชี ้กาลัง


หลักในการแก้ คือ ต้ องจัดรูปสมการให้ “ฐานเท่ากัน” แล้ วฉุดเลขชี ้กาลังลงมาเท่ากัน

ตัวอย่าง จงแก้ สมการ 3𝑥+1 = 9𝑥−2


วิธีทา ต้ องทาฐานให้ เท่ากันก่อน จะเห็นว่า ฝั่งซ้ าย ฐาน = 3 ฝั่งขวา ฐาน = 9
ดังนัน้ เราจะทาฐานฝั่งขวา จาก 9𝑥−2 ให้ เป็ นฐาน 3
3𝑥+1 = 9𝑥−2
3𝑥+1 = (32 )𝑥−2
3𝑥+1 = 3(2)(𝑥−2)
3𝑥+1 = 32𝑥−4 เมื่อฐานเท่ากัน จะฉุดเลขชี ้กาลัง
𝑥+1 = 2𝑥 − 4 ลงมาเท่ากันได้
5 = 𝑥 #
𝑥+1
ตัวอย่าง จงแก้ สมการ (√8) = 4𝑥+1
วิธีทา จะเห็นว่า ฐานของทังสองฝั
้ ่ง สามารถแปลงให้ เป็ นฐาน 2 ได้ ดังนี ้
𝑥+1
(√8) = 4𝑥+1
𝑥+1 3
(√23 ) = (22 )𝑥+1 ( ) (𝑥 + 1) = (2)(𝑥 + 1)
2
3 𝑥+1 (3)(𝑥 + 1) = (4)(𝑥 + 1)
(2 ) 2 = (22 )𝑥+1 3𝑥 + 3 = 4𝑥 + 4
3 −1 = 𝑥
2(2)(𝑥+1) = 2(2)(𝑥+1) #

การเปลีย่ นฐาน จะยากขึ ้นได้ อีก เมื่อเลขชี ้กาลังเป็ นลบ


เพราะเมื่อเลขชี ้กาลังเป็ นลบ จะมีการกลับเศษส่วน ทาให้ รูปฐานเปลีย่ นไป
3 −3 2 3 8
เช่น (2) = (3) = 27
−1 1 1 2+√3 2+√3
(2 − √3) = 2− = 2− × 2+ = = 2 + √3
√3 √3 √3 4−3
8 3
ดังนัน้ 27 สามารถเปลีย่ นเป็ นฐาน ได้ 2
และ 2 + √3 ก็สามารถเปลีย่ นเป็ นฐาน 2 − √3 ได้ เป็ นต้ น

8 9 𝑥+4 𝑥−1
ตัวอย่าง จงแก้ สมการ (27 ) = (4)
วิธีทา จะเห็นว่า ฐานของทังสองฝั
้ ่ง สามารถแปลงให้ เป็ นฐาน 2 กับ 3 ได้ ดังนี ้
8 𝑥+4 9 𝑥−1
( ) = ( )
27 4
𝑥+4 𝑥−1
23 32
( 3) = ( 2)
3 2
𝑥+4 𝑥−1
2 3 3 2
(( ) ) = (( ) )
3 2
(3)(𝑥 + 4) = −(2)(𝑥 − 1)
2 (3)(𝑥+4) 3 (2)(𝑥−1)
( ) = ( ) กลับ เศษ - ส่วน เลขชี ้กาลัง 3𝑥 + 12 = −2𝑥 + 2
3 2
5𝑥 = −10
2 (3)(𝑥+4) 2 −(2)(𝑥−1) เปลี่ยนจาก บวก → ลบ
( ) = ( ) 𝑥 = −2
3 3
#
เลขยกกาลัง 27

𝑥−2 𝑥−6
ตัวอย่าง จงแก้ สมการ (√5 + 2) = (√5 − 2)
วิธีทา ข้ อนี ้ เริ่ มจะดูยากว่าต้ องเปลีย่ นเป็ นฐานอะไร ถ้ านึกไม่ออก ลองเอาฐานซักตัว มายกกาลัง −1 ดู
−1 1 1
จะได้ (√5 + 2) =
√5+2
= ∙
√5−2
√5+2 √5−2
=
√5−2
5−4
= √5 − 2 ซึง่ โชคดีได้ เป็ นฐานอีกตัวพอดี
−1
ดังนัน้ เราจะเปลีย่ น √5 − 2 ในสมการ ให้ กลายเป็ น (√5 + 2) ดังนี ้
𝑥−2 𝑥−6
(√5 + 2) = (√5 − 2) 𝑥−2 = (−1)(𝑥 − 6)
𝑥−2 −1 𝑥−6 𝑥−2 = −𝑥 + 6
(√5 + 2) = ((√5 + 2) ) 2𝑥 = 8
𝑥−2 (−1)(𝑥−6) 𝑥 = 4
(√5 + 2) = (√5 + 2)
#

ในกรณีที่ในสมการมีมากกว่า 2 พจน์ เรามักต้ องใช้ ความรู้เรื่ องการแก้ สมการกาลังสองเข้ ามาผสม


ส่วนใหญ่ เรามักจะต้ องหา “ตัวทีเ่ ป็ นกาลังสองของอีกตัว” ให้ จดั ให้ อยูใ่ นรูป 𝑎( )2 + 𝑏( ) + 𝑐 = 0
จากนัน้ แยกตัวประกอบ จับแต่ละวงเล็บเป็ นศูนย์ แล้ วแก้ สมการแต่ละวงเล็บ ก็จะได้ คาตอบ

ตัวอย่าง จงแก้ สมการ 52𝑥 − 6 ∙ 5𝑥 + 5 = 0


วิธีทา ข้ อนี ้ มี 3 พจน์ มาบวกลบกันอยู่ เราจะพยายามจัดรูปให้ เป็ นสมการกาลังสอง เพื่อแยกตัวประกอบ
จะเห็นว่า 52𝑥 = (5𝑥 )2 ดังนัน้ เราจัดรูปให้ เป็ น สมการกาลังสองได้ ดงั นี ้
52𝑥 − 6 ∙ 5𝑥 + 5 = 0
(5𝑥 )2
− 6(5𝑥 ) + 5 = 0 มอง 5𝑥 เป็ นเหมือนตัวแปรตัวใหม่ เป็ น 𝐴2 − 6𝐴 + 5 = 0
(5 − 1)(5𝑥 − 5) = 0
𝑥
(𝐴 − 1)(𝐴 − 5) = 0

5𝑥 − 1 = 0 5𝑥 − 5 = 0
5𝑥 = 1 5𝑥 = 5
5𝑥 = 50 5𝑥 = 51
𝑥 = 0 𝑥 = 1
จะได้ คาตอบของสมการคือ 0 และ 1 #

ตัวอย่าง จงแก้ สมการ 4𝑥+1 + 7 ∙ 2𝑥 = 2


วิธีทา ข้ อนี ้มี 4𝑥 ที่สามารถทาเป็ น (22 )𝑥 แล้ วกลายเป็ น (2𝑥 )2 ได้
แต่ก่อนอื่น เราต้ องแยก 4𝑥+1 ออกเป็ น 4𝑥 ∙ 41 ก่อน ดังนี ้
4𝑥+1 + 7 ∙ 2𝑥 = 2
4𝑥+1 + 7 ∙ 2𝑥 − 2 = 0
4 ∙ 41 + 7 ∙ 2𝑥 − 2
𝑥
= 0
(22 ) 𝑥 ∙ 4 + 7 ∙ 2𝑥 − 2 = 0
(2𝑥 )2 ∙ 4 + 7 ∙ 2𝑥 − 2 = 0
4(2𝑥 )2 + 7(2𝑥 ) − 2 = 0 มอง 2𝑥 เป็ นเหมือนตัวแปรตัวใหม่ เป็ น 4𝐴2 + 7𝐴 − 2 = 0
(4 ∙ 2𝑥 − 1)(2𝑥 + 2) = 0 (4𝐴 − 1)(𝐴 + 2) = 0

4 ∙ 2𝑥 − 1 = 0 2𝑥 + 2 = 0
22 ∙ 2 𝑥 = 1 2𝑥 = −2
2𝑥+2 = 20 (ไม่มีคาตอบ)
𝑥+2 = 0
𝑥 = −2

จะได้ คาตอบของสมการคือ −2 #
28 เลขยกกาลัง

แบบฝึ กหัด
1. จงแก้ สมการต่อไปนี ้
2
1 𝑥 +𝑥 1
1. 2𝑥+2 = 4𝑥−5 2. (2) = 16𝑥+1

5 1
3. 25𝑥 = √5 4. √2 = 4𝑥
+3

1
5. √3𝑥 2 −1 = 9𝑥−1 6. 8−𝑥 = 32

2 2𝑥+5
7. ( 3)

= 1 8. 3𝑥 = 2𝑥
เลขยกกาลัง 29

4𝑥 2 5𝑥+1 95
9. 9𝑥
= √
3
10. 32𝑥
=
252

5𝑥+3 16
11. 2𝑥+2
= 125
12. 22𝑥 − 5 ∙ 2𝑥 + 4 = 0

13. 52𝑥+1 − 26 ∙ 5𝑥 + 5 = 0 14. 2𝑥+1 − 2𝑥 = 64

𝑥
15. 3𝑥 + 3𝑥−1 = 108 16. 22𝑥 + 4𝑥−1 + 643 = 576
30 เลขยกกาลัง

2. ถ้ า 4𝑎 = √2 และ 16−𝑏 = 14 แล้ ว 𝑎 + 𝑏 มีคา่ เท่ากับเท่าใด [O-NET 49/2-2]

3. ถ้ า 64𝑘 = 16 แล้ ว 8𝑘 + 8−𝑘 มีคา่ เท่ากับเท่าใด [O-NET 57/8]

√2
4. ถ้ า 2𝑥−1 =
8
แล้ ว 𝑥 มีคา่ เท่ากับเท่าใด [O-NET 56/7]

4 1
8 16 𝑥
5. ถ้ า (√27) = (81) และ 𝑦 = 3𝑥 แล้ ว 𝑦 เท่ากับเท่าใด [O-NET 54/24]
เลขยกกาลัง 31

4 1
8 16 𝑥
6. ถ้ า (√125) = (625) แล้ ว 𝑥 มีคา่ เท่ากับเท่าใด [O-NET 51/2]

3𝑥
7. ถ้ า (3 + 38) 16
= 81 แล้ ว 𝑥 มีคา่ เท่ากับเท่าใด [O-NET 50/5]

𝑥
8. ถ้ า แล้ ว ผลบวกของสมาชิกทุกตัวใน 𝐴 มีคา่ เท่ากับเท่าใด
2 3
𝐴 = { 𝑥 | 9𝑥 = (1 + √8) } [O-NET 57/7]

𝑥2 24𝑥
9. ค่าของ 𝑥 ที่สอดคล้ องกับสมการ √2 = 44
เท่ากับข้ อใด [O-NET 49/1-13]
32 เลขยกกาลัง

10. ถ้ า 𝑥 และ 𝑦 เป็ นจานวนจริ งซึง่ 2𝑥 = 16 และ แล้ ว


2
−3 ≤ 𝑦 ≤ 𝑥
ค่าที่มากที่สดุ ที่เป็ นไปได้ ของ 𝑥𝑦 เท่ากับเท่าใด [O-NET 58/35]

(16)4
11. ถ้ า 𝑥 เป็ นจานวนจริ งบวกที่สอดคล้ องกับสมการ (4𝑥 )2𝑥−1 =
22𝑥
แล้ ว 𝑥 มีคา่ เท่ากับเท่าใด
[O-NET 59/35]

12. ถ้ า 8𝑥 − 8𝑥+1 + 8𝑥+2 = 228 แล้ ว 𝑥 มีคา่ เท่ากับเท่าใด [O-NET 50/21]


เลขยกกาลัง 33

อสมการเลขชี ้กาลัง

คราวนี ้เป็ น “อ” สมการ นัน่ คือ ในสมการจะมีเครื่ องหมายอื่นๆที่ไม่ใช่ = ซึง่ ได้ แก่ > , < , ≥ , ≤,≠
วิธีทายังคล้ ายๆเดิม คือ ต้ องจัดรูปสมการให้ “ฐานเท่ากัน” แล้ วฉุดเลขชี ้กาลังลงมาคิด

และเนื่องจาก ในหัวข้ อก่อนหน้ า จะเห็นว่า ถ้ า “ฐานน้ อยกว่า 1” ยิ่งยกกาลังมาก กลับจะยิง่ ได้ คา่ น้ อย
ดังนัน้ ตอนฉุดเลขชี ้กาลังลงมา ถ้ า ฐานน้ อยกว่า 1 ต้ องเปลีย่ น “มากกว่า” เป็ น “น้ อยกว่า”
“น้ อยกว่า” เป็ น “มากกว่า” ด้ วย

𝑥+1 3
ตัวอย่าง จงแก้ อสมการ (12) ≤ (12)
วิธีทา ข้ อนี ้ ฐานคือ 12 ซึง่ น้ อยกว่า 1 ดังนัน้ ตอนดึงเลขชี ้กาลังลงมา ต้ องกลับเครื่ องหมาย ≤ เป็ น ≥
1 𝑥+1 1 3
( )
2
≤ ( )
2
ฐาน คือ 12 ซึง่ น้ อยกว่า 1 ดังนันตอนฉุ
้ ดกาลัง
𝑥+1 ≥ 3 ลงมา ต้ องเปลี่ยนน้ อยกว่าเป็ นมากกว่า
𝑥 ≥ 2

ดังนัน้ คาตอบของอสมการนี ้ คือ [2,∞) #

𝑥−4 3𝑥
ตัวอย่าง จงแก้ อสมการ (√3) > (√3)
วิธีทา ข้ อนี ้ ฐานคือ √3 ซึง่ มีคา่ ประมาณ 1.732 ซึง่ มากกว่า 1
ดังนัน้ ตอนดึงเลขชี ้กาลังลงมา ไม่ต้องกลับเครื่ องหมาย
𝑥−4 3𝑥
(√3) > (√3) ฐาน คือ √3 ซึง่ มากกว่า 1 ดังนันตอนฉุ
้ ด
𝑥−4 > 3𝑥
−4 > 2𝑥 กาลังลงมา ไม่ต้องเปลี่ยนเครื่องหมาย
−2 > 𝑥

ดังนัน้ คาตอบของอสมการนี ้ คือ (−∞, −2) #

2
3 4−𝑥 2 3𝑥
ตัวอย่าง จงแก้ อสมการ (2) < (3)
3 2 −1
วิธีทา ข้ อนี ้ ต้ องทาฐานทัง้ 2 ข้ างให้ เท่ากันก่อน จะเห็นว่า 2
ก็คือ (3) นัน่ เอง
2
3 4−𝑥 2 3𝑥 (−1)(4 − 𝑥 2 ) > 3𝑥
( ) < ( )
2 3
−4 + 𝑥 2 > 3𝑥
4−𝑥 2 2
2 −1 2 3𝑥 𝑥 − 3𝑥 − 4 > 0
(( ) ) < ( )
3 3 (𝑥 − 4)(𝑥 + 1) > 0
2
2 (−1)(4−𝑥 ) 2 3𝑥
( ) < ( ) + − +
3 3
(−1)(4 − 𝑥 2)
> 3𝑥 −1 4

ดังนัน้ คาตอบของอสมการนี ้ คือ (−∞, −1) ∪ (4, ∞) #


34 เลขยกกาลัง

แบบฝึ กหัด
1. จงแก้ อสมการต่อไปนี ้
1. 2𝑥 < 4 2. 32𝑥+1 > √3

2𝑥+3 5
1 𝑥 1 𝑎2 𝑎2
3. (2) ≥ 16
4. (𝑎2 +1) ≤ (𝑎2 +1)

1 2𝑥 1 3−𝑥
5. ( )
9
< 3𝑥−1 6. ( )
8
≥ 45𝑥−1

7. 8.
2 +𝑥 2
3𝑥 > 93𝑥−3 0.8 < (0.8)𝑥

1
9. 10.
2 +3𝑥
(0.09)𝑥 > (0.3)𝑥+3 2𝑥−2 ≥ 2
4 𝑥 +𝑥
เลขยกกาลัง 35

2. ข้ อใดต่อไปนี ้ ผิด [O-NET 50/23]


1. √0.9 + 10 < √0.9 + √10 2. 4
(√0.9)(√0.9) < 0.9
3. (√0.9)(√1.1 3 3
) < (√1.1)(√0.9) 4. 300
√125 <
200
√100

1
3. จงหาเซตคาตอบของอสมการ
2 −4𝑥−5
42𝑥 ≤ 32
[O-NET 50/28]
36 เลขยกกาลัง

รากที่ 𝑛

1. 1. 8 , −8 2. 1 3. ไม่มี 4. −1
5. 5 , −5 6. 1 , −1 7. −1 8. ไม่มี
9. 4 , −4 10. 2 11. ไม่มี 12. −2
2. 27

ค่าหลักรากที่ 𝑛

1. 1, 5, 6
2. 1. 3 2. 6 3. −3 4. −6√2
3

5. 42 6. 15√3
3
7. 17 8. |𝑎5 |𝑏 2
2𝑥 2 |𝑦 3 | 2𝑥
9. |𝑧 3 |

𝑧
10. 𝑥
3. 1, 2 4. 0

การ บวก ลบ คูณ หาร รูท

4√3
1. 1. 8√5 2. √3 3. 2√2 4. 3
11√2
5. 2
6. 0
2. 1. 2√3 2. 12 3. 3 4. −6
5. 6
√108 6. √15 7. 10
√288 8. 2 + √6 − √2 − √3
9. −1 10. 3 − 2√2 11. 4 − 2√3 12. 30 + 12√6
5√3 √2
3. 1. √5 + √3 2. 6
3. 2
4. √3 − 1
1
5. 6
6. √2 7. 7 − 4√3 8. 3√6 − 6
3+2√3−√21
9. 6 10. 3
4. 1. 2.121 2. 6.928 3. 2.121 4. 4.236
5. 10 6. 200 7. −10 8. 4
9. 0.3 10. 2 11. 94 12. 4
13. 98 14. 4 15. −32

รูทสองของจานวนที่ตดิ รูท

1. 1. √10 + √3 2. √5 − 1 3. √5 − 2 4. 2√2 − √5
√14−√10
5. ±(√6 − √2) 6. ±(√7 + 1) 7. 2 − √3 8. 2
√6−√2 √18+√6
9. ±(
2
) 10. ±(
2
)
เลขยกกาลัง 37

11. √2 − 1
4
√17 − 12√2 = √√17 − 12√2

= √√17 − 2√72
= √ √9 − √8
= √ 3 − 2√2
= √2 − √1
= √2 − 1

√6+√2
12. ±(
2
)
2. 9 + √3 3. 2

เลขยกกาลัง

1. 3
2. 1. < 2. > 3. > 4. <
5. > 6. < 7. > 8. >
9. > 10. < 11. < 12. >
3. 1. √3 2. 20 3. 108 4. 625
5 10
5. −2 6. 5 6 7. 3 3 8. 4√2
8𝑏𝑐 2 4
9. 𝑎3 𝑏 4 10 𝑥
11. 30 12. 3
13. 14
13
4. 3 5. 2 6. − 24 7. 3
8. 3 9. 2 10. 5 11. 3
12. 3 13. 𝐶<𝐵<𝐴 14. 𝐵<𝐶<𝐴

สมการเลขชี ้กาลัง
1 4
1. 1. 12 2. −1 , 4 3. 4
4. −7
5 5
5. 1 , 3 6. 3
7. −2 8. 0
9. 14 10. −5 11. −6 12. 0,2
13. 1, −1 14. 6 15. 4 16. 4
17 3
2. 0.75 3. 4
4. −2 5. 2
6. 23 7. 4
−9 8. 0.5 9. 4
2
10. 6 11. 2 12. 3
38 เลขยกกาลัง

อสมการเลขชี ้กาลัง
1
1. 1. 𝑥<2 2. 𝑥 > −4 3. 𝑥≤4 4. 𝑥≥1
1
5. 𝑥> 5
6. 𝑥 ≤ −1 7. 𝑥 ∈ (−∞, 2) ∪ (3, ∞)
1 1
8. 𝑥 ∈ (−1 ,1) 9. 𝑥∈ (−3 , )
2
10. 𝑥 ∈ (−∞, −2] ∪ [ , ∞)
2
1 5
2. 2 3. [− 2 , 2
]

ขอบคุณ คุณครูเบิร์ด จาก กวดวิชาคณิตศาสตร์ ครูเบิร์ด ย่านบางแค 081-8285490 ทีช่ ่วยตรวจสอบความถูกต้ องของ
เอกสารครับ

You might also like