You are on page 1of 311

ชุดกิจกรรมการเรียนการสอน เรือ่ งกาหนดการเชิงเส้น โดยใช้โปรแกรม C.a.R.

และโปรแกรม Euler
สาหรับนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 3


วโิ ร
นิทร
คร
ปริญญานิพนธ์
นี
ศร

it y
ของ
ers
ลยั
ยา

n iv
เกตุกนก หนูดี
tU
วทิ
หา

ir o
งม

nw
ลา

ari
ดุ ก

a kh
สม

rin
หอ

yS
rar
นกั

L ib
สาํ

al
n tr
Ce

เสนอต่อบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ เพื่อเป็นส่ วนหนึ่งของการศึกษา


ตามหลักสูตรปริญญาการศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาคณิตศาสตร์
พฤษภาคม 2553
ชุดกิจกรรมการเรียนการสอน เรือ่ งกาหนดการเชิงเส้น โดยใช้โปรแกรม C.a.R. และโปรแกรม Euler
สาหรับนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 3


วโิ ร
ทร
นิ
คร
ปริญญานิพนธ์
นี
ศร

it y
ของ
ers
ลยั
ยา

n iv
เกตุกนก หนูดี
tU
วทิ
หา

ir o
งม

nw
ลา

ari
ดุ ก

a kh
สม

rin
หอ

yS
rar
นกั

L ib
สาํ

al
n tr
Ce

เสนอต่อบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ เพื่อเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษา


ตามหลักสูตรปริญญาการศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาคณิตศาสตร์
พฤษภาคม 2553
ลิขสิทธิ ์เป็ นของมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
ชุดกิจกรรมการเรียนการสอน เรือ่ งกาหนดการเชิงเส้นโดยใช้โปรแกรม C.a.R. และโปรแกรม Euler
สาหรับนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 3


วโิ ร
ทร
นิ
คร
บทคัดย่อ
นี
ศร

it y
ของ
ers
ลยั
ยา

n iv
เกตุกนก หนูดี
tU
วทิ
หา

ir o
งม

nw
ลา

ari
ดุ ก

a kh
สม

rin
หอ

yS
rar
นกั

L ib
สาํ

al
n tr
Ce

เสนอต่อบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ เพื่อเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษา


ตามหลักสูตรปริญญาการศึก ษามหาบัณฑิต สาขาวิชาคณิตศาสตร์
พฤษภาคม 2553
เกตุกนก หนูด.ี (2553). ชุดกิจกรรมการเรียนการสอนเรือ่ งกาหนดการเชิงเส้น โดยใช้โปรแกรม
C.a.R. และโปรแกรม Euler สาหรับนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปีที ่ 3. ปริญญานิพนธ์
กศ.ม. (คณิตศาสตร์). กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
คณะกรรมการควบคุม: อาจารย์ ดร.สายัณห์ โสธะโร, อาจารย์ธนูชยั ภูอุดม,
ผูช้ ่วยศาสตราจารย์รวีวรรณ งามสันติกุล.

การวิจยั ครัง้ นี้มจี ดุ มุง่ หมาย 1) เพื่อศึกษาผลสัมฤทธิ ์ทางการเรียนเรือ่ งกาหนดการเชิงเส้น


และ 2) เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนทีม่ ตี ่อเนื้อหากาหนดการเชิงเส้น และการจัดกิจกรรม
การเรียนรูโ้ ดยใช้โปรแกรม C.a.R. และโปรแกรม Euler
กลุ่มตัวอย่างทีใ่ ช้ในการวิจยั ครัง้ นี้ เป็นนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 3 โรงเรียนบ้านนาสาร
อาเภอบ้านนาสาร จังหวัดสุราษฏร์ธานี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2552 โดยการสุ่มตัวอย่างแบบ


วโิ ร
เกาะกลุ่มจานวน 41 คน ผูว้ จิ ยั ดาเนินการสอนด้วยชุดกิจกรรมการเรียนการสอนเรือ่ งกาหนดการ

ทร
เชิงเส้นโดยใช้โปรแกรม C.a.R. และโปรแกรม Euler ทีผ่ วู้ จิ ยั สร้างขึน้ ผูว้ จิ ยั ทาการทดลองทัง้ หมด
คร
นิ
14 คาบ ในห้องคอมพิวเตอร์และประเมินผลการเรียนรูเ้ รือ่ งกาหนดการเชิงเส้นของนักเรียนกลุ่ม
นี
ศร

it y
ตัวอย่างจากคะแนนใบกิจกรรม และคะแนนแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ ์ทางการเรียนเรือ่ งกาหนด
ers
ลยั
ยา

n iv
การเชิงเส้น นอกจากนี้ผวู้ จิ ยั ให้นกั เรียนกลุ่มตัวอย่างตอบแบบสอบถามวัด ความพึงพอใจทีม่ ตี ่อ
tU
วทิ

เนื้อหากาหนดการเชิงเส้น และการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้โปรแกรม C.a.R. และโปรแกรม


หา

ir o
งม

nw

Euler
ลา

ari

ผลการวิจยั พบว่า นักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 3 ทีเ่ รียนด้วยชุดกิจกรรมการเรียนการสอน


ดุ ก

a kh
สม

rin

เรือ่ งกาหนดการเชิงเส้นโดยใช้โปรแกรม C.a.R. และโปรแกรม Euler สามารถสอบผ่านเกณฑ์ได้


หอ

yS

มากกว่าร้อยละ 60 ของจานวนนักเรียนทัง้ หมด ทีร่ ะดับนัยสาคัญ .05 ดังนัน้ จึงสรุปได้ว่า นักเรียน


rar
นกั

ชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 3 มีความสามารถในการเรียนเรือ่ งกาหนดการเชิงเส้น ด้วยชุดกิจกรรมการเรียน


L ib
สาํ

al

การสอนเรือ่ งกาหนดการเชิงเส้น โดยใช้โปรแกรม C.a.R. และโปรแกรม Euler ทีผ่ วู้ จิ ยั สร้างขึน้


n tr

และนักเรียนกลุ่มตัวอย่างมีความพึงพอใจต่อเนื้อหากาหนดการเชิงเส้น และการจัดกิจกรรมการ
Ce

เรียนรูโ้ ดยใช้โปรแกรม C.a.R. และโปรแกรม Euler ในระดับมาก


INSTRUCTIONAL ACTIVITY PACKAGE ON LINEAR PROGRAMMING
BY USING C.a.R. PROGRAM AND EULER PROGRAM
FOR MATHAYOMSUKSA III STUDENTS


วโิ ร
ทร
นิ
คร
AN ABSTRACT
นี
ศร

it y
BY
ers
ลยั
ยา

n iv
KADKANOK NUDEE
tU
วทิ
หา

ir o
งม

nw
ลา

ari
ดุ ก

a kh
สม

rin
หอ

yS
rar
นกั

L ib
สาํ

al
n tr
Ce

Presented in Partial Fulfillment of Requirement for the


Master of Education Degree in Mathematics
at Srinakharinwirot University
May 2010
Kadkanok Nudee. (2010). Instructional Activity Package on Linear Programming by Using
C.a.R. Program and Euler Program for Mathayomsuksa III Students. Master
Thesis, M.Ed. (Mathematics). Bangkok: Graduate School, Srinakharinwirot
University. Advisor Committee: Dr. Sayun Sotaro, Mr. Thanuchai Pooudom,
Assist. Prof. Raweewan Ngamsuntikul.

The purpose of this research were 1) to study the students’ achievement on linear
programming and 2) to evaluate students’ attitude toward linear programming and
instructional activities by using C.a.R. Program and Euler Program after learning through
instructional activity package created by the researcher
The study was conducted during the second semester of the 2009 academic year


วโิ ร
with Mathyomsuksa III students at Bannasan School in Suratthani. The experiment group

ทร
of 41 students was using cluster sampling approach. The researcher taught them a total
คร
นิ
of 14 periods in a computer laboratory. Work sheets and achievement test were used in
นี
ศร

it y
assessment of the students’ performance. Moreover, the subjects were asked to complete
ers
ลยั
ยา

n iv
a questionnaire involving their attitude toward toward linear programming and instructional
tU
วทิ

activities by using C.a.R. Program and Euler Program and Euler Program.
หา

ir o
งม

nw

An analysis of the data, with at .05 level of significance, revealed that more than
ลา

ari

60% of the subjects performed better than 60% of the total score. This shows that the
ดุ ก

a kh
สม

rin

Mathayomsuksa III students have ability to learn on linear programming by using


หอ

yS

instructional activity package created by the researcher. In addition, the results of the
rar
นกั

questionnaire indicated that they have positive attitude linear programming and instructional
L ib
สาํ

al

activities by using C.a.R. Program and Euler Program at a high level.


n tr
Ce
ปริญญานิพนธ์
เรือ่ ง
ชุดกิจกรรมการเรียนการสอนเรือ่ งกาหนดการเชิงเส้น โดยใช้โปรแกรม C.a.R. และโปรแกรม Euler
สาหรับนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 3
ของ
เกตุกนก หนูดี

ได้รบั อนุมตั จิ ากบัณฑิตวิทยาลัยให้นบั เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตร


ปริญญาการศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาคณิตศาสตร์
ของมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ


วโิ ร
.................................................................. คณบดีบณ
ั ฑิตวิทยาลัย

ทร
(รองศาสตราจารย์ ดร.สมชาย สันติวฒ คร
นิ ั นกุล)
วันที่ ……. เดือน …………………… พ.ศ. 2553
นี
ศร

it y
ers
ลยั
ยา

n iv
คณะกรรมการควบคุมปริญญานิพนธ์ คณะกรรมการสอบปากเปล่า
tU
วทิ
หา

ir o
งม

nw

............................................... ประธาน ………………………………… ประธาน


ลา

ari

(อาจารย์ ดร.สายัณห์ โสธะโร) (รองศาสตราจารย์อุษาวดี จันทรสนธิ)


ดุ ก

a kh
สม

rin
หอ

yS

............................................... กรรมการ ………………………………… กรรมการ


rar
นกั

(อาจารย์ธนูชยั ภูอุดม) (อาจารย์ ดร.พิศุทธวรรณ ศรีภริ มย์)


L ib
สาํ

al

............................................... กรรมการ ………………………………… กรรมการ


n tr
Ce

(ผูช้ ่วยศาสตราจารย์รวีวรรณ งามสันติกุล) (อาจารย์ ดร.สายัณห์ โสธะโร)

.............................................. กรรมการ
(อาจารย์ธนูชยั ภูอุดม)

............................................... กรรมการ

(ผูช้ ่วยศาสตราจารย์รวีวรรณ งามสันติกุล)


สาํ
นกั
หอ
Ce สม
n tr ดุ ก
al ลา
L ib งม
rar หา
yS วทิ
rin ยา

จาก
a kh ลยั
ศร
ari
nw นี คร
ir o นิ ทร
tU วโิ ร
n iv ฒ
งานวิ จยั นี้ ได้รบั ทุนสนับสนุนการวิ จยั
ers
it y
คณะวิ ทยาศาสตร์ มหาวิ ทยาลัยศรีนคริ นทรวิ โรฒ
ประกาศคุณูปการ

ปริญญานิพนธ์เล่มนี้สาเร็จได้ดว้ ยดี เป็นเพราะได้รบั ความกรุณาและความช่วยเหลืออย่าง


ดียงิ่ จาก ดร.สายัณห์ โสธะโร ประธานกรรมการควบคุมปริญญานิพนธ์ อาจารย์ธนูชยั ภูอุดมและ
ผูช้ ่วยศาสตราจารย์รวีวรรณ งามสันติกุล กรรมการควบคุมปริญญานิพนธ์ โดยท่านได้เสียสละเวลา
อันมีค่าเพื่อให้คาปรึกษาและข้อเสนอแนะต่างๆ ทีเ่ ป็นประโยชน์ต่อการวิจยั ตลอดจนตรวจ แก้ไข
ปริญญานิพนธ์เล่มนี้อย่างละเอียดมาโดยตลอด ผูว้ จิ ยั รูส้ กึ ซาบซึง้ และกราบขอบพระคุณ อาจารย์ทงั ้
สามท่านเป็นอย่างสูงไว้ ณ โอกาสนี้
ขอกราบขอบพระคุณ อาจารย์เมตต์ แย้มวงษ์ อาจารย์กาญจนา พานิชการ และ
อาจารย์ธนูชยั ภูอุดม ทีช่ ่วยกรุณาเป็นผูเ้ ชีย่ วชาญในการตรวจสอบเครือ่ งมือในการวิจยั ได้แก่


ชุดกิจกรรมการเรียนการสอนเรือ่ งกาหนดการเชิงเส้นโดยใช้โปรแกรม C.a.R. และโปรแกรม Euler

วโิ ร
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ ์ทางการเรียน และแบบสอบถามวัดความพึงพอใจ อีกทัง้ ให้ขอ้ เสนอแนะ
ทร
อันเป็นประโยชน์ต่อผูว้ จิ ยั ส่งผลให้ปริญญานิพนธ์เล่มนี้สมบูรณ์ยงิ่ ขึน้
นิ
คร
ขอกราบขอบพระคุณ รองศาสตราจารย์อุษาวดี จันทรสนธิ ทีใ่ ห้ความกรุณาเป็นประธาน
นี
ศร

it y
ers
คณะกรรมการสอบปากเปล่า และอาจารย์ ดร.พิศุทธวรรณ ศรีภริ มย์ ทีไ่ ด้ให้ความกรุณาเป็น
ลยั
ยา

n iv
กรรมการสอบปากเปล่า ทาให้ปริญญานิพนธ์เล่มนี้มคี วามถูกต้องสมบู รณ์มากยิง่ ขึน้
tU
วทิ
หา

ir o

ขอกราบขอบพระคุณ ผูอ้ านวยการ คณะครูโรงเรียนบ้านนาสาร ทีไ่ ด้ให้ความสะดวกต่างๆ


งม

nw

ในระหว่างดาเนินการวิจยั และเก็บรวบรวมข้อมูล และขอขอบใจนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 3


ลา

ari
ดุ ก

a kh

โรงเรียนบ้านนาสาร ทีไ่ ด้ให้ความร่วมมือในการวิจยั ด้วยดี


สม

rin

ขอกราบขอบพระคุณ ผูอ้ านวยการ คณะครูโรงเรียนบ้านควนใหม่ ทีไ่ ด้ให้ความสะดวก


หอ

yS

ต่างๆ สาหรับการนาร่องเพื่อพัฒนาเครือ่ งมือ และขอขอบใจนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 3


rar
นกั

L ib
สาํ

โรงเรียนบ้านควนใหม่ ทีไ่ ด้ให้ความร่วมมือในการวิจยั ด้วยดี


al

ขอกราบขอบพระคุณ บิดา มารดา และบุคคลในครอบครัว รวมทัง้ ญาติมติ รทุกท่านทีไ่ ด้ให้


n tr
Ce

กาลังใจและกาลังทรัพย์ สนับสนุนการศึกษาของผูว้ จิ ยั ด้วยดีตลอดมา


ขอขอบคุณ พีน่ ิสติ ปริญญาโทและปริญญาเอก สาขาคณิตศาสตร์ทุกคนทีใ่ ห้คาแนะนาและ
กาลังใจด้วยดีตลอดระยะเวลาในการทาวิจยั
คุณค่าและประโยชน์ของปริญญานิพนธ์เล่มนี้ ขอมอบเป็นเครือ่ งบูชา พระคุณบิด ามารดา
และครู อาจารย์ทุกท่านทีไ่ ด้อบรมสังสอนประสิ
่ ทธิ ์ประสาทความรูท้ งั ้ ปวงแก่ผวู้ จิ ยั

เกตุกนก หนูดี
สารบัญ

บทที่ หน้ า
1 บทนา ................................................................................................................ 1
ภูมหิ ลัง.............................................................................................................. 1
จุดมุง่ หมายของการวิจยั .................................................................................... 5
ความสาคัญของการวิจยั ……............................................................................ 6
ขอบเขตของการวิจยั …..................................................................................... 6
สมมติฐานของการวิจยั ……...........…………………………………………….….. 8


2 เอกสารและงานวิ จยั ที่เกี่ยวข้อง…………….………………….……………….…. 9

วโิ ร
ทร
เอกสารและงานวิจยั ทีเ่ กีย่ วข้องกับกาหนดการเชิงเส้น ........................................ 10
นิ
คร
ประวัตคิ วามเป็นมาของกาหนดการเชิงเส้น ................................................. 10
นี
ศร

ความหมายของกาหนดการเชิงเส้น ............................................................. 11

it y
ers
ลยั

การประยุกต์เกีย่ วกับกาหนดการเชิงเส้น ..................................................... 12


ยา

n iv
งานวิจยั ทีเ่ กีย่ วข้องกับกาหนดการเชิงเส้น ................................................... 14
tU
วทิ
หา

ir o

เอกสารและงานวิจยั ทีเ่ กีย่ วข้องกับโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ................................... 19


งม

nw

เอกสารและงานวิจยั ทีเ่ กีย่ วข้องกับโปรแกรมเรขาคณิตแบบพลวัตร .............. 19


ลา

ari
ดุ ก

a kh

เอกสารและงานวิจยั ทีเ่ กีย่ วข้องกับโปรแกรมระบบพีชคณิต .......................... 24


สม

rin

ลักษณะของโปรแกรม C.a.R. และโปรแกรม Euler ...................................... 31


หอ

yS
rar

เอกสารและงานวิจยั ทีเ่ กีย่ วข้องกับชุดกิจกรรมการเรียนการสอน ........................ 33


นกั

L ib
สาํ

ความหมายของชุดกิจกรรมการเรียนการสอน .............................................. 33
al
n tr

ประเภทของชุดกิจกรรมการเรียนการสอน ................................................... 33
Ce

องค์ประกอบของชุดกิจกรรมการเรียนการสอน ............................................ 35
ขัน้ ตอนการสร้างชุดกิจกรรมการเรียนการสอน ............................................ 37
งานวิจยั ทีเ่ กีย่ วข้องกับชุดกิจกรรมการเรียนการสอน .................................... 39
แนวคิดเกีย่ วกับการสร้างชุดกิจกรรมโดยใช้โปรแกรม C.a.R. และ
โปรแกรม Euler ………………………………………………………….... 42
เอกสารและงานวิจยั ทีเ่ กีย่ วข้องกับความพึงพอใจ ………………………………… 43
ความหมายของความพึงพอใจ ………………………………………………… 43
ทฤษฎีทเ่ี กีย่ วกับความพึงพอใจ ……………………………………………….. 43
งานวิจยั ทีเ่ กีย่ วข้องกับความพึงพอใจ …………………………………………. 45
สารบัญ (ต่อ)

บทที่ หน้ า
2 (ต่อ)
งานวิจยั ทีเ่ กีย่ วข้องกับการนาเนื้อหาคณิตศาสตร์ในระดับสูงกว่ามาสอน
ในระดับต่ากว่า............................................................................................ 48

3 วิ ธีดาเนิ นการวิ จยั ............................................................................................. 52


การกาหนดประชากรและการเลือกกลุ่มตัวอย่าง ................................................. 52
การสร้างเครือ่ งมือทีใ่ ช้ในการวิจยั ...................................................................... 52


การเก็บรวบรวมข้อมูล ...................................................................................... 62

วโิ ร
ทร
การจัดกระทาข้อมูลและการวิเคราะห์ขอ้ มูล ........................................................ 62
นิ
นี คร
ศร

4 ผลการวิ เคราะห์ข้อมูล ..................................................................................... 65

it y
ers
ลยั
ยา

n iv
tU

5 สรุปผล อภิ ปรายผล และข้อเสนอแนะ ............................................................. 73


วทิ
หา

ir o

จุดมุง่ หมายของการวิจยั สมมติฐานของการวิจยั


งม

nw
ลา

ari

และวิธดี าเนินการวิจยั .............................................................................. 73


ดุ ก

a kh

จุดมุง่ หมายของการวิจยั ........................................................................... 73


สม

rin
หอ

สมมติฐานของการวิจยั ............................................................................. 73
yS
rar
นกั

วิธดี าเนินการวิจยั .................................................................................... 73


L ib
สาํ

กลุ่มตัวอย่างทีใ่ ช้ในการวิจยั ............................................................... 73


al
n tr

เครือ่ งมือทีใ่ ช้ในการวิจยั ..................................................................... 73


Ce

การเก็บรวบรวมข้อมูล ........................................................................ 74
การวิเคราะห์ขอ้ มูล ............................................................................. 74
สรุปผลการวิจยั ................................................................................ ................. 75
อภิปรายผล ....................................................................................................... 76
ข้อสังเกตทีไ่ ด้จากการวิจยั …………………………………………..……………… 77
ข้อเสนอแนะ ..................................................................................................... 78

บรรณานุกรม .............................................................................................................. 79
สารบัญ (ต่อ)

บทที่ หน้ า
ภาคผนวก .................................................................................................................... 89
ภาคผนวก ก คุณภาพเครือ่ งมือทีใ่ ช้ในการวิจยั ....................................................... 90
ภาคผนวก ข คู่มอื การใช้ชุดกิจกรรมการเรียนการสอน ............................................ 101
ภาคผนวก ค แผนการจัดการเรียนรูเ้ รือ่ งกาหนดการเชิงเส้น
โดยใช้โปรแกรม C.a.R. และโปรแกรม Euler..................................................... 136
ภาคผนวก ง ตัวอย่างชุดกิจกรรมการเรียนการสอนเรือ่ งกาหนดการเชิงเส้น
โดยใช้โปรแกรม C.a.R. และโปรแกรม Euler สาหรับนักเรียน


ชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 3 ....................................................................................... 164

วโิ ร
ทร
ภาคผนวก จ แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ ์ทางการเรียน
เรือ่ งกาหนดการเชิงเส้น …………………………………………………..………. 278 นิ
นี คร
ภาคผนวก ฉ แบบสอบถามวัดความพึงพอใจทีม่ เี นื้อหากาหนดการเชิงเส้น
ศร

it y
ers
ลยั

และการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ โดยใช้โปรแกรม C.a.R. และโปรแกรม Euler


ยา

n iv
สาหรับนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 3 …………………………………..………… 288
tU
วทิ
หา

ir o

ภาคผนวก ช รายนามผูเ้ ชี่ยวชาญ .......................................................................... 293


งม

nw
ลา

ari
ดุ ก

a kh

ประวัติย่อผูว้ ิ จยั .......................................................................................................... 295


สม

rin
หอ

yS
rar
นกั

L ib
สาํ

al
n tr
Ce
บัญชีตาราง

ตาราง หน้ า
1 ลักษณะของโปรแกรม C.a.R. และโปรแกรม Euler ............................................. 31
2 เกณฑ์การตรวจให้คะแนนของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ ์ทางการเรียน
แบบอัตนัยเรือ่ งกาหนดการเชิงเส้น ……………................................................ 58
3 เกณฑ์การประเมินความพึงพอใจของนักเรียนทีม่ ตี ่อเนื้อหากาหนดการเชิงเส้น
และการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ โดยใช้โปรแกรม C.a.R. และโปรแกรม Euler ...... 63
4 ค่าเฉลีย่ เลขคณิต ส่วนเบีย่ งเบนมาตรฐานของคะแนนจากการทาใบกิจกรรม
เรือ่ งกาหนดการเชิงเส้นของนักเรียนกลุ่มตัวอย่างชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 3 ............. 66


5 ค่าเฉลีย่ เลขคณิต ส่วนเบีย่ งเบนมาตรฐาน ของคะแนนจากแบบทดสอบ

วโิ ร
วัดผลสัมฤทธิ ์ทางการเรียนเรือ่ งกาหนดการเชิงเส้นของนักเรียนกลุ่มตัวอย่า ง
ทร
ชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 3 ..................................................................................... 67
นิ
คร
6 ค่าเฉลีย่ เลขคณิต ส่วนเบีย่ งเบนมาตรฐาน คะแนนผลสัมฤทธิ ์ทางการเรียน
นี
ศร

it y
ers
ลยั

เรือ่ งกาหนดการเชิงเส้น ของนักเรียนกลุ่มตัวอย่างชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 3 ………. 68


ยา

n iv
7 ค่าร้อยละของจานวนนักเรียนกลุ่มตัวอย่างทีไ่ ด้ค ะแนนผลสัมฤทธิ ์ทางการเรียน
tU
วทิ
หา

ir o

เรือ่ งกาหนดการเชิงเส้นตัง้ แต่รอ้ ยละ 60 ขึน้ ไปของคะแนนเต็ม ……………....... 68


งม

nw

8 การทดสอบสมมติฐานทีว่ ่า นักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 6 หลังจากเรียนด้วย


ลา

ari
ดุ ก

a kh

ชุดกิจกรรมการเรียนการสอนเรือ่ งกาหนดการเชิงเส้น โดยใช้โปรแกรม C.a.R.


สม

rin

และโปรแกรม Euler ทีม่ ผี ลสัมฤทธิ ์ทางการเรียน เรือ่ งกาหนดการเชิงเส้น


หอ

yS

ผ่านเกณฑ์มากกว่าร้อยละ 60 ขึน้ ไป ของจานวนนักเรียนทัง้ หมด ............…….. 69


rar
นกั

L ib
สาํ

9 ค่าเฉลีย่ เลขคณิต ส่วนเบีย่ งเบนมาตรฐานและระดับความพึงพอใจของนักเรียน


al

ทีม่ ตี ่อเนื้อหากาหนดการเชิงเส้น และการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ โดยใช้


n tr
Ce

โปรแกรม C.a.R. และโปรแกรม Euler …………………..………..……….….... 70


10 ค่าดัชนีความสอดคล้องของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ ์ทางการเรียนเรือ่ ง
กาหนดการเชิงเส้น สาหรับนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 3 ………………............ 91
11 ค่าความยากง่าย (P), ค่าอานาจจาแนก (r) ของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ ์
ทางการเรียนเรื่องกาหนดการเชิงเส้นด้วยวิธกี ราฟ สาหรับนักเรียน
ชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 3 ทีค่ ดั เลือกไว้จากการพิจารณา ค่า IOC และทีน่ าไปใช้
กับกลุ่มนาร่อง ................................................................................................ 93
บัญชีตาราง (ต่อ)

ตาราง หน้ า
12 ค่าความยากง่าย (P), ค่าอานาจจาแนก (r) และค่าความเชื่อมัน่ ของแบบทดสอบ
วัดผลสัมฤทธิ ์ทางการเรียน เรือ่ งกาหนดการเชิงเส้น สาหรับนักเรียน
ชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 3 …………………………………………………………….... 94
13 ค่าเฉลีย่ เลขคณิต ส่วนเบีย่ งเบนมาตรฐานของแบบสอบถามของนักเรียน
ทีม่ ตี ่อเนื้อหากาหนดการเชิงเส้น และการจัดกิจกรรมการเรียนรูโ้ ดยใช้
โปรแกรม C.a.R. และโปรแกรม Euler และค่าความเชื่อมันของแบบสอบถาม ่
ของนักเรียนกลุ่มนาร่อง ................................................................................... 97


14 ค่าเฉลีย่ เลขคณิต ส่วนเบีย่ งเบนมาตรฐานของแบบสอบถามของนักเรียน

วโิ ร
ทีม่ ตี ่อเนื้อหากาหนดการเชิงเส้น และการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ โดยใช้
โปรแกรม C.a.R. และโปรแกรม Euler และค่าความเชื่อมันของแบบสอบถาม
นิ ทร ่
คร
ของนักเรียนกลุ่มตัวอย่าง ................................................................................. 99
นี
ศร

it y
ers
ลยั
ยา

n iv
tU
วทิ
หา

ir o
งม

nw
ลา

ari
ดุ ก

a kh
สม

rin
หอ

yS
rar
นกั

L ib
สาํ

al
n tr
Ce
บัญชีภาพประกอบ

ภาพประกอบ หน้ า
1 เมนูหลัก ............................................................................................... ............ 55
2 สารบัญย่อย....................................................................................................... 56
3 ตัวอย่างกิจกรรมการสารวจผลเฉลยทีเ่ หมาะสมทีส่ ุด ........................................... 56


วโิ ร
นิ ทร
นี คร
ศร

it y
ers
ลยั
ยา

n iv
tU
วทิ
หา

ir o
งม

nw
ลา

ari
ดุ ก

a kh
สม

rin
หอ

yS
rar
นกั

L ib
สาํ

al
n tr
Ce
บทที่ 1
บทนา

ภูมิหลัง
ในปจั จุบนั โลกกาลังประสบกับปญั หาเศรษฐกิจตกต่า ส่งผลให้ชวี ติ ความเป็นอยูข่ อง
ประชาชนในแต่ละประเทศมีความเดือดร้อนเพิม่ ขึน้ และยังส่งผลกระทบโดยตรงต่อวงการธุรกิจ
และอุตสาหกรรมเป็นอย่างมาก จนทาให้บริษทั หลายแห่งจาต้องปิดกิจการลง และบริษทั จานวนมาก
ต้องลดเวลาการทางานของพนักงานลงหรือลดอัตราการจ้างงาน จากปญั หาทีเ่ กิดขึน้ ย่อมทาให้เกิด
ปญั หาทางสังคมตามมาอีกมากมาย เช่น ปญั หาอาชญากรรม ปญั หายาเสพย์ตดิ ปญั หาสุขภาพจิต


วโิ ร
และปญั หาหนี้สนิ โดยทุกประเทศกาลังหามาตรการต่างๆ เพื่อนามาบรรเทาความเดือดร้อนจากพิษ

ทร
เศรษฐกิจตกต่า รวมทัง้ ประเทศไทยทีต่ อ้ งเผชิญกับวิกฤตเศรษฐกิจตกต่าครัง้ นี้ดว้ ย ผูป้ ระกอบการ
คร
นิ
หลายแห่งในประเทศต้องลดต้นทุนการผลิตลง เกิดการเลิกจ้างงานหรือปลดพนักงานออก ยังทาให้
นี
ศร

it y
ประชาชนในประเทศเกิดอาการเครียดจากสภาวะเศรษฐกิจทีเ่ กิดขึน้ จึงทาให้บริษทั ต่างๆ พยายาม
ers
ลยั
ยา

n iv
หามาตรการมารับมือกับปญั หาเศรษฐกิจเพื่อทาให้ธุรกิจสามารถฝา่ ฟนั วิกฤตไปได้ ซึง่ วิธกี ารทีใ่ ช้
tU
วทิ

จะอาศัยเพียงประสบการณ์ในอดีตและการมีวจิ ารณญาณทีด่ เี พียงอย่างเดียวคงไม่เพียงพอต่อการ


หา

ir o
งม

nw

ตัดสินใจทีก่ ่อให้เกิดความสาเร็จทางธุรกิจได้ ดังนัน้ ผูบ้ ริหารจึงควรศึกษาเกีย่ วกับข้อมูล หลักเกณฑ์


ลา

ari

แนวคิดและวิธกี ารทางธุรกิจ และทีส่ าคัญควรมีการวางแผนและการตัดสินใจที่มปี ระสิทธิภาพ เพราะ


ดุ ก

a kh
สม

rin

การวางแผนและการตัดสินใจเป็นสิง่ สาคัญ ทีใ่ ช้ในการกาหนดทิศทางการดาเนินธุรกิจให้สามารถ


หอ

yS

ดาเนินงานอย่างมีประสิทธิภาพและประสบความสาเร็จทางธุรกิจได้ โดยพิจารณาจากเงือ่ นไขหรือ


rar
นกั

ข้อจากัดของบริษทั เช่น สภาวะตลาด เงินทุน แรงงานทีม่ จี ากัด ขอบข่ายของธุรกิจทีด่ าเนินอยู่และ


L ib
สาํ

ปจั จัยอื่นๆ ซึง่ วิธกี ารหนึ่งทีช่ ่วยแก้ปญั หาและตัดสินใจได้อย่างมีประสิทธิภาพ คือ การนาเครือ่ งมือ
al
n tr

ทางคณิตศาสตร์มาประยุกต์ใช้ในการแก้ปญั หา โดยเฉพาะการจัดสรรทรัพยากรทีม่ อี ยู่ อย่างจากัดให้


Ce

สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ทว่ี างไว้เพื่อหาแนวทางการดาเนินงานทีด่ ที ส่ี ุด เช่น ทาให้เกิดกาไรสูงสุด


ผลผลิตมากสุด ต้นทุนต่าสุด หรือค่าเสียโอกาสน้อยสุด ซึง่ เครือ่ งมือทางคณิตศาสตร์ทส่ี ามารถ
นามาใช้ในการแก้ปญั หาและตัดสินใจได้อย่างมีประสิทธิภาพ คือ กาหนดการเชิงเส้น
กาหนดการเชิงเส้น (Linear Programming) เป็นเทคนิคทีใ่ ช้ในการแก้ปญั หาทางการ
จัดสรรปจั จัยและทรัพยากรทีม่ อี ยูอ่ ย่างจากัด โดยมีจดุ หมายเพื่อแก้ปญั หาและตัดสินใจให้เกิดผล
ตามแนวทางการดาเนินงานทีด่ ที ส่ี ุด (Optimal) เช่น กาไรสูงสุด ค่าใช้จา่ ยน้อยสุดหรือแนวทาง
การดาเนินงานอื่นๆ ทีใ่ ห้ผลประโยชน์มากทีส่ ุดต่อระบบนัน้ ๆ โดยพิจารณาเงือ่ นไขหรือข้อจากัดที่
กาหนดเช่น การขาดแคลนวัตถุดบิ กาลังคน เงินทุน สถานที่ ในปจั จุบนั มีการนากาหนดการเชิงเส้น
ไปใช้ในการแก้ปญั หาในหลายๆ ด้าน เช่น ทางด้านการเกษตรได้นากาหนดการเชิงเส้นใช้ในการ
2

จัดสรรปจั จัยทีม่ อี ยูอ่ ย่างจากัด เช่น ทีด่ นิ น้า ปุ๋ย แรงงานและเงินลงทุน รวมทัง้ ช่วยในการวางแผน
และตัดสินใจในการจัดการผลผลิตเพื่อให้ผลผลิตมีความเหมาะสมกับฤดูกาล และความต้องการ
ของตลาดจึงทาให้ได้ผลกาไรสูงขึน้ เพราะการมีผลผลิตทีไ่ ม่มากเกินความต้องการย่อมทาให้ราคา
ดีขน้ึ ทางด้านอุตสาหกรรมมีการนากาหนดการเชิงเส้นมาช่วยในการจัดการเกีย่ วกับการผลิต เช่น
อุตสาหกรรมถ่านหิน เหล็กกล้า กระดาษ น้ามัน เป็นต้น นอกจากนี้ ทางด้านธุรกิจมีการนากาหนด
การเชิงเส้นมาช่วยในการบริหารกิจการ เช่น ธุรกิจการขนส่งก็นากาหนดการเชิงเส้น มาใช้เพื่อลด
ค่าใช้จา่ ยในการขนส่ง และใช้สาหรับ การจัดสรรบุคคล วัตถุดบิ ให้เหมาะสมและมีประสิทธิภาพ
ในส่วนธุรกิจสื่อสารโทรคมนาคมก็อาศัยหลักการของกาหนดการเชิงเส้นมาใช้ในการแก้ไขปญั หา
การจัดสรรช่องสัญญาณโทรศัพท์เคลื่อนทีใ่ ห้เกิดประโยชน์การใช้งานสูงสุดและเพียงพอต่ อความ
ต้องการของลูกค้า โดยทาให้เกิดต้นทุนต่าสุดในกระบวนการขนส่งเคลื่อนย้ายช่องสัญญาณ
โทรศัพท์เคลื่อนที่


วโิ ร
กาหนดการเชิงเส้นได้เริม่ บรรจุในหลักสูตรมัธยมศึกษาตอนปลายพุทธศักราช 2524

ทร
จนมาถึงปจั จุบนั ในหลักสูตรการศึกษาขัน้ พืน้ ฐานพุทธศักราช 2544 กลุ่มสาระการเรียนรู้
คร
นิ
คณิตศาสตร์ รายวิชาคณิตศาสตร์เพิม่ เติม สาหรับช่วงชัน้ ที่ 4 โดยมีจดุ มุง่ หมายเพื่อต้องการให้
นี
ศร

it y
นักเรียนได้เห็นการประยุกต์และประโยชน์ของคณิตศาสตร์ในการนาไปใช้ แก้ปญั หาในสถานการณ์
ers
ลยั
ยา

n iv
จริงหรือเหตุการณ์ทพ่ี บเห็นในชีวติ ประจาวัน รวมทัง้ เป็นการกระตุน้ ให้นกั เรียนเกิดความสนใจใน
tU
วทิ
หา

การเรียนวิชาคณิตศาสตร์เพิม่ ขึน้ เนื่องจากกาหนดการเชิงเส้นเป็นการศึกษาเพื่อหาแนวทางการ


ir o
งม

nw

แก้ปญั หาทีด่ ที ส่ี ุด โดยการศึกษากาหนดการเชิงเส้นทีใ่ ช้กราฟในการแก้ปญั หาต้องอาศัยความรู้


ลา

ari

พืน้ ฐานในเรือ่ งสมการ อสมการ และกราฟใช้ในการแก้ปญั หาเพื่อหาคาตอบทีต่ อ้ งการ ในขณะที่


ดุ ก

a kh
สม

rin

หลักสูตรการศึกษาขัน้ พืน้ ฐานกาหนดให้นกั เรียนช่วงชัน้ ที่ 3 เรียนเรือ่ งสมการ อสมการและกราฟ


หอ

yS

ซึง่ เป็นเนื้อหาพืน้ ฐานทีส่ าคัญใช้ในการศึกษากาหนดการเชิงเส้น และการจัดการเรียนการสอน


rar
นกั

ยังไม่มเี นื้อหาทีเ่ ป็นบทประยุกต์โดยอาศัยความรูร้ ว่ มกันของเรือ่ งสมการ อสมการ และกราฟ


L ib
สาํ

al

สาหรับนักเรียนช่วงชัน้ ที่ 3 ซึง่ การจัดการเรียนการสอนเนื้อหาทีเ่ ป็นบทประยุกต์ จะทาให้นกั เรียน


n tr

เห็นประโยชน์และความสาคัญของเนื้อหาเรือ่ งสมการ อสมการและกราฟ โดยการนาความรูไ้ ป


Ce

ประยุกต์ใช้ในการแก้ปญั หาสถานการณ์ทเ่ี กิดขึน้ จริง เช่น สมหวังต้องการซือ้ ของในซุปเปอร์มาเก็ต


ให้ได้สนิ ค้าทีต่ อ้ งการมากสุดจากจานวนเงินทีม่ จี ากัด หนูนาต้องการจัดเวลาในการทาการบ้านและ
ออกกาลังกายให้เวลาเหลือมากพอสาหรับการทากิจกรรมอื่นๆ รวมทัง้ ทาให้นกั เรียนมีเจตคติทด่ี ี
ต่อวิชาคณิตศาสตร์ ดังนัน้ ควรมีการจัดการเรียนการสอนเนื้อหาทีเ่ ป็นบทประยุกต์ของเนื้อหาเรือ่ ง
สมการ อสมการและกราฟ นันคื ่ อ กาหนดการเชิงเส้น สาหรับนักเรียนช่วงชัน้ ที่ 3 ซึง่ จากหลักสูตร
การศึกษาขัน้ พืน้ ฐานระบุไว้ว่า ผูเ้ รียนทีม่ คี วามสนใจหรือมีความสามารถสูงทางคณิตศาสตร์
สถานศึกษาอาจจัดให้ผเู้ รียนเรียนรูส้ าระทีเ่ ป็นเนื้ อหาวิชาให้กว้างขึน้ เข้มข้นขึน้ หรือฝึกทักษะ
กระบวนการมากขึน้ (กรมวิชาการ. 2546: 6) ซึง่ สอดคล้องกับคากล่าวของบรูเนอร์ (Bruner.
1963: 33) ทีว่ ่าครูสามารถสอนวิชาใดๆ ให้แก่นกั เรียนระดับใดก็ได้แต่ตอ้ งปรับปรุงเนื้อหาและ
วิธสี อนให้เหมาะสมกับสติปญั ญาของนักเรียนในระดับนัน้ ๆ เสียก่อน และจากงานวิจยั ของ
3

วิฑรู ย์ แสงทอง (2548) ได้ทาการศึกษาความสามารถและความสนใจในการเรียนคณิตศาสตร์เรือ่ ง


กาหนดการเชิงเส้น ของนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 2 และนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 3 ผลการวิจยั
พบว่า นักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 2 ไม่มคี วามสามารถเพียงพอทีจ่ ะเรียนคณิตศาสตร์เรือ่ งกาหนด
การเชิงเส้น ส่วนนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 3 มีความสามารถเพียงพอทีจ่ ะเรียนคณิตศาสตร์เรือ่ ง
กาหนดการเชิงเส้นและนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 2 และนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 3 มีความ
สนใจในการเรียนคณิตศาสตร์เรือ่ งกาหนดการเชิงเส้นหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน และยังให้ขอ้ เสนอ
แนะเพิม่ เติมอีกว่า ควรมีการศึกษาวิจยั การสอนคณิตศาสตร์เรือ่ งกาหนดการเชิงเส้น โดยการใช้ส่อื
ชนิดอื่นๆ เช่น บทเรียนโปรแกรม คอมพิวเตอร์ช่วยสอน เครือ่ งคานวณเชิงกราฟ เพื่อหาผลสรุปที่
เหมาะสม ดังนัน้ จากการศึกษาเอกสารและงานวิจยั ข้างต้น ทาให้ผวู้ จิ ยั มีความสนใจทีจ่ ะศึกษา
ความสามารถในการเรียนเรือ่ งกาหนดการเชิงเส้น สาหรับนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 3 ซึง่ การ
จัดกิจกรรมการเรียนการสอนเรือ่ งกาหนดการเชิงเส้น จะมีการนาโปรแกรมทางคอมพิวเตอร์เข้ามา


วโิ ร
ประกอบการเรียนการสอนเพื่อ เป็นการช่วยให้นกั เรียนเกิดการเรียนรูอ้ ย่างมีประสิทธิภาพ ทาให้

ทร
นักเรียนเข้าใจแนวคิดของกาหนดการเชิงเส้นได้อย่างเป็นรูปธรรมมากขึน้ เช่น การเขียนกราฟ
คร
นิ
สมการเชิงเส้น อสมการเชิงเส้น และการสารวจหาผลเฉลยทีเ่ หมาะสมทีส่ ุด รวมทัง้ ทาให้นกั เรียน
นี
ศร

it y
ไม่เกิดความเบื่อหน่ายในการเรียน
ers
ลยั
ยา

n iv
ในปจั จุบนั มีการพัฒนาโปรแกรมทางคณิตศาสตร์ทม่ี ปี ระสิทธิภาพเพิม่ ขึน้ มากมายเพื่อ
tU
วทิ
หา

ใช้ประกอบการเรียนการสอนคณิตศาสตร์ เช่น โปรแกรม GSP (The Geometer’s Sketchpad)


ir o
งม

nw

โปรแกรม MAPLE โปรแกรม Mathematica และเครือ่ งคานวณเชิงกราฟ ซึง่ โปรแกรมทาง


ลา

ari

คณิตศาสตร์ทพ่ี ฒ ั นาขึน้ มีท งั ้ โปรแกรมประเภททีใ่ ช้ในเชิงธุรกิจ จะต้องเสียค่าลิขสิทธิ ์ในการนา


ดุ ก

a kh
สม

rin

โปรแกรมมาใช้ประโยชน์ และโปรแกรมประเภททีส่ ามารถนาไปใช้ได้โดยไม่ตอ้ งเสียค่าลิขสิทธิ ์


หอ

yS

(General Public License: GPL) พัฒนาโดยบุคคลต่างๆ ในวงการคณิตศาสตร์ เพื่อต้องการ


rar
นกั

ให้นกั เรียน นักศึกษา หรือผูท้ ส่ี นใจสามารถนาโปรแกรมไปใช้ให้เกิดประโยชน์ อย่างกว้างขวาง


L ib
สาํ

al

ซึง่ ศาสตราจารย์ ดร.เรอเน่ กรอธมันน์ (Prof Dr. René Grothmann) เป็นนักคณิตศาสตร์ท่านหนึ่ง


n tr

ทีไ่ ด้พฒ
ั นาโปรแกรมทางคณิตศาสตร์ ทีส่ ามารถใช้และเผยแพร่ได้โดยไม่ตอ้ งเสียค่าลิขสิทธิ ์ โดยมี
Ce

วัตถุประสงค์เพื่อต้องการพัฒนาการเรียนการสอนคณิตศาสตร์ให้มปี ระสิทธิภาพมากขึน้ โปรแกรม


ทางคณิตศาสตร์ทก่ี รอธมันน์ได้พฒ ั นาขึน้ เพื่อใช้สาหรับการเรียนการสอนทางคณิตศาสตร์ เช่น
โปรแกรม C.a.R. (Compass and Ruler) และโปรแกรม Euler ซึง่ โปรแกรม C.a.R. พัฒนาขึน้ เพื่อ
ใช้เป็นสื่อการเรียนการสอนวิชาคณิตศาสตร์ สามารถสร้างรูปเรขาคณิตในลักษณะเดียวกับการใช้
สันตรงและวงเวียน โดยสามารถเปลีย่ นแปลงรูปเรขาคณิตให้เคลื่อนไหวตามความต้องการและใช้
เป็นเครือ่ งมือในการเรียนรูเ้ นื้อหา รวมทัง้ สามารถสร้างกิจกรรมเพื่อให้นกั เรียนได้สารวจและเห็น
แนวคิดทีส่ าคัญของวิชาคณิตศาสตร์ ลักษณะเด่นของโปรแกรม C.a.R. คือ สามารถสร้างแฟ้มงาน
แบบHTML ได้ สามารถสร้างงานในลักษณะแบบทดสอบการสร้างทีส่ ามารถตรวจสอบความถูกต้อง
รวมทัง้ สามารถสร้างภาพในลักษณะ Animation ได้ แต่โปรแกรม C.a.R. มีขอ้ จากัดทางด้านการ
4

คานวณ คือ ยังไม่มคี วามสามารถในการประมวลผลเชิงสัญลักษณ์ จึงทาให้เกิดการพัฒนาโปรแกรม


Euler เพื่อเป็นเครือ่ งมือช่วยในด้านการคานวณ ซึง่ โปรแกรม Euler เป็นโปรแกรมทีม่ คี วามสามารถ
ในด้านการคานวณ การเขียนกราฟ และมีความสามารถในการประมวลผลเชิง สัญลักษณ์ เนื่องจาก
โปรแกรม Euler มีโปรแกรมระบบพีชคณิตแฝงอยูค่ อื โปรแกรม Maxima ซึง่ สามารถประมวลผล
เชิงสัญลักษณ์ได้ จึงทาให้โปรแกรม Euler มีสมบัตเิ บือ้ งต้นของโปรแกรมระบบพีชคณิตเพียงพอ
แต่โปรแกรม Euler ยังไม่มคี วามสามารถในการสร้างสื่อการเรียนการสอนในลักษณภาพเคลื่อนไหว
หรือเป็นกิจกรรมให้นกั เรียนได้ลงมือปฏิบตั ิ สังเกต และการสารวจ เนื่องด้วยโปรแกรม C.a.R. และ
โปรแกรม Euler ต่างมีขอ้ จากัดทางด้านการใช้งาน ดังนัน้ เพื่อให้การจัดการเรียนการสอนมี
ประสิทธิภาพเพิม่ ขึน้ จึงควรมีการนาโปรแกรมทัง้ สองมาใช้งานร่วมกัน
จากการศึกษาเอกสารและงานวิจยั พบว่า การนาโปรแกรม C.a.R. เข้ามาประกอบการ
เรียนการสอนจะช่วยให้นกั เรียนเข้าใจแนวคิดของวิชาคณิตศาสตร์ได้อย่างเป็นรูปธรรมมากขึน้


วโิ ร
และช่วยให้นกั เรียนเรียนรูเ้ นื้อหาได้รวดเร็วขึน้ จากการทีน่ กั เรียนได้ปฏิบตั ิ สังเกต และสารวจ

ทร
เช่น งานวิจยั ของปุณยพล จันทร์ฝอย (2551) ได้สร้างชุดกิจกรรมการเรียนการสอนเรือ่ งฟงั ก์ชนั
คร
นิ
ตรีโกณมิตโิ ดยใช้โปรแกรม C.a.R. สาหรับนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปี ท่ี 4 พบว่า การใช้โปรแกรม
นี
ศร

it y
C.a.R. ประกอบการเรียนการสอนทาให้นกั เรียนมองเห็นภาพเป็นรูปธรรมมากขึน้ นักเรียนสามารถ
ers
ลยั
ยา

n iv
ทาการสารวจการสร้าง สังเกตความแตกต่างของเนื้อหาในการเรียนเรือ่ งฟงั ก์ชนั ตรีโกณมิตจิ าก
tU
วทิ
หา

นามธรรมเป็นรูปธรรมมากขึน้ และยังเป็นการกระตุน้ ให้นกั เรียนเกิดความสนใจในการเรียน


ir o
งม

nw

ซึง่ สอดคล้องกับงานวิจยั ของวรวรรณ กฤตยากรนุพงศ์ (2551) ได้สร้างกิจกรรมการเรียนการสอน


ลา

ari

เรือ่ งการเท่ากันทุกประการโดยใช้การแปลงทางเรขาคณิตและโปรแกรม C.a.R. สาหรับนักเรียน


ดุ ก

a kh
สม

rin

ชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 2 พบว่า การใช้โปรแกรม C.a.R. ทาให้สามารถหาภาพทีเ่ กิดจากการแปลงทาง


หอ

yS

เรขาคณิตของรูปต้นแบบ เช่น การเลื่อนขนาน การสะท้อน หรือการหมุนได้อย่างรวดเร็ว สามารถ


rar
นกั

มองเห็นภาพเป็นรูปธรรมมากขึน้ ในการเคลื่อนทีข่ องรูปเรขาคณิ ต ทาให้การแปลงทางเรขาคณิต


L ib
สาํ

al

เป็นเรือ่ งทีเ่ ข้าใจได้โดยง่าย และจากการศึกษาเอกสารและงานวิจยั เกีย่ วกับโปรแกรมระบบพีชคณิต


n tr

(Computer Algebra System: CAS) พบว่า การนาโปรแกรมระบบพีชคณิตเข้ามาใช้ประกอบการ


Ce

เรียนการสอนคณิตศาสตร์เป็นการช่วยประหยัดเวลาในการคานวณ ทาให้นกั เรียนสามารถฝึก


ทาแบบฝึกหัดได้มากขึน้ และเมือ่ นักเรียนทาแบบฝึกหัดบ่อยๆ ก็จะทาให้นกั เรียนมีความเข้าใจใน
กระบวนการแก้ปญั หาเกิดเป็นทักษะและความชานาญ อีกทัง้ การนาโปรแกรมระบบพีชคณิต
เข้ามาใช้ในการเรียนการสอน ยังทาให้มเี วลาเหลือมากพอในการทาความเข้าใจในเนื้อหามากขึน้
ซึง่ สอดคล้องกับผลการวิจยั ของ กมล เอกไทยเจริญ (2545: 53) ได้ศกึ ษาผลสัมฤทธิ ์ทางการเรียน
เจตคติของผูเ้ รียน และศึกษาสภาพการเรียนการสอนและสภาพสังคมในชัน้ เรียนในการเรียน
วิชาพีชคณิตเชิงเส้นโดยใช้เครือ่ งคานวณเชิงกราฟ โดยทดลองกับนิสติ ระดับปริญญาตรี สาขา
คณิตศาสตร์ ผลการวิจยั พบว่า ผลสัมฤทธิ ์ทางการเรียนวิชาพีชคณิตเชิงเส้นโดยใช้เครือ่ งคานวณ
เชิงกราฟอยูใ่ นระดับดีได้ผลเป็นทีน่ ่าพอใจ ผูเ้ รียนมีเจตคติทด่ี ตี ่อการใช้เครือ่ งคานวณเชิงกราฟ
และการเรียนวิชาพีชคณิตเชิงเส้นโดยใช้เครือ่ งคานวณเชิงกราฟทาให้มเี วลาเหลือมากพอสาหรับ
5

การทาความเข้าใจในเนื้อหา ทาให้สามารถเรียนรูเ้ นื้อหาทีม่ ากและลึกซึง้ และงานวิจยั ของสมิธ


(Smith. 1991: Online) ได้ศกึ ษาเรือ่ งการบูรณาการโปรแกรมระบบพีชคณิต ในการเรียนการสอน
กาหนดการเชิงเส้น เพื่อศึกษาผลของการใช้เทคโนโลยีในการสนับสนุนการเรียนการสอนด้วย
โปรแกรมระบบพีชคณิตทีน่ ามาบูรณาการในการเรียนการสอน เพื่ อสร้างความเข้าใจเรือ่ งกาหนด
การเชิงเส้น โดยทดลองกับนักเรียน 2 กลุ่มคือ กลุ่มที่ 1 เป็นกลุ่มทีใ่ ช้โปรแกรมระบบพีชคณิตในการ
สาธิตและให้นกั เรียนใช้โปรแกรมนี้ดว้ ย กลุ่มที่ 2 เป็นกลุ่มทีใ่ ช้โปรแกรมระบบพีชคณิตในการสาธิต
เพียงอย่างเดียว ผลการวิจยั พบว่า การนาโปรแกรมระบบพีชคณิตมาใช้ในการเรียนการสอนมีผลดี
ต่อการเรียนการสอน นักเรียนทัง้ สองกลุ่มมีผลสัมฤทธิ ์ทางการเรียน และมีเจตคติต่อวิชาคณิตศาสตร์
ไม่แตกต่างกัน
จากเหตุผลดังกล่าวข้างต้น ทาให้ผวู้ จิ ยั นาโปรแกรม C.a.R. และโปรแกรม Euler
เข้ามาประกอบในการเรียนการสอนวิชาคณิตศาสตร์เรือ่ งกาหนดการเชิงเส้น สาหรับนักเรียนชัน้


วโิ ร
มัธยมศึกษาศึกษาปีท่ี 3 โดยนาโปรแกรม C.a.R. เข้ามาประกอบการเรียนการสอนเรือ่ งกาหนด

ทร
การเชิงเส้นในครัง้ นี้ เพื่อใช้เป็นสื่อสาหรับการเรียนการสอนและการเสนอแนวคิดที่สาคัญของ
คร
นิ
กาหนดการเชิงเส้น เช่น การวาดกราฟสมการเชิงเส้น กราฟระบบสมการเชิงเส้น กราฟอสมการ
นี
ศร

it y
เชิงเส้น และการสารวจหาผลเฉลยเหมาะสมทีส่ ุดของกาหนดการเชิงเส้น และนาโปรแกรม Euler
ers
ลยั
ยา

n iv
เข้ามาประกอบการเรียนการสอน เพื่อใช้เป็นเครือ่ งมือในการคานวณและการตรวจคาตอบ ประการ
tU
วทิ
หา

สาคัญโปรแกรม C.a.R. และโปรแกรม Euler เป็นโปรแกรมทีไ่ ด้รบั อนุญาตให้ใช้และเผยแพร่ได้โดย


ir o
งม

nw

ไม่ตอ้ งเสียค่าลิขสิทธิ ์ ดังนัน้ ในการวิจยั ครัง้ นี้ผวู้ จิ ยั จะสร้างชุดกิจกรรมการเรียนการสอนเรือ่ งกาหนด


ลา

ari

การเชิงเส้น โดยใช้โปรแกรม C.a.R. และโปรแกรม Euler สาหรับนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 3


ดุ ก

a kh
สม

rin

โดยขอบข่ายในการศึกษากาหนดการเชิงเส้นครัง้ นี้คอื 2 ตัวแปร เพื่อต้องการให้นกั เรียนได้เรียนรู้


หอ

yS

เนื้อหาทีเ่ ป็นบทประยุกต์เรือ่ งสมการ อสมการและกราฟ รวมทัง้ ให้นกั เรียนเห็นประโยชน์และความ


rar
นกั

สาคัญของคณิตศาสตร์ และผลทีไ่ ด้จากการวิจยั จะนาไปเป็นข้อมูลพืน้ ฐานในการพัฒนาการเรียน


L ib
สาํ

al

การสอนคณิตศาสตร์ ช่วงชัน้ ที่ 3 ต่อไป


n tr
Ce

จุดมุ่งหมายของการวิ จยั
1. เพื่อศึกษาผลสัมฤทธิ ์ทางการเรียนเรือ่ งกาหนดการเชิงเส้นของนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษา
ปีท่ี 3 ทีเ่ รียนด้วยชุดกิจกรรมการเรียนการสอนเรือ่ งกาหนดการเชิงเส้นโดยใช้โปรแกรม C.a.R.
และโปรแกรม Euler
2. เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 3 ทีม่ ตี ่อเนื้อหากาหนดการ
เชิงเส้น และการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ โดยใช้โปรแกรม C.a.R. และโปรแกรม Euler
6

ความสาคัญของการวิ จยั
เพื่อให้นกั เรียนในระดับชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 3 เรียนเนื้อหาทีเ่ ป็นบทประยุกต์เรือ่ งสมการ
อสมการและกราฟ เนื่องจากหลักสูตรการศึกษาขัน้ พืน้ ฐานกาหนดให้นกั เรียนช่วงชัน้ ที่ 3 เรียนเรือ่ ง
สมการ อสมการและกราฟ แต่ การจัดการเรียนการสอนยังไม่มเี นื้อหาทีเ่ ป็นบทประยุกต์โดยอาศัย
ความรูร้ ว่ มกันของเรือ่ งสมการ อสมการและกราฟ ซึง่ กาหนดการเชิงเส้นทีใ่ ช้ก ราฟในการแก้ปญั หา
เป็นเนื้อหาทีท่ าให้นกั เรียนเห็นความสาคัญของเนื้อหาเรือ่ งสมการ อสมการและกราฟ รวมทัง้ การ
นาความรูไ้ ปประยุกต์ใช้แก้ปญั หาในสถานการณ์ทเ่ี กิดขึน้ จริง นอกจากนี้การนากาหนดการเชิงเส้น
มาสอนนักเรียนในช่วงชัน้ ที่ 3 ควรมีการนาโปรแกรมทางคอมพิวเตอร์เข้ามาเป็นสื่อประกอบการ
เรียนการสอน เพื่อช่วยให้นกั เรียนเกิดการเรียนรูอ้ ย่างมีประสิทธิภาพ โดยเฉพาะโปรแกรม C.a.R.
ช่วยให้นกั เรียนเข้าใจและเห็นแนวคิดทีส่ าคัญของกาหนดการเชิงเส้น ได้อย่างเป็นรูปธรรมมากขึน้


และโปรแกรม Euler ช่วยอานวยความสะดวกในการคิดคานวณ นักเรียนฝึกทาโจทย์ได้มากขึน้

วโิ ร
และสามารถฝึกทักษะการแก้ปญั หาได้อย่างอิสระ
นิทร
คร
นี
ศร

ขอบเขตของการวิ จยั
it y
ers
ลยั
ยา

n iv
ประชากรที่ใช้ในการวิ จยั
tU
วทิ

ประชากรทีใ่ ช้ในการวิจยั ครัง้ นี้ เป็นนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 3 โรงเรียนบ้านนาสาร


หา

ir o
งม

nw

อาเภอบ้านนาสาร จังหวัดสุราษฏร์ธานี
ลา

ari
ดุ ก

a kh

กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิ จยั
สม

rin
หอ

กลุ่มตัวอย่างทีใ่ ช้ในการวิจยั ครัง้ นี้เป็น นักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 3 ภาคเรียนที่ 2


yS
rar

โรงเรียนบ้านนาสาร อาเภอบ้านนาสาร จังหวัดสุราษฏร์ธานี จานวน 1 ห้องเรียน จานวน 41 คน


นกั

L ib
สาํ

จากจานวนนักเรียนทัง้ หมด 9 ห้องเรียน จานวน 352 คน โดยสุ่มตัวอย่างแบบเกาะกลุ่ม


al
n tr

(Cluster Sampling) โดยจัดห้องเรียนแบบคละความสามารถของนักเรียนทีม่ ผี ลการเรียนระดับเก่ง


Ce

ปานกลาง และอ่อนอยูใ่ นห้องเดียวกัน


ระยะเวลาที่ใช้ในการวิ จยั
ระยะเวลาทีใ่ ช้ในการวิจยั ครัง้ นี้ ทาการทดลองในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2552
โดยใช้เวลาในการเรียนการสอนและการทดสอบวัดผลสัมฤทธิ ์ทางการเรียนรวมทัง้ หมด 14 คาบ
และการทาแบบสอบถามวัดความพึงพอใจ 20 นาที
7

เนื้ อหาที่ใช้ในการวิ จยั


เนื้อหาทีใ่ ช้ในการวิจยั ครัง้ นี้เป็น เนื้อหาเรือ่ งกาหนดการเชิงเส้นโดยวิธกี ราฟ ทีผ่ วู้ จิ ยั ได้
เรียบเรียงขึน้ ซึง่ ประกอบด้วยหัวข้อดังนี้
1. ความรูเ้ บือ้ งต้นของกาหนดการเชิงเส้น จานวน 5 คาบ แบ่งเป็น
1.1 ความหมายของกาหนดการเชิงเส้น 1 คาบ
1.2 กราฟระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร 2 คาบ
1.3 กราฟระบบอสมการเชิงเส้นสองตัวแปร 2 คาบ
2. การแก้ปญั หากาหนดการเชิงเส้นโดยวิธกี ราฟ จานวน 7 คาบ แบ่งเป็น
2.1 การสร้างแบบจาลองกาหนดการเชิงเส้น 2 คาบ
2.2 การหาค่าสูงสุดและต่าสุดของกาหนดการเชิงเส้น 3 คาบ
2.3 การแก้โจทย์ปญั หากาหนดการเชิงเส้น


2 คาบ

วโิ ร
ตัวแปรที่ศึกษา
ทร
ตัวแปรอิสระ คือ ชุดกิจกรรมการเรียนการสอนเรือ่ งกาหนดการเชิงเส้น โดยใช้
นิ
คร
โปรแกรม C.a.R. และโปรแกรม Euler สาหรับนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 3 ทีผ่ วู้ จิ ยั สร้างขึน้
นี
ศร

it y
ers
ลยั

ตัวแปรตาม คือ
ยา

n iv
tU

1. ผลสัมฤทธิ ์ทางการเรียนเรือ่ งกาหนดการเชิงเส้นของนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษา


วทิ
หา

ir o

ปีท่ี 3 ทีเ่ รียนด้วยชุดกิจกรรมการเรียนการสอนเรือ่ งกาหนดการเชิงเส้นโดยใช้โปรแกรม C.a.R. และ


งม

nw
ลา

ari

โปรแกรม Euler
ดุ ก

a kh

2. ความพึงพอใจของนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 3 ทีม่ ตี ่อเนื้อหากาหนดการ


สม

rin
หอ

เชิงเส้น และการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ โดยใช้โปรแกรม C.a.R. และโปรแกรม Euler


yS
rar

นิ ยามศัพท์เฉพาะ
นกั

L ib
สาํ

1. โปรแกรม C.a.R. หมายถึง โปรแกรมทางเรขาคณิตทีส่ ามารถสร้างรูปเรขาคณิต


al
n tr

ในลักษณะเดียวกับการใช้สนั ตรงและวงเวียน มีลกั ษณะปฏิสมั พันธ์โดยทีผ่ ใู้ ช้สามารถเปลีย่ นแปลง


Ce

รูปเรขาคณิตให้เคลื่อนไหวตามความต้องการ โดยยังคงรักษาสมบัตแิ ละความสัมพันธ์ทถ่ี ูกกาหนด


ของรูปนัน้ ไว้เสมอ
2. โปรแกรม Euler หมายถึง โปรแกรมทีม่ คี วามสามารถในด้านการคานวณ
สามารถเขียนกราฟได้ และมีโปรแกรมระบบพีชคณิตแฝงอยูค่ อื โปรแกรม Maxima ซึง่ สามารถ
ประมวลผลเชิงสัญลักษณ์ได้
3. ชุดกิ จกรรมการเรียนการสอนเรื่องกาหนดการเชิ ง เส้น โดยใช้โปรแกรม
C.a.R. และโปรแกรม Euler หมายถึง ชุดกิจกรรมการเรียนการสอนทีผ่ วู้ จิ ยั สร้างขึน้ เพื่อเป็น
เครือ่ งมือทีใ่ ช้ในการเรียนการสอนเรือ่ งกาหนดการเชิงเส้น โดยชุด กิจกรรมการเรียนการสอนทีส่ ร้าง
ขึน้ ประกอบด้วย คู่มอื การใช้ชุด กิจกรรมการเรียนการสอน แผนการจัดการเรียนรูว้ ชิ าคณิตศาสตร์
บทเรียนใช้ประกอบการเรียนการสอน และกิจกรรมการเรียนรูท้ ใ่ี ช้บนคอมพิวเตอร์ สร้างโดย
8

โปรแกรม C.a.R. และโปรแกรม Euler ซึง่ การจัดการเรียนการสอนให้นกั เรีย นได้เรียนรูจ้ ากการสอน


ของครูควบคู่ไปกับการเรียนรูจ้ ากการปฏิบตั ดิ ว้ ยตนเองภายใต้คาแนะนาของครู โดยจะใช้โปรแกรม
C.a.R. เพื่อช่วยให้นกั เรียนมีความรูค้ วามเข้าใจในแนวคิดทีส่ าคัญของกาหนดการเชิงเส้น และ
โปรแกรม Euler เป็นเครือ่ งมือช่วยในการคานวณ และตรวจคาตอบ
4. ผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนเรื่องกาหนดการเชิ งเส้น หมายถึง คะแนนรวมของ
นักเรียนทีไ่ ด้จากการประเมินดังนี้
4.1 การประเมินผลระหว่างเรียนจากใบกิจกรรม มีน้าหนักคะแนนคิดเป็น
ร้อยละ 30 ของคะแนนทัง้ หมด
4.2 การประเมินผลหลังเรียนจากการทาแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ ์ทางการ
เรียนเรื่องกาหนดการเชิงเส้น มีน้าหนักคะแนนคิดเป็นร้อยละ 70 ของคะแนนทัง้ หมด
5. เกณฑ์ หมายถึง ร้อยละ 60 ของคะแนนรวม กล่าวคือ ถ้าผูเ้ รียนได้คะแนนตัง้ แต่


วโิ ร
ร้อยละ 60 ขึน้ ไปของคะแนนรวม ถือว่าผูน้ นั ้ สอบผ่านเกณฑ์

ทร
6. ความพึงพอใจที่มีต่อเนื้ อหากาหนดการเชิ งเส้ น และการจัดกิ จกรรมการ
คร
นิ
เรียนรู้โดยใช้โปรแกรม C.a.R. และโปรแกรม Euler หมายถึง การแสดงออกของนักเรียนทีม่ ตี ่อ
นี
ศร

it y
ers
เนื้อหากาหนดการเชิงเส้น และการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ โดยใช้โปรแกรม C.a.R. และโปรแกรม
ลยั
ยา

n iv
Euler หลังจากการเรียนด้วยชุดกิจกรรมการเรียนการสอนเรือ่ งกาหนดการเชิงเส้นโดยใช้โปรแกรม
tU
วทิ
หา

C.a.R. และโปรแกรม Euler ซึง่ วัดจากแบบสอบถามวัดความพึงพอใจของนักเรียนทีผ่ วู้ จิ ยั สร้างขึน้


ir o
งม

nw

เป็นชนิดมาตราส่วนประมาณค่า (Rating Scale) ตามวิธกี ารของลิเคอร์ท (Likert)


ลา

ari
ดุ ก

a kh
สม

rin

สมมติ ฐานของการวิ จยั


หอ

yS
rar
นกั

นักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 3 ทีเ่ รียนด้วยชุดกิจกรรมการเรียนการสอนเรือ่ งกาหนดการ


L ib
สาํ

เชิงเส้นโดยใช้โปรแกรม C.a.R. และโปรแกรม Euler สามารถสอบผ่านเกณฑ์ได้มากกว่าร้อยละ 60


al
n tr

ของจานวนนักเรียนทัง้ หมด
Ce
บทที่ 2
เอกสารและงานวิจยั ที่เกี่ยวข้อง

ในการวิจยั เรือ่ งชุดกิจกรรมการเรียนการสอนเรือ่ งกาหนดการเชิงเส้น โดยใช้โปรแกรม


C.a.R. และโปรแกรม Euler ครัง้ นี้ ผูว้ จิ ยั ได้ศกึ ษาเอกสารและงานวิจยั ทีเ่ กีย่ วข้อง ดังนี้
1. เอกสารและงานวิ จยั ที่เกี่ยวข้องกับกาหนดการเชิ งเส้น
1.1 ประวัตคิ วามเป็นมาของกาหนดการเชิงเส้น
1.2 ความหมายของกาหนดการเชิงเส้น
1.3 การประยุกต์เกีย่ วกับกาหนดการเชิงเส้น
1.4 งานวิจยั ทีเ่ กีย่ วข้องกับกาหนดการเชิงเส้น


วโิ ร
2. เอกสารและงานวิ จยั ที่เกี่ยวข้องกับโปรแกรมคอมพิ วเตอร์

ทร
2.1 เอกสารและงานวิจยั ทีเ่ กีย่ วข้องกับโปรแกรมเรขาคณิตแบบพลวัต
คร
นิ
2.2 เอกสารและงานวิจยั ทีเ่ กีย่ วข้องกับโปรแกรมระบบพีชคณิต
นี
ศร

it y
2.3 ลักษณะของโปรแกรม C.a.R. และโปรแกรม Euler
ers
ลยั
ยา

n iv
3. เอกสารและงานวิ จยั ที่เกี่ยวข้องกับชุด กิ จกรรมการเรียนการสอน
tU
วทิ
หา

3.1 ความหมายของชุดกิจกรรมการเรียนการสอน
ir o
งม

nw

3.2 ประเภทของชุดกิจกรรมการเรียนการสอน
ลา

ari

3.3 องค์ประกอบของชุดกิจกรรมการเรียนการสอน
ดุ ก

a kh
สม

rin

3.4 ขัน้ ตอนการสร้างชุดกิจกรรมการเรียนการสอน


หอ

yS

3.5 งานวิจยั ทีเ่ กีย่ วข้องกับชุดกิจกรรมการเรียนการสอน


rar
นกั

3.6 แนวคิดเกีย่ วกับการสร้างชุดกิจกรรมโดยใช้โปรแกรม C.a.R. และ


L ib
สาํ

al

โปรแกรม Euler
n tr

4. เอกสารและงานวิ จยั ที่เกี่ยวข้องกับความพึงพอใจ


Ce

4.1 ความหมายของความพึงพอใจ
4.2 ทฤษฎีทเ่ี กีย่ วกับความพึงพอใจ
4.3 งานวิจยั ทีเ่ กีย่ วข้องกับความพึงพอใจ
5. งานวิ จยั ที่เกี่ยวข้องกับการนาเนื้ อหาคณิ ตศาสตร์ในระดับที่สงู กว่ามาสอนใน
ระดับที่ตา่ กว่า
10

1. เอกสารและงานวิ จยั ที่เกี่ยวข้องกับกาหนดการเชิ งเส้น


1.1 ประวัติความเป็ นมาของกาหนดการเชิ งเส้น
นิกร วัฒนพนม (2535: 2-3) ได้กล่าวถึงประวัตคิ วามเป็นมาของกาหนดการเชิงเส้น ดังนี้
ปญั หาทัวไปของก
่ าหนดการเชิงเส้นมีการพัฒนาและนาไปประยุกต์ครัง้ แรกในปี ค.ศ.1947 เมือ่ เดือน
มิถุนายน โดยมีหวั หน้าคณะทางาน คือ ยอร์จ บี ดานท์ซกิ (George B. Dantzig) และ มาร์แชล วูด
(Marshall Wood) พร้อมทัง้ ทีมผูร้ ว่ มงานในกองทัพอากาศสหรัฐอเมริกาในช่วงนัน้ คณะทางานชุดนี้
ได้รบั มอบหมายให้วเิ คราะห์ความเป็นไปได้ในการประยุกต์คณิตศาสตร์และเทคนิคทีเ่ กีย่ วข้องต่อ
ปญั หาการวางแผนและการวางโปรแกรมทางทหาร ภารกิจทีไ่ ด้รบั มอบหมายนัน้ ทาให้ ดานท์ซกิ
ได้เสนอวิธกี ารทีเ่ กีย่ วกับความสัมพันธ์ระหว่างกิจกรรมต่า งๆ ขององค์กรขนาดใหญ่ เป็นแบบจาลอง
ของกาหนดการเชิงเส้น ทาให้บรรลุเป้าหมายสูงสุด ทีว่ างไว้ นับว่าเขาเป็นผูเ้ ริม่ ต้นสร้างแบบจาลอง


ทางคณิตศาสตร์ของปญั หากาหนดการเชิงเส้นและในปีน้เี องก็ได้เสนอวิธกี ารแก้ปญั หากาหนดการ

วโิ ร
ทร
เชิงเส้นทีเ่ รียกว่า วิธซี มิ เพล็กซ์ (Simplex Method) และต่อมาก็มกี ารพัฒนาแนวคิดของ ดานท์ซกิ
นิ
คร
โดยกองทัพอากาศสหรัฐฯ ได้จดั ตัง้ คณะวิจยั คณะหนึ่งภายใต้ช่อื โครงการสคูป (SCOOP: Scientific
นี
ศร

Computation of Optimum Program) ซึง่ เป็นโครงการทีม่ สี ่วนสาคัญในการพัฒนาและประยุกต์

it y
ers
ลยั

แบบจาลองของกาหนดการเชิงเส้น โดยในช่วงต้น กาหนดการเชิงเส้นส่วนใหญ่ จะถูกนาไปประยุกต์


ยา

n iv
ในวงการทหาร และทางเศรษฐศาสตร์ในแบบจาลอง Input-Output ของลีอองทีฟ (Leontief) และ
tU
วทิ
หา

ir o

ปญั หาเกม ต่อจากนัน้ ก็แพร่หลายในด้านอุตสาหกรรม ด้านสังคม และปญั หาทีอ่ ยูอ่ าศัย


งม

nw

สาหรับการนาเครือ่ งคอมพิวเตอร์มาใช้ในการแก้ปญั หาแบบจาลองกาหนดการเชิงเส้น


ลา

ari
ดุ ก

a kh

ประสบผลสาเร็จครัง้ แรกทีอ่ งค์กร National Bureau of Standard ของสหรัฐอเมริกา เมือ่ ปี ค.ศ.


สม

rin

1952 ตัง้ แต่นนั ้ ปญั หากาหนดการเชิงเส้นโดยวิธกี ารซิมเพล็กซ์ ได้พฒ ั นาเป็นโปรแกรมทีน่ ามาใช้


หอ

yS

่ จั จุบนั มีโปรแกรมสาเร็จรูป ทีส่ ามารถนาไปใช้ในคอมพิวเตอร์


rar

ในเครือ่ งคอมพิวเตอร์ จนกระทังป


นกั

L ib
สาํ

ส่วนบุคคลได้
al
n tr

ต่อมาในปี ค.ศ. 1984 นับได้ว่าได้เป็นจุดเริม่ ต้นทีส่ าคัญอีกก้าวหนึ่งของวิชากาหนดการ


Ce

เชิงเส้น เมือ่ นาเรนดรา คาร์มาร์คาร์ (Narendra Karmarkar) ได้เสนอผลงานวิจยั ใหม่ทางด้าน


ทฤษฎีเกีย่ วกับกาหนดการเชิงเส้น ซึง่ เป็นวิธกี ารใหม่ในการแก้ปญั หากาหนดการเชิงเส้น เรือ่ ง
‚A New Polynomial-time Algorithm for Linear Programming‛ วิธกี ารของ คาร์มาร์คาร์
(Karmarkar ‘s Algorithm) สามารถนาไปใช้ในการหาผลลัพธ์ของปญั หากาหนดการเชิงเส้น
ขนาดใหญ่ได้ผลดี ในมหาวิทยาลัยบางแห่งได้บรรจุเป็นเนื้อหาหลักสูตรในการสอนนักศึกษา
แต่ไม่บรรลุผลสาเร็จเท่าทีค่ วรเนื่องจากมีความยากในการสอน และสมาคมการวิจยั ดาเนินงาน
แห่งสหรัฐอเมริกาได้จดั ให้มกี ารอบรมเชิงปฏิบตั กิ าร ในวิธขี องคาร์มาร์คาร์ เมือ่ ปี ค.ศ.1987
ในระหว่างเดือนตุลาคม ผลของการประชุมปฏิบตั กิ ารครัง้ นัน้ ได้อภิปรายถึงวิธกี ารของคาร์มาร์คาร์
ทีย่ ากในการสอนว่าเพราะเป็นวิธกี ารยุง่ ยากและซับซ้อนมาก นอกจากนัน้ จะเป็นการสร้างความ
11

เข้าใจในเชิงเรขาคณิตต้องเขียนรูป 3 มิติ ไม่สามารถเขียนรูป 2 มิตไิ ด้ และถ้าใช้การคานวณ


โดยใช้มอื ในกรณีทเ่ี ป็นปญั หาขนาดเล็กจะเสียเวลามากในการคานวณ ซึง่ ต่างจากวิธซี มิ เพล็กซ์
ในหนังสือและบทความหลายฉบับ อาทิเช่น ประกอบ จิรกิติ (2535: 1) เจสส์ (Gass.
2005: Online) กล่าวยกย่องว่า ยอร์จ บี ดานท์ซกิ เป็น บิ ดาแห่งกาหนดการเชิ งเส้น (Father
of Linear Programming) และเป็ นผูค้ ดิ ค้นวิธกี ารแก้ปญั หากาหนดการเชิงเส้น ทีเ่ รียกว่า
วิธซี มิ เพล็กซ์ ซึง่ นับว่าเป็ นวิธที ใ่ี ช้แก้ปญั หากาหนดการเชิงเส้น ที่มคี วามซับซ้อนได้อย่างมี
ประสิทธิภาพ โดยยอร์จ บี ดานท์ซกิ ได้รบั รางวัล National Medal of Science จากประธานาธิบดี
เจอรัลด์ ฟอร์ด ในฐานะทีเ่ ป็นผูค้ ดิ ค้นกาหนดการเชิงเส้นและวิธซี มิ เพล็กซ์ นอกจากนี้ยงั มีผลงาน
ต่างๆ อีกมากมาย เช่น War Department Exceptional Civilian Service Medal, the John Von
Neumann Theory Prize, the National Academy of Sciences Award in Applied Mathematics


and Numerical Analysis, the Harvey Prize, the Silver Medal of the Operational Research

วโิ ร
Society เป็นต้น
ทร
นิ
คร
1.2 ความหมายของกาหนดการเชิ งเส้น
นี
ศร

it y
ers
ฟีรงิ (Feiring. 1986: 8) กล่าวว่า กาหนดการเชิงเส้น คือ เซตย่อยของโปรแกรมเชิง
ลยั
ยา

n iv
คณิตศาสตร์ (Mathematics Programming) ทีเ่ กีย่ วข้องกับการจัดสรรทรัพยากรทีม่ อี ยูอ่ ย่างจากัด
tU
วทิ
หา

ir o

อย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อให้ตรงกับวัตถุประสงค์ทต่ี อ้ งการมากทีส่ ุด


งม

nw

ซัลตัน (Sultan. 1993: 1) กล่าวว่า กาหนดการเชิงเส้นเป็นการศึกษาถึงวิธกี ารทีด่ ที ส่ี ุด


ลา

ari
ดุ ก

a kh

สาหรับการจัดการกับทรัพยากรทีม่ อี ยูอ่ ย่างจากัด


สม

rin

นิกร วัฒนพนม (2535: 1) ได้ให้ความหมายของกาหนดการเชิงเส้นว่า กาหนดการเชิงเส้น


หอ

yS

หมายถึง แบบจาลอง (Model) ทางคณิตศาสตร์เพื่อแทนความสัมพันธ์ของกิจกรรมต่างๆ โดยใช้


rar
นกั

L ib
สาํ

ตัวแปรแทนระดับกิจกรรมในการตัดสินใจ และพัฒ นาเป็นแบบจาลองทางคณิตศาสตร์ให้ม ี


al

ความสัมพันธ์ในรูปฟงั ก์ชนั คณิตศาสตร์ ซึง่ ฟงั ก์ชนั คณิตศาสตร์น้มี คี ุณสมบัตเิ ป็นฟงั ก์ชนั เชิงเส้น
n tr
Ce

(Linear Function) ถ้าอยูใ่ นรูปเรขาคณิต 2 มิติ จะเป็นเส้นตรงและถ้าอยูใ่ นรูปเรขาคณิต 3 มิติ


จะเป็นระนาบ
เพชรหงส์ โชติกอาภา (2535: 1) กล่าวถึงกาหนดการเชิงเส้นว่า เป็นเทคนิคเชิง
คณิตศาสตร์ทน่ี ามาใช้ในการวางแผนการจัดกิจกรรมต่างๆ เพื่อให้เกิดผลลัพธ์ดที ส่ี ุดตามเป้าหมาย
ทีก่ าหนด เช่น ให้ได้กาไรสูงสุด หรือวางแผนให้มตี น้ ทุนการผลิตต่าสุดการวางแผนนี้เกีย่ วข้องกับ
การจัดสรรทรัพยากรทีม่ อี ยูอ่ ย่างจากัดในองค์กรนัน้ ๆ ได้แก่ วัตถุดบิ เครือ่ งจักร แรงงาน เงินทุน
หรือสิง่ อื่นๆ ทีจ่ าเป็ นในการผลิตหรือการบริการ ตัวอย่างของปญั หาที่นามาประยุกต์ใช้กบั กาหนด
การเชิงเส้น คือ ปญั หาการหาสัดส่วนการผลิตของอาหารสัตว์ ปญั หาการจัดสรรทรัพยากรทีใ่ ช้ใน
การผลิต การจัดตารางการผลิต การจัดสรรงบประมาณ และการเลือกแนวทางการขนส่งเพื่อให้
ค่าใช้จา่ ยต่าสุด
12

วิจติ ร ตัณฑสุทธิ ์ วันชัย ริจริ วนิช และศิรจิ นั ทร์ ทองประเสริฐ (2548: 21) กล่าวว่า
กาหนดการเชิงเส้นเป็นเทคนิคในการแก้ ปญั หาการจัดสรรปจั จัยและทรัพยากรทีม่ ลี กั ษณะความ
สัมพันธ์ของตัวแปรต่างๆ ทีเ่ กีย่ วข้องเป็นเชิงเส้นทัง้ สิน้ เช่น กาไรสูงสุด ค่าใช้จา่ ยน้อยทีส่ ุด และ
แนวทางการดาเนินงานอื่นๆ ทีใ่ ห้ผลประโยชน์มากทีส่ ุด ต่อระบบนัน้ ๆ โดยมีเงือ่ นไขทีก่ าหนดให้
เช่น สภาวะตลาด วัตถุดบิ กาลังคน เครือ่ งจักร เงินทุน เป็นต้น
จากความหมายของกาหนดการเชิงเส้นทีก่ ล่าวมา พอสรุปได้ว่า กาหนดการเชิงเส้น
เป็นตัวแบบทางคณิตศาสตร์ทส่ี ร้างขึน้ แทนปญั หาทีเ่ กิดขึ้นเพื่อหาแนวทางในการแก้ปญั หาดีทส่ี ุด
ตามเป้าหมายทีต่ งั ้ ไว้ และสอดคล้องกับเงื่อนไขทีม่ อี ยูใ่ นปญั หานัน้ ๆ โดยทีค่ วามสัมพันธ์ของ
ตัวแปรต่างๆ ทีเ่ กีย่ วข้องเป็นเชิงเส้นทัง้ สิน้ ซึง่ จะนาไปใช้ในการแก้ปญั หาการจัดสรรทรัพยากร
หรือกิจกรรมต่างๆ ทีม่ อี ยูอ่ ย่างจากัด เพื่อ ให้ได้บรรลุตามวัตถุประสงค์ทต่ี อ้ งการ เช่น กาไรสูงสุด


ค่าใช้จา่ ยน้อยสุด เป็นต้น

วโิ ร
1.3 การประยุกต์เกี่ยวกับกาหนดการเชิ งเส้น นิทร
คร
ประกอบ จิรกิติ (2535: 2) กล่าวถึง ตัวอย่างของการประยุกต์ใช้กาหนดการเชิงเส้น ได้แก่
นี
ศร

it y
ers
1. ปญั หาการผลิต (Product Mix Problem) เป็นการพิจารณาหาปริมาณสินค้าแต่ละ
ลยั
ยา

n iv
ประเภททีค่ วรทาการผลิต เพื่อทีจ่ ะให้การใช้ทรัพยากรทีม่ อี ยูไ่ ม่ว่าจะเป็น เครือ่ งจักร วัตถุดบิ
tU
วทิ
หา

ir o

แรงงาน นัน้ เป็นไปอย่างเหมาะสม เพื่อทีจ่ ะได้ผลตอบแทนสูงสุด


งม

nw

2. ปญั หาการผสมสาร (Blending Problem) เป็นการพิจารณาปริมาณสารหรือวัตถุดบิ


ลา

ari
ดุ ก

a kh

ชนิดต่างๆ ทีจ่ ะนามาผสมกันหรือนามาใช้ในการผลิตสินค้าประเภทต่างๆ ตามคุณสมบัตทิ ไ่ี ด้


สม

rin

กาหนดไว้ เพื่อทีจ่ ะได้มคี ่าใช้จา่ ยต่าสุด


หอ

yS

3. ปญั หาการขนส่ง (Transportation Problem) เป็นการพิจารณาปริมาณสินค้าทีจ่ ะ


rar
นกั

L ib
สาํ

ทาการขนส่งจากแหล่งผลิตสินค้าไปยังผูบ้ ริโภคหรือจุดหมายปลายทาง เพื่อให้ค่าใช้จา่ ยในการ


al

ขนส่งทีต่ ่าทีส่ ุด หรือส่งสินค้าถึงจุดหมายปลายทางได้เร็วทีส่ ุด


n tr
Ce

4. ปญั หาการมอบหมายงาน (Assignment Problem) เป็นการพิจารณาการมอบหมาย


งานทีจ่ ะต้องทาให้กบั บุคลากรหรือเครือ่ งจักร เพื่อให้งานทีไ่ ด้รบั มอบหมายแล้วเสร็จในเวลาทีเ่ ร็ว
ทีส่ ุด หรือเสียค่าใช้จา่ ยน้อยทีส่ ุด
5. ปญั หาการลงทุน (Investment Project Problem) เป็นการพิจารณาจัดสรรเงิน
ลงทุนในโครงการลงทุนต่างๆ เพื่อให้ได้ผลตอบแทนสูงทีส่ ุด
6. ปญั หาการเลือกสื่อโฆษณา (Media Selection) เป็นการพิจารณาเลือกสื่อโฆษณา
ชนิดต่างๆ เพื่อให้ขอ้ มูลหรือข่าวสารทีต่ อ้ งการเผยแพร่ออกสู่เป้าหมายเป็นจานวนมากทีส่ ุด หรือ
โดยเสียค่าใช้จา่ ยในการโฆษณาน้อยทีส่ ุด
13

7. ปญั หาการตัดกระดาษ (Trim Loss Problem) เป็นการพิจารณารูปแบบหรือวิธกี าร


ตัดกระดาษ (หรือสินค้าอื่นๆ ทีม่ คี ุณสมบัตคิ ล้ายคลึงกัน เช่น การตัดผ้า การตัดแผ่นเหล็ก ) เพื่อทีจ่ ะ
หารูปแบบการตัดกระดาษขนาดมาตรฐานทีม่ อี ยูอ่ อกเป็นขนาดและปริมาตรต่างๆ ตามความ
ต้องการ เพื่อทีจ่ ะให้มเี ศษ (ส่วนทีใ่ ช้ประโยชน์ต่อไปไม่ได้) น้อยทีส่ ุด
8. ปญั หาทางด้านการทหาร อาจนาเอากาหนดการเชิงเส้นใช้ในการพิจารณาวาง
แผนการส่งกาลังบารุง การเลือกกาหนดจานวนอาวุธยุทโธปกรณ์ การกาหนดยุทธศาสตร์ ฯลฯ
อาริสา รัตนเพ็ชร และ ทัศนา วิทยานนท์ (2545: 141-142) กล่าวถึงกาหนดการเชิงเส้นว่า
ได้ถูกนาไปใช้ในการแก้ปญั หาด้านต่างๆ อย่างกว้างขวาง ซึง่ ได้ช่วยให้เกิดประสิทธิภาพในการ
บริหาร และการดาเนินงานขององค์การหรือหน่วยงานนัน้ ๆ ในปจั จุบนั นี้เทคนิคกาหนดการเชิงเส้น
ได้ถูกนาไปประยุกต์ใช้กบั ปญั หาในด้านต่างๆ มากมาย ดังตัวอย่า ง เช่น
1. การเกษตรกรรม กาหนดการเชิงเส้นช่วยในการวิเคราะห์ปญั หาเกีย่ วกับการจัดสรร


วโิ ร
ปจั จัยทีม่ อี ยูอ่ ย่างจากัด อันได้แก่ ทีด่ นิ น้า ปุ๋ย แรงงาน และเงินลงทุน เพื่อทีจ่ ะให้ได้รายได้จาก
ทร
ผลผลิตนัน้ สูงสุด โดยการเลือกปลูกพืชให้เหมาะสมกับฤดูกาล และจานวนผลผลิตทีไ่ ด้นั ้น จะต้องไม่
นิ
คร
มากเกินความต้องการของตลาดซึง่ จะทาให้ขายผลิตผลทางเกษตรได้ในราคาดี
นี
ศร

it y
ers
2. การอุตสาหกรรม กาหนดการเชิงเส้นได้ช่วยในการทีจ่ ะลดต้นทุนการผลิต และ
ลยั
ยา

n iv
ดาเนินกิจการให้ได้ผลกาไรสูงสุด ตลอดจนช่วยให้การทางานของบุคลและเครือ่ งมือต่างๆ นัน้ เป็นไป
tU
วทิ
หา

ir o

อย่างมีประสิทธิภาพ ซึง่ ก็ได้ประสบความสาเร็จในด้านอุตสาหกรรมต่างๆ เช่น อุตสาหกรรมถ่านหิน


งม

nw

เหล็กกล้า กระดาษและน้ามัน เป็นต้น


ลา

ari
ดุ ก

a kh

3. การขนส่ง กาหนดการเชิงเส้นได้ถูกนาไปใช้ในการวางแผน ทีจ่ ะกาหนดเส้นทาง


สม

rin

ขนส่งสินค้าจากคลังสินค้าทีม่ อี ยูไ่ ปยังลูกค้า โดยทาให้ตน้ ทุนในการขนส่งดังกล่าวน้อย ทีส่ ุด


หอ

yS

4. การทหาร ได้มกี ารใช้เทคนิคของกาหนดการเชิงเส้นในการแก้ปญั หาการจัดส่ง


rar
นกั

L ib
สาํ

กาลังบารุงทางอากาศ โดยทาให้เกิดภาวะความคล่องตัวในการปฏิบตั งิ านอย่างได้ผล ภายใต้ภาวะ


al

กาจัดของจานวนเครือ่ งบิน นักบิน สนามบินขึน้ ลงและปจั จัยอื่นๆ เป็นต้น


n tr
Ce

จากการศึกษาการประยุกต์ของกาหนดการเชิงเส้น สรุปได้ว่า กาหนดการเชิงเส้นได้ถูก


นาไปใช้ในการแก้ปญั หาด้านต่างๆ อย่างกว้างขวาง ทัง้ นี้เพราะกาหนดการเชิงเส้น นามาใช้ในการ
วางแผนการจัดกิจกรรมต่างๆ เพื่อให้ ได้ผลประโยชน์สงู สุดตามเป้าหมายทีก่ าหนด เช่น ให้ได้กาไร
สูงสุด ต้นทุนต่าสุด ค่าใช้จา่ ยน้อยทีส่ ุด ฯลฯ โดยมีเงือ่ นไขทีก่ าหนดให้ เช่น สภาวะตลาด วัตถุดบิ
กาลังคน เครือ่ งจักร เงินทุน เป็นต้น สาหรับปญั หาทีน่ ามาประยุกต์ในงานวิจยั นี้ได้แก่ ปญั หาการ
ผลิต ปญั หาทางการเกษตร
14

1.4 งานวิ จยั ที่เกี่ยวข้องกับกาหนดการเชิ งเส้น


งานวิ จยั ในประเทศ
วรรณรัตน์ วิบลู สุข (2539) ได้ทาการวิจยั เพื่อวินิจฉัยข้อบกพร่องทางการเรียน
คณิตศาสตร์ เรือ่ งกาหนดการเชิงเส้น ของนักศึกษามหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ
ผลการวิจยั พบว่า 1) เมือ่ จาแนกตามเนื้อหา พบว่านักศึกษามีขอ้ บกพร่องทางการเรียนคณิตศาสตร์
มากทีส่ ุดในเรือ่ ง การแก้โจทย์ปญั หากาหนดการเชิงเส้นโดยใช้กราฟ ร้อยละ 47.85 ในเนื้อหาเรือ่ ง
กาหนดการเชิงเส้นในระบบสองมิตบิ กพร่อง ร้อยละ 14.52 และมีขอ้ บกพร่องน้อยทีส่ ุดในเนื้อหา
เรือ่ งระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร ร้อยละ 11.83 2) เมือ่ จาแนกตามจุดประสงค์การเรียนรู้ พบว่า
นักศึกษามีขอ้ บกพร่องทางการเรียนคณิตศาสตร์มากทีส่ ุดในจุดประสงค์การเรียนรูท้ ่ี 4 การกาหนด
ตัวแปรของปญั หา ร้อยละ 50.54 มีขอ้ บกพร่องในจุดประสงค์การเรียนรูท้ ่ี 10 การคานวณค่าจาก


สมการวัตถุประสงค์ ร้อยละ 49.46 และมีขอ้ บกพร่องน้อยทีส่ ุด ในจุดประสงค์การเรียนรูท้ ่ี 7

วโิ ร
การกาหนดสมการวัตถุประสงค์ ร้อยละ 6.99
สุกญ นิทร
ั ญา เรืองสุวรรณ (2542) ได้ทาการแก้ปญั หากาหนดการเชิงเส้น ด้วย Excel Solver
คร
พบว่าคาสัง่ Solver ของโปรแกรม Excel นัน้ เป็นเครือ่ งมือหนึ่งทีส่ ามารถช่วยแก้ปญั หากาหนดการ
นี
ศร

it y
ers
เชิงเส้นได้ดี ซึง่ เหมาะสาหรับผูท้ ไ่ี ม่มคี วามรูด้ า้ นกาหนดการเชิงเส้น นอกจาก Solver แล้วยังมี
ลยั
ยา

n iv
โปรแกรมสาหรับแก้ปญั หากาหนดการเชิงเส้นอีกมากมาย อาทิเช่น LINDO (Linear Interactive
tU
วทิ
หา

ir o

Discrete Optimizer), QSB+ (Quantitative System for Business Plus) เป็นต้น ทาให้การ
งม

nw

แก้ปญั หากาหนดการเชิงเส้นทาได้งา่ ยขึน้ ช่วยให้ผใู้ ช้หาทางเลือกทีด่ ที ส่ี ุดในการผลิตสินค้าได้เร็ว


ลา

ari
ดุ ก

a kh

ขึน้ ซึง่ สามารถนาไปปรับปรุงการผลิตหรือพัฒนาระบบงานให้ดขี น้ึ


สม

rin

วรทัศน์ ขจิตวิชยานุกูล และ เชาวลิต มีเชาว์ (2546) ได้นากาหนดการเชิงเส้นมาใช้ใน


หอ

yS

กระบวนการผสมในอุตสาหกรรม (Linear Programming for Blending Process in Industry)


rar
นกั

L ib
สาํ

โดยได้นาเสนอการใช้โปรแกรมเอ็กเซลซึง่ เป็นโปรแกรมตารางการคานวณทีม่ กี ารใช้งานทัวไปมา ่


al

ช่วยในการคานวณแก้ปญั หาเชิงเส้น เช่นเดียวกับโปรแกรมเฉพาะทาง อาทิเช่น โปรแกรมลินโด


n tr
Ce

(LINDO) หรือโปรแกรมลินโก (LINGO) โดยนาความรูแ้ ละเทคนิคการวิจยั งานมาแก้ปญั หาเชิงเส้น


โดยใช้โปรแกรมทัวไปแทนโปรแกรมเฉพาะทางและได้
่ ยกตัวอย่างขบวนการผสมเพื่อแสดงถึงวิธกี าร
แก้ปญั หาหลังจากได้นาไปใช้ในโรงงานพบว่าสามารถลดต้นทุนการผลิตเนื่องจากวัตถุดบิ ได้ถงึ 15%
ระเบียบ นิ้วยะวงศ์ (2547) ได้สร้างและประสิทธิภาพของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
อัจฉริยะผ่านเครือข่ายอินเตอร์เน็ต เรื่องกาหนดการเชิงเส้น ในสถาบันราชภัฏ และศึกษาเปรียบ
เทียบผลสัมฤทธิ ์ทางการเรียนของการจัดการเรียนการสอนระหว่าง กลุ่มทีเ่ รียนด้วยการผสมผสาน
กลุ่มทีเ่ รียนด้วย WICAI (Web-base Intelligent Computer Assisted Instruction) และกลุ่มทีเ่ รียน
ตามปกติ กลุ่มตัวอย่างเป็นนักศึกษาสถาบันราชภัฏอุตรดิตถ์ ทีล่ งทะเบียนเรียนวิชาการคิดและการ
ตัดสินใจ ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2546 จานวน 3 กลุ่ม กลุ่มละ 30 คน ทีม่ รี ะดับความสามารถ
ทางคณิตศาสตร์ สูง ปานกลาง ต่า ระดับความสามารถละ 10 คน เป็นกลุ่มทดลอง 2 กลุ่ม คือ
15

กลุ่มทดลองกลุ่มที่ 1 เรียนด้วยการผสมผสาน และกลุ่มทดลองกลุ่มที่ 2 เรียนด้วย WICAI และ


กลุ่มควบคุม 1 กลุ่ม เรียนตามปกติ ผลการวิจยั พบว่า
1. WICAI มีประสิทธิภาพ (E1/ E2) เป็น 83.64/ 81.89 ซึง่ กาหนดเกณฑ์
ไว้ท่ี 80/ 80
2. ผลสัมฤทธิ ์ทางการเรียนโดยรวมระหว่างกลุ่มทีเ่ รียนด้วยการผสมผสานกับกลุ่ม
ทีเ่ รียนตามปกติ แตกต่างกันอย่างมีนยั สาคัญทางสถิตทิ ร่ี ะดับ .05 โดยกลุ่มทีเ่ รียนด้วยการผสม
ผสานสูงกว่ากลุ่มเรียนตามปกติ ผลสัมฤทธิ ์ทางการเรียนระหว่าง 2 กลุ่มนอกจากนี้ไม่แตกต่างกัน
3. ผลสัมฤทธิ ์ทางการเรียนในกลุ่มความสามารถระดับต่า พบว่า ผลสัมฤทธิ ์
ทางการเรียนระหว่างกลุ่มทีเ่ รียนด้วยด้วยการผสมผสาน กลุ่มทีเ่ รียนด้วย WICAI และกลุ่มทีเ่ รียน
ตามปกติ แตกต่างกันอย่างมีนยั สาคัญทางสถิตทิ ร่ี ะดับ .05 โดยกลุ่มทีเ่ รียนด้วยการผสมผสานสูง


กว่ากลุ่มเรียนตามปกติ กลุ่มทีเ่ รียนด้วย WICAI สูงกว่ากลุ่มทีเ่ รียนตามปกติ แต่กลุ่มทีเ่ รียนด้วยการ

วโิ ร
ผสมผสานกับกลุ่มทีเ่ รียนด้วย WICAI ไม่แตกต่างกัน
ทร
4. ผลสัมฤทธิ ์ทางการเรียนในกลุ่มความสามารถระดับปานกลางและสูง พบว่า
นิ
คร
ผลสัมฤทธิ ์ทางการเรียนระหว่าง กลุ่มทีเ่ รียนด้วยด้วยการผสมผสาน กลุ่มทีเ่ รียนด้วย WICAI และ
นี
ศร

it y
กลุ่มทีเ่ รียนตามปกติ ไม่แตกต่างกัน ers
ลยั
ยา

n iv
อมฤทธิ ์ บุพโต (2548) ได้สร้างบทเรียนคอมพิวเตอร์มลั ติมเี ดีย เรือ่ งกาหนดการเชิงเส้น
tU
วทิ
หา

ir o

นักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 5 จานวน 2 ห้องเรียน ห้องละ 40 คน เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ ์


งม

nw

ทางการเรียน ระหว่างกลุ่มทีเ่ รียนด้วยวิธสี อนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์มลั ติมเี ดียทีผ่ ู้ วจิ ยั พัฒนา


ลา

ari
ดุ ก

a kh

กับกลุ่มทีเ่ รียนด้วยวิธสี อนปกติ และเปรียบเทียบเจตคติต่อวิชาคณิตศาสตร์ของผูเ้ รียนก่อนและ


สม

rin

หลังจากการเรียนด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์มลั ติมเี ดียเรือ่ งกาหนดการเชิงเส้น ระดับมัธยมศึกษา


หอ

yS

ปีท่ี 5 ผลการวิจยั พบว่า ผลสัมฤทธิ ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์เรือ่ งกาหนดการเชิงเส้น นักเรียนชัน้


rar
นกั

L ib
สาํ

มัธยมศึกษาปีท่ี 5 ระหว่างกลุ่มทดลองทีเ่ รียนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์มลั ติมเี ดียกับกลุ่มควบคุม


al

ทีเ่ รียนโดยวิธสี อนปกติ ไม่แตกต่างกันทีร่ ะดับนัยสาคัญ .05 และผูเ้ รียนมีเจตคติต่อวิชาคณิตศาสตร์


n tr
Ce

ภายหลังจากการเรียนด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์มลั ติมเี ดียดีกว่าก่อนเรียนทีร่ ะดับนัยสาคัญ .01


วิฑรู ย์ แสงทอง (2548) ได้ศกึ ษาความสามารถและความสนใจในการเรียนคณิตศาสตร์
เรือ่ งกาหนดการเชิงเส้น ของนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 2 และนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 3
ผลการวิจยั พบว่า นักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 2 ไม่มคี วามสามารถเพียงพอทีจ่ ะเรียนคณิตศาสตร์
เรือ่ งกาหนดการเชิงเส้น ส่วนนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 3 มีความสามารถเพียงพอทีจ่ ะเรียน
คณิตศาสตร์เรือ่ งกาหนดการเชิงเส้น และนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 2 และนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษา
ปีท่ี 3 มีความสนใจในการเรียนคณิตศาสตร์เรือ่ งกาหนดการเชิงเส้นหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน
อย่างมีนยั สาคัญทางสถิตทิ ร่ี ะดับ .01
16

อาภรณ์ อินต๊ะชัย (2549) ได้ทาการสร้างและหาประสิทธิภาพของบทเรียนคอมพิวเตอร์


ช่วยสอน เรือ่ งการแก้ปญั หากาหนดการเชิงเส้นโดยใช้กราฟ สาหรับนักศึกษาระดับปริญญาตรี
กลุ่มตัวอย่างเป็นนักศึกษาระดับปริญญาตรี ทีเ่ รียนวิชาคณิตศาสตร์ประยุกต์ทางธุรกิจ ในภาคเรียน
ที่ 1 ปีการศึกษา 2549 ของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา เชียงใหม่ จานวน 50 คน
โดยวัดผลสัมฤทธิ ์ทางการเรียนด้วยแบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน ผลการวิจยั พบว่า ผูเ้ รียน
สามารถทาคะแนนรายจุดประสงค์ก่อนเรียนเฉลีย่ ร้อยละ 49.3 และคะแนนสอบหลังเรียนเพิม่ ขึน้ เป็น
ร้อยละ 73.2 ซึง่ ผลสัมฤทธิ ์ทางการเรียนหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนทีร่ ะดับนัยสาคัญ .05
ประเวส นามสีฐาน (2551) ได้สร้างบทเรียนบนเครือข่าย เรือ่ งการแก้ปญั หากาหนดการ
เชิงเส้น ด้วยโปรแกรมสาเร็จรูป QM (Quality Management) สาหรับนักศึกษาระดับปริญญาตรี
สาขาวิชาสถิติ โดยมีค่าดัชนีประสิทธิผล (E.I.) ตามเกณฑ์ทต่ี งั ้ ไว้ 0.50 ขึน้ ไป กลุ่มตัวอย่างเป็น


นักศึกษาชัน้ ปีท่ี 3 สาขาวิชาสถิติ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ในภาคเรียนที่ 1

วโิ ร
ปีการศึกษา 2550 จานวน 34 คน ผลการศึกษาพบว่า บทเรียนบนเครือข่ายทีผ่ ศู้ กึ ษาสร้างขึน้
ทร
มีค่าดัชนีประสิทธิผลเท่ากับ 0.58 ซึง่ อยูใ่ นเกณฑ์ทต่ี งั ้ ไว้ แสดงว่า บทเรียนบนเครือข่ายเหมาะที่
นิ
คร
จะนาไปใช้ประกอบการเรียนรูเ้ รือ่ งการแก้ปญั หากาหนดการเชิงเส้น ด้วยโปรแกรมสาเร็จรูป QM
นี
ศร

it y
ers
สาหรับนักศึกษาระดับปริญญาตรี สาขาวิชาสถิติ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
ลยั
ยา

n iv
สังเวียน แผนสุพดั (2552) ได้ศกึ ษาเรือ่ งชุดการเรียนการสอนคณิตศาสตร์ เรือ่ ง
tU
วทิ
หา

ir o

กาหนดการเชิงเส้นด้วยวิธกี ราฟและวิธซี มิ เพล็กซ์ สาหรับนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 6 จุดมุง่ หมาย


งม

nw

ในการวิจยั คือ 1) เพื่อสร้างชุดการเรียนการสอนคณิตศาสตร์ เรือ่ งกาหนดการเชิงเส้นด้วยวิธกี ราฟ


ลา

ari
ดุ ก

a kh

และวิธซี มิ เพล็กซ์ สาหรับนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 6 2) เพื่อศึกษาผลสัมฤทธิ ์ทางการเรียนเรือ่ ง


สม

rin

กาหนดการเชิงเส้นด้วยวิธกี ราฟ 3) เพื่อศึกษาผลสัมฤทธิ ์ทางการเรียนเรือ่ งกาหนดการเชิงเส้นด้วย


หอ

yS

วิธซี มิ เพล็กซ์ กลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 6 โรงเรียนชัยปญั ญาวิทยานุสรณ์


rar
นกั

L ib
สาํ

อาเภอคาชะอี จังหวัดมุกดาหาร ในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2551 จานวน 36 คน ผลการวิจยั


al

พบว่า นักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 6 ทีเ่ รียนโดยใช้ชุดการเรียนการสอนคณิตศาสตร์ เรือ่ งกาหนด


n tr
Ce

การเชิงเส้นด้วยวิธกี ราฟและวิธซี มิ เพล็กซ์ มีผลสัมฤทธิ ์ทางการเรียนเรือ่ งกาหนดการเชิงเส้นด้วย


วิธกี ราฟผ่านเกณฑ์มากกว่าร้อยละ 60 ของจานวนนักเรียนทัง้ หมด และมีผลสัมฤทธิ ์ทางการเรียน
เรือ่ งกาหนดการเชิงเส้นด้วยวิธซี มิ เพล็กซ์ผ่านเกณฑ์มากกว่าร้อยละ 60 ของจานวนนักเรียนทัง้ หมด
สรุปได้ว่า นักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 6 มีความสามารถในการเรียนเรือ่ งกาหนดการเชิงเส้นด้วย
วิธกี ราฟและวิธซี มิ เพล็กซ์โดยใช้ชุดการเรียนการสอนคณิตศาสตร์ทผ่ี วู้ จิ ยั สร้างขึน้
17

งานวิ จยั ต่างประเทศ


เบนสัน (Benson. 1989: Online) ได้ศกึ ษาผลสัมฤทธิ ์ทางการเรียน เจตคติของนักเรียน
ต่อวิชาคณิตศาสตร์และเจตคติต่อคอมพิวเตอร์ โดยใช้คอมพิวเตอร์ซอฟต์แวร์เป็นเครือ่ งมือในการ
สอนเรือ่ งการกาจัดของเกาส์จอร์แดน (Gauss-Jordan Elimination) และกาหนดการเชิงเส้น
กลุ่มตัวอย่างแบ่งเป็นกลุ่มทดลองซึง่ ใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ในการศึกษาเนื้ อหาและกลุ่มควบคุม
เรียนเนื้อหาเดียวกันกับกลุ่มทดลองแต่ไม่ใช้คอมพิวเตอร์ สมมติฐานในการวิจยั คือผลสัมฤทธิ ์
ทางการเรียนและเจตคติของกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุมไม่แตกต่างกัน ผลการวิจยั พบว่า
คะแนนผลสัมฤทธิ ์เรือ่ งกาหนดการเชิงเส้น และเจตคติต่อวิชาคณิตศาสตร์ของกลุ่มทดลองสูงกว่า
กลุ่มควบคุม แต่คะแนนผลสัมฤทธิ ์เรือ่ งการกาจัดของเกาส์จอร์แดนและเจตคติต่อวิชาคณิตศาสตร์
ของกลุ่มควบคุมสูงกว่ากลุ่มทดลอง ส่วนเจตคติต่อคอมพิวเตอร์ของนักเรียนกลุ่มทดลองดีกว่ากลุ่ม


ควบคุม

วโิ ร
สมิธ (Smith. 1991: Online) ได้ศกึ ษาเรือ่ งการบูรณาการของโปรแกรมระบบพีชคณิต
ทร
ในการเรียนการสอนเรือ่ งกาหนดการเชิงเส้น เพื่อ ศึกษาผลการใช้เทคโนโลยีในการสนับสนุนการ
นิ
คร
เรียนการสอนด้วยโปรแกรมระบบพีชคณิตทีน่ ามาบูรณาการในการเรียนการสอน เพื่อสร้างความ
นี
ศร

it y
ers
เข้าใจเรือ่ งกาหนดการเชิงเส้นกับชัน้ เรียนทีม่ ขี นาดใหญ่โดยทาการทดลองกับนักศึกษาวิชาเอกกา ร
ลยั
ยา

n iv
บริหารธุรกิจและสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยแคโรลินาใต้ ประเทศโคลัมเบีย ซึง่ แต่ละห้องมีประมาณ
tU
วทิ
หา

ir o

70 คน โดยกลุ่มตัวอย่างแบ่งออกเป็น 2 กลุ่มคือ กลุ่มที่ 1 กลุ่ม INT คือห้องทีเ่ รียนโดยใช้โปรแกรม


งม

nw

ระบบพีชคณิตในการสาธิตการเรียนการสอนและให้นกั ศึกษาใช้โปรแกรมนี้ดว้ ย กลุ่มที่ 2 กลุ่ม NINT


ลา

ari
ดุ ก

a kh

คือห้องทีใ่ ช้โปรแกรมระบบพีชคณิตในการสาธิตการเรียนการสอนเพียงอย่างเดียว และกลุ่มควบคุม


สม

rin

แทนด้วยห้องโดยได้เปรียบ เทียบผลสัมฤทธิ ์ทางการเรียนและเจตคติต่อวิชาคณิตศาสตร์


หอ

yS

ผลการวิจยั พบว่า นักศึกษาทัง้ สองกลุ่มมีผลสัมฤทธิ ์ทางการเรียนแตกต่างกันอย่างไม่ม ีนยั สาคัญ


rar
นกั

L ib
สาํ

และนักเรียนทัง้ สองกลุ่มมีเจตคติต่อวิชาคณิตศาสตร์ไม่แตกต่างกัน
al

ยาวัซ (Yavuz. 2003: Online) ได้ทาวิจยั เพื่อศึกษาอิทธิพลของการเรียนรูโ้ ดยใช้แบบฝึก


n tr
Ce

ทักษะเชิงประสบการณ์ในชัน้ เรียน: กรณีศกึ ษาจากการเรียนการสอนเรือ่ งกาหนดการเชิงเส้น เพื่อ


ประเมินการทดลองการใช้แบบฝึกทักษะเชิงประสบการณ์ในวิชาดังกล่าว โดยได้ศกึ ษาผลทีเ่ กิดจาก
การใช้แบบฝึกนี้กบั นักศึกษา 3 กลุ่ม ซึง่ มีกลุ่มทดลองสองกลุ่มและได้รบั แบบฝึกเชิงประสบการณ์
ทีแ่ ตกต่างกัน ส่วนอีกกลุ่มหนึ่งเป็นกลุ่มควบคุม ในการวิจยั ครัง้ นี้จะวัดความรูค้ วามเข้าใจในการ
เรียนของนักเรียนทัง้ ก่อนและหลังเรียน ผลการวิจยั พบว่า การใช้แบบฝึกเชิงประสบการณ์ทงั ้ สอง
กลุ่มสามารถสร้างความเข้าใจเรือ่ งกาหนดการเชิงเส้นเพิม่ ขึน้ สังเกตได้จากการเปรียบเทียบคะแนน
หลังเรียนซึง่ สูงกว่าคะแนนก่อนเรียนอย่างมีนยั สาคัญ ข้อมูลในการศึกษานี้ทาให้ทราบ อีกว่าเพศ
หญิงจะเอาใจใส่ในการเรียนรูใ้ นสิง่ แวดล้อมทีม่ กี ารปฏิสมั พันธ์ดว้ ยกระบวนการเรียนรูแ้ บบ เป็นกลุ่ม
ดีกว่าเรียนรูแ้ บบรายคน ส่วนเพศชายเรียนรูไ้ ด้ดใี นสภาวะการเรียนรูท้ งั ้ สองแบบ
18

เอ็ดวาร์ด และ เชลส์ท (Edwards; & Chelst. 2004: Online) ได้ทาการศึกษาโครงการ


ภายใต้ช่อื ว่า High School Operations Research Outreach: HSOR ซึง่ เป็นโครงการทีส่ อดแทรก
วิชาการวิจยั ดาเนินงาน ในการเรียนการสอนคณิตศาสตร์ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย โครงการนี้
นับเป็นการกระตุน้ และสร้างแรงจูงใจให้นกั วิจยั ดาเนิ นงานรุน่ ต่อ ๆ ไปและเป็นการสร้างความรู้
พืน้ ฐานเกีย่ วกับการวิจยั ดาเนิน งานแก่ผเู้ รียน ซึง่ เป้าหมายหลัก คือการนาความรูเ้ กีย่ วกับการวิจยั
ดาเนินงานไปสอนในระดับมัธยมศึกษาตอนปลายเพื่อเป็นการแนะนาและสร้างความรูค้ วามเข้าใจ
เกีย่ วกับการวิจยั ดาเนินงานให้มากขึน้ โดยนาเอาเหตุการณ์ปญั หาเกีย่ วกับชีวติ จริงไปสอนด้วยและ
HSOR ได้มกี ารทดลองและพยายามทีจ่ ะพัฒนาชุดการเรียนการสอน เกีย่ วกับการวิจยั ดาเนิน งาน
โดยการสร้างทีมผูเ้ ชีย่ วชาญด้านการวิจยั ดาเนิน งานทีเ่ ป็นอาสาสมัครและมีความสามารถทีจ่ ะ
นาเสนอชุดการเรียนการสอนแก่ครูคณิตศาสตร์ระดับมัธยมศึกษาตอนปลายด้วย


จากเอกสารและงานวิจยั ทัง้ ในและต่างประเทศทีก่ ล่าวมา จะเห็นได้ว่ากาหนดการเชิงเส้น

วโิ ร
มีความสาคัญในการนาไปแก้ปญั หาด้านต่างๆ อย่างกว้างขวาง เช่น ทางเกษตรกรรม อุตสาหกรรม
ทร
การขนส่ง และทางการลงทุน ส่วนทางด้านการศึกษามีการพัฒนาการเรียนการสอน เพื่อให้นกั เรียน
นิ
คร
มีความรูค้ วามสามารถในการเรียนเรือ่ งกาหนดการเชิงเส้นได้อย่างมีประสิทธิภาพและพบว่าใน
นี
ศร

it y
ers
ต่างประเทศได้มกี ารศึกษาและพัฒนาการเรียนการสอนโดยการสอดแทรกความรูเ้ รือ่ งการวิจยั การ
ลยั
ยา

n iv
ดาเนินการเข้าไปในการเรียนการสอนระดับมัธยมศึก ษาตอนปลาย ซึง่ กาหนดการเชิงเส้น เป็นเนื้อหา
tU
วทิ
หา

ir o

หนึ่งในวิชาการวิจยั ดาเนิน การทีไ่ ด้นามาสอนในระดับมัธยมศึกษาตอนปลายด้วย จากประโยชน์และ


งม

nw

ความสาคัญของกาหนดการเชิงเส้น จึงทาให้ผวู้ จิ ยั เห็นว่านักเรียนระดับชัน้ มัธยมศึกษาตอนต้นควรมี


ลา

ari
ดุ ก

a kh

การเรียนรูเ้ รือ่ งกาหนดการเชิงเส้น เพื่อให้นกั เรียนมีความรูพ้ น้ื ฐานเกีย่ วกับกาหนดการเชิงเส้น


สม

rin

รวมทัง้ ต้องการให้เห็นประโยชน์และความสาคัญของคณิตศาสตร์ อีกทัง้ นักเรียนได้เห็นบทประยุกต์


หอ

yS

ของเนื้อหาเรือ่ งสมการ อสมการ และกราฟ โดยการนาความรูไ้ ปประยุกต์ใช้แก้ปญั หาในสถานการณ์


rar
นกั

ทีเ่ กิดขึน้ จริง ซึง่ การศึกษากาหนดการเชิงเส้นโดยใช้วธิ กี ราฟในการแก้ปญั หาต้องอาศัยความรู้


L ib
สาํ

al

พืน้ ฐานเรือ่ งสมการ อสมการและกราฟ ในขณะทีน่ กั เรียนชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 3 ได้เรียนเนื้อหาเรือ่ ง


n tr
Ce

สมการ อสมการและกราฟ ดังนัน้ ผูว้ จิ ยั จึงมีความสนใจทีจ่ ะสร้างชุดกิจกรรมการเรียนการสอนเรือ่ ง


กาหนดการเชิงเส้นสาหรับนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 3 ทีใ่ ช้กราฟในการแก้ปญั หา
19

2. เอกสารและงานวิ จยั ที่เกี่ยวข้องกับโปรแกรมคอมพิ วเตอร์


2.1 เอกสารและงานวิ จยั ที่เกี่ยวข้องกับโปรแกรมเรขาคณิ ตแบบพลวัต
2.1.1 โปรแกรมเรขาคณิ ตแบบพลวัต
โปรแกรมเรขาคณิตแบบพลวัตเป็นโปรแกรมด้านเรขาคณิตซึง่ เน้นการสร้างรูปเรขาคณิต
ในลักษณะเดียวกับการใช้สนั ตรงและวงเวียน มีลกั ษณะปฏิสมั พันธ์ โดยทีผ่ ใู้ ช้สามารถเปลีย่ นแปลง
รูปเรขาคณิตให้เคลื่อนไหวตามความต้องการ โดยยังคงรักษาสมบัตแิ ละความสัมพันธ์ทถ่ี ูกกาหนด
ของรูปนัน้ ไว้เสมอ ซึง่ ผูใ้ ช้สามารถสร้างรูปและเคลื่อนย้ายรูปได้ การเคลื่อนย้ายจุดหรือย้ายเส้นนัน้
สามารถทาได้โดยง่าย ทาให้โปรแกรมเรขาคณิตแบบพลวัตเหมาะสาหรับการเรียนรูเ้ รขาคณิต
โดยทดลองสร้างและสารวจสมบัตหิ รือค้นหาความจริงในเชิงเรขาคณิตจากรูปหลายๆ ลักษณะ
โปรแกรมเรขาคณิตแบบพลวัตทีม่ อี ยูใ่ นปจั จุบนั มีสมบัตพิ น้ื ฐานของการสร้างและการ


เคลื่อนย้ายจุด เส้นตรง วงกลม มุม พร้อมทัง้ เครือ่ งมืออานวยความสะดวกเบือ้ งต้น เช่น ความยาว

วโิ ร
ทร
ขนาดของมุม ซึง่ สามารถจาแนกตามลักษณะการเผยแพร่ได้ 2 ลักษณะ (Interactive Geometry
นิ
คร
Software. 2009: Online) ดังนี้
นี
ศร

it y
1. โปรแกรมแบบ Commercial คือโปรแกรมทีใ่ ช้ในเชิงธุรกิจ อาทิเช่น
ers
ลยั

1.1 Cabri (http://www.chartwellyorke.com/cabri.html)


ยา

n iv
tU

1.2 Cinderella (http://www.cinderella.de/tiki-index.php)


วทิ
หา

ir o

1.3 GSP (http://www.keypress.com/sketchpad/)


งม

nw

1.4 GEUP (http://www.geup.net/en/index.htm)


ลา

ari
ดุ ก

a kh

1.5 Cabri 3D (http://www.chartwellyorke.com/cabri3d/cabri3d.html)


สม

rin

1.6 Geometry Expressions (http://www.geometryexpressions.com)


หอ

yS
rar

1.7 MathKit (http://mathkit.sourceforge.net)


นกั

L ib
สาํ

1.8 Yenka 3D Shapes (http://www.crocodile-


al
n tr

clips.com/en/Yenka_3D_Shapes)
Ce

1.9 EucliDraw (http://www.euclidraw.com)


2. โปรแกรมแบบ General Public License (GPL) คือโปรแกรมทีใ่ ช้และเผยแพร่โดย
ไม่เสียค่าลิขสิทธิ ์ อาทิเช่น
2.1 C.a.R. (http://www.z-u-l.de/)
2.2 CaRMetal (http://db-maths.nuxit.net/CaRMetal/index_en.html)
2.3 Eukleides (http://www.eukleides.org/)
2.4 GeoGebra (http://www.geogebra.at/)
2.5 GeoProof (http://home.gna.org/geoproof/)
2.6 GeoView (http://www-sop.inria.fr/lemme/geoview/geoview.html)
2.7 KSEG (http://www.mit.edu/~ibaran/kseg.html)
20

2.8 XCas (http://www-fourier.ujf-grenoble.fr/~parisse/giac.html)


2.9 GeoNext (http://geonext.uni-bayreuth.de)
2.10 OpenEuclide (http://coulon.publi.free.fr/openeuclide)
ผูว้ จิ ยั เลือกใช้โปแกรม C.a.R. เป็นเครือ่ งมือในการวิจยั ครัง้ นี้ เนื่องจากเป็นโปรแกรมที่
อนุญาตให้ใช้และเผยแพร่ได้โดยไม่เสียค่าลิขสิทธิ ์ และมีสมบัตเิ บือ้ งต้นของโปรแกรมเรขาคณิตแบบ
พลวัตพอเพียง โปรแกรม C.a.R. เป็นโปรแกรมทีพ่ ฒ ั นาโดย ศาสตราจารย์ ดร.เรอเน่ กรอธมันน์
(Prof Dr. René Grothmann) ชาวเยอรมัน โดยมีวตั ถุประสงค์สาหรับนักเรียนตัง้ แต่ชนั ้ ประถมศึกษา
จนถึงระดับสูง รวมทัง้ ผูใ้ หญ่ การใช้โปรแกรมสามารถใช้ได้ดว้ ยการคลิกเมาส์และลากเมาส์หรือใช้
คาสังโดยตรง
่ จุดเด่นของโปรแกรม C.a.R. คือ
1. สามารถสร้างแฟ้มงานแบบ HTML ได้
โปรแกรม C.a.R. สามารถแปลงแฟ้มงานจากแฟ้มงานของ C.a.R. ให้เป็นแฟ้ม


วโิ ร
งานแบบ HTML โดยทีย่ งั คงคุณสมบัตติ ่างๆ ของโปรแกรมเสมือนอยูใ่ นแฟ้มงานของ C.a.R. และ
ทร
สามารถเลือกเครือ่ งมือทีเ่ คยใช้งานในโปรแกรม C.a.R. เฉพาะทีจ่ าเป็นมาใช้งานในแฟ้มงานแบบ
นิ
คร
HTML ได้
นี
ศร

it y
ers
2. สามารถสร้างงานในลักษณะแบบทดสอบการสร้างทีส่ ามารถตรวจสอบความ
ลยั
ยา

n iv
ถูกต้องได้
tU
วทิ
หา

ir o

โปรแกรม C.a.R. มีความสามารถในการสร้างงานในลักษณะของแบบทดสอบ


งม

nw

การสร้างได้ หมายความว่าครูผสู้ อนสามารถทีจ่ ะกาหนดคาตอบหรือวิธกี ารของกิจกรรมทีเ่ กีย่ วกับ


ลา

ari
ดุ ก

a kh

การสร้างนัน้ ๆ ได้ในขณะทีน่ กั เรียนปฏิบตั กิ จิ กรรมนั ้นนักเรียนสามารถตอบสนองกับโปรแกรม


สม

rin

C.a.R. ได้ทนั ทีทน่ี กั เรียนสร้างได้ถูกต้อง โปรแกรม C.a.R. จะมีการตอบสนองว่า Well Done ซึง่
หอ

yS

วิธกี ารเช่นนี้ทาให้นกั เรียนนาความรูท้ เ่ี คยเรียนมา ตอบคาถามกิจกรรมการสร้าง โดยไม่จากัดวิธ ี


rar
นกั

L ib
สาํ

สร้าง
al

3. สามารถสร้างภาพในลักษณะ Animation ได้


n tr
Ce

โปรแกรม C.a.R. สามารถสร้างภาพหรือข้อความทีเ่ คลื่อนไหวได้ ซึง่ การเห็น


ความเคลื่อนไหวจะช่วยให้นกั เรียนมองเห็นการเปลีย่ นแปลง นาไปสู่การสารวจ สังเกต และ
ตัง้ ข้อคาดการณ์เป็นแนวทางการเรียนรู้ จะทาให้นกั เรียนเข้าใจเนื้อหาทีเ่ รียนได้ดขี น้ึ
4. เป็นโปรแกรมทีไ่ ด้รบั อนุญาตให้ทาการเผยแพร่โดยไม่เสียค่าลิขสิทธิ ์
การใช้โปรแกรม C.a.R. สาหรับการเรียนการสอนเรือ่ งกาหนดการเชิงเส้นในงานวิจยั นี้
เพื่อเป็นเครือ่ งมือช่วยให้นกั เรียนเข้าใจแนวคิดทีส่ าคัญของกาหนดการเชิงเส้น โดยลักษณะการใช้
งานโปรแกรม C.a.R. จะเป็นการสาธิตและให้นกั เรียนได้ปฏิบตั โิ ปรแกรมนี้ดว้ ย ซึง่ กิจกรรมทีใ่ ช้ใน
การวิจยั เช่น การสร้างกราฟสมการเชิงเส้น กราฟระบบสมการเชิงเส้น กราฟอสมการเชิงเส้น
กิจกรรมการสารวจหาผลเฉลยทีเ่ หมาะสมทีส่ ุดของกาหนดการเชิงเส้น เป็นต้น
21

2.1.2 งานวิ จยั ที่เกี่ยวข้องกับซอฟต์แวร์เรขาคณิ ตแบบพลวัต


งานวิ จยั ในประเทศ
อานาจ เชือ้ บ่อคา (2547) ได้ศกึ ษาเรือ่ งผลของการใช้โปรแกรม GSP (The Geometer’s
Sketchpad) ทีม่ ตี ่อผลสัมฤทธิ ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์ เรือ่ ง พาราโบลา ชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 3
กลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 3 โรงเรียนนวมินทราชินูทศิ สตรีวทิ ยา 2 เขตคลอง
สามวา กรุงเทพมหานคร จานวน 48 คน ผลการวิจยั พบว่า ผลสัมฤทธิ ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์
เรือ่ ง พาราโบลา หลังจากได้รบั การสอนโดยใช้โปรแกรม GSP สูงกว่าก่อนได้รบั การสอนด้วย
โปรแกรม GSP อย่างมีนยั สาคัญทางสถิตทิ ร่ี ะดับ .01
สุธนิ นั ท์ บุญพัฒนาภรณ์ (2549) ได้ศกึ ษาเรือ่ งกิจกรรมการเรียนการสอนเรือ่ ง
การแปลงทางเรขาคณิต โดยใช้โปรแกรมเรขาคณิตแบบพลวัตสาหรับนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 2


กลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 2 โรงเรียนศึกษานารี เขตธนบุรี กรุงเทพมหานคร

วโิ ร
ทร
จานวน 57 คน ผลการวิจยั พบว่า นักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 2 ทีเ่ รียนโดยใช้กจิ กรรมการเรียน
นิ
การสอนเรือ่ งการแปลงทางเรขาคณิต สามารถสอบผ่านเกณฑ์ได้มากกว่าร้อยละ 60 ของจานวน
คร
นี
นักเรียนทัง้ หมด และนักเรียนมีความพึงพอใจในการเรียนเรือ่ งการแปลงทางเรขาคณิตโดยใช้
ศร

it y
ers
ลยั

โปรแกรมเรขาคณิตแบบพลวัตอยูใ่ นระดับปานกลาง
ยา

n iv
สุภทั รา เกิดมงคล (2550) ได้ศกึ ษาเรือ่ งกิจกรรมการเรียนการสอน เรือ่ งสมบัตขิ องวงกลม
tU
วทิ
หา

ir o

โดยใช้โปรแกรมเรขาคณิตแบบพลวัต สาหรับนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 3 กลุ่มตัวอย่างเป็น


งม

nw

นักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 3 โรงเรียนวชิรธรรมสาธิต เขตพระโขนง กรุงเทพมหานคร จานวน


ลา

ari
ดุ ก

a kh

100 คน ผลการวิจยั พบว่า นักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 3 ทีเ่ รียนโดยใช้โปรแกรมเรขาคณิตแบบ


สม

rin

พลวัตและไม่ใช้โปรแกรมเรขาคณิตแบบพลวัต มีผลสัมฤทธิ ์ทางการเรียนเรือ่ งสมบัตขิ องวงกลม


หอ

yS

ไม่แตกต่างกัน และนักเรียนมีความพึงพอใจในการเรียนเรือ่ งสมบัตขิ องวงกลม โดยใช้โปรแกรม


rar
นกั

L ib
สาํ

เรขาคณิตแบบพลวัตอยูใ่ นระดับปานกลาง
al

สันติ อิทธิพลนาวากุล (2550) ได้ศกึ ษาเรือ่ งการพัฒนาชุดการเรียนคณิตศาสตร์แบบ


n tr
Ce

สืบสวนสอบสวนโดยใช้โปรแกรม GSP เพื่อส่งเสริมความคิดรวบยอดทางคณิตศาสตร์ เรือ่ ง


ภาคตัดกรวย ของนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 4 กลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 4
โรงเรียนสตรีวทิ ยา แขวงบวรนิเวศ เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร จานวน 43 คน
ผลการวิจยั พบว่า
1. ชุดการเรียนคณิตศาสตร์แบบสืบสวนสอบสวน โดยใช้โปรแกรม GSP
เรือ่ ง ภาคตัดกรวย ระดับชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 4 มีประสิทธิภาพสูงกว่าเกณฑ์ 80/80 โดยมีค่าเฉลีย่
85.94/86.64
2. ความคิดรวบยอดทางคณิตศาสตร์ของนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 4 หลังได้รบั
การสอนโดยใช้ชุดการเรียนคณิตศาสตร์แบบสืบสวนสอบสวน โดยใช้โปรแกรม GSP เรือ่ งภาคตัด
กรวยสูงขึน้ อย่างมีนยั สาคัญทางสถิตทิ ร่ี ะดับ .01
22

3. ผลสัมฤทธิ ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ของนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 4


หลังได้รบั การสอนโดยใช้ชุดการเรียนคณิตศาสตร์แบบสืบสวนสอบสวน โดยใช้โปรแกรม GSP
เรือ่ งภาคตัดกรวยสูงขึน้ อย่างมีนยั สาคัญทางสถิตทิ ร่ี ะดับ .01
4. ผลสัมฤทธิ ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ของนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 4
หลังได้รบั การสอนโดยใช้ชุดการเรียนคณิตศาสตร์แบบสืบสวนสอบสวน โดยใช้โปรแกรม GSP
เรือ่ งภาคตัดกรวย ผ่านเกณฑ์รอ้ ยละ 65 อย่างมีนยั สาคัญทางสถิตทิ ร่ี ะดับ .01
สุพนิ ฟองจางวาง (2551) ได้ศกึ ษาเรือ่ งการเปรียบเทียบความสามารถเชิงปริภมู แิ ละ
ผลสัมฤทธิ ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์ เรือ่ งความสัมพันธ์ระหว่างรูปเรขาคณิตสองมิตแิ ละสามมิติ
ของนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 1 ทีส่ อนโดยประยุกต์ใช้โปรแกรม GSP กับการสอนแบบปกติ
กลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 1 ทีเ่ รียนเรือ่ ง ความสัมพันธ์ระหว่างรูปเรขาคณิต


สองมิตแิ ละสามมิติ ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2550 โรงเรียนเฉลิมขวัญสตรี อาเภอเมือง

วโิ ร
จังหวัดพิษณุโลก โดยวิธกี ารเลือกแบบเจาะจง จานวน 2 ห้อง ผลการวิจยั พบว่า
ทร
1. ความสามารถเชิงปริภมู ิ เรือ่ งความสัมพันธ์ระหว่างรูปเรขาคณิตสองมิตแิ ละ
นิ
คร
สามมิตขิ องนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 1 ทีไ่ ด้รบั การสอนโดยประยุกต์ใช้โปรแกรม GSP สูงกว่า
นี
ศร

it y
การสอนแบบปกติอย่างมีนยั สาคัญทางสถิตทิ ร่ี ะดับ .01 ers
ลยั
ยา

n iv
2. ผลสัมฤทธิ ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์ เรือ่ งความสัมพันธ์ระหว่างรูปเรขาคณิต
tU
วทิ
หา

ir o

สองมิตแิ ละสามมิตขิ องนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 1 ทีไ่ ด้รบั การสอนโดยประยุกต์ใช้โปรแกรม GSP


งม

nw

สูงกว่าการสอนแบบปกติอย่างมีนยั สาคัญทางสถิตทิ ร่ี ะดับ .01


ลา

ari
ดุ ก

a kh

วรวรรณ กฤตยากรนุพงศ์ (2551) ได้ศกึ ษาเรือ่ งกิจกรรมการเรียนการสอน เรือ่ งความ


สม

rin

เท่ากันทุกประการ โดยใช้การแปลงทางเรขาคณิตและโปรแกรมเรขาคณิตแบบพลวัต สาหรับ


หอ

yS

นักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 2 กลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 2 โรงเรียนวัดดอน


rar
นกั

L ib
สาํ

มะเกลือ อาเภออู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุร ี จานวน 31 คน ผลการวิจยั พบว่า นักเรียนชัน้ มัธยม


al

ศึกษาปีท่ี 2 ทีเ่ รียนด้วยกิจกรรมการเรียนการสอนเรือ่ งความเท่ากันทุกประการ สามารถสอบ


n tr
Ce

ผ่านเกณฑ์ได้มากกว่าร้อยละ 60 ของจานวนนักเรียนทัง้ หมด และนักเรียนกลุ่มตัวอย่างมีความ


พึงพอใจในการเรียนเรือ่ งความเท่ากันทุกประการ โดยใช้การแปลงทางเรขาคณิตและโปรแกรม
เรขาคณิตแบบพลวัตอยูใ่ นระดับมาก
ปุณยพล จันทร์ฝอย (2551) ได้ศกึ ษาเรือ่ งชุดกิจกรรมการเรียนการสอน เรือ่ งฟงั ก์ชนั
ตรีโกณมิติ โดยใช้โปรแกรม C.a.R. สาหรับนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 4 กลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียน
ชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 4 โรงเรียนมัธยมสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา จานวน 53
คน ผลการวิจยั พบว่า นักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 4 ทีเ่ รียนด้วยชุดกิจกรรมการเรียนการสอนเรือ่ ง
ฟงั ก์ชนั ตรีโกณมิติ โดยใช้โปรแกรม C.a.R. สามารถสอบผ่านเกณฑ์ได้มากกว่าร้อยละ 70 ของ
จานวนนักเรียนทัง้ หมดและนักเรียนกลุ่มตัวอย่างมีความพึงพอใจในการเรียนเรือ่ งฟงั ก์ชนั ตรีโกณมิติ
โดยใช้โปรแกรม C.a.R. อยูใ่ นระดับมาก
23

งานวิ จยั ต่างประเทศ


เลสเตอร์ (Lester. 1996: 2343-A) ได้ศกึ ษาวิจยั ผลของการสอนโดยใช้โปรแกรม
เรขาคณิตแบบพลวัตชื่อ GSP ทีม่ ตี ่อผลสัมฤทธิ ์ทางการเรียนเรขาคณิตของนักเรียนระดับ
มัธยมศึกษาตอนปลาย รัฐแคลิฟอร์เนีย สหรัฐอเมริกา ในปี ค.ศ.1996 ผูว้ จิ ยั ให้กลุ่มทดลองเรียน
โดยใช้โปรแกรมเรขาคณิตแบบพลวัตชื่อ GSP ส่วนกลุ่มควบคุมเรียนตามปกติโดยใช้ไม้บรรทัด
ดินสอ ไม้โปรแทรกเตอร์และวงเวียน ผลการวิจยั พบว่า ค่าเฉลีย่ ของผลการสอบหลังเรียนเกีย่ วกับ
การตัง้ ข้อความคาดการณ์ทางเรขาคณิตของกลุ่มทดลอง สูงกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนยั สาคัญทาง
สถิติ .05
โยเซฟ (Yousif. 1997: 1631-A) ได้ศกึ ษาวิจยั ผลการใช้โปรแกรมเรขาคณิตแบบพลวัต
ทีม่ ผี ลต่อเจตคติของนักเรียนระดับชัน้ มัธยมศึกษาตอนปลายโรงเรียนเซาท์เวสเทิน รัฐโอไอว


สหรัฐอเมริกา ผูว้ จิ ยั ให้กลุ่มทดลองเรียนด้วยกิจกรรมสารวจโดยใช้ โปรแกรมเรขาคณิตแบบพลวัต

วโิ ร
ส่วนกลุ่มควบคุมเรียนด้วยกิจกรรมสารวจโดยใช้กระดาษและดินสอ ผลการวิจยั พบว่า กลุ่มทดลอง
ทร
มีเจตคติต่อวิชาเรขาคณิตสูงกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนยั สาคัญทางสถิติ
นิ
คร
บาฮาร์วานด์ (Baharvand. 2002: 552-A) ได้เปรียบเทียบผลการสอนเรขาคณิตระหว่าง
นี
ศร

it y
ers
สอนโดยใช้โปรแกรมเรขาคณิตแบบพลวัตเทียบกับการสอนของครูแบบปกติโดยใช้กระดาษ ดินสอ
ลยั
ยา

n iv
และครูเป็นผูบ้ รรยาย โดยกลุ่มควบคุมเป็ นนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 1 จานวน 26 คน ให้ได้รบั
tU
วทิ
หา

ir o

การสอนของครูแบบปกติ และอีกกลุ่มเป็นกลุ่มทดลองซึง่ เป็นนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 1 จานวน


งม

nw

24 คน ให้เรียนด้วยเนื้อหาเดียวกับกลุ่มควบคุมแต่ใช้โปรแกรมเรขาคณิตแบบพลวัตในการเรียน
ลา

ari
ดุ ก

a kh

ผลการวิจยั พบว่า นักเรียนซึง่ เรียนโดยใช้โปรแกรมร์เรขาคณิตแบบพลวัตมีคะแนนการทา


สม

rin

แบบทดสอบหลังการเรียนทีผ่ วู้ จิ ยั สร้างขึน้ สูงกว่านักเรียนกลุ่มควบคุม อย่างมีนยั สาคัญ ทีร่ ะดับ


หอ

yS

นัยสาคัญ .05 นอกจากนี้ยงั พบว่า นักเรียนในกลุ่มทดลองมีเจตคติต่อวิชาคณิตศาสตร์/เรขาคณิต


rar
นกั

L ib
สาํ

ในทางบวก ซึง่ แสดงให้เห็นว่าโปรแกรมเรขาคณิตแบบพลวัตเป็นเครือ่ งมือทีม่ ปี ระสิทธิภาพในการ


al

เรียนการสอนเรขาคณิตในระดับมัธยมศึกษาตอนต้น
n tr
Ce

แฮน (Han. 2007: Online) ได้เปรียบเทียบผลการสอนเรือ่ งรูปสีเ่ หลีย่ มระหว่างสอนโดย


ใช้โปรแกรมเรขาคณิตแบบพลวัตชื่อ GSP กับการสอนปกติ และศึกษาว่าโปรแกรม GSP สามารถ
ช่วยพัฒนาความเข้าใจเรือ่ งรูปสีเ่ หลีย่ มและความสามารถการให้เหตุผลอย่างไร กลุ่มตัวอย่างเป็น
นักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 2 จานวน 97 คน แบ่งเป็นกลุ่มทดลองจานวน 57 คน ซึง่ ได้รบั การสอน
โดยใช้โปรแกรม GSP และกลุ่มควบคุมจานวน 40 คน ได้รบั การสอนปกติ ผลการวิจยั พบว่า
ผลสัมฤทธิ ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์เรือ่ งรูปสีเ่ หลีย่ ม ของนักเรียนทีไ่ ด้รบั การสอนโดยใช้โปรแกรม
GSP สูงกว่าการสอนปกติ และจากการสัมภาษณ์นกั เรียนรายบุคคลจานวน 12 คน พบว่าโปรแกรม
GSP มีประสิทธิภาพในการพัฒนาความเข้าใจและทาให้ระดับความสามารถการให้เหตุผลเพิม่ ขึน้
24

จากการศึกษางานวิจยั ทีเ่ กีย่ วข้องกับการใช้ โปรแกรมเรขาคณิตแบบพลวัตพบว่า


การนาโปรแกรมเรขาคณิตแบบพลวัตมาใช้ในการเรียนการสอนเป็นการเปิดโอกาสให้นกั เรียนได้
ทดลอง ปฏิบตั ิ สังเกต และสารวจ เพื่อช่วยให้นกั เรียนเกิดการเรียนรูท้ ม่ี ปี ระสิทธิภาพ และมีความรู้
ความเข้าใจในวิชาคณิตศาสตร์ยงิ่ ขึน้ รวมทัง้ ยังส่งผลให้นกั เรียนมีเจตคติทด่ี ตี ่อวิชาคณิตศาสตร์
ด้วยเหตุน้ผี วู้ จิ ยั จึงนาโปรแกรมเรขาคณิตแบบพลวัตเข้ามาประกอบในการเรียนการสอนเรือ่ ง
กาหนดการเชิงเส้น โดยโปรแกรมเรขาคณิตแบบพลวัตทีผ่ วู้ จิ ยั ใช้ในการวิจยั ครัง้ นี้ คือ โปรแกรม
C.a.R.

2.2 เอกสารและงานวิ จยั ที่เกี่ยวข้องกับโปรแกรมระบบพีชคณิ ต


2.2.1 โปรแกรมระบบพีชคณิ ต


โปรแกรมระบบพีชคณิต คือ โปรแกรมทีม่ คี วามสามารถทางการคานวณ และมีลกั ษณะ

วโิ ร
สาคัญคือสามารถประมวลผลเชิงสัญลักษณ์ได้ (Computer Algebra System. 2009: Online)
ทร
โปรแกรมระบบพีชคณิตเริม่ พัฒนาในปี ค.ศ.1960 โดยถูกพัฒนามาจากการค้นคว้าวิจยั
นิ
คร
สมองกลคอมพิวเตอร์หรือปญั ญาประดิษฐ์ ซึง่ มาร์ตนิ เวลแมน (Martin Veltman) เป็นผูบ้ ุกเบิก
นี
ศร

it y
ers
โดยสร้างโปรแกรมที่สามารถจัดการสัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์และประยุกต์ใช้เฉพาะทางฟิสกิ ส์
ลยั
ยา

n iv
ขัน้ สูงเรือ่ งพลังงาน ชื่อ Schoonschip จนได้รบั รางวัลโนเบลสาขาฟิสกิ ส์ในปี ค.ศ.1963 คาร์ล เอนเจ
tU
วทิ
หา

ir o

ลแมน (Carl Engelman) สร้างโปรแกรม MATHLAB ขึน้ ในปี ค.ศ.1964 และต่อมาโปรแกรม


งม

nw

MATHLAB ถูกพัฒนาขึน้ เพื่อใช้งานกับผูใ้ ช้ในระดับอุดมศึกษา โปรแกรม MATHLAB และโปรแกรม


ลา

ari
ดุ ก

a kh

MATLAB เป็นโปรแกรมทีม่ ชี ่อื เรียกคล้ายกัน แต่แท้จริงแล้วเป็นโปรแกรมคนละโปรแกรม โดยที่


สม

rin

โปรแกรม MATHLAB ย่อมาจาก ‚Mathematical Laboratory‛ ในขณะทีโ่ ปรแกรม MATLAB ย่อมา


หอ

yS

จาก ‚Matrix Laboratory‛ โปรแกรม MATLAB สร้างขึน้ ภายหลังการสร้างโปรแกรม MATHLAB


rar
นกั

L ib

เป็นเวลา 15 ปี ณ มหาวิทยาลัยนิวแม็กซิโก ปจั จุบนั ยังคงมีการใช้งานโปรแกรมทัง้ สองอยู่ โปรแกรม


สาํ

al

ระบบพีชคณิตทีไ่ ด้รบั ความนิยมในยุคแรกๆ ได้แก่ โปรแกรม muMATH โปรแกรม Reduce และ


n tr
Ce

โปรแกรม Macsyma ในปี ค.ศ.1987 บริษทั Hewlett-Packard ได้ประดิษฐ์เครือ่ งคิดเลขรุน่ HP-28


ซึง่ เป็นเครือ่ งคิดเลขแบบพกพาเครือ่ งแรกทีบ่ รรจุโปรแกรมระบบพีชคณิตไว้ในเครือ่ ง โดยเครือ่ งคิด
เลขรุน่ นี้มคี วามสามารถในการดาเนินการทางพีชคณิต หาลิมติ อนุพนั ธ์ และอินทิเกรต สร้างอนุกรม
เทย์เลอร์ และแก้สมการหาคาตอบได้ ต่อมาในปี ค.ศ.1995 บริษทั Texas Instruments ได้ประดิษฐ์
เครือ่ งคิดเลขรุน่ TI-92 ซึง่ เป็นเครือ่ งคิดเลขแบบพกพาซึง่ บรรจุโปรแกรมระบบพีชคณิตชื่อ Derive
และบริษทั Texas Instruments ได้พฒ ั นาเครือ่ งคิดเลขในลักษณะนี้อย่างต่อเนื่อง ได้แก่ รุน่ TI-89
รุน่ TI-92 Plus จนมาถึงรุน่ TI-Nspire ซึง่ ออกวางจาหน่ายในปี ค.ศ.2007 โปรแกรมระบบพีชคณิต
เป็นทีน่ ิยมในปจั จุบนั คือ โปรแกรม Mathematica และโปรแกรม Maple ซึง่ เป็นโปรแกรมนี้ถูกใช้
อย่างแพร่หลายในงานวิจยั ทางคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และวิศวกรรมศาสตร์ และยังมีโปรแกรม
ระบบพีชคณิตอื่นๆ อีก ได้แก่ โปรแกรม Maxima ( ซึง่ พัฒนามาจากโปรแกรม Macsyma )
25

โปรแกรม Derive ( ซึง่ พัฒนามาจากโปรแกรม muMATH ) ซึง่ โปรแกรมระบบพีชคณิตที่เป็น


โปรแกรมเชิงธุรกิจทีม่ ลี ขิ สิทธิ ์ เช่น โปรแกรม Maple โปรแกรม MathCad โปรแกรม Mathematica
โปรแกรม Algebrator (Computer Algebra System. 2009: Online)
การประมวลผลเชิงสัญลักษณ์ของโปรแกรมระบบพีชคณิต มีดงั นี้ (Computer Algebra
System. 2009: Online)
1. จัดกระทานิพจน์ (Expression) ให้อยูใ่ นรูปทีง่ า่ ยขึน้ โดยทาให้เป็นนิพจน์ทเ่ี ล็ก
ทีส่ ุดเท่าทีจ่ ะทาได้ หรือจัดให้อยูใ่ นรูปทัวไปในบางกรณี

2. ความสามารถในการแทนค่า (Substitution for Expression)
3. เปลีย่ นรูปนิพจน์ เช่น การกระจาย (Expanding) การแยกตัวประกอบ
(Factorization) การเขียนในรูปเศษส่วนใหม่ ฯลฯ ตัวอย่างเช่น เมือ่ ใส่ (x + 1)2 แล้วป้อนคาสังให้ ่
กระจาย โปรแกรมจะแสดงผลเป็น x2 + 2x + 1


วโิ ร
4. การหาอนุ พนั ธ์ของฟงั ก์ชนั
5. หาอินทิกรัลจากัดเขตและไม่จากัดเขต นิทร
คร
6. การหาค่าเหมาะทีส่ ุด (Optimization)
นี
ศร

it y
ers
7. แก้สมการเชิงเส้นและสมการทีไ่ ม่เป็นเชิงเส้นในบางกรณี
ลยั
ยา

n iv
8. แก้สมการเชิงอนุพนั ธ์ (Differential Equation) ได้บางกรณี
tU
วทิ
หา

9. หาลิมติ ของฟงั ก์ชนั


ir o
งม

nw

10. การแปลงเชิงปริพนั ธ์
ลา

ari
ดุ ก

a kh

11. อนุกรมและการดาเนินการ
สม

rin

12. เมทริกซ์และการดาเนินการ
หอ

yS

13. การคานวณทางสถิติ
rar
นกั

L ib
สาํ

14. พิสจู น์ยนื ยันทฤษฎีบท


al

ความสามารถเพิม่ เติมของโปรแกรมระบบพีชคณิต มีดงั นี้


n tr
Ce

1. แสดงผล 2 ส่วนคือ บน/ล่าง ซ้าย/ขวา ปจั จุบนั ใช้ระบบแสดงผลเสมือนจริง


(Prettyprint)
2. เพิม่ ฟงั ก์ชนั การทางานสาหรับใช้ในคณิตศาสตร์ประยุกต์ เช่น เพิม่ ฟ งั ก์ชนั การ
ทางานด้านฟิสกิ ส์ เพื่อการคานวณในวิชาฟิสกิ ส์
3. สามารถวาดกราฟสมการฟงั ก์ชนั กราฟสมการอิงตัวแปรเสริม กราฟสมการ
เชิงขัว้ กราฟสามมิติ และสร้างภาพเคลื่อนไหวได้
4. ติดต่อกับโปรแกรมภายนอกได้ และผูใ้ ช้สามารถเขียนโปรแกรมเพิม่ เติมให้กบั
โปรแกรมระบบพีชคณิตของตนด้วยโปรแกรมภาษา เช่น ภาษา Assembly ภาษา C ได้
5. วาดแผนภูม ิ (Charts) และแผนภาพ (Diagrams)
6. จัดการอักขระ เช่น การจับคู่ การค้นหา เป็นต้น
26

7. ความเทีย่ งตรงทางการคานวณ
8. สร้างภาพและแก้ไขภาพด้วย Computer Generate Imagery (CGI)
9. ความสามารถในการสังเคราะห์เสียง (Sound Synthesis)
ชนิดของนิพจน์ท่โี ปรแกรมระบบพีชคณิตสามารถจัดกระทาได้ มีดงั นี้
1. พหุนามหลายตัวแปร
2. ฟงั ก์ชนั มาตรฐาน เช่น ฟงั ก์ชนั ไซน์ ฟงั ก์ชนั เอกโปเนนเชียล เป็นต้น
3. ฟงั ก์ชนั พิเศษ เช่น ฟงั ก์ชนั เบสเซล ฟงั ก์ชนั ค่าคลาดเคลื่อน (Error Function)
เป็นต้น
4. ฟงั ก์ชนั เพิม่ เติมทีผ่ ใู้ ช้สร้างขึน้ (Arbitrary Functions of Expression)
5. ค่าเหมาะทีส่ ุด (Optimization)


6. อนุพนั ธ์ อินทิกรัล การทาให้งา่ ย ผลรวม และผลคูณของนิพจน์

วโิ ร
7. อนุกรมปลายตัด-สัมประสิทธิ ์ (Truncated Series with Expression as
Coefficients) นิทร
คร
8. นิพจน์ของเมทริกซ์
นี
ศร

it y
ers
สาหรับโดเมนที่โปรแกรมระบบพีชคณิต สามารถรองรับได้ ได้แก่ จานวนตรรกยะ
ลยั
ยา

n iv
จานวนจริง จานวนเชิงซ้อน รวมถึงสามารถรองรับช่วง (Interval) ได้
tU
วทิ
หา

ir o

ความรูท้ างคณิตศาสตร์ทใ่ี ช้ในโปรแกรมระบบพีชคณิต ได้แก่ (Computer Algebra


งม

nw

System. 2009: Online)


ลา

ari
ดุ ก

a kh

1. อินทิเกรตเชิงสัญลักษณ์ (Symbolic Integration)


สม

rin

2. ฐานหลักแบบ GrÖbner (GrÖbner Basis)


หอ

yS

3. การหารร่วมมาก (Greatest Common Division)


rar
นกั

L ib
สาํ

4. การแยกตัวประกอบของพหุนาม
al

5. ขัน้ ตอนวิธแี บบ Risch (Risch Algorithm)


n tr
Ce

6. การแยกเชิงพีชคณิตของทรงกระบอก (Cylindrical Algebraic Decomposition)


7. ขัน้ ตอนวิธแี บบ Cantor-Zassenhaus (Cantor-Zassenhaus Algorithm)
8. Padé Approximant
9. บทตัง้ Schwartz-Zippel (Schwartz-Zippel Lemma) และการตรวจสอบ
เอกลักษณ์พหุนาม (Testing Polynomial Identities)
10. ทฤษฎีบทเศษเหลือของจีน
11. การลดค่าเกาซ์เชียล
12. สมการไดโอแฟนไทน์
27

โปรแกรมระบบพีชคณิตสามารถจาแนกได้หลายวิธ ี ในทีน่ ้จี ะจาแนกตามลักษณะของ


โปรแกรมซึ่งจาแนกได้ 2 ลักษณะ ดังนี้
1. โปรแกรมระบบพีชคณิตกลุ่มทีเ่ ป็นฮาร์ดแวร์ ได้แก่ เครือ่ งคานวณเชิงกราฟ
ซึง่ ในปจั จุบนั มีช่อื ทางการค้าแตกต่างกันไปเป็นจานวนมาก เช่น Texas Instruments, CASIO,
SHARP และ Hewlett-Packard เป็นต้น นอกเหนือจากการประมวลผลเชิงสัญลักษณ์ แล้วเครือ่ ง
คานวณเชิงกราฟเหล่านี้ยงั เป็ นเครือ่ งมือทีม่ ศี กั ยภาพในการเขียนกราฟของฟงั ก์ชนั ทัง้ ในระบบพิกดั
ฉาก และระบบพิกดั เชิงขัว้ และกราฟของฟงั ก์ชนั หลายตัว แปร
2. โปรแกรมระบบพีชคณิตกลุ่มทีเ่ ป็นซอฟต์แวร์ เป็นโปรแกรมกลุ่มทีไ่ ม่ม ี
ตัวเครือ่ ง (Hardware) เหมือนในกลุ่มที่ 1 แต่จะใช้ค่กู บั เครือ่ งคอมพิวเตอร์ ซึง่ โปรแกรมในกลุ่มนี้ม ี
ข้อดีในการพัฒนาประสิทธิภาพของโปรแกรมหรืออัพเดท (Update) โปรแกรมให้ทนั สมัยอยูเ่ สมอ
ซึง่ ปจั จุบนั สามารถทาการอัพเดทได้งา่ ยโดยผ่านเครือข่ายอินเตอร์เน็ต โปรแกรมในกลุ่มนี้ ได้แก่


วโิ ร
2.1 โปรแกรม Mathematica
2.2 โปรแกรม Maxima นิทร
คร
2.3 โปรแกรม Derive
นี
ศร

it y
2.4 โปรแกรม Maple ers
ลยั
ยา

n iv
2.5 โปรแกรม MuPAD
tU
วทิ
หา

ir o

2.6 โปรแกรม MathCad


งม

nw

2.7 โปรแกรม MATLAB


ลา

ari
ดุ ก

a kh

2.8 โปรแกรม Algebrator


สม

rin

2.9 โปรแกรม Euler เป็นต้น


หอ

yS

ผูว้ จิ ยั เลือกใช้โปรแกรม Euler เป็นเครือ่ งมือในการวิจยั ครัง้ นี้ เนื่องจากโปรแกรม Euler


rar
นกั

L ib
สาํ

เป็นโปรแกรมทีม่ คี วามสามารถในด้านการคานวณและสามารถเขียนกราฟได้ นอกจากนี้ยงั สามารถ


al

ประมวลผลเชิงสัญลักษณ์ได้ เนื่องจากโปรแกรม Euler มีโปรแกรม Maxima ซึง่ เป็นโปรแกรมระบบ


n tr
Ce

พีชคณิตแฝงอยู่ จึงทาให้โปรแกรม Euler มีสมบัตเิ บือ้ งต้นของโปรแกรมระบบพีชคณิต เพียงพอ


อีกทัง้ โปรแกรม Euler ยังเป็นโปรแกรมทีไ่ ด้รบั อนุญาตให้เผยแพร่ได้โดยไม่เสียค่าลิขสิทธิ ์ (General
Public License: GPL) ซึง่ โปรแกรม Euler พัฒนาโดย ศาสตราจารย์ ดร.เรอเน่ กรอธมันน์ (Prof.
Dr. René Grothmann) การใช้โปรแกรม Euler สาหรับการเรียนการสอนเรือ่ งกาหนดการเชิงเส้น
ในงานวิจยั ครัง้ นี้ มีจดุ ประสงค์เพื่อใช้เป็นเครือ่ งมือในการคานวณและการตรวจคาตอบ ซึง่ การนา
โปรแกรม Euler เข้ามาใช้ในการเรียนการสอนเป็นการช่วยประหยัดเวลาในการคานวณ ทาให้
นักเรียนสามารถฝึกทาแบบฝึกหัดได้มากขึน้ รวมทัง้ ทาให้นกั เรียนมีความมันใจในการเรี ่ ยนมากขึน้
28

2.2.2 งานวิ จยั ที่เกี่ยวข้องกับโปรแกรมระบบพีชคณิ ต


งานวิ จยั ในประเทศ
ณัชชา กมล (2542) ได้ศกึ ษาผลของการใช้เครือ่ งคานวณเชิงกราฟทีม่ ตี ่อมโนทัศน์ทาง
คณิตศาสตร์และความสามารถด้านมิตสิ มั พันธ์ของนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 3 โรงเรียนสาธิต
สังกัดทบวงมหาวิทยาลัย กลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 3 โรงเรียนสาธิต
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ จานวน 79 คน โดยแบ่งเป็นกลุ่มทดลองทีเ่ รียนโดยใช้เครือ่ งคานวณ
เชิงกราฟประกอบการเรียนคณิตศาสตร์ กับกลุ่มควบคุมทีเ่ รียนโดยไม่ใช้เครือ่ งคานวณเชิงกราฟ
ประกอบการเรียนคณิตศาสตร์ ผลการวิจยั พบว่า นักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 3 ทีเ่ รียนโดยใช้
เครือ่ งคานวณเชิงกราฟประกอบการเรียนมีมโนทัศน์เชิงคณิตศาสตร์และความสามารถด้านมิติ
สัมพันธ์สงู กว่านักเรียนทีเ่ รียนโดยไม่ใช้เครือ่ งคานวณเชิงกราฟประกอบการเรียนคณิตศาสตร์


ชาญชัย สุกใส (2543) ได้ศกึ ษาผลของการใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ MAPLE V

วโิ ร
ประกอบการเรียนการสอน ต่อ ผลสัมฤทธิ ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ พีชคณิตเชิงเส้น และศึกษา
ทร
เจตคติต่อการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ ของนักศึกษาโปรแกรมวิชาคณิตศาสตร์และสถิตปิ ระยุกต์
นิ
คร
สถาบันราชภัฏอุบลราชธานี ในปีการศึกษา 2543 พบว่า นักศึกษาทีเ่ รียนโดยใช้โปรแกรม
นี
ศร

it y
ers
คอมพิวเตอร์ประกอบมีผลสัมฤทธิ ์ทางการเรียนสูงกว่านักศึกษาทีเ่ รียนปกติในชัน้ เรียน อย่างมี
ลยั
ยา

n iv
นัยสาคัญทางสถิตทิ ร่ี ะดับ .05 ในด้านเจตคติต่อการเรียนวิชาคณิตศาสตร์พบว่า นักเรียนทีเ่ รียน
tU
วทิ
หา

ir o

โดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ประกอบทีม่ เี จตคติต่อการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ พบว่า นักเรียนที่


งม

nw

เรียนโดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ประกอบมีเจตคติต่อการเรียนวิชาคณิตศาสตร์สงู ขึน้ อย่างมี


ลา

ari
ดุ ก

a kh

นัยสาคัญทางสถิตทิ ร่ี ะดับ .05


สม

rin

กมล เอกไทยเจริญ (2545) ได้ศกึ ษาผลสัมฤทธิ ์ทางการเรียน ศึกษาเจตคติของผูเ้ รียน


หอ

yS

และศึกษาสภาพการเรียนการสอนและสภาพสังคมในชัน้ เรียนในการเรียนวิชาพีชคณิตเชิงเส้นโดย
rar
นกั

L ib
สาํ

ใช้เครือ่ งคานวณเชิงกราฟ กลุ่มตัวอย่างทีใ่ ช้ในการวิจยั เป็นนิสติ ระดับปริญญาตรี สาขาคณิตศาสตร์


al

จานวน 28 คน ผูเ้ รียนแต่ละคนจะใช้เครือ่ งคานวณเชิงกราฟ รุน่ TI-92 ประกอบการเรียนและการ


n tr
Ce

สอบวิชาพีชคณิตเชิงเส้น ผลการวิจยั พบว่า การเรียนวิชาพีชคณิตเชิงเส้นโดยใช้เครือ่ งคานวณเชิง


กราฟ สามารถเรียนได้เนื้อหาทีม่ าก ละเอียด และลึกซึง้ การใช้เครือ่ งคานวณเชิงกราฟทาให้มเี วลา
เหลือมากพอสาหรับการทาความเข้าใจในเนื้อหาและสามารถแก้ปญั หาได้หลากหลาย ผูเ้ รียนมีเจต
คติทด่ี ตี ่อการใช้เครือ่ งคานวณเชิงกราฟ ผูเ้ รียนมีความเห็นว่าเครือ่ งคานวณเชิงกราฟเป็นเครือ่ งมือ
ทีใ่ ช้งา่ ย ช่วยประหยัดเวลาในการคานวณ และทาให้ผเู้ รียนมีความเชื่อมันในการแก้
่ ปญั หา ผูเ้ รียน
มีความเห็นว่าการเรียนด้วยวิธนี ้เี ป็ นประสบการณ์ทด่ี สี าหรับผูเ้ รียน ผลสัมฤทธิ ์ทางการเรียนวิชา
พีชคณิตเชิงเส้นโดยใช้เครือ่ งคานวณเชิงกราฟ อยูใ่ นระดับดีได้ผลเป็นทีน่ ่าพอใจ นอกจากนัน้ ยัง
พบว่า ผลต่างของผลสัมฤทธิ ์ทางการเรียน (ผลต่างของคะแนนวิชาหลักการทางคณิตศาสตร์ ซึง่ เป็น
บุรพวิชาของวิชาพีชคณิตเชิงเส้นกับคะแนนวิชาพีชคณิต เชิงเส้น) ของผูเ้ รียนในกลุ่มอ่อนและกลุ่ม
เก่งไม่มคี วามแตกต่างกันอย่างมีนยั สาคัญ .05
29

ทิวาพร ขันผนึก (2546) ได้ศกึ ษาเปรียบเทียบระหว่างผลสัมฤทธิ ์ทางการเรียนและทัศนคติ


ของนักเรียนในระดับอุดมศึกษาจากการใช้เครือ่ งคานวณเชิงกราฟในการเรียนคณิตศาสตร์ เรือ่ ง
ลิมติ ของฟงั ก์ชนั กลุ่มตัวอย่างเป็ นนักศึกษาทีเ่ รียนวิชาคณิตศาสตร์สาหรับวิทยาศาสตร์ 1 ในภาค
เรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2545 จานวน 30 คน มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ์ ผลการวิจยั พบว่า
1. การเรียนการสอนคณิตศาสตร์เรือ่ ง ลิมติ ของฟงั ก์ชนั โดยใช้เครือ่ งคานวณ
เชิงกราฟช่วยทาให้ผเู้ รียนสามารถเรียนรู้ ทาความเข้าใจเนื้อหา และทาให้มองเห็นแนวคิดในเชิง
รูปธรรมได้เป็นอย่างดี รวมถึงการสร้างความคิด รวบยอดได้เป็นอย่างดี
2. การเรียนการสอนคณิตศาสตร์เรือ่ ง ลิมติ ของฟงั ก์ชนั โดยใช้เครือ่ งคานวณ
เชิงกราฟ ช่วยทาให้บรรยากาศในการเรียนการสอนคณิตศาสตร์ไม่น่าเบื่อ ทาให้ผเู้ รียนมีความ
กระตือรือร้น อยากเข้าเรียน และยังช่วยให้ผเู้ รียนเกิดการช่วยเหลือซึง่ กันและกันในห้องเรียนมากขึน้
3. การเรียนการสอนคณิตศาสตร์เรือ่ ง ลิมติ ของฟงั ก์ชนั โดยใช้เครือ่ งคานวณ


วโิ ร
เชิงกราฟ สามารถใช้ได้ดที งั ้ เพศหญิงและเพศชายโดยไม่มขี อ้ แตกต่างกัน
ทร
ศุภชัย เรืองเดช (2546) ได้ศกึ ษาเปรียบเทียบมโนทัศน์เชิงคณิตศาสตร์ทเ่ี กีย่ วกับปริพนั ธ์
นิ
คร
และเปรียบเทียบความสามารถในการแก้โจทย์ปญั หาเชิงคณิตศาสตร์เกีย่ วกับการประยุกต์ปริพนั ธ์
นี
ศร

it y
ers
ของนักศึกษาหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชัน้ สูง ชัน้ ปีท่ี 1 ระหว่างกลุ่มทีใ่ ช้เครือ่ งคานวณเชิง
ลยั
ยา

n iv
กราฟกับกลุ่มทีไ่ ม่ใช้เครือ่ งคานวณเชิงกราฟประกอบการเรียน กลุ่มตัวอย่างเป็นนักศึกษาหลักสูตร
tU
วทิ
หา

ir o

ประกาศนียบัตรวิชาชีพชัน้ สูง ชัน้ ปีท่ี 1 โรงเรียนนครอาชีวศึกษา จังหวัดนครศรีธรรมราช ทีเ่ รียน


งม

nw

วิชาคณิตศาสตร์ 6 จานวน 40 คน แบ่งนักศึกษาเป็น 2 กลุ่ม คือกลุ่มทดลองจานวน 20 คน ทีเ่ รียน


ลา

ari
ดุ ก

a kh

โดยใช้เครือ่ งคานวณเชิงกราฟ และกลุ่มควบคุม 20 คนทีเ่ รียนโดยไม่ใช้เครือ่ งคานวณเชิงกราฟ


สม

rin

ผลการวิจยั พบว่า
หอ

yS

1. นักศึกษาหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชัน้ สูง ชัน้ ปีท่ี 1 ทีเ่ รียนโดยใช้เครือ่ ง


rar
นกั

L ib
สาํ

คานวณเชิงกราฟประกอบการเรียนมีโนทัศน์เชิงคณิตศาสตร์ทเ่ี กีย่ วกับปริพนั ธ์สงู กว่านักศึกษาที่


al

เรียนโดยไม่ใช้เครือ่ งคานวณเชิงกราฟประกอบการเรียน ทีร่ ะดับนัยสาคัญ .01


n tr
Ce

2. นักศึกษาหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชัน้ สูง ชัน้ ปีท่ี 1 ทีเ่ รียนโดยใช้เครือ่ ง


คานวณเชิงกราฟประกอบการเรียนมีความสามารถในการแก้โจทย์ปญั หาเชิงคณิตศาสตร์เกีย่ วกับ
การประยุกต์ปริพนั ธ์สงู กว่านักศึกษาทีเ่ รียนโดยไม่ใช้เครือ่ งคานวณเชิงกราฟประกอบการเรียน
ทีร่ ะดับนัยสาคัญ .05
วัชราภรณ์ ปราณีธรรม (2549) ได้ศกึ ษาระดับความเข้าใจเกีย่ วกับฟงั ก์ชนั กาลังสองของ
นักเรียนในการแก้ปญั หาทางคณิตศาสตร์ และศึกษาบทบาทของเครือ่ งคิดเลขกราฟิกทีเ่ ป็นเครือ่ งมือ
ในการนาเสนอความเข้าใจในแก้ปญั หาทางคณิตศาสตร์ รูปแบบของการวิจยั ใช้ระเบีย บวิธวี จิ ยั เชิง
คุณภาพ โดยใช้กรณีศกึ ษา ผูร้ ว่ มในการวิจยั ประกอบด้วย ผูว้ จิ ยั ทาหน้าทีเ่ ป็นครูผวู้ จิ ยั ผูช้ ่วยวิจยั
จานวน 2 คน ซึง่ ทาหน้าทีใ่ นการบันทึกวีดทิ ศั น์ กลุ่มเป้าหมายเป็นนักศึกษาระดับประกาศนียบัตร
วิชาชีพชัน้ สูง (ปวส.) ชัน้ ปีท่ี 1 แผนกวิชาช่างยนต์ ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2548
30

วิทยาลัยเทคนิค ขอนแก่น อาเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น จานวน 3 คน ซึง่ เข้าร่วมการวิจยั ด้วยความ


สมัครใจ ผลการวิจยั พบว่า
1. ในการแก้ปญั หาทางคณิตศาสตร์นกั เรียนมีความเข้าใจในระดับการกระทา
(Action) และระดับกระบวนการ (Process) เกีย่ วกับฟงั ก์ชนั กาลังสอง มีกรณีทน่ี กั เรียนสามารถ
เชื่อมโยงความเข้าใจในระดับกระบวนการ (Process) และสมบัตทิ เ่ี กีย่ วข้องในการแก้สถานการณ์
ปญั หา แต่ไม่สามารถแก้สถานการณ์ปญั หาได้สาเร็จ ซึง่ แสดงให้เห็นว่า แม้ว่านักเรียนจะมีการ
เชื่อมโยงความเข้าใจในระดับกระบวนการ (Process) ทีเ่ กีย่ วข้องกับสถานการณ์ปญั หา แต่การ
เชื่อมโยงนัน้ ไม่เหมาะสม ซึง่ เป็ นสาเหตุให้นกั เรียนไม่สามารถแก้สถานการณ์ปญั หาได้
2. การใช้เครือ่ งคิดเลขในการแก้สถานการณ์ปญั หาของนักเรียน พบว่า เครือ่ งคิด
เลขกราฟิกใช้เป็นเครือ่ งมือช่วยส่งเสริมความเข้าใจในทัง้ 2 ระดับ กล่าวคือ บทบาทการเป็น


เครือ่ งมือแสดงความเข้าใจมโนมติในระดับการกระทา (CART) และระดับกระบวนการ (CPRT)

วโิ ร
ในการใช้เครือ่ งคิดเลขในกระบวนการแก้ปญั หาจะใช้ความสามารถและบทบาทของเครือ่ งคิดเลข
ทร
ในการเขียนกราฟและการหาค่าต่างๆ เกีย่ วกับกราฟของฟงั ก์ชนั กาลังสอง
นิ
คร
นี
ศร

it y
งานวิ จยั ต่างประเทศ ers
ลยั
ยา

n iv
เพอเจซี (Perjési. 2003: 43) ได้นาโปรแกรมระบบพีชคณิต (Computer Algebra System:
tU
วทิ
หา

ir o

CAS) ชื่อ Maple เข้ามาช่วยสอนวิชาการวิเคราะห์เวกเตอร์ (Vector Analysis) ให้กบั นักศึกษาคณะ


งม

nw

วิศวกรรมศาสตร์ เนื่องจากเนื้อหานี้เป็นเนื้อหาทีม่ คี วามซับซ้อนและเป็นการยากที่ จะแสดงแนวคิด


ลา

ari
ดุ ก

a kh

ให้เข้าใจได้อย่างลึกซึง้ โดยใช้กระดานดาและชอล์ก ผลการวิจยั พบว่า มีความเป็นไปได้ทจ่ี ะนา


สม

rin

โปรแกรมระบบพีชคณิตเข้ามาช่วยสอนวิเคราะห์เวกเตอร์ เพื่อแสดงแนวคิดเกีย่ วกับเวกเตอร์ในสาม


หอ

yS

มิตแิ ละทฤษฎีของเกาส์และสโตค ผลของการวิจยั แสดงให้เห็นว่าโปรแกรม Maple ช่วยให้นกั ศึกษา


rar
นกั

L ib
สาํ

เข้าใจแนวคิดได้อย่างเป็นรูปธรรมมากขึน้
al

พิลพิ ค์ซกั (Pilipczuk. 2006: Online) ได้ทาการเปรียบเทียบประสิทธิภาพการทางานของ


n tr
Ce

นักเรียนระหว่างการใช้เครือ่ งคานวณเชิงกราฟและไม่ใช้เครือ่ งคานวณเชิงกราฟ ในเนื้อหา 3 ส่วน


ของเรือ่ งฟงั ก์ชนั ประกอบด้วย ตัวแบบ กราฟ และการแก้ปญั หา กลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนชัน้
มัธยมศึกษาตอนปลายจานวน 48 คน แบ่งเป็นกลุ่มทดลองจานวน 23 คน ใช้เครือ่ งคานวณเชิง
กราฟ และกลุ่มควบคุมจานวน 25 คน ไม่ใช้เครือ่ งคานวณเชิงกราฟในการทางาน ผลการวิจยั พบว่า
คะแนนของแบบทดสอบหลังเรียนของนักเรียนทัง้ สองกลุ่ มไม่แตกต่างกันอย่างมีนยั สาคัญ ทางสถิตทิ ่ี
ระดับ .05 อย่างไรก็ตาม นักเรียนในกลุ่มทดลองสามารถเขียนกราฟได้ดกี ว่ากลุ่มควบคุม นอกจากนี้
นักเรียนในกลุ่มทดลองใช้วธิ กี ารของกราฟในการแก้ปญั หาบ่อยกว่ากลุ่มควบคุม
31

สครัป (Schrupp. 2007: Online) ได้ศกึ ษาผลสัมฤทธิ ์ทางการเรียนและเจตคติของ


นักเรียนของการใช้เครือ่ งคานวณเชิงกราฟในการแก้สมการกาลังสอง โดยใช้วธิ กี ารแยกตัวประกอบ
ตาราง กราฟและสูตรกาลังสอง กลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาตอนปลายจานวน 39 คน
ผลการวิจยั พบว่า นักเรียนที่เรียนโดยใช้เครือ่ งคานวณเชิงกราฟในการแก้สมการกาลังสองมี
ผลสัมฤทธิ ์ทางเรียนดีกว่านักเรียนทีเ่ รียนโดยไม่ใช้เครือ่ งคานวณเชิงกราฟ และจากการสังเกตพบว่า
การใช้เครือ่ งคานวณเชิงกราฟในการเรียนทาให้นกั เรียนเห็นคุณค่าของคณิตศาสตร์ รูส้ กึ สนุกในการ
เรียนและมีความกระตือรือร้นในการเรียนเพิม่ ขึน้
จากการศึกษาเอกสารและงานวิจยั ทีเ่ กีย่ วข้องกับการใช้โปรแกรมระบบพีชคณิตพบว่า
โปรแกรมระบบพีชคณิตมีประโยชน์สาหรับการเรียนการสอนคณิตศาสตร์ ทาให้นกั เรียนเกิดการ
เรียนรูไ้ ด้เร็วขึน้ และสามารถเรียนรูเ้ นื้อหาทีเ่ พิม่ ขึน้ ละเอียด และลึกซึง้ ขึน้ รวมทัง้ มีความรูค้ วาม


เข้าใจในวิชาคณิตศาสตร์เพิม่ ขึน้ ส่งผลให้นกั เรียนมีเจตคติทด่ี ตี ่อวิชาคณิตศาสตร์ ด้วยเหตุน้ผี วู้ จิ ยั

วโิ ร
จึงสนใจทีจ่ ะนาโปรแกรมระบบพีชคณิต มาใช้ในการเรียนการสอนเรือ่ งกาหนดการเชิงเส้น โดย
โปรแกรมระบบพีชคณิตทีใ่ ช้งานวิจยั คือ โปรแกรม Euler นิทร
นีคร
ศร

it y
2.3 ลักษณะของโปรแกรม C.a.R. และโปรแกรม Euler ers
ลยั
ยา

n iv
เนื่องจากโปรแกรม C.a.R. เป็นโปรแกรมเรขาคณิตแบบพลวัต ชนิดหนึ่ง และโปรแกรม
tU
วทิ
หา

ir o

Euler เป็นโปรแกรมระบบพีชคณิตชนิดหนึ่ง ซึง่ โปรแกรมทัง้ สองเป็นโปรแกรมคนละกลุ่มกัน จึงมี


งม

nw

ความแตกต่างในเรือ่ งฟงั ก์ชนั การทางานและจุดประสงค์ของการใช้งาน ลักษณะของโปรแกรม


ลา

ari
ดุ ก

a kh

C.a.R. และโปรแกรม Euler พอสรุปโดยสังเขปได้ดงั ตาราง 1


สม

rin
หอ

yS

ตาราง 1 ลักษณะของโปรแกรม C.a.R. และโปรแกรม Euler


rar
นกั

L ib
สาํ

คุณสมบัติ โปรแกรม C.a.R. โปรแกรม Euler


al
n tr

1. กลุ่มของโปรแกรม เป็นโปรแกรมในกลุ่มโปรแกรม เป็นโปรแกรมในกลุ่มโปรแกรม


Ce

เรขาคณิตแบบพลวัต ระบบพีชคณิต
2. ลักษณะการใช้งาน การใช้งานโดยส่วนใหญ่จะใช้เมาส์ การใช้งานโดยส่วนใหญ่จะใช้
มีการใช้คยี บ์ อร์ดบ้าง ในกรณีของ คียบ์ อร์ดพิมพ์คาสัง่
การพิมพ์ฟงั ก์ชนั เพื่อสร้างกราฟ
การพิมพ์ขอ้ ความ หรือการพิมพ์ค่า
ของพารามิเตอร์
3. ลักษณะการทางาน โปรแกรม C.a.R. เกีย่ วข้องกับการ การทางานมีลกั ษณะเป็นแบบ
สร้างและจัดกระทากับวัตถุ เช่น Input – Process – Output
การสร้างกราฟ การสร้างวงกลม
การเคลื่อนย้ายจุดหรือย้ายเส้น
32

ตาราง 1 (ต่อ)

คุณสมบัติ โปรแกรม C.a.R. โปรแกรม Euler


โดยโปรแกรมมีลกั ษณะปฏิสมั พันธ์ นันคื
่ อผูใ้ ช้พมิ พ์คาสังเข้
่ าไป
กับผูใ้ ช้ ซึง่ ผูใ้ ช้สามารถเปลีย่ นแปลง โปรแกรมจะแสดงผลลัพธ์ออกมา
รูปเรขาคณิตให้เคลื่อนไหวตาม
ความต้องการ โดยยังคงรักษาสมบัติ
และความสัมพันธ์ทถ่ี ูกกาหนดของ
รูปนัน้ ไว้เสมอ หากต้องการสร้าง
หรือแก้ไขวัตถุจะใช้เมาส์คลิก หรือ


ใช้เมาส์ลากวัตถุเมือ่ ต้องการให้วตั ถุ

วโิ ร
เคลื่อนทีไ่ ปทางใด
4. ความสามารถใน โปรแกรม C.a.R. ยังไม่สามารถ นิ ทร โปรแกรม Euler มีความสามารถ
คร
การประมวลผลเชิง ประมวลผลเชิงสัญลักษณ์ได้ ในการประมวลผลเชิงสัญลักษณ์
นี
ศร

it y
สัญลักษณ์ ers
เนื่องจากโปรแกรม Euler มี
ลยั
ยา

n iv
โปรแกรมระบบพีชคณิตแฝงอยู่
tU
วทิ
หา

ir o
งม

nw

5. การสร้างภาพ โปรแกรม C.a.R. มีความสามารถ โปรแกรม Euler ยังไม่มคี วาม


ลา

ari
ดุ ก

a kh

เคลื่อนไหว ในการสร้างภาพเคลื่อนไหว สามารถในการสร้างภาพ


สม

rin

เคลื่อนไหว
หอ

yS

6. การสร้างแบบฝึก โปรแกรม C.a.R. มีความสามารถ โปรแกรม Euler ยังไม่มคี วาม


rar
นกั

L ib
สาํ

ในการสร้างงานทีม่ ลี กั ษณะเป็นแบบ สามารถในการสร้างแบบฝึก


al

ทดสอบการสร้าง กล่าวคือเมือ่
n tr
Ce

ผูเ้ รียนสร้างได้ถูกต้อง โปรแกรม


จะแจ้งผลให้ทราบทันที
7. จุดประสงค์ของการ เพื่อเป็นสื่อสาหรับการเรียนการสอน เพื่อเป็นเครือ่ งมือเสริมการเรียนรู้
ใช้งานโปรแกรม โดยใช้โปรแกรม C.a.R. เสนอแนว โดยใช้โปรแกรม Euler ช่วยใน
คิดทีส่ าคัญทางคณิตศาสตร์และ การคานวณหรือตรวจคาตอบ
แสดงภาพเปลีย่ นแปลงได้อย่างเป็น
รูปธรรมมากขึน้ เพื่อให้ผเู้ รียนได้
สารวจ สังเกต และเรียนรูอ้ ย่างมี
ความหมาย
33

3. เอกสารและงานวิ จยั ที่เกี่ยวข้องกับชุดกิ จกรรมการเรียนการสอน


3.1 ความหมายของชุดกิ จกรรมการเรียนการสอน
ชุดการสอนหรือชุดการเรียนมีช่อื เรียกต่างกัน เช่น ชุดการสอน ชุดการเรียนการสอน
ชุดการเรียนสาเร็จรูป ชุดการสอนรายบุคคล ชุดการเรียนด้วยตนเอง ชุดกิจกรรม ในการวิจยั ครัง้ นี้
ผูว้ จิ ยั ขอใช้คาว่า ‚ชุดกิจกรรม‛ แทนชื่อต่างๆ ดังกล่าวข้าง ซึง่ มีผใู้ ห้ความหมายไว้ต่างๆ กันดังนี้
บุญชม ศรีสะอาด (2541: 95) ได้ให้ความหมายของชุดกิจกรรม หมายถึง สื่อการเรียน
หลายอย่างประกอบกันจัดเข้าไว้เป็นชุด เรียกว่า สื่อประสม (Multi Media) เพื่อมุง่ ให้นกั เรียนเกิด
การเรียนรูอ้ ย่างมีประสิทธิภาพ
วัฒนาพร ระงับทุกข์ (2542: 27) กล่าวว่า ชุดกิจกรรม คือ กิจกรรมการเรียนรูท้ ไ่ี ด้รบั การ
ออกแบบและจัดอย่างเป็นระบบ ประกอบด้วยจุดมุง่ หมาย เนื้อหาและวัสดุอุปกรณ์ โดยกิจกรรม


ต่างๆ ดังกล่าว ได้รบั การรวบรวมไว้เป็นระเบียบในกล่องเพื่อเตรียมไว้ให้นกั เรียนได้ศกึ ษาจาก

วโิ ร
ทร
ประสบการณ์ทงั ้ หมด
นิ
คร
กองพัฒนาการการศึกษานอกโรงเรียน (2542: 5) กล่าว่า ชุดกิจกรรม หมายถึง งานหรือ
นี
ศร

ภารกิจทีก่ าหนดให้นกั เรียนลงมือปฏิบตั ิระหว่างศึกษาหรือหลังจากศึกษาเนื้อหาสาระต่าง ๆ ในชุด

it y
ers
ลยั

วิชาแต่ละเรือ่ งจบแล้ว ชุดกิจกรรมต้องสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ นักเรียนได้ลงมือปฏิบตั แิ ละมีส่วน


ยา

n iv
ร่วมในการเรียนด้วยตนเองตามทีก่ าหนดในชุดวิชา เมือ่ ทากิจกรรมเสร็จเรียบร้อยแล้ว จะสามารถ
tU
วทิ
หา

ir o

ตรวจสอบแนวตอบทันท่วงทีเป็นการเสริมแรงและประสบการณ์ทเ่ี ป็นความภาคภูมใิ จให้แก่นกั เรียน


งม

nw

บุญเกือ้ ควรหาเวช (2545: 91) ได้ให้ความหมายชุดกิจกรรม หมายถึง สื่อการสอนชนิด


ลา

ari
ดุ ก

a kh

หนึ่งซึง่ เป็นชุดของสื่อประสม (หมายถึง การใช้ส่อื การสอนตัง้ แต่สองชนิดขึน้ ไปร่วมกัน เพื่อให้


สม

rin

นักเรียนได้รบั ความรูต้ ามทีต่ ้ องการ สื่อทีน่ ามาใช้รว่ มกันนี้จะช่วยเสริมประสบการณ์ซง่ึ กันและกัน


หอ

yS
rar

ตามลาดับขัน้ ทีจ่ ดั เอาไว้) ทีจ่ ดั ขึน้ สาหรับหน่วยการเรียนตามหัวข้อเนื้อหาและประสบการณ์ของแต่


นกั

L ib
สาํ

ละหน่วยทีต่ อ้ งการจะให้นกั เรียนได้รบั โดยจัดเอาไว้เป็นชุดๆ บรรจุอยูใ่ นซอง กล่อง หรือกระเป๋า


al
n tr

จากการศึกษาความหมายของชุดกิจกรรมข้างต้น สรุปได้ว่า ชุดกิจกรรม หมายถึง สื่อการ


Ce

เรียนการสอนสาหรับใช้ประกอบการจัดการเรียนการสอน ประกอบด้วยสื่อหลายๆ อย่างมาสัมพันธ์


กัน โดยให้สอดคล้องกับเนื้อหาวิชา เพื่อให้นกั เรียนได้รบั ความรูต้ ามทีต่ อ้ งการและเปลีย่ นแปลง
พฤติกรรมการเรียนรู้ของผูเ้ รียนให้มปี ระสิทธิภาพมากขึน้ รวมทัง้ เป็นเครือ่ งอานวยความสะดวก
สาหรับครูในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนได้อย่างมีประสิทธิภาพ

3.2 ประเภทของชุดกิ จกรรมการเรียนการสอน


นักการศึกษาได้แบ่งประเภทของชุดกิจกรรมไว้ดงั นี้
ชัยยงค์ พรหมวงค์ (2537: 114) ได้จาแนกชุดกิจกรรมออกเป็น 4 ประเภท ดังนี้
1. ชุดกิจกรรมประกอบคาบรรยาย เป็นชุดการเรียนการสอนทีม่ งุ่ ช่วยขยาย
เนื้อหาสาระการสอนแบบบรรยายให้ชดั เจนยิง่ ขึน้ ช่วยให้ครูพดู น้อยลง และเปิดโอกาสให้นกั เรียน
34

มีส่วนร่วมในกิจกรรมการเรียนมากขึน้ สิง่ ทีใ่ ช้อาจเป็นแผนการสอน สไลด์ประกอบเสียงขยายในเทป


แผนภูม ิ แผนภาพ แผ่นโปร่งใส และภาพยนตร์โทรทัศน์
2. ชุดกิจกรรมสาหรับกลุ่ม เป็นชุดการเรียนการสอนทีใ่ ห้นกั เรียนได้ประกอบ
กิจกรรมร่วมกัน เช่น การสอนแบบศูนย์การเรียน การสอนแบบกลุ่มสัมพันธ์
3. ชุดกิจกรรมรายบุคคล เป็นชุดการเรียนการสอนทีใ่ ห้นกั เรียนได้เรียนรูด้ ว้ ยตนเอง
ตามความแตกต่างระหว่างบุคคล อาจเป็นการเรียนในโรงเรียนหรือทีบ่ า้ นก็ได้ เพื่อให้นกั เรียน
ก้าวไปข้างหน้าตามความสามารถ ความสนใจและความพร้อมของนักเรียน ชุดการเรียนการสอน
รายบุคคลอาจผลิตออกมาในรูปของหน่วยการเรียนย่อยหรือโมดูล
4. ชุดกิจกรรมทางไกล เป็นชุดการเรียนการสอน สาหรับครูและนักเรียนทีอ่ ยู่
ต่างถิน่ ต่างเวลากัน มุง่ สอนให้นกั เรียนศึกษาด้วยตนเอง โดยนักเรียนไม่ตอ้ งมาเข้าชัน้ เรียน


ประกอบด้วยสื่อประเภทสิง่ พิมพ์ รายการวิทยุกระจายเสียง วิทยุโทรทัศน์ ภาพยนตร์ และการสอน

วโิ ร
เสริมตามศูนย์บริการการศึกษา เช่น ชุดการเรียนการสอนทางไกลมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
ทร
บุญเกือ้ ควรหาเวช (2545: 94–95) ได้แบ่งประเภทของชุดกิจกรรมเป็น 3 ประเภทใหญ่ๆ
นิ
คร
คือ
นี
ศร

it y
ers
1. ชุดกิจกรรมการสอนประกอบคาบรรยาย เป็นชุดการสอนสาหรับผูส้ อนจะใช้สอน
ลยั
ยา

n iv
นักเรียนเป็นกลุ่มใหญ่ หรือการสอนทีต่ อ้ งการปูพน้ื ฐานให้นกั เรียนส่วนใหญ่รแู้ ละเข้าใจในเวลา
tU
วทิ
หา

ir o

เดียวกันมุง่ ในการขยายเนื้อหาสาระให้ชดั เจนยิง่ ขึน้ ชุดการสอนแบบนี้จะช่วยให้ผสู้ อนลดการพูดให้


งม

nw

น้อยลงและใช้ส่อื การสอนทีม่ คี วามพร้อมอยูใ่ นชุดการสอนในการเสนอเนื้อหามากขึน้ สื่อทีใ่ ช้อาจ


ลา

ari
ดุ ก

a kh

ได้แก่ รูปภาพแผนภูม ิ สไลด์ ฟิลม์ สคริป ภาพยนตร์ เป็นต้น ข้อสาคัญคือสื่อทีจ่ ะนามาใช้น้ตี อ้ งให้
สม

rin

นักเรียนได้เห็นอย่างชัดเจนทุกคน ชุดการสอนชนิดนี้บางคนอาจเรียกว่าชุดการสอนสาหรับครู
หอ

yS

2. ชุดกิจกรรมการสอนแบบกลุ่มกิจกรรม เป็นชุดการสอนสาหรับให้นกั เรียนเรียน


rar
นกั

L ib
สาํ

ร่วมกันเป็นกลุ่มเล็กๆ ประมาณ 5–7 คน โดยใช้ส่อื การสอนทีบ่ รรจุไว้ในชุดการสอนแต่ละชุด มุง่ ทีจ่ ะ


al

ฝึกทักษะในเนื้อหาวิชาทีเ่ รียนและให้นกั เรียนมีโอกาสทางานร่วมกัน ชุดการสอนชนิดนี้มกั จะใช้ใน


n tr
Ce

การสอนแบบกิจกรรมกลุ่ม เช่น การสอนแบบศูนย์การเรียน การสอนแบบกลุ่มสัมพันธ์ เป็นต้น


3. ชุดกิจกรรมการสอนแบบรายบุคคลหรือ ชุดการสอนตามเอกัตภาพ เป็นชุด
การสอนสาหรับเรียนด้วยตนเองเป็นรายบุคคล คือ นักเรียนจะต้องศึกษาหาความรูต้ ามความ
สามารถและความสนใจของตนเองอาจจะเรียนทีโ่ รงเรียนหรือทีบ่ า้ นก็ได้ ส่วนมากมักจะมุง่ ให้
นักเรียนได้ทาความเข้าใจในเนื้อหาวิชาทีเ่ รียนเพิม่ เติม นักเรียนสามา รถจะประเมินผลการเรียน
ด้วยตนเองได้ดว้ ย ชุดการสอนชนิดนี้อาจจะจัดในลักษณะของหน่วยการสอนย่อยหรือโมดูลก็ได้
สาหรับงานวิจยั ครัง้ นี้ผวู้ จิ ยั เลือกใช้ชุดกิจกรรมสาหรับครูเพื่อใช้ประกอบการเรียนเรือ่ ง
กาหนดการเชิงเส้น สาหรับนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 3 ประกอบด้วยคู่มอื และเครือ่ งมือสาหรับครู
ซึง่ พร้อมทีจ่ ะนาไปใช้สอน โดยมีรายละเอียดในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนแต่ละคาบ
35

ตลอดจนการวัดผลและประเมินผล ซึง่ ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนครูเป็นผูด้ าเนินการและ


ควบคุมกิจกรรมทัง้ หมด โดยให้นกั เรียนมีส่วนร่วมกิจกรรมภายใต้การดูแลของครู

3.3 องค์ประกอบของชุดกิ จกรรมการเรียนการสอน


สุมานิน รุง่ เรืองธรรม (2526: 114–116) ได้กล่าวว่า ชุดกิจกรรมมีหลายประเภทต่างๆ กัน
อย่างไรก็ดชี ุดกิจกรรมประเภทต่างๆ นี้ มีส่วนทีเ่ ป็นองค์ประกอบพืน้ ฐานทีค่ ล้ายคลึงกัน 7 ประการ
คือ
1. หัวเรือ่ ง เป็นการแบ่งหน่วยงานออกเป็นส่วนย่อยให้นกั เรียนได้เข้าใจยิง่ ขึน้
ซึง่ หัวเรือ่ งนี้ตอ้ งตรงกับความต้องการของนักเรียนและผูส้ อนอีกทัง้ มีคุณค่าแก่การเรียนการสอนตาม
หลักสูตร


2. คู่มอื การใช้ชุดกิจกรรม เป็นสิง่ ทีจ่ าเป็นมากซึง่ ผูใ้ ช้ชุดกิจกรรมนัน้ จะศึกษาจาก

วโิ ร
คู่มอื เป็นอันดับแรกดังนัน้ คู่มอื การใช้ชุดกิจกรรมจึงประกอบด้วย
ทร
2.1 หัวเรือ่ ง กาหนดเวลาเรียนและจานวนนักเรียน
นิ
คร
2.2 เนื้อหา สาระสาคัญจากรายละเอียดของเนื้อเรือ่ งทัง้ หมด ควรจะบรรยาย
นี
ศร

it y
เนื้อหาอย่างสัน้ ๆ ers
ลยั
ยา

n iv
2.3 ความคิดรวบยอด (Concept) กล่าวถึงหลักการเรียนรูท้ ม่ี งุ่ เน้น
tU
วทิ
หา

ir o

2.4 วัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม เป็นวัตถุประสงค์ของการเรียนรูท้ ม่ี งุ่ จะให้


งม

nw

นักเรียนได้รบั
ลา

ari
ดุ ก

a kh

2.5 สื่อการเรียนหรือวัสดุประกอบการเรียน ระบุรายการศึกษาค้นคว้า และ


สม

rin

ทีผ่ สู้ อนจะใช้ประกอบการสอน


หอ

yS

2.6 กิจกรรมการเรียน เป็นการกาหนดกิจกรรมการเรียนการสอน และการ


rar
นกั

L ib
สาํ

ใช้อุปกรณ์
al

2.7 การประเมินผล
n tr
Ce

3. วัสดุประกอบการเรียนหรือสื่อ รายการทีร่ ะบุไว้ในคู่มอื การใช้ชุดกิจกรรมจะต้อง


มีไว้ในชุดกิจกรรมจริงๆ และต้องระบุรายการวัสดุอุปกรณ์ หรือสื่อทีม่ อี ยูด่ ว้ ยหมายเลขให้แน่ชดั
4. การประเมินผล แบบประเมินผลเพื่อดูพฤติกรรมของนักเรียน อาจเป็นลักษณะ
ของแบบทดสอบ หรือการให้แสดงผลงาน ซึง่ จะต้องกาหนดให้ชดั เจนและออกแบบมาให้เข้าใจ
5. สิง่ ทีใ่ ช้บรรจุ ขนาดรูปแบบของชุดกิจกรรม ไม่ควรจะใหญ่เกินไป ต้องคานึงถึง
ความสะดวกในการขนย้ายและการนาไปใช้
6. กิจกรรมสารอง ถ้าเป็นชุดการเรียนการสอนแบบกิจกรรมกลุ่ม ควรจะจัดกิจกรรม
สารองไว้สาหรับผูเ้ รียนบางคนทีท่ าเสร็จก่อนผูอ้ ่นื ได้มกี จิ กรรมอื่นทา
7. ทดลองใช้เพื่อนาไปปรับปรุงแก้ไขก่อนทีจ่ ะนาออกไปใช้
36

บุญเกือ้ ควรหาเวช (2545: 95–97) ได้กล่าวว่า องค์ประกอบทีส่ าคัญๆ ภายในชุด


กิจกรรม สามารถสรุปได้เป็น 4 ส่วนด้วยกัน คือ
1. คู่มอื ครู เป็นคู่มอื และแผนการสอนสาหรับผูส้ อนหรือนักเรียนตามแต่ชนิดของ
ชุดกิจกรรม ภายในคู่มอื และชีแ้ จงถึงวิธกี ารใช้ชุดกิจกรรมเอาไว้อย่างละเอียด อาจจะทาเป็นเล่มหรือ
แผ่นพับก็ได้ ซึง่ จะกล่าวถึงรายละเอียดและหลักการเขียนในตอนต่อไป
2. คาแนะนา จะเป็นส่วนทีบ่ อกให้นกั เรียนดาเนินการเรียนหรือประกอบกิจกรรมแต่
ละอย่าง ตามขัน้ ตอนทีก่ าหนดไว้ คาแนะนาจะมีอยูใ่ นชุดกิจกรรมแบบกลุ่มและรายบุคคล ซึง่ จะ
ประกอบด้วย
2.1 คาอธิบายในเรือ่ งทีจ่ ะศึกษา
2.2 คาสังให้ ่ นกั เรียนดาเนินกิจกรรม


2.3 การสรุปบทเรียน

วโิ ร
บัตรคาสังนี ่ ้ มักนิยมใช้กระดาษแข็งตัดเป็นบัตร ขนาด 6 คูณ 8 นิ้ว
ทร
3. เนื้อหาสาระและสื่อ จะบรรจุไว้ในรูปของสื่อการสอนต่างๆ อาจจะประกอบด้วย
นิ
คร
บทเรียนโปรแกรม สไลด์ เทปบันทึกเสียง ฟิลม์ สคริป แผ่นภาพโปร่งใส วัสดุกราฟฟิกส์ หุ่นจาลอง
นี
ศร

it y
ers
ของตัวอย่าง รูปภาพ เป็นต้น นักเรียนจะศึกษาจากสื่อการสอนต่างๆ ทีบ่ รรจุอยูใ่ นชุดกิจกรรม ตาม
ลยั
ยา

n iv
บัตรคาทีก่ าหนดไว้ให้
tU
วทิ
หา

ir o

4. แบบประเมินผล นักเรียนจะทาการประเมินผลความรูด้ ว้ ยตนเองก่อนและหลัง


งม

nw

เรียนแบบประเมินผลทีอ่ ยูใ่ นชุดการสอนอาจจะเป็นแบบฝึกหัดให้เติมคาในช่องว่างเลือกคาตอบทีถ่ ูก


ลา

ari
ดุ ก

a kh

จับคู่ ดูผลจากการทดลอง หรือให้ทากิจกรรม เป็นต้น


สม

rin

จากการศึกษาองค์ประกอบของชุดกิจกรรมการเรียนการสอน ผูว้ จิ ยั จึงสร้างชุดกิจกรรม


หอ

yS

การเรียนการสอนเรือ่ งกาหนดการเชิงเส้นโดยใช้โปรแกรม C.a.R. และโปรแกรม Euler ซึง่ มี


rar
นกั

L ib
สาํ

องค์ประกอบดังนี้
al

1. คู่มอื การใช้ชุดกิจกรรมการเรียนการสอนเรือ่ งกาหนดการเชิงเส้น ประกอบด้วย


n tr
Ce

1.1 คาชีแ้ จงการใช้ชุดกิจกรรมการเรียนการสอน


1.2 คู่มอื การใช้โปรแกรม C.a.R. และโปรแกรม Euler สาหรับการจัดกิจกรรม
การเรียนการสอนเรือ่ งกาหนดการเชิงเส้น
2. บทเรียนสาหรับใช้ประกอบการเรียนการสอน จะแบ่งเนื้อหาออกเป็นหน่วยการ
เรียนทัง้ หมด 2 หน่วย โดยแต่ละหน่วยการเรียนประกอบด้ว ย เนื้อหา ตัวอย่าง และใบกิจกรรม
3. กิจกรรมการเรียนรูท้ ส่ี ร้างจากโปรแกรม C.a.R. และโปรแกรม Euler ทีจ่ ะ
นามาใช้ประกอบการเรียนการสอน ซึง่ จะให้ปฏิบตั บิ นคอมพิวเตอร์
4. แผนการจัดการเรียนรูว้ ชิ าคณิตศาสตร์ ซึง่ แต่ละแผนจะสอดคล้องตาม
หน่วยการเรียนแต่ละหน่วย
37

3.4 ขัน้ ตอนการสร้างชุดกิ จกรรมการเรียนการสอน


บุญชม ศรีสะอาด (2541: 99–100) ได้เสนอขัน้ ตอนในการสร้างชุดกิจกรรมดังนี้
1. วิเคราะห์ภารกิจการเรียนสาหรับเนื้อหาวิชาทีจ่ ะสร้างชุดกิจกรรม กาหนด
จุดประสงค์ทวไปั ่ จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม และจาแนกเนื้อหาออกเป็นหน่วยย่อยๆ สาหรับสอน
แต่ละคาบเวลา
2. สร้างชุดกิจกรรมตามลักษณะของชุดการสอน และทฤษฎีทเ่ี ป็นพืน้ ฐานและ
หลักการเรียนการสอนทีไ่ ด้กล่าวมาแล้ว โดยมีส่วนประกอบดังนี้
2.1 ข้อแนะนาในการใช้จดุ ประสงค์ของบทเรียน
2.2 กิจกรรมของนักเรียนและผูส้ อน
2.3 เอกสารสาหรับนักเรียนและผูส้ อน


2.4 สื่อการเรียนการสอนต่างๆ

วโิ ร
2.5 การประเมินผล
3. ทบทวนและปรับปรุง
ทร
นิ
คร
4. ให้ผเู้ ชีย่ วชาญด้านการพัฒนาหลักสูตร ด้านเนื้อหาสาระ ด้านสื่อการสอน
นี
ศร

it y
พิจารณาให้ขอ้ เสนอแนะ ผูส้ ร้างปรับปรุงตามข้อเสนอแนะนัน้ ๆ ers
ลยั
ยา

n iv
5. ทดลองใช้และปรับปรุง โดยนาไปทดลองใช้กบั นักเรียนทีเ่ ป็นกลุ่มเป้ าหมายของ
tU
วทิ
หา

ir o

การสร้างชุดกิจกรรม ดังนี้
งม

nw

5.1 ทดลองแบบหนึ่งต่อหนึ่ง โดยนาชุดกิจกรรมไปทดลองใช้กบั นักเรียน


ลา

ari
ดุ ก

a kh

หนึ่งคนทาการสังเกตและบันทึกพฤติกรรมของนักเรียนระหว่างเรียน จับเวลาทีใ่ ช้ในการเรียน


สม

rin

สัมภาษณ์หรือให้นกั เรียนเขียนวิจารณ์ชุดการสอนนัน้ แล้วนาเอาข้อสนเทศต่างๆ ทีไ่ ด้มาปรับปรุง


หอ

yS

แก้ไขข้อบกพร่อง
rar
นกั

L ib
สาํ

5.2 ทดลองกับกลุ่มย่อย โดยนาชุดกิจกรรมทีไ่ ด้รบั การปรับปรุงแล้วใน


al

ขัน้ 5.1 ไปทดลองใช้กบั นักเรียนจานวน 10 คน โดยจะมีการทดสอบผลสัมฤทธิ ์ทางการเรียน แล้ว


n tr
Ce

นาคะแนนจากการทดสอบมาวิเคราะห์หาประสิทธิภาพของบทเรียนตามเกณฑ์มาตรฐาน 90/90
นาเอาผลมาปรับปรุงกิจกรรม เนื้อหาสาระและสื่อต่างๆ ตามข้อสนเทศทีไ่ ด้รบั จะเห็นได้ว่าชุดการ
เรียนการสอนมี
5.3 ทดลองกับกลุ่มใหญ่ หลังจากทดลองและปรับปรุงแก้ไขชุดกิจกรรมทัง้
สองครัง้ แล้ว นาเอาชุดกิจกรรมนี้ไปทดลองใช้กบั นักเรียนหนึ่งห้องเรียน แล้วนาผลการทดสอบ
ผลสัมฤทธิ ์ทางการเรียนมาหาประสิทธิภาพของบทเรียนตามเกณฑ์มาตรฐาน 90/90
38

มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช (2542: 782) ได้เสนอขัน้ ตอนในการสร้างชุดกิจกรรมมี


ขัน้ ตอนทีต่ อ้ งดาเนิน 4 ขัน้ ตอน ดังนี้
ขัน้ ที่ 1 การวิเคราะห์เนื้อหา
การวิเคราะห์เนื้อหา หมายถึง การจาแนกเนื้อหาวิชาออกเป็นหน่วยแยกย่อยลง
ไปจนถึงหน่วยระดับบทเรียน ซึง่ เป็นหน่วยทีใ่ ช้สอนได้ 1 ครัง้ ชุดการสอนทีผ่ ลิตขึน้ จึงเป็นชุดการ
สอนประจาหน่วยระดับบทเรียน คือ 1 ชุดการสอนสาหรับการสอนแต่ละครัง้
ขัน้ ที่ 2 วางแผนการสอน
การวางแผนการสอนเป็นการคาดการณ์ล่วงหน้าว่า เมือ่ ครูเริม่ สอนโดยใช้ชุด
กิจกรรมจะต้องทาอะไรบ้างตามลาดับก่อนหลัง
ขัน้ ที่ 3 ผลิตสื่อการสอน


ขัน้ ที่ 4 ทดสอบประสิทธิภาพชุดกิจกรรม

วโิ ร
เป็นการประเมินผลคุณภาพชุดการสอน ด้วยการนาชุดกิจกรรมไปทดลองใช้
แล้วปรับปรุงให้มคี ุณภาพตามเกณฑ์ทก่ี าหนดไว้
ทร
นิ
คร
จากการศึกษาขัน้ ตอนการสร้างชุดกิจกรรมการเรียนการสอนข้างต้น ผูว้ จิ ยั ได้สร้างชุด
นี
ศร

it y
ers
กิจกรรมการเรียนการสอนเรือ่ งกาหนดการเชิงเส้นโดยใช้โปรแกรม C.a.R. และโปรแกรม Euler
ลยั
ยา

n iv
โดยมีขนั ้ ตอนดังนี้
tU
วทิ
หา

ir o

1. ศึกษาเอกสารเกีย่ วกับเนื้อหาเรือ่ งกาหนดการเชิงเส้น เพื่อเป็นแนวทางในการ


งม

nw

สร้างชุดกิจกรรมการเรียนการสอนเรือ่ งกาหนดการเชิงเส้นสาหรับนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 3


ลา

ari
ดุ ก

a kh

2. สร้างชุดกิจกรรมการเรียนการสอน โดยดาเนินการสร้างดังนี้
สม

rin

2.1 คู่มอื การใช้ชุดกิจกรรมการเรียนการสอน


หอ

yS

2.2 บทเรียนสาหรับใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ซึง่ ในบทเรียนแบ่งเนื้อหา


rar
นกั

L ib
สาํ

ออกเป็นเอกสารหน่วยการเรียน 2 หน่ วย ประกอบด้วย


al

1. หน่วยการเรียนที่ 1 ความรูเ้ บือ้ งต้นของกาหนดการเชิงเส้น


n tr
Ce

2. หน่วยการเรียนที่ 2 การแก้ปญั หากาหนดการเชิงเส้นโดยวิธกี ราฟ


2.3 แผนการจัดการเรียนรู้
3. นาชุดกิจกรรมการเรียนการสอนเรือ่ งกาหนดการเชิงเส้น โดยใช้โปรแกรม
C.a.R. และโปรแกรม Euler ทีผ่ วู้ จิ ยั สร้างขึน้ เสนอต่อคณะกรรมการควบคุมปริญญานิพนธ์และ
ผูเ้ ชีย่ วชาญในการสอนคณิตศาสตร์ตรวจแก้ไขปรับปรุง เพื่อพิจารณาความเหมาะสมและชีแ้ นะ
ข้อบกพร่อง รวมทัง้ ข้อเสนอแนะในการปรับปรุงแก้ไข
4. นาชุดกิจกรรมการเรียนการสอนไปทดลองใช้กบั กลุ่มนำร่อง เพื่อมำปรับปรุง
แก้ไขข้อบกพร่องของชุดกิจกรรมกำรเรียนกำรสอน แล้วนาชุดกิจกรรมการเรียนการสอนไปทดลอง
กับนักเรียนกลุ่มตัวอย่าง
39

3.5 งานวิ จยั ที่เกี่ยวข้องกับชุดกิ จกรรมการเรียนการสอน


งานวิ จยั ในประเทศ
คาโง่น เขียนทิลม (2547) ได้สร้างชุดการเรียนการสอนเรือ่ งสมการเชิงอนุพนั ธ์อนั ดับหนึ่ง
สาหรับนักศึกษาชัน้ ปีท่ี 2 คณะวิศวกรรมศาสตร์และสถาปตั ยกรรมศาสตร์มหาวิทยาลัยแห่ งชาติลาว
จานวน 52 คน ใช้เวลาในการทดลอง 20 ชัวโมง ่ โดยใช้เวลาเรียนปกติ ผลการวิจยั พบว่า นักเรียน
ชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 2 ของคณะวิศวกรรมศาสตร์และสถาปตั ยกรรมศาสตร์สามารถสอบผ่านเกณฑ์
การเรียน เรือ่ งสมการเชิงอนุพนั ธ์อนั ดับหนึ่งมากกว่าร้อยละ 50 ของจานวนนักศึกษาทัง้ หมด
ทีร่ ะดับนัยสาคัญ .01 และระดับความพึงพอใจของนักศึกษา ในการเรียนด้วยชุดการเรียนการสอน
เรือ่ งสมการเชิงอนุพนั ธ์อนั ดับหนึ่ง สาหรับนักศึกษาชัน้ ปีท่ี 2 คณะวิศวกรรมศาสตร์และ
สถาปตั ยกรรมศาสตร์ อยูใ่ นระดับมาก


ขวัญ เพียซ้าย (2547) ได้การสร้างชุดการเรียนการสอนทีผ่ ู้ เรียนสาคัญทีส่ ุด เรือ่ งการ

วโิ ร
พิสจู น์ทางคณิตศาสตร์ และศึกษาความสามารถในการเรียนเรือ่ งการพิสจู น์ทางคณิตศาสตร์ รวมทัง้
ทร
เจตคติของนิสติ วิชาเอกคณิตศาสตร์ ระดับปริญญาตรี ทีม่ ตี ่อชุดการเรียนการสอนทีผ่ เู้ รียนสาคัญ
นิ
คร
ทีส่ ุดเรือ่ งการพิสจู น์ทางคณิตศาสตร์ ผลการวิจยั พบว่านิสติ วิชาเอกคณิตศาสตร์ ระดับปริญญาตรี
นี
ศร

it y
ers
ชัน้ ปีท่ี 2 หลังจากเรียนเรือ่ งการพิสจู น์ทางคณิตศาสตร์โดยใช้ชุดการเรียนการสอนทีผ่ เู้ รียนสาคัญ
ลยั
ยา

n iv
ทีส่ ุดสามารถสอบผ่านเกณฑ์คะแนนตัง้ แต่รอ้ ยละ 60 ขึน้ ไปของคะแนนรวม มีจานวนมากกว่าร้อยละ
tU
วทิ
หา

ir o

50 ของจานวนนิสติ ทัง้ หมดทีร่ ะดับนัยสาคัญ .01 และนิสติ วิชาเอกคณิตศาสตร์ ชัน้ ปีท่ี 2 มีเจตคติต่อ
งม

nw

ชุดการเรียนการสอนทีผ่ เู้ รียนสาคัญทีส่ ุดเรือ่ งการพิสจู น์ทางคณิตศาสตร์ อยูใ่ นระดับเห็นด้วยมาก


ลา

ari
ดุ ก

a kh

เบญจมินทร์ อรัญเพิม่ (2548) ได้ทาการศึกษาผลสัมฤทธิ ์ทางการเรียน เรือ่ งแบบจาลอง


สม

rin

ทางคณิตศาสตร์ ของนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 6 โดยได้สร้างชุดการสอน เรือ่ งแบบจาลองทาง


หอ

yS

คณิตศาสตร์ สาหรับนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 6 ผลการวิจยั พบว่า นักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 6


rar
นกั

L ib
สาํ

ทีเ่ รียนด้วยชุดการสอน เรือ่ งแบบจาลองทางคณิตศาสตร์ สามารถสอบผ่านเกณฑ์การเรียนมีจานวน


al

มากกว่าร้อยละ 50 ของจานวนนักเรียนทัง้ หมด ทีร่ ะดับนัยสาคัญ .01 ดังนัน้ จึงสรุปได้ว่า นักเรียน


n tr
Ce

ชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 6 มีความสามารถในการเรียน เรือ่ งแบบจาลองทางคณิตศาสตร์ทผ่ี วู้ จิ ยั สร้างขึน้


อิทธิเทพ นวาระสุจติ ร (2548) ได้สร้างชุดการเรียนการสอนทีเ่ น้นการคิดเชิงคณิตศาสตร์
ด้านกระบวนการ การให้เหตุ ผล ระดับมัธยมศึกษาปีท่ี 3 และศึกษาผลการเรียนของนักเรียนจากการ
เรียนด้วยกิจกรรมการเรียนการสอนทีเ่ น้นการคิดเชิงคณิตศาสตร์ดา้ นกระบวนการ การให้เหตุผลที่
ผูว้ จิ ยั สร้างขึน้ กลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 3 โรงเรียนวัดสุทธิวราราม กรุงเทพ ฯ
จานวน 15 คน ทีไ่ ด้จากการอาสาสมัคร ผลการวิจยั พบว่า นักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 3 ทีเ่ รียนโดย
ใช้ชุดการเรียนการสอนทีเ่ น้นการคิดเชิงคณิตศาสตร์ดา้ นกระบวนการ การให้เหตุผลทีผ่ วู้ จิ ยั สร้างขึน้
มีผลการเรียนผ่านเกณฑ์ตงั ้ แต่รอ้ ยละ 50 ขึน้ ไปของคะแนนเต็ม เป็นจานวนมากกว่าร้อยละ 50 ของ
จานวนนักเรียนทัง้ หมด ทีร่ ะดับนัยสาคัญ .01
40

พิจติ ร อุตตะโปน (2550) ได้สร้างชุดการเรียนการสอนโดยใช้ปญั หาเป็นฐาน เรือ่ งการ


วิเคราะห์ขอ้ มูลเบือ้ งต้น ระดับชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 3 และศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนต่อการ
เรียนรูโ้ ดยใช้ปญั หาเป็ นฐาน ระดับชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 3 กลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษา
ปีท่ี 3 โรงเรียนสิรนิ ธร จานวน 16 คน ผลกาวิจยั พบว่า นักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 3 ทีเ่ รียนโดย
ใช้ชุดการเรียนการสอนโดยใช้ปญั หาเป็นฐาน เรือ่ งการวิเคราะห์ขอ้ มูลเบือ้ งต้น ทีผ่ วู้ จิ ยั สร้างขึน้
มีผลการเรียนรูผ้ ่านเกณฑ์ตงั ้ แต่รอ้ ยละ 60 ขึน้ ไปของคะแนนเต็ม เป็นจานวนมากกว่าร้อยละ 60
ของจานวนนักเรียนทัง้ หมด ทีร่ ะดับนัยสาคัญ .01 และนักเรียนมีความพึงพอใจต่อการเรียนรูโ้ ดย
ใช้ปญั หาเป็ นฐานในระดับมาก
เปียทิพย์ เขาไก่แก้ว (2551) ได้สร้างชุดการเรียนการสอนคณิตศาสตร์เรือ่ งทฤษฎีจานวน
เบือ้ งต้น ทีเ่ น้นการให้เหตุผล สาหรับนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 4 และศึกษาผลการเรียนรูข้ อง


นักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 4 หลังจากสอนโดยใช้ชุดการเรียนการสอนคณิตศาสตร์ เรือ่ งทฤษฎี

วโิ ร
จานวนเบือ้ งต้นทีเ่ น้นการให้เหตุผล รวมทัง้ ศึกษาเจตคติทม่ี ตี ่อเนื้อหาทฤษฎีจานวนเบือ้ งต้นและ
ทร
กิจกรรมการเรียนรูข้ องนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 4 กลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 4
นิ
คร
โรงเรียนปทุมคงคา กรุงเทพมหานคร จานวน 40 คน ผลการวิจยั พบว่า นักเรียนชัน้ มัธยมศึกษา
นี
ศร

it y
ers
ปีท่ี 4 หลังจากสอนโดยใช้ชุดการเรียนการสอนคณิตศาสตร์เรือ่ งทฤษฎี จานวนเบือ้ งต้น ทีเ่ น้นการ
ลยั
ยา

n iv
ให้เหตุผล มีความสามารถในการเรียนเรือ่ งทฤษฎีจานวนเบือ้ งต้น โดยใช้ชุดการเรียนการสอน
tU
วทิ
หา

ir o

คณิตศาสตร์ทผ่ี วู้ จิ ยั สร้างขึน้ และเจตคติของนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 4 ทีม่ ตี ่อเนื้อหา


งม

nw

ทฤษฎีจานวนเบือ้ งต้นและกิจกรรมการเรียนรู้ เรือ่ งทฤษฎีจานวนทีเ่ น้นการให้เหตุผลอยูใ่ นระดับ


ลา

ari
ดุ ก

a kh

เห็นด้วยมาก
สม

rin
หอ

yS

งานวิ จยั ต่างประเทศ


rar
นกั

L ib
สาํ

บูล (Bull. 1993: 2497-A) ได้วจิ ยั เพื่อสารวจผลกระทบเกีย่ วกับชุดการเรียนวิชา


al

คณิตศาสตร์ของนักเรียนระดับชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 2 โดยใช้การสอนแก้ปญั หา 4 ขัน้ ตอน แบ่งกลุ่ม


n tr
Ce

ทดลองเป็นครู 5 คน และนักเรียน 274 คน และกลุ่มควบคุมเป็นครู 4 คน นักเรียน 237 คน


กลุ่มทดลองจะสอนโดยใช้ชุดการเรียนการสอน Magic Math และสังเกตการณ์เรียนการสอนใน
ห้องเรียน ส่วนกลุ่มควบคุมสอนตามปกติ ผลการวิจยั พบว่า นักเรียนทีเ่ รียนโดยใช้ชุดการเรียน
การสอน Magic Math มีความสามารถในการเรียนมากกว่านักเรียนทีส่ อนตามปกติ
ฮัลเลย์ (Hulley. 1998: 2352-A) ได้สร้างชุดการเรียนการสอนแบบบูรณาการทาง
วิทยาศาสตร์และการเรียนการสอนทางสังคมศึกษาของนักเรียนเกรด 5 โดยบูรณาการวิชาสังคม
ศึกษากับวิชาวิทยาศาสตร์ ชุดการเรียนการสอนได้สร้างให้สอดคล้องกับหลักสูตรการศึกษาแห่ง
รัฐมิสซิสซิปปีและมาตรฐานการศึกษาวิทยาศาสตร์ 3 ข้อ คือ 1) วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
2) วิทยาศาสตร์กบั บุคคลและมุมมองทางสังคม และ 3) ประวัตแิ ละธรรมชาติของวิทยาศาสตร์
แบ่งเป็น 3 บทเรียน 45แผนการสอน ประโยชน์ทไ่ี ด้รบั จากการวิจยั คือ ทาให้ครูผสู้ อนสามารถ
41

สร้างชุดการเรียนการสอนแบบบูรณาการทางวิทยาศาสตร์และสังคมศึกษา และสามารถดาเนิน
การจัดทาหลักสูตรในโรงเรียนได้
เฮิรบ์ ส์ท (Herbst. 2004) ได้ศกึ ษาการสร้างหลักสูตรวิชาคณิตศาสตร์พน้ื ฐานทีเ่ หมาะสม
สาหรับนักเรียนทีม่ คี วามผิดปกติทางอารมณ์หรือพฤติกรรม จุดมุง่ หมายในการศึกษาครัง้ นี้ คือ
1) เพื่อศึกษาผลสัมฤทธิ ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์โดยใช้ชุดการเรียนทีเ่ หมาะสมสาหรับนักเรียน
ทีม่ คี วามผิดปกติทางอารมณ์และพฤติกรรม 2) เพื่อศึกษาเจตคติของนักเรียนทีม่ คี วามผิดปกติทาง
อารมณ์และพฤติกรรมทีม่ ตี ่อการเรียนแบบมีส่วนร่วม 3) เพื่อศึกษาเจตคติของครูทม่ี ตี ่อวิธกี ารแก้
สมการของนักเรียน ครูผเู้ ชีย่ วชาญพิเศษ 3 คน และครูทวไป ั ่ 9 คน จากโรงเรียนระดับประถมศึกษา
3 โรงเรียน และนักเรียนระดับประถมศึกษาปีท่ี 3 จานวน 10 คน ในจานวนนี้มนี กั เรียน 5 คน
เป็นนักเรียนทีม่ คี วามสามารถในการควบคุมอารมณ์ดว้ ยตนเองและมีวธิ ี การแก้สมการในระดับที่


เหมาะสม ชุดการเรียนทีน่ ามาใช้มวี ธิ กี ารสอนแบบทางตรง ซึง่ เปิดโอกาสให้นกั เรียนมีการโต้ตอบ

วโิ ร
อย่างต่อเนื่อง มีการเสริมแรง การวัดผล นักเรียนได้เรียนรูส้ าระและพฤติกรรมจากจอมอนิเตอร์ และ
ทร
ครูจะสังเกตการแสดงพฤติกรรมของนักเรียนผ่านทางจอมอนิเตอร์ ผลการศึกษาพบว่า 1) นักเรียน
นิ
คร
ทีม่ คี วามผิดปกติทางอารมณ์และพฤติกรรมทาแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ ์ทางการเรียนหลังเรียนสูง
นี
ศร

it y
ers
กว่านักเรียนปกติ 2) นักเรียนทีม่ คี วามผิดปกติทางอารมณ์และพฤติกรรมมีเจตคติทด่ี ตี ่อการเรียน
ลยั
ยา

n iv
การสอนแบบมีส่วนร่วม 3) ครูมเี จตคติทด่ี ตี ่อวิธกี ารแก้สมการของนักเรียน
tU
วทิ
หา

ir o

ไมเลส (Myles. 2006) ได้ศกึ ษาชุดการเรียนทีเ่ รียนโดยใช้ GSP เพื่อพัฒนา ความเข้าใจ


งม

nw

ความคิดรวบยอดเกีย่ วกับเรขาคณิตของยูคลิด ซึง่ เครือ่ งมือนี้จะช่วยในการพัฒนาความเข้าใจ


ลา

ari
ดุ ก

a kh

เกีย่ วกับความคิดรวบยอดของแนวคิดทีเ่ ป็นมูลฐาน เกีย่ วกับเรขาคณิตของยูคลิด การศึกษานี้ใช้การ


สม

rin

สารวจความคิดเห็นคณิตศาสตร์ ก่อนเรียนและหลังเรียน เพื่อวัดความเปลีย่ นแปลง ในความคิดของ


หอ

yS

นักเรียนทีเ่ กีย่ วกับคณิตศาสตร์ ซึง่ มีส่วนประกอบอยู่ 7 ส่วน คือ ความรูเ้ กีย่ วกับคณิตศาสตร์
rar
นกั

L ib
สาํ

โครงสร้างของความรูเ้ กีย่ วกับคณิตศาสตร์ สถานะของคณิตศาสตร์ การทาคณิตศาสตร์ แนวคิดที่


al

พิสจู น์ว่าใช้ได้ในคณิตศาสตร์ การเรียนคณิตศาสตร์ และความมีประโยชน์ของคณิตศาสตร์ ชุดการ


n tr
Ce

เรียนทีเ่ รียนโดย GSP สามารถปรับปรุงนักเรียนให้ได้รบั ความสาเร็จจากการวัดด้วยแบบทดสอบ


และทาให้นกั เรียนได้รบั ประสบการณ์โดยการให้ GSP ผูว้ จิ ยั ยังพบอีกว่าสิง่ ทีจ่ ะต้องคานึงถึงจากการ
สัมภาษณ์นกั เรียนถึงการเปลีย่ นแปลงการประเมินความคิดของนักเรียนเพิม่ เติม ก็คอื การวิเคราะห์
ความคิดของนักเรียนจะช่วยให้ความเข้าใจของครูในแนวคิดเกีย่ วกับคณิตศาสตร์ของนักเรียนดีขน้ึ
จากการศึกษางานวิจยั ทัง้ ในและต่างประเทศ สรุปได้ว่า ชุดการสอนหรือชุดกิจกรรมการ
เรียนการสอนช่วยให้ผเู้ รียนมีอสิ ระในการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง ช่วยให้ผเู้ รียนรูจ้ กั การแก้ปญั หา
ทางการเรียนและยังมีความสนุกสนานในการเรียนเพิม่ มากขึน้ และยังส่งผลให้ผเู้ รียนมีผลสัมฤทธิ ์
ทางการเรียนดีขน้ึ รวมทัง้ ยังทาให้ผเู้ รียนมีเจตคติทด่ี ตี ่อวิชาคณิตศาสตร์
42

3.6 แนวคิ ดเกี่ยวกับการสร้างชุดกิ จกรรมโดยใช้โปรแกรม C.a.R. และ


โปรแกรม Euler
แนวคิดเกีย่ วกับการสร้างชุดกิจกรรมการเรียนการสอนเรือ่ งกาหนดการเชิงเส้น โดยใช้
โปรแกรม C.a.R. และโปรแกรม Euler ผูว้ จิ ยั จัดการเรียนการสอนให้นกั เรียนได้ เรียนรูจ้ ากการสอน
ของครูควบคู่ไปกับการเรียนรูจ้ ากการปฏิบตั ดิ ว้ ยตนเอง โดยเน้นให้นกั เรียนได้ฝึกทักษะจากการ
ปฏิบตั กิ จิ กรรมทีผ่ วู้ จิ ยั สร้างขึน้ โดยอาศัยการสารวจ การสังเกตแนวคิดทีส่ าคัญของ กาหนดการ
เชิงเส้นจากโปรแกรม C.a.R. จึงทาให้นกั เรียนมีมโนภาพในการเรียนกาหนดการเชิงเส้นมากขึน้
รวมทัง้ ใช้โปรแกรม Euler ช่วยอานวยความสะดวกในการคิดคานวณ นักเรียนจึงสามารถฝึกทา
โจทย์ ฝึกทักษะการแก้ปญั หาได้อย่างอิสระ
ในการนาโปรแกรม C.a.R. และโปรแกรม Euler สร้างเป็นสื่อในการจัดกิจกรรม


การเรียนการสอนเรือ่ งกาหนดการเชิงเส้น สาหรับนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 3 ผูว้ จิ ยั ได้สร้าง

วโิ ร
กิจกรรมให้นกั เรียนเกิดทักษะ/ กระบวนการทางคณิตศาสตร์ 3 มาตรฐาน จาก 6 มาตรฐาน
ทร
ทีก่ าหนดในสาระที่ 6 ทักษะ/ กระบวนการทางคณิตศาสตร์ ของหลักสูตรการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน
นิ
คร
พุทธศักราช 2544 (กรมวิชาการ. 2544: 13) ดังนี้
นี
ศร

it y
1. มาตรฐานการแก้ปญั หา ers
ลยั
ยา

n iv
1.1 สร้างกิจกรรมโดยใช้โปรแกรม C.a.R. ทีแ่ สดงให้นกั เรียนเห็นแนวคิด
tU
วทิ
หา

ทีส่ าคัญของกาหนดการเชิงเส้น จนเกิดความเข้าใจสามารถนาความรูท้ ไ่ี ด้ไปแก้ปญั หาในการทา


ir o
งม

nw

แบบฝึกหัดโดยไม่ใช้โปรแกรม C.a.R.
ลา

ari
ดุ ก

a kh

1.2 ใบกิจกรรมจะมีการใช้โปรแกรม Euler เป็นเครือ่ งมือในการคานวณและ


สม

rin

การตรวจคาตอบ นักเรียนจึงสามารถทาแบบฝึกหัดได้มากขึน้ ส่งผลให้นกั เรียนเข้าใจถึงขัน้ ตอนและ


หอ

yS

กระบวนการในการแก้ปญั หา
rar
นกั

L ib
สาํ

2. มาตรฐานการสื่อสาร
al

สร้างกิจกรรมทีใ่ ห้นกั เรียนสารวจ สังเกตและตรวจสอบโดยใช้โปรแกรม


n tr
Ce

C.a.R. และโปรแกรม Euler เมือ่ นักเรียนได้ขอ้ มูลและสรุปเรียบร้อ ยแล้ว จึงนามาเขียนสรุป ผลได้


อย่างถูกต้อง
3. มาตรฐานการเชื่อมโยง
3.1 สร้างสถานการณ์ปญั หาทีน่ กั เรียนคุน้ เคยในชีวติ ประจาวัน เพื่อให้
นักเรียนสามารถประยุกต์ใช้ในการแก้ปญั หาในชีวติ จริงได้
3.2 สร้างกิจกรรมมีลกั ษณะการเรียงลาดับ จากเนื้อหาสมการ และอสมการ
ซึง่ เป็นความรูพ้ น้ื ฐานก่อนแล้วจึงเพิม่ เนื้อหากาหนดการเชิงเส้นตามลาดับ เพื่อให้นกั เรียนสามารถ
เชื่อมโยงความรูแ้ ละเห็นความสัมพันธ์ของเนื้อหา
43

4. เอกสารและงานวิ จยั ที่เกี่ยวข้องกับความพึงพอใจ


4.1 ความหมายของความพึงพอใจ
ได้มนี กั การศึกษาหลายท่านนิยามความหมายของพึงพอใจไว้ต่างๆ กันดังนี้
กาญจนา ภาสุรพันธ์ (2531: 5) กล่าวว่า ความพึงพอใจ หมายถึง ระดับความรูส้ กึ หรือ
ความนึกคิดทีม่ ตี ่อสิง่ ใดสิง่ หนึ่งทีไ่ ด้รบั ตามทีค่ าดหวังหรือมากกว่าทีค่ าดหวัง
ลิวรรณ์ คูภมู ใิ จสกุล (2532: 19) กล่าวว่า ความพึงพอใจ หมายถึง ความต้องการทีแ่ ท้จริง
เพื่อให้ได้ผลอย่างใดอย่างหนึ่งภายใต้สถานการณ์ทางาน หากบุคลากรได้ค่าตอบแทน เลื่อน
ตาแหน่ง ได้รบั การยกย่อง ย่อมก่อให้เกิดความพึงพอใจ แต่ถา้ หากได้รบั การตาหนิหรือการลงโทษ
แบบต่างๆ ย่อมก่อให้เกิดความไม่พอใจขึน้
ทรงสมร คชเลิศ (2543: 12) ได้สรุปเกีย่ วกับความพึงพอใจว่า เป็นเรือ่ งทีเ่ กีย่ วข้องกับ


อารมณ์ ความรูส้ กึ และทัศนคติของบุคคลอันเนื่องมาจากสิง่ เร้าและแรงจูงใจ ซึง่ ปรากฎออกมาทาง

วโิ ร
ทร
พฤติกรรมและเป็นองค์ประกอบทีส่ าคัญในการทากิจกรรมต่างๆ ของบุคคล
นิ
คร
วอลเลอร์สเตน (Wallerstein. 1971: 256) กล่าวว่า ความพึงพอใจ หมายถึง ความรูส้ กึ ที่
นี
ศร

เกิดขึน้ เมือ่ ได้รบั ผลสาเร็จตามความมุง่ หมาย และอธิบายว่าความพึงพอใจ เป็นการกระทาทาง

it y
ers
ลยั

จิตวิทยาไม่สามารถมองเห็นได้ชดั เจนแต่สามารถคาดคะเนได้ว่ามีหรือไม่มจี ากการสังเกตพฤติกรรม


ยา

n iv
เท่านัน้ การทีจ่ ะทาให้คนเกิดความพึงพอใจจะต้องอาศัยปจั จัยและองค์ประกอบทีเ่ ป็นสาเหตุแห่ง
tU
วทิ
หา

ir o

ความพึงพอใจ
งม

nw

กู๊ด (Good. 1973: 320) ได้ให้ความหมายของความพึงพอใจว่าหมายถึง คุณภาพหรือ


ลา

ari
ดุ ก

a kh

ระดับความพอใจซึง่ เป็นผลจากความสนใจต่างๆ และทัศนคติของบุคคลต่อกิจกรรม


สม

rin

มอรส์ (Morse. 1995: 27) กล่าวว่า ความพึงพอใจ หมายถึง ทุกสิง่ ทุกอย่างทีส่ ามารถ
หอ

yS
rar

ลดความเครียดของบุคคลให้น้อยลง ถ้ามีความเครียดมากจะทาให้เกิดความไม่พงึ พอใจในการทา


นกั

L ib
สาํ

กิจกรรม
al
n tr

จากความหมายของกาหนดการเชิงเส้นทีก่ ล่าวมา พอสรุปได้ว่า ความพึงพอใจเป็น


Ce

ลักษณะทางจิต เป็นอารมณ์ความรูส้ กึ หรือทัศนคติของบุคคลทีม่ ใี นเชิงบวก อันเนื่องมาจากสิง่ เร้า


และแรงจูงใจต่อกิจกรรมทีท่ า ซึง่ อารมณ์และความรูส้ กึ ตลอดจนทัศนคติดงั กล่าวมีแนวโน้มทีแ่ สดง
ออกมาในรูปของพฤติกรรม

4.2 ทฤษฎีที่เกี่ยวกับความพึงพอใจ
บลูม (Bloom. 1976: 72-74) มีความเห็นว่าถ้าสามารถจัดให้ผเู้ รียนได้ทาพฤติกรรมตาม
ทีต่ นเองต้องการก็น่าจะคาดหวังแน่นอนว่าผูเ้ รียนทุก คนได้เตรียมใจสาหรับกิจกรรมทีต่ นเองเลือก
นัน้ ด้วยความกระตือรือร้นพร้อมด้วยความมันใจ ่ เราสามารถเห็นความแตกต่างของความพร้อมด้าน
จิตใจได้ชดั เจนจากการปฏิบตั ขิ องนักเรียนต่องานทีเ่ ป็นวิชาบังคับกับวิชาเลือก หรือสิง่ นอกโรงเรียน
ทีผ่ เู้ รียนอยากเรียน เช่น การขับรถยนต์ การเล่นดนตรี เกม หรือสิง่ ทีผ่ เู้ รียนอาสาสมัครและสามารถ
44

ตัดสินใจได้โดยเสรีในการเรียน การมีความกระตือรือร้น ความพึงพอใจและมีความสนใจเมือ่ เริม่ เรียน


จะทาให้ผเู้ รียนเรียนได้เร็วและมีความสาเร็จสูง
ทฤษฎีความต้องการตามลาดับขัน้ ของมาสโลว์ (Maslow‘s Hierarchy of Needs) ซึง่ มาส
โลว์เห็นว่ามนุษย์ถูกกระตุน้ จากความปรารถนาทีจ่ ะได้ครอบครองความต้องการเฉพาะอย่าง โดยได้
ตัง้ สมมติฐานเกีย่ วกับความต้องการของบุคคล ดังนี้ (พรรณี ชูทยั เจนจิต. 2545: 262–273)
1. บุคคลย่อมมีความต้องการอยูเ่ สมอและไม่สน้ิ สุด ขณะทีค่ วามต้องการใดได้รบั
การตอบสนองแล้ว ความต้องการอย่างอื่นก็จะเกิดขึน้ อีกไม่มวี นั จบสิน้
2. ความต้องการทีไ่ ด้รบั การตอบสนองแล้วจะไม่เป็นสิง่ จูงใจของพฤติกรรมอื่นๆ
ต่อไป ความต้องการทีย่ งั ไม่ได้รบั การตอบสนองจึงเป็นสิง่ จูงใจกับพฤติกรรมของคนนัน้
3. ความต้องการของบุคคล จะเรียงเป็นลาดับขัน้ ตอนความสาคัญเมือ่ ความ


ต้องการระดับต่าได้รบั การตอบสนองแล้ว บุคคลก็จะให้ความสนใจกับความต้องการระดับสูงต่อไป

วโิ ร
ลาดับความต้องการของบุคคลมี 5 ลาดับขัน้ ดังนี้
ทร
3.1 ความต้องการทางร่างกาย (Physiological Needs) เป็นความต้องการ
นิ
คร
เบือ้ งต้นเพื่อความอยูร่ อดของชีวติ เช่น ความต้องการในเรือ่ งของอาหาร น้า อากาศ เครือ่ งนุ่งห่ม
นี
ศร

it y
ers
ยารักษาโรค ทีอ่ ยูอ่ าศัย ความต้องการทางเพศ ความต้องการทางด้านร่างกายจะมีอทิ ธิพลต่อ
ลยั
ยา

n iv
พฤติกรรมของตน ก็ต่อเมือ่ ความต้องการทัง้ หมดของคนยังไม่ได้รบั การตอบสนอง
tU
วทิ
หา

ir o

3.2 ความต้องการความปลอดภัยหรือความมันคง ่ (Social or Blogging


งม

nw

Needs) ถ้าหากความต้องการทางด้านร่างกายได้รบั การตอบสนองตามสมควรแล้วมนุษย์จะต้องการ


ลา

ari

จั จุบนั และอนาคต ซึง่


ดุ ก

a kh

ในขัน้ สูงขึน้ ต่อไป คือ เป็ นความรูส้ กึ ทีต่ อ้ งการความปลอดภัยหรือมันคงในป



สม

rin

รวมถึงความก้าวหน้าและความอบอุ่นใจ
หอ

yS

3.3 ความต้องการทางสังคม (Social or Belonging Needs) ภายหลังจากที่


rar
นกั

L ib
สาํ

คนได้รบั การตอบสนองในสองขัน้ ดังกล่าวก็จะมีความต้องการทีส่ งู ขึน้ คือ ความต้องการทางสังคม


al

เป็นความต้องการทีจ่ ะเข้าร่วมและได้รบั การยอมรับในสังคม ความเป็นมิตรและความรักจากเพื่อน


n tr
Ce

3.4 ความต้องการทีจ่ ะได้รบั การยกย่องนับถือ (Esteem Needs) เป็นความ


ต้องการให้คนอื่นยกย่อง ให้เกียรติ และเห็นความสาคัญของตน อยากเด่นในสังคม รวมถึง
ความสาเร็จ ความรูค้ วามสามารถ ความเป็นอิสระและเสรี
3.5 ความต้องการความสาเร็จในชีวติ (Self Actualization) เป็นความต้องการ
ระดับสูงสุดของมนุษย์ ทีอ่ ยากจะเป็น อยากจะให้ ตามความคิดของตน หรือต้องการจะเป็นมากกว่า
ทีต่ วั เองเป็นอยูใ่ นขณะนี้
สาระสาคัญของทฤษฎีความต้องการตามลาดับขัน้ ของมาสโลว์ สรุปได้ว่า ความ
ต้องการทัง้ 5 ขัน้ ของมนุษย์มคี วามสาคัญไม่เท่ากัน แต่ละบุคคลจะปฏิบตั ติ นให้สอดคล้องความ
ต้องการในแต่ละขัน้ ทีเ่ กิดขึน้ การจูงใจตามทฤษฎีน้จี ะต้องพยายามตอบสนองความต้องการของ
มนุษย์ทม่ี คี วามต้องการลาดับขัน้ ทีแ่ ตกต่างกันไป และความต้องการในแต่ละขัน้ จะมีความสาคัญ
45

สาหรับบุคคลมากน้อยเพียงใดนัน้ ขึน้ อยูก่ บั ความพึงพอใจทีไ่ ด้รบั จากการตอบสนองความต้องการใน


ลาดับขัน้ นัน้
ในการวิจยั นี้ครัง้ นี้ผวู้ จิ ยั มีจดุ มุง่ หมายเพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนทีม่ ตี ่อเนื้อหา
กาหนดการเชิงเส้น และการจัดกิจกรรมการเรียนรูโ้ ดยใช้โปรแกรม C.a.R. และโปรแกรม Euler
โดยการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนเรือ่ งกาหนดการเชิงเส้นในครัง้ นี้ผวู้ จิ ยั ได้สร้างเนื้อหากาหนด
การเชิงเส้นโดยวิธกี ราฟ ซึง่ ใช้สถานการณ์ปญั หาทีม่ แี บบจาลองกาหนดการเชิงเส้นเพียง 2 ตัวแปร
จึงทาให้โจทย์ปญั หาทีใ่ ช้ในการเรียนไม่มคี วามซับซ้อน รวมทัง้ ในการจัดกิจกรรม การเรียนการสอน
ใช้โปรแกรม C.a.R. ทาการสารวจ สังเกตและหาข้อสรุปเกีย่ วกับแนวคิดของกาหนดการเชิงเส้น
และโปรแกรม Euler เป็นเครือ่ งมือในการตรวจคาตอบ จึงทาให้นกั เรียนเกิดความกระตือรือร้น
ความสนใจและตัง้ ใจเรียน รวมทัง้ มีความมันใจในการเรี ่ ยนเพิม่ ขึน้ ส่งผลให้นกั เรียนเกิดแรงจูงใจใน


การเรียนเรือ่ งกาหนดการเชิงเส้น

วโิ ร
4.3 งานวิ จยั ที่เกี่ยวข้องกับความพึงพอใจ นิทร
คร
งานวิ จยั ในประเทศ
นี
ศร

it y
ers
วนิสา นิรมาณ (2545) ได้ศกึ ษาการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนโดยวิธกี าร
ลยั
ยา

n iv
ค้นพบเรือ่ ง ฟงั ก์ชนั ตรีโกณมิติ ชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 4 กลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 4
tU
วทิ
หา

ir o

ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2544 โรงเรียนอัสสัมชัญ จังหวัดกรุงเทพมหานคร ซึง่ เป็นนักเรียน


งม

nw

แผนการเรียนวิทยาศาสตร์-คณิตศาสตร์ และนักเรียนแผนการเรียนคณิตศาสตร์-ภาษาอังกฤษ
ลา

ari
ดุ ก

a kh

อย่างละ 1 ห้องเรียน ห้องเรียนละประมาณ 50 คน รวมจานวน 100 คน ผลการวิจยั พบว่า


สม

rin

1. บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนแบบมัลติมเี ดียโดยวิธกี ารค้นพบเรือ่ ง ฟงั ก์ชนั


หอ

yS

ตรีโกณมิติ มีประสิทธิภาพเท่ากับ 85.10/85.67 ซึง่ สูงกว่าเกณฑ์ทก่ี าหนด


rar
นกั

L ib
สาํ

2. ผลสัมฤทธิ ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ของนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 4


al

ภายหลังได้รบั การเรียนด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนแบบมัลติมเี ดียโดยวิธกี ารค้นพบเรือ่ ง


n tr
Ce

ฟงั ก์ชนั ตรีโกณมิติ ของนักเรียนแผนการเรียนวิทยาศาสตร์-คณิตศาสตร์สงู กว่าก่อนเรียน อย่างมี


นัยสาคัญทางสถิตทิ ร่ี ะดับ .01
3. ผลสัมฤทธิ ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ของนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 4
ภายหลังได้รบั การเรียนด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนแบบมัลติมเี ดียโดยวิธกี ารค้นพบเรือ่ ง
ฟงั ก์ชนั ตรีโกณมิติ ของนักเรียนแผนการเรียนคณิตศาสตร์-ภาษาอังกฤษสูงกว่าก่อนเรียน อย่างมี
นัยสาคัญทางสถิตทิ ร่ี ะดับ .01
4. ความพึงพอใจของนักเรียนแผนการเรียนวิทยาศาสตร์ -คณิตศาสตร์ต่อบทเรียน
คอมพิวเตอร์ช่วยสอนแบบมัลติมเี ดียโดยวิธกี ารค้นพบเรือ่ ง ฟงั ก์ชนั ตรีโกณมิติ อยูใ่ นระดับมาก
5. ความพึงพอใจของนักเรียนแผนการเรียนคณิตศาสตร์-ภาษาอังกฤษต่อบทเรียน
คอมพิวเตอร์ช่วยสอนแบบมัลติมเี ดียโดยวิธกี รค้นพบเรือ่ ง ฟงั ก์ชนั ตรีโกณมิติ อยูใ่ นระดับมาก
46

พัลลภ คงนุรตั น์ (2547) ได้ศกึ ษาผลสัมฤทธิ ์ทางการเรียนและความพึงพอใจในวิชา


คณิตศาสตร์ของนักเรียนชัน้ ประถมศึกษาปีท่ี 4 ทีส่ อนโดยบทเรียนคอมพิวเตอร์มลั ติมเี ดีย เรือ่ ง
โจทย์ปญั หาการบวกลบ ผลการวิจยั พบว่า นักเรียนทีเ่ รียนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์มลั ติมเี ดีย
มีผลสัมฤทธิ ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์สงู กว่านักเรียนทีเ่ รียนตามคู่มอื ครูอย่างมีนยั สาคัญทาง
สถิตทิ ร่ี ะดับ .01 และนักเรียนทีเ่ รียนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์มลั ติมเี ดียมีความพึงพอใจในการ
เรียนวิชาคณิตศาสตร์สงู กว่านักเรียนทีเ่ รียนตามคู่มอื ครูอย่างมีนยั สาคัญทางสถิตทิ ร่ี ะดับ .05
ปกเกศ ชนะโยธา (2551) ได้พฒ ั นาบทเรียนคอมพิวเตอร์มลั ติมเี ดียบนเครือข่าย
อินเทอร์เน็ตทีส่ ร้างขึน้ ตามทฤษฎีคอนสตรัคติวสิ ต์ วิชาคณิตศาสตร์ ให้มปี ระสิทธิภาพตามเกณฑ์
85/85 2) เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ ของนักเรียนช่วงชัน้ ที่ 2
(ชัน้ ประถมศึกษาปีท่ี 4) จากการเรียนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์มลั ติมเี ดียบนเครือข่าย


อินเทอร์เน็ตทีส่ ร้างขึน้ ตามทฤษฎีคอนสตรัคติวสิ ต์กบั นักเรียนทีเ่ รียนด้วยแผนการจัดการเรียนรู้

วโิ ร
ของครู 3) เปรียบเทียบทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ ของนักเรียนทีเ่ รียนโดยบทเรียน
ทร
คอมพิวเตอร์มลั ติมเี ดียบนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ทีส่ ร้างขึน้ ตามทฤษฎีคอนสตรัคติวสิ ต์กบั นักเรียนที่
นิ
คร
เรียนจากการเรียนตามแผนการจัดการเรียนรูข้ องครู และ4) ศึกษาความพึงพอใจในการเรียนของ
นี
ศร

it y
ers
นักเรียนทีม่ ตี ่อบทเรียนคอมพิวเตอร์มลั ติมเี ดียบนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต วิชาคณิตศาสตร์ ทีส่ ร้างขึน้
ลยั
ยา

n iv
ตามทฤษฎีคอนสตรัคติวสิ ต์ กลุ่มตัวอย่างทีใ่ ช้ในการพัฒนาและหาประสิทธิภาพบทเรียนเป็น
tU
วทิ
หา

ir o

นักเรียนช่วงชัน้ ที่ 2 (ชัน้ ประถมศึกษาปีท่ี 4) จานวน 48 คน โรงเรียนสาธิต มหาวิทยาลัยขอนแก่น


งม

nw

(มอดินแดง) จังหวัดขอนแก่น ได้จากการสุ่มแบบหลายขัน้ ตอน และกลุ่มตัวอย่างทีใ่ ช้ในการศึกษา


ลา

ari
ดุ ก

a kh

เปรียบเทียบเป็นนักเรียนช่วงชัน้ ที่ 2 (ชัน้ ประถมศึกษาปีท่ี 4) จากโรงเรียนสาธิต


สม

rin

มหาวิทยาลัยขอนแก่น (ศึกษาศาสตร์) จังหวัดขอนแก่น ได้จากการสุ่มแบบหลายขัน้ ตอน จานวน 2


หอ

yS

ห้องเรียน 80 คน แบ่งเป็นกลุ่มทดลอง 40 คน และกลุ่มควบคุม 40 คน ในการดาเนินการวิจยั ผูว้ จิ ยั


rar
นกั

L ib
สาํ

ให้กลุ่มทดลองเรียนจากบทเรียนคอมพิวเตอร์มลั ติมเี ดียบนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ทีส่ ร้างขึน้ ตาม


al

ทฤษฎีคอนสตรัคติวสิ ต์ทผ่ี วู้ จิ ยั พัฒนาขึน้ กลุ่มควบคุมเรียนตามแผนการจัดการเรียนรูข้ องครู


n tr
Ce

ผลการวิจยั พบว่า
1) บทเรียนคอมพิวเตอร์มลั ติมเี ดียบนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ทีส่ ร้างขึน้ ตามทฤษฎี
คอนสตรัคติวสิ ต์ วิชาคณิตศาสตร์ ทีผ่ ่านการตรวจสอบจากผูเ้ ชีย่ วชาญด้านเนื้อหาและด้า น
เทคโนโลยีการ ศึกษามีคุณภาพอยูใ่ นระดับดีมาก และมีประสิทธิภาพ 87.42/86.78 เป็นไปตาม
เกณฑ์ 85/85
2) ผลสัมฤทธิ ์ทางการเรียนของนักเรียนทีเ่ รียนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์
มัลติมเี ดียบนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ทีส่ ร้างขึน้ ตามทฤษฎีคอนสตรัคติวสิ ต์สงู กว่านักเรียนทีเ่ รียนตาม
แผนการจัดการเรียนรูข้ องครู อย่างมีนยั สาคัญทางสถิตทิ ร่ี ะดับ .05
47

3) ผลของทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ (ทักษะการแก้ปญั หา) ของนักเรียน


ทีเ่ รียนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์มลั ติมเี ดียบนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ทีส่ ร้างขึน้ ตามทฤษฎีคอน
สตรัคติวสิ ต์ สูงกว่านักเรียนทีเ่ รียนตามแผนการจัดการเรียนรูข้ องครู อย่างมีนยั สาคัญทางสถิตทิ ่ี
ระดับ .01
4) นักเรียนมีความพึงพอใจในการเรียนจากบทเรียนคอมพิวเตอร์มลั ติมเี ดียบน
เครือข่ายอินเทอร์เน็ต ทีส่ ร้างขึน้ ตามทฤษฎี คอนสตรัคติวสิ ต์ อยูใ่ นระดับมากทีส่ ุด
พัชรีวรรณ คุณชื่น (2552) ได้ศกึ ษาผลสัมฤทธิ ์ทางการเรียน เรือ่ งค่าของเงินและการ
ใช้จา่ ย และความพึงพอใจต่อการเรียนของนักเรียนช่วงชัน้ ที่ 2 ทีม่ คี วามบกพร่องทางสติปญั ญา
ระดับเล็กน้อย จากการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์มลั ติมเี ลีย กลุ่มตัวอย่างทีใ่ ช้ในการศึกษา
เป็ นนักเรียนทีม่ คี วามบกพร่องทางสติปญั ญาระดับเล็กน้อยมีระดับสติปญั ญาระหว่าง 50-70 และ


ไม่มคี วามพิการซ้าซ้อน กาลังเรียนอยูใ่ นระดับช่วงชัน้ ที่ 2 (ชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 4-6) ภาคเรียนที่ 2

วโิ ร
ปีการศึกษา 2551 จากโรงเรียนบางบัว กรุงเทพมหานคร ผลการวิจยั พบว่า
ทร
1. ผลสัมฤทธิ ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์ เรือ่ งค่าของเงินและการใช้ของนักเรียนช่วง
นิ
คร
ชัน้ ที่ 2 ทีม่ คี วามบกพร่องทางสติปญั ญาระดับเล็กน้อย หลังจากใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์มลั ติมเี ลีย
นี
ศร

it y
อยูใ่ นระดับดี ers
ลยั
ยา

n iv
2. ผลสัมฤทธิ ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์ เรือ่ งค่าของเงินและการใช้ของนักเรียน
tU
วทิ
หา

ช่วงชัน้ ที่ 2 ทีม่ คี วามบกพร่องทางสติปญั ญาระดับเล็กน้อย หลังการสอนการใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์


ir o
งม

nw

มัลติมเี ลียสูงขึน้ อย่างมีนยั สาคัญทางสถิตทิ ร่ี ะดับ .05


ลา

ari
ดุ ก

a kh

3. ความพึงพอใจต่อการเรียนของนักเรียนช่วงชัน้ ที่ 2 ทีม่ คี วามบกพร่องทาง


สม

rin

สติปญั ญาระดับเล็กน้อย หลังการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์มลั ติมเี ลียอยูใ่ นระดับมาก


หอ

yS
rar
นกั

L ib

งานวิ จยั ต่างประเทศ


สาํ

al

ไลดิก (Leidig. 1992: 1372) ได้ศกึ ษาถึงความสัมพันธ์ระหว่างรูปแบบของการเรียน


n tr
Ce

(Cognitive style) ภาพผังแนวคิดทีม่ อี ยูใ่ นใจ (Mental maps) ในการใช้ไฮเปอร์เทกซ์เพื่อการเรียน


การสอน โดยได้ศกึ ษาถึงผลสัมฤทธิ ์และความพึงพอใจของผูเ้ รียนทีเ่ กิดจากการเรียนใช้บทเรีย นแบบ
ไฮเปอร์เทกซ์เพื่อการเรียนการสอน ผลการวิจยั พบว่า
1. รูปแบบการเรียนรูไ้ ม่ก่อให้เกิดความแตกต่างอย่างมีนยั สาคัญทางสถิติ ทีส่ ่งต่อ
ผลสัมฤทธิ ์ทางการเรียนและทัศนคติ
2. วิธกี ารนาเสนอทาให้ผลสัมฤทธิ ์ทางการเรียน และระดับความพึงพอใจของผูเ้ รียน
แตกต่างกันอย่างนัยสาคัญทางสถิติ
3. ความสามารถในการมองภาพและตีความหมายจากภาพ มีผลทาให้เกิดความ
แตกต่างอย่างมีนยั สาคัญทางสถิติ เกีย่ วกับความพึงพอใจในบทเรียนและปญั หาในการเข้าสู่เนื้อหา
ในไฮเปอร์เทกซ์
48

4. มีปฏิสมั พันธ์ระหว่างรูปแบบในการเรียนและวิธกี ารในการนาเสนอ ในส่วนที่


เกีย่ วกับทัศนคติของผูเ้ รียน แต่ไม่มปี ฏิสมั พันธ์ในส่วนของผลสัมฤทธิ ์ทางการเรียน
โควิงตัน (Covington. 1998: 1990-A) ได้ศกึ ษาองค์ประกอบทีม่ อี ทิ ธิพลต่อความพึงพอใจ
ในการทางานของผูท้ ส่ี าเร็จชัน้ มัธยมศึกษาตอนปลาย ผลการวิจยั พบว่า องค์ประกอบสาคัญทีม่ ผี ล
ต่อความพึงพอใจในการทางาน ได้แก่ รายได้จากการทางาน การได้รบั ประสบการณ์ และความรู้
ขณะอยูใ่ นโรงเรียน การได้มโี อกาสฝึกงานและได้ทางานเต็มเวลาไม่พบความแตกต่างระหว่างผูร้ ว่ ม
โครงการเข้าสู่อาชีพกับผูร้ ว่ มโครงการ
จากการศึกษางานวิจยั ทัง้ ในประเทศและต่างประเทศทีเ่ กีย่ วข้องกับความพึงพอใจ จะเห็นว่า
นักเรียนมีความพึงพอใจในการเรียนโดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ มากกว่าการเรียนแบบปกติ
ด้วยเหตุน้ที าให้ผวู้ จิ ยั สนใจทีจ่ ะสร้างชุดกิจกรรมการเรียนการสอนเรือ่ งกาหนดการเชิงเส้นโดยใช้


โปรแกรม C.a.R. และโปรแกรม Euler สาหรับนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 3 และศึกษาศึกษาความ

วโิ ร
พึงพอใจของนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 3 ทีม่ ตี ่อเนื้อหากาหนดการเชิงเส้น และการจัดกิจกรรมการ
เรียนรูโ้ ดยใช้โปรแกรม C.a.R. และโปรแกรม Euler นิทร
นีคร
ศร

it y
ers
ลยั

5. งานวิ จยั ที่เกี่ยวข้องกับการนาเนื้ อหาคณิ ตศาสตร์ในระดับที่สงู กว่ามาสอนใน


ยา

n iv
tU

ระดับที่ตา่ กว่า
วทิ
หา

ir o
งม

nw

งานวิ จยั ในประเทศ


ลา

ari

งานวิจยั ทีศ่ กึ ษาเกีย่ วกับความสามารถในการเรียนคณิตศาสตร์ทน่ี าเนื้อหาในระดับชัน้


ดุ ก

a kh
สม

rin

ทีส่ งู กว่าเมือ่ ได้รบั การปรับปรุงเนื้อหาให้เหมาะสมกับวัยมาสอนในระดับชัน้ ทีต่ ่ากว่าของนักเรียน


หอ

yS

ได้แก่
rar
นกั

นิตติยา ปภาพจน์ (2540) ได้พฒ ั นาหลักสูตรทฤษฎีจานวนเสริมสาหรับเด็ก ทีม่ ี


L ib
สาํ

al

ความสามารถพิเศษทางคณิตศาสตร์ในระดับมัธยมศึกษาตอนต้น โดยได้พฒ ั นาหลักสูตรให้ม ี


n tr

ความเหมาะสมกับความสามารถทีแ่ ท้จริงของผูเ้ รียน โดยการเลือกสรรเนื้อหา วิธกี าร จัดกิจกรรม


Ce

และประสบการณ์เรียนรู้ เวลา การวัดผลประเมินผลบนพืน้ ฐานของความต้อ งการ ความสนใจ


ลักษณะนิสยั และศักยภาพของผูเ้ รียน ผลการทดลองใช้ปรากฏว่าผูเ้ รียนมีการเปลีย่ นแปลง
พฤติกรรมในทางทีด่ ขี น้ึ โดยมีความรู้ ความสามารถเพิม่ ขึน้ โดยเฉลีย่ 70% และมีทศั นคติต่อวิชา
ทฤษฎีจานวนดีขน้ึ ซึง่ ในปจั จุบนั ทฤษฎีจานวนเป็นสาระการเรียนรูห้ นึ่งที่ถูกบรรจุลงในหลักสูตร
สาระการเรียนรูค้ ณิตศาสตร์ พุทธศักราช 2544 ในรายวิชาคณิตศาสตร์เพิม่ เติม ช่วงชัน้ ที่ 4
พิชากร แปลงประสพโชค (2540) ได้พฒ ั นาหลักสูตรพิเศษทางเรขาคณิตเสริมสาหรับ
นักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาตอนต้นทีม่ คี วามสามารถพิเศษ เพื่อศึกษาว่านัก เรียนทีม่ คี วามสามารถ
พิเศษดังกล่าวสามารถเรียนรูเ้ นื้อหาเรขาคณิตในหลักสูตรได้ภายใน 70 ชัวโมงหรื ่ อไม่ จากการ
49

ทดลองพบว่า นักเรียนทุกคนสามารถเรียนได้ครบหลักสูตรและสอบผ่านข้อสอบอิงเกณฑ์ทุก ฉบับ


ภายใน 70 ชัวโมง ่ ได้คะแนนเพิม่ จากการสอบก่อนเรียนอย่างมีนยั สาคัญทางสถิติ ทร่ี ะดับ .01
ธานินทร์ สิทธิวริ ชั ธรรม (2542) ได้ทาการวิจยั เพื่อศึกษาผลสัมฤทธิ ์ในการเรียน เรือ่ ง
ทฤษฎีกราฟเบือ้ งต้น ของนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 3 ผลการวิจยั พบว่า นักเรียนชัน้ มัธยมศึกษา
ปีท่ี 3 มีความสามารถเพียงพอในการเรียนเรือ่ งทฤษฎี กราฟเบือ้ งต้นได้ ซึง่ ในปจั จุบนั ทฤษฎีกราฟ
เบือ้ งต้น เป็นสาระการเรียนรูห้ นึ่งทีถ่ ูกบรรจุลงใน หลักสูตรสาระการเรียนรูค้ ณิตศาสตร์ พุทธศักราช
2544 ในรายวิชาคณิตศาสตร์เพิม่ เติม ช่วงชัน้ ที่ 4
ยุพร ริมชลการ (2543) ได้พฒ ั นาหลักสูตรพีชคณิตสาหรับนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาตอนต้น
ทีม่ คี วามสามารถพิเศษทางคณิตศาสตร์ โดยได้ทดลองใช้หลักสูตรปรากฏว่าคะแนนทีไ่ ด้จาก
การทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียนของนักเรียนแตกต่างกันอย่างมีนยั สาคัญทางสถิตทิ ร่ี ะดับ .01


ซึง่ พบว่าคะแนนหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนและคะแนนเฉลีย่ หลังเรียนสูงกว่าคะแนนจุดตัด

วโิ ร
สุธรรม กิตติพุฒพิ งศ์ (2544) ได้ทาการศึกษาความสามารถในการเรียนวิชาคณิตศาสตร์
ทร
เรือ่ งตรรกศาสตร์เบือ้ งต้นของนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 2 และนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 3
นิ
คร
ถ้านักเรียนในกลุ่มตัวอย่างทีใ่ ช้ในการทดลองทาคะแนนได้ตงั ้ แต่ 50% ขึน้ ไปและมีจานวนนักเรียน
นี
ศร

it y
ers
ไม่น้อยกว่าครึง่ หนึ่งของกลุ่มตัวอย่าง ให้ถอื ว่านักเรียนกลุ่มตัวอย่างนี้มคี วามสามารถในการเรียน
ลยั
ยา

n iv
เรือ่ งตรรกศาสตร์เบือ้ งต้น ผลการวิจยั พบว่า นักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 2 ไม่มคี วามสามารถ
tU
วทิ
หา

ir o

เพียงพอในการเรียนวิชาคณิตศาสตร์เรือ่ งตรรกศาสตร์เบื้องต้น ส่วนนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 3


งม

nw

มีความสามารถเพียงพอในการเรียนวิชาคณิตศาสตร์เรือ่ งตรรกศาสตร์เบือ้ งต้น และนักเรียนชัน้


ลา

ari
ดุ ก

a kh

มัธยมศึกษาปีท่ี 2 และชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 3 มีความสามารถในการเรียนวิชาคณิตศาสตร์เรือ่ ง


สม

rin

ตรรกศาสตร์เบือ้ งต้นไม่แตกต่างกันอย่างมีนยั สาคัญทางสถิตทิ ร่ี ะดับ 0.05


หอ

yS

ถนอม ชานาญพันธ์ (2546) ได้ทาการวิจยั เพื่อศึกษาผลสัมฤทธิ ์ทางการเรียนเรือ่ งทฤษฎี


rar
นกั

L ib
สาํ

สมการพหุนามเบือ้ งต้น ของนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 3 ผลการวิจยั พบว่านักเรียนชัน้ มัธยมศึกษา


al

ปีท่ี 3 มีความสามารถในการเรียนเรือ่ งทฤษฎีสมการพหุนามเบือ้ งต้น


n tr
Ce

ญานิศา ธิกุลวงษ์ (2546) ได้ศกึ ษาผลสัมฤทธิ ์ทางการเรียนของนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษา


ปีท่ี 6 ในการเรียนเรือ่ งความสัมพันธ์เวียนเกิด ผลการวิจยั พบว่านักเรียนมีความสามารถเพียงพอ
ในการเรียนเรือ่ งความสัมพันธ์เวียนเกิดตามแบบเรียนทีผ่ วู้ จิ ยั สร้างขึน้
จรีรตั น์ สุวรรณ์ (2546) ได้พฒ ั นาโปรแกรมคอมบินาทอริกเบือ้ งต้นสาหรับนักเรียนระดับ
มัธยมศึกษาตอนต้นทีม่ คี วามสามารถพิเศษทางคณิตศาสตร์ และได้ทดลองใช้ผลปรากฏว่า การใช้
ยุทธวิธกี ารแก้ปญั หา ความรูพ้ น้ื ฐานทางคณิตศาสตร์ทน่ี ามาใช้ ความคิดยืดหยุน่ ความคิดริเริม่
และการสื่อความคิดในการแก้ปญั หามีการเปลีย่ นแปลงในทางทีด่ ขี น้ึ นักเรียนสามารถเลือกยุทธวิธ ี
การแก้ปญั หาได้เหมาะสมและมีประสิทธิภาพ มโนมติทางคณิตศาสตร์ทน่ี กั เรียนนามาใช้มคี วาม
ถูกต้อง สอดคล้องกับปญั หา และสามารถเชื่อมโยงความรูพ้ น้ื ฐานได้เป็นอย่างดี นักเรียนสามารถ
แสดงแนวคิดได้มากกว่าหนึ่งแนวคิด นอกจากนี้ยงั สามารถอธิบายเหตุผลประกอบแนวคิดได้
50

กฤติกา ชิดชู (2550) ได้ทาการพัฒนาหลักสูตรทฤษฎีจานวนเบือ้ งต้นและคอมบินาทอริก


เบือ้ งต้นสาหรับนักเรียนชัน้ ประถมศึกษาปีท่ี 6 และได้ทดลองใช้หลักสูตรพบว่า หลักสูตรทฤษฎี
จานวนเบือ้ งต้นและคอมบินาทอริกเบือ้ งต้นสาหรับนักเรียนชัน้ ประถมศึกษาปีท่ี 6 ทีส่ ร้างขึน้ ทาให้
นักเรียนมีความสามารถด้านเนื้อหา ความสามารถในการแก้ปญั หาอย่างสร้างสรรค์ และมีพฤติกรรม
การคิดแก้ปญั หาอย่างสร้างสรรค์ในระดับดีท ัง้ ในด้านความคิดยืดหยุน่ ความคิดริเริม่ และความคิด
ละเอียดลออ
จิณดิษฐ์ ละออปกั ษิณ (2550) ได้ทาการพัฒนาหลักสูตรเรขาคณิตวิยตุ สาหรับนักเรียน
ระดับมัธยมศึกษาตอนปลายทีม่ ผี ลสัมฤทธิ ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์สงู และศึกษาเจตคติของ
นักเรียนต่อวิชาคณิตศาสตร์ภายหลังสิน้ การใช้หลักสูตรเรขาคณิตวิยตุ สาหรับนักเรียนระดับ
มัธยมศึกษาตอนปลายทีม่ ผี ลสัมฤทธิ ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์สงู ผลการวิจยั พบว่า หลักสูตร


เรขาคณิตวิยตุ มีประสิทธิภาพตามความคิดเห็นของผูเ้ ชีย่ วชาญ นักเรียนทีเ่ รียนหลักสูตรเรขาคณิต

วโิ ร
วิยตุ มีความสามารถด้านเนื้อหา มีความสามารถในการให้เหตุผลทางคณิตศาสตร์ และมีพฤติกรรม
ทร
การให้เหตุผลทางคณิตศาสตร์อยูใ่ นเกณฑ์ดี และมีเจตคติต่อวิชาคณิตศาสตร์อยูใ่ นเกณฑ์ดี
นิ
คร
นี
ศร

it y
งานวิ จยั ต่างประเทศ ers
ลยั
ยา

n iv
กัปรัด (Gubrud. 1971: 6468-A) ได้ทาการวิจยั เพื่อศึกษา ความสามารถในการเรียน
tU
วทิ
หา

ir o

เรือ่ ง การเวกเตอร์ของนักเรียนระดับชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 2 – ระดับชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 4


งม

nw

ผลการวิจยั สรุปว่า
ลา

ari
ดุ ก

a kh

1. นักเรียนระดับชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 3 ทีม่ คี วามสามารถทางคณิตศาสตร์ต่าและ


สม

rin

นักเรียนระดับชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 2 ทัง้ หมด มีความสามารถในการเรียนเรือ่ งการบวกเวกเตอร์


หอ

yS

เบือ้ งต้น
rar
นกั

L ib
สาํ

2. ความรูพ้ น้ื ฐานของนักเรียนระดับชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 2 – ระดับชัน้ มัธยมศึกษา


al

ปีท่ี 4 ช่วยให้การเรียนเรือ่ งการบวกเวกเตอร์งา่ ยขึน้


n tr
Ce

3. การให้นกั เรียนได้เรียนโดยอาศัยภาพประกอบช่วยให้การเรียนเรือ่ งการบวก


เวกเตอร์งา่ ยขึน้
4. นักเรียนในระดับชัน้ ที่สงู กว่าสามารถเรียนเรือ่ งการบวกเวกเตอร์ได้ดกี ว่านักเรียน
ในระดับชัน้ ทีต่ ่ากว่า
5. นักเรียนระดับชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 3 ทีม่ คี วามสามารถทางคณิตศาสตร์สงู และ
นักเรียนระดับชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 4 ทัง้ หมด มีความสามารถในการรวบรวมเนื้อหาเกีย่ วกั บการบวก
เวกเตอร์ได้ชดั เจนกว่านักเรียนระดับชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 3 และนักเรียนระดับชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 4
ทีม่ คี วามสามารถทางคณิตศาสตร์ต่า
51

โฮบาน (Hoban. 1971: 5482-B) ได้ทดลองสอนวิชาเรขาคณิตการแปลงนักเรียนชัน้


มัธยมศึกษาปีท่ี 1 ของโรงเรียนเทศบาลในมหานครนิวยอร์ก เรือ่ งทีท่ ดลองสอนได้แก่ การสะท้อน
การเลื่อน การหมุน ผลการทดลองสรุปได้ว่า นักเรียนในระดับชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 1 สามารถเรียนรู้
วิชาเรขาคณิตการแปลงได้เป็นอย่างดีและบทเรียนทีใ่ ช้ทดลองสอนในครัง้ นี้มคี ุณภาพสูง
กัลลิค (Gullick. 1971: 4035-A) ได้ทาการวิจยั เพื่อศึกษาความสามารถในการเรียนวิชา
เรขาคณิตวิเคราะห์ของนักเรียนระดับชัน้ ประถมศึกษาปีท่ี 5 นักเรียนระดับชัน้ ประถมศึกษาปีท่ี 6
นักเรียนระดับชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 3 และนักเรียนระดับชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 4 ผลการศึกษาพบว่า
1. นักเรียนระดับชัน้ ประถมศึกษาปีท่ี 5 นักเรียนระดับชัน้ ประถมศึกษาปี ท่ี 6 มี
ความสามารถในการเรียนวิชาเรขาคณิตวิเคราะห์ไม่แตกต่างกัน
2. นักเรียนระดับชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 3 และนักเรียนระดับชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 4


มีความสามารถเพียงพอในการเรียนวิชาเรขาคณิตวิเคราะห์ แต่พบว่านักเรียนระดับชัน้ มัธยม

วโิ ร
ศึกษาปีท่ี 3 มีผลสัมฤทธิ ์ทางการเรียนสูงกว่า นักเรียนระดับชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 4
ทร
3. นักเรียนระดับชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 3 และนักเรียนระดับชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 4 มี
นิ
คร
ความสามารถในการเรียนวิชาเรขาคณิตวิเคราะห์มากกว่านักเรียนระดับชัน้ ประถมศึกษาปีท่ี 5 และ
นี
ศร

it y
ers
นักเรียนระดับชัน้ ประถมศึกษาปีท่ี 6 สรุปได้ว่าควรสอนวิชาเรขาคณิตวิเคราะห์กบั นักเรียนระดับชัน้
ลยั
ยา

n iv
มัธยมศึกษาปีท่ี 3
tU
วทิ
หา

ir o

เอ็ดวาร์ด และ เชลส์ท (Edwards; & Chelst. 2004: Online) ได้ทาการศึกษาโครงการ


งม

nw

High School Operations Research Outreach: HSOR ซึง่ เป็นการสอดแทรกวิชาวิจยั ดาเนินงาน


ลา

ari
ดุ ก

a kh

ในการเรียนการสอนคณิตศาสตร์ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย โครงการนี้นบั ว่าเป็นการกระตุน้


สม

rin

และสร้างแรงจูงใจให้นกั วิจยั ดาเนินงานรุน่ ต่อ ๆ ไปและเป็นการสร้างความรูพ้ น้ื ฐานเกีย่ วกับวิจยั


หอ

yS

ดาเนินงาน แก่ผเู้ รียนและเพื่อนาความรูเ้ กีย่ วกับวิจยั ดาเนินงานไปสอนในระดับมัธยมศึกษา


rar
นกั

L ib
สาํ

ตอนปลาย ควบคู่กบั การแนะนาสร้างความรูค้ วามเข้าใจในวิจยั ดาเนินงานให้มากขึน้ โดยเป็น


al

การนาเอาสถานการณ์ปญั หาเกีย่ วกับชีวติ จริงเข้าไปสอนในวิชาคณิตศาสตร์ระดับมัธยมศึกษา


n tr
Ce

ตอนปลาย และ HSOR ได้มกี ารทดลองและพยายามทีจ่ ะพัฒนา ชุดการเรียนการสอน เกีย่ วกับ


การวิจยั ดาเนินงาน โดยการสร้างทีมผูเ้ ชีย่ วชาญด้านวิจยั ดาเนินงานทีเ่ ป็นอาสาสมัครและมีความ
สามารถทีจ่ ะนาเสนอชุดการเรียนการสอนแก่ครูคณิตศาสตร์ระดับมัธยมศึกษาตอนปลายด้วย
จากการศึกษางานวิจยั ทีน่ าความรูร้ ะดับสูงมาสอนในระดับต่ากว่าพบว่ามีนกั การศึกษา
ทัง้ ในและต่างประเทศทีไ่ ด้ให้ความสนใจในการนาความรูใ้ นระดับสูงมาใช้สอนในระดับ ทีต่ ่ากว่า
โดยมีการปรับปรุงเนื้อหาให้เหมาะสมกับวัยและความสามารถของนักเรียน ซึง่ ผลการวิจยั ดังกล่าว
ข้างต้นได้เป็นข้อมูลพืน้ ฐานสาหรับการเรียนการสอนคณิตศาสตร์และหลักสูตรสาระการเรียนรู้
คณิตศาสตร์ ซึง่ ข้อมูลทีไ่ ด้ถอื ว่าเป็นส่วนหนึ่งในการปรับปรุงและพัฒนาหลักสูตรสาระการเรียนรู้
คณิตศาสตร์
52

บทที่ 3
วิธีดาเนินการวิจยั

ในการวิจยั ครัง้ นี้ ผูว้ จิ ยั ได้ดาเนินการตามขัน้ ตอนดังนี้


1. การกาหนดประชากรและการเลือกกลุ่มตัวอย่าง
2. การสร้างเครือ่ งมือทีใ่ ช้ในการวิจยั
3. การเก็บรวบรวมข้อมูล
4. การจัดกระทาข้อมูลและการวิเคราะห์ขอ้ มูล


การกาหนดประชากรและการเลือกกลุ่มตัวอย่าง

วโิ ร
ประชากร
ทร
ประชากรทีใ่ ช้ในการวิจยั ครัง้ นี้ เป็นนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 3 โรงเรียนบ้านนาสาร
นิ
คร
อาเภอบ้านนาสาร จังหวัดสุราษฏร์ธานี
นี
ศร

it y
ers
ลยั

การเลือกกลุ่มตัวอย่าง
ยา

n iv
กลุ่มตัวอย่างทีใ่ ช้ในการวิจยั ครัง้ นี้เป็นนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 3 ภาคเรียนที่ 2
tU
วทิ
หา

ir o

โรงเรียนบ้านนาสาร อาเภอบ้านนาสาร จังหวัดสุราษฏร์ธานี จานวน 1 ห้องเรียน จานวน 41 คน


งม

nw

จากจานวนนักเรียนทัง้ หมด 9 ห้องเรียน จานวน 352 คน ได้จากการสุ่มตัวอย่างแบบเกาะกลุ่ม


ลา

ari
ดุ ก

a kh

โดยจัดห้องเรียนแบบคละความสามารถของนักเรียนทีม่ ี ผลการเรียนระดับเก่ง ปานกลาง และอ่อน


สม

rin

อยูใ่ นห้องเดียวกัน
หอ

yS
rar
นกั

L ib
สาํ

การสร้างเครื่องมือที่ใช้ในการวิ จยั
al
n tr

เครือ่ งมือทีใ่ ช้ในการวิจยั ประกอบด้วย


Ce

1. ชุดกิจกรรมการเรียนการสอนเรือ่ งกาหนดการเชิงเส้นโดยใช้โปรแกรม C.a.R.


และโปรแกรม Euler สาหรับนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 3
2. แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ ์ทางการเรียนเรือ่ งกาหนดการเชิงเส้น
3. แบบสอบถามวัดความพึงพอใจทีม่ ตี ่อเนื้อหากาหนดการเชิงเส้น และการจัด
กิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้โปรแกรม C.a.R. และโปรแกรม Euler
53

1. ชุดกิ จกรรมการเรียนการสอนเรื่องกาหนดการเชิ งเส้นโดยใช้โปรแกรม C.a.R.


และโปรแกรม Euler สาหรับนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปี ที่ 3 ทีผ่ วู้ จิ ยั ได้สร้างขึน้ ประกอบด้วย
1.1 คู่มอื การใช้ชุดกิจกรรมการเรียนการสอนเรือ่ งกาหนดการเชิงเส้น ประกอบด้วย
1. คาชีแ้ จงการใช้ชุดกิจกรรมการเรียนการสอน
2. คู่มอื การใช้โปรแกรม C.a.R. และโปรแกรม Euler สาหรับการจัดกิจกรรม
การเรียนการสอนเรือ่ งกาหนดการเชิงเส้น
1.2 บทเรียน สาหรับใช้ประกอบการเรียนการสอน จะแบ่ งเนื้อหาออกเป็นหน่วยการ
เรียนทัง้ หมด 2 หน่วย แต่ละหน่วยประกอบด้วย เนื้อหา ตัวอย่างและใบกิจกรรม
1.3 แผนการจัดการเรียนรู้ แต่ละแผนจะสอดคล้องกับหน่วยการเรียน

ขัน้ ตอนการสร้างชุด กิ จกรรมการเรียนการสอนเรื่องกาหนดการเชิ งเส้นโดยใช้


วโิ ร
โปรแกรม C.a.R. และโปรแกรม Euler สาหรับนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปี ที่ 3
ขัน้ ที่ 1 การเตรียมงานด้านวิชาการ นิทร
คร
ผูว้ จิ ยั ได้ศกึ ษาหนังสือและเอกสารทีเ่ กีย่ วข้อง เพื่อเป็นแนวทางในการสร้างชุด กิจกรรมการ
นี
ศร

it y
ers
เรียนการสอนเรือ่ งกาหนดการเชิงเส้น สาหรับนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 3 และเป็นแนวทางในการ
ลยั
ยา

n iv
จัดการเรียนการสอน ดังนี้
tU
วทิ
หา

ir o

1.1 ศึกษาเนื้อหาเรือ่ งกาหนดการเชิงเส้น จากหนังสือและเอกสาร ประกอบด้วย


งม

nw

1. หนังสือเรียนสาระคณิตศาสตร์เพิม่ เติม คณิตศาสตร์ เล่ม 5 ชัน้ มัธยมศึกษา


ลา

ari
ดุ ก

a kh

ปีท่ี 6 (สสวท. 2545)


สม

rin

2. กาหนดการเชิงเส้นเบือ้ งต้น (อาพล ธรรมเจริญ. 2551)


หอ

yS

3. การโปรแกรมเชิงเส้นเบือ้ งต้น (นิกร วัฒนพนม. 2535)


rar
นกั

L ib
สาํ

4. การวางแผนคณิตศาสตร์ (เพชรหงส์ โชติกอาภา. 2535)


al

5. การวิเคราะห์เชิงปริมาณ (สุทธิมา ชานาญเวช. 2545)


n tr
Ce

6. การวิจยั ดาเนินงานและการประยุกต์ (กัลยา วานิชย์บญ ั ชา. 2532)


7. การวิจยั ดาเนินงาน ( วิจติ ร ตัณฑสุทธิ ์; วันชัย ริจริ วนิช; และ ศิรจิ นั ทร์
ทองประเสริฐ. 2548)
8. Introduction to Linear Programming (Darst. 1990)
9. Linear Programming an Introduction (Feiring. 1986)
10. Linear Programming (Sultan. 1993)
11. Linear Programming and Extension (Dantzig. 1993)
54

1.2 ศึกษาเอกสารและงานวิจยั ทีเ่ กีย่ วข้องกับการสร้างชุดกิจกรรมการเรียนการสอน


เพื่อเป็นแนวทางในการสร้างชุด กิจกรรมการเรียนการสอนเรือ่ งกาหนดการเชิงเส้นสาหรับนักเรียน
ชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 3
1.3 ศึกษาเอกสารและงานวิจยั ทีเ่ กีย่ วกับการนาเนื้อหาคณิตศาสตร์ในระดับทีส่ งู กว่า
มาสอนในระดับทีต่ ่ากว่า
ขัน้ ที่ 2 การสร้างชุดกิจกรรมการเรียนการสอนเรือ่ งกาหนดการเชิงเส้นโดยใช้โปรแกรม
C.a.R. และโปรแกรม Euler สาหรับนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 3 ผูว้ จิ ยั ดาเนินการสร้างดังนี้
2.1 กาหนดกรอบเนื้อหาเรือ่ งกาหนดการเชิงเส้นเป็นบทเรียนสาหรับใช้ในการ
จัดกิจกรรมการเรียนรู้ ซึง่ ในบทเรียนแบ่งเนื้อหาออกเป็นเอกสารหน่วยการเรียน 2 หน่วย
ประกอบด้วย
1. หน่วยการเรียนที่ 1 ความรูเ้ บือ้ งต้นของกาหนดการเชิงเส้น จานวน 5 คาบ


วโิ ร
2. หน่วยการเรียนที่ 2 การแก้ปญั หากาหนดการเชิงเส้นโดยวิธกี ราฟ จานวน

ทร
7 คาบ คร
นิ
2.2 จัดทาบทเรียนตามกรอบเนื้อหาในหน่วยการเรียนที่ 1 และ 2
นี
ศร

it y
ers
2.3 จัดทาใบกิจกรรม โดยออกแบบใบกิจกรรมให้สอดคล้องกับเนื้อหา และจุดประสงค์
ลยั
ยา

n iv
การเรียนรู้ ในหน่วยการเรียนแต่ละหน่วยจะมีใบกิจกรรมสาหรับทดสอบนักเรียนทุกคาบเพื่อเป็น
tU
วทิ
หา

ส่วนหนึ่งของการประเมินผลการเรียนรู้
ir o
งม

nw

2.4 จัดทาแผนการจัดการเรียนรู้เรือ่ งกาหนดการเชิงเส้นโดยใช้โปรแกรม C.a.R. และ


ลา

ari
ดุ ก

a kh

โปรแกรม Euler จานวน 6 แผน ซึง่ แต่ละแผนจะสอดคล้องกับหน่วยการเรียนแต่ละหน่วย แผนการ


สม

rin

จัดการเรียนรู้ ประกอบด้วย
หอ

yS

1. สาระสาคัญ/ความคิดรวบยอด
rar
นกั

L ib
สาํ

2. จุดประสงค์การเรียนรู้
al

3. สาระการเรียนรู้
n tr
Ce

4. การจัดกิจกรรมการเรียนรู้
4.1 ครูผสู้ อนทาการสอนโดยใช้ชุดกิจกรรม และดูแลให้คาแนะนา ช่วยเหลือ
นักเรียน
4.2 ให้นกั เรียนใช้คอมพิวเตอร์ 1 คนต่อ 1 เครือ่ ง ในการปฏิบตั ทิ ากิจกรรม
4.3 อภิปรายและสรุปผลการเรียนรู้
5. สื่อการเรียนรูห้ รือแหล่งการเรียนรู้
5.1 ใบกิจกรรม
5.2 กิจกรรมการเรียนทีส่ ร้างโดยโปรแกรม C.a.R. และโปรแกรม Euler
6. การวัดและการประเมินผล
7. บันทึกหลังการจัดการเรียนรู้
55

2.5 สร้างกิจกรรมการเรียนทีใ่ ช้โปรแกรม C.a.R. และโปรแกรม Euler เพื่อใช้


ประกอบการเรียนการสอนเรือ่ งกาหนดการเชิงเส้น โดยมีโครงสร้างของกิจกรรมภาคปฏิบตั ิ
คอมพิวเตอร์ในรูปแบบของ HTML เพื่อให้เกิดความสะดวกในการเรียกใช้ในแต่ละกิจกรรม โดยมี
โครงสร้างดังนี้
1. เมนูหลัก
2. สารบัญย่อย
3. กิจกรรม (ดังภาพประกอบ)


วโิ ร
ทร
นิ
คร
นี
ศร

it y
ers
ลยั
ยา

n iv
tU
วทิ
หา

ir o
งม

nw
ลา

ari
ดุ ก

a kh
สม

rin
หอ

yS
rar
นกั

L ib
สาํ

al

ภาพประกอบ 1 เมนูหลัก
n tr
Ce
สาํ
นกั
หอ
Ce สม
n tr ดุ ก
al ลา
L ib งม
rar หา
yS วทิ
rin ยา
a kh ลยั
ศร
ari
nw นี คร
ภาพประกอบ 2 สารบัญย่อย
ir o นิ ทร
tU วโิ ร
n iv ฒ
ers
it y

ภาพประกอบ 3 กิจกรรมการสารวจผลเฉลยทีเ่ หมาะสมทีส่ ุด


56
57

2.6 กาหนดการประเมินผลของนักเรียน โดยแบ่งการประเมินผลของนักเรียน ดังนี้


1. การประเมินผลระหว่างเรียน ครูประเมินจากการทาใบกิจกรรม การแสดง
แนวคิด และคาตอบของนักเรียนในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนโดยใช้โปรแกรม C.a.R. และ
โปรแกรม Euler มีน้าหนักคะแนนคิดเป็นร้อยละ 30 ของคะแนนทัง้ หมด
2. การประเมินผลหลังเรียน ครูประเมินจากการทาแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ ์
ทางการเรียนเรือ่ งกาหนดการเชิงเส้น ทีผ่ วู้ จิ ยั สร้างขึน้ มีน้าหนักของคะแนนคิดเป็นร้อยละ 70 ของ
คะแนนทัง้ หมด
2.7 สร้างคู่มอื การใช้ชุดกิจกรรมการเรียนการสอนสาหรับครูเพื่อเป็นแนวทางในการใช้
กิจกรรมการเรียนการสอนทีถ่ ูกต้องและมีประสิทธิภาพ
ขัน้ ที่ 3 นาชุดกิจกรรมการเรียนการสอนเรือ่ งกาหนดการเชิงเส้นโดยใช้โปรแกรม C.a.R.
และโปรแกรม Euler ทีผ่ วู้ จิ ยั สร้างขึน้ เสนอต่อคณะกรรมการควบคุมปริญญานิพนธ์และผูเ้ ชีย่ วชาญ


วโิ ร
ในการสอนคณิตศาสตร์ 3 ท่าน ตรวจแก้ไขปรับปรุง เพื่อพิจารณาความเหมาะสม และชีแ้ นะ

ทร
ข้อบกพร่องรวมทัง้ ข้อเสนอแนะในการปรับปรุงแก้ไข คร
นิ
ขัน้ ที่ 4 นาชุดกิจกรรมการเรียนการสอนทีไ่ ด้รบั การปรับปรุงแก้ไขแล้วตามคาแนะนาของ
นี
ศร

it y
ers
คณะกรรมการควบคุมปริญญานิพนธ์และผูเ้ ชีย่ วชาญในการสอนคณิตศาสตร์แล้ว นาไปทดลองใช้กบั
ลยั
ยา

n iv
กลุ่มนาร่อง ซึง่ เป็นนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 3 โรงเรียนบ้านควนใหม่ อาเภอบ้านนาสาร
tU
วทิ
หา

จังหวัดสุราษฏร์ธานี จานวน 12 คน
ir o
งม

nw

ขัน้ ที่ 5 นาชุดกิจกรรมการเรียนการสอนจากขัน้ ที่ 4 มาปรับปรุงแก้ไขข้อบกพร่อง


ลา

ari
ดุ ก

a kh

แล้วนาชุดกิจกรรมการเรียนการสอนดังกล่าวไปทาการทดลองกับนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 3
สม

rin

โรงเรียนบ้านนาสาร อาเภอบ้า นนาสาร จังหวัดสุราษฏร์ธานี จานวน 41 คน ซึง่ เป็นกลุ่มตัวอย่าง


หอ

yS

ทัง้ นี้ก่อนการทดลองจะฝึกการใช้เครือ่ งมือเกีย่ วกับโปรแกรม C.a.R. และโปรแกรม Euler


rar
นกั

L ib

นอกเวลาเรียนปกติ 1 คาบ
สาํ

al
n tr
Ce

2. แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนเรื่องกาหนดการเชิ งเส้น


แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ ์ทางการเรียนเรือ่ งกาหนดการเชิงเส้น ทีผ่ วู้ จิ ยั สร้างขึน้ แบ่งเป็น
ตอนที่ 1 แบบปรนัย 20 ข้อ และตอนที่ 2 แบบอัตนัย 2 ข้อ ใช้เวลาในการทดสอบ จานวน 2 คาบ
และคะแนนทีไ่ ด้จากแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ ์ทางการเรียนเรือ่ งกาหนดการเชิงเส้นจะเป็นส่วนหนึ่ง
ของการประเมินผลการเรียนรูข้ องนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 3

ขัน้ ตอนการสร้างแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนเรื่องกาหนดการเชิ งเส้น


1. ศึกษาทฤษฎีและหลักการสร้างแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ ์ทางการเรียน จากหนังสือ
เทคนิคการเขียนข้อสอบของชวาล แพรัตกุล (2520: 1-40) การวัด การวิเคราะห์ และการประเมินผล
ทางการศึกษาเบือ้ งต้นของกังวล เทียนกัณฑ์เทศน์ (2540: 92-112) และเทคนิคการวัดผลการเรียนรู้
ของล้วน สายยศ และอังคณา สายยศ (2543: 196-198)
58

2. วิเคราะห์เนื้อหา สาระสาคัญ และจุดประสงค์การเรียนรูข้ องเนื้อหาเรือ่ งกาหนดการ


เชิงเส้น เพื่อใช้ในการสร้างแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ ์ทางการเรียนเรือ่ งกาหนดการเชิงเส้น
3. สร้างแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ ์ทางการเรียนเรือ่ งกาหนดการเชิงเส้น แบบทดสอบ
แบ่งเป็น ตอนที่ 1 แบบปรนัย 30 ข้อ และตอนที่ 2 แบบอัตนัย 4 ข้อ โดยสร้างให้ครอบคลุมเนื้อหา
และจุดประสงค์การเรียนรู้ทก่ี าหนดไว้
4. กาหนดเกณฑ์การตรวจให้คะแนนแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ ์ทางการเรียนเรือ่ ง
กาหนดการเชิงเส้น ผูว้ จิ ยั ใช้แนวทางในการสร้างเกณฑ์การตรวจให้คะแนนจากคู่มอื การจัดการ
เรียนรูก้ ลุ่มสาระการเรียนรูค้ ณิตศาสตร์ ระดับชัน้ มัธยมศึกษา (กรมวิชาการ. 2546: 121) และ
สังเวียน แผนสุพดั (2552: 47-48) โดยผูว้ จิ ยั ปรับให้เหมาะสมกับแบบทดสอบ ดังนี้
4.1 แบบทดสอบปรนัย 4 ตัวเลือก มีเกณฑ์ในการให้คะแนนในแต่ละข้อดังต่อไปนี้
คือ ข้อทีต่ อบถูกให้ 1 คะแนน ข้อทีต่ อบผิด ไม่ตอบ หรือตอบมากกว่า 1 ตัวเลือกให้ 0 คะแนน


วโิ ร
4.2 แบบทดสอบอัตนัย มีเกณฑ์ในการให้คะแนนในแต่ละข้อดังตาราง 2

ทร
นิ
คร
ตาราง 2 เกณฑ์การตรวจให้คะแนนของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ ์ทางการเรียนแบบอัตนัยเรือ่ ง
นี
ศร

it y
กาหนดการเชิงเส้น
ers
ลยั
ยา

n iv
tU
วทิ
หา

ส่วนของการดาเนินการ คะแนน เกณฑ์การตรวจให้คะแนน (พฤติกรรมบ่งชี้)


ir o
งม

nw

การสร้างแบบจาลอง 4 วิเคราะห์สงิ่ ทีโ่ จทย์กาหนดให้และกาหนดตัวแปรได้


ลา

ari
ดุ ก

a kh

กาหนดการเชิงเส้น ถูกต้องครบถ้วน เขียนสมการจุดประสงค์และอสมการ


สม

rin

ข้อจากัดได้ถูกต้องครบถ้วน
หอ

yS

3 วิเคราะห์สงิ่ ทีโ่ จทย์กาหนดให้และกาหนดตัวแปรได้


rar
นกั

L ib

ถูกต้องครบถ้วน เขียนสมการจุดประสงค์ได้ถูกต้อง
สาํ

al

และเขียนอสมการข้อจากัดได้ถูกต้องบางเงือ่ นไข
n tr
Ce

2 วิเคราะห์สงิ่ ทีโ่ จทย์กาหนดให้และกาหนดตัวแปรได้


ถูกต้องครบถ้วน เขียนสมการจุดประสงค์ได้ถูกต้อง
แต่เขียนอสมการข้อจากัดทุกเงือ่ นไขไม่ถูกต้องหรือ
ไม่เขียนอสมการข้อจากัด
1 วิเคราะห์สงิ่ ทีโ่ จทย์กาหนดให้หรือกาหนดตัวแปรได้
ถูกต้องบางส่วน เขียนสมการจุดประสงค์และอสมการ
ข้อจากัดทุกเงือ่ นไขไม่ถูกต้องหรือไม่เขียนสมการ
จุดประสงค์และอสมการข้อจากัด
0 ทาได้ไม่ถงึ เกณฑ์ขนั ้ ต้นหรือไม่มรี อ่ งรอยการ
ดาเนินการสร้างแบบจาลองกาหนดการเชิงเส้น
59

ตาราง 2 (ต่อ)

ส่วนของการดาเนินการ คะแนน เกณฑ์การตรวจให้คะแนน (พฤติกรรมบ่งชี้)


การดาเนินการแก้ปญั หา 6 เขียนกราฟอสมการข้อจากัดได้ถูกต้องครบถ้วน แสดง
บริเวณผลเฉลยทีเ่ ป็นไปได้ได้ถูกต้อง ระบุจดุ มุมและ
ตรวจสอบจุดมุมของบริเวณผลเฉลยทีเ่ ป็นไปได้ถูกต้อง
ครบถ้วน ระบุจดุ มุมทีเ่ หมาะสมทีส่ ุดและสรุปคาตอบ
ได้ถูกต้องครบถ้วน
5 เขียนกราฟอสมการข้อจากัดได้ถูกต้องครบถ้วน แสดง
บริเวณผลเฉลยทีเ่ ป็นไปได้ได้ถูกต้อง ระบุจดุ มุมและ


ตรวจสอบจุดมุมของบริเวณผลเฉลยทีเ่ ป็นไปได้ถูกต้อง

วโิ ร
ครบถ้วน สรุปผลเฉลยเหมาะสมทีส่ ุดได้ไม่ถูกต้อง
ทร
หรือไม่สรุปผลเฉลยเหมาะสมทีส่ ุด
นิ
คร
4 เขียนกราฟอสมการข้อจากัดได้ถูกต้องครบถ้วน แสดง
นี
ศร

it y
ers
บริเวณผลเฉลยทีเ่ ป็นไปได้ได้ถูกต้อง ระบุจดุ มุมและ
ลยั
ยา

n iv
ตรวจสอบจุดมุมของบริเวณผลเฉลยทีเ่ ป็นไปได้ถูกต้อง
tU
วทิ
หา

ir o

บางส่วน สรุปผลเฉลยเหมาะสมทีส่ ุดได้ไม่ถูกต้อง


งม

nw

หรือไม่สรุปผลเฉลยเหมาะสมทีส่ ุด
ลา

ari
ดุ ก

a kh

3 เขียนกราฟอสมการข้อจากัดได้ถูกต้องครบถ้วน แสดง
สม

rin

บริเวณผลเฉลยทีเ่ ป็นไปได้ได้ถูกต้อง ระบุจดุ มุมและ


หอ

yS

ตรวจสอบจุดมุมของบริเวณผลเฉลยทีเ่ ป็นไปได้ไม่
rar
นกั

L ib
สาํ

ถูกต้องหรือไม่ตรวจสอบจุดมุม และสรุปผลเฉลย
al

เหมาะสมทีส่ ุดไม่ถูกต้อง หรือไม่สรุปผลเฉลยที่


n tr
Ce

เหมาะสมทีส่ ุด
2 เขียนกราฟอสมการข้อจากัดได้ถูกต้องครบถ้วน แต่
แสดงบริเวณผลเฉลยทีเ่ ป็นไปได้ไม่ถูกต้องหรือไม่ม ี
ร่องรอยการแสดงบริเวณผลเฉลยเป็นไปได้ ไม่
ตรวจสอบจุดมุม ไม่สรุปผลเฉลยเหมาะสมทีส่ ุด
1 เขียนกราฟอสมการข้อจากัดได้ถูกต้องบางส่วน และ
ไม่มรี อ่ งรอยการแสดงบริเวณผลเฉลยทีเ่ ป็นไปได้หรือ
แสดงได้ไม่ถูกต้อง ไม่ตรวจสอบไม่สรุปผลเฉลย
เหมาะสมทีส่ ุด
60

ตาราง 2 (ต่อ)

ส่วนของการดาเนินการ คะแนน เกณฑ์การตรวจให้คะแนน (พฤติกรรมบ่งชี้)


การดาเนินการแก้ปญั หา 0 ทาได้ไม่ถงึ เกณฑ์ขนั ้ ต้นหรือไม่มรี อ่ งรอยการดาเนิน
การแก้ปญั หา

5. นาแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ ์ทางการเรียนเรือ่ งกาหนดการเชิงเส้น จากข้อ 3 และ


เกณฑ์การตรวจให้คะแนนจากข้อ 4 เสนอต่อคณะกรรมการควบคุมปริญญานิพนธ์ และผูเ้ ชีย่ วชาญ
3 ท่าน เพื่อตรวจสอบว่าแบบทดสอบทีส่ ร้างขึน้ สอดคล้องกับเนื้อหา และจุดประสงค์ การเรียนรู้
หรือไม่ โดยใช้ดชั นีความสอดคล้องของข้อสอบ IOC (Index of Objective Congruence)


ซึง่ มีเกณฑ์การพิจารณาดังนี้

วโิ ร
ทร
คะแนน +1 หมายถึงแน่ใจว่าแบบทดสอบนัน้ วัดได้สอดคล้องตามจุดประสงค์
นิ
คร
คะแนน 0 หมายถึงไม่แน่ใจว่าแบบทดสอบนัน้ วัดได้สอดคล้องตามจุดประสงค์
นี
ศร

it y
คะแนน -1 หมายถึงแน่ใจว่าแบบทดสอบนัน้ วัดได้ไม่สอดคล้องตามจุดประสงค์
ers
ลยั
ยา

6. นาแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ ์ทางการเรียนเรือ่ งกาหนดการเชิงเส้น ทีไ่ ด้รบั การ


n iv
tU
วทิ

ตรวจสอบจากคณะกรรมการควบคุมปริญญานิพนธ์ และผูเ้ ชีย่ วชาญการสอนคณิตศาสตร์มาคานวณ


หา

ir o
งม

หาค่า IOC แล้วคัดเลือกข้อสอบทีม่ คี ่า IOC ตัง้ แต่ 0.5 ขึน้ ไป โดยเลือกแบบทดสอบปรนัยจานวน


nw
ลา

ari

25 ข้อ และแบบทดสอบอัตนัยจานวน 3 ข้อ


ดุ ก

a kh

7. นาแบบทดสอบจากข้อ 6 ไปทดสอบกับนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 3 ทีเ่ ป็นกลุ่ม


สม

rin
หอ

yS

นาร่องกลุ่มเดียวกับทีใ่ ช้ในการทดลองชุดกิจกรรมการเรียนการสอนเรือ่ งกาหนดการเชิงเส้น เพื่อหา


rar
นกั

ค่าความยากง่าย (p) และค่าอานาจจาแนก (r) เป็นรายข้อ ผูว้ จิ ยั คัดเลือกแบบทดสอบแบบปรนัย


L ib
สาํ

จานวน 20 ข้อ และแบบอัตนัยจานวน 2 ข้อ เฉพาะข้อทีม่ คี วามยากง่าย (p) ในช่วง .20-.80 และ
al
n tr

มีค่าอานาจจาแนก (r) ตัง้ แต่ .20 ขึน้ ไป เพื่อใช้เป็นแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ ์ทางการเรียนเรือ่ ง


Ce

กาหนดการเชิงเส้นสาหรับทดลองกับกลุ่มตัวอย่าง ผลการวิเคราะห์สรุปได้ว่า มีค่าความยากง่าย


ตัง้ แต่ 0.50-0.75 และมีค่าอานาจจาแนกตัง้ แต่ 0.25-0.75
8. นาแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ ์ทางการเรียนเรือ่ งกาหนดการเชิงเส้น ทีค่ ดั เลือกในข้อ 7
มาคานวณหาค่าความเชื่อมันของแบบทดสอบโดยวิ
่ ธกี ารหาค่าสัมประสิทธิ ์แอลฟา (α- Coefficient)
ของครอนบัค (Cronbach) ผลการวิเคราะห์สรุปได้ว่า ค่าความเชื่อมันของแบบทดสอบมี
่ ค่าเท่ากับ
0.79
61

3. แบบสอบถามวัดความพึงพอใจที่มตี ่อเนื้ อหากาหนดการเชิ งเส้น และการจัด


กิ จกรรมการเรียนรู้โดยใช้โปรแกรม C.a.R. และโปรแกรม Euler
แบบสอบถามวัดความพึงพอใจทีม่ ตี ่อเนื้อหากาหนดการเชิงเส้น และการจัดกิจกรรม
การเรียนรูโ้ ดยใช้โปรแกรม C.a.R. และโปรแกรม Euler มีจานวน 20 ข้อ
ขัน้ ตอนการสร้างแบบสอบถามวัดความพึงพอใจของนักเรียน
1. ศึกษาวิธกี ารสร้างแบบสอบถามวัดความพึงพอใจจากเอกสาร ตาราทีเ่ กีย่ วข้องกับวิธกี าร
และหลักการสร้างแบบวัดความพึงพอใจ แล้วกาหนดแนวทางในการออกแบบสอบถามวัดความ
พึงพอใจตามวิธกี ารของลิเคอร์ท
2. สร้างแบบสอบถามวัดความพึงพอใจทีม่ ตี ่อเนื้อหากาหนดการเชิงเส้น และการจัด
กิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้โปรแกรม C.a.R. และโปรแกรม Euler สาหรับนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษา


ปีท่ี 3 จานวน 20 ข้อ โดยผูว้ จิ ยั ปรับปรุงจากแบบสอบถามวัดความพึงพอใจของนักเรียน จาก

วโิ ร
วรวรรณ กฤตยากรนุพงศ์ (2551: 274-276) และปุณยพล จันทร์ฝอย (2551: 436-438) ลักษณะ

ทร
ของแบบสอบถามวัดความพึงพอใจเป็นแบบมาตราส่วนประมาณค่า ซึง่ มี 5 ระดับ ข้อความเป็น
คร
นิ
ข้อความทางบวก ซึง่ มีเกณฑ์การตรวจ ให้คะแนนในแต่ละความพึงพอใจ ดังนี้
นี
ศร

it y
มากทีส่ ุด ให้คะแนน 5 คะแนน ers
ลยั
ยา

n iv
มาก ให้คะแนน 4 คะแนน
tU
วทิ
หา

ปานกลาง ให้คะแนน 3 คะแนน


ir o
งม

nw

น้อย ให้คะแนน 2 คะแนน


ลา

ari
ดุ ก

a kh

น้อยทีส่ ุด ให้คะแนน 1 คะแนน


สม

rin

3. นาแบบสอบถามวัดความพึงพอใจทีส่ ร้างขึน้ จานวน 20 ข้อ ไปให้คณะกรรมการควบคุม


หอ

yS

ปริญญานิพนธ์และผูเ้ ชีย่ วชาญ 3 ท่าน พิจารณาและให้ขอ้ เสนอแนะเกีย่ วกับการใช้ภาษาในแต่ละข้อ


rar
นกั

L ib

ให้มคี วามชัดเจนและเหมาะสมขึน้ อีก แล้วนามาปรับปรุงแก้ไข


สาํ

al

4. นาแบบสอบถามวัดความพึงพอใจทีไ่ ด้ปรับปรุงแก้ไขแล้วจากข้อ 3 ไปทดลองกับ


n tr
Ce

นักเรียนกลุ่มนาร่อง ซึง่ เป็นนักเรียนกลุ่มเดียวกับทีใ่ ช้ในการทดลองชุดกิจกรรมการเรียนการสอน


เรือ่ งกาหนดการเชิงเส้นโดยใช้โปรแกรม C.a.R. และโปรแกรม Euler
5. นาผลทีไ่ ด้จากข้อ 4 มาหาค่าความเชื่อมันของแบบสอบถามวั
่ ดความพึงพอใจ โดยใช้วธิ ี
หาสัมประสิทธิ ์แอลฟา ผลการวิเคราะห์สรุปได้ว่า ค่าความเชื่อมันของแบบสอบถามมี
่ ค่าเท่ากับ 0.78
6. นาแบบสอบถามวัดความพึงพอใจทีม่ ตี ่อเนื้อหากาหนดการเชิงเส้น และการจัดกิจกรรม
การเรียนรูโ้ ดยใช้โปรแกรม C.a.R. และโปรแกรม Euler สาหรับนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 3 ไปใช้
กับกลุ่มตัวอย่างต่อไป
62

การเก็บรวบรวมข้อมูล
การวิจยั ครัง้ นี้ดาเนินการวิจยั ในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2552 รวมระยะเวลาทีใ่ ช้ใน
การวิจยั 14 คาบ ซึง่ ใช้เวลาในการทดลองนอกเวลาปกติ ดังนี้
1. ระยะเวลาทีใ่ ช้สอนด้วยชุดกิจกรรมการเรียนการสอนเรือ่ งกาหนดการเชิงเส้นโดยใช้
โปรแกรม C.a.R. และโปรแกรม Euler สาหรับนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 3 รวม 12 คาบ ดังนี้
1.1 หน่วยการเรียนที่ 1 ความรูเ้ บือ้ งต้นของกาหนดการเชิงเส้น 5 คาบ แบ่งเป็น
1. ความหมายของกาหนดการเชิงเส้น 1 คาบ
2. กราฟของระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร 2 คาบ
3. กราฟของระบบอสมการเชิงเส้นสองตัวแปร 2 คาบ
1.2 หน่วยการเรียนที่ 2 การแก้ปญั หากาหนดการเชิงเส้นโดยวิธกี ราฟ 7 คาบ แบ่งเป็น


1. การสร้างแบบจาลองกาหนดการเชิงเส้น 2 คาบ

วโิ ร
2. การหาค่าสูงสุดและต่าสุดของกาหนดการเชิงเส้น 3 คาบ
3. การแก้โจทย์ปญั หากาหนดการเชิงเส้น
นิทร 2 คาบ
คร
2. การทดสอบวัดผลสัมฤทธิ ์ทางการเรียนเรือ่ งกาหนดการเชิงเส้น จานวน 2 คาบ
นี
ศร

it y
ers
3. เมือ่ สิน้ สุดการสอนและการทดสอบแล้วให้นกั เรียนตอบแบบสอบถามวัดความพึงพอใจที่
ลยั
ยา

n iv
มีต่อเนื้อหากาหนดการเชิงเส้น และการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ โดยใช้โปรแกรม C.a.R. และโปรแกรม
tU
วทิ
หา

Euler โดยใช้เวลา 20 นาที


ir o
งม

nw

4. ผูว้ จิ ยั นาคะแนนทีไ่ ด้ทงั ้ หมดมาวิเคราะห์โดยใช้วธิ ที างสถิตเิ พื่อทดสอบสมมติฐานทีต่ งั ้ ไว้


ลา

ari
ดุ ก

a kh
สม

rin

การจัดกระทาข้อมูลและการวิ เคราะห์ข้อมูล
หอ

yS

1. ผูว้ จิ ยั สอนนักเรียนกลุ่มตัวอย่าง จานวน 41 คน ด้วยชุดกิจกรรมการเรียนการสอน


rar
นกั

L ib
สาํ

เรือ่ งกาหนดการเชิงเส้นโดยใช้โปรแกรม C.a.R. และโปรแกรม Euler สาหรับนักเรียนชัน้


al

มัธยมศึกษาปีท่ี 3 ซึง่ แบ่งเนื้อหาตามหน่วยการเรียนดังนี้


n tr
Ce

1.1 หน่วยการเรียนที่ 1 ความรูเ้ บือ้ งต้นของกาหนดการเชิงเส้น


1.2 หน่วยการเรียนที่ 2 การแก้ปญั หากาหนดการเชิงเส้นโดยวิธกี ราฟ
ในส่วนของการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ มีใบกิจกรรมให้นกั เรียนปฏิบตั ิ ในแต่ละ
หน่วยการเรียน ผูว้ จิ ยั จะนาใบกิจกรรมไปตรวจให้คะแนนทุกครัง้ เพื่อเป็นส่วนหนึ่งของการ
ประเมินผลสัมฤทธิ ์ทางการเรียน
2. เมือ่ นักเรียนปฏิบตั กิ จิ กรรมในชุด กิจกรรมการเรียนการสอนเรือ่ งกาหนดการเชิงเส้น
โดยใช้โปรแกรม C.a.R. และโปรแกรม Euler สาหรับนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 3 ครบทุกกิจกรรม
แล้ว ผูว้ จิ ยั ให้นกั เรียนกลุ่มตัวอย่างทาแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ ์ทางการเรียนเรือ่ งกาหนดการ
เชิงเส้น โดยจะแบ่งเป็ น 2 ตอน คือ ตอนที่ 1 แบบปรนัย จานวน 20 ข้อ ตอนที่ 2 แบบอัตนัย
จานวน 2 ข้อ ใช้เวลาในการทดสอบ 2 คาบ
63

3. จากนัน้ ให้นกั เรียนตอบแบบสอบถามวัดความพึงพอใจทีม่ ตี ่อเนื้อหากาหนดการเชิงเส้น


และการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ โดยใช้โปรแกรม C.a.R. และโปรแกรม Euler สาหรับนักเรียนชัน้
มัธยมศึกษาปีท่ี 3 โดยใช้เวลา 20 นาที
4. ผูว้ จิ ยั นาคะแนนทีไ่ ด้ต่อไปนี้ มาวิเคราะห์โดยใช้วธิ กี ารทางสถิติ
4.1 คะแนนใบกิจกรรมจากหน่วยการเรียนที่ 1 และ 2
4.2 คะแนนแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ ์ทางการเรียนเรือ่ งกาหนดการเชิงเส้น
ของนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 3
4.3 คะแนนแบบสอบถามวัดความพึงพอใจของนักเรียน

การวิ เคราะห์ข้อมูล


1. หาค่าสถิตพิ น้ื ฐานของคะแนนทีไ่ ด้จากการทาใบกิจกรรม แบบทดสอบวัด

วโิ ร
ผลสัมฤทธิ ์ทางการเรียนเรือ่ งกาหนดการเชิงเส้น และคะแนนทีไ่ ด้จากการตอบแบบสอบถามวัด ความ
ทร
พึงพอใจของนักเรียนมาวิเคราะห์โดยใช้ค่าร้อยละ ค่าเฉลีย่ เลขคณิต และส่วนเบีย่ งเบนมาตรฐาน
นิ
คร
2. ทดสอบสมมติฐานทีว่ ่านักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 3 ทีเ่ รียนด้วยชุดกิจกรรมการ
นี
ศร

it y
ers
ลยั

เรียนการสอนเรือ่ งกาหนดการเชิงเส้นโดยใช้โปรแกรม C.a.R. และโปรแกรม Euler สามารถสอบ


ยา

n iv
ผ่านเกณฑ์ได้มากกว่าร้อยละ 60 ของจานวนนักเรียนทัง้ หมด ด้วยการทดสอบสมมติฐานเกีย่ วกับ
tU
วทิ
หา

ir o

ค่าสัดส่วนของประชากร โดยใช้สถิตทิ ดสอบ Z (Z-test for Population Proportion)


งม

nw

3. วิเคราะห์แบบสอบถามวัดความพึงพอใจทีม่ ตี ่อเนื้อหากาหนดการเชิงเส้น และการ


ลา

ari
ดุ ก

a kh

จัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้โปรแกรม C.a.R. และโปรแกรม Euler โดยใช้ค่าเฉลีย่ เลขคณิต


สม

rin

ส่วนเบีย่ งเบนมาตรฐาน และประเมินระดับความคิดเห็นของนักเรียนกลุ่มตัวอย่าง โดยใช้เกณฑ์การ


หอ

yS

ประเมินผลของประคอง กรรณสูต (2538: 77) ดังนี้


rar
นกั

L ib
สาํ

al

ตาราง 3 เกณฑ์การประเมินผลความพึงพอใจของนักเรียนทีม่ ตี ่อเนื้อหากาหนดการเชิงเส้น และการ


n tr
Ce

จัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้โปรแกรม C.a.R. และโปรแกรม Euler

คะแนนเฉลีย่ ความคิดเห็น
4.50 – 5.00 นักเรียนมีความพึงพอใจอยูใ่ นระดับมากทีส่ ุด หลังจากเรียนด้วยชุดกิจกรรม
การเรียนการสอนเรือ่ งกาหนดการเชิงเส้นโดยใช้โปรแกรม C.a.R. และ
โปรแกรม Euler
3.50 – 4.49 นักเรียนมีความพึงพอใจอยูใ่ นระดับมาก หลังจากเรียนด้วยชุดกิจกรรม
การเรียนการสอนเรือ่ งกาหนดการเชิงเส้นโดยใช้โปรแกรม C.a.R. และ
โปรแกรม Euler
64

ตาราง 3 (ต่อ)

คะแนนเฉลีย่ ความคิดเห็น
2.50 – 3.49 นักเรียนมีความพึงพอใจอยูใ่ นระดับ ปานกลาง หลังจากเรียนด้วยชุดกิจกรรม
การเรียนการสอนเรือ่ งกาหนดการเชิงเส้นโดยใช้โปรแกรม C.a.R. และ
โปรแกรม Euler
1.50 – 2.49 นักเรียนมีความพึงพอใจอยูใ่ นระดับ น้อย หลังจากเรียนด้วยชุดกิจกรรม
การเรียนการสอนเรือ่ งกาหนดการเชิงเส้นโดยใช้โปรแกรม C.a.R. และ
โปรแกรม Euler
1.00 – 1.49 นักเรียนมีความพึงพอใจอยูใ่ นระดับ น้อยทีส่ ุด หลังจากเรียนด้วยชุดกิจกรรม


การเรียนการสอนเรือ่ งกาหนดการเชิงเส้นโดยใช้โปรแกรม C.a.R. และ

วโิ ร
ทร
โปรแกรม Euler
นิ
นีคร
ศร

it y
สถิ ติที่ใช้ในการวิ เคราะห์ข้อมูล
ers
ลยั

1. สถิตพิ น้ื ฐาน ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลีย่ เลขคณิต และส่วนเบีย่ งเบนมาตรฐาน


ยา

n iv
tU

2. สถิตทิ ใ่ี ช้ในการตรวจสอบคุณภาพเครือ่ งมือทีใ่ ช้ในการทดลอง ได้แก่ ค่าความ


วทิ
หา

ir o

ยากง่าย (p) ค่าดัชนีความสอดคล้องของข้อสอบ (IOC) ค่าอานาจจาแนก (r) และค่าความเชื่อมัน่


งม

nw
ลา

ari

โดยใช้วธิ กี ารหาสัมประสิทธิ ์แอลฟา (α- Coefficient) ของครอนบัค (Cronbach)


ดุ ก

a kh

3. สถิตทิ ใ่ี ช้ในการทดสอบสมมติฐาน ได้แก่ สถิตทิ ดสอบ Z


สม

rin
หอ

yS
rar
นกั

L ib
สาํ

al
n tr
Ce
65

บทที่ 4
ผลการวิเคราะห์ข้อมูล

การวิจยั ครัง้ นี้มจี ดุ มุง่ หมายเพื่อศึกษาผลสัมฤทธิ ์ทางการเรียนเรือ่ งกาหนดการ


เชิงเส้น ของนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 3 และศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนทีม่ ตี ่อเนื้อหา
กาหนดการเชิงเส้น และการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ โดยใช้โปรแกรม C.a.R. และโปรแกรม Euler
หลังจากการเรียนด้วยชุดกิจกรรมการเรียนการสอนเรือ่ งกาหนดการเชิงเส้น โดยใช้โปรแกรม C.a.R.
และโปรแกรม Euler สาหรับนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 3 ผูว้ จิ ยั นาเสนอผลการวิเคราะห์ขอ้ มูล
การวิจยั โดยแบ่งตามจุดมุง่ หมายเป็น ลาดับ ดังนี้
1. การศึกษาผลสัมฤทธิ ์ทางการเรียนเรือ่ งกาหนดการเชิงเส้น ของนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษา


วโิ ร
ปีท่ี 3

ทร
1.1 ค่าร้อยละ ค่าเฉลีย่ เลขคณิต ส่วนเบีย่ งเบนมาตรฐาน ของคะแนนจากการทา
คร
นิ
ใบกิจกรรม ของนักเรียนกลุ่มตัวอย่างชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 3
นี
ศร

it y
ers
1.2 ค่าร้อยละ ค่าเฉลีย่ เลขคณิต ส่วนเบีย่ งเบนมาตรฐาน ของคะแนนจากแบบทดสอบ
ลยั
ยา

n iv
วัดผลสัมฤทธิ ์ทางการเรียนเรือ่ งกาหนดการเชิงเส้น ของนักเรียนกลุ่มตัวอย่างชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 3
tU
วทิ
หา

1.3 ค่าร้อยละ ค่าเฉลีย่ เลขคณิต ส่วนเบีย่ งเบนมาตรฐาน ของคะแนนผลสัมฤทธิ ์


ir o
งม

nw

ทางการเรียนเรือ่ งกาหนดการเชิงเส้น หลังจากเรียนโดยใช้ชุด กิจกรรมการเรียนการสอน เรือ่ ง


ลา

ari
ดุ ก

a kh

กาหนดการเชิงเส้นโดยใช้โปรแกรม C.a.R. และโปรแกรม Euler สาหรับนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษา


สม

rin

ปีท่ี 3 ของนักเรียนกลุ่มตัวอย่าง
หอ

yS

1.4 ค่าร้อยละของจานวนนักเรียนกลุ่มตัวอย่างชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 3 ทีไ่ ด้คะแนน


rar
นกั

L ib

ผลสัมฤทธิ ์ทางการเรียนเรือ่ งกาหนดการเชิงเส้น ตัง้ แต่รอ้ ยละ 60 ขึน้ ไป ของคะแนนเต็ม


สาํ

al

1.5 การทดสอบนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 3 หลังจากเรียนด้วยชุดกิจกรรมการเรียน


n tr
Ce

การสอนเรือ่ งกาหนดการเชิงเส้นทีม่ ผี ลสัมฤทธิ ์ทางการเรียนเรือ่ งกาหนดการเชิงเส้นผ่านเกณฑ์


มากกว่าร้อยละ 60 ขึน้ ไป ของจานวนนักเรียนทัง้ หมด
2. ศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนทีม่ ตี ่อเนื้อหากาหนดการเชิงเส้น และการจัดกิจกรรม
การเรียนรูโ้ ดยใช้โปรแกรม C.a.R. และโปรแกรม Euler
66

ผลการวิ เคราะห์ข้อมูล
ในการทาการวิจยั ครัง้ นี้ผวู้ จิ ยั ได้ทดลองกับนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 3 โรงเรียน
บ้านนาสาร อาเภอบ้านนาสาร จังหวัดสุราษฏร์ธานี จานวน 1 ห้องเรียน จานวน 41 คน โดยคะแนน
ผลสัมฤทธิ ์ทางการเรียนประกอบด้วย คะแนนจากใบกิจกรรม คะแนนเต็ม 30 คะแนน และคะแนน
จากแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ ์ทางการเรียนเรือ่ งกาหนดการเชิงเส้น คะแนนเต็ม 70 คะแนน ซึง่ เป็น
แบบปรนัย 20 ข้อ คะแนนเต็ม 40 คะแนน แบบอัตนัย 2 ข้อ คะแนนเต็ม 30 คะแนน และคะแนน
ความพึงพอใจของนักเรียนกลุ่มตัวอย่างทีม่ ตี ่อเนื้อหากาหนดการเชิงเส้น และการจัดกิจกรรมการ
เรียนรูโ้ ดยใช้โปรแกรม C.a.R. และโปรแกรม Euler หลังจากการเรียนด้วยชุดกิจกรรมการเรียนการ
สอนเรือ่ งกาหนดการเชิงเส้น โดยใช้โปรแกรม C.a.R. และโปรแกรม Euler ผลการวิเคราะห์ขอ้ มูล
ปรากฏผลดังต่อไปนี้


วโิ ร
ทร
1. การศึกษาผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนเรื่องกาหนดการเชิ งเส้นของนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษา
นิ
คร
ปี ที่ 3 ผูว้ จิ ยั ดาเนินการวิเคราะห์ขอ้ มูลดังนี้
นี
ศร

it y
1.1 ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ยเลขคณิ ต ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ของคะแนนจากการ
ers
ลยั
ยา

n iv
ทาใบกิ จกรรม ของนักเรียนกลุ่มตัวอย่างชัน้ มัธยมศึกษาปี ที่ 3 ผลการวิเคราะห์ขอ้ มูล
tU
วทิ

ปรากฏผลดังตาราง 4
หา

ir o
งม

nw
ลา

ari

ตาราง 4 ค่าร้อยละ ค่าเฉลีย่ เลขคณิต ส่วนเบีย่ งเบนมาตรฐาน ของคะแนนจากการทาใบกิจกรรม


ดุ ก

a kh
สม

เรือ่ งกาหนดการเชิงเส้น ของนักเรียนกลุ่มตัวอย่างชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 3


rin
หอ

yS
rar
นกั

ค่าเฉลีย่ ค่าเฉลีย่ เลขคณิต ส่วนเบีย่ งเบน


L ib
สาํ

คะแนน คะแนนเต็ม เลขคณิต คิดเป็นร้อยละ มาตรฐาน


al
n tr

(คะแนน) x  ของคะแนนเต็ม (S.D.)


Ce

คะแนนทีไ่ ด้จากการทา 30 25.45 84.83 1.92


ใบกิจกรรม

จากตาราง 4 แสดงให้เห็นว่า คะแนนทีไ่ ด้จากการทาใบกิจกรรมของนักเรียนกลุ่มตัวอย่าง


ชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 3 จานวน 41 คน มีค่าเฉลีย่ เลขคณิตเท่ากับ 25.45 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 84.83
ของคะแนนเต็ม และมีส่วนเบีย่ งเบนมาตรฐานเท่ากับ 1.92 คะแนน
67

1.2 ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ยเลขคณิ ต ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ของคะแนนจาก


แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนเรื่องกาหนดการเชิ งเส้น ของนักเรียนกลุ่มตัวอย่าง
ชัน้ มัธยมศึกษาปี ที่ 3 ผลการวิเคราะห์ขอ้ มูล ปรากฏผลดังตาราง 5

ตาราง 5 ค่าร้อยละ ค่าเฉลีย่ เลขคณิต ส่วนเบีย่ งเบนมาตรฐาน ของคะแนนจากแบบทดสอบวัด


ผลสัมฤทธิ ์ทางการเรียนเรือ่ งกาหนดการเชิงเส้น ของนักเรียนกลุ่มตัวอย่างชัน้ มัธยมศึกษา
ปีท่ี 3

คะแนนแบบทดสอบ คะแนนเต็ม ค่าเฉลีย่ ค่าเฉลีย่ เลขคณิต ส่วนเบีย่ งเบน


วัดผลสัมฤทธิ ์ทางการเรียน (คะแนน) เลขคณิต คิดเป็นร้อยละ มาตรฐาน
x  ของคะแนนเต็ม


(S.D.)

วโิ ร
ทร
- ตอนที่ 1 แบบปรนัย 40 25.29 63.23 7.01
นิ
คร
- ตอนที่ 2 แบบอัตนัย 30 21.59 71.97 5.51
นี
ศร

it y
คะแนนผลสัมฤทธิ ์ (รวม) 70 46.88 66.97 11.66
ers
ลยั
ยา

n iv
tU

จากตาราง 5 แสดงให้เห็นว่าคะแนนทีไ่ ด้จากการทาแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ ์ทางการ


วทิ
หา

ir o

เรียนเรื่องกาหนดการเชิงเส้น ของนักเรียนกลุ่มตัวอย่างชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 3 จานวน 41 คน


งม

nw
ลา

ari

คะแนนเต็ม 70 คะแนน มีค่าเฉลีย่ เลขคณิตเท่ากับ 46.88 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 66.97 ของคะแนน


ดุ ก

a kh

เต็ม และมีส่วนเบีย่ งเบนมาตรฐานเท่ากับ 11.66 คะแนน ซึง่ แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ ์ทางการเรียน


สม

rin
หอ

yS

เรือ่ งกาหนดการเชิงเส้นแบ่งเป็น 2 ตอน ได้แก่ ตอนที่ 1 แบบปรนัย คะแนนเต็ม 40 คะแนน


rar
นกั

มีค่าเฉลีย่ เลขคณิต เท่ากับ 25.29 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 63.23 ของคะแนนเต็ม และมีส่วน


L ib
สาํ

เบีย่ งเบนมาตรฐานเท่ากับ 7.01 คะแนน ตอนที่ 2 แบบอัตนัย คะแนนเต็ม 30 คะแนน มีค่าเฉลีย่ เลข
al
n tr

คณิตเท่ากับ 21.59 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 71.97 ของคะแนนเต็ม และมีส่วนเบีย่ งเบนมาตรฐาน


Ce

เท่ากับ 5.51 คะแนน

1.3 ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ยเลขคณิ ต ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ของคะแนน


ผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนเรื่องกาหนดการเชิ งเส้น หลังจากเรียนด้วยชุดกิ จกรรมการเรียน
การสอนเรื่องกาหนดการเชิ งเส้น โดยใช้โปรแกรม C.a.R. และโปรแกรม Euler ของนักเรียน
กลุ่มตัวอย่างชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 3 ผลการวิเคราะห์ขอ้ มูล ปรากฏผลดังตาราง 6
68

ตาราง 6 ค่าร้อยละ ค่าเฉลีย่ เลขคณิต ส่วนเบีย่ งเบนมาตรฐาน ของคะแนนผลสัมฤทธิ ์ทางการเรียน


เรือ่ งกาหนดการเชิงเส้นหลังจากเรียนด้วยชุดกิจกรรมการเรียนการสอน เรือ่ งกาหนดการเชิงเส้น
โดยใช้โปรแกรม C.a.R. และโปรแกรม Euler ของนักเรียนกลุ่มตัวอย่างชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 3

คะแนนเต็ม ค่าเฉลีย่ ค่าเฉลีย่ เลขคณิต ส่วนเบีย่ งเบน


คะแนน (คะแนน) เลขคณิต คิดเป็นร้อยละของ มาตรฐาน
x  คะแนนเต็ม (S.D.)
- คะแนนจากใบกิจกรรม 30 25.45 84.83 1.92
- คะแนนจากแบบทดสอบ 70 46.88 66.97 11.66
วัดผลสัมฤทธิ ์ทางการเรียน


คะแนนผลสัมฤทธิ ์ (รวม) 100 72.33 72.33 11.33

วโิ ร
นิ ทร
คร
จากตาราง 6 แสดงให้เห็นว่า คะแนนผลสัมฤทธิ ์ทางการเรียนเรือ่ งกาหนดการเชิงเส้น
นี
ศร

ของนักเรียนกลุ่มตัวอย่างชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 3 จานวน 41 คน คะแนนเต็ม 100 คะแนน

it y
ers
ลยั

มีค่าเฉลีย่ เลขคณิต เท่ากับ 72.33 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 72.33 ของคะแนนเต็ม และมีส่วน


ยา

n iv
เบีย่ งเบนมาตรฐาน เท่ากับ 11.33 คะแนน
tU
วทิ
หา

ir o
งม

nw

1.4 ค่าร้อยละของจานวนนักเรียนกลุ่มตัวอย่างชัน้ มัธยมศึกษาปี ที่ 3 ที่ได้คะแนน


ลา

ari
ดุ ก

a kh

ผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนเรื่องกาหนดการเชิ งเส้น ตัง้ แต่ร้อยละ 60 ขึ้นไป ของคะแนนเต็ม


สม

rin
หอ

ผลการวิเคราะห์ขอ้ มูล ปรากฏผลดังตาราง 7


yS
rar
นกั

L ib
สาํ

ตาราง 7 ค่าร้อยละของจานวนนักเรียนกลุ่มตัวอย่างชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 3 ทีไ่ ด้คะแนนผลสัมฤทธิ ์


al
n tr

ทางการเรียนเรือ่ งกาหนดการเชิงเส้น ตัง้ แต่รอ้ ยละ 60 ขึน้ ไปของคะแนนเต็ม


Ce

จานวน จานวนนักเรียนทีไ่ ด้ ค่าร้อยละของจานวน


กลุ่มตัวอย่าง นักเรียน คะแนนตัง้ แต่รอ้ ยละ 60 นักเรียนทีไ่ ด้คะแนน
(คน) ขึน้ ไปของคะแนนเต็ม ตัง้ แต่รอ้ ยละ 60 ขึน้ ไป
ของคะแนนเต็ม
นักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปีท่3ี 41 33 80.49

จากตาราง 7 พบว่า นักเรียนกลุ่มตัวอย่างชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 3 จานวน 41 คน ทีไ่ ด้


คะแนนตัง้ แต่รอ้ ยละ 60 ขึน้ ไป ของคะแนนเต็ม มีจานวน 33 คน คิดเป็นร้อยละ 80.49 ของจานวน
นักเรียนทัง้ หมด
69

1.5 การทดสอบนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปี ที่ 3 หลังจากเรียนด้วยชุดกิ จกรรม


การเรียนการสอนเรื่องกาหนดการเชิ งเส้น โดยใช้โปรแกรม C.a.R. และโปรแกรม Euler
ที่มีผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนเรื่องกาหนดการเชิ งเส้นผ่านเกณฑ์มากกว่าร้อยละ 60 ขึ้นไป
ของจานวนนักเรียนทัง้ หมด โดยใช้สถิตทิ ดสอบ Z ผลการวิเคราะห์ขอ้ มูล ปรากฏผลดังตาราง 8

ตาราง 8 การทดสอบนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 3 หลังจากเรียนด้วยชุดกิจกรรมการเรียนการสอน


เรือ่ งกาหนดการเชิงเส้นทีม่ ผี ลสัมฤทธิ ์ทางการเรียนเรือ่ งกาหนดการเชิงเส้น ทีผ่ ่านเกณฑ์
มากกว่าร้อยละ 60 ขึน้ ไปของจานวนนักเรียนทัง้ หมด โดยใช้สถิตทิ ดสอบ Z

กลุ่มตัวอย่าง จานวน จานวนนักเรียนทีไ่ ด้ สถิตทิ ดสอบ ค่าวิกฤต


นักเรียน คะแนนตัง้ แต่รอ้ ยละ 60 Z

วโิ ร
ทร
(คน) ขึน้ ไปของคะแนนเต็ม
นิ
คร
นักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 3 41 33 2.75* 1.645
นี
ศร

it y
* ทีร่ ะดับนัยสาคัญ .05
ers
ลยั
ยา

n iv
tU

จากตาราง 8 พบว่า นักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 3 หลังจากเรียนด้วยชุดกิจกรรมการเรียน


วทิ
หา

ir o

การสอนเรือ่ งกาหนดการเชิงเส้น โดยใช้โปรแกรม C.a.R. และโปรแกรม Euler ทีม่ ผี ลสัมฤทธิ ์ทาง


งม

nw
ลา

ari

การเรียนเรือ่ งกาหนดการเชิงเส้นผ่านเกณฑ์เป็นจานวนมากกว่าร้อยละ 60 ของจานวนนักเรียน


ดุ ก

a kh

ทัง้ หมด ทีร่ ะดับนัยสาคัญ .05


สม

rin
หอ

yS
rar

2. ศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อเนื้ อหากาหนดการเชิ งเส้น และการจัดกิ จกรรม


นกั

L ib
สาํ

การเรียนรู้โดยใช้โปรแกรม C.a.R. และโปรแกรม Euler


al
n tr

การประเมินความพึงพอใจของนักเรียนทีม่ ตี ่อเนื้อหากาหนดการเชิงเส้น และการจัด


Ce

กิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้โปรแกรม C.a.R. และโปรแกรม Euler หลังจากการเรียนด้วยชุดกิจกรรม


การเรียนการสอนเรือ่ งกาหนดการเชิงเส้นโดยใช้โปรแกรม C.a.R. และโปรแกรม Euler ของนักเรียน
กลุ่มตัวอย่าง ปรากฏผลดังตาราง 9
70

ตาราง 9 ค่าเฉลีย่ เลขคณิต ส่วนเบีย่ งเบนมาตรฐานและระดับความพึงพอใจของนักเรียนทีม่ ตี ่อ


เนื้อหากาหนดการเชิงเส้น และการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้โปรแกรม C.a.R. และ
โปรแกรม Euler

ตอนที่ 1 ความพึงพอใจต่อเนื้อหาเรือ่ งกาหนดการเชิงเส้น

ข้อความ x S.D. แปล


ผล
1. เมือ่ นักเรียนเรียนเนื้อหาเรือ่ งกาหนดการเชิงเส้น แล้วนักเรียนมี 4.24 0.49 มาก
ความสุข สนุกสนาน


2. เมือ่ นักเรียนเรียนเนื้อหาเรือ่ งกาหนดการเชิงเส้น แล้วทาให้นกั เรียน 3.88 0.56 มาก

วโิ ร
ทร
ตัดสินใจได้อย่างมีเหตุผล
นิ
คร
3. เมือ่ นักเรียนเรียนเนื้อหาเรือ่ งกาหนดการเชิงเส้น แล้วทาให้นกั เรียน 3.95 0.63 มาก
นี
ศร

คิดและทางานอย่างมีระบบ

it y
ers
ลยั

4. เมือ่ นักเรียนเรียนเนื้อหาเรือ่ งกาหนดการเชิงเส้น แล้วทาให้นกั เรียน 3.88 0.60 มาก


ยา

n iv
เห็นคุณค่าของคณิตศาสตร์มากขึน้
tU
วทิ
หา

ir o

5. นักเรียนสามารถนาความรูเ้ กีย่ วกับ กาหนดการเชิงเส้นไปใช้ใน 4.24 0.73 มาก


งม

nw
ลา

ชีวติ ประจาวันได้
ari
ดุ ก

a kh

6. ภาษาและสัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ในเนื้อหากาหนดการเชิงเส้น 3.85 0.62 มาก


สม

rin
หอ

อ่านแล้วเข้าใจง่ายและไม่สบั สน
yS
rar

7. นักเรียนสามารถทาใบกิจกรรม เกีย่ วกับเนื้อหาเรือ่ งกาหนดการ 3.98 0.61 มาก


นกั

L ib
สาํ

เชิงเส้นได้ดว้ ยตนเอง
al
n tr

8. นักเรียนสามารถทาการแก้โจทย์ปญั หาของกาหนดการเชิงเส้นได้ 3.85 0.69 มาก


Ce

ด้วยตนเอง
9. การเรียนเรือ่ งกาหนดการเชิงเส้นทาให้นกั เรียนเข้าใจเนื้อหาเรือ่ ง 3.98 0.65 มาก
สมการและอสมการมากขึน้
10. กาหนดการเชิงเส้นเป็นเนื้อหาทีน่ ่าสนใจ 4.00 0.59 มาก
รวม 3.99 0.40 มาก
71

ตาราง 9 (ต่อ)
ตอนที่ 2 ความพึงพอใจต่อการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้โปรแกรม C.a.R. และโปรแกรม Euler

ข้อความ x S.D. แปลผล


11. การจัดกิจกรรมการเรียนรูเ้ รือ่ งกาหนดการเชิงเส้นโดยใช้โปรแกรม 4.05 0.63 มาก
C.a.R. และโปรแกรม Euler ทาให้นกั เรียนมีความเข้าใจเนื้อหา
มากยิง่ ขึน้
12. การจัดกิจกรรมการเรียนรูเ้ รือ่ งกาหนดการเชิงเส้ นโดยใช้โปรแกรม 3.95 0.67 มาก
C.a.R. และโปรแกรม Euler ทาให้นกั เรียนสามารถสรุป แนวคิดที่
สาคัญได้สะดวกมากขึน้


13. การจัดกิจกรรมการเรียนรูเ้ รือ่ งกาหนดการเชิงเส้นโดยใช้โปรแกรม 4.05 0.49 มาก

วโิ ร
C.a.R. และโปรแกรม Euler กระตุน้ ให้นกั เรียนเกิดการแสวงหา
ความรูด้ ว้ ยตนเอง นิทร
คร
14. การจัดกิจกรรมการเรียนรูเ้ รือ่ งกาหนดการเชิงเส้นโดยใช้โปรแกรม 3.98 0.72 มาก
นี
ศร

it y
C.a.R. และโปรแกรม Euler ทาให้นกั เรียนมีความกระตือรือร้น ers
ลยั
ยา

n iv
และสนุกกับการเรียนมากขึน้
tU
วทิ
หา

ir o

15. การจัดกิจกรรมการเรียนรูเ้ รือ่ งกาหนดการเชิงเส้นโดยใช้โปรแกรม 4.00 0.71 มาก


งม

nw

C.a.R. และโปรแกรม Euler ทาให้นกั เรียนมีโอกาสแลกเปลีย่ น


ลา

ari
ดุ ก

a kh

ความคิดเห็นกับเพื่อนมากขึน้
สม

rin

16. การจัดกิจกรรมการเรียนรูเ้ รือ่ งกาหนดการเชิงเส้นโดยใช้โปรแกรม 4.05 0.55 มาก


หอ

yS

C.a.R. และโปรแกรม Euler ทาให้นกั เรียนมีความมันใจในตั


่ วเอง
rar
นกั

L ib
สาํ

เกีย่ วกับการเรียนมากขึน้
al

17. การจัดกิจกรรมการเรียนรูเ้ รือ่ งกาหนดการเชิงเส้นโดยใช้โปรแกรม 3.85 0.57 มาก


n tr
Ce

C.a.R. และโปรแกรม Euler ช่วยฝึกทักษะการคิดคานวณ และ


มีความละเอียดรอบคอบ
18. การจัดกิจกรรมการเรียนรูเ้ รือ่ งกาหนดการเชิงเส้นโดยใช้โปรแกรม 4.05 0.59 มาก
C.a.R. และโปรแกรม Euler มีความหลากหลาย ชวนให้คดิ และ
ไม่น่าเบื่อ
19. การจัดกิจกรรมการเรียนรูเ้ รือ่ งกาหนดการเชิงเส้นโดยใช้ โปรแกรม 4.00 0.59 มาก
C.a.R. และโปรแกรม Euler ทาให้นกั เรียนมีกาลังใจ และตัง้ ใจ
เรียนมากขึน้
20. ทาให้นกั เรียนมีเจตคติทด่ี ีต่อการเรียนคณิตศาสตร์ 4.00 0.59 มาก
รวม 4.00 0.37 มาก
72

จากตาราง 9 แสดงให้เห็นว่าคะแนนระดับความพึงพอใจของนักเรียนกลุ่มตัวอย่างต่อ
ข้อคาถามทัง้ หมด นักเรียนมีความคิดเห็นอยูใ่ นระดับมาก และเมือ่ พิจารณาคะแนนเฉลีย่ ของความ
พึงพอใจของนักเรียนกลุ่มตัวอย่างทีม่ ตี ่อเนื้อหากาหนดการเชิงเส้น มีค่าเท่ากับ 3.99 และพิจารณา
คะแนนเฉลีย่ ของความพึงพอใจของนักเรียนกลุ่มตัวอย่างทีม่ ตี ่อการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้
โปรแกรม C.a.R. และโปรแกรม Euler มีค่าเท่ากับ 4.00 แสดงว่านักเรียนกลุ่มตัวอย่างมีความ
พึงพอใจต่อเนื้อหากาหนดการเชิงเส้น และการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ โดยใช้โปรแกรม C.a.R. และ
โปรแกรม Euler หลังจากเรียนเรือ่ งกาหนดการเชิงเส้น ด้วยชุดกิจกรรมการเรียนการสอนเรือ่ ง
กาหนดการเชิงเส้นโดยใช้โปรแกรม C.a.R. และโปรแกรม Euler อยูใ่ นระดับมาก


วโิ ร
ทร
นิ
นีคร
ศร

it y
ers
ลยั
ยา

n iv
tU
วทิ
หา

ir o
งม

nw
ลา

ari
ดุ ก

a kh
สม

rin
หอ

yS
rar
นกั

L ib
สาํ

al
n tr
Ce
73

บทที่ 5
สรุปผล อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ

จุดมุ่งหมายของการวิ จยั สมมติ ฐานของการวิ จยั และวิ ธีดาเนิ นการวิ จยั


จุดมุ่งหมายของการวิ จยั
1. เพื่อศึกษาผลสัมฤทธิ ์ทางการเรียนเรือ่ งกาหนดการเชิงเส้นของนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษา
ปีท่ี 3 ทีเ่ รียนด้วยชุดกิจกรรมการเรียนการสอนเรือ่ งกาหนดการเชิงเส้นโดยใช้โปรแกรม C.a.R.
และโปรแกรม Euler
2. เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 3 ทีม่ ตี ่อเนื้อหากาหนดการ


วโิ ร
เชิงเส้น และการจัดกิจกรรมการเรียนรูโ้ ดยใช้โปรแกรม C.a.R. และโปรแกรม Euler

สมมติ ฐานของการวิ จยั นิทร


นีคร
ศร

นักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 3 ทีเ่ รียนด้วยชุดกิจกรรมการเรียนการสอนเรือ่ งกาหนดการ

it y
ers
ลยั

เชิงเส้นโดยใช้โปรแกรม C.a.R. และโปรแกรม Euler สามารถสอบผ่านเกณฑ์ได้มากกว่าร้อยละ 60


ยา

n iv
ของจานวนนักเรียนทัง้ หมด
tU
วทิ
หา

ir o
งม

nw

วิ ธีดาเนิ นการวิ จยั


ลา

ari

กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิ จยั
ดุ ก

a kh
สม

rin

กลุ่มตัวอย่างทีใ่ ช้ในการวิจยั ครัง้ นี้เป็นนักเรียนระดับชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 3


หอ

yS

ภาคเรียนที่ 2 โรงเรียนบ้านนาสาร อาเภอบ้านนาสาร จังหวัดสุราษฏร์ธานี จานวน 1 ห้องเรียน


rar
นกั

L ib

จานวน 41 คน จากจานวนนักเรียนทัง้ หมด 9 ห้องเรียน จานวน 352 คน โดยสุ่มตัวอย่างแบบ


สาํ

al

เกาะกลุ่ม โดยจัดห้องเรียนแบบคละความสามารถของนักเรียนทีม่ ผี ลการเรียนระดับเก่ง ปานกลาง


n tr
Ce

และอ่อนอยูใ่ นห้องเดียวกัน

เครื่องมือที่ใช้ในการวิ จยั
เครือ่ งมือทีใ่ ช้ในการวิจยั ครัง้ นี้ ประกอบด้วย
1. ชุดกิจกรรมการเรียนการสอนเรือ่ งกาหนดการเชิงเส้น โดยใช้โปรแกรม C.a.R.
และโปรแกรม Euler สาหรับนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 3 ทีผ่ วู้ จิ ยั สร้างขึน้ ซึง่ ผ่านการตรวจสอบ
จากผูเ้ ชีย่ วชาญ และผ่านการทดลองใช้เครือ่ งมือกับกลุ่มนาร่อง
2. แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ ์ทางการเรียนเรือ่ งกาหนดการเชิงเส้น สาหรับนักเรียน
ชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 3 ทีผ่ วู้ จิ ยั สร้างขึน้ ซึง่ ผ่านการตรวจสอบจากผู้เชีย่ วชาญ และผ่านการทดลองใช้
เครือ่ งมือกับกลุ่มนาร่อง
74

3. แบบสอบถามวัดความพึงพอใจของนักเรียนทีม่ ตี ่อเนื้อหากาหนดการเชิงเส้น
และการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ โดยใช้โปรแกรม C.a.R. และโปรแกรม Euler ทีผ่ วู้ จิ ยั สร้างขึน้ ซึง่ ผ่าน
การตรวจสอบจากผูเ้ ชีย่ วชาญ และผ่านการทดลองใช้เครือ่ งมือกับกลุ่มนาร่อง
การเก็บรวบรวมข้อมูล
1. ผูว้ จิ ยั สอนนักเรียนกลุ่มตัวอย่างจานวน 1 ห้องเรียน นักเรียน 41 คน ด้วย
ชุดกิจกรรมการเรียนการสอนเรือ่ งกาหนดการเชิงเส้น โดยใช้โปรแกรม C.a.R. และโปรแกรม Euler
สาหรับนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 3 ซึง่ แบ่งเนื้อหาตามหน่วยการเรียนดังนี้
1.1 หน่วยการเรียนที่ 1 ความรูเ้ บือ้ งต้นของกาหนดการเชิงเส้น
1.2 หน่วยการเรียนที่ 2 การแก้ปญั หากาหนดการเชิงเส้นโดยวิธกี ราฟ
ในส่วนของการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ มีใบกิจกรรมให้นกั เรียนปฏิบตั ิในแต่ละหน่วย


วโิ ร
การเรียน ผูว้ จิ ยั จะนาใบกิจกรรมไปตรวจให้คะแนนทุกครัง้ เพื่อเป็นส่วนหนึ่งของการประเมิน

ทร
ผลสัมฤทธิ ์ทางการเรียน คร
นิ
2. เมือ่ นักเรียนปฏิบตั กิ จิ กรรมในชุดกิจกรรมการเรียนการสอนเรือ่ งกาหนดการ
นี
ศร

it y
ers
เชิงเส้นโดยใช้โปรแกรม C.a.R. และโปรแกรม Euler สาหรับนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 3 เสร็จแล้ว
ลยั
ยา

n iv
ผูว้ จิ ยั ดาเนินการดังนี้
tU
วทิ
หา

2.1 ให้นกั เรียนกลุ่มตัวอย่างทาแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ ์ทางการเรียนเรือ่ ง


ir o
งม

nw

กาหนดการเชิงเส้น สาหรับนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 3 แบบทดสอบมี 2 ตอน ประกอบด้วย


ลา

ari

ตอนที่ 1 แบบปรนัยจานวน 20 ข้อ ตอนที่ 2 แบบอัตนัยจานวน 2 ข้อ ใช้เวลาในการทดสอบ 2 คาบ


ดุ ก

a kh
สม

rin

2.2 ให้นกั เรียนกลุ่มตัวอย่างตอบแบบสอบถามวัดความพึงพอใจของนักเรียน


หอ

yS

ทีม่ ตี ่อเนื้อหากาหนดการเชิงเส้น และการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ โดยใช้โปรแกรม C.a.R. และ


rar
นกั

โปรแกรม Euler จานวน 20 ข้อ ใช้เวลา 20 นาที


L ib
สาํ

al
n tr

การวิ เคราะห์ข้อมูล
Ce

ผูว้ จิ ยั ดาเนินการวิเคราะห์ขอ้ มูลดังต่อไปนี้


1. หาค่าร้อยละ ค่าเฉลีย่ เลขคณิต ส่วนเบีย่ งเบนมาตรฐาน ของคะแนนจากการทา
ใบกิจกรรมแบบรายบุคคล ของนักเรียนกลุ่มตัวอย่างชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 3
2. หาค่าร้อยละ ค่าเฉลีย่ เลขคณิต และส่วนเบีย่ งเบนมาตรฐาน ของคะแนนจากการ
ทาแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ ์ทางการเรียนของนักเรียนกลุ่มตัวอย่างชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 3 ในการ
เรียนเรือ่ งกาหนดการเชิงเส้นโดยใช้โปรแกรม C.a.R. และโปรแกรม Euler
3. หาค่าร้อยละ ค่าเฉลีย่ เลขคณิต และส่วนเบีย่ งเบนมาตรฐาน ของคะแนน
ผลสัมฤทธิ ์ทางการเรียนของนักเรียนกลุ่มตัวอย่างชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 3 ในการเรียนเรือ่ งกาหนดการ
เชิงเส้น
75

4. หาค่าร้อยละของจานวนนักเรียนกลุ่มตัวอย่างชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 3 ทีไ่ ด้คะแนน


ผลสัมฤทธิ ์ทางการเรียนเรือ่ งกาหนดการเชิงเส้น ตัง้ แต่รอ้ ยละ 60 ขึน้ ไปของคะแนนเต็ม
5. ทดสอบนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 3 หลังจากเรียนด้วยชุดกิจกรรมการเรียน
การสอนเรือ่ งกาหนดการเชิงเส้น โดยใช้โปรแกรม C.a.R. และโปรแกรม Euler ทีม่ ผี ลสัมฤทธิ ์
ทางการเรียนเรือ่ งกาหนดการเชิงเส้นผ่านเกณฑ์มากกว่าร้อยละ 60 ขึน้ ไป ของจานวนนักเรียน
ทัง้ หมด
6. ประเมินความพึงพอใจทีม่ ตี ่อเนื้อหากาหนดการเชิงเส้น และการจัดกิจกรรมการ
เรียนรูโ้ ดยใช้โปรแกรม C.a.R. และโปรแกรม Euler ของนักเรียนกลุ่มตัวอย่าง

สรุปผลการวิ จยั


1. คะแนนทีไ่ ด้จากใบกิจกรรมของนักเรียนกลุ่มตัวอย่างชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 3 จานวน

วโิ ร
41 คน มีค่าเฉลีย่ เลขคณิตเป็น 25.45 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 84.83 ของคะแนนเต็ม และมีส่วน
เบีย่ งเบนมาตรฐานของคะแนนเป็น 1.92 คะแนน ทร
นิ
คร
2. คะแนนจากการทาแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ ์ทางการเรียนของนักเรียนกลุ่มตัวอย่าง
นี
ศร

it y
ers
ลยั

ชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 3 ในการเรียนเรือ่ งกาหนดการเชิงเส้น จานวน 41 คน มีค่าเฉลีย่ เลขคณิตเป็น


ยา

n iv
46.88 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 66.97 ของคะแนนเต็ม และมีส่วนเบีย่ งเบนมาตรฐานของคะแนนเป็น
tU
วทิ
หา

ir o

11.66 คะแนน
งม

nw

3. คะแนนผลสัมฤทธิ ์ทางการเรียนของนักเรียนกลุ่มตัวอย่างชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 3 ในการ


ลา

ari
ดุ ก

a kh

เรียนเรือ่ งกาหนดการเชิงเส้น จานวน 41 คน มีค่าเฉลีย่ เลขคณิตเป็น 72.33 คะแนน คิดเป็นร้อยละ


สม

rin

72.33 ของคะแนนเต็ม และมีส่วนเบีย่ งเบนมาตรฐานของคะแนนเป็น 11.33 คะแนน


หอ

yS

4. นักเรียนกลุ่มตัวอย่างชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 3 ทีไ่ ด้คะแนนตัง้ แต่รอ้ ยละ 60 ขึน้ ไปของ


rar
นกั

L ib
สาํ

คะแนนเต็ม มีจานวน 33 คน คิดเป็นร้อยละ 80.49 ของจานวนนักเรียนทีเ่ ป็นกลุ่มตัวอย่างทัง้ หมด


al

5. นักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 3 ทีส่ อบผ่านเกณฑ์การเรียนเรือ่ งกาหนดการเชิงเส้น


n tr
Ce

มีจานวนมากกว่าร้อยละ 60 ของจานวนนักเรียนทัง้ หมด ทีร่ ะดับนัยสาคัญ .05 ดังนัน้ จึงสรุปได้ว่า


นักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 3 มีความสามารถในการเรียนเรือ่ งกาหนดการเชิงเส้นด้วยชุดกิจกรรม
การเรียนการสอนเรือ่ งกาหนดการเชิงเส้นโดยใช้โปรแกรม C.a.R. และโปรแกรม Euler ทีผ่ วู้ จิ ยั
สร้างขึน้
6. ความพึงพอใจของนักเรียนกลุ่มตัวอย่างทีม่ ตี ่อเนื้อหากาหนดการเชิงเส้น และการจัด
กิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้โปรแกรม C.a.R. และโปรแกรม Euler ทัง้ ฉบับ ซึง่ ประเมินจากคะแนน
เฉลีย่ ทัง้ ฉบับของแบบวัดความพึงพอใจ พบว่า นักเรียนกลุ่มตัวอย่างมีความพึงพอใจต่อเนื้อหา
กาหนดการเชิงเส้น และการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ โดยใช้โปรแกรม C.a.R. และโปรแกรม Euler
หลังจากเรียนเรือ่ งกาหนดการเชิงเส้นด้วยชุดกิจกรรมการเรียนการสอนเรือ่ งกาหนดการเชิงเส้น
โดยใช้โปรแกรม C.a.R. และโปรแกรม Euler อยูใ่ นระดับมาก
76

อภิ ปรายผล
1. จากผลการวิจยั พบว่า นักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 3 ทีส่ อบผ่านเกณฑ์การเรียนเรือ่ ง
กาหนดการเชิงเส้นมีจานวนมากกว่าร้อยละ 60 ของจานวนนักเรียนทัง้ หมด ทีร่ ะดับนัยสาคัญ .05
จึงสรุปได้ว่า นักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 3 มีความสามารถในการเรียนเรือ่ งกาหนดการเชิงเส้น
ด้วยชุดกิจกรรมการเรียนการสอนเรือ่ งกาหนดการเชิงเส้นโดยใช้โปรแกรม C.a.R. และโปรแกรม
Euler ทีผ่ วู้ จิ ยั สร้างขึน้ อาจเนื่องจากการจัดการเรียนการสอนกาหนดเชิงเส้นในครัง้ นี้ เป็นการ
ศึกษากาหนดการเชิงเส้นด้วยวิธกี ราฟโดยได้อาศัยพืน้ ฐานความรูเ้ รือ่ งสมการ อสมการและกราฟ
ซึง่ นักเรียนในระดับชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 3 ได้เรียนมาแล้ว จึงทาให้นกั เรียนสามารถเรียนรูเ้ นื้อหา
กาหนดการเชิงเส้นด้วยกราฟได้งา่ ยขึน้ รวมทัง้ ผูว้ จิ ยั ได้สร้างชุดกิจกรรมการเรียนการสอนสาหรับ
ใช้ประกอบการเรียนการสอนเรือ่ งกาหนดการเชิงเส้น ประกอบด้วยบทเรียนทีเ่ รียบเรียงเนื้อหา


วโิ ร
กาหนดการเชิงเส้นให้เหมาะสมกับวัยของผูเ้ รียน โดยในแต่ละหน่วยการเรียนรูท้ ผ่ี วู้ จิ ยั สร้างขึน้

ทร
ประกอบด้วย เนื้อหา ตัวอย่างและใบกิจกรรม สาหรับให้นกั เรียนได้ศกึ ษาและลงมือปฏิบตั ไิ ปพร้อม
นิ
คร
กับผูว้ จิ ยั รวมทัง้ มีกจิ กรรมสร้างโดยโปรแกรม C.a.R. และโปรแกรม Euler ทีจ่ ะช่วยให้นกั เรียน
นี
ศร

it y
สามารถเรียนรูเ้ นื้อหากาหนดการเชิงเส้นได้รวดเร็วขึน้ จากการทีน่ กั เรียนได้ลงมือปฏิบตั ดิ ว้ ยการ
ers
ลยั

สารวจ สังเกต และสรุปแนวคิดทีส่ าคัญของกาหนดการเชิงเส้น ซึง่ สอดคล้องกับแนวการจัดการเรียน


ยา

n iv
tU
วทิ

การสอนของบรูเนอร์ (Bruner. 1963) ทีใ่ ห้นกั เรียนค้นพบหรือสรุปกฎเกณฑ์ต่างๆ ด้วยตนเอง


หา

ir o
งม

โดยจัดเนื้อหาให้มคี วามสัมพันธ์ต่อเนื่องกันไปเรือ่ ยๆ มีความลึกซึง้ ซับซ้อนและกว้างขวางออกไป


nw
ลา

ari

ตามประสบการณ์ของนักเรียน และเชื่อว่าครูสามารถสอนวิชาใดๆ ให้แก่นกั เรียนระดับใดก็ได้แต่


ดุ ก

a kh

ต้องปรับปรุงเนื้อหาและวิธสี อนให้เหมาะสมกับสติปญั ญาของนักเรีย นในระดับนัน้ ๆ เสียก่อน


สม

rin
หอ

yS

จะเห็นได้ว่า การจัดการเรียนการสอนเรือ่ งกาหนดการเชิงเส้นสาหรับนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 3


rar
นกั

โดยใช้โปรแกรม C.a.R. และโปรแกรม Euler เป็นสื่อประกอบการเรียนการสอน ทาให้นกั เรียนมี


L ib
สาํ

ความสามารถในการเรียนเรือ่ งกาหนดการเชิงเส้น ซึง่ สอดคล้องกับผลการวิจยั ของ วิฑรู ย์ แสงทอง


al
n tr

(2548) พบว่า นักเรียนในระดับมัธยมศึกษาปีท่ี 3 มีความสามารถในการเรือ่ งกาหนดการเชิงเส้น


Ce

2. จากการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนเรือ่ งกาหนดการเชิงเส้นโดยใช้โปรแกรม C.a.R.


และโปรแกรม Euler ประกอบการเรียนการสอน พบว่า โปรแกรม C.a.R. ทาให้นกั เรียนสามารถ
มองเห็นภาพกราฟอสมการเชิงเส้น และกราฟระบบอสมการเชิงเส้นได้อย่างถูกต้อง รวมทัง้ ทาให้
นักเรียนเข้าใจแนวคิดทีส่ าคัญของกาหนดการเชิงเส้นได้อย่างเป็นรูปธรรมมากขึน้ โดยเฉพาะอย่าง
ยิง่ การให้นกั เรียนได้ทาการสารวจ สังเกต จากการเลื่อนเส้นสมการจุดประสงค เพื่อหาข้อสรุปทีว่ ่า
ผลเฉลยของกาหนดการเชิงเส้นอยูท่ จ่ี ดุ มุม ซึง่ การทีน่ กั เรียนได้ลงมือปฏิบตั ดิ ว้ ยตนเองส่งผลให้
นักเรียนเกิดความสนใจในการเรียนและเข้าใจแนวคิดของกาหนดการเชิงเส้น ซึง่ สอดคล้องกับผล
การศึกษาของวรวรรณ กฤตยากรนุพงศ์ (2551) และปุณยพล จันทร์ฝอย (2551) นอกจากนี้ผวู้ จิ ยั
พบว่า โปรแกรม Euler ทาให้นกั เรียนสามารถทาแบบฝึกหัดของกาหนดการเชิงเส้นได้ เพิม่ ขึน้
77

ซึง่ ทาให้นกั เรียนเกิดทักษะและความชานาญในกระบวนการแก้ปญั หาของกาหนดการเชิงเส้น


รวมทัง้ ทาให้นกั เรียนมีความเชื่อมันในการเรี
่ ยนและสามารถเรียนรูเ้ นื้อหาได้มากยิง่ ขึ้น ซึง่ สอดคล้อง
กับผลการศึกษาของกมล เอกไทยเจริญ (2545), ชาญชัย สุกใส (2543), ทิวาพร ขันผนึก (2546),
เพอเจซี (Perjési. 2003) และสมิธ (Smith. 1991)
3. ผลการศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนทีม่ ตี ่อเนื้อหากาหนดการเชิงเส้น และการจัด
กิจกรรมการเรียนรูโ้ ดยใช้โปรแกรม C.a.R. และโปรแกรม Euler หลังจากเรียนเรือ่ งกาหนดการ
เชิงเส้นด้วยชุดกิจกรรมการเรียนการสอนเรือ่ งกาหนดการเชิงเส้นโดยใช้โปรแกรม C.a.R. และ
โปรแกรม Euler ของนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 3 ทีเ่ ป็นกลุ่มตัวอย่าง พบว่า นักเรียนกลุ่มตัวอย่าง
มีความพึงพอใจต่อเนื้อหากาหนดการเชิงเส้น และการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ โดยใช้โปรแกรม C.a.R.
และโปรแกรม Euler หลังจากเรียนเรือ่ งกาหนดการเชิงเส้นด้วยชุดกิจกรรมการเรียนการสอนเรือ่ ง


กาหนดการเชิงเส้นโดยใช้โปรแกรม C.a.R. และโปรแกรม Euler อยูใ่ นระดับมาก เนื่องมาจาก

วโิ ร
นักเรียนสามารถเรียนรูไ้ ด้ดว้ ยตนเองโดยการปฏิบตั ติ ามกิจกรรมทีผ่ วู้ จิ ยั สร้างขึน้ และนักเรียนได้ทา
ทร
การสารวจและสังเกตแนวคิดทีส่ าคัญของกาหนดการเชิงเส้น รวมทัง้ มีโปรแกรมช่วยอานวยความ
นิ
คร
สะดวกในการคิดคานวณและสามารถตรวจคาตอบหลังจากการทากิจกรรม จึงทาให้นกั เรียนมีความ
นี
ศร

it y
เข้าใจเนื้อหามากยิง่ ขึน้ และรูส้ กึ สนุกกับการเรียนมากขึน้ ers
ลยั
ยา

n iv
tU
วทิ
หา

ข้อสังเกตที่ได้จากการวิ จยั
ir o
งม

nw
ลา

ari

จากการเรียนการสอนเรือ่ งกาหนดการเชิงเส้น โดยใช้โปรแกรม C.a.R. และโปรแกรม


ดุ ก

a kh

Euler สาหรับนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 3 ผูว้ จิ ยั ได้ขอ้ สังเกตบางประการดังนี้


สม

rin
หอ

yS

1. ความสนใจในการจัดการเรียนการสอนเรือ่ งกาหนดการเชิงเส้น สาหรับนักเรียนชัน้


rar
นกั

มัธยมศึกษาปีท่ี 3 ผูว้ จิ ยั พบว่า นักเรียนบางคนไม่ให้ความสนใจในคาบแรกๆ ทีม่ กี ารจัดการเรียน


L ib
สาํ

การสอน อาจเนื่องจากเนื้อหากาหนดการเชิงเส้นยังไม่มกี ารบรรจุในหลักสูตร จึงทาให้นกั เรียน


al
n tr

ยังไม่เห็นความสาคัญและประโยชน์ ของกาหนดการเชิงเส้น ซึง่ หลังจากผูว้ จิ ยั ได้ใช้โปรแกรม C.a.R.


Ce

และโปรแกรม Euler ประกอบการเรียนการสอนในเนื้อหาเรือ่ งกาหนดการเชิงเส้น ทาให้นกั เรียนได้


เห็นภาพทีเ่ ป็นรูปธรรมและเข้าใจแนวคิดของกาหนดการเชิงเส้นมากขึน้ และพบว่าโปรแกรมทัง้ สอง
สามารถดึงดูดความสนใจของนักเรียน ส่งเสริมให้นกั เรียนมีความสนใจในการเรียนและเรียนรูเ้ นื้อหา
กาหนดการเชิงเส้นได้อย่างรวดเร็ว
2. ระยะเวลาโดยภาพรวมเหมาะสม สอดคล้องตามแผนการจัดการเรียนรูแ้ ต่ละคาบ
แต่ในช่วงแรกพบว่า สอนไม่ทนั เวลาเนื่องจากการจัดการเรียนการสอนมีการนาโปรแกรม C.a.R.
และโปรแกรม Euler ทีน่ กั เรียนไม่เคยใช้มาประกอบการเรียนการสอน ทาให้นกั เรียนบางคน
มีปญั หาการใช้งานโปรแกรมทัง้ สองในช่วงเริม่ แรก เนื่องจากขาดความชานาญในการใช้โปรแกรม
และเมือ่ นักเรียนเกิดความชานาญในการใช้โปรแกรมทาให้การจัดการเรียนการสอนทันตามเวลาที่
กาหนด และทาให้บรรยากาศในการเรียนมีความสนุกสนาน ไม่น่าเบื่อ
78

ข้อเสนอแนะ
1. ข้อเสนอแนะทัวไป

1.1 ผลการวิจยั ปรากฏว่า นักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 3 มีความสามารถเพียงพอ
ในการเรียนเรือ่ ง กาหนดการเชิงเส้น ดังนัน้ ผลการวิจยั น่าจะเป็นแนวทางเลือกที่โรงเรียนจะนาไปใช้
ในการเรียนการสอนในระดับชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 3 ในกลุ่มสาระคณิตศาสตร์เพิม่ เติม
1.2 การใช้ชุดกิจกรรมการเรียนการสอนเรือ่ งกาหนดการเชิงเส้นโดยใช้โปรแกรม
C.a.R. และโปรแกรม Euler สาหรับนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 3 ทีผ่ วู้ จิ ยั สร้างขึน้ ครูผสู้ อนควร
ศึกษาคู่มอื การใช้ชุดกิจกรรมการเรียนการสอน หน่วยการเรียนรูแ้ ละใบกิจกรรม รวมทัง้ แผนการ
จัดการเรียนรูอ้ ย่างละเอียด เพื่อเป็นแนวทางในการนาชุดกิจกรรมการเรียนการสอนทีผ่ วู้ จิ ยั สร้างขึน้
ไปใช้ในครัง้ ต่อไป


วโิ ร
1.3 ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนโดยใช้ โปรแกรม C.a.R. และโปรแกรม

ทร
Euler ครูควรมีผชู้ ่วยในการสอน เพื่อจะได้ให้คาแนะนานักเรียนได้อย่างรวดเร็วและทัวถึ ่ งมากขึน้
นิ
คร
2. ข้อเสนอแนะสาหรับงานวิจยั
นี
ศร

it y
2.1 ควรทาวิจยั เพื่อศึกษาความสามารถในการเรียน เรื่องกาหนดการเชิงเส้นโดยใช้
ers
ลยั

สื่อชนิดอื่น เพื่อหาข้อสรุปทีแ่ น่นอนชัดเจนยิง่ ขึน้


ยา

n iv
tU
วทิ

2.2 ควรมีการวิจยั เกีย่ วกับการนาโปรแกรม C.a.R. และโปรแกรม Euler ไปใช้สอน


หา

ir o
งม

วิชาคณิตศาสตร์สาหรับเนื้อหาอื่นๆ หรือในระดับชัน้ อื่นๆ


nw
ลา

ari

2.3 ควรทาวิจยั เกีย่ วกับการนาเนื้อหาคณิตศาสตร์ในระดับสูงอื่นๆ ทีส่ ามารถ


ดุ ก

a kh

นามาใช้ในชีวติ ประจาวันและเหมาะสมกับความรูพ้ น้ื ฐานของผูเ้ รียน มาสอนในระดับชัน้ ทีต่ ่ากว่า


สม

rin
หอ

yS
rar
นกั

L ib
สาํ

al
n tr
Ce
สาํ
นกั
หอ
Ce สม
n tr ดุ ก
al ลา
L ib งม
rar หา
yS วทิ
rin ยา
a kh ลยั
ศร
นี

บรรณานุกรม
ari
nw คร
ir o นิ ทร
tU วโิ ร
n iv ฒ
ers
it y
79
80

บรรณานุกรม

กมล เอกไทยเจริญ. (2545). การศึกษาผลสัมฤทธิ ์ทางการเรียนและเจตคติของผูเ้ รียนระดับ


ปริญญาตรีสาขาคณิตศาสตร์ทม่ี ตี ่อการเรียนวิชาพีชคณิตเชิงเส้นโดยใช้เครือ่ งคานวณ
เชิงกราฟ. วารสารวิทยาศาสตร์ มศว. 18(2): 53.
กรมวิชาการ. (2544). หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขัน้ พื้นฐาน พุทธศักราช 2544.
กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์องค์การรับส่งสินค้าและพัสดุภณ ั ฑ์.
------------. (2546). การจัดสาระการเรียนรูก้ ลุ่มสาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์ระดับ มัธยมศึกษา.
กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์องค์การรับส่งสินค้าและพัสดุภณ ั ฑ์.
กระทรวงศึกษาธิการ. (2544). หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขัน้ พื้นฐาน พุทธศักราช 2544.


วโิ ร
กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์องค์การรับส่งสินค้าและพัสดุภณ ั ฑ์.

ทร
กฤติกา ชิดชู. (2550). การพัฒนาหลักสูตรทฤษฎีจานวนเบื้องต้นและคอมบินาทอริกเบื้องต้น
นิ
คร
สาหรับนักเรียนชัน้ ประถมศึกษาปีที ่ 6. ปริญญานิพนธ์ กศ.ด. (คณิตศาสตรศึกษา).
นี
ศร

it y
กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. ถ่ายเอกสาร.
ers
ลยั

กองพัฒนาการศึกษานอกโรงเรียน กระทรวงศึกษาธิการ. (2542). เทคนิคการเขียนกิจกรรมการเรียน


ยา

n iv
tU
วทิ

การสอนในชุดวิชา. กรุงเทพฯ: กองพัฒนาการศึกษานอกโรงเรียน.


หา

ir o
งม

กังวล เทียนกัณฑ์เทศน์ . (2540). การวัด การวิเคราะห์ การประเมินทางการศึกษาเบื้องต้น .


nw
ลา

ari

พิมพ์ครัง้ ที่ 2. กรุงเทพฯ: ศูนย์ส่อื เสริมกรุงเทพ.


ดุ ก

a kh

กัลยา วานิชย์บญ ั ชา. (2532). การวิจยั ดาเนินงานและการประยุกต์ . กรุงเทพฯ: ภาควิชาสถิติ


สม

rin
หอ

yS

คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย .
rar
นกั

กาญจนา ภาสุรพันธ์. (2531). ความพึงพอใจของนักเรียนทีม่ ตี ่อสภาพแวดล้อมภายในวิทยาลัย


L ib
สาํ

อาชีวศึกษา สังกัดกรมอาชีวศึกษา เขตการศึกษา 8. ปริญญานิพนธ์ กศ.ม. (การบริหาร


al
n tr

การศึกษา). กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. ถ่ายเอกสาร.


Ce

ขวัญ เพียซ้าย. (2547). การศึกษาความสามารถในการเรียนเรือ่ งการพิสจู น์ทางคณิตศาสตร์โดย


ใช้ชุดการเรียนการสอนทีผ่ เู้ รียนสาคัญทีส่ ุด ของนิสติ วิชาเอกคณิตศาสตร์ ระดับปริญญาตรี .
ปริญญานิพนธ์ กศ.ม. (คณิตศาสตร์). กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. ถ่ายเอกสาร.
คาโง่น เขียนทิลม. (2547). การสร้างชุดการเรียนการสอนเรือ่ งสมการเชิงอนุพนั ธ์อนั ดับหนึง่
สาหรับนักศึกษาชัน้ ปีที ่ 2 คณะวิศวกรรมศาสตร์และสถาปตั ยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัย
แห่งชาติลาว. ปริญญานิพนธ์ กศ.ม. (คณิตศาสตร์). กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. ถ่ายเอกสาร.
81

จรีรตั น์ สุวรรณ์. (2546). การพัฒนาโปรแกรมคอมบินาทอริกเบื้องต้นสาหรับนักเรียนระดับ


มัธยมศึกษาตอนต้นทีม่ คี วามสามารถพิเศษทางคณิตศาสตร์. ปริญญานิพนธ์ กศ.ด.
(คณิตศาสตรศึกษา). กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
ถ่ายเอกสาร
จิณดิษฐ์ ละออปกั ษิณ. (2550). การพัฒนาหลักสูตรเรขาคณิตวิยตุ สาหรับนักเรียนระดับมัธยมศึกษา
ตอนปลายทีม่ ผี ลสัมฤทธิท์ างการเรียนคณิตศาสตร์สงู . ปริญญานิพนธ์ กศ.ด.
(คณิตศาสตรศึกษา). กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
ถ่ายเอกสาร.
ชวาล แพรัตกุล. (2520). เทคนิคการเขียนข้อสอบ. กรุงเทพฯ: ม.ป.พ.
ชาญชัย สุกใส. (2543). การศึกษาผลของการเรียนการสอนวิชาคณิตศาสตร์ ระดับอุดมศึกษา


โดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ MAPLE V ประกอบการเรียนการสอน. อุบลราชธานี:

วโิ ร
มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี . ถ่ายเอกสาร.
ทร
ชัยยงค์ พรหมวงค์. (2537). หน่วยการเรียนที ่ 2 เอกสารการสอนชุดวิชาเทคโนโลยีและสือ่ สาร
นิ
คร
การศึกษา. นนทบุร:ี มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมธิราช.
นี
ศร

it y
ers
ญานิศา ธิกุลวงษ์. (2546). การศึกษาผลสัมฤทธิท์ างการเรียนของนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปีที ่ 6
ลยั
ยา

n iv
ในการเรียนเรือ่ ง ความสัมพันธ์เวียนเกิด . ปริญญานิพนธ์ กศ.ม (คณิตศาสตร์). กรุงเทพฯ:
tU
วทิ
หา

บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. ถ่ายเอกสาร.


ir o
งม

nw

ณัชชา กมล. (2542). ได้ศกึ ษาผลของการใช้เครือ่ งคานวณเชิงกราฟทีม่ ตี ่อมโนทัศน์ทางคณิตศาสตร์


ลา

ari
ดุ ก

a kh

และความสามารถด้านมิตสิ มั พันธ์ของนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปีที ่ 3 โรงเรียนสาธิต สังกัด


สม

rin

ทบวงมหาวิทยาลัย. วิทยานิพนธ์ ค.ม. (การศึกษาศาสตร์). กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัย


หอ

yS

จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย . ถ่ายเอกสาร.
rar
นกั

L ib
สาํ

ถนอม ชานาญพันธ์. (2546). การศึกษาผลสัมฤทธิท์ างการเรียนเรือ่ งทฤษฎีสมการพหุนามเบื้องต้น


al

ของนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปีที ่ 3. ปริญญานิพนธ์ กศ.ม (คณิตศาสตร์). กรุงเทพฯ:


n tr
Ce

บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. ถ่ายเอกสาร.


ทรงสมร คชเลิศ. (2543). ความพึงพอใจในการเรียนกลุ่มวิชาการเลขานุการของนักเรียนระดับ
ประกาศนียบัตรวิชาชีพวิทยาลัยพณิชยการธนบุรแี ละวิทยาลัยพาณิชยการเชตุพน .
ปริญญานิพนธ์ กศ.ม. (ธุรกิจศึกษา). กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. ถ่ายเอกสาร.
ทิวาพร ขันผนึก. (2546). การศึกษาเปรียบเทียบระหว่างผลสัมฤทธิท์ างการเรียนและทัศนคติของ
นักเรียนในระดับอุดมศึกษาจากการใช้เครือ่ งคานวณเชิงกราฟในการเรียนคณิตศาสตร์ เรือ่ ง
ลิมติ ของฟงั ก์ชนั . เพชรบูรณ์: มหาวิทยาลัยราชภัฎเพชรบูรณ์ . ถ่ายเอกสาร.
82

ธานินทร์ สิทธิวริ ชั ธรรม. (2542). การศึกษาผลสัมฤทธิใ์ นการเรียนเรือ่ งทฤษฎีกราฟเบื้องต้น


ของนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปีที ่ 3. ปริญญานิพนธ์ กศ.ม (คณิตศาสตร์). กรุงเทพฯ:
บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. ถ่ายเอกสาร.
นิกร วัฒนพนม. (2535). การโปรแกรมเชิงเส้นเบื้องต้น. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
นิตติยา ปภาพจน์ . (2540). การพัฒนาหลักสูตรทฤษฎีจานวนเสริมสาหรับเด็กทีม่ คี วามสามารถพิเศษ
ทางคณิตศาสตร์ในระดับมัธยมศึกษาตอนต้น . ปริญญานิพนธ์ กศ.ด. (คณิตศาสตร-ศึกษา).
กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. ถ่ายเอกสาร.
บุญเกือ้ ควรหาเวช. (2545). นวัตกรรมการศึกษา. พิมพ์ครัง้ ที่ 4. นนทบุร:ี SR. printing.
ถ่ายเอกสาร.
บุญชม ศรีสะอาด. (2541). การพัฒนาการสอน. มหาสารคาม: มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ


มหาสารคาม. ถ่ายเอกสาร.

วโิ ร
เบญจมินทร์ อรัญเพิม่ . (2548). การศึกษาผลสัมฤทธิท์ างการเรียนเรือ่ งแบบจาลองทางคณิตศาสตร์
ทร
สาหรับนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปีที ่ 6. ปริญญานิพนธ์ กศ.ม (คณิตศาสตร์). กรุงเทพฯ:
นิ
คร
บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. ถ่ายเอกสาร.
นี
ศร

it y
ers
ปกเกศ ชนะโยธา. (2551). การศึกษาผลสัมฤทธิ์ ทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ และความ
ลยั
ยา

n iv
พึงพอใจของนักเรียนช่วงชัน้ ที ่ 2 โดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์มลั ติมเี ดียบนเครือข่าย
tU
วทิ
หา

อินเทอร์เน็ต ทีส่ ร้างขึน้ ตามทฤษฎีคอนสตรัคติวสิ ต์. ปริญญานิพนธ์ กศ.ม.


ir o
งม

nw

(เทคโนโลยีการศึกษา). กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.


ลา

ari
ดุ ก

a kh

ถ่ายเอกสาร.
สม

rin

ประกอบ จิรกิต.ิ (2535). การโปรแกรมเชิงเส้นจานวนเต็ม . กรุงเทพฯ: ภาควิชาบริหารธุรกิจ


หอ

yS

มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
rar
นกั

L ib
สาํ

ประคอง กรรณสูต. (2538). สถิตเิ พือ่ การวิจยั ทางพฤติกรรมศาสตร์. พิมพ์ครัง้ ที่ 2 (ฉบับปรับปรุง
al

แก้ไข). กรุงเทพฯ: ศูนย์หนังสือ ดร.ศรีสง่า. ถ่ายเอกสาร.


n tr
Ce

ประเวส นามสีฐาน. (2551). สร้างบทเรียนบนเครือข่าย เรือ่ งกาหนดการเชิงเส้นด้วยโปรแกรม


สาเร็จรูป QM สาหรับนักศึกษาระดับปริญญาตรี สาขาวิชาสถิติ . การศึกษาค้นคว้าอิสระ
กศ.ม. (เทคโนโลยีการศึกษา). ขอนแก่น: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น .
ถ่ายเอกสาร.
ปุณยพล จันทร์ฝอย. (2551). ชุดกิจกรรมการเรียนการสอนเรือ่ งฟงั ก์ชนั ตรีโกณมิติ โดยโปรแกรม
C.a.R. สาหรับนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปีที ่ 4. ปริญญานิพนธ์ กศ.ม (คณิตศาสตร์).
กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. ถ่ายเอกสาร.
เปียทิพย์ เขียวไข่แก้ว. (2551). ชุดการเรียนการสอนวิชาคณิตศาสตร์เรือ่ งทฤษฎีจานวนทีเ่ น้น
ทักษะการให้เหตุผล สาหรับนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปีที ่ 4. ปริญญานิพนธ์ กศ.ม
(คณิตศาสตร์). กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. ถ่ายเอกสาร.
83

พรรณี ชูทยั เจนจิต. (2545). จิตวิทยาการเรียนการสอน. พิมพ์ครัง้ ที่ 5. กรุงเทพฯ: เมธีทปิ ส์.
พัชรีวรรณ คุณชื่น. (2552). ศึกษาผลสัมฤทธิท์ างการเรียน เรือ่ งค่าของเงินและการใช้จา่ ย และความ
พึงพอใจต่อการเรียนของนักเรียนช่วงชัน้ ที ่ 2 ทีม่ คี วามบกพร่องทางสติปญั ญาระดับ เล็กน้อย
โดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์มลั ติมเี ลีย . ปริญญานิพนธ์ กศ.ม. (การศึกษาพิเศษ).
กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. ถ่ายเอกสาร.
พัลลภ คงนุรตั น์. (2547). การศึกษาผลสัมฤทธิท์ างการเรียนและความพึงพอใจในวิชาคณิตศาสตร์
ของนักเรียนชัน้ ประถมศึกษาปีที ่ 4 โดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์มลั ติมเี ดีย เรือ่ งโจทย์ปญั หา
การบวก ลบ. ปริญญานิพนธ์ กศ.ม. (การประถมศึกษา). กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. ถ่ายเอกสาร.
พิชากร แปลงประสพโชค. (2540). การพัฒนาหลักสูตรพิเศษทางเรขาคณิตเสริมสาหรับนักเรียนชัน้


มัธยมศึกษาตอนต้นทีม่ คี วามสามารถพิเศษ. ปริญญานิพนธ์ กศ.ด. (คณิตศาสตรศึกษา).

วโิ ร
กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. ถ่ายเอกสาร.
ทร
พิจติ ร อุตตะโปน. (2550). ชุดการเรียนการสอนโดยใช้ปญั หาเป็นฐาน เรือ่ งการวิเคราะห์ขอ้ มูล
นิ
คร
เบื้องต้น ระดับชัน้ มัธยมศึกษาปีที ่ 3. ปริญญานิพนธ์ กศ.ม. (คณิตศาสตร์). กรุงเทพฯ:
นี
ศร

it y
บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. ถ่ายเอกสาร. ers
ลยั
ยา

n iv
เพชรหงส์ โชติกอาภา. (2535). เอกสารประกอบการสอนสาหรับกระบวนวิชาการวางแผน
tU
วทิ
หา

เชิงคณิตศาสตร์. เชียงใหม่: ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์


ir o
งม

nw

มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
ลา

ari
ดุ ก

a kh

มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. (2542). ชุดวิชาสือ่ การสอนระดับมัธยมศึกษา หน่วยที ่ 13.


สม

rin

กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. ถ่ายเอกสาร.


หอ

yS

ยุพร ริมชลการ. (2543). การพัฒนาหลักสูตรพีชคณิตสาหรับนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาตอนต้น


rar
นกั

L ib
สาํ

ทีม่ คี วามสามารถพิเศษทางคณิตศาสตร์. ปริญญานิพนธ์ กศ.ด. (คณิตศาสตรศึกษา).


al

กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. ถ่ายเอกสาร.


n tr
Ce

ระเบียบ นิ้วยะวงศ์. (2547). การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนอัจฉริยะผ่านเครือข่าย


อินเตอร์เน็ต เรือ่ งกาหนดการเชิงเส้น ในสถาบันราชภัฏ . วิทยานิพนธ์ ศศ.ม.
(วิจยั และพัฒนาท้องถิน่ ). อุตรดิตถ์: มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์ . ถ่ายเอกสาร.
ล้วน สายยศ; และ อังคณา สายยศ. (2543). เทคนิคการวัดผลการเรียนรู.้ พิมพ์ครัง้ ที่ 2.
กรุงเทพฯ: สุวริ ยิ าสาส์น. ถ่ายเอกสาร.
ลิวรรณ์ คูภมู ใิ จสกุล. (2532). ความพึงพอใจของบุคลากรฝา่ ยบริการทีม่ ตี ่อการจัดสวัสดิการภายใน
มหาวิทยาลัยรามคาแหง. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยรามคาแหง.
84

วรวรรณ กฤตยากรนุพงศ์. (2551). กิจกรรมการเรียนการสอนเรือ่ งความเท่ากันทุกประการโดยใช้


การแปลงทางเรขาคณิตและซอฟต์แวร์เรขาคณิตแบบพลวัต สาหรับนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษา
ปีที ่ 2. ปริญญานิพนธ์ กศ.ม. (คณิตศาสตร์). กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. ถ่ายเอกสาร.
วรรณรัตน์ วิบลู สุข. (2539). การวินิจฉัยข้อบกพร่องทางการเรียนคณิตศาสตร์ เรือ่ ง กาหนดการ
เชิงเส้น ของนักศึกษามหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ. ปริญญานิพนธ์ กศ.ม
(การสอนคณิตศาสตร์). กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
ถ่ายเอกสาร.
วรทัศน์ ขจิตชยานุกูล; และ เชาวลิต มีเชาว์. (2546, January-June). การนาโปรแกรมเชิงเส้น
มาใช้ในกระบวนการผสม. BU ACADEMIC REVIEW. 2(1): 104-108.


วนิสา นิรมาณ. (2545). การพัฒนาบทเรียนคอมพิว เตอร์ช่วยสอนแบบมัลติมเี ดียโดยวิธกี ารค้นพบ

วโิ ร
เรือ่ งฟงั ก์ชนั ตรีโกณมิติ ชัน้ มัธยมศึกษาปีที ่ 4. ปริญญานิพนธ์ กศ.ม. (การมัธยมศึกษา).
ทร
กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. ถ่ายเอกสาร.
นิ
คร
วัชราภรณ์ ปราณีธรรม. (2549). การศึกษาความเข้าใจเกีย่ วกับฟงั ก์ชนั กาลังสองของนักเรียน
นี
ศร

it y
ers
ในการแก้ปญั หาทาง คณิตศาสตร์โดยใช้เครือ่ งคิดเลขกราฟิก. วิทยานิพนธ์ กศ.ม.
ลยั
ยา

n iv
(คณิตศาสตร์ศกึ ษา). กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น. ถ่ายเอกสาร.
tU
วทิ
หา

วัฒนาพร ระงับทุกข์. (2542). แผนการสอนทีเ่ น้นผูเ้ รียนเป็นศูนย์กลาง. กรุงเทพฯ:


ir o
งม

nw

แอล ที เพรส.
ลา

ari
ดุ ก

a kh

วิจติ ร ตัณฑสุทธิ ์; วันชัย ริจริ วนิช; และ ศิรจิ นั ทร์ ทองประเสริฐ. (2548). การวิจยั ดาเนินงาน.
สม

rin

กรุงเทพฯ: ซีเอ็ดยูเคชัน. ่
หอ

yS

วิฑรู ย์ แสงทอง. (2548). การศึกษาความสามารถและความสนใจในการเรียนคณิตศาสตร์ เรือ่ ง


rar
นกั

L ib
สาํ

กาหนดการเชิงเส้น ของนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปีที ่ 2 และนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปีที ่ 3.


al

วิทยานิพนธ์ กศ.ม. (คณิตศาสตร์). สงขลา: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยทักษิณ.


n tr
Ce

ถ่ายเอกสาร.
ศุภชัย เรืองเดช (2546). ผลการใช้เครือ่ งคานวณเชิงกราฟในการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ที ม่ ตี ่อ
มโนทัศน์เชิงคณิตศาสตร์และความสามารถในการแก้โจทย์ปญั หาเชิงคณิตศาสตร์ ของ
นักศึกษาหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชัน้ สูง ชัน้ ปีที ่ 1 โรงเรียนนครอาชีวศึกษา.
วิทยานิพนธ์ กศ.ม. (คณิตศาสตร์). สงขลา: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยทักษิณ.
ถ่ายเอกสาร.
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. (2545). หนังสือเรียนสาระคณิตศาสตร์
คณิตศาสตร์เพิม่ เติม เล่ม 5 ชัน้ มัธยมศึกษาปีที ่ 6. กรุงเทพฯ: คุรสุ ภาลาดพร้าว.
85

สังเวียน แผนสุพดั . (2552). ชุดการเรียนการสอนคณิตศาสตร์ เรือ่ งกาหนดการเชิงเส้นด้วยวิธกี ราฟ


และวิธซี มิ เพล็กซ์ สาหรับนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปีที ่ 6. ปริญญานิพนธ์ กศ.ม.
(คณิตศาสตร์). กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. ถ่ายเอกสาร.
สันติ อิทธิพลนาวากุล. (2550). การพัฒนาชุดการเรียนคณิตศาสตร์แบบสืบสวนสอบสวนโดยใช้
โปรแกรม GSP (The geometer’s sketchpad) เพือ่ ส่งเริมความคิดรวบยอดทางคณิตศาสตร์
เรือ่ ง ภาคตัดกรวย ระดับชัน้ มัธยมศึกษาปีที ่ 4. ปริญญานิพนธ์ กศ.ม. (คณิตศาสตร์).
กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. ถ่ายเอกสาร.
สุกญ ั ญา เรืองสุวรรณ. (2542, เมษายน-มิถุนายน). การแก้ปญั หากาหนดการเชิงเส้น ด้วย Excel
Solver. วิทยาศาสตร์ มข. 27(2): 76-83.
สุทธิมา ชานาญเวช. (2545). การวิเคราะห์เชิงปริมาณ. พิมพ์ครัง้ ที่ 3. กรุงเทพฯ: วิทยพัฒน์.


สุธรรม กิตติพุฒพิ งศ์. (2544). การศึกษาความสามารถในการเรียนวิชาคณิตศาสตร์เรือ่ งตรรกศาสตร์

วโิ ร
เบื้องต้นของนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปีที ่ 2 และชัน้ มัธยมศึกษาปีที ่ 3. ปริญญานิพนธ์ กศ.ม.
ทร
(คณิตศาสตร์). สงขลา: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยทักษิณ . ถ่ายเอกสาร.
นิ
คร
สุธนิ นั ท์ บุญพัฒนาภรณ์ . (2549). กิจกรรมการเรียนการสอนเรือ่ งการแปลงเรขาคณิตโดยใช้
นี
ศร

it y
ers
ซอฟต์แวร์เรขาคณิตแบบพลวัตสาหรับนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปีที ่ 2. ปริญญานิพนธ์ กศ.ม.
ลยั
ยา

n iv
(คณิตศาสตร์). กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. ถ่ายเอกสาร.
tU
วทิ
หา

สุภทั รา เกิดมงคล. (2550). กิจกรรมการเรียนการสอนเรือ่ งสมบัตขิ องวงกลม โดยใช้ซอฟต์แวร์


ir o
งม

nw

เรขาคณิตแบบพลวัต สาหรับนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปีที ่ 3. วิทยานิพนธ์ กศ.ม.


ลา

ari
ดุ ก

a kh

(คณิตศาสตร์). กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. ถ่ายเอกสาร.


สม

rin

สุพนิ ฟองจางวาง. (2551). การเปรียบเทียบความสามารถเชิงปริภมู แิ ละผลสัมฤทธิท์ างการเรียน


หอ

yS

คณิตศาสตร์ เรือ่ งความสัมพันธ์ระหว่างรูปเรขาคณิตสองมิตแิ ละสามมิติ ของนักเรียนชัน้


rar
นกั

L ib
สาํ

มัธยมศึกษาปีที ่ 1 ทีส่ อนโดยประยุกต์ใช้โปรแกรม GSP กับการสอนปกติ. พิษณุโลก:


al

มหาวิทยาลัยราชภัฎพิบลู สงคราม. ถ่ายเอกสาร.


n tr
Ce

สุมานิน รุง่ เรืองธรรม. (2526). กลวิธกี ารสอน. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์รงุ่ เรืองธรรม.


อมฤทธิ ์ บุพโต. (2548). การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์มเี ดีย เรือ่ งกาหนดการเชิงเส้น ระดับ
มัธยมศึกษาปีที ่ 5. ปริญญานิพนธ์ กศ.ม (คณิตศาสตร์). กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. ถ่ายเอกสาร.
อาภรณ์ อินต๊ะชัย. ( 2549). รายงานการวิจยั การสร้างบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรือ่ งการ
แก้ปญั หากาหนดการเชิงเส้นโดยใช้กราฟ. เชียงใหม่: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล
ล้านนา.
อาริสา รัตนเพ็ชร; และ ทัศนา วิทยานนท์. (2545). เมตริกซ์และกาหนดการเชิงเส้น . กรุงเทพฯ:
พิทกั ษ์การพิมพ์.
86

อิทธิเทพ นวาระสุจติ ร. (2548). ชุดการเรียนการสอนทีเ่ น้นการคิดเชิงคณิตศาสตร์ดา้ น


กระบวนการ การให้เหตุผล ระดับมัธยมศึกษาปีที ่ 3. ปริญญานิพนธ์ กศ.ม. (คณิตศาสตร์).
กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. ถ่ายเอกสาร.
อาพล ธรรมเจริญ. (2551). กาหนดการเชิงเส้นเบื้องต้น. ภาควิชาคณิตศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา.
อานาจ เชือ้ บ่อคา. (2547). ผลของการใช้โปรแกรม GSP ทีม่ ตี ่อผลสัมฤทธิท์ างการเรียนคณิตศาสตร์
เรือ่ งพาราโบลาชัน้ มัธยมศึกษาปีที ่ 3. สารนิพนธ์ กศ.ม. (การมัธยมศึกษา). กรุงเทพฯ:
บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. ถ่ายเอกสาร.
Baharvand, Mohsen. (2002, June). A Comparison of the Effectiveness of Computer
Assisted Instruction Versus Traditional Approach to Teaching Geometry. Dissertation
Abstracts International. 40(3): 522-A.


Benson, Carol Trinko. (1989). Effect of Computer Instruction in Finite Mathematics on Student

วโิ ร
Achievement and Attitude. Illinois State University. Retrieved February, 20, 2008,
ทร
from http://proquest.umi.com/pqdweb?did=744784751&sid=1&Fmt= 2&clientid=61839
นิ
คร
&RQT=309&VName=PQD
นี
ศร

it y
ers
Bloom, Benjamin S. (1976). Human Characteristics and School Learning. New York:
ลยั
ยา

n iv
McGraw Hill.
tU
วทิ
หา

Bruner, Jerome. (1963). The Process of Education. Harvard: Harvard University Press.
ir o
งม

nw

Bull, Michael Porter. (1993, January). Exploring the Effects on Mathematics Achievement of
ลา

ari
ดุ ก

a kh

Eighth-grade Students that are Taught Problem-solving through a Four-step Method


สม

rin

that Addresses the Perceptual Strengths of Each Student. Dissertation Abstract


หอ

yS

International. 54(7): 2497-A.


rar
นกั

L ib
สาํ

Computer Algebra System. (2009). Retrieved December 24, 2009, from


al

http://en.wikipedia.org/ wiki/Computer_algebra_system
n tr
Ce

Covington, Myrna A. (1998, December). Beyond High School: Factors that Influence Student
Job Satisfaction (School to work). Dissertation Abstracts International. 56(6):
1990-A.
Dantzig, George B. (1993). Linear Programming and Extensions. 10th ed. Princeton, N.J.:
Princeton University Press.
Darst, Richard B. (1990). Introduction to Linear Programming: Applications and Extensions.
New York: MARCEL DEKKER.
87

Edward, Thomas G.; & Chelst, Kenneth R. (2004, May). The HSOR Project: Insinuating OR
into High School Mathematics Classroom. INFORM Transactions on Education.
3(4). Retrieved March 3, 2008, from http://ite.pub.inform.org/Vol4No3/
EdwardsChelst/
Feiring, Bruce R. (1986). Linear Programming an Introduction. California: Sage Publications.
Gass, Saul L. (2005, August). The Life and Farther of Linear Programming. Retrieved
November 28, 2009, from http://www.lionhrtpub.com/orms/orms-8-05/dantzig.html
rd
Good, Carter V. (1973). Dictionary of Education. 3 ed. New York: Mcgraw-Hill Book.
Gubrud, Allan Roy. (1971, June). The Effect of an Advance Organizer and a Concrete
Experience on Learning the Concept of Vector in Junior and Senior High School.


Dissertation Abstract International. 31(12): 6468-A.

วโิ ร
ทร
Gullick, Marry Catherine. (1971, February). Achievement of Fifth, Sixth and Tenth Grades
นิ
คร
in Coordinate Geometry. Dissertation Abstract International. 31(8): 4035-A.
นี
ศร

it y
Han, Hyesook. (2007). Middle school students' quadrilateral learning: A comparison
ers
ลยั

Study. Southwest Minnesota State University. Retrieved August, 25, 2009,


ยา

n iv
tU

from http://proquest.umi.com/pqdweb? did=1390281121& sid=7&Fmt=2&


วทิ
หา

ir o

clientId=61839&RQT=309&VName= PQD
งม

nw
ลา

Herbst, Maria Hanahoe. (2004, February). Facilitating Access to the General


ari
ดุ ก

a kh

Education Mathematics Curriculum for Students with Emotional/Behavioral


สม

rin
หอ

Disorders. Dissertation Abstracts International. DAI-A 65/08: 2948.


yS
rar

Hoban, Micheal James. (1971, March). “Transformation Geometry in the Junior High School:
นกั

L ib
สาํ

An Evaluation of A Curricular Unit in the Seventh Grade” . Dissertation Abstract


al
n tr

International. 9: 5482-B.
Ce

Hulley, Kathy Louise Sullivan. (1998, January). An instructional package integrating


science and social studies instruction at the fifth-grade level. Dissertation
Abstracts International. 59(07): 2352-A.
Interactive Geometry Software. (2009). Retrieved January 18, 2009, from
http://en.wikipedia.org/wiki/Interactive_geometry_software
Leidig, Paul Marvin. (1992). The Relationship Between Cognitive Style and Mental Maps in
Hypertext Assisted Learning. Dissertation Virginia: Graduate School Virginia
Commonwealth University. Photocopied.
88

Lester, Margaret Lynn. (1996, December). The Effects of the Geometer’s Sketchpad
Software on Achievement of Geometric Knowledge of High School Geometry
Students. Dissertation Abstracts International. 57(6): 2343-A.
Myles, Dennis E. (2006, November). Using Geometer’s Sketchpad to Develop a
Conceptual Understanding of Euclidean Geometry. Dissertation Abstracts
International. DAI-A 67/05.
Morse, Nancy C. (1955). Satisfactions in the White Collar Job. Michigan: University of
Michigan.
Perjési, Ildikó Hámori. (2003). Application of CAS for teaching of integral-transforming
theorems. ZDM. 35(2): 43-47.


Pilipczuk, Cynthia H. (2006). The effect of graphing technology on students'

วโิ ร
understanding of functions in a precalculus course. University of Delaware.
ทร
Retrieved September, 7, 2009, from http://proquest.umi.com/pqdweb?
นิ
คร
did=1163231681&sid=3&Fmt=2&clientId=61839&RQT=309&VName=PQD
นี
ศร

it y
ers
Schrupp, Richard D. (2007). Effects of using graphing calculators to solve quadratics
ลยั
ยา

n iv
with high school mathematics students. Southwest Minnesota State University.
tU
วทิ
หา

Retrieved August, 27, 2009, from http://proguest.umi.com/pqweb?did=


ir o
งม

nw

1320941031&sid=2&Fmt=2&clientld=61839&RQT=309&VName=PQD
ลา

ari
ดุ ก

a kh

Smith, Karan Barbee. (1991). An integration of the computer algebra system DERIVE into
สม

rin

instruction of linear programming. University of South Carolina. Retrieved February,


หอ

yS

20, 2008, from http://proquest.umi.com/pqdweb?did=745158161 &sid=3& Fmt=2&


rar
นกั

L ib
สาํ

clientId= 61839&RQT=309&VName=PQD
al

Sultan, Alan. (1993). Linear Programming an Introduction and Applications. San Diego:
n tr
Ce

Academic press.
Wallerstein, Harvey. (1971). Dictionary of Psychology. Maryland: Penguin Book Inc.
Yavuz, Veli Alpagut. (2003). The Effectiveness of Interactive in-class Exercises on Learning: A
Case from Linear Programming Education. Rensselaer Polytechnic Institute.
Retrieved February, 20, 2008, from http://proquest.umi.com/pqdweb?did
=764802641&sid=4&Fmt=2&clientId=61839 &RQT=309&VName=PQD
Yousif, Adil Eltayeb. (1997, November). The Effects of The Geometer’s Sketchpad on
The Attitude Toward Geometry of High School Students. Dissertation Abstracts
International. 58(5): 1631-A.
สาํ
นกั
หอ
Ce สม
n tr ดุ ก
al ลา
L ib งม
rar หา
yS วทิ
rin ยา
a kh ลยั
ศร

ภาคผนวก
ari
nw นี คร
ir o นิ ทร
tU วโิ ร
niv ฒ
ers
it y
89
สาํ
นกั
หอ
Ce สม
n tr ดุ ก
al ลา
L ib งม
rar หา
yS วทิ
rin ยา
a kh ลยั
ศร
นี

ภาคผนวก ก
ari
nw คร
ir o นิ ทร

คุณภาพเครื่องมือที่ใช้ในการวิ จยั
tU วโิ ร
niv ฒ
ers
it y
90
91

ตาราง 10 ค่าดัชนีความสอดคล้องของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ ์ทางการเรียนเรือ่ งกาหนดการ


เชิงเส้น สาหรับนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 3

ตอนที่ 1 ผลการพิจารณาของผูเ้ ชีย่ วชาญ รวม ค่า IOC แปลผล


แบบปรนัยข้อที่ คนที่ 1 คนที่ 2 คนที่ 3
1 +1 +1 +1 3 1.00 ใช้ได้
2 +1 +1 +1 3 1.00 ใช้ได้
3 +1 +1 +1 3 1.00 ใช้ได้
4 +1 +1 +1 3 1.00 ใช้ได้
5 +1 +1 +1 3 1.00 ใช้ได้


6 +1 +1 +1 3 1.00 ใช้ได้

วโิ ร
7 +1 +1 +1 3 1.00 ใช้ได้
8 +1 +1 +1นิทร 3 1.00 ใช้ได้
คร
9 +1 +1 +1 3 1.00 ใช้ได้
นี
ศร

it y
ers
ลยั

10 +1 +1 +1 3 1.00 ใช้ได้
ยา

niv
11 +1 +1 +1 3 1.00 ใช้ได้
tU
วทิ
หา

ir o

12 +1 +1 +1 3 1.00 ใช้ได้
งม

nw

13 +1 +1 +1 3 1.00 ใช้ได้
ลา

ari
ดุ ก

a kh

14 +1 +1 +1 3 1.00 ใช้ได้
สม

rin

15 +1 +1 +1 3 1.00 ใช้ได้
หอ

yS

16 +1 +1 +1 3 1.00 ใช้ได้
rar
นกั

L ib
สาํ

17 +1 +1 +1 3 1.00 ใช้ได้
al

18 +1 +1 +1 3 1.00 ใช้ได้
n tr
Ce

19 +1 +1 +1 3 1.00 ใช้ได้
20 +1 +1 +1 3 1.00 ใช้ได้
21 +1 +1 +1 3 1.00 ใช้ได้
22 +1 +1 +1 3 1.00 ใช้ได้
23 +1 +1 +1 3 1.00 ใช้ได้
24 +1 +1 +1 3 1.00 ใช้ได้
25 +1 +1 +1 3 1.00 ใช้ได้
26 +1 +1 +1 3 1.00 ใช้ได้
27 +1 +1 +1 3 1.00 ใช้ได้
28 +1 +1 +1 3 1.00 ใช้ได้
92

ตาราง 10 (ต่อ)

ตอนที่ 1 ผลการพิจารณาของผู้เชีย่ วชาญ รวม ค่า IOC แปลผล


แบบปรนัยข้อที่ คนที่ 1 คนที่ 2 คนที่ 3
29 +1 +1 +1 3 1.00 ใช้ได้
30 +1 +1 +1 3 1.00 ใช้ได้
ตอนที่ 2 ผลการพิจารณาของผูเ้ ชีย่ วชาญ รวม ค่า IOC แปลผล
แบบอัตนัยข้อ คนที่ 1 คนที่ 2 คนที่ 3
ที่
1 +1 +1 +1 3 1.00 ใช้ได้


2 +1 +1 +1 3 1.00 ใช้ได้

วโิ ร
ทร
3 +1 +1 +1 3 1.00 ใช้ได้
นิ
คร
4 +1 +1 +1 3 1.00 ใช้ได้
นี
ศร

it y
ers
ลยั
ยา

niv
tU
วทิ
หา

ir o
งม

nw
ลา

ari
ดุ ก

a kh
สม

rin
หอ

yS
rar
นกั

L ib
สาํ

al
n tr
Ce
93

ตาราง 11 ค่าความยากง่าย (P), ค่าอานาจจาแนก (r) ของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ ์ทางการเรียน


เรือ่ งกาหนดการเชิงเส้น สาหรับนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 3 ทีค่ ดั เลือกไว้จากการพิจารณาค่า
IOC และทีน่ าไปใช้กบั กลุ่มนาร่อง

ตอนที่ 1 แบบปรนัยข้อที่ p r
1 0.58 0.25
2 0.75 0.25
3 0.58 0.50
4 0.67 0.25
5 0.42 0


วโิ ร
6 0.58 0.50

ทร
7 0.58 0.75
นิ
คร
8 0.58 0.25
นี
ศร

it y
9 0.50 0
ers
ลยั

10 0.75 0.50
ยา

niv
tU

11 0.58 0.25
วทิ
หา

ir o

12 0.67 0.75
งม

nw
ลา

ari

13 0.58 0.50
ดุ ก

a kh

14 0.50 0.25
สม

rin
หอ

yS

15 0.67 0.25
rar
นกั

16 0.50 0.25
L ib
สาํ

17 0.75 0.75
al
n tr

18 0.75 0.25
Ce

19 0.50 0.25
20 0.67 0.50
21 0.67 0.25
22 0.58 0.25
23 0.50 0.50
24 0.50 0
25 0.50 -0.25
94

ตอนที่ 2 แบบอัตนัยข้อที่ p r
1 0.38 0.78
2 0.73 0.56
3 0.54 0.58

ค่าความเชื่อมันของแบบทดสอบวั
่ ดผลสัมฤทธิ ์ทางการเรียนเรือ่ งกาหนดการเชิงเส้น
คานวณโดยวิธกี ารหาสัมประสิทธิ ์แอลฟา (-Coefficient) ของครอนบัค (Cronbach) มีค่าความ
เชื่อมัน่ ดังนี้
- ค่าความเชื่อมันของแบบทดสอบตอนที
่ ่ 1 แบบปรนัยมีค่าเท่ากับ 0.64


- ค่าความเชื่อมันของแบบทดสอบตอนที
่ ่ 2 แบบอัตนัยมีค่าเท่ากับ 0.89

วโิ ร
- ค่าความเชื่อมันของแบบทดสอบวั
่ ดผลสัมฤทธิ ์ทางการเรียนทัง้ ฉบับมีค่าเท่ากับ 0.78
นิ ทร
คร
ตาราง 12 ค่าความยากง่าย (P), ค่าอานาจจาแนก (r) และค่าความเชื่อมันของแบบทดสอบ

นี
ศร

it y
วัดผลสัมฤทธิ ์ทางการเรียนเรือ่ งกาหนดการเชิงเส้น สาหรับนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 3
ers
ลยั
ยา

niv
tU
วทิ
หา

ir o

ตอนที่ 1 แบบปรนัยข้อที่ p r
งม

nw
ลา

ari
ดุ ก

a kh

1 0.73 0.22
สม

rin

2 0.61 0.28
หอ

yS

3 0.71 0.50
rar
นกั

L ib
สาํ

4 0.71 0.48
al

5 0.71 0.36
n tr
Ce

6 0.61 0.50
7 0.59 0.50
8 0.66 0.22
9 0.44 0.29
10 0.78 0.29
11 0.49 0.28
12 0.49 0.28
13 0.71 0.36
95

ตาราง 12 (ต่อ)

ตอนที่ 1 แบบปรนัยข้อที่ p r

14 0.54 0.57
15 0.76 0.29
16 0.73 0.29
17 0.68 0.43
18 0.65 0.43
19 0.56 0.36


วโิ ร
20 0.54 0.57

ทร
ตอนที่ 2 แบบอัตนัยข้อที่ P r
นิ
คร
1 0.54 0.78
นี
ศร

it y
2 0.53 0.72
ers
ลยั
ยา

niv
tU
วทิ

ค่าความเชื่อมันของแบบทดสอบวั
่ ดผลสัมฤทธิ ์ทางการเรียนเรือ่ งกาหนดการเชิงเส้น
หา

ir o
งม

nw

ด้วยวิธซี มิ เพล็กซ์ คานวณโดยวิธกี ารหาสัมประสิทธิ ์แอลฟา (-Coefficient) ของครอนบัค


ลา

ari

(Cronbach) มีค่าความเชื่อมัน่ ดังนี้


ดุ ก

a kh
สม

rin

- ค่าความเชื่อมันของแบบทดสอบตอนที
่ ่ 1 แบบปรนัยมีค่าเท่ากับ 0.69
หอ

yS

- ค่าความเชื่อมันของแบบทดสอบตอนที
่ ่ 2 แบบอัตนัยมีค่าเท่ากับ 0.95
rar
นกั

- ค่าความเชื่อมันของแบบทดสอบวั
่ ดผลสัมฤทธิ ์ทางการเรียนทัง้ ฉบับมีค่าเท่ากับ 0.79
L ib
สาํ

al
n tr
Ce
96

การทดสอบสมมติฐานทีว่ ่านักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 6 ทีเ่ รียนโดยใช้ชุดกิจกรรม


การเรียนการสอนเรือ่ งกาหนดการเชิงเส้น โดยใช้โปรแกรม C.a.R. และโปรแกรม Euler มีผลสัมฤทธิ ์
ทางการเรียนเรือ่ งกาหนดการเชิงเส้น ผ่านเกณฑ์มากกว่าร้อยละ 60 ของจานวนนักเรียนทัง้ หมด
โดยใช้สถิตทิ ดสอบ Z

สมมติฐาน H0 : p  0.6
H1 : p  0.6
pˆ  p 0
สถิตทิ ดสอบ Z =
p 0 1  p 0 
n


วโิ ร
เมือ่ p̂ คือ สัดส่วนของจานวนนักเรียนในกลุ่มตัวอย่างทีไ่ ด้คะแนนผลสัมฤทธิ ์ทางการเรียน

ทร
เรือ่ งกาหนดการเชิงเส้นตัง้ แต่รอ้ ยละ 60 ขึน้ ไปของคะแนนเต็ม
นิ
คร
p 0 คือ สัดส่วนของจานวนนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 3 ทีต่ อ้ งการทดสอบ
นี
ศร

it y
n คือ จานวนนักเรียนกลุ่มตัวอย่าง
ers
ลยั
ยา

niv
tU

เพราะว่า p̂ = 33 = 0.81 , p0 = 0.6 และ n = 41


วทิ
หา

ir o

41
งม

nw

pˆ  p 0
ลา

ari

ดังนัน้ Z=
p 0 1  p 0 
ดุ ก

a kh
สม

rin

n
หอ

yS

0.81 0.6
=
rar
นกั

0.60.4
L ib
สาํ

41
al
n tr

= 2.75
Ce

ปฏิเสธ H0 เมือ่ Z > Z.05


เนื่องจาก Z.05 = 1.645
และ 2.75  1.645

ผลการทดสอบสมมติฐานปรากฏว่า ปฏิเสธ H0 สรุปว่า นักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 3


ทีม่ ผี ลสัมฤทธิ ์ทางการเรียนเรือ่ งกาหนดการเชิงเส้น โดยใช้โปรแกรม C.a.R. และโปรแกรม Euler
ผ่านเกณฑ์มจี านวนมากกว่าร้อยละ 60 ของจานวนนักเรียนทัง้ หมด ทีร่ ะดับนัยสาคัญ .05
97

ตาราง 13 ค่าเฉลีย่ เลขคณิต ส่วนเบีย่ งเบนมาตรฐานของแบบสอบถามของนักเรียนทีม่ ตี ่อเนื้อหา


กาหนดการเชิงเส้น และการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ โดยใช้โปรแกรม C.a.R. และโปรแกรม Euler
และค่าความเชื่อมันของแบบสอบถามของนั
่ กเรียนกลุ่มนาร่อง

ข้อที่ ระดับความคิดเห็น x S.D. แปลผล


5 4 3 2 1
1 41.70% 41.70% 16.70% - - 4.25 0.75 มาก
(5 คน) (5 คน) (2 คน)
2 16.7% 66.70% 16.70% - - 4.00 0.60 มาก
(2 คน) (8 คน) (2 คน)


วโิ ร
3 25.00% 66.70% 8.30% - - 4.17 0.58 มาก

ทร
(3 คน) (8 คน) (1 คน)
นิ
คร
4 25.00% 50.00% 25.00% - - 4.00 0.74 มาก
นี
ศร

it y
(3 คน) (6 คน) (3 คน)
ers
ลยั
ยา

niv
5 16.70% 66.70% 16.70% - - 4.00 0.60 มาก
tU
วทิ

(2 คน) (8 คน) (2 คน)


หา

ir o
งม

nw

6 25.00% 58.30% 16.70% - - 4.08 0.67 มาก


ลา

ari

(3 คน) (7 คน) (2 คน)


ดุ ก

a kh
สม

rin

7 25.00% 50.00% 25.00% - - 4.00 0.74 มาก


หอ

yS

(3 คน) (6 คน) (3 คน)


rar
นกั

8 25.00% 50.00% 25.00% - - 4.00 0.74 มาก


L ib
สาํ

al

(3 คน) (6 คน) (3 คน)


n tr
Ce

9 25.00% 58.30% 16.70% - - 4.08 0.67 มาก


(3 คน) (7 คน) (2 คน)
10 33.30% 66.70% - - - 4.33 0.49 มาก
(4 คน) (8 คน)
11 8.30% 83.30% 8.30% - - 4.00 0.43 มาก
(1 คน) (10 คน) (1 คน)
12 25.00% 58.30% 16.70% - - 4.08 0.67 มาก
(3 คน) (7 คน) (2 คน)
13 16.70% 66.70% 16.70% - - 4.00 0.60 มาก
(2 คน) (8 คน) (2 คน)
98

ตาราง 13 (ต่อ)

ข้อที่ ระดับความคิดเห็น x S.D. แปลผล


5 4 3 2 1
14 41.70% 33.30% 25.00% - - 4.17 0.84 มาก
(5 คน) (4 คน) (3 คน)
15 25.00% 50.00% 25.00% - - 4.00 0.74 มาก
(3 คน) (6 คน) (3 คน)
16 50.00% 41.70% 8.30% - - 4.42 0.67 มาก
(6 คน) (5 คน) (1 คน)


17 33.30% 58.30% 8.30% - - 4.25 0.62 มาก

วโิ ร
ทร
(4 คน) (7 คน) (1 คน)
นิ
คร
18 25.00% 66.70% 8.30% - - 4.17 0.58 มาก
นี
ศร

(3 คน) (8 คน) (1 คน)

it y
ers
ลยั

19 41.70% 58.30% - - - 4.42 0.52 มาก


ยา

niv
tU

(5 คน) (7 คน)
วทิ
หา

ir o

20 33.30% 33.30% 33.30% - - 4.00 0.85 มาก


งม

nw
ลา

(4 คน) (4 คน) (4 คน)


ari
ดุ ก

a kh
สม

rin
หอ

ค่าความเชื่อมันของแบบสอบถามของนั
่ กเรียนกลุ่มนาร่องทัง้ ฉบับมีค่าเท่ากับ 0.86
yS
rar
นกั

L ib
สาํ

al
n tr
Ce
99

ตาราง 14 ค่าเฉลีย่ เลขคณิต ส่วนเบีย่ งเบนมาตรฐานของแบบสอบถามของนักเรียนทีม่ ตี ่อเนื้อหา


กาหนดการเชิงเส้น และการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ โดยใช้โปรแกรม C.a.R. และโปรแกรม Euler
และค่าความเชื่อมันของแบบสอบถามของนั
่ กเรียนกลุ่มตัวอย่าง

ข้อที่ ระดับความคิดเห็น x S.D. แปลผล


5 4 3 2 1
1 26.80% 70.70% 2.40% - - 4.24 0.49 มาก
(11 คน) (29 คน) (1 คน)
2 9.80% 68.30% 22.00% - - 3.88 0.56 มาก
(4 คน) (28 คน) (9 คน)


3 17.10% 61.00% 22.00% - - 3.95 0.63 มาก

วโิ ร
ทร
(7 คน) (25 คน) (9 คน)
นิ
คร
4 12.20% 63.40% 24.40% - - 3.88 0.60 มาก
นี
ศร

(5 คน) (26 คน) (10 คน)

it y
ers
ลยั

5 41.50% 41.50% 17.10% - - 4.24 0.73 มาก


ยา

niv
tU

(17 คน) (17 คน) (7 คน)


วทิ
หา

ir o

6 12.20% 61.00% 26.80% - - 3.85 0.62 มาก


งม

nw
ลา

ari

(5 คน) (25 คน) (11 คน)


ดุ ก

a kh

7 17.10% 63.40% 19.50% - - 3.98 0.61 มาก


สม

rin
หอ

(7 คน) (26 คน) (8 คน)


yS
rar
นกั

8 17.10% 51.20% 31.70% - - 3.85 0.69 มาก


L ib
สาํ

(7 คน) (21 คน) (13 คน)


al
n tr

9 19.50% 58.50% 22.00% - - 3.98 0.65 มาก


Ce

(8 คน) (24 คน) (9 คน)


10 17.10% 65.90% 17.10% - - 4.00 0.59 มาก
(7 คน) (27 คน) (7 คน)
11 22.00% 61.00% 17.10% - - 4.05 0.63 มาก
(9 คน) (25 คน) (7 คน)
12 19.50% 56.10% 24.40% - - 3.95 0.67 มาก
(8 คน) (23 คน) (10 คน)
13 14.60% 75.60% 9.80% - - 4.05 0.49 มาก
(6 คน) (31 คน) (4 คน)
100

ตาราง 14 (ต่อ)

ข้อที่ ระดับความคิดเห็น x S.D. แปลผล


5 4 3 2 1
14 24.40% 48.80% 26.80% - - 3.98 0.72 มาก
(10 คน) (20 คน) (11 คน)
15 24.40% 51.20% 24.40% - - 4.00 0.71 มาก
(10 คน) (21 คน) (10 คน)
16 17.10% 70.70% 12.20% - - 4.05 0.55 มาก
(7 คน) (29 คน) (5 คน)


17 9.80% 65.90% 24.40% - - 3.85 0.57 มาก

วโิ ร
ทร
(4 คน) (27 คน) (10 คน)
นิ
คร
18 19.50% 65.90% 14.60% - - 4.05 0.59 มาก
นี
ศร

(8 คน) (27 คน) (6 คน)

it y
ers
ลยั

19 17.10% 65.90% 17.10% - - 4.00 0.59 มาก


ยา

niv
tU

(7 คน) (27 คน) (7 คน)


วทิ
หา

ir o

20 17.10% 65.90% 17.10% - - 4.00 0.59 มาก


งม

nw
ลา

(7 คน) (27 คน) (7 คน)


ari
ดุ ก

a kh
สม

rin
หอ

yS

ค่าความเชื่อมันของแบบสอบถามของนั
่ กเรียนกลุ่มตัวอย่างทัง้ ฉบับมีค่าเท่ากับ 0.78
rar
นกั

L ib
สาํ

al
n tr
Ce
สาํ
นกั
หอ
Ce สม
n tr ดุ ก
al ลา
L ib งม
rar หา
yS วทิ
rin ยา
a kh ลยั
ศร
ari
nw นี คร

ภาคผนวก ข
ir o นิ ทร
tU วโิ ร
niv ฒ
ers
คู่มือการใช้ชุดกิ จกรรมการเรียนการสอน it y
101
102

คู่มือการใช้ชุดกิจกรรมการเรียนการสอนเรื่องกาหนดการเชิงเส้น
โดยใช้โปรแกรม C.a.R. และโปรแกรม Euler
สาหรับนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปี ที่ 3


วโิ ร
ทร
นิ
คร
นี
ศร

it y
ers
ลยั
ยา

niv
tU
วทิ
หา

ir o
งม

nw
ลา

ari
ดุ ก

a kh
สม

rin
หอ

yS
rar
นกั

L ib
สาํ

al
n tr
Ce

จัดทาโดย
นางสาวเกตุกนก หนูดี
103

คาชี้แจงการใช้ชุดกิจกรรมการเรียนการสอน

ชุดกิ จกรรมการเรียนการสอน
ชุดกิจกรรมการเรียนการสอน เรือ่ งกาหนดการเชิงเส้นโดยใช้โปรแกรม C.a.R.
และโปรแกรม Euler สาหรับนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 3

หลักการและเหตุผล
กาหนดการเชิงเส้น (Linear Programming) เป็นเทคนิคทางคณิตศาสตร์ประยุกต์ทใ่ี ช้


วโิ ร
ในการจัดสรรทรัพยากรทีม่ อี ยูอ่ ย่างจากัดให้แก่กจิ กรรมต่างๆ เพื่อให้บรรลุเป้า หมายทีก่ ่อให้เกิด

ทร
ประโยชน์สงู สุด โดยมีจดุ มุง่ หมายเพื่อแก้ปญั หา และตัดสินใจให้เกิดผลตามแนวทางการดาเนินงาน
นิ
คร
ทีด่ ที ส่ี ุด เช่น กาไรสูงสุด ค่าใช้จา่ ยน้อยสุด และแนวทางการดาเนินงานอื่น ๆ ทีใ่ ห้ผลประโยชน์มาก
นี
ศร

it y
ทีส่ ุดต่อระบบนัน้ ๆ ปจั จุบนั มีการนาไปประยุกต์ใช้กบั ปญั หาในด้านต่างๆ อย่างกว้างขวาง เพื่อช่วย
ers
ลยั
ยา

ให้เกิดประสิทธิภาพในการตัดสินใจในการดาเนินกิจกรรมต่างๆ เช่น การเกษตรกรรม การขนส่ง


niv
tU
วทิ

การอุตสาหกรรม การทหาร
หา

ir o
งม

การจัดการเรียนการสอนเรือ่ งกาหนดการเชิงเส้นในครัง้ นี้ ผูว้ จิ ยั ได้นาโปรแกรม C.a.R.


nw
ลา

ari

และโปรแกรม Euler เข้ามาประกอบการเรียนการสอน เพราะว่าโปรแกรม C.a.R. และโปรแกรม


ดุ ก

a kh

Euler เป็นโปรแกรมทางคณิตศาสตร์ทน่ี ามาใช้เพื่อพัฒนาการเรียนการสอนคณิตศาสตร์ให้ม ี


สม

rin
หอ

yS

ประสิทธิภาพมากขึน้ โดยโปรแกรม C.a.R. เป็นโปรแกรมเรขาคณิตแบบพลวัต พัฒนาขึน้ เพื่อใช้


rar
นกั

เป็นสื่อการเรียนการสอนวิชาคณิตศาสตร์ มีความสามารถในการสร้างรูปเรขาคณิตได้เสมือนกับ
L ib
สาํ

การใช้สนั ตรงและวงเวียน สามารถสร้างภาพในลักษณะ Animation แต่สาหรับการคานวณโปรแกรม


al
n tr

C.a.R. ยังไม่มคี วามสามารถในการประมวลผลเชิงสัญลักษณ์ ผูว้ จิ ยั มีความคิดเห็นว่า ควรนา


Ce

โปรแกรม Euler เข้ามาประกอบการเรียนการสอนร่วมด้วย เนื่องจากโปรแกรม Euler เป็นโปรแกรม


ทีม่ คี วามสามารถในการคานวณและเขียนกราฟได้ รวมทัง้ มีโปรแกรมระบบพีชคณิตทีม่ คี วาม
สามารถในการประมวลผลเชิงสัญลักษณ์ ในการนาโปรแกรม Euler เข้ามาใช้ในการเรียนการสอน
เป็นการช่วยประหยัดเวลาในการคานวณ ทาให้นกั เรียนสามารถฝึกทาแบบฝึกหัดได้หลายข้อและ
เมือ่ นักเรียนได้ฝึกทาแบบฝึกหัดบ่อยๆ ทาให้นกั เรียนเข้าใจในกระบวนการแก้ปญั หาเกิ ดเป็นทักษะ
และความชานาญ อีกทัง้ ยังทาให้มเี วลาเหลือมากพอในการทาความเข้าใจในเนื้อหามากขึน้
104

วัตถุประสงค์
เพื่อให้ครูใช้เป็นเครือ่ งมือในการสอน เรือ่ งกาหนดการเชิงเส้นโดยใช้โปรแกรม C.a.R. และ
โปรแกรม Euler สาหรับนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 3

เนื้ อหา
ชุดกิจกรรมการเรียนการสอนเรือ่ งกาหนดการเชิงเส้นโดยใช้โปรแกรม C.a.R. และโปรแกรม
Euler สาหรับนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 3 ประกอบด้วย 2 หน่วยการเรียน ดังนี้
หน่วยการเรียนที่ 1 ความรูเ้ บือ้ งต้นของกาหนดการเชิงเส้น เวลา 5 คาบ
หน่วยการเรียนที่ 2 การแก้ปญั หากาหนดการเชิงเส้นโดยวิธกี ราฟ เวลา 7 คาบ


แนวทางการใช้กิจกรรม

วโิ ร
ชุดกิจกรรมการเรียนการสอนเรือ่ งกาหนดการเชิงเส้นโดยใช้โปรแกรม C.a.R.
และโปรแกรม Euler ประกอบด้วย นิทร
คร
1. คู่มอื การใช้ชุดกิจกรรมการเรียนการสอนเรือ่ งกาหนดการเชิงเส้น ประกอบด้วย
นี
ศร

it y
ers
ลยั

1.1 คาชีแ้ จงการใช้ชุดกิจกรรมการเรียนการสอน


ยา

niv
1.2 คู่มอื การใช้โปรแกรม C.a.R. และโปรแกรม Euler
tU
วทิ
หา

ir o

2. บทเรียน
งม

nw

3. แผนการจัดการเรียนรู้
ลา

ari
ดุ ก

a kh

4. สื่อการเรียนการสอน ซึง่ ประกอบด้วย


สม

rin

4.1 ใบกิจกรรม
หอ

yS

4.2 กิจกรรมทีส่ ร้างโดยโปรแกรม C.a.R. และโปรแกรม Euler


rar
นกั

L ib
สาํ

5. แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ ์ทางการเรียนเรือ่ งกาหนดการเชิงเส้น


al

6. แบบสอบถามวัดความพึงพอใจทีม่ ตี ่อเนื้อหากาหนดการเชิงเส้น และการจัดกิจกรรม


n tr
Ce

การเรียนรูโ้ ดยใช้โปรแกรม C.a.R. และโปรแกรม Euler


การจัดกิจกรรมการเรียนด้วยชุดกิจกรรมการเรียนการสอนเรือ่ งกาหนดการเชิงเส้น
โดยใช้โปรแกรม C.a.R. และโปรแกรม Euler สาหรับนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 3 ทีผ่ วู้ จิ ยั สร้างขึน้
โดยให้ปฏิบตั ติ ามแผนการจัดการเรียนรูแ้ ละฝึกทักษะตามใบกิจกรรม เมือ่ เสร็จสิน้ การเรียนการสอน
ให้นกั เรียนทาแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ ์ทางการเรียนเรือ่ งกาหนดการเชิงเส้น และทาแบบสอบถาม
วัดความพึงพอใจ
105

แผนการสอน

แผนการ จานวนคาบ
เรื่อง
จัดการเรียนรู้ (คาบ)
1 ความหมายของกาหนดการเชิงเส้น 1
2 กราฟของระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร 2
3 กราฟของระบบอสมการเชิงเส้นสองตัวแปร 2
4 การสร้างแบบจาลองกาหนดการเชิงเส้น 2
5 การหาค่าสูงสุดและต่าสุดของกาหนดการเชิงเส้น 3
6 การแก้โจทย์ปญั หาของกาหนดการเชิงเส้น 2


วโิ ร
ทาแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ ์ทางการเรียนเรือ่ ง 2

ทร
กาหนดการเชิงเส้น
นิ
คร
แบบสอบถามวัดความพึงพอใจทีม่ ตี ่อเนื้อหากาหนดการ 20 นาที
นี
ศร

it y
เชิงเส้น และการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ โดยใช้โปรแกรม
ers
ลยั
ยา

C.a.R. และโปรแกรม Euler


niv
tU
วทิ
หา

ir o
งม

nw
ลา

ari
ดุ ก

a kh

จุดประสงค์การเรียนรู้ เรื่อง กาหนดการเชิ งเส้น


สม

rin
หอ

yS
rar
นกั

ชื่อหน่ วย
L ib
สาํ

เรื่อง จุดประสงค์การเรียนรู้
การเรียน
al
n tr

หน่วยที่ 1 1. ความหมายของกาหนด 1. นักเรียนมีความรูค้ วามเข้าใจความหมาย


Ce

ความรูเ้ บือ้ งต้นของ การเชิงเส้น ของกาหนดการเชิงเส้นได้


กาหนดการเชิงเส้น 2. นักเรียนมีความรูค้ วามเข้าใจเกีย่ วกับ
ประวัตคิ วามเป็นมาของกาหนดการ
เชิงเส้น
3. นักเรียนมีความรูค้ วามเข้าใจในการนา
กาหนดการเชิงเส้นไปประยุกต์ใช้กบั
แก้ปญั หาต่างๆ
106

ชื่อหน่ วย
เรื่อง จุดประสงค์การเรียนรู้
การเรียน
2. กราฟระบบสมการ 1. นักเรียนสามารถเขียนกราฟสมการเชิงเส้น
เชิงเส้นสองตัวแปร สองตัวแปรได้
2. นักเรียนสามารถเขียนกราฟระบบสมการ
เชิงเส้นสองตัวแปรได้
3. กราฟระบบอสมการ 1. นักเรียนสามารถเขียนกราฟอสมการ
เชิงเส้นสองตัวแปร เชิงเส้นสองตัวแปรได้
2. นักเรียนสามารถเขียนกราฟระบบอสมการ
เชิงเส้นสองตัวแปรได้


หน่ วยที่ 2 1. การสร้างแบบจาลอง 1. นักเรียนสามารถบอกจุดประสงค์ของปญั หา

วโิ ร
การแก้ปญั หา
ทร
กาหนดการเชิงเส้น ได้
กาหนดการเชิงเส้น นิ
2. นักเรียนสามารถเขียนจุดประสงค์ของ
คร
ปญั หาในรูปสมการเชิงเส้นสองตัวแปรได้
นี
โดยวิธกี ราฟ
ศร

it y
ers
3. นักเรียนสามารถบอกข้อจากัดของปญั หาได้
ลยั
ยา

niv
4. นักเรียนสามารถเขียนข้อจากัดของปญั หา
tU
วทิ
หา

ir o

ในรูปอสมการเชิงเส้นสองตัวแปรได้
งม

nw

5. สามารถสร้างแบบจาลองกาหนดการ
ลา

ari
ดุ ก

a kh

เชิงเส้นของปญั หาทีก่ าหนดให้ได้


สม

rin

2. การหาค่าสูงสุดและ 1. นักเรียนสามารถเขียนกราฟอสมการ
หอ

yS
rar

ต่าสุดของกาหนดการ ข้อจากัดได้ถูกต้อง
นกั

L ib
สาํ

เชิงเส้น 2. นักเรียนสามารถบอกบริเวณผลเฉลยที่
al
n tr

เป็นไปได้ของอสมการข้อจากัดได้ถูกต้อง
Ce

3. นักเรียนสามารถเขียนกราฟสมการ
จุดประสงค์ทม่ี คี ่าต่างๆ ได้ถูกต้อง
4. นักเรียนสามารถหาพิกดั ของจุดมุมของ
บริเวณผลเฉลยได้
5. นักเรียนสามารถหาค่าสูงสุดหรือต่าสุด
ของกาหนดการเชิงเส้นด้วยวิธกี ราฟ

3. การแก้โจทย์ปญั หาของ 1. นักเรียนสามารถแก้โจทย์ปญั หาของ


กาหนดการเชิงเส้น กาหนดการเชิงเส้นโดยวิธกี ราฟได้
107

เกณฑ์การตรวจให้คะแนนทดสอบแบบอัตนัย

เกณฑ์การตรวจให้คะแนนของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ ์ทางการเรียนแบบอัตนัยเรื่องกาหนดการ
เชิงเส้น

ส่วนของการดาเนินการ คะแนน เกณฑ์การตรวจให้คะแนน (พฤติกรรมบ่งชี้)


การสร้างแบบจาลอง 4 วิเคราะห์สงิ่ ทีโ่ จทย์กาหนดให้และกาหนดตัวแปรได้
กาหนดการเชิงเส้น ถูกต้องครบถ้วน เขียนสมการจุดประสงค์และอสมการ
ข้อจากัดได้ถูกต้องครบถ้วน


3 วิเคราะห์สงิ่ ทีโ่ จทย์กาหนดให้และกาหนดตัวแปรได้

วโิ ร
ถูกต้องครบถ้วน เขียนสมการจุดประสงค์ได้ถูกต้อง

ทร
และเขียนอสมการข้อจากัดได้ถูกต้องบางเงือ่ นไข
คร
นิ
2 วิเคราะห์สงิ่ ทีโ่ จทย์กาหนดให้และกาหนดตัวแปรได้
นี
ศร

it y
ers
ถูกต้องครบถ้วน เขียนสมการจุดประสงค์ได้ถูกต้อง
ลยั
ยา

niv
แต่เขียนอสมการข้อจากัดทุกเงือ่ นไขไม่ถูกต้องหรือไม่
tU
วทิ
หา

เขียนอสมการข้อจากัด
ir o
งม

nw

1 วิเคราะห์สงิ่ ทีโ่ จทย์กาหนดให้หรือกาหนดตัวแปรได้


ลา

ari
ดุ ก

a kh

ถูกต้องบางส่วน เขียนสมการจุดประสงค์และอสมการ
สม

rin

ข้อจากัดทุกเงือ่ นไขไม่ถูกต้องหรือไม่เขียนสมการ
หอ

yS

จุดประสงค์และอสมการข้อจากัด
rar
นกั

L ib
สาํ

0 ทาได้ไม่ถงึ เกณฑ์ขนั ้ ต้นหรือไม่ มรี อ่ งรอยการ


al

ดาเนินการสร้างแบบจาลองกาหนดการเชิงเส้น
n tr
Ce

การดาเนินการแก้ปญั หา 6 เขียนกราฟอสมการข้อจากัดได้ถูกต้องครบถ้วน แสดง


บริเวณผลเฉลยทีเ่ ป็นไปได้ได้ถูกต้อง ระบุจดุ มุมและ
ตรวจสอบจุดมุมของบริเวณผลเฉลยทีเ่ ป็นไปได้
ถูกต้องครบถ้วน ระบุจดุ มุมทีเ่ หมาะสมทีส่ ุดและสรุป
คาตอบได้ถูกต้องครบถ้วน
5 เขียนกราฟอสมการข้อจากัดได้ถูกต้องครบถ้วน แสดง
บริเวณผลเฉลยทีเ่ ป็นไปได้ได้ถูกต้อง ระบุจดุ มุมและ
ตรวจสอบจุดมุมของบริเวณผลเฉลยทีเ่ ป็นไปได้
ถูกต้องครบถ้วน สรุปผลเฉลยเหมาะสมทีส่ ุดได้ไม่
ถูกต้อง หรือไม่สรุปผลเฉลยเหมาะสมทีส่ ุด
108

(ต่อ)

ส่วนของการดาเนินการ คะแนน เกณฑ์การตรวจให้คะแนน (พฤติกรรมบ่งชี้)


4 เขียนกราฟอสมการข้อจากัดได้ถูกต้องครบถ้วน แสดง
บริเวณผลเฉลยทีเ่ ป็นไปได้ได้ถูกต้อง ระบุจดุ มุมและ
ตรวจสอบจุดมุมของบริเวณผลเฉลยทีเ่ ป็นไปได้ถูกต้อง
บางส่วน สรุปผลเฉลยเหมาะสมทีส่ ุดได้ไม่ถูกต้อง
หรือไม่สรุปผลเฉลยเหมาะสมทีส่ ุด
3 เขียนกราฟอสมการข้อจากัดได้ถูกต้องครบถ้วน แสดง
บริเวณผลเฉลยทีเ่ ป็นไปได้ได้ถูกต้อง ระบุจดุ มุมและ


ตรวจสอบจุดมุมของบริเวณผลเฉลยทีเ่ ป็นไปได้ไม่

วโิ ร
ทร
ถูกต้องหรือไม่ตรวจสอบจุดมุม และสรุปผลเฉลย
นิ
เหมาะสมทีส่ ุดไม่ถูกต้อง หรือไม่สรุปผลเฉลยเหมาะสม
คร
นี
ทีส่ ุด
ศร

it y
ers
ลยั

2 เขียนกราฟอสมการข้อจากัดได้ถูกต้องครบถ้วน แต่
ยา

niv
แสดงบริเวณผลเฉลยทีเ่ ป็นไปได้ไม่ถูกต้องหรือไม่ม ี
tU
วทิ
หา

ir o

ร่องรอยการแสดงบริเวณผลเฉลยเป็นไปได้ ไม่
งม

nw

ตรวจสอบจุดมุม ไม่สรุปผลเฉลยเหมาะสมทีส่ ุด
ลา

ari
ดุ ก

a kh

1 เขียนกราฟอสมการข้อจากัดได้ถูกต้องบางส่วน และ
สม

rin

ไม่มรี อ่ งรอยการแสดงบริเวณผลเฉลยทีเ่ ป็นไปได้หรือ


หอ

yS
rar

แสดงได้ไม่ถูกต้อง ไม่ตรวจสอบไม่สรุปผลเฉลย
นกั

L ib
สาํ

เหมาะสมทีส่ ุด
al
n tr

0 ทาได้ไม่ถงึ เกณฑ์ขนั ้ ต้นหรือไม่มรี อ่ งรอยการดาเนิน


Ce

การแก้ปญั หา
109

การเก็บคะแนนและการประเมิ นผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียน

การประเมินผลการเรียนเรือ่ งกาหนดการเชิงเส้นหลังจากสอนด้วยชุดกิจกรรมการเรียน
การสอนเรือ่ งกาหนดการเชิงเส้น โดยใช้โปรแกรม C.a.R. และโปรแกรม Euler สาหรับนักเรียน
ชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 3 ประเมินผลจากตารางข้างล่าง ต่อไปนี้

คะแนน
การประเมิ นผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียน
(%)
ผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนเรื่องกาหนดการเชิ งเส้น ประเมิ นจาก
1. คะแนนจากใบกิจกรรม 30


2. คะแนนจากแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ ์ทางการเรียนเรือ่ งกาหนดการเชิงเส้น 70

วโิ ร
ทร
- ปรนัย จานวน 20 ข้อ 40
นิ
คร
- อัตนัย จานวน 2 ข้อ 30
นี
ศร

it y
รวมคะแนนผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนเรื่องกาหนดการเชิ งเส้น ers 100
ลยั
ยา

niv
tU
วทิ
หา

ir o

เกณฑ์ หมายถึง ร้อยละ 60 ของคะแนนรวม


งม

nw

นักเรียนที่ผา่ นเกณฑ์ หมายถึง ผูเ้ รียนได้คะแนนตัง้ แต่รอ้ ยละ 60 ขึน้ ไปของคะแนนรวม


ลา

ari
ดุ ก

a kh
สม

rin
หอ

yS
rar
นกั

L ib
สาํ

al
n tr
Ce
110

คู่มือการใช้โปรแกรม C.a.R. และโปรแกรม Euler

บทนา
ชุดกิจกรรมการเรียนการสอนเรือ่ งกาหนดการเชิงเส้น โดยใช้โปรแกรม C.a.R. และโปรแกรม
Euler สาหรับนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 3 เป็นชุดกิจกรรมการเรียนการสอนทีส่ ร้างขึน้ สาหรับเป็น
เครือ่ งมือในการวิจยั เพื่อศึกษาผลสัมฤทธิ ์ทางการเรียนเรือ่ งกาหนดการเชิงเส้นทีใ่ ช้การแก้ปญั หา
โดยวิธกี ราฟ ซึง่ ผูว้ จิ ยั ได้นาโปรแกรม C.a.R. และโปรแกรม Euler เข้ามาใช้ประกอบการเรียน
การสอนเรือ่ งกาหนดการเชิงเส้น ผูว้ จิ ยั ใช้โปรแกรม C.a.R. สร้างกิจกรรมเพื่อแสดงให้นกั เรียนเข้าใจ


แนวคิดต่างๆ ของกาหนดการเชิงเส้นได้อย่างเป็นรูปธรรมมากขึน้ เช่น การเขียนกราฟของสมการ

วโิ ร
เชิงเส้น กราฟของระบบสมการเชิงเส้น กราฟของอสมการเชิงเส้น การสารวจหาผลเฉลยเหมาะสม
ทร
ทีส่ ุดของกาหนดการเชิงเส้น จากการทีน่ กั เรียนได้ลงมือปฏิบตั ิ สารวจ ตรวจสอบด้วยตนเอง
นิ
คร
ซึง่ โปรแกรม C.a.R. เป็นโปรแกรมทีม่ คี วามสามารถใช้ใ นการสร้างรูป แต่ความสามารถในเรือ่ ง
นี
ศร

it y
ers
ลยั

การคานวณยังไม่มคี วามสามารถในการประมวลผลเชิงสัญลักษณ์ ดังนัน้ ในการจัดกิจกรรมการเรียน


ยา

niv
การสอนผูว้ จิ ยั จึงนาโปรแกรม Euler เข้ามาประกอบการเรียนการสอนร่วมด้วย เนื่องจากโปรแกรม
tU
วทิ
หา

ir o

Euler เป็นโปรแกรมที่มคี วามสามารถในการคานวณและเขียนกราฟได้ มีความสามารถในการ


งม

nw

ประมวลผลเชิงสัญลักษณ์ เนื่องจากการหาคาตอบของกาหนดการเชิงเส้นในกรณีทม่ี เี งือ่ นไข


ลา

ari
ดุ ก

a kh

ข้อจากัดหลายๆ ข้อก็จะมีความยุ่ งยากและใช้เวลาค่อนข้างมากในการคานวณหาคาตอบ ทาให้


สม

rin

เกิดข้อผิดพลาดในการคานวณได้งา่ ย ซึง่ ส่งผลให้คาตอบทีไ่ ด้มคี วามผิดพลาดไปด้วย ดังนัน้ ในการ


หอ

yS

คานวณหาคาตอบสามารถใช้โปรแกรม Euler เป็นเครือ่ งมือสาหรับการคานวณและตรวจคาตอบ


rar
นกั

L ib
สาํ

al
n tr
Ce
111

1. โปรแกรม C.a.R.
โปรแกรม C.a.R. (Compass and Ruler) เป็นโปรแกรมเรขาคณิตแบบพลวัตกล่าวคือ
เป็นโปรแกรมทางเรขาคณิตทีส่ ามารถสร้างรูปเรขาคณิตในลักษณะเดียวกับการใช้สนั ตรงและ
วงเวียน มีลกั ษณะปฏิสมั พันธ์โดยทีผ่ ใู้ ช้สามารถเปลีย่ นแปลงรูปเรขาคณิตให้เคลื่อนไหวตามความ
ต้องการ โดยยังคงรักษาสมบัตแิ ละความสัมพันธ์ทถ่ี ูกกาหนดของรูปนัน้ ไว้เสมอ และโปรแกรม
C.a.R. เป็นโปรแกรม General Public License (GPL) คืออนุญาตให้ใช้และเผยแพร่โดยไม่เสีย
ค่าใช้จา่ ย ผูท้ พ่ี ฒ
ั นาโปรแกรม C.a.R. คือ ศาสตราจารย์ ดร.เรอเน่ กรอธมันน์ (Prof. Dr. René
Grothmann) ชาวเยอรมัน โดยมีวตั ถุประสงค์สาหรับนักเรียนตัง้ แต่ชนั ้ ประถมศึกษาจนถึงระดับสูง
รวมทัง้ ผูใ้ หญ่ การใช้โปรแกรมสามารถใช้ได้ดว้ ยการคลิกเมาส์และลากเมาส์ หรือใช้คาสังโดยตรง ่
สามารถนาเสนอเป็ นลักษณะแฟ้ม HTML ได้สะดวก อีกทัง้ ยังสามารถออกแบบกิจกรรมส่งเสริมให้


นักเรียนได้ทดสอบข้อคาดการณ์หรือตัง้ ข้อคาดการณ์ได้จากการทดลองสร้างซ้าๆ หรือหลากหลาย

วโิ ร
วิธ ี และผูส้ อนยังสามารถเตรียมแบบฝึกหัดให้นกั เรียนสร้าง โดยโปรแกรมจะแจ้งให้ทราบเมือ่ สร้าง
ได้ถูกต้อง นิทร
คร
การใช้โปรแกรม C.a.R. สาหรับการเรียนการสอนเรือ่ งกาหนดการเชิงเส้นในงานวิจยั นี้
นี
ศร

it y
ers
มีจดุ ประสงค์หลักคือเพื่อ ให้นกั เรียนได้เห็นแนวคิดทีส่ าคัญของเรือ่ งกาหนดการเชิงเส้น และเพื่อ
ลยั
ยา

niv
นักเรียนได้ทาการสารวจ สังเกต และสรุปความรูไ้ ด้ดว้ ยตนเอง ซึง่ ผูว้ จิ ยั ได้ใช้เครือ่ งมือต่างๆ ทีม่ อี ยู่
tU
วทิ
หา

ในโปรแกรม C.a.R. ออกแบบแฟ้มงานทีใ่ ช้ประกอบการเรียนการสอนเรือ่ งกาหนดการเชิงเส้น เช่น


ir o
งม

nw

การสร้างกราฟสมการเชิงเส้นสองตัวแปร กราฟระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร กราฟอสมการเชิง


ลา

ari
ดุ ก

a kh

เส้นสองตัวแปรและสารวจค่าทีเ่ หมาะสมทีส่ ุดของกาหนดการเชิงเส้น


สม

rin

อุปกรณ์ทจ่ี าเป็นสาหรับการใช้ โปรแกรม C.a.R. ประกอบการเรียนตามบทเรียน มีดงั นี้


หอ

yS

1. เครือ่ งคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล พร้อมทัง้ คียบ์ อร์ด เมาส์ และจอภาพสี


rar
นกั

L ib
สาํ

2. ฮาร์ดดิสก์ ( Hard Disk ) ขนาดไม่น้อยกว่า 4 GB.


al

3. แผ่นบันทึก 3.5 นิ้ว หรือ แผ่น CD ทีม่ ไี ฟล์ทใ่ี ช้ตามทีร่ ะบุในใบกิจกรรม


n tr
Ce

4. ระบบปฏิบตั กิ าร Microsoft Window xp หรือรุน่ ใหม่กว่า


5. สนับสนุนเวอร์ชนตั
ั ่ ง้ แต่ JAVA 1.4 ขึน้ ไป
112

1.1 การดาวน์ โหลดและการติ ดตัง้ โปรแกรม


เนื่องจากโปรแกรม C.a.R. สามารถแปลงไฟล์เป็นไฟล์ HTML ได้ ซึง่ ไฟล์ HTML
นัน้ สามารถเปิดผ่านบราวเซอร์ Internet Explorer ทีม่ อี ยูใ่ นเครือ่ งคอมพิวเตอร์ทุกเครือ่ งอยูแ่ ล้ว
นักเรียนจึงสามารถคลิกเพื่อเชื่อมโยงได้ โดยไม่จาเป็นต้องทาการติดตัง้ โปรแกรม C.a.R.
ลงในเครือ่ งคอมพิวเตอร์ ซึง่ ถือเป็นข้อดีอกี ประการของโปรแกรม C.a.R. แต่เพื่อเป็นประโยชน์
ต่อนักเรียนและผูท้ ส่ี นใจทีจ่ ะศึกษาโปรแกรมโปรแกรม C.a.R. ได้นาไปใช้เป็นประโยชน์ต่อการเรียน
การสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยปฏิบตั ติ ามขัน้ ตอนดังนี้
1. เข้าไปในเว็บไซด์ www.z-u-l.de จะปรากฏภาพหน้าจอดังรูปข้างล่าง


วโิ ร
ทร
นิ
นีคร
ศร

it y
ers
ลยั
ยา

niv
tU
วทิ
หา

ir o
งม

nw
ลา

ari
ดุ ก

a kh
สม

rin
หอ

yS
rar
นกั

L ib
สาํ

al

2. คลิก English เพื่อเลือกภาษาอังกฤษ ปรากฏหน้าจอดังรูป


n tr
Ce
สาํ
นกั
หอ
Ce สม
n tr ดุ ก
al ลา
L ib งม
rar หา
yS วทิ
ยา

3. คลิก Download ปรากฏหน้าจอ ดังรูป


rin ลยั
a kh ศร
ari
nw นี คร
ir o นิ ทร
tU วโิ ร
niv ฒ
ers
it y
113
114

4. คลิก Windows ทีห่ วั ข้อ Download and Installation จะปรากฏหน้าจอ ดังรูป


วโิ ร
ทร
นิ
คร
นี
ศร

it y
ers
ลยั
ยา

niv
tU
วทิ
หา

ir o
งม

5. คลิก Download โปรแกรม จากนัน้ ทาการ save ตัวติดตัง้ ( ) เพื่อนาไปลงโปรแกรม


nw
ลา

ari

แต่ถา้ หากเกิดปญั หาเกีย่ วกับการดาวน์โหลดให้คลิกไปที่ direct link


ดุ ก

a kh
สม

rin
หอ

yS

การติ ดตัง้ โปรแกรม


rar
นกั

การติดตัง้ โปรแกรมทาตามขัน้ ตอนดังนี้


L ib
สาํ

1. ดับเบิลคลิกที่
al
n tr

2. คลิก Run เมือ่ ทาการคลิก แล้วก็จะปรากฏหน้าจอ ดังภาพข้างล่าง


Ce
สาํ
นกั
หอ
Ce สม
n tr ดุ ก
al ลา
L ib งม
rar หา
yS วทิ
rin ยา
a kh ลยั
ศร
ari
nw นี คร
ir o นิ ทร
tU วโิ ร
niv ฒ
ers
3. คลิก Next ไปเรือ่ ย ๆ แล้วคลิก Install ก็จะปรากฏหน้าจอ ดังภาพข้างล่าง
it y
115
116

4. หลังจากนัน้ คลิก Finish ถือเป็นการเสร็จสิน้ การติดตัง้ โปรแกรม


5. การเรียกใช้โปรแกรม C.a.R. โดยดับเบิลคลิกที่ จะปรากฏหน้าต่างการทางาน
ของโปรแกรม

1 2


วโิ ร
3

ทร
4
นิ
คร
6
นี
ศร

it y
ers
ลยั
ยา

niv
tU
วทิ
หา

ir o

5
งม

nw
ลา

ari
ดุ ก

a kh
สม

rin
หอ

yS
rar
นกั

L ib
สาํ

ส่วนประกอบหลักของโปรแกรม C.a.R. มีอยูด่ ว้ ยกัน 6 ส่วน ดังนี้


al
n tr

1. ส่วนแสดงชื่อไฟล์โปรแกรม
Ce

2. ส่วนแสดงเมนูโปรแกรม
3. ส่วนแสดงไอคอนหรือปุม่ แสดงการทางาน
4. ส่วนแสดงข้อมูลขัน้ ตอนการสร้าง
5. ส่วนแสดงช่วยเหลืออธิบายออบเจ็กต์ในขณะการสร้าง
6. ส่วนกระดานการสร้าง
117

1.2 การใช้งานโปรแกรม C.a.R.


คาอธิ บายเกี่ยวกับ Icon bar
เครื่องมือพื้นฐาน
จุดทีส่ ามารถเคลื่อนไหวได้อย่างอิสระ และสามารถกาหนดพิกดั จุดได้
ตามทีต่ อ้ งการ
การสร้างจุดบนวงกลม หรือ บนเส้น หรือ ส่วนของเส้นตรง หรือ รังสี
การสร้างจุดตัดระหว่างสิง่ 2 สิง่ ไม่ว่าจะเป็นวงกลม,เส้นตรง,รังสี เป็นต้น
การสร้างเส้นตรงผ่านจุดสองจุด
การสร้างรังสีจากจุดหนึ่งผ่านอีกจุดหนึ่ง
การสร้างส่วนของเส้นตรงระหว่างจุดสองจุด


การสร้างวงกลมผ่านจุดๆ หนึ่ง

วโิ ร
ทร
การสร้างวงกลมทีม่ รี ศั มีเท่ากับระยะทางระหว่างจุดสองจุด
นิ
คร
การสร้างวงกลมทีส่ ามารถกาหนดรัศมีของวงกลมได้ตามต้องการ
นี
ศร

it y
สร้างเส้นขนาน
ers
ลยั

สร้างเส้นตัง้ ฉาก
ยา

niv
tU

ใช้สาหรับเลื่อน/เคลื่อนย้ายวัตถุ (object)
วทิ
หา

ir o
งม

ใช้แสดงแกน X และแกน Y
nw
ลา

ari

ใช้กาหนดฟงั ก์ชนั
ดุ ก

a kh

ใช้ในการสร้างพารามิเตอร์
สม

rin
หอ

yS

สี
rar
นกั

ใช้ในการลบวัตถุ
L ib
สาํ

การเคลื่อนไหว(แอนนิเมชัน) ่ เป็นการสร้างการเคลื่อนทีข่ องจุดหนึ่งจุด


al
n tr

ตามลาดับของออบเจ็กต์(วงกลมหรือส่วนของเส้นตรง)
Ce

สร้างข้อความ
ใช้ในการเปลีย่ นลักษณะของจุด
ใช้ในการเปลีย่ นลักษณะของเส้น
ใช้แสดงความยาวหรือค่าของออบเจ็กต์นนั ้
118

1.3 ตัวอย่างการใช้งานโปรแกรม C.a.R.


ตัวอย่างที่ 1 การสร้างกราฟ สามารถสร้างได้โดยปฏิบตั ดิ งั รูป
ขัน้ ที่ 1 ใช้คาสัง่ เพื่อกาหนดฟงั ก์ชนั และกาหนดค่าพารามิเตอร์ของค่า x ดังรูป

กาหนดค่าพารามิเตอร์ของ X

กาหนดฟงั ก์ชนั


วโิ ร
นิทร
นีคร
ศร

it y
ers
ลยั
ยา

niv
tU
วทิ
หา

ir o
งม

nw
ลา

ari

ขัน้ ที่ 2 กาหนดฟงั ก์ชนั ทีต่ อ้ งการสร้างกราฟ (ในทีน่ ้จี ะสาธิตการสร้า งกราฟ y = 2x+1)
ดุ ก

a kh
สม

จากนัน้ ก็กาหนดค่าพารามิเตอร์หรือค่า x (กาหนดค่า x จาก -10 ถึง 10) ดังรูป


rin
หอ

yS

กราฟของฟงั ก์ชนั ปรากฏดังรูปต่อไปนี้


rar
นกั

L ib
สาํ

al
n tr
Ce
119

ขัน้ ที่ 3 เมือ่ ทาการกาหนดฟงั ก์ชนั และค่าพารามิเตอร์เสร็จแล้ว ให้คลิกทีป่ มุ่ OK ก็จะได้


กราฟปรากฏดังรูปต่อไปนี้


วโิ ร
นิทร
คร
นี
ศร

it y
ers
ลยั
ยา

niv
tU
วทิ
หา

ir o
งม

nw

ตัวอย่างที่ 2 การสร้างกราฟของระบบสมการ
ลา

ari

ขัน้ ที่ 1 ให้ทาตามตัวอย่างที่ 1 ซ้ากัน เท่ากับจานวนของระบบสมการนัน้ (ในทีน่ ้ีจะสาธิต


ดุ ก

a kh
สม

การสร้างกราฟของระบบสมการ y = 2x +1 และ y = -2x + 1) ก็จะได้กราฟปรากฏดังรูปต่อไปนี้


rin
หอ

yS
rar
นกั

L ib
สาํ

al
n tr
Ce
สาํ
นกั
หอ
Ce สม
n tr ดุ ก
al ลา
L ib งม
rar หา
yS วทิ
rin ยา
ขัน้ ที่ 2 การหาจุดตัดของกราฟ โดยใช้คาสัง่

a kh ลยั
ศร
ari
nw นี คร
ir o นิ ทร
tU วโิ ร
และใช้คาสัง่

niv ฒ
ers
it y
เพื่อให้แสดงค่า ดังรูป
120
121

2. โปรแกรม Euler
โปรแกรม Euler เป็นโปรแกรมที่มคี วามสามารถในการคานวณและเขียนกราฟได้ รวมทัง้ มี
โปรแกรม Maxima แฝงอยู่ ซึง่ เป็นโปรแกรมระบบพีชคณิตทีม่ คี วามสามารถในการประมวลผลเชิง
สัญลักษณ์ และเป็นโปรแกรมทีไ่ ด้รบั อนุญาตให้ใช้และเผยแพร่ได้โดยไม่เสียค่า ลิขสิทธิ ์ ผูท้ พ่ี ฒ
ั นา
โปรแกรม Euler คือ ศาสตราจารย์ ดร.เรอเน่ กรอธมันน์ (Prof. Dr. René Grothmann) ชาวเยอรมัน
การใช้โปรแกรม Euler สาหรับการเรียนการสอนเรือ่ งกาหนดการเชิงเส้นในงานวิจยั นี้
มีจดุ ประสงค์เพื่อใช้เป็นเครือ่ งมือในการคานวณและการตรวจคาตอบ ซึง่ การนาโปรแกรม Euler
เข้ามาใช้ในการเรียนการสอนเป็นการช่วยประหยัดเวลาในการคานวณ ทาให้นกั เรียนเข้าใจ
กระบวนการและขัน้ ตอนการแก้ปญั หาจนเกิดเป็นทักษะและความชานาญ รวมทัง้ ทาให้นกั เรี ยน
มีความมันใจในการเรี
่ ยนมากขึน้


อุปกรณ์ทจ่ี าเป็นสาหรับการใช้ โปรแกรม C.a.R. ประกอบการเรียนตามบทเรียน มีดงั นี้

วโิ ร
1. เครือ่ งคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล พร้อมทัง้ คียบ์ อร์ด เมาส์ และจอภาพสี
ทร
2. ฮาร์ดดิสก์ ( Hard Disk ) ขนาดไม่น้อยกว่า 4 GB.
นิ
คร
3. แผ่นบันทึก 3.5 นิ้ว หรือ แผ่น CD ทีม่ ไี ฟล์ทใ่ี ช้ตามทีร่ ะบุในใบกิจกรรม
นี
ศร

it y
ers
4. ระบบปฏิบตั กิ าร Microsoft Window xp หรือรุน่ ใหม่กว่า
ลยั
ยา

niv
5. สนับสนุนเวอร์ชนตั ั ่ ง้ แต่ JAVA 1.4 ขึน้ ไป
tU
วทิ
หา

ir o
งม

nw

2.1 การดาวน์ โหลดและการติ ดตัง้ โปรแกรม


ลา

ari
ดุ ก

a kh

ผูว้ จิ ยั จะนาเสนอการดาวน์โหลดโปรแกรมและติดตัง้ โปรแกรม เพื่อเป็นประโยชน์ต่อ


สม

rin

นักเรียนและผูท้ ส่ี นใจทีจ่ ะศึกษาโปรแกรมโปรแกรม Euler ได้นาไปใช้ในการเรียนการสอนวิชา


หอ

yS

คณิตศาสตร์ โดยปฏิบตั ติ ามขัน้ ตอนดังนี้


rar
นกั

L ib
สาํ

1. เข้าไปในเว็บไซด์ www.google.com พิมพ์ Euler แล้วเลือกหัวข้อ Euler Math Toolbox


al

จะปรากฏภาพหน้าจอดังรูปข้างล่าง
n tr
Ce
สาํ
นกั
หอ
Ce สม
n tr ดุ ก
al ลา
L ib งม

2. คลิก Download จะปรากฏหน้าจอ ดังนี้


rar หา
yS วทิ
rin ยา
a kh ลยั
ศร
ari
nw นี คร
ir o นิ ทร
tU วโิ ร
niv ฒ
ers
it y
122
123

3. คลิก Stable Version ในหัวข้อ Windows เมือ่ ทาการคลิกแล้วก็จะปรากฏหน้าจอ ดังนี้


วโิ ร
ทร
นิ
คร
นี
ศร

it y
ers
ลยั
ยา

niv
tU
วทิ
หา

ir o
งม

nw

4. คลิก EulerSetup ในหัวข้อ Browse Files for Euler Math Toolbox จะปรากฏหน้าจอ
ลา

ari
ดุ ก

a kh

ดังนี้
สม

rin
หอ

yS
rar
นกั

L ib
สาํ

al
n tr
Ce
124

5. เมือ่ ทาตามขัน้ ตอนที่ 4 เสร็จแล้วจากนัน้ ทาการ save จะได้ตวั ติดตัง้ โปรแกรม


( ) เพื่อนาไปลงโปรแกรม แต่ถา้ หากเกิดปญั หาเกีย่ วกับการดาวน์โหลดให้คลิกไปที่
direct link

การติ ดตัง้ โปรแกรม


การติดตัง้ โปรแกรมทาตามขัน้ ตอนดังนี้
1. ดับเบิลคลิกที่
2. คลิก Run เมือ่ ทาการคลิก แล้วก็จะปรากฏหน้าจอ ดังภาพข้างล่าง


วโิ ร
ทร
นิ
นีคร
ศร

it y
ers
ลยั
ยา

niv
tU
วทิ
หา

ir o
งม

nw
ลา

ari
ดุ ก

a kh
สม

rin
หอ

yS
rar
นกั

L ib
สาํ

al
n tr
Ce

3. คลิก Next ไปเรือ่ ย ๆ แล้วคลิก Install เมือ่ ทาการคลิก แล้วก็จะปรากฏหน้าจอ ดังภาพ


ข้างล่าง
125


วโิ ร
นิทร
คร
นี
ศร

it y
ers
ลยั
ยา

niv
4. หลังจากนัน้ คลิก Finish ถือเป็นการเสร็จสิน้ การติดตัง้ โปรแกรม
tU
วทิ

5. การเรียกใช้โปรแกรม Euler โดยดับเบิลคลิกที่ จะปรากฏหน้าต่างการทางาน


หา

ir o
งม

nw

ของโปรแกรม ดังภาพข้างล่าง
ลา

ari

หน้าต่างกราฟิก
ดุ ก

a kh

หน้าต่างคาสัง่
สม

rin
หอ

yS
rar
นกั

L ib
สาํ

al
n tr
Ce
126

โปรแกรม Euler มีหน้าต่างการทางาน 2 หน้าต่าง ได้แก่ หน้าต่างคาสัง่ (EuMathT- Euler


Math Toolbox) และ หน้าต่างกราฟิก (EuMathT- Euler Math Toolbox - Graphics ) ดังภาพ
ประกอบด้านบน สามารถเปิดสลับหน้าต่างทัง้ สองด้วยการคลิกเมาส์เลือก หรือการกด Tab
ทีค่ ยี บ์ อร์ด โครงสร้างหน้าต่างคาสังจะมี
่ ดงั นี้

1
2


วโิ ร
นิทร
คร
นี
ศร

it y
3
ers
ลยั
ยา

niv
tU
วทิ
หา

ir o
งม

nw
ลา

ari
ดุ ก

a kh
สม

rin
หอ

yS
rar
นกั

L ib
สาํ

al
n tr
Ce

ส่วนประกอบหลักของโปรแกรม Euler มีอยูด่ ว้ ยกัน 3 ส่วน ดังนี้


1. ส่วนแสดงชื่อไฟล์โปรแกรม
2. ส่วนแสดงเมนูโปรแกรม
3. ส่วนแสดงคาสัง่
127

2.2 การใช้งานโปรแกรม Euler


คาอธิ บายเกี่ยวกับการใช้คาสังพื
่ ้นฐาน
คาสัง่ การใช้งาน
::3/5+4/6 คานวณค่า 3 4

5 6
::bfloat(2/3) ใช้ประมาณค่า โดยแสดงผลในรูปทศนิยม
::sqrt(10^2-5^2) คานวณค่า 10 2  5 2
::factor(x^2-3^2) แยกตัวประกอบของ (x2 - 32)
::expand((x+2)^3) กระจายรูปของ (x+2)3
::solve(x^2-1=0,x) แก้สมการ x2-1=0


::solve([x+y=3],[x, y]) แก้สมการ x + y = 3

วโิ ร
ทร
::solve ([x + 3*y = 2, 2*x - y = 5], [x, y]) แก้ระบบสมการ x + 3y = 2 และ
นิ
คร
2x – y = 5
นี
ศร

::load(simplex); การหาค่าต่าสุดของกาหนดการเชิงเส้น

it y
ers
ลยั

::minimize_lp(x+y, [3*x+2*y>=2, x+4*y>=3]) สมการจุดประสงค์คอื P  x  y


ยา

n iv
อสมการข้อจากัดคือ 3x  2y  2
tU
วทิ
หา

ir o

x  4y  3
งม

nw
ลา

ari

x  0, y  0
ดุ ก

a kh

::load(simplex); การหาค่าสูงสุดของกาหนดการเชิงเส้น
สม

rin
หอ

::maximize_lp(3*x+2*y,[x+2*y<=6,4*x+y<=8]) สมการจุดประสงค์คอื P  3x  2y
yS
rar

อสมการข้อจากัดคือ x  2y  6
นกั

L ib
สาํ

4x  y  8
al
n tr

x  0, y  0
Ce

(1) A=[2,1;2,3;0,1]; b=[16;24;6]; eq=[-1;-1;-1]; กราฟของระบบอสมการ


v=feasibleArea(A,b,eq); 2x  y  16
(2) plot2d(v[1],v[2],filled=1,style="/"); insimg; 2x  3y  24
y6
x  0, y  0
หมายเหตุ eq ใช้บอกเครือ่ งหมายของแต่ละ
อสมการ โดย -1 แทนเครือ่ งหมาย 
0 แทนเครือ่ งหมาย 
1 แทนเครือ่ งหมาย 
128

คาสัง่ การใช้งาน
insimg(15) เป็นคาสังการน
่ ากราฟทีส่ ร้างในหน้าต่างกราฟิก
เข้ามาแทรกในหน้าต่างคาสัง่
ค่าในวงเล็บคือขนาดของกราฟทีน่ ามาแทรกใน
หน้าต่างคาสังซึ่ ง่ มีค่า default อยูท่ ่ี 15
plot2d(“2*x+1”,a=-3,b=3) สร้างกราฟของ2x+1
โดยทีค่ ่า a, b, คือกรอบด้านซ้าย, ขวา
plot2d(“x^2”,a=-3,b=3), insimg(10); สร้างกราฟของ2x+1
โดยทีค่ ่า a, b, คือกรอบด้านซ้าย, ขวาและกราฟ
เข้ามาแทรกในหน้าต่างคาสัง่


plot2d("2*x+2*y<=4",a=-4,b=4,c=- สร้างกราฟอสมการ 2x  2y  4

วโิ ร
ทร
4,d=4,niveau=1,hue=0); insimg(15); โดยกาหนดกรอบด้านซ้าย(a) = -4 กรอบ
นิ
ด้านขวา(b) = 4 กรอบด้านล่าง(c)= -4 และ
นีคร
ศร

กรอบด้านบน(d)=4

it y
ers
ลยั

::limit(x^2,x,1) หาค่าของ lim x2


ยา

n iv
x1
tU

::limit(x^2,x,inf)
วทิ

หาค่าของ lim x 2
หา

ir o

x 
งม

หาอนุพนั ธ์ของฟงั ก์ชนั x2 - 2x


nw

::diff(x^2-2*x,x)
ลา

ari

::diff(x^3-2*x,x,3) หาอนุพนั ธ์อนั ดับที่ 3 ของฟงั ก์ชนั x3 - 2x


ดุ ก

a kh
สม

rin

::integrate(1/x,x) หาค่าของ  1
หอ

yS

x
rar
นกั

::integrate(x^2,x,0,2) 2
หาค่าของ  x 2
L ib
สาํ

al

0
n tr

::ratsimp(1/x-1/y) 1 1 yx
จัดรูปใหม่ของ  จะได้ผลลัพธ์คอื
Ce

x y xy
::bfloat(%pi) ประมาณค่า 
หมายเหตุ จะใช้ %pi แทน 

หมายเหตุ คาสังที
่ ม่ ี :: อยูข่ า้ งหน้าคือคาสังที
่ ป่ ระมวลผลจากโปรแกรม Maxima ซึง่ เป็นโปรแกรม
แบบ CAS ทีแ่ ฝงอยูใ่ นโปรแกรม Euler
129

2.3 ตัวอย่างการใช้งานโปรแกรม Euler


ตัวอย่างที่ 1 การแก้ระบบสมการ (x + 3y = 2, 2x – y = 5) สามารถดาเนินการได้โดย
การพิมพ์คาสัง::solve
่ ([x + 3*y = 2, 2*x - y = 5], [x, y]) เพื่อต้องการแก้ระบบสมการ จากนัน้
Enter จะได้ผลดังรูป


วโิ ร
นิทร
คร
นี
ศร

it y
ers
ลยั
ยา

n iv
tU
วทิ
หา

ir o
งม

nw
ลา

ari
ดุ ก

a kh
สม

rin
หอ

yS

ตัวอย่างที่ 2 การหาค่าสูงสุดของกาหนดการเชิงเส้น
rar
นกั

สมการจุดประสงค์คอื P  3x  2y
L ib
สาํ

อสมการข้อจากัดคือ
al
n tr
Ce

x  2y  6
4x  y  8
x  0, y  0
สามารถดาเนินการได้โดยการพิมพ์คาสัง่
(1) ::load(simplex);
(2) ::maximize_lp(3*x+2*y,[2*x+2*y<=6,4*x+2*y<=8]) จากนัน้ Enter จะได้ผลดังรูป
130


วโิ ร
ทร
นิ
นี คร
ศร

it y
ers
ลยั
ยา

n iv
ตัวอย่างที่ 3 การหาค่าต่าสุดของกาหนดการเชิงเส้น
tU
วทิ

สมการจุดประสงค์คอื P  x  y
หา

ir o
งม

nw

อสมการข้อจากัดคือ
ลา

ari

3x  2y  2
ดุ ก

a kh
สม

x  4y  3
rin
หอ

yS

x  0, y  0
rar
นกั

สามารถดาเนินการได้โดยการพิมพ์คาสัง่
L ib
สาํ

(1) ::load(simplex);
al
n tr

(2) ::minimize_lp(x+y, [3*x+2*y>=15, 4x+2*y>=16]) จากนัน้ Enter จะได้ผลดังรูป


Ce
131


วโิ ร
นิทร
นีคร
ศร

it y
ers
ลยั
ยา

n iv
3. การเข้าสู่บทเรียน
tU
วทิ

การเข้าสู่บทเรียนเรือ่ งกาหนดการเชิงเส้น มีขนั ้ ตอนดังนี้


หา

ir o
งม

1. ใส่แผ่น CD ทีม่ แี ฟ้มคาสังเกี


nw

่ ย่ วกับกิจกรรมการเรียนรูเ้ รือ่ งกาหนดการเชิงเส้น


ลา

ari

2. ดับเบิลคลิกที่ My Computer
ดุ ก

a kh
สม

3. ดับเบิลคลิกทีห่ น่วยขับแผ่น CD
rin
หอ

yS

4. ทาการติดตัง้ ระบบ JAVA 1.4 หรือรุน่ ใหม่กว่า เพื่อให้โปรแกรม C.a.R. แสดงผลได้


rar
นกั

สมบูรณ์ โดยการคัดลอกไฟล์ ไว้ท่ี Desktop และคลิกเพื่อติดตัง้


L ib
สาํ

5. คัดลอกโฟลเดอร์ กิจกรรมการเรียนรูเ้ รือ่ งกาหนดการเชิงเส้น ไว้ท่ี Desktop


al
n tr

6. ดับเบิลคลิกที่ กิจกรรมการเรียนรูเ้ รือ่ งกาหนดการเชิงเส้น บน Desktop


Ce

7. ดับเบิลคลิกที่ เมนูหลัก จะปรากฏหน้าจอดังรูป


132


วโิ ร
นิทร
นีคร
ศร

it y
ers
ลยั
ยา

n iv
tU
วทิ
หา

8. คลิกทีก่ จิ กรรมการเรียนรู้ ภายในจะมีกจิ กรรมให้นกั เรียนปฏิบตั ทิ งั ้ หมด 2 หน่วยการ


ir o
งม

nw

เรียน จะปรากฏหน้าจอ ดังนี้


ลา

ari
ดุ ก

a kh
สม

rin
หอ

yS
rar
นกั

L ib
สาํ

al
n tr
Ce
133

9. คลิกเลือกหน่วยการเรียนทีต่ อ้ งการทากิจกรรมการเรียนการสอน เช่น กิจกรรมการเรียน


ในหน่วยการเรียนที่ 1 จะปรากฏหน้าจอ ดังนี้


วโิ ร
นิทร
คร
นี
ศร

it y
ers
ลยั
ยา

n iv
9.1 เลือกเรือ่ งทีต่ อ้ งการทากิจกรรมในหน่วยการเรียนที่ 1 เช่น กิจกรรมกราฟของ
tU
วทิ
หา

ระบบสมการเชิงเส้น
ir o
งม

nw
ลา

ari
ดุ ก

a kh
สม

rin
หอ

yS
rar
นกั

L ib
สาํ

al
n tr
Ce

เมือ่ นักเรียนได้ทาการปฏิบตั โิ ดยการสารวจ สังเกต และได้ขอ้ สรุปแล้ ว ให้นกั เรียนคลิก


Back เพื่อกลับไปสู่หน้ากิจกรรมการเรียนรู้
134

10. คลิกเลือกหน่วยการเรียนที่ 2 จะปรากฏหน้าจอ ดังนี้


วโิ ร
นิทร
คร
นี
ศร

it y
ers
ลยั
ยา

n iv
tU
วทิ
หา

10.1. เลือกเรือ่ งทีต่ อ้ งการทากิจกรรมในหน่วยการเรียนที่ 2 เช่น กิจกรรมการสารวจหาผล


ir o
งม

nw

เฉลยทีเ่ หมาะสมของกาหนดการเชิงเส้น
ลา

ari
ดุ ก

a kh
สม

rin
หอ

yS
rar
นกั

L ib
สาํ

al
n tr
Ce
135

10.2 เมือ่ นักเรียนต้องการใช้งานแฟ้มคาสังที


่ ส่ ร้างจากโปรแกรม Euler ให้คลิกสัญลักษณ์
เมือ่ คลิกแล้วจะปรากฏหน้าต่างคาถามยืนยันการเปิดโปรแกรม ให้นกั เรียนคลิกเปิด (Open)
ได้ดงั ภาพประกอบด้านล่าง


วโิ ร
ทร
นิ
คร
นี
ศร

it y
ers
ลยั
ยา

n iv
tU
วทิ
หา

ir o
งม

nw
ลา

ari
ดุ ก

a kh
สม

rin
หอ

yS
rar
นกั

L ib
สาํ

al
n tr
Ce

ภายในแฟ้มจะมีคาสังแฟ
่ ้ มคาสังนั
่ กเรียนสามารถใช้งานโปรแกรม Euler
136


วโิ ร
ทร
นิ
คร
นี
ศร

it y
ers
ลยั
ยา

n iv
ภาคผนวก ค
tU
วทิ
หา

ir o

แผนการจัดการเรียนรู้เรื่องกาหนดการเชิ งเส้น
งม

nw
ลา

ari

โดยใช้โปรแกรม C.a.R.และโปรแกรม Euler


ดุ ก

a kh
สม

rin
หอ

yS
rar
นกั

L ib
สาํ

al
n tr
Ce
137

แผนการจัดการเรียนรู้ 1
กลุ่มสาระการเรียนรูค้ ณิตศาสตร์ ชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 3
หน่วยที่ 1 ความรูเ้ บือ้ งต้นของกาหนดการเชิงเส้น
เรือ่ ง ความหมายของกาหนดการเชิงเส้น เวลา 1 คาบ

1. สาระสาคัญ/ความคิ ดรวบยอด
กาหนดการเชิงเส้น (Linear Programming) เป็นตัวแบบทางคณิตศาสตร์ทส่ี ร้างขึน้ แทน
ปญั หาทีเ่ กิดขึน้ เพื่อหาแนวทางในการแก้ปญั หาทีด่ ที ส่ี ุดตามเป้าหมายทีต่ งั ้ ไว้ และสอดคล้อง
กับเงือ่ นไขทีม่ อี ยูใ่ นปญั หานัน้ ๆ โดยทีค่ วามสัมพันธ์ของตัวแปรต่างๆ เกีย่ วข้องเป็นเชิงเส้นทัง้ สิน้


ซึง่ จะนาไปใช้ในการแก้ปญั หาการจัดสรรทรัพยากร หรือกิจกรรมต่างๆ ทีมอี ยูอ่ ย่างจากัด เพื่อให้ได้

วโิ ร
บรรลุตามวัตถุประสงค์ท่ตี อ้ งการ เช่น กาไรสูงสุด ค่าใช้จา่ ยน้อยสุด เป็นต้น
นิทร
คร
2. จุดประสงค์การเรียนรู้
นี
ศร

it y
ers
ลยั

ด้านความรู้
ยา

n iv
1. นักเรียนมีความรูค้ วามเข้าใจความหมายของกาหนดการเชิงเส้นได้
tU
วทิ
หา

ir o

2. นักเรียนมีความรูค้ วามเข้าใจเกีย่ วกับประวัตคิ วามเป็นมาของกาหนดการเชิ งเส้น


งม

nw

3. นักเรียนมีความรูค้ วามเข้าใจในการนากาหนดการเชิงเส้นไปประยุกต์
ลา

ari
ดุ ก

a kh

ใช้กบั แก้ปญั หาต่างๆ


สม

rin

ด้านทักษะ/กระบวนการ
หอ

yS
rar

1. มีความสามารถในการให้เหตุผล
นกั

L ib
สาํ

2. มีความสามารถในการสื่อสาร และนาเสนอ
al
n tr

ด้านคุณลักษณะ
Ce

1. มีส่วนร่วมและมีความรับผิดชอบ ในระหว่างการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
2. มีความสนใจและกระตือรือร้นในการเรียนและการทางาน
3. มีความเชื่อมันในตนเอง
่ และกล้าแสดงความคิดเห็น
138

3. สาระการเรียนรู้
กาหนดการเชิ งเส้น (Linear Programming) เป็นตัวแบบทางคณิตศาสตร์ทส่ี ร้างขึน้
แทนปญั หาทีเ่ กิดขึน้ เพื่อหาแนวทางในการแก้ปญั หาทีด่ ที ส่ี ุดตามเป้าหมายทีต่ งั ้ ไว้ และสอดคล้อง
กับเงือ่ นไขทีม่ อี ยูใ่ นปญั หานัน้ ๆ โดยทีค่ วามสัมพันธ์ของตัวแปรต่างๆ เกีย่ วข้องเป็นเชิงเส้นทัง้ สิน้
ซึง่ จะนาไปใช้ในการแก้ปญั หาการจัดสรรทรัพยากร หรือกิจกรรมต่างๆ ทีมอี ยูอ่ ย่างจากั ด เพื่อให้ได้
บรรลุตามวัตถุประสงค์ทต่ี อ้ งการ เช่น กาไรสูงสุด ค่าใช้จา่ ยน้อยสุด เป็นต้น

ประวัติความเป็ นมาของกาหนดการเชิ งเส้น


กาหนดการเชิงเส้นมีการพัฒนาและนาไปประยุกต์ครัง้ แรกในปี ค.ศ.1947 เมือ่ เดือน
มิถุนายน โดยมีหวั หน้าคณะทางาน คือ ยอร์จ บี ดานท์ซกิ (George B. Dantzig) และ มาร์แชล วูด


(Marshall Wood) พร้อมทัง้ ทีมผูร้ ว่ มงานในกองทัพอากาศสหรัฐอเมริกาในช่วงนัน้ คณะทางานชุดนี้

วโิ ร
ได้รบั มอบหมายให้วเิ คราะห์ความเป็นไปได้ในการประยุกต์คณิตศาสตร์และเทคนิคทีเ่ กีย่ วข้องต่อ
ทร
ปญั หาการวางแผนและการวางโปรแกรมทางทหาร ภารกิจที่ ได้รบั มอบหมายนัน้ ทาให้ ดานท์ซกิ
นิ
คร
ได้เสนอวิธกี ารทีเ่ กีย่ วกับความสัมพันธ์ระหว่างกิจกรรมต่า งๆ ขององค์กรขนาดใหญ่ เป็นแบบจาลอง
นี
ศร

it y
ers
ของกาหนดการเชิงเส้น ทาให้บรรลุเป้าหมายสูงสุด ทีว่ างไว้ นับว่าเขาเป็นผูเ้ ริม่ ต้นสร้างแบบจาลอง
ลยั
ยา

n iv
ทางคณิตศาสตร์ของปญั หากาหนดการเชิงเส้นและในปีน้เี องก็ได้เสนอวิธกี ารแก้ปญั หากาหนดการ
tU
วทิ
หา

ir o

เชิงเส้นทีเ่ รียกว่า วิธซี มิ เพล็กซ์ (Simplex Method) และต่อมาก็มกี ารพัฒนาแนวคิดของ ดานท์ซกิ


งม

nw

โดยกองทัพอากาศสหรัฐฯ ได้จดั ตัง้ คณะวิจยั คณะหนึ่งภายใต้ช่อื โครงการสคูป (SCOOP: Scientific


ลา

ari
ดุ ก

a kh

Computation of Optimum Program) ซึง่ เป็นโครงการทีม่ สี ่วนสาคัญในการพัฒนาและประยุกต์


สม

rin

แบบจาลองของกาหนดการเชิงเส้น โดยในช่วงต้น กาหนดการเชิงเส้นส่วนใหญ่ จะถูกนาไปประยุกต์


หอ

yS

ในวงการทหาร และทางเศรษฐศาสตร์ในแบบจาลอง Input-Output ของลีอองทีฟ (Leontief) และ


rar
นกั

L ib
สาํ

ปญั หาเกม ต่อจากนัน้ ก็แพร่หลายในด้านอุตสาหกรรม ด้านสังคม และปญั หาทีอ่ ยูอ่ าศัย


al

สาหรับการนาเครือ่ งคอมพิวเตอร์มาใช้ในการแก้ปญั หาแบบจาลองกาหนดการเชิงเส้น


n tr
Ce

ประสบผลสาเร็จครัง้ แรกทีอ่ งค์กร National Bureau of Standard ของสหรัฐอเมริกา เมือ่ ปี ค.ศ.


1952 ตัง้ แต่นนั ้ ปญั หากาหนดการเชิงเส้นโดยวิธกี ารซิมเพล็กซ์ ได้พฒ ั นาเป็ นโปรแกรมทีน่ ามาใช้
ในเครือ่ งคอมพิวเตอร์ จนกระทังป ่ จั จุบนั มีโปรแกรมสาเร็จรูป ทีส่ ามารถนาไปใช้ในคอมพิวเตอร์
ส่วนบุคคลได้
ต่อมาในปี ค.ศ. 1984 นับได้ว่าได้เป็นจุดเริม่ ต้นทีส่ าคัญอีกก้าวหนึ่งของวิชากาหนดการ
เชิงเส้น เมือ่ นาเรนดรา คาร์มาร์คาร์ (Narendra Karmarkar) ได้เสนอผลงานวิจยั ใหม่ทางด้าน
ทฤษฎีเกีย่ วกับกาหนดการเชิงเส้น ซึง่ เป็นวิธกี ารใหม่ในการแก้ปญั หากาหนดการเชิงเส้น เรือ่ ง
“A New Polynomial-time Algorithm for Linear Programming” วิธกี ารของ คาร์มาร์คาร์
(Karmarkar ‘s Algorithm) สามารถนาไปใช้ในการหาผลลัพธ์ของปญั หากาหนดการเชิงเส้น
ขนาดใหญ่ได้ผลดี ในมหาวิทยาลัยบางแห่งได้บรรจุเป็นเนื้อหาหลักสูตรในการสอนนักศึกษา
139

แต่ไม่บรรลุผลสาเร็จเท่าทีค่ วรเนื่องจากมีความยากในการสอน และสมาคมการวิจยั ดาเนินงาน


แห่งสหรัฐอเมริกาได้จดั ให้มกี ารอบรมเชิงปฏิบตั กิ าร ในวิธขี องคาร์มาร์คาร์ เมือ่ ปี ค.ศ.1987
ในระหว่างเดือนตุลาคม ผลของการประชุมปฏิบตั กิ ารครัง้ นัน้ ได้อภิปรายถึงวิธกี ารของคาร์มาร์คาร์
ทีย่ ากในการสอนว่าเพราะเป็นวิธกี ารยุง่ ยากและซับซ้อนมาก นอกจากนัน้ จะเป็นการสร้างความ
เข้าใจในเชิงเรขาคณิตต้องเขียนรูป 3 มิติ ไม่สามารถเขียนรูป 2 มิตไิ ด้ และถ้าใช้การคานวณ
โดยใช้มอื ในกรณีทเ่ี ป็นปญั หาขนาดเล็กจะเสียเวลามากในการคานวณ ซึง่ ต่างจากวิธซี มิ เพล็กซ์
ยอร์ชบี แดนท์ซกิ (George B. Dantzig) นับได้ว่าเป็นบิดาของกาหนดการเชิงเส้น ทัง้ นี้
เพราะเป็ นผูเ้ ริม่ สร้างรูปแบบทัวไปของก
่ าหนดการเชิงเส้นและพัฒนาวิธกี ารอย่างมีระบบ ในการหา
คาตอบทีด่ ที ส่ี ุดของปญั หากาหนดการเชิงเส้นในปี พ.ศ. 2490 วิธกี ารหาคาตอบดังกล่าวยังคงใช้อยู่
จนถึงปจั จุบนั ภายใต้ช่อื ว่า วิธซี มิ เพล็กซ์ (Simplex Method)


วโิ ร
การประยุกต์ใช้กาหนดการเชิ งเส้น
ทร
กาหนดการเชิงเส้นได้ถูกนาไปใช้ในการแก้ปญั หาด้านต่างๆ อย่างกว้างขวาง ซึง่ ได้ช่วย
นิ
คร
ให้เกิดประสิทธิภาพในการบริหาร และการดาเนินงานขององค์การหรือหน่วยงานนัน้ ๆ ในปจั จุบนั นี้
นี
ศร

it y
ers
เทคนิคกาหนดการเชิงเส้นได้ถูกนาไปประยุกต์ใช้กบั ปญั หาในด้านต่างๆ มากมาย ได้แก่
ลยั
ยา

n iv
1. ปญั หาการผลิต (Product Mix Problem) เป็นการพิจารณาหาปริมาณสินค้าแต่ละ
tU
วทิ
หา

ir o

ประเภททีค่ วรทาการผลิต เพื่อทีจ่ ะให้การใช้ทรัพยากรทีม่ อี ยูไ่ ม่ว่าจะเป็น เครือ่ งจักร วัตถุดบิ


งม

nw

แรงงาน นัน้ เป็นไปอย่างเหมาะสม เพื่อทีจ่ ะได้ผลตอบแทนสูงสุด


ลา

ari
ดุ ก

a kh

2. ปญั หาการผสมสาร (Blending Problem) เป็นการพิจารณาปริมาณสารหรือวัตถุดบิ


สม

rin

ชนิดต่างๆ ทีจ่ ะนามาผสมกันหรือนามาใช้ในการผลิตสินค้าประเภทต่างๆ ตามคุณสมบัตทิ ไ่ี ด้


หอ

yS

กาหนดไว้ เพื่อทีจ่ ะได้มคี ่าใช้จา่ ยต่าสุด


rar
นกั

L ib

3. ปญั หาการขนส่ง (Transportation Problem) เป็นการพิจารณาปริมาณสินค้าทีจ่ ะ


สาํ

al

ทาการขนส่งจากแหล่งผลิตสินค้าไปยังผูบ้ ริโภคหรือจุดหมายปลายทาง เพื่อ ให้ค่าใช้จา่ ยในการ


n tr
Ce

ขนส่งทีต่ ่าสุด หรือส่งสินค้าถึงจุดหมายปลายทางได้เร็ว สุด


4. ปญั หาการมอบหมายงาน (Assignment Problem) เป็นการพิจารณาการมอบหมาย
งานทีจ่ ะต้องทาให้กบั บุคลากรหรือเครือ่ งจักร เพื่อให้งานที่ได้รบั มอบหมายแล้วเสร็จในเวลาเร็วสุด
หรือเสียค่าใช้จา่ ยน้อยสุด
5. ปญั หาการลงทุน (Investment Project Problem) เป็นการพิจารณาจัดสรรเงิน
ลงทุนในโครงการลงทุนต่างๆ เพื่อให้ได้ผลตอบแทนสูงสุด
6. ปญั หาการเลือกสื่อโฆษณา (Media Selection) เป็นการพิจารณาเลือกสื่อโฆษณา
ชนิดต่างๆ เพื่อให้ขอ้ มูลหรือข่าวสารทีต่ อ้ งการเผยแพร่ออกสู่เป้าหมายเป็นจานวนมากสุด หรือโดย
เสียค่าใช้จา่ ยในการโฆษณาน้อยสุด
140

7. ปญั หาการตัดกระดาษ (Trim Loss Problem) เป็นการพิจารณารูปแบบหรือวิธกี าร


ตัดกระดาษ (หรือสินค้าอื่นๆ ทีม่ คี ุณสมบัตคิ ล้ายคลึงกัน เช่น การตัดผ้ า การตัดแผ่นเหล็ก) เพื่อทีจ่ ะ
หารูปแบบการตัดกระดาษขนาดมาตรฐานทีม่ อี ยูอ่ อกเป็นขนาดและปริมาตรต่างๆ ตามความ
ต้องการ เพื่อทีจ่ ะให้มเี ศษ (ส่วนทีใ่ ช้ประโยชน์ต่อไปไม่ได้) น้อยสุด
8. ปญั หาทางด้านการทหาร อาจนาเอากาหนดการเชิงเส้นใช้ในการพิจารณาวาง
แผนการส่งกาลังบารุง การเลือกกาหนดจานวนอาวุธยุทโธปกรณ์ การกาหนดยุทธศาสตร์ ฯลฯ

4. การจัดกิ จกรรมการเรียนรู้
ขัน้ นา
1. ครูแจกเอกสารหน่วยการเรียนที่ 1: ความรูเ้ บือ้ งต้นของกาหนดการเชิงเส้น เรือ่ ง


ความหมายของกาหนดการเชิงเส้น และบอกจุดประสงค์การเรียนรูใ้ ห้นกั เรียนทราบ

วโิ ร
ขัน้ สอน
ทร
2. ครูอธิบายความหมาย ประโยชน์ ประวัตคิ วามเป็นมาของกาหนดการเชิงเส้น และบิดา
นิ
คร
ของกาหนดการเชิงเส้น พร้อมทัง้ ให้นกั เรียนศึกษาเอกสารทีค่ รูแจกให้ ควบคู่กนั ไป
นี
ศร

it y
ers
3. ครูเปิดโอกาสให้นกั เรียนซักถามข้อสงสัยต่าง ๆ และให้แนวคิดพร้อมทัง้ อธิบายสร้าง
ลยั
ยา

n iv
ความเข้าใจแก่นกั เรียน จากนัน้ ให้นกั เรียนยกตัวอย่างของปญั หาทีส่ ามารถนากาหนดการเชิงเส้นไป
tU
วทิ
หา

ประยุกต์ใช้แก้ปญั หา
ir o
งม

nw

4. ครูแจกใบกิจกรรมที่ 1 เรือ่ งความหมายของกาหนดการเชิงเส้น ให้นกั เรียนลงมือทา


ลา

ari
ดุ ก

a kh

เป็นรายบุคคล ครูคอยสังเกต และให้คาแนะนาตามความเหมาะสม


สม

rin

5. ให้นกั เรียนส่งใบกิจกรรมที่ 1 เรือ่ งความหมายของกาหนดการเชิงเส้น เพื่อเป็นส่วน


หอ

yS

หนึ่งของการประเมินผล จากนัน้ ครูและนักเรียนร่วมกันเฉลยใบกิจกรรม


rar
นกั

L ib
สาํ

ขัน้ สรุป
al

6. ครูให้นกั เรียนช่วยกันสรุปความหมาย ประโยชน์และความสาคัญของกาหนดการ


n tr
Ce

เชิงเส้น

5. สื่อการเรียนการสอน
1. ใบกิจกรรมที่ 1 เรือ่ งความหมายของกาหนดการเชิงเส้น
2. เอกสารหน่วยการเรียนที่ 1 ความหมายของกาหนดการเชิงเส้น

6. การวัดและประเมิ นผล
1. สังเกตจากการตอบคาถามของนักเรียน
2. สังเกตจากการให้ความร่วมมือในระหว่างการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
3. ใบกิจกรรมที่ 1 เรือ่ งความหมายของกาหนดการเชิงเส้น
141

7. บันทึกหลังการจัดการเรียนรู้
...................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................


...................................................................................................................................................

วโิ ร
...................................................................................................................................................
ทร
...................................................................................................................................................
นิ
คร
...................................................................................................................................................
นี
ศร

it y
ers
...................................................................................................................................................
ลยั
ยา

n iv
...................................................................................................................................................
tU
วทิ
หา

ir o

...................................................................................................................................................
งม

nw

...................................................................................................................................................
ลา

ari
ดุ ก

a kh

...................................................................................................................................................
สม

rin

...................................................................................................................................................
หอ

yS

...................................................................................................................................................
rar
นกั

L ib
สาํ

...................................................................................................................................................
al

...................................................................................................................................................
n tr
Ce

...................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................

ลงชื่อ..................................... ผูส้ อน
วันเดือนปี……../………../………….
เวลา...............................................
142

แผนการจัดการเรียนรู้ 2
กลุ่มสาระการเรียนรูค้ ณิตศาสตร์ ชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 3
หน่วยที่ 1 ความรูเ้ บือ้ งต้นของกาหนดการเชิงเส้น
เรือ่ ง กราฟระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร เวลา 2 คาบ

1. สาระสาคัญ/ความคิ ดรวบยอด
1. การเขียนกราฟสมการเชิงเส้นสองตัวแปรอย่างง่าย คือ การหาจุดตัดแกน X และจุดตัด
แกน Y แล้วเขียนเส้นตรงทีผ่ ่านจุดตัดแกน X และแกน Y
2. การเขียนกราฟระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร เป็นการเขียนกราฟของทุกสมการ


ทีก่ าหนดให้บนแกนพิกดั ฉากเดียวกัน กราฟระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปรมี 3 ลักษณะคือ

วโิ ร
เป็นกราฟทีต่ ดั กัน กราฟทีข่ นานกันและกราฟทีเ่ ป็นเส้นตรงเดียวกัน
ทร
นิ
คร
2. จุดประสงค์การเรียนรู้
นี
ศร

it y
ด้านความรู้ ers
ลยั
ยา

n iv
1. นักเรียนสามารถเขียนกราฟสมการเชิงเส้นสองตัวแปรได้
tU
วทิ
หา

ir o

2. นักเรียนสามารถเขียนกราฟระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปรได้
งม

nw

ด้านทักษะ/กระบวนการ
ลา

ari
ดุ ก

a kh

1. มีความสามารถในการให้เหตุผล
สม

rin

2. มีความสามารถในการสื่อสาร และนาเสนอ
หอ

yS

ด้านคุณลักษณะ
rar
นกั

L ib
สาํ

1. มีส่วนร่วมและมีความรับผิดชอบ ในระหว่างการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
al
n tr

2. มีความสนใจและกระตือรือร้นในการเรียนและการทางาน
Ce

3. มีความเชื่อมันในตนเอง
่ และกล้าแสดงความคิดเห็น

3. สาระการเรียนรู้

สมการเชิ งเส้นสองตัวแปร หมายถึง สมการทีอ่ ยูใ่ นรูป


Ax  By  C  0
เมือ่ x, y เป็นตัวแปร A, B และ C เป็นค่าคงตัว A  0 หรือ B  0
143

กราฟของสมการเชิ งเส้นสองตัวแปร
การเขียนกราฟสมการเชิงเส้นสองตัวแปรอย่างง่ าย สามารถทาได้โดยใช้จดุ 2 จุดคือ
จุดตัดแกน X และจุดตัดแกน Y มีวธิ กี ารดังนี้
จุดตัดแกน X หาได้จากการแทนค่า y = 0 ในสมการ
จุดตัดแกน Y หาได้จากการแทนค่า x = 0 ในสมการ
ลักษณะกราฟของสมการเชิงเส้นสองตัวแปร คือ
1. เมือ่ A  0 และ B  0 จะได้ว่า กราฟสมการจะเป็นเส้นตรง ขนานกับแกน X
2. เมือ่ A  0 และ B  0 จะได้ว่า กราฟสมการจะเป็นเส้นตรง ขนานกับแกน Y
3. เมือ่ A  0 และ B  0 จะได้ว่า กราฟสมการจะเป็นเส้นตรงทีต่ ดั แกน X และแกน Y


วโิ ร
ระบบสมการเชิ งเส้นสองตัวแปร หมายถึง สมการเชิงเส้นทีม่ ตี วั แปร

ทร
สองตัวและมีจานวนสมการจากัดมากกว่าหรือเท่ากับหนึ่งสมการ
นิ
คร
นี
ศร

it y
ers
ลยั
ยา

n iv
คาตอบของระบบสมการเชิ งเส้นสองตัวแปร คือ คู่อนั ดับ (x, y) ทีส่ อดคล้องกับ
tU
วทิ

สมการทัง้ สองของระบบสมการ หรือคู่อนั ดับ (x, y) ทีค่ ่า x และค่า y ทีท่ าให้สมการทัง้ สอง
หา

ir o
งม

nw

ของระบบสมการเป็นจริง
ลา

ari
ดุ ก

a kh
สม

กราฟของระบบสมการเชิ งเส้นสองตัวแปร
rin
หอ

yS

การเขียนกราฟระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปรเกิดจากการสร้างกราฟทุกสมการที่
rar
นกั

กาหนดให้บนแกนพิกดั ฉากเดียวกัน
L ib
สาํ

al

ลักษณะกราฟระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร มีดว้ ยกัน 3 กรณี ดังนี้


n tr

1. ระบบสมการมีคาตอบเพียงคาตอบเดียว (กราฟเป็นเส้นตรงสองเส้นทีต่ ดั กัน)


Ce

2. ระบบสมการมีคาตอบหลายคาตอบ (กราฟเป็นเส้นตรงทีซ่ อ้ นทับกัน )


3. ระบบสมการไม่มคี าตอบ (กราฟเป็นเส้นตรงทีข่ นานกัน )
144

4. การจัดกิ จกรรมการเรียนรู้
(คาบ2)
ขัน้ นา
1. ครูแจกเอกสารหน่วยการเรียนที่ 1: ความรูเ้ บือ้ งต้นของกาหนดการเชิงเส้น เรือ่ งกราฟข
ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปรและบอกจุดประสงค์การเรียนรูใ้ ห้นกั เรียนทราบ
2. ครูทบทวนเกีย่ วความหมายและความเข้าใจเกีย่ วกับสมการเชิง เส้นสองตัวแปร โดย
ให้นกั เรียนยกตัวอย่างสมการเชิงเส้นสองตัวแปร
ขัน้ สอน
3. ครูอธิบายเกีย่ วกับการเขียนกราฟสมการเชิงเส้นสองตัวแปรตามเอกสารหน่วยการ
เรียนรูท้ ่ี 1: กราฟระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร โดยให้นกั เรียนร่วมอภิปรายไปพร้อมกัน ตาม


ตัวอย่างที่ 1

วโิ ร
4. ครูให้นกั เรียนลองฝึกปฏิบตั กิ ารเขียนกราฟสมการเชิงเส้นสองตัวแปรในตัวอย่างที่ 2, 3
ทร
และ 4 ด้วยตัวเอง โดยครูเป็นผูค้ อยดูแล ให้คาแนะนา และกระตุน้ ให้นกั เรียนฝึกปฏิบตั ดิ ว้ ยการ
นิ
คร
ถาม-ตอบ
นี
ศร

it y
ers
5. จากนัน้ ครูให้นกั เรียนเปิดแฟ้มกิจกรรมทีส่ ร้างโดยโปรแกรม C.a.R. และโปรแกรม
ลยั
ยา

n iv
Euler ในหน่ วยการเรียนที่ 1 ในกิจกรรมการสร้างกราฟสมการเชิงเส้นสองตัวแปร เพื่อให้นกั เรียน
tU
วทิ
หา

ir o

สามารถเขียนกราฟสมการเชิงเส้นสองตัวแปรได้โดยใช้โปรแกรม C.a.R. ในตัวอย่างที่ 5 โดย


งม

nw

ครูเป็นผูค้ อยดูแล ให้คาแนะนา และกระตุน้ ให้นกั เรียนฝึกปฏิบตั ิ


ลา

ari
ดุ ก

a kh

6. เมือ่ นักเรียนปฏิบตั กิ จิ กรรมเสร็จ แล้ว ครูสุ่มถามนักเรียนเพื่อให้นกั เรียนออกมาอธิบาย


สม

rin

สิง่ ทีน่ กั เรียนได้จากการทากิจกรรม และสรุปลักษณะกราฟสมการเชิงเส้นสองตัวแปรร่วมกัน ควบคู่


หอ

yS

กับการศึกษากิจกรรมลักษณะกราฟสมการเชิงเส้นสองตัวแปรทีส่ ร้างโดยโปรแกรม C.a.R. เพื่อให้


rar
นกั

L ib
สาํ

นักเรียนเกิดความเข้าใจทีถ่ ูกต้อง
al

7. ครูแจกใบกิจกรรมที่ 2 เรือ่ งกราฟสมการเชิงเส้นสองตัวแปร ให้นกั เรียนลงมือทาเป็น


n tr
Ce

รายบุคคล ครูคอยสังเกต และให้คาแนะนาตามความเหมาะสม


8. ให้นกั เรียนส่งใบกิจกรรมที่ 2 เรือ่ งกราฟสมการเชิงเส้นสองตัวแปร เพื่อเป็นส่วนหนึ่ง
ของการประเมินผล จากนัน้ ครูและนักเรียนร่วมกันเฉลยใบกิจกรรม
ขัน้ สรุป
9. ครูให้นกั เรียนช่วยกันสรุปขัน้ ตอนการเขียนกราฟและลักษณะกราฟสมการเชิงเส้นสอง
ตัวแปร
145

(คาบ 3)
ขัน้ นา
1. ครูทบทวนเกีย่ วกับการเขียนกราฟและลักษณะกราฟสมการเชิงเส้นสองตัวแปร
ขัน้ สอน
2. ครูทบทวนความหมายและความเข้าใจเกีย่ วกับระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร และ
อธิบายเกีย่ วกับกราฟระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปรตามเอกสารหน่วยการเรียนรูท้ ่ี 1:
กราฟระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร โดยให้นกั เรียนร่วมอภิปรายไปพร้อม ๆ กัน ตาม
ตัวอย่างที่ 6 โดยครูคอยกระตุน้ ให้นกั เรียนมีส่วนร่วมในการทาและร่วมกิจกรรมด้วยการตัง้ คาถาม
เพื่อให้นกั เรียนได้แสดงออกและมีส่วนร่วมในกิจกรรมการเรียนการสอน
3. ครูให้นกั เรียนลองฝึกปฏิบตั กิ ารเขียนกราฟระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปรในตัวอย่างที่


7 และ 8 ด้วยตัวเอง โดยครูเป็นผูค้ อยดูแล ให้คาแนะนา และกระตุน้ ให้นกั เรียนฝึก ปฏิบตั ดิ ว้ ยการ

วโิ ร
ถาม-ตอบ
ทร
4. ครูให้นกั เรียนเปิดแฟ้มกิจกรรมทีส่ ร้างโดยโปรแกรม C.a.R. และโปรแกรม Euler
นิ
คร
ในหน่วยการเรียนที่ 1 ในกิจกรรมการเขียนกราฟระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร เพื่อให้นกั เรีย น
นี
ศร

it y
ers
สามารถเขียนกราฟระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปรได้โดยใช้โปรแกรม C.a.R. ตัวอย่างที่ 9 โดยครู
ลยั
ยา

n iv
เปิดโอกาสให้นกั เรียนได้ปฏิบตั กิ จิ กรรมตามความสามารถของตนเอง โดยทีค่ รูมหี น้าที่ คอยดูแล
tU
วทิ
หา

ir o

ชีแ้ จง และแนะนานักเรียนให้ปฏิบตั กิ จิ กรรมได้อย่างถูกต้อง


งม

nw

5. เมือ่ นักเรียนปฏิบตั กิ จิ กรรมเสร็จแล้ว ครูสุ่มถามนักเรียนเพื่อให้นกั เรียนออกมาอธิบาย


ลา

ari
ดุ ก

a kh

สิง่ ทีน่ กั เรียนได้จากการทากิจกรรม และสรุปลักษณะกราฟระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปรร่วมกัน


สม

rin

ควบคู่กบั การศึกษากิจกรรมลักษณะกราฟระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปรทีส่ ร้างโดยโปรแกรม


หอ

yS

C.a.R. เพื่อให้นกั เรียนเกิดความเข้าใจทีถ่ ูกต้อง


rar
นกั

L ib
สาํ

6. ครูแจกใบกิจกรรมที่ 3 เรือ่ งกราฟระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร ให้นกั เรียนลงมือทา


al

เป็นรายบุคคล ครูคอยสังเกต และให้คาแนะนาตามความเหมาะสม


n tr
Ce

7. ให้นกั เรียนส่งใบกิจกรรมที่ 3 เรือ่ งกราฟระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร เพื่อเป็นส่วน


หนึ่งของการประเมินผล จากนัน้ ครูและนักเรียนร่วมกันเฉลยใบกิจกรรม
ขัน้ สรุป
8. ครูให้นกั เรียนช่วยกันสรุปขัน้ ตอนการเขียนกราฟและลักษณะกราฟสมการเชิงเส้นสอง
ตัวแปรและระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร

5. สื่อการเรียนการสอน
1. ใบกิจกรรมที่ 2 เรือ่ งกราฟของสมการเชิงเส้นสองตัวแปร
2. ใบกิจกรรมที่ 3 เรือ่ งกราฟของระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร
3. เอกสารหน่วยการเรียนที่ 1 ความหมายของกาหนดการเชิงเส้น
146

4. กิจกรรมทีส่ ร้างโดยโปรแกรม C.a.R. และโปรแกรม Euler


5. คู่มอื การใช้ชุดกิจกรรมการเรียนการสอนเรือ่ งกาหนดการเชิงเส้นโดยใช้โปรแกรม C.a.R
และโปรแกรม Euler

6. การวัดและประเมิ นผล
1. สังเกตจากการตอบคาถามของนักเรียน
2. สังเกตจากการให้ความร่วมมือในระหว่างการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
3. ใบกิจกรรมที่ 2 เรือ่ งกราฟสมการเชิงเส้นสองตัวแปร
4. ใบกิจกรรมที่ 3 เรือ่ งกราฟระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร


7. บันทึกหลังการจัดการเรียนรู้

วโิ ร
...................................................................................................................................................
ทร
...................................................................................................................................................
นิ
คร
...................................................................................................................................................
นี
ศร

it y
ers
...................................................................................................................................................
ลยั
ยา

n iv
...................................................................................................................................................
tU
วทิ
หา

ir o

...................................................................................................................................................
งม

nw

...................................................................................................................................................
ลา

ari
ดุ ก

a kh

...................................................................................................................................................
สม

rin

...................................................................................................................................................
หอ

yS

...................................................................................................................................................
rar
นกั

L ib
สาํ

...................................................................................................................................................
al

...................................................................................................................................................
n tr
Ce

...................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................
ลงชื่อ..................................... ผูส้ อน
วันเดือนปี……../………../………….
เวลา...............................................
147

แผนการจัดการเรียนรู้ 3
กลุ่มสาระการเรียนรูค้ ณิตศาสตร์ ชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 3
หน่ วยที่ 1 ความรูเ้ บือ้ งต้นของกาหนดการเชิงเส้น
เรือ่ ง กราฟระบบอสมการเชิงเส้นสองตัวแปร เวลา 2 คาบ

1. สาระสาคัญ/ความคิ ดรวบยอด
กราฟอสมการเชิ งเส้นสองตัวแปร
ขัน้ ตอนการเขียนกราฟอสมการเชิงเส้นสองตัวแปร ได้ดงั นี้
ขัน้ ที่ 1 เขียนกราฟของสมการ


- ถ้าอสมการมีเครือ่ งหมาย  หรือ  ให้เขียนเป็นเส้นทึบ

วโิ ร
- ถ้าอสมการมีเครือ่ งหมาย  หรือ  ให้เขียนเป็นเส้นประ
ทร
ขัน้ ที่ 2 การทดสอบบริเวณทีส่ อดคล้องกับอสมการ โดยเลือกจุด (0, 0) เป็นจุดทดสอบ
นิ
คร
- ถ้าจุดทดสอบทาให้อสมการเป็นจริง แสดงว่าจุดทุกจุดในข้างเดียวกัน ของจุดทดสอบ
นี
ศร

it y
ก็จะสอดคล้องกับอสมการด้วย ers
ลยั
ยา

n iv
- แต่ถา้ จุดทดสอบทาให้อสมการเป็นเท็จ แสดงว่าจุดทุกจุดในอีกข้างหนึ่งของเส้นตรง
tU
วทิ
หา

ir o

ก็จะสอดคล้องกับอสมการ
งม

nw

ขัน้ ที่ 3 แรเงาบริเวณทีไ่ ด้จากขัน้ ที่ 2


ลา

ari
ดุ ก

a kh
สม

rin

2. จุดประสงค์การเรียนรู้
หอ

yS

ด้านความรู้
rar
นกั

L ib
สาํ

1. นักเรียนสามารถเขียนกราฟอสมการเชิงเส้นสองตัวแปรได้
al

2. นักเรียนสามารถเขียนกราฟระบบอสมการเชิงเส้นสองตัวแปรได้
n tr
Ce

ด้านทักษะ/กระบวนการ
1. มีความสามารถในการให้เหตุผล
2. มีความสามารถในการสื่อสาร และนาเสนอ
ด้านคุณลักษณะ
1. มีส่วนร่วมและมีความรับผิดชอบ ในระหว่างการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
2. มีความสนใจและกระตือรือร้นในการเรียนและการทางาน
3. มีความเชื่อมันในตนเอง
่ และกล้าแสดงความคิดเห็น
148

3. สาระการเรียนรู้

อสมการเชิ งเส้นสองตัวแปร หมายถึง อสมการทีอ่ ยูใ่ นรูป


Ax  By  C
Ax  By  C
Ax  By  C
Ax  By  C
โดยที่ x, y เป็นตัวแปร A, B, C เป็นค่าคงตัว ซึง่ A0 หรือ B0


วโิ ร
ทร
กราฟอสมการเชิ งเส้นสองตัวแปร คือ กราฟของคู่อนั ดับ (x, y)
นิ
คร
ซึง่ สัมพันธ์ตามเงือ่ นไขทีก่ าหนด
นี
ศร

it y
ers
ลยั
ยา

n iv
tU
วทิ
หา

ir o

สรุปขัน้ ตอนการเขียนกราฟอสมการเชิงเส้นสองตัวแปร ได้ดงั นี้


งม

nw

ขัน้ ที่ 1 เขียนกราฟสมการ


ลา

ari
ดุ ก

a kh

ถ้าอสมการมีเครือ่ งหมาย  หรือ  ให้เขียนเป็นเส้นทึบ


สม

rin

ถ้าอสมการมีเครือ่ งหมาย  หรือ  ให้เขียนเป็นเส้นประ


หอ

yS

ขัน้ ที่ 2 การทดสอบบริเวณทีส่ อดคล้องกับอสมการ โดยเลือกจุด (0, 0) เป็นจุดทดสอบ


rar
นกั

L ib
สาํ

ถ้าจุดทดสอบทาให้อสมการเป็นจริง แสดงว่าจุดทุกจุดในข้างเดียวกัน
al

ของจุดทดสอบก็จะสอดคล้องกับอสมการด้วย
n tr
Ce

แต่ถา้ จุดทดสอบทาให้อสมการเป็นเท็จ แสดงว่าจุดทุกจุดในอีกข้างหนึ่งของ


เส้นตรงก็จะสอดคล้องกับอสมการ
ขัน้ ที่ 3 แรเงาบริเวณทีไ่ ด้จากขัน้ ที่ 2

กราฟระบบอสมการเชิ งเส้นสองตัวแปร คือเซตของจุดทีส่ อดคล้องกับทุกอสมการใน


ระบบนัน้ หรืออาจกล่าวได้ว่า กราฟบนระนาบทีเ่ กิดจากการซ้อนทับกันของกราฟทุกอสมการใน
ระบบนัน้
149

4. การจัดกิ จกรรมการเรียนรู้
(คาบ 4)
ขัน้ นา
1. ครูแจกเอกสารหน่วยการเรียนที่ 1: ความรูเ้ บือ้ งต้นของกาหนดการเชิงเส้น เรือ่ งกราฟ
ระบบอสมการเชิงเส้นสองตัวแปรและบอกจุดประสงค์การเรียนรูใ้ ห้นกั เรียนทราบ
2. ครูทบทวนความหมายและความเข้าใจเกีย่ วกับ อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว และ
ยกตัวอย่างที่ 1 และตัวอย่างที่ 2 โดยให้นกั เรียนร่วมอภิปรายไปพร้อม ๆ กัน
ขัน้ สอน
3. ครูอธิบายความหมายและการเขียนกราฟอสมการเชิงเส้นสองตัวแปรตามเอกสารหน่วย
การเรียนที่ 1: ความรูเ้ บือ้ งต้นของกาหนดการเชิงเส้น เรือ่ งกราฟระบบอสมการเชิงเส้นสองตัวแปร


และยกตัวอย่างที่ 3, 4 และ 5 ในการเขียนกราฟอสมการเชิงเส้นสองตัวแปรเพื่อเป็นแนวทางให้

วโิ ร
นักเรียนในการเขียนกราฟอสมการเชิงเส้นสองตัวแปรได้อย่างถูกต้อง
ทร
4. ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายผลจากตัวอย่างที่ 3, 4 และ 5 เกีย่ วกับการเขียนกราฟ
นิ
คร
อสมการเชิงเส้นสองตัวแปร จากนัน้ ครูและนักเรียนร่ วมกันสรุปขัน้ ตอนการเขียนกราฟอสมการเชิง
นี
ศร

it y
ers
ลยั

เส้นสองตัวแปร
ยา

n iv
5. จากนัน้ ครูให้นกั เรียนเปิดกิจกรรมทีส่ ร้างโดยโปรแกรม C.a.R. และโปรแกรม Euler ใน
tU
วทิ
หา

ir o

หน่วยการเรียนที่ 1 ในกิจกรรมกราฟอสมการเชิงเส้นสองตัวแปร เพื่อให้นกั เรียนศึกษาเพิม่ เติม


งม

nw

เกีย่ วกับลักษณะกราฟอสมการเชิงเส้นสองตัวแปรจากกิจกรรมการเรียนรูท้ ส่ี ร้างโดยโปรแกรม


ลา

ari
ดุ ก

a kh

C.a.R.
สม

rin

6. ครูแจกใบกิจกรรมที่ 4 เรือ่ งกราฟอสมการเชิงเส้นสองตัวแปร ให้นกั เรียนลงมือทาเป็น


หอ

yS

รายบุคคล ครูคอยสังเกต และให้คาแนะนาตามความเหมาะสม


rar
นกั

L ib
สาํ

7. ให้นกั เรียนส่งใบกิจกรรมที่ 4 เรือ่ งกราฟอสมการเชิงเส้นสองตัวแปร เพื่อเป็นส่วนหนึ่ง


al

ของการประเมินผล จากนัน้ ครูและนักเรียนร่วมกันเฉลยใบกิจกรรม


n tr
Ce

ขัน้ สรุป
8. ครูให้นกั เรียนช่วยกันสรุปขัน้ ตอนการเขียนกราฟและลักษณะของกราฟอสมการเชิงเส้น
สองตัวแปร
(คาบ 5)
ขัน้ นา
1. ครูทบทวนขัน้ ตอนการเขียนกราฟและลักษณะของกราฟอสมการเชิงเส้นสองตัวแปร
ขัน้ สอน
2. ครูอธิบายความหมายและการเขียนกราฟระบบอสมการเชิงเส้นสองตัวแปร และ
ยกตัวอย่างที่ 6 ในการเขียนกราฟระบบอสมการเชิงเส้นสองตัวแปรเพื่อให้นกั เรียนทาความเข้าใจ
150

3. จากนัน้ ครูให้นกั เรียนเปิดกิจกรรมทีส่ ร้างโดยโปรแกรม C.a.R. และโปรแกรม Euler


ในหน่วยการเรียนที่ 1 ในกิจกรรมกราฟระบบอสมการเชิงเส้นสองตัวแปร เพื่อให้นกั เรียนศึกษา
เพิม่ เติมเกีย่ วกับลักษณะกราฟระบบอสมการเชิงเส้นสองตัวแปรจากกิจกรรมการเรียนรูท้ ส่ี ร้างโดย
โปรแกรม C.a.R.
4. ครูยกตัวอย่างที่ 7 และ 8 โดยให้นกั เรียนอภิปรายไปพร้อมๆ กัน โดยครูจะใช้คาถาม
กระตุน้ ให้นกั เรียนมีส่วนร่วมในการทาและร่วมกิจกรรมในชัน้ เรียน
5. ครูให้นกั เรียนซักถามข้อสงสัยต่าง ๆ โดยครูให้คาแนะนาและแนวคิดเพื่อสร้างความ
เข้าใจแก่นกั เรียน
6. ครูแจกใบกิจกรรมที่ 5 เรือ่ งกราฟระบบอสมการเชิงเส้นสองตัวแปร ให้นกั เรียนลงมือทา
เป็นรายบุคคล ครูคอยสังเกต และให้คาแนะนาตามความเหมาะสม


7. ให้นกั เรียนส่งใบกิจกรรมที่ 5 เรือ่ งกราฟระบบอสมการเชิงเส้นสองตัวแปร เพื่อเป็นส่วน

วโิ ร
หนึ่งของการประเมินผล จากนัน้ ครูและนักเรียนร่วมกันเฉลยใบกิจกรรม
ขัน้ สรุป นิทร
คร
8. ครูให้นกั เรียนช่วยกันสรุปขัน้ ตอนการเขียนกราฟและลักษณะของกราฟอสมการเชิงเส้น
นี
ศร

it y
สองตัวแปรและระบบอสมการเชิงเส้นสองตัวแปร ers
ลยั
ยา

n iv
tU
วทิ
หา

ir o

5. สื่อการเรียนการสอน
งม

nw

1. ใบกิจกรรมที่ 4 เรือ่ งกราฟอสมการเชิงเส้นสองตัวแปร


ลา

ari
ดุ ก

a kh

2. ใบกิจกรรมที่ 5 เรือ่ งกราฟระบบอสมการเชิงเส้นสองตัวแปร


สม

rin

3. เอกสารหน่วยการเรียนที่ 1 ความหมายของกาหนดการเชิงเส้น
หอ

yS

4. กิจกรรมทีส่ ร้างโดยโปรแกรม C.a.R. และโปรแกรม Euler


rar
นกั

L ib
สาํ

5. คู่มอื การใช้ชุดกิจกรรมการเรียนการสอนเรือ่ งกาหนดการเชิงเส้นโดยใช้โปรแกรม


al

C.a.R. และโปรแกรม Euler


n tr
Ce

6. การวัดและประเมิ นผล
1. สังเกตจากการตอบคาถามของนักเรียน
2. สังเกตจากการให้ความร่วมมือในระหว่างการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
3. ใบกิจกรรมที่ 4 เรือ่ งกราฟอสมการเชิงเส้นสองตัวแปร
4. ใบกิจกรรมที่ 5 เรือ่ งกราฟระบบอสมการเชิงเส้นสองตัวแปร
151

7. บันทึกหลังการจัดการเรียนรู้
...................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................


...................................................................................................................................................

วโิ ร
...................................................................................................................................................
ทร
...................................................................................................................................................
นิ
คร
...................................................................................................................................................
นี
ศร

it y
ers
...................................................................................................................................................
ลยั
ยา

n iv
...................................................................................................................................................
tU
วทิ
หา

ir o

...................................................................................................................................................
งม

nw

...................................................................................................................................................
ลา

ari
ดุ ก

a kh

...................................................................................................................................................
สม

rin

...................................................................................................................................................
หอ

yS

...................................................................................................................................................
rar
นกั

L ib
สาํ

...................................................................................................................................................
al

...................................................................................................................................................
n tr
Ce

...................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................
…………………………………………………………………………………………………………..
…………………………………………………………………………………………………………..
…………………………………………………………………………………………………………..
ลงชื่อ..................................... ผูส้ อน
วันเดือนปี……../………../………….
เวลา...............................................
152

แผนการจัดการเรียนรู้ 4
กลุ่มสาระการเรียนรูค้ ณิตศาสตร์ ชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 3
หน่วยที่ 2 การแก้ปญั หาของกาหนดการเชิงเส้นโดยวิธกี ราฟ
เรือ่ ง การสร้างแบบจาลองกาหนดการเชิงเส้น เวลา 2 คาบ

1. สาระสาคัญ/ความคิ ดรวบยอด
แบบจาลองของกาหนดการเชิงเส้น จะประกอบด้วยส่วนต่างๆ ทีส่ าคัญ 3 ส่วน คือ
1. สมการจุดประสงค์ เป็นการแสดงความสัมพันธ์ของตัวแปรทีต่ อ้ งการทราบค่า
หรือต้องการตัดสินใจ เป้าหมายของกาหนดการเชิงเส้นมีดว้ ยกัน 2 ประเภทคือ


1.1 การหาค่าสูงสุด (maximize) เช่น การทากาไรให้สงู สุด ต้องการผลิตมากสุด

วโิ ร
1.2 การหาค่าต่าสุด (minimize) เช่น ต้นทุนต่าสุด ใช้เวลาน้อยสุด
ทร
2. อสมการข้อจากัด เป็นสมการหรืออสมการทีแ่ สดงเงือ่ นไขและข้อจากัดของ
นิ
คร
สถานการณ์ เช่น ปริมาณทรัพยากร ความต้องการ หรือระยะเวลาของแต่ละกิจกรรม เป็นต้น
นี
ศร

it y
ers
โดยข้อจากัดจะถูกกาหนดให้อยูใ่ นรูปแบบของความสัมพันธ์เชิงเส้น
ลยั
ยา

n iv
3. ข้อกาหนดของตัวแปร ตัวแปรทุกตัวจะต้องมีค่ามากกว่าหรือเท่ากับศูนย์
tU
วทิ
หา

ir o
งม

nw

2. จุดประสงค์การเรียนรู้
ลา

ari
ดุ ก

a kh

ด้านความรู้
สม

rin

1. นักเรียนสามารถบอกจุดประสงค์ของปญั หาได้
หอ

yS

2. นักเรียนสามารถเขียนจุดประสงค์ของปญั หาในรูปสมการเชิงเส้นสองตัวแปรได้
rar
นกั

L ib
สาํ

3. นักเรียนสามารถบอกข้อจากัดของปญั หาได้
al

4. นักเรียนสามารถเขียนข้อจากัดของปญั หาในรูปอสมการเชิงเส้นสองตัวแปรได้
n tr
Ce

5. สามารถสร้างแบบจาลองกาหนดการเชิงเส้นของปญั หาทีก่ าหนดให้ได้


ด้านทักษะ/กระบวนการ
1. มีความสามารถในการให้เหตุผล
2. มีความสามารถในการสื่อสาร และนาเสนอ
ด้านคุณลักษณะ
1. มีส่วนร่วมและมีความรับผิดชอบ ในระหว่างการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
2. มีความสนใจและกระตือรือร้นในการเรียนและการทางาน
3. มีความเชื่อมันในตนเอง
่ และกล้าแสดงความคิดเห็น
153

3. สาระการเรียนรู้
โครงสร้างแบบจาลองของกาหนดการเชิ งเส้น
แบบจาลองของกาหนดการเชิงเส้น จะประกอบด้วยส่วนต่างๆ ทีส่ าคัญ 3 ส่วน คือ
1. สมการจุดประสงค์ เป็นการแสดงความสัมพันธ์ของตัวแปรทีต่ อ้ งการทราบค่า
หรือต้องการตัดสินใจ เป้าหมายของกาหนดการเชิงเส้นมีดว้ ยกัน 2 ประเภทคือ
1.1 การหาค่าสูงสุด (maximize) เช่น การทากาไรให้สงู สุด ต้องการผลิตมากสุด
1.2 การหาค่าต่าสุด (minimize) เช่น ต้นทุนต่าสุด ใช้เวลาน้อยสุด
2. อสมการข้อจากัด เป็นสมการหรืออสมการทีแ่ สดงเงือ่ นไขและข้อจากัดของ
สถานการณ์ เช่น ปริมาณทรัพยากร ความต้องการ หรือ ระยะเวลาของแต่ละกิจกรรม เป็นต้น
โดยข้อจากัดจะถูกกาหนดให้อยูใ่ นรูปแบบของความสัมพันธ์เชิงเส้น


3. ข้อกาหนดของตัวแปร ตัวแปรทุกตัวจะต้องมีค่ามากกว่าหรือเท่ากับศูนย์

วโิ ร
ทร
นิ
คร
ขัน้ ตอนการสร้างแบบจาลองของกาหนดการเชิ งเส้น
นี
ศร

it y
สามารถสรุปได้ 4 ขัน้ ตอนดังนี้ คือ
ers
ลยั

ขัน้ ที่ 1 อ่านโจทย์ปญั หาอย่างละเอียด เพื่อกาหนดตัวแปรให้กบั สิง่ ทีต่ อ้ งการทราบค่า


ยา

n iv
ขัน้ ที่ 2 กาหนดสมการจุดประสงค์ของปญั หา ซึง่ อยูใ่ นรูปของหาค่าสูงสุดหรือ
tU
วทิ
หา

ir o

การค่าต่าสุด
งม

nw

ขัน้ ที่ 3 กาหนดอสมการข้อจากัด ทีม่ อี ยูใ่ นปญั หาให้อยูใ่ นลักษณะของอสมการ หรือ


ลา

ari
ดุ ก

a kh

สมการเชิงเส้นของตัวแปรทีต่ อ้ งการทราบค่า
สม

rin
หอ

ขัน้ ที่ 4 กาหนดข้อกาหนดของตัวแปร ตัวแปรทุกตัวจะต้องมีค่ามากกว่าหรือเท่ากับศูนย์


yS
rar
นกั

L ib
สาํ

4. การจัดกิ จกรรมการเรียนรู้
al
n tr

(คาบ 6)
Ce

ขัน้ นา
1. ครูแจกเอกสารหน่วยการเรียนที่ 2: การแก้ปญั หาของกาหนดการเชิงเส้นโดยวิธกี ราฟ
เรือ่ งการสร้างแบบจาลองกาหนดการเชิงเส้นและบอกจุดประสงค์การเรียนรูใ้ ห้นกั เรียนทราบ
ขัน้ สอน
2. ครูทบทวนความหมายและความเข้าใจเกีย่ วกับกาหนดการเชิงเส้น
3. ครูอธิบายเกีย่ วกับโครงสร้างและองค์ประกอบของแบบจาลองกาหนดการเชิงเส้น อย่าง
ละเอียด เพื่อให้นกั เรียนเข้าใจได้อย่างถูกต้อง
4. ครูยกตัวอย่างปญั หากาหนดการเชิงเส้นในทีต่ วั อย่างที่ 1 โดยให้นกั เรียนร่วมแสดงความ
คิดเห็นและตอบคาถาม โดยครูใช้คาถามกระตุน้ เพื่อให้นกั เรียนอ่านและวิเคราะห์ปญั หา เช่น
154

1) สิง่ ทีโ่ จทย์ตอ้ งการทราบคืออะไร


2) อะไรคือเป้าหมายของปญั หา
3) อะไรคือข้อจากัดของปญั หา
5. ครูให้นกั เรียนลงมือทาในตัวอย่างที่ 2 และ 3 ด้วยตัวเอง โดยครูเป็นผูค้ อยดูแล
ให้คาแนะนา และกระตุน้ ให้นกั เรียนฝึกปฏิบตั ิ
6. ครูให้นกั เรียนช่วยกันเฉลยกิจกรรมในตัวอย่างทัง้ หมด และให้นกั เรียนซักถามข้อสงสัย
ต่างๆ เกีย่ วกับโครงสร้างแบบจาลองของกาหนดการเชิงเส้น
7. ครูแจกใบกิจกรรมที่ 6 เรือ่ งโครงสร้างแบบจาลองของกาหนดการเชิงเส้น ให้นกั เรียน
ลงมือทาเป็นรายบุคคล ครูคอยสังเกต และให้คาแนะนาตามความเหมาะสม
8. ให้นกั เรียนส่งใบกิจกรรมที่ 6 เรือ่ งโครงสร้างแบบจาลองกาหนดการเชิงเส้น


เพื่อเป็นส่วนหนึ่งของการประเมินผล จากนัน้ ครูและนักเรียนร่วมกันเฉลยใบกิจกรรม

วโิ ร
ขัน้ สรุป
ทร
9. ครูให้นกั เรียนช่วยกันสรุปเกีย่ วกับโครงสร้างแบบจาลองกาหนดการเชิงเส้นและขัน้ ตอน
นิ
คร
การสร้างแบบจาลองกาหนดการเชิงเส้น
นี
ศร

it y
(คาบ 7) ers
ลยั
ยา

n iv
ขัน้ นา
tU
วทิ
หา

ir o

1. ครูทบทวนเกีย่ วกับโครงสร้างแบบจาลองกาหนดการเชิงเส้นและขัน้ ตอนการสร้าง


งม

nw

แบบจาลองกาหนดการเชิงเส้น
ลา

ari
ดุ ก

a kh

ขัน้ สอน
สม

rin

2. ครูยกตัวอย่างที่ 4 เกีย่ วกับการสร้างแบบจาลองกาหนดการเชิงเส้น และให้นกั เรียนร่วม


หอ

yS

อภิปรายไปพร้อม ๆ กัน โดยครูใช้คาถามกระตุ้นให้นกั เรียนมีส่วนร่วมในการกิจกรรมการเรียนการ


rar
นกั

L ib
สาํ

สอน
al

3. ครูให้นกั เรียนลงมือสร้างแบบจาลองกาหนดการเชิงเส้นในตัวอย่างที่ 5 และ 6 ด้วย


n tr
Ce

ตัวเอง โดยครูเป็นผูค้ อยดูแล ให้คาแนะนา และกระตุน้ ให้นกั เรียนฝึกปฏิบตั ิ


4. ครูให้นกั เรียนซักถามข้อสงสัยต่าง ๆ โดยครูให้คาแนะนาและแนวคิดเพื่อสร้างความ
เข้าใจแก่นกั เรียน
5. ครูแจกใบกิจกรรมที่ 7 เรือ่ งการสร้างแบบจาลองกาหนดการเชิงเส้น ให้นกั เรียนลงมือ
ทาเป็นรายบุคคล ครูคอยสังเกต และให้คาแนะนาตามความเหมาะสม
6. ให้นกั เรียนส่งใบกิจกรรมที่ 7 เรือ่ งการสร้างแบบจาลองกาหนดการเชิงเส้น เพื่อเป็น
ส่วนหนึ่งของการประเมินผล จากนัน้ ครูและนักเรียนร่ว มกันเฉลยใบกิจกรรม
ขัน้ สรุป
7. ครูให้นกั เรียนช่วยกันสรุปขัน้ ตอนการสร้างแบบจาลองกาหนดการเชิงเส้น
155

5. สื่อการเรียนการสอน
1. ใบกิจกรรมที่ 6 เรือ่ งโครงสร้างแบบจาลองกาหนดการเชิงเส้น
2. ใบกิจกรรมที่ 7 เรือ่ งการสร้างแบบจาลองกาหนดการเชิงเส้น
3. เอกสารหน่วยการเรียนที่ 2: การแก้ปญั หากาหนดการเชิงเส้นโดยวิธกี ราฟ

6. การวัดและประเมิ นผล
1. สังเกตจากการตอบคาถามของนักเรียน
2. สังเกตจากการให้ความร่วมมือในระหว่างการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
3. ใบกิจกรรมที่ 6 เรือ่ งโครงสร้างแบบจาลองกาหนดการเชิงเส้น
4. ใบกิจกรรมที่ 7 เรือ่ งการสร้างแบบจาลองกาหนดการเชิงเส้น


วโิ ร
7. บันทึกหลังการจัดการเรียนรู้
ทร
...................................................................................................................................................
นิ
คร
...................................................................................................................................................
นี
ศร

it y
ers
...................................................................................................................................................
ลยั
ยา

n iv
...................................................................................................................................................
tU
วทิ
หา

ir o

...................................................................................................................................................
งม

nw

...................................................................................................................................................
ลา

ari
ดุ ก

a kh

...................................................................................................................................................
สม

rin

...................................................................................................................................................
หอ

yS

...................................................................................................................................................
rar
นกั

L ib
สาํ

...................................................................................................................................................
al

...................................................................................................................................................
n tr
Ce

...................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................
…………………………………………………………………………………………………………..
…………………………………………………………………………………………………………..
…………………………………………………………………………………………………………..

ลงชื่อ..................................... ผูส้ อน
วันเดือนปี……../………../………….
เวลา...............................................
156

แผนการจัดการเรียนรู้ 5
กลุ่มสาระการเรียนรูค้ ณิตศาสตร์ ชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 3
หน่วยที่ 2 การแก้ปญั หาของกาหนดการเชิงเส้นโดยวิธกี ราฟ
เรือ่ ง การหาค่าสูงสุดและต่าสุดของกาหนดการเชิงเส้น เวลา 3 คาบ

1. สาระสาคัญ/ความคิ ดรวบยอด
สรุปขัน้ ตอนของวิธกี ารหาผลเฉลยทีเ่ หมาะสมทีส่ ุดได้ดงั นี้
1. เขียนกราฟอสมการข้อจากัด เพื่อแสดงบริเวณผลเฉลยทีเ่ ป็นไปได้
2. หาจุดมุมของรูปหลายเหลีย่ มของบริเวณผลเฉลยทีเ่ ป็นไปได้ทงั ้ หมด


3. นาจุดมุมแต่ละจุดไปแทนค่าในสมการจุดประสงค์เพื่อหาค่าสมการจุดประสงค์

วโิ ร
4. พิจารณาจุดมุมทีท่ าให้ค่า สมการจุดประสงค์ทด่ี ที ส่ี ุด (สูงสุดหรือต่าสุด)
ทร
- ถ้าหากมีจดุ มุมเพียงจุดเดียวทีท่ าให้สมการจุดประสงค์มคี ่าสูงสุด(หรือต่าสุด)
นิ
คร
แล้วจุดมุมนัน้ จะเป็นผลเฉลยทีเ่ หมาะสมทีส่ ุดเพียงผลเฉลยเดียว
นี
ศร

it y
ers
- ถ้าหากผลเฉลยเหมาะทีส่ ุดเกิดขึน้ ทีจ่ ดุ มุมสองจุดแล้ว จุดทุกจุดบนเส้นตรง
ลยั
ยา

n iv
ระหว่างสองจุดนัน้ ก็เป็นผลเฉลยเหมาะสมทีส่ ุด
tU
วทิ
หา

ir o
งม

nw

2. จุดประสงค์การเรียนรู้
ลา

ari
ดุ ก

a kh

ด้านความรู้
สม

rin

1. นักเรียนสามารถเขียนกราฟของอสมการข้อจากัดได้ถูกต้อง
หอ

yS

2. นักเรียนสามารถบอกบริเวณผลเฉลยทีเ่ ป็นไปได้ของอสมการข้อจากัดได้ถูกต้อง
rar
นกั

L ib
สาํ

3. นักเรียนสามารถเขียนกราฟของสมการจุดประสงค์ทม่ี คี ่าต่างๆ ได้ถูกต้อง


al

4. นักเรียนสามารถหาพิกดั ของจุดมุมของบริเวณผลเฉลยได้
n tr
Ce

5. นักเรียนสามารถหาค่าสูงสุดหรือต่าสุดของของกาหนดการเชิงเส้นด้วยวิธกี ราฟ
ได้ถูกต้อง
ด้านทักษะ/กระบวนการ
1. มีความสามารถในการให้เหตุผล
2. มีความสามารถในการสื่อสาร และนาเสนอ
ด้านคุณลักษณะ
1. มีส่วนร่วมและมีความรับผิดชอบ ในระหว่างการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
2. มีความสนใจและกระตือรือร้นในการเรียนและการทางาน
3. มีความเชื่อมันในตนเอง
่ และกล้าแสดงความคิดเห็น
157

3. สาระการเรียนรู้
การหาค่าสูงสุดและต่ าสุดของปญั หากาหนดการเชิงเส้น สามารถสรุปขัน้ ตอนของวิธกี ารหา
ผลเฉลยทีเ่ หมาะสมทีส่ ุดได้ดงั นี้
1. เขียนกราฟอสมการข้อจากัด เพื่อแสดงบริเวณผลเฉลยทีเ่ ป็นไปได้
2. หาจุดมุมของรูปหลายเหลีย่ มของบริเวณผลเฉลยทีเ่ ป็นไปได้ทงั ้ หมด
3. นาจุดมุมแต่ละจุดไปแทนค่าในสมการจุดประสงค์เพื่อหาค่าสมการจุดประสงค์
4. พิจารณาจุดมุมทีท่ าให้ค่า สมการจุดประสงค์ทด่ี ที ่สี ุด (สูงสุดหรือต่าสุด)
- ถ้าหากมีจดุ มุมเพียงจุดเดียวทีท่ าให้สมการจุดประสงค์มคี ่าสูงสุด(หรือต่าสุด) แล้ว
จุดมุมนัน้ จะเป็นผลเฉลยทีเ่ หมาะสมทีส่ ุดเพียงผลเฉลยเดียว
- ถ้าหากผลเฉลยเหมาะทีส่ ุดเกิดขึน้ ทีจ่ ดุ มุมสองจุดแล้ว จุดทุกจุดบนเส้ นตรง


ระหว่างสองจุดนัน้ ก็เป็นผลเฉลยเหมาะสมทีส่ ุด

วโิ ร
4. การจัดกิ จกรรมการเรียนรู้
ทร
นิ
คร
(คาบ 8)
นี
ศร

it y
ขัน้ นา ers
ลยั
ยา

n iv
1. ครูแจกเอกสารหน่วยการเรียนที่ 2: การแก้ปญั หาของกาหนดการเชิงเส้นโดยวิธกี ราฟ
tU
วทิ
หา

ir o

เรือ่ งการหาค่าสูงสุดและต่าสุดของกาหนดการเชิงเส้น และแจ้งจุดประสงค์การเรียนรูใ้ ห้นกั เรีย น


งม

nw

ทราบ
ลา

ari
ดุ ก

a kh

2. ครูทบทวนเกีย่ วกับการเขียนกราฟของระบบอสมการ โครงสร้างของแบบจาลองของ


สม

rin

กาหนดการเชิงเส้น โดยการถามตอบ
หอ

yS

ขัน้ สอน
rar
นกั

L ib
สาํ

3. ครูอธิบายเกีย่ วกับการหาค่าสูงสุดและต่าสุดของกาหนดการเชิงเส้น โดยใช้ตวั อย่างที่ 1


al

ประกอบการอธิบายวิธกี ารและขัน้ ตอนการหาคาตอบ


n tr
Ce

4. ครูให้นกั เรียนเปิดแฟ้มกิจกรรมทีส่ ร้างโดยโปรแกรม C.a.R. และโปรแกรม Euler


ในหน่วยการเรียนที่ 2 ในกิจกรรมการสารวจผลเฉลยเหมาะสมทีส่ ุด ในกรณีการหาค่าสูงสุด เพื่อให้
นักเรียนสารวจหาผลเฉลยทีเ่ หมาะสมทีส่ ุดโดยใช้โปรแกรม C.a.R. ควบคู่กบั การอธิบายในตัวอย่าง
ที่ 1 ซึง่ ทาให้นกั เรียนเกิดความเข้าใจและเห็นภาพเป็นรูปธรรมมากขึน้
5. ให้นกั เรียนตัง้ ข้อสังเกต และสรุปแนวคิดในการหาผลเฉลยทีเ่ หมาะสมทีส่ ุด โดยการสุ่ม
ถามนักเรียน
6. ครูให้นกั เรียนลงมือทากิจกรรมในตัวอย่างที่ 2 และให้นกั เรียนร่วมกันอภิปรายผลจาก
ตัวอย่างที่ 2 หลังจากนัน้ ครูเปิดกิจกรรมทีส่ ร้างโดยโปรแกรม C.a.R. และโปรแกรม Euler
ในหน่วยการเรียนที่ 2 ในกิจกรรมการสารวจผลเฉลยเหมาะสมทีส่ ุด ในกรณีการหาค่าต่าสุด
โดยครูใช้คาถามกระตุน้ เพื่อให้นกั เรียนเกิดความเข้าใจทีถ่ ูกต้อง
158

7. ครูให้นกั เรียนลงมือทากิจกรรมในตัวอย่างที่ 3 ด้วยตนเอง หลังจากนัน้ ครูและนักเรียน


ช่วยกันสรุปขัน้ ตอนการหาค่าสูงสุดและต่าสุดของกาหนดการเชิงเส้น และเปิดโอกาสให้นกั เรียน
ซักถามข้อสงสัย
8. ครูแจกใบกิจกรรมที่ 8 เรือ่ งการเขียนกราฟของสมการจุดประสงค์และอสมการข้อจากัด
ให้นกั เรียนลงมือทาเป็นรายบุคคล ครูคอยสังเกต และให้คาแนะนาตามความเหมาะสม
9. ให้นกั เรียนส่งใบกิจกรรมที่ 8 เรือ่ งการเขียนกราฟของสมการจุดประสงค์และอสมการ
ข้อจากัด เพื่อเป็นส่วนหนึ่งของการประเมินผล จากนัน้ ครูและนักเรียนร่วมกันเฉลยใบกิจกรรม
ขัน้ สรุป
10. ครูให้นกั เรียนช่วยกันสรุปขัน้ ตอนการเขียนกราฟอสมการข้อจากัดและการเขียนกราฟ
ของสมการจุดประสงค์ และขัน้ ตอนการหาค่าสูงสุดและต่าสุดของกาหนดการเชิงเส้น


(คาบ 9)

วโิ ร
ขัน้ นา
ทร
1. ครูทบทวนหาค่าสูงสุดและต่าสุดของกาหนดการเชิงเส้น
นิ
คร
ขัน้ สอน
นี
ศร

it y
ers
ลยั

2. ครูอธิบายเพิม่ เติมเกีย่ วกับการหาค่าสูงสุดและต่าสุดของกาหนดการเชิงเส้น โดยใช้การ


ยา

n iv
ทดสอบจุดมุมของบริเวณผลเฉลยทีเ่ ป็นไปได้ เพื่อทาให้นกั เรียนเกิดความเข้าใจในกระบวนการหา
tU
วทิ
หา

ir o

คาตอบ
งม

nw

3. ครูยกตัวอย่างที่ 4 ให้นกั เรียนลงมือทากิจกรรมการหาค่าสูงสุดและต่าสุดของ


ลา

ari
ดุ ก

a kh

กาหนดการเชิงเส้น จากนัน้ ครูให้นกั เรียนเปิดแฟ้มกิจกรรมทีส่ ร้างโดยโปรแกรม C.a.R. และ


สม

rin

โปรแกรม Euler หน่วยการเรียนที่ 2 ในกิจกรรมผลเฉลยของกาหนดการเชิงเส้น เพื่อให้นกั เรียน


หอ

yS

สารวจผลเฉลยทีอ่ ยูร่ ะหว่างจุดมุมสองจุดทีเ่ ป็นผลเฉลยเหมาะสมทีส่ ุด และให้นกั เรียนยกตัวอย่าง


rar
นกั

L ib
สาํ

จุดเหล่านัน้ โดยครูเป็นผูค้ อยดูแล ให้คาแนะนา และกระตุน้ ให้นกั เรียนฝึกปฏิบตั ดิ ว้ ยการถาม-ตอบ


al

4. ครูให้นกั เรียนลงมือทากิจกรรมการหาค่าสูงสุดและต่าสุดของกาหนดการเชิงเส้น
n tr
Ce

ในตัวอย่างที่ 5 ด้วยตัวเอง โดยครูเป็นผูค้ อยดูแล ให้คาแนะนา หลังจากนัน้ ครูและนักเรียนร่วมกัน


อภิปราบผลจากตัวอย่างที่ 4 และ 5
5. ครูให้นกั เรียนเปิดกิจกรรมทีส่ ร้างโดยโปรแกรม C.a.R. และโปรแกรม Euler ในหน่วย
การเรียนที่ 2 เพื่อให้นกั เรียนหาค่าสูงสุดและต่าสุดของกาหนดการเชิงเส้น โดยใช้โปรแกรม Euler
ในตัวอย่างที่ 6, 7 และ 8 โดยครูเปิดโอกาสให้นกั เรียนได้ปฏิบตั กิ จิ กรรมตามความสามารถ
ของตนเอง โดยทีค่ รูมหี น้าที่คอยดูแล ชีแ้ จง และแนะนานักเรียนให้ปฏิบตั กิ จิ กรรมได้อย่างถูกต้อง
6. เมือ่ นักเรียนปฏิบตั กิ จิ กรรมเสร็จแล้ว ครูสุ่มถามนักเรียนเพื่อให้นกั เรียนออกมาอธิบาย
สิง่ ทีน่ กั เรียนได้จากการทากิจกรรม
159

ขัน้ สรุป
7. ครูให้นกั เรียนช่วยกันสรุปขัน้ ตอนการหาค่าสูงสุดและต่าสุดของกาหนดการเชิงเส้น
(คาบ 10)
ขัน้ นา
1. ครูให้ทบทวนนักเรียนเกีย่ วกับขัน้ ตอนการหาค่าสูงสุดและต่าสุดของกาหนดการเชิงเส้น
ขัน้ สอน
2. ครูแจกใบกิจกรรมที่ 9 เรือ่ งการหาค่าสูงสุดและต่าสุดของกาหนดการเชิงเส้น ให้
นักเรียนลงมือทาเป็นรายบุคคล ครูคอยสังเกต และให้คาแนะนาตามความเหมาะสม
3. ให้นกั เรียนส่งใบกิจกรรมที่ 9 เรือ่ งการหาค่าสูงสุดและต่าสุดของกาหนดการเชิงเส้น
เพื่อเป็นส่วนหนึ่งของการประเมินผล จากนัน้ ครูและนักเรียนร่วมกันเฉลยใบกิจกรรม


ขัน้ สรุป

วโิ ร
ทร
4. ครูให้นกั เรียนช่วยกันขัน้ ตอนการหาค่าสูงสุดและต่าสุดของกาหนดการเชิงเส้นอีกครัง้
นิ
นี คร
5. สื่อการเรียนการสอน
ศร

it y
ers
ลยั

1. ใบกิจกรรมที่ 8 เรือ่ งการเขียนกราฟของสมการจุดประสงค์และอสมการข้อจากัด


ยา

n iv
2. ใบกิจกรรมที่ 9 เรือ่ งการหาค่าสูงสุดและต่าสุดของกาหนดการเชิงเส้น
tU
วทิ
หา

ir o

3. เอกสารหน่วยการเรียนที่ 2 การแก้ปญั หาของกาหนดการเชิงเส้น


งม

nw

4. กิจกรรมทีส่ ร้างโดยโปรแกรม C.a.R. และโปรแกรม Euler


ลา

ari
ดุ ก

a kh

5. คู่มอื การใช้ชุดกิจกรรมการเรียนการสอน เรือ่ งกาหนดการเชิงเส้นโดยใช้โปรแกรม


สม

rin

C.a.R. และโปรแกรม Euler


หอ

yS
rar
นกั

L ib
สาํ

6. การวัดและประเมิ นผล
al
n tr

1. สังเกตจากการตอบคาถามของนักเรียน
Ce

2. สังเกตจากการให้ความร่วมมือในระหว่างการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
3. ใบกิจกรรมที่ 8 เรือ่ งการเขียนกราฟของสมการจุดประสงค์และอสมการข้อจากัด
4. ใบกิจกรรมที่ 9 เรือ่ งการหาค่าสูงสุดและต่าสุดของกาหนดการเชิงเส้น

7. บันทึกหลังการจัดการเรียนรู้
...................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................
160

...................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................


...................................................................................................................................................

วโิ ร
...................................................................................................................................................
ทร
...................................................................................................................................................
นิ
คร
...................................................................................................................................................
นี
ศร

it y
ers
...................................................................................................................................................
ลยั
ยา

n iv
...................................................................................................................................................
tU
วทิ
หา

...................................................................................................................................................
ir o
งม

nw

...................................................................................................................................................
ลา

ari
ดุ ก

a kh

...................................................................................................................................................
สม

rin

...................................................................................................................................................
หอ

yS

...................................................................................................................................................
rar
นกั

L ib
สาํ

...................................................................................................................................................
al
n tr
Ce

ลงชื่อ..................................... ผูส้ อน
วันเดือนปี……../………../………….
เวลา...............................................
161

แผนการจัดการเรียนรู้ 6
กลุ่มสาระการเรียนรูค้ ณิตศาสตร์ ชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 3
หน่วยที่ 2 การแก้ปญั หาของกาหนดการเชิงเส้นโดยวิธกี ราฟ
เรือ่ ง การแก้โจทย์ปญั หาของกาหนดการเชิงเส้น เวลา 2 คาบ

1. สาระสาคัญ/ความคิ ดรวบยอด
กาหนดการเชิงเส้นเป็ นเครือ่ งมือทีน่ าไปใช้แก้ปญั หาได้หลายลักษณะ ไม่ว่าจะเป็นปญั หา
ด้านการผลิต การจัดสรรงบประมาณ การโภชนาการ การขนส่ง ฯลฯ ซึง่ วิ ธกี ารหาคาตอบของปญั หา
กาหนดการเชิงเส้นโดยวิธกี ราฟ สามารถชีใ้ ห้เห็นถึงลักษณะและบริเวณผลเฉลยทีเ่ ป็นไปได้


ตลอดจนหลักเกณฑ์ในการหาคาตอบได้ชดั เจน

วโิ ร
ขัน้ ตอนการแก้โจทย์ปญั หากาหนดการเชิงเส้นโดยวิธกี ราฟ โดยเริม่ จากการวิเคราะห์
ทร
โจทย์ เพื่อให้ทราบว่าโจทย์ตอ้ งการอะไร จุ ดประสงค์ของปญั หา และข้อจากัดของปญั หาคืออะไร
นิ
คร
แล้วนามาสร้างแบบจาลองของกาหนดการเชิงเส้น หลังจากนัน้ จึงดาเนินการแก้ปญั หาโดยใช้
นี
ศร

it y
ers
กระบวนการทางคณิตศาสตร์ และสรุปผลให้สอดคล้องกับเป้าหมายของปญั หา
ลยั
ยา

n iv
tU
วทิ
หา

ir o

2. จุดประสงค์การเรียนรู้
งม

nw

ด้านความรู้
ลา

ari
ดุ ก

a kh

1. นักเรียนสามารถแก้โจทย์ปญั หาของกาหนดการเชิงเส้นโดยวิธกี ราฟได้


สม

rin

ด้านทักษะ/กระบวนการ
หอ

yS
rar

1. มีความสามารถในการให้เหตุผล
นกั

L ib
สาํ

2. มีความสามารถในการสื่อสาร และนาเสนอ
al
n tr

ด้านคุณลักษณะ
Ce

1. มีส่วนร่วมและมีความรับผิดชอบ ในระหว่างการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
2. มีความสนใจและกระตือรือร้นในการเรียนและการทางาน
3. มีความเชื่อมันในตนเอง
่ และกล้าแสดงความคิดเห็น

3. สาระการเรียนรู้
ขัน้ ตอนการแก้โจทย์ปัญหากาหนดการเชิ งเส้น มีดงั นี้
1. วิเคราะห์โจทย์ว่าต้องการทราบอะไร เป้าหมายของปญั หาต้องการหาค่าสูงสุด
หรือต่ าสุดและมีขอ้ จากัดของปญั หาอะไรบ้าง และเขียนตารางแสดงค่าต่างๆ ทีก่ าหนดให้
2. สร้างแบบจาลองกาหนดการเชิงเส้น
162

3. ดาเนินการแก้ปญั หา โดยการเขียนกราฟของอสมการข้อจากัดแสดงบริเวณของ
ผลเฉลยทีเ่ ป็นไปได้ แล้วหาพิกดั ของจุดมุมของบริเวณผลเฉลยทีเ่ ป็นไปได้
4. ทดสอบจุดมุมของบริเวณผลเฉลยทีเ่ ป็นไปได้ ทาการทดสอบโดยการนาจุดมุมไปแทน
ค่าในสมการจุดประสงค์ เพื่อพิจารณาเลือกจุดทีท่ าให้สมการจุดประสงค์มคี ่าสูงสุดหรือต่าสุดตามที่
โจทย์ตอ้ งการ
5. สรุปผลทีไ่ ด้จากข้อ 4

4. การจัดกิ จกรรมการเรียนรู้
(คาบ 11)
ขัน้ นา


1. ครูแจกเอกสารหน่วยการเรียนที่ 2: การแก้ปญั หาของกาหนดการเชิงเส้นโดยวิธกี ราฟ

วโิ ร
เรือ่ งการแก้โจทย์ปญั หาของกาหนดการเชิงเส้นและบอกจุดประสงค์การเรียนรูใ้ ห้นกั เรียนทราบ
2. ครูให้ทบทวนนักเรียนเกีย่ วกับ
ทร
นิ
คร
- การสร้างแบบจาลองกาหนดการเชิงเส้น
นี
ศร

it y
- ers
ขัน้ ตอนการหาค่าสูงสุดและต่าสุดของกาหนดการเชิงเส้น
ลยั
ยา

n iv
ขัน้ สอน
tU
วทิ
หา

ir o

3. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปขัน้ ตอนการแก้โจทย์ปญั หาของกาหนดการเชิงเส้น


งม

nw

4. ครูยกตัวอย่างที่ 9 พร้อมทัง้ อธิบายโดยยา้ ให้นกั เรียนศึกษาการแก้ปญั หาอย่างเป็น


ลา

ari
ดุ ก

a kh

ขัน้ ตอน
สม

rin

5. ครูยกตัวอย่างที่ 10 โดยให้นกั เรียนร่วมอภิปรายไปพร้อม ๆ กัน โดยครูคอยถามกระตุน้


หอ

yS

ให้นกั เรียนมีส่วนร่วมในการทาและร่วมกิจกรรม
rar
นกั

L ib
สาํ

6. ครูให้นกั เรียนลงมือทากิจกรรมในตัวอย่างที่ 11 ด้วยตัวเอง และอนุญาตให้ใช้โปรแกรม


al

Euler ในการตรวจสอบคาตอบทีไ่ ด้ เพื่อเพิม่ ความมันใจให้ ่ นกั เรียน โดยครูเป็นผูค้ อยดูแล


n tr
Ce

ให้คาแนะนา และกระตุน้ ให้นกั เรียนฝึกปฏิบตั ิ


7. ครูให้นกั เรียนช่วยกันเฉลยกิจกรรมในตัวอย่างทัง้ หมด หรือสุ่มนักเรียนให้ออกมา
เฉลยบนกระดาน
8. ให้นกั เรียนซักถามข้อสงสัยต่างๆ เกีย่ วกับการแก้โจทย์ปญั หาของกาหนดการเชิงเส้น
ขัน้ สรุป
9. ครูให้นกั เรียนช่วยกันสรุปเกีย่ วกับขัน้ ตอนการแก้โจทย์ปญั หาของกาหนดการเชิงเส้น
(คาบ 12)
ขัน้ นา
1. ครูทบทวนเกีย่ วกับขัน้ ตอนการแก้โจทย์ปญั หาของกาหนดการเชิงเส้น
163

ขัน้ สอน
2. ครูแจกใบกิจกรรมที่ 10 เรือ่ งการแก้โจทย์ปญั หาของกาหนดการเชิงเส้น
ให้นกั เรียนลงมือทาเป็นรายบุคคล ครูคอยสังเกต และให้คาแนะนาตามความเหมาะสม
3. ให้นกั เรียนส่งใบกิจกรรมที่ 10 เรือ่ งการแก้โจทย์ปญั หาของกาหนดการเชิงเส้น
เพื่อเป็นส่วนหนึ่งของการประเมินผล จากนัน้ ครูและนักเรียนร่วมกันเฉลยใบกิจกรรม
ขัน้ สรุป
3. ครูให้นกั เรียนช่วยกันสรุปขัน้ ตอนการการแก้โจทย์ปญั หาของกาหนดการเชิงเส้น

5. สื่อการเรียนการสอน
1. ใบกิจกรรมที่ 10 เรือ่ งการแก้โจทย์ปญั หาของกาหนดการเชิงเส้น


2. เอกสารหน่วยการเรียนที่ 2 การแก้ปญั หากาหนดการเชิงเส้นโดยวิธกี ราฟ

วโิ ร
3. แฟ้มกิจกรรมทีส่ ร้างโดยโปรแกรม C.a.R. และโปรแกรม Euler
ทร
4. คู่มอื การใช้ชุดกิจกรรมการเรียนการสอน เรือ่ งกาหนดการเชิงเส้น โดยใช้โปรแกรม
นิ
คร
C.a.R. และโปรแกรม Euler
นี
ศร

it y
ers
ลยั
ยา

n iv
6. การวัดและประเมิ นผล
tU
วทิ
หา

ir o

1. สังเกตจากการตอบคาถามของนักเรียน
งม

nw

2. สังเกตจากการให้ความร่วมมือในระหว่างการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
ลา

ari
ดุ ก

a kh

3. ใบกิจกรรมที่ 10 เรือ่ งการแก้โจทย์ปญั หาของกาหนดการเชิงเส้น


สม

rin
หอ

yS

7. บันทึกหลังการจัดการเรียนรู้
rar
นกั

L ib
สาํ

...................................................................................................................................................
al
n tr

...................................................................................................................................................
Ce

...................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................
ลงชื่อ..................................... ผูส้ อน
วันเดือนปี……../………../………….
เวลา...............................................
164


วโิ ร
ทร
นิ
คร
นี
ศร

it y
ers
ลยั
ยา

n iv
ภาคผนวก ง
tU
วทิ
หา

ir o

ตัวอย่างชุดกิ จกรรมการเรียนการสอนเรื่องกาหนดการเชิ งเส้น


งม

nw
ลา

ari

โดยใช้โปรแกรม C.a.R และโปรแกรม Euler


ดุ ก

a kh

สาหรับนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปี ที่ 3


สม

rin
หอ

yS
rar
นกั

L ib
สาํ

al
n tr
Ce
165

เอกสารหน่ วยการเรียนที่ 1: ความรู้เบือ้ งต้นของกาหนดการเชิ งเส้น


เรื่อง ความหมายของกาหนดการเชิ งเส้น

1. ความหมายของกาหนดการเชิ งเส้น

กาหนดการเชิ งเส้น (Linear Programming) เป็นเทคนิคทางคณิตศาสตร์ทใ่ี ช้ในการ


แก้ไขปญั หาทางการจัดสรรปจั จัยและทรัพยากรทีม่ อี ยูอ่ ย่างจากัด โดยมีจดุ หมายเพื่อแก้ปญั หาและ

วโิ ร
ทร
ตัดสินใจให้เกิดผลตามแนวทางการดาเนินงานทีด่ ที ส่ี ุด (optimal) เช่นกาไรสูงสุด ค่าใช้จา่ ยน้อยสุด
นิ
คร
หรือแนวทางการดาเนินงานอื่นๆ ทีใ่ ห้ผลประโยชน์มากทีส่ ุดต่อระบบนัน้ ๆ โดยพิจารณาเงือ่ นไขหรือ
นี
ศร

it y
ข้อจากัดทีก่ าหนดเช่น สภาวะตลาด การขาดแคลนวัตถุดบิ กาลังคน เงินทุน สถานที่ เป็นต้น
ers
ลยั
ยา

n iv
tU
วทิ
หา

ir o

2. ประวัติความเป็ นของกาหนดการเชิ งเส้น


งม

nw
ลา

ari
ดุ ก

a kh
สม

กาหนดการเชิงเส้นมีการพัฒนาและนาไปประยุกต์ครัง้ แรกในปี ค.ศ.1947 เมือ่ เดือน


rin
หอ

yS

มิถุนายน โดยมีหวั หน้าคณะทางาน คือ ยอร์จ บี ดานท์ซกิ (George B. Dantzig) และ มาร์แชล วูด
rar
นกั

(Marshall Wood) พร้อมทัง้ ทีมผูร้ ว่ มงานในกองทัพอากาศสหรัฐอเมริกาในช่วงนัน้ คณะทางานชุดนี้


L ib
สาํ

ได้รบั มอบหมายให้วเิ คราะห์ความเป็นไปได้ในการประยุกต์คณิตศาสตร์และเทคนิคทีเ่ กีย่ วข้องต่อ


al
n tr

ปญั หาการวางแผนและการวางโปรแกรมทางทหาร ภารกิจทีไ่ ด้รบั มอบหมายนัน้ ทาให้ ดานท์ซกิ


Ce

ได้เสนอวิธกี ารทีเ่ กีย่ วกับความสัมพันธ์ระหว่างกิจกรรมต่า งๆ ขององค์กรขนาดใหญ่ เป็นแบบจาลอง


ของกาหนดการเชิงเส้น ทาให้บรรลุเป้าหมายสูงสุด ทีว่ างไว้ นับว่าเขาเป็นผูเ้ ริม่ ต้นสร้างแบบจาลอง
ทางคณิตศาสตร์ของปญั หากาหนดการเชิงเส้นและในปีน้เี องก็ได้เสนอวิธกี ารแก้ปญั หากาหนดการ
เชิงเส้นทีเ่ รียกว่า วิธซี มิ เพล็กซ์ (Simplex Method) และต่อมาก็มกี ารพัฒนาแนวคิดของ ดานท์ซกิ
โดยกองทัพอากาศสหรัฐฯ ได้จดั ตัง้ คณะวิจยั คณะหนึ่งภายใต้ช่อื โครงการสคูป (SCOOP: Scientific
Computation of Optimum Program) ซึง่ เป็นโครงการทีม่ สี ่วนสาคัญในการพัฒนาและประยุกต์
แบบจาลองของกาหนดการเชิงเส้น โดยในช่วงต้น กาหนดการเชิงเส้นส่วนใหญ่ จะถูกนาไปประยุกต์
ในวงการทหาร และทางเศรษฐศาสตร์ในแบบจาลอง Input-Output ของลีอองทีฟ (Leontief) และ
ปญั หาเกม ต่อจากนัน้ ก็แพร่หลายในด้านอุตสาหกรรม ด้านสังคม และปญั หาทีอ่ ยูอ่ าศัย
166

สาหรับการนาเครือ่ งคอมพิวเตอร์มาใช้ในการแก้ปญั หาแบบจาลองกาหนดการเชิงเส้น


ประสบผลสาเร็จครัง้ แรกทีอ่ งค์กร National Bureau of Standard ของสหรัฐอเมริกา เมือ่ ปี ค.ศ.
1952 ตัง้ แต่นนั ้ ปญั หากาหนดการเชิงเส้นโดยวิธกี ารซิมเพล็กซ์ ได้พฒ ั นาเป็นโปรแกรมทีน่ ามาใช้
ในเครือ่ งคอมพิวเตอร์ จนกระทังป ่ จั จุบนั มีโปรแกรมสาเร็จรูป ทีส่ ามารถนาไปใช้ในคอมพิวเตอร์
ส่วนบุคคลได้
ต่อมาในปี ค.ศ. 1984 นับได้ว่าได้เป็นจุดเริม่ ต้นทีส่ าคัญอีกก้าวหนึ่งของวิชากาหนดการ
เชิงเส้น เมือ่ นาเรนดรา คาร์มาร์คาร์ (Narendra Karmarkar) ได้เสนอผลงานวิจยั ใหม่ทางด้าน
ทฤษฎีเกีย่ วกับกาหนดการเชิงเส้น ซึง่ เป็นวิธกี ารใหม่ในการแก้ปญั หากาหนดการเชิงเส้น เรือ่ ง
“A New Polynomial-time Algorithm for Linear Programming” วิธกี ารของ คาร์มาร์คาร์
(Karmarkar ‘s Algorithm) สามารถนาไปใช้ในการหาผลลัพธ์ของปญั หากาหนดการเชิงเส้น


ขนาดใหญ่ได้ผลดี ในมหาวิทยาลัยบางแห่งได้บรรจุเป็นเนื้อหาหลักสูตรในการสอนนักศึกษา

วโิ ร
แต่ไม่บรรลุผลสาเร็จเท่าทีค่ วรเนื่องจากมีความยากในการสอน และสมาคมการวิจ ัยดาเนินงาน
ทร
แห่งสหรัฐอเมริกาได้จดั ให้มกี ารอบรมเชิงปฏิบตั กิ าร ในวิธขี องคาร์มาร์คาร์ เมือ่ ปี ค.ศ.1987
นิ
คร
ในระหว่างเดือนตุลาคม ผลของการประชุมปฏิบตั กิ ารครัง้ นัน้ ได้อภิปรายถึงวิธกี ารของคาร์มาร์คาร์
นี
ศร

it y
ers
ทีย่ ากในการสอนว่าเพราะเป็นวิธกี ารยุง่ ยากและซับซ้ อนมาก นอกจากนัน้ จะเป็นการสร้างความ
ลยั
ยา

n iv
เข้าใจในเชิงเรขาคณิตต้องเขียนรูป 3 มิติ ไม่สามารถเขียนรูป 2 มิตไิ ด้ และถ้าใช้การคานวณ
tU
วทิ
หา

โดยใช้มอื ในกรณีทเ่ี ป็นปญั หาขนาดเล็กจะเสียเวลามากในการคานวณ ซึง่ ต่างจากวิธซี มิ เพล็กซ์


ir o
งม

nw

ยอร์ชบี แดนท์ซกิ (George B. Dantzig) นับได้ว่าเป็นบิดาของกาหนดการเชิงเส้น ทัง้ นี้


ลา

ari
ดุ ก

a kh

เพราะเป็นผูเ้ ริม่ สร้างรูปแบบทัวไปของก


่ าหนดการเชิงเส้นและพัฒนาวิธกี ารอย่างมีระบบ ในการหา
สม

rin

คาตอบทีด่ ที ส่ี ุดของปญั หากาหนดการเชิงเส้นในปี พ.ศ. 2490 วิธกี ารหาคาตอบดังกล่าวยังคงใช้อยู่


หอ

yS

จนถึงปจั จุบนั ภายใต้ช่อื ว่า วิธซี มิ เพล็กซ์ (Simplex Method)


rar
นกั

L ib
สาํ

al

ประวัติ ยอร์จ บี ดานท์ซิก (George B. Dantzig) บิ ดาแห่งกาหนดการเชิ งเส้น


n tr
Ce

ยอร์จ บี ดานท์ซกิ (George B. Dantzig)


ถือได้ว่าเป็นผูเ้ ชีย่ วชาญด้านการวิจยั ดาเนินงาน วิทยาการคอมพิวเตอร์
และเป็นผูค้ ดิ ค้นวิธกี ารทีเ่ รียกว่า“วิธซี มิ เพล็กซ์” (Simplex Method)
และกาหนดการเชิงเส้น (Linear Programming)
ดานท์ซกิ ได้รเิ ริม่ การปฏิวตั อิ ย่างเป็นระบบเกีย่ วกับโปรแกรม
เชิงคณิตศาสตร์ (Mathematical Programming) ซึง่ เป็นวิธกี ารทีม่ ี
ประสิทธิภาพในการจัดการทรัพยากร ในปี ค.ศ.1947 ดานท์ซกิ ได้คดิ ค้น
วิธซี มิ เพล็กซ์ ซึง่ เป็ นเครือ่ งมือทีส่ าคัญในการแก้ปญั หากาหนดการเชิงเส้น
สามารถประยุกต์ได้อย่างหลากหลาย เช่น การจัดสรรทรัพยากร
167

การวางแผนการผลิตและการแบ่งงาน การวางแผนการลงทุน การวางแผนการตลาด และการ


วางแผนยุทธศาสตร์การทหาร เป็นต้น วิธซี มิ เพล็กซ์ ถือได้ว่าเป็นวิธกี ารคานวณที่ยอดเยีย่ ม
และโด่งดังมากในศตวรรษที่ 20 ในปจั จุบนั บริษทั ใหญ่ๆ จะใช้กาหนดการเชิงเส้น ในการหา
ผลตอบแทนในการผลิตและการจัดการการลงทุน เช่นเดียวกับ บริษทั การขนส่งก็ใช้ในการเลือก
เส้นทางทีส่ นั ้ และประหยัดค่าใช้จา่ ยทีส่ ุด เส้นทางการลาเลียงผลผลิตเพื่อแบ่งสรรจากผูจ้ าหน่ ายไป
ยังตลาดได้อย่างมีประสิทธิภาพ หรือแม้แต่การอุตสาหกรรมน้ามันปิโตรเลียมก็ใช้ใน การสารวจ
วินิจฉัย การผสม การกาหนดผลผลิต และการจาหน่าย ซึง่ โดยปกติแล้วในการนาไปประยุกต์ใช้อาจ
ต้องเกีย่ วข้องกับตัวแปรเป็นแสนๆ ตัวแปร และสมการเป็นหมืน่ ๆ สมการ กาหนดการเชิงเส้นและ
วิธซี มิ เพล็กซ์ สามารถช่วยมนุ ษยชาติแก้ปญั หาการจัดสรรทรัพยากรทีม่ คี วามซับซ้อนมากๆ ได้
นับตัง้ แต่สมัยสงครามโลกครัง้ ที่ 2 นับว่ายังไม่มบี ุคคลใดทีม่ ผี ลงานทีส่ ่งผลต่อวิชาคณิตศาสตร์
โดยเฉพาะการนาไปประยุกต์ใช้กบั ปญั หาทีเ่ ป็นรูปธรรมมากไปกว่า ยอร์จ บี ดานท์ซกิ


วโิ ร
ด้านประวัตแิ ละผลงานพบว่า ยอร์จ บี ดานท์ซกิ เกิดที่เมืองพอร์ตแลนด์ (Portland)
ทร
มลรัฐโอริกอน (Oregon) ประเทศสหรัฐอเมริกาเมือ่ วันที่ 8 พฤศจิกายน ค.ศ. 1914 บิดาชื่อ โทเบียส
นิ
คร
ดานท์ซกิ (Tobias Dantzig) ซึง่ เป็นนักคณิตศาสตร์ ส่วนมารดา ชื่อ แอนจา เอาวริสสัน (Anja
นี
ศร

it y
Ourisson) ซึง่ เป็นผูเ้ ชีย่ วชาญทางภาษา ers
ลยั
ยา

n iv
สาหรับด้านการศึกษา ในปี ค.ศ.1936 ยอร์จ บี ดานท์ซกิ จบปริญญาตรีทางคณิตศาสตร์
tU
วทิ
หา

และฟิสกิ ส์ จากมหาวิทยาลัยแห่งแมรีแลนด์ (University of Maryland) และในปีน้เี องก็ได้สมรสกับ


ir o
งม

nw

แอนน์ เอส ชมุเนอร์ (Anne S. Shmuner) และในปี ค.ศ.1938 จบการศึกษาระดับปริญญาโทที่


ลา

ari
ดุ ก

a kh

มหาวิทยาลัยแห่งมิชแิ กน (University of Michigan) ในปี ค.ศ.1937-1939 ก็ทางานเป็นนักสถิตทิ ่ี


สม

rin

U.S. Bureau of Labor Statistics ในระหว่างทีเ่ รียนปริญญาเอกปีแรกทีม่ หาวิทยาลัยแห่ง


หอ

yS

แคลิฟอร์เนีย ที่ เบิรก์ เลย์ (University of California-Berkeley) ยอร์จ บี ดานท์ซกิ มาสายในคาบ


rar
นกั

เรียนของ Jerzy Neyman ซึง่ เป็นผูค้ น้ พบสถิตแิ ผนใหม่ Neyman ได้เขียนปญั หาบนกระดานดา
L ib
สาํ

al

ซึง่ มี 2 ปญั หา และดานท์ซกิ คิดว่าเป็ นการบ้านจึงได้นาปญั หาทัง้ 2 ไปแก้ และในไม่กว่ี นั ต่อมา


n tr
Ce

ปรากฏว่าดานท์ซกิ สามารถแก้ปญั หาทัง้ 2 ได้ และนางานมาส่ง Neyman พร้อมกับอ้างเหตุผลว่า


ทีใ่ ช้เวลาค่อนข้างนานเพราะปญั หายากกว่าปกติ ซึง่ การทีด่ านท์ซกิ สามารถแก้ปญั หาทัง้ สองนี้ได้
เป็ นเหมือนการไขปริศนาในวิชาสถิติ เพราะทัง้ สองปญั หานี้ถอื ได้ว่าเป็นปญั หาทีย่ งั ไม่พบรายงาน
การแก้ปญั หาได้มาก่อน
ในปี ค.ศ.1941-1946 ดานท์ซกิ ได้ไปประจาตาแหน่งเป็นหัวหน้าแผนกวิเคราะห์การรบ
ของกองทัพสหรัฐอเมริกา คือ Army Air Forces ซึง่ เป็นปีทไ่ี ด้รบั ปริญญาเอกทางด้านคณิตศาสตร์
จากมหาวิทยาลัยเบิรก์ เลย์ (UC-Berkeley) ในปี ค.ศ.1946-1952 ยอร์จ บี ดานท์ซกิ เป็นที่ปรึกษา
ทางคณิตศาสตร์ให้กบั การทหาร จากนัน้ ในปี ค.ศ. 1952-1960 เป็นนักคณิตศาสตร์ทท่ี าการวิจยั
ที่ RAND Crop. และในปี ค.ศ.1960-1966 ได้ดารงตาแหน่งเป็นศาสตราจารย์ดา้ นการวิจยั
ดาเนินงานทีม่ หาวิทยาลัยเบิรก์ เลย์ (UC-Berkeley)
168

จากนัน้ ดานท์ซกิ ได้กลับไปที่ สแตนฟอร์ด ในปี ค.ศ. 1966 และได้ทางานในคณะการ


วิจยั ดาเนินงานและวิทยาการคอมพิวเตอร์ ในปี ค.ศ.1973 ได้รบั การแต่งตัง้ เป็นศาสตราจารย์
ทางด้านวิทยาการการขนส่ง (C.A. Criley Professor of Transportation Science) ซึง่ งานวิจยั ของ
ดานท์ซกิ มุง่ ให้ความสนใจไปทีค่ ่าเหมาะสมทีส่ ุดของระบบ Large-Scale และการพัฒนาด้าน
พลังงานและแบบจาลองของการวางแผนทางเศรษฐศาสตร์


วโิ ร
นิทร
คร
นี
ศร

it y
ers
ในปี ค.ศ.1975 ดานท์ซกิ ได้รบั รางวัล National Medal of Science จากประธานาธิบดี
ลยั
ยา

n iv
เจอรัลด์ ฟอร์ด ในฐานะทีเ่ ป็นผูค้ ดิ ค้นกาหนดการเชิงเส้นและวิธซี มิ เพล็กซ์ นอกจากนี้ยงั มีผลงาน
tU
วทิ
หา

ต่างๆ อีกมากมาย เช่น War Department Exceptional Civilian Service Medal, the John Von
ir o
งม

nw

Neumann Theory Prize, the National Academy of Sciences Award in Applied Mathematics
ลา

ari
ดุ ก

a kh

and Numerical Analysis, the Harvey Prize, the Silver Medal of the Operational Research
สม

rin

Society, the Alfred Coors American Ingenuity Award and a Fellows Award from the Institute
หอ

yS

for Operations Research and the Management Science (INFROMS) เป็นต้น และจนกระทัง่
rar
นกั

L ib
สาํ

วันที่ 13 พฤษภาคม ค.ศ. 2005 ยอร์จ บี ดานท์ซกิ ก็ได้เสียชีวติ ลง ด้วยวัย 90 ปี อันเนื่องมาจาก


al

อาการแทรกซ้อนจากโรคเบาหวานและโรคเกีย่ วกับหลอดเลือดหัวใจ
n tr
Ce

ยอร์จ บี ดานท์ซกิ (George B. Dantzig) ถือได้ว่าเป็นผูร้ เิ ริม่ ในการพัฒนากาหนดการเชิง


เส้นและได้รบั ยกย่องว่าเป็น บิ ดาแห่งกาหนดการเชิ งเส้น (Father of Linear Programming)
และเป็นผูค้ ดิ ค้นวิธกี ารแก้ปญั หากาหนดการเชิงเส้น ทีเ่ รียกว่า วิธซี มิ เพล็กซ์ (Simplex Method)
ซึง่ นับว่าเป็นวิธที ใ่ี ช้แก้ปญั หากาหนดการเชิงเส้นทีม่ คี วามซับซ้อนได้อย่างมีประสิทธิภาพวิธหี นึ่ง
169

3. การประยุกต์เกี่ยวกับ กาหนดการเชิ งเส้น

กาหนดการเชิงเส้นได้ถูกนาไปใช้ในการแก้ปญั หาด้านต่างๆ อย่างกว้างขวาง ซึง่ ได้ช่วย


ให้เกิดประสิทธิภาพในการบริหาร และการดาเนินงานขององค์การหรือหน่วยงานนัน้ ๆ ในปจั จุบนั นี้
เทคนิคกาหนดการเชิงเส้นได้ถูกนาไปประยุกต์ใช้กบั ปญั หาในด้านต่างๆ มากมาย ได้แก่
1. ปัญหาการผลิ ต (Product Mix Problem) เป็นการพิจารณาหาปริมาณสินค้าแต่
ละประเภททีค่ วรทาการผลิต เพื่อทีจ่ ะให้การใช้ทรัพยากรทีม่ อี ยูไ่ ม่ว่าจะเป็น เครือ่ งจักร วัตถุดบิ
แรงงาน นัน้ เป็นไปอย่างเหมาะสม เพื่อทีจ่ ะได้ผลตอบแทนสูงสุด
2. ปัญหาการผสมสาร (Blending Problem) เป็นการพิจารณาปริมาณสารหรือ


วัตถุดบิ ชนิดต่างๆ ทีจ่ ะนามาผสมกันหรือนามาใช้ในการผลิตสินค้าประเภทต่างๆ ตามคุณสมบัตทิ ่ี

วโิ ร
ได้กาหนดไว้ เพื่อทีจ่ ะได้มคี ่าใช้จา่ ยต่าสุด
ทร
3. ปัญหาการขนส่ง (Transportation Problem) เป็นการพิจารณาปริมาณสินค้าที่
นิ
คร
จะทาการขนส่งจากแหล่งผลิตสินค้าไปยังผูบ้ ริโภคหรือจุดหมายปลายทาง เพื่อให้ค่าใช้จา่ ยในการ
นี
ศร

it y
ขนส่งทีต่ ่าสุด หรือส่งสินค้าถึงจุดหมายปลายทางได้เร็ว สุด ers
ลยั
ยา

n iv
4. ปัญหาการมอบหมายงาน (Assignment Problem) เป็นการพิจารณาการ
tU
วทิ
หา

ir o

มอบหมายงานทีจ่ ะต้องทาให้กบั บุคลากรหรือเครือ่ งจักร เพื่อให้งานทีไ่ ด้รบั มอบหมายแล้วเสร็จใน


งม

nw

เวลาทีเ่ ร็วสุด หรือเสียค่าใช้จา่ ยน้อยสุด


ลา

ari
ดุ ก

a kh

5. ปัญหาการลงทุน (Investment Project Problem) เป็นการพิจารณาจัดสรรเงิน


สม

rin

ลงทุนในโครงการลงทุนต่างๆ เพื่อให้ได้ผลตอบแทนสูงสุด
หอ

yS

6. ปัญหาการเลือกสื่อโฆษณา (Media Selection) เป็นการพิจารณาเลือกสื่อ


rar
นกั

L ib
สาํ

โฆษณาชนิดต่างๆ เพื่อให้ขอ้ มูลหรือข่าวสารที่ตอ้ งการเผยแพร่ออกสู่เป้าหมายเป็นจานวนมากสุด


al
n tr

หรือโดยเสียค่าใช้จา่ ยในการโฆษณาน้อยสุด
Ce

7. ปัญหาการตัดกระดาษ (Trim Loss Problem) เป็นการพิจารณารูปแบบหรือ


วิธกี ารตัดกระดาษ (หรือสินค้าอื่นๆ ทีม่ คี ุณสมบัตคิ ล้ายคลึงกัน เช่น การตัดผ้า การตัดแผ่นเหล็ก )
เพื่อทีจ่ ะหารูปแบบการตัดกระดาษขนาดมาตรฐานทีม่ อี ยูอ่ อกเป็นขนาดและปริมาตรต่างๆ ตาม
ความต้องการ เพื่อทีจ่ ะให้มเี ศษ (ส่วนทีใ่ ช้ประโยชน์ต่อไปไม่ได้) น้อยสุด
8. ปัญหาทางด้านการทหาร อาจนาเอากาหนดการเชิงเส้นใช้ในการพิจารณาวาง
แผนการส่งกาลังบารุง การเลือกกาหนดจานวนอาวุธยุทโธปกรณ์ การกาหนดยุทธศาสตร์ ฯลฯ
170

ใบกิ จกรรมที่ 1 เรื่อง ความหมายของกาหนดการเชิ งเส้น


จุดประสงค์การเรียนรู้
1. นักเรียนมีความรูค้ วามเข้าใจความหมายของกาหนดการเชิงเส้นได้
2. นักเรียนมีความรูค้ วามเข้าใจเกีย่ วกับประวัตคิ วามเป็นมาของกาหนดการเชิงเส้น

ชื่อ …………………………………………………………. ชัน้ …………….. เลขที่ ……………..

คาสัง:่ ให้นกั เรียนตอบคาถามต่อไปนี้


วโิ ร
1. จงบอกความหมายของกาหนดการเชิงเส้น
…………………………………………………………………..............................................
นิ ทร
คร
.........................................................................................................................................
นี
ศร

it y
ers
.........................................................................................................................................
ลยั
ยา

n iv
2. กาหนดการเชิงเส้นนาไปใช้กบั ปญั หาในลักษณะใด
tU
วทิ
หา

ir o

……………………………………………………………………………………………………
งม

nw

……………………………………………………………………………………………………
ลา

ari
ดุ ก

a kh

3. ใครเป็นบิดาของกาหนดการเชิงเส้น
สม

rin

……………………………………………………………………………………………………
หอ

yS

4. กาหนดการเชิงเส้นถูกนามาใช้ครัง้ แรกในด้านใด
rar
นกั

L ib
สาํ

…………………………………………………………………………………………………..
al

5. จงยกตัวอย่างปญั หาทีใ่ ช้กาหนดการเชิงเส้นแก้ปญั หา พร้อมทัง้ อธิบาย (3 ปญั หา)


n tr
Ce

……………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………..
171

เอกสารหน่ วยการเรียนที่ 1: ความรู้เบือ้ งต้นของกาหนดการเชิ งเส้น


เรื่อง กราฟระบบสมการเชิ งเส้นสองตัวแปร

1. กราฟสมการเชิ งเส้นสองตัวแปร

สมการเชิ งเส้นสองตัวแปร หมายถึง สมการทีอ่ ยูใ่ นรูป


วโิ ร
Ax + By + C = 0

ทร
เมือ่ A, B และ C เป็นค่าคงตัว A ≠ 0 หรือ B ≠ 0 และ x, y เป็นตัวแปร
นิ
คร
นี
ศร

it y
ers
จากความหมายดังกล่าว สรุปได้ว่า สมการเชิงเส้นสองตัวแปรจะเป็นสมการทีม่ ี
ลยั
ยา

n iv
ลักษณะสาคัญ ดังนี้
tU
วทิ
หา

ir o

1. มีตวั แปรสองตัว
งม

nw

2. ตัวแปรแต่ละตัวมีเลขชีก้ าลังเป็น 1
ลา

ari
ดุ ก

a kh

3. สัมประสิทธิ ์ของตัวแปรจะเป็นศูนย์พร้อมกันทัง้ สองตัวไม่ได้


สม

rin

(อาจจะมีสมั ประสิทธิ ์ตัวใดตัวหนึ่งเป็นศูนย์กไ็ ด้)


หอ

yS
rar
นกั

L ib
สาํ

ให้นกั เรียนยกตัวอย่างสมการเชิงเส้นสองตัวแปร
al
n tr

มา 4 สมการ
Ce

1) ………………… 2) …………………
3) ………………… 4) …………………
5) ………………… 6) …………………
172

กราฟของสมการเชิ งเส้นสองตัวแปร
ตัวอย่าง 1 จงเขียนกราฟของสมการ x  y  3  0
วิ ธีทา สร้างตารางความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร x และตัวแปร y

x -1 0 1 2 3
y = 3-x


วโิ ร
ทร
นิ
นีคร
ศร

it y
ers
ลยั
ยา

n iv
tU
วทิ
หา

ir o
งม

nw
ลา

ari
ดุ ก

a kh

นอกจากการเขียนกราฟเส้นตรงโดยใช้วธิ ขี า้ งต้นแล้ว เราสามารถเขียนกราฟโดยใช้วธิ ที ่ี


สม

rin

สะดวกและรวดเร็ว คือ การหาจุดตัดแกน X และจุดตัดแกน Y แล้วเขียนเส้นตรงทีผ่ ่านจุดตัดแกน


หอ

yS

X และแกน Y ก็จะได้กราฟเส้นตรงทีต่ อ้ งการ


rar
นกั

L ib
สาํ

al
n tr

มีวิธีการดังนี้
Ce

จุดตัดแกน X หาได้จากการแทนค่า y = 0 ในสมการ จะได้


คู่ลาดับ (x, 0) เป็นจุดตัดแกน X
จุดตัดแกน Y หาได้จากการแทนค่า x = 0 ในสมการ จะได้
คู่ลาดับ (0, y) เป็นจุดตัดแกน Y
173

จากตัวอย่าง 1 x + y – 3 = 0 จะได้ว่า
ถ้า x = 0 แล้ว y = 3 แสดงว่า เส้นตรงตัดกับแกน Y ทีจ่ ดุ (0, 3)
ถ้า y = 0 แล้ว x = 3 แสดงว่า เส้นตรงตัดกับแกน X ทีจ่ ดุ (3, 0)
กราฟของสมการเป็นดังนี้


วโิ ร
ทร
นิ
คร
นี
ศร

it y
ers
ลยั
ยา

n iv
ตัวอย่าง 2 จงเขียนกราฟของสมการ 2x  y  4  0
tU
วทิ
หา

ir o

วิ ธีทา จากสมการ 2x  y  4  0 จะได้ว่า


งม

nw

ถ้า x = 0 แล้ว y = ….. ดังนัน้ เส้นตรงตัดกับแกน Y ทีจ่ ดุ ……….


ลา

ari
ดุ ก

a kh

ถ้า y = 0 แล้ว x = ….. ดังนัน้ เส้นตรงตัดกับแกน X ทีจ่ ดุ ……….


สม

rin

กราฟของสมการเป็นดังนี้
หอ

yS
rar
นกั

L ib
สาํ

al
n tr
Ce
174

ตัวอย่าง 5 จงเขียนกราฟของสมการต่อไปนี้ โดยใช้โปรแกรม C.a.R. (ให้นกั เรียนเปิดคู่มอื การใช้


โปรแกรม C.a.R. ประกอบการปฏิบตั )ิ

5.1) x  2y  5  0 5.2) 2x  3y  6  0
วิ ธีทา จะได้ y = ………………………. วิ ธีทา จะได้ y = ……………………….


วโิ ร
ทร
นิ
คร
จุดตัดแกน X คือ ………………………
นี
ศร

จุดตัดแกน X คือ ………………………

it y
จุดตัดแกน Y คือ …………………… ers
ลยั

จุดตัดแกน Y คือ ………………………


ยา

n iv
5.3) y  3  0 5.4) y  4x  5
tU
วทิ
หา

ir o

วิ ธีทา จะได้ y = …………………… วิ ธีทา จะได้ y = ……………………


งม

nw
ลา

ari
ดุ ก

a kh
สม

rin
หอ

yS
rar
นกั

L ib
สาํ

al
n tr
Ce

จุดตัดแกน X คือ ……………………… จุดตัดแกน X คือ ………………………


จุดตัดแกน Y คือ ……………………… จุดตัดแกน Y คือ ………………………
175

จากการเขียนกราฟในตัวอย่างข้างต้น สามารถสรุปลักษณะกราฟสมการเชิงเส้น
สองตัวแปรได้ดงั นี้
รูปทัวไป่ Ax  By  C  0
เมือ่ x และ y เป็นตัวแปร A, B, C เป็นค่าคงตัว และ A กับ B ไม่เป็นศูนย์พร้อมกัน
ลักษณะกราฟสมการเชิ งเส้นสองตัวแปร
1. เมื่อ A  0 และ B  0 แล้ว จะได้ว่า
.............................................................................................................................
………………………………..................................................................................
…………………………………………………………………………………………….
2. เมื่อ A  0 และ B  0


.............................................................................................................................

วโิ ร
………………………………..................................................................................
…………………………………………………………………………………………….. นิ ทร
คร
3. เมื่อ A  0 และ B  0
นี
ศร

it y
ers
ลยั

.............................................................................................................................
ยา

n iv
………………………………..................................................................................
tU
วทิ
หา

ir o

……………………………………………………………………………………………..
งม

nw
ลา

ari
ดุ ก

a kh
สม

rin
หอ

yS
rar
นกั

L ib
สาํ

al
n tr
Ce
176

ใบกิ จกรรมที่ 2 เรื่อง กราฟสมการเชิ งเส้นสองตัวแปร


จุดประสงค์การเรียนรู้
1. นักเรียนสามารถเขียนกราฟสมการเชิงเส้นสองตัวแปรได้

ชื่อ ………………………………………………………………… ชัน้ …………….. เลขที่ …………

คาสัง:่ ให้นกั เรียนเขียนกราฟของสมการต่อไปนี้


วโิ ร
(1) y  2x  4  0
นิทร
คร
วิ ธีทา ………………………………………………………………………..
นี
ศร

it y
………………………………………………………………………………. ers
ลยั
ยา

n iv
……………………………………………………………………………….
tU
วทิ
หา

ir o

………………………………………………………………………………
งม

nw
ลา

ari
ดุ ก

a kh
สม

rin
หอ

yS
rar
นกั

L ib
สาํ

al
n tr
Ce
177

(2) 5x  y  6  0

วิ ธีทา ……………………………………………………………………
……………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………….
………………………………………………………………………………


วโิ ร
ทร
นิ
นีคร
ศร

it y
ers
ลยั
ยา

n iv
tU
วทิ
หา

ir o
งม

nw
ลา

ari
ดุ ก

a kh
สม

rin

(3) 2x  4 y  6
หอ

yS
rar
นกั

L ib
สาํ

วิ ธีทา ………………………………………………………………………..
al

……………………………………………………………………………….
n tr
Ce

……………………………………………………………………………….
………………………………………………………………………………
178

2. กราฟระบบสมการเชิ งเส้นสองตัวแปร

ระบบสมการเชิ งเส้นสองตัวแปร หมายถึง สมการเชิงเส้นทีม่ ี


ตัวแปรสองตัวและมีจานวนสมการจากัดมากกว่าหรือเท่ากับหนึ่งสมการ

ให้ A, B, C, D, E, F เป็นจานวนจริง ที่ A, B ไม่เป็นศูนย์พร้อมกัน


และ C, D ไม่เป็นศูนย์พร้อมกัน เรียกระบบทีป่ ระกอบด้วยสมการ


วโิ ร
นักเรียนสามารถเขียน
Ax + By + E = 0 ระบบสมการให้อยู่ในรูป

ทร
Cx + Dy + F = 0 Ax + By = E
นิ
คร
ว่าระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปรที่ม ี x และ y เป็นตัวแปร Cx + Dy = F
นี
ศร

it y
ทีม่ ี x และ y เป็นตัวแปร
ers
ลยั
ยา

n iv
tU
วทิ
หา

ir o

คาตอบของระบบสมการเชิ งเส้นสองตัวแปร คือ คู่อนั ดับ (x, y) ทีส่ อดคล้องกับ


งม

nw

สมการทัง้ สองของระบบสมการ หรือคู่อนั ดับ (x, y) ทีค่ ่า x และค่า y ทีท่ าให้สมการทัง้ สอง
ลา

ari
ดุ ก

a kh

ของระบบสมการเป็นจริง
สม

rin
หอ

yS
rar
นกั

L ib
สาํ

al
n tr

กราฟระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปรได้จากการเขียนกราฟ
Ce

ของทุกสมการทีก่ าหนดให้บนแกนพิกดั ฉากเดียวกัน


179

ตัวอย่าง 6 จงเขียนกราฟของระบบสมการเชิงเส้นต่อไปนี้
xy5 (1)
x  y 1 (2)
เขียนกราฟของสมการทัง้ สองได้ดงั นี้


วโิ ร
ทร
-1 1 5
นิ
คร
(2) (1)
นี
ศร

it y
ers
จากการเขียนกราฟของสมการทัง้ สอง พบว่า กราฟตัดกันทีจ่ ดุ (3, 2)
ลยั
ยา

n iv
โดยที่ (3, 2) สอดคล้องกับสมการ (1) และสมการ (2)
tU
วทิ
หา

ir o

ดังนัน้ คาตอบของระบบสมการ (1) และ (2) จึงเป็น (3, 2) ซึง่ เป็นพิกดั ของจุดตัดของกราฟ
งม

nw

หรือกล่าวได้ว่า คาตอบของระบบสมการเป็นพิกดั ของจุดตัดของเส้นตรงทัง้ สองนันเอง ่


ลา

ari
ดุ ก

a kh

ดังนัน้ คาตอบของระบบสมการ คือ (3, 2)


สม

rin
หอ

yS
rar
นกั

L ib
สาํ

การหาคาตอบของระบบสมการจะใช้วธิ ใี ดได้บา้ ง
al
n tr

นอกจากการเขียนกราฟ ช่วยบอกหน่อยนะครับ!!
Ce

คาตอบของระบบสมการ สามารถหาได้โ ดยการนาสมการทัง้ สองมาแก้สมการ


จากตัวอย่าง 6 เราสามารถหาคาตอบของสมการ x  y  5 และ x  y  1
ซึง่ หาได้จากการแก้สมการ ดังนี้
xy5 (1)
x  y 1 (2)
นา (1) + (2) จะได้ 2x  6
ดังนัน้ x3
180

นาค่า x ทีไ่ ด้แทนใน (1) จะได้ จุดตัดของเส้นตรง


3 y  5 เป็ นคาตอบของระบบ
ดังนัน้ y2 สมการนะจ๊ะ
ดังนัน้ คาตอบของระบบสมการ คือ (3, 2)

ตัวอย่าง 9 ให้นกั เรียนวาดกราฟระบบสมการเชิงเส้น โดยใช้โปรแกรม C.a.R.


(ให้นกั เรียนเปิดคู่มอื การใช้ โปรแกรม C.a.R. ประกอบการปฏิบตั )ิ


(1) กาหนดให้

วโิ ร
2x  7 y  11 (1)
 2x  3y  1
ทร
นิ (2)
คร
เขียนกราฟของระบบสมการได้ดงั นี้
นี
ศร

it y
ers
ลยั
ยา

n iv
tU
วทิ
หา

ir o
งม

nw
ลา

ari
ดุ ก

a kh
สม

rin
หอ

yS
rar
นกั

L ib
สาํ

จากการเขียนกราฟของสมการทัง้ สอง พบว่า เส้นตรงสองเส้นตัดกันทีจ่ ดุ (2, 1)


al
n tr

ดังนัน้ ระบบสมการมีคาตอบ คือ (2, 1)


Ce
181

(2) กาหนดให้
x  3y  3 (1)
x  3y  6 (2)
เขียนกราฟของระบบสมการได้ดงั นี้


วโิ ร
ทร
นิ
คร
จากการเขียนกราฟของสมการทัง้ สอง พบว่า ……………………………….
นี
ศร

it y
แสดงว่า ……………………………………………………………………….
ers
ลยั
ยา

n iv
ดังนัน้ คาตอบของระบบสมการ ………………………………………………
tU
วทิ
หา

ir o
งม

nw
ลา

ari

จากการพิจารณาในตัวอย่า งข้างต้น สามารถสรุปลักษณะกราฟระบบสมการเชิงเส้น


ดุ ก

a kh
สม

สองตัวแปร ได้ดงั นี้


rin
หอ

yS
rar
นกั

กราฟระบบสมการสองตัวแปร มีด้วยกัน 3 ลักษณะ ดังนี้


L ib
สาํ

1. …………………………………………………………………………….
al
n tr

…………………………………………………………………………….
Ce

2. …………………………………………………………………………….
………………………………………………………………………………
3. ………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………
182

ใบกิ จกรรมที่ 3 กราฟระบบสมการเชิ งเส้นสองตัวแปร


จุดประสงค์การเรียนรู้
1. นักเรียนสามารถเขียนกราฟระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปรได้

ชื่อ …………………………………………………………... ชัน้ ……………. เลขที่ …………….

คาสัง:่ จงเขียนกราฟของระบบสมการทีก่ าหนดให้ต่อไปนี้


วโิ ร
(1) กาหนดให้
x  2y  3
ทร
นิ
คร
นี
3x  y  4
ศร

it y
เขียนกราฟของระบบสมการได้ดงั นี้ ers
ลยั
ยา

n iv
tU
วทิ
หา

ir o
งม

nw
ลา

ari
ดุ ก

a kh
สม

rin
หอ

yS
rar
นกั

L ib
สาํ

al
n tr
Ce
183

(2) กาหนดให้
3x  5y  15
4x  3y  12
เขียนกราฟของระบบสมการได้ดงั นี้


วโิ ร
ทร
นิ
คร
นี
ศร

it y
ers
ลยั
ยา

n iv
tU
วทิ
หา

ir o
งม

nw
ลา

ari
ดุ ก

a kh

(3) กาหนดให้
สม

rin

2x  4y  20
หอ

yS

8x  6y  48
rar
นกั

L ib
สาํ

เขียนกราฟของระบบสมการได้ดงั นี้
al
n tr
Ce
184

เอกสารหน่ วยการเรียนที่ 1: ความรู้เบือ้ งต้นของกาหนดการเชิ งเส้น


เรื่อง กราฟระบบอสมการเชิ งเส้นสองตัวแปร

1. กราฟอสมการเชิ งเส้นสองตัวแปร


วโิ ร
อสมการ คือ ประโยคสัญลักษณ์ทก่ี ล่าวถึงความสัมพันธ์ของจานวนโดย

ทร
มีสญ
ั ลักษณ์ , , ,  หรือ  บอกความสัมพันธ์ของจานวน
คร
นิ
นี
ศร

it y
ers
ลยั

เช่น 2x  5
ยา

n iv
tU

3x  2y  7
วทิ
หา

ir o
งม

2x  4  10
nw
ลา

ari

x 2  y2  1
ดุ ก

a kh
สม

rin

คาตอบของอสมการ คือ จานวนจริงทุกจานวนทีน่ าไปแทนตัวแปรในอสมการ


หอ

yS
rar

แล้วทาให้อสมการเป็นจริง
นกั

L ib
สาํ

al
n tr
Ce

เช่น กาหนดอสมการ
นักเรียนคิดว่า
x 3 7 มีคาตอบอื่นอีกมัย้
ถ้าแทนค่า x ด้วย 5 จะได้อสมการ 5  3  7 หรือ 8  7 ซึง่ อสมการเป็ นเท็จ นอกเหนือจาก 2
ดังนัน้ 5 ไม่เป็ นคาตอบของอสมการ
ถ้าแทนค่า x ด้วย 2 จะได้อสมการ 2  3  7 หรือ 5  7 ซึง่ อสมการเป็นจริง
ดังนัน้ 2 เป็ นคาตอบของอสมการ
ถ้าแทนค่า x ด้วย…..จะได้อสมการ …………. หรือ ……. ซึง่ …………………
ดังนัน้ ……………………………………………………………….
ถ้าแทนค่า x ด้วย…..จะได้อสมการ …………. หรือ ……. ซึง่ …………………
ดังนัน้ ……………………………………………………………….
185

อสมการเชิ งเส้นตัวแปรเดียว คือ ประโยคสัญลักษณ์ทแ่ี สดงความไม่เท่ากัน


ของพหุนามทีม่ ตี วั แปรเพียงตัวเดียวและมีดกี รีของพหุนามมีค่าเท่ากับ 1

การเขียนกราฟแสดงคาตอบของอสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวจะใช้เส้นจานวนจริงในการ
แสดงคาตอบ ดังตัวอย่างต่อไปนี้

ตัวอย่าง 1 จงแก้อสมการ x  2  6
วิ ธีทา x26


นา -2 บวกทัง้ สองข้าง จะได้

วโิ ร
ทร
x  2  (2)  6  (2)
นิ
คร
x4
ดังนัน้ คาตอบของอสมการ คือ จานวนจริงทุกจานวนทีน่ ้อยกว่าหรือเท่ากับ 4
นี
ศร

it y
กราฟแสดงคาตอบบนเส้นจานวนจริง ได้ดงั นี้ ers
ลยั
ยา

n iv
tU
วทิ
หา

ir o

-1 0 1 2 3 4 5
งม

nw
ลา

ari
ดุ ก

a kh
สม

rin
หอ

yS

ตัวอย่าง 2 จงแก้อสมการ 4x  8  12
rar
นกั

L ib
สาํ

วิ ธีทา 4x  8  12
al

นา 8 บวกทัง้ สองข้าง จะได้


n tr
Ce

……………………………………………………………………………….
………………………………………………………………………………..
1
นา คูณทัง้ สองข้าง จะได้
4
……………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………….
ดังนัน้ คาตอบของอสมการ คือ …………………………………………..........
กราฟแสดงคาตอบบนเส้นจานวนจริง ได้ดงั นี้

-1 0 1 2 3 4 5 6
186

อสมการเชิ งเส้นสองตัวแปร หมายถึง อสมการทีอ่ ยูใ่ นรูป


Ax  By  C
Ax  By  C
Ax  By  C
Ax  By  C
โดยที่ x, y เป็นตัวแปร A, B, C เป็นค่าคงตัว ซึง่ A0 หรือ B0

กราฟอสมการเชิ งเส้นสองตัวแปร คือ กราฟของคู่อนั ดับ (x, y)


วโิ ร
ซึง่ สัมพันธ์ตามเงือ่ นไขทีก่ าหนด

นิทร
คร
นี
ศร

it y
ers
ลยั

การเขียนกราฟอสมการเชิงเส้นสองตัวแปร จะแสดงโดยตัวอย่างเพื่อเป็นแนวทางในการ
ยา

n iv
เขียนกราฟอสมการเชิงเส้นต่างๆ ต่อไป
tU
วทิ
หา

ir o

ตัวอย่าง 3 พิจารณากราฟของสมการเชิงเส้นต่อไปนี้
งม

nw
ลา

ari

x=3
ดุ ก

a kh

Y
สม

rin
หอ

yS
rar
นกั

L ib
สาํ

(0, 5) (3, 5) (5, 5)


al
n tr

(1, 4) (7, 3)
Ce

(3, 3)
(-1, 2)
(5, 1)

(3, 0) XX

จากกราฟจะเห็นว่า เส้นตรงซึง่ เป็นกราฟของ x = 3 จะมีจดุ (3, 0), (3, 3), (3, 5) อยูบ่ น
เส้นตรง ซึง่ แต่ละจุดจะมีพกิ ดั x = 3 นอกจากนี้กราฟแบ่งระนาบออกเป็นสองส่วน คือ ส่วนทีอ่ ยู่
ทางขวาของเส้นตรง โดยมีจดุ (5, 1), (5, 5) และ (7, 3) อยูท่ างขวาของเส้นตรง และส่วนทีอ่ ยู่
ทางซ้ายของเส้นตรง มีจดุ (-1, 2), (0, 5) และ (1, 4) อยูท่ างซ้ายของเส้นตรง
187

ถ้าต้องการกล่าวถึงจุดทุกจุดทางขวาของเส้นตรง นันคื
่ อ กล่าวถึงทุกจุดทีม่ พี กิ ดั ของ x
มากกว่า 3 จะใช้เส้นประและการแรเงาบริเวณด้านขวาของเส้นตรงซึง่ เป็นกราฟของx = 3 เพื่อแสดง
กราฟของอสมการ x  3 ดังรูป 3.1 และถ้าต้องการรวมจุดทุกจุดบนเส้นตรงซึง่ เป็นกราฟของ
x = 3 นันคื
่ อ การแสดงกราฟของอสมการ x  3 โดยใช้เส้นทึบแทนเส้นประ ดังรูป 3.2
Y x=3 Y x=3

x3 x3


วโิ ร
X X
นิทร
คร
รูป 3.1 รูป 3.2
นี
ศร

it y
ers
สาหรับกราฟของอสมการเชิงเส้นอื่นๆ ก็สามารถเขียนได้โดยใช้เส้นประหรือเส้นทึบและ
ลยั
ยา

n iv
อาณาบริเวณทีแ่ รเงาในลักษณะทีก่ ล่าวไว้ขา้ งต้น
tU
วทิ
หา

ir o
งม

nw

ตัวอย่าง 4 พิจารณากราฟของสมการเชิงเส้นต่อไปนี้
ลา

ari
ดุ ก

a kh

Y
สม

rin
หอ

yS
rar
นกั

L ib
สาํ

(2, 2)
al
n tr

(-1, 1)
Ce

(5, 0)
X
y = -1
(-1, -2) (2, -1) (3, -1) (6, -1)
(2, -2) (4, -2)
จากกราฟจะเห็นว่า เส้นตรงซึง่ เป็นกราฟของ y = -1 จะมีจดุ (2, -1), (3, -1), (6, -1)
อยูบ่ นเส้นตรง ซึง่ แต่ละจุดจะมีพกิ ดั y = -1 นอกจากนี้กราฟแบ่งระนาบออกเป็นสองส่วน คือ
ส่วนทีอ่ ยูเ่ หนือเส้นตรง จะมีจดุ (-1, 1), (2, 2) และ (5, 0) และส่วนทีอ่ ยูใ่ ต้ของเส้นตรง จะมีจดุ
(-1, -2), (2, -2) และ (4, -2)
188

ถ้าต้องการกล่าวถึงจุดทุกจุดด้านเหนือของเส้นตรง นันคื
่ อ กล่าวถึงทุกจุดทีม่ พี กิ ดั ของ y
มากกว่า -1 จะใช้เส้นประและการแรเงาบริเวณด้านเหนือของเส้นตรงซึง่ เป็นกราฟของy = -1 เพื่อ
แสดงกราฟของอสมการ y  1 ดังรูป 4.1 และถ้าต้องการรวมจุดทุกจุดบนเส้นตรงซึง่ เป็นกราฟ
ของ y = -1 นันคื
่ อ การแสดงกราฟของอสมการ y  1โดยใช้เส้นทึบแทนเส้นประ ดังรูป 4.2
Y Y

y  1 y  1


วโิ ร
X X

ทร
y = -1 y= -1
นิ
คร
รูป 4.1 รูป 4.2
นี
ศร

it y
ers
ลยั
ยา

n iv
ตัวอย่าง 5 จงเขียนกราฟของอสมการ 3x  2y  6
tU
วทิ
หา

ir o

วิ ธีทา เขียนกราฟของสมการ 3x  2y  6 เนื่องจากอสมการมีเครือ่ งหมาย < จึงใช้เส้นประ ได้ดงั นี้


งม

nw
ลา

ari
ดุ ก

a kh
สม

rin

การเขียนกราฟของอสมการ
หอ

yS

ต้องใช้สมการช่วยในการเขียน
rar
นกั

L ib

กราฟ
สาํ

al
n tr
Ce

จากกราฟจะเห็นว่า เส้นตรงซึง่ เป็นกราฟของ 3x  2y  6 แบ่งระนาบออกเป็นสองส่วน


คือ ส่วนทีเ่ ป็นบริเวณเหนือของเส้นตรงและส่วนทีเ่ ป็นบริเวณใต้ของเส้นตรง
189

การตรวจว่าบริเวณใดเป็นบริเวณทีส่ อดคล้องกับอสมการ คือ ให้ทดลองแทนค่าที่


จุดใดจุดหนึ่งว่าสอดคล้องกับอสมการหรือไม่ ถ้าสอดคล้องกับอสมการแสดงว่าจุดทุกจุดในข้าง
เดียวกันของจุดทีน่ ามาทดสอบก็จะสอดคล้องกับอสมการด้วย แต่ถา้ จุดนัน้ ไม่สอดคล้องกับอสมการ
จุดทุกจุดในอีกข้างหนึ่งของเส้นตรงก็จะสอดคล้องกับอสมการ
เช่น เลือกจุด (3, 1) มาทดสอบ และแทนค่า (3, 1) ลงในอสมการ จะได้
3(3) – 2(1) = 7 < 6 อสมการไม่เป็ นจริ ง
เลือกจุด (0, 0) มาทดสอบ และแทนค่า (0, 0) ลงในอสมการ จะได้
3(0) – 2(0) = 0 < 6 อสมการเป็ นจริ ง
แสดงว่าจุดทุกจุดทีอ่ ยูข่ า้ งเดียวกันกับจุด (0, 0) จะสอดคล้องกับอสมการ 3x – 2y < 6
ด้วยเช่นกัน ดังนัน้ จึงแรเงาบริเวณเหนือเส้นตรง


เขียนกราฟของอสมการ 3x – 2y < 6 ได้ดงั รูป

วโิ ร
นิทร
คร
Y
นี
ศร

it y
ers
ลยั
ยา

n iv
tU
วทิ
หา

ir o
งม

nw
ลา

ari
ดุ ก

a kh
สม

0 (2, 0)
rin

X
หอ

yS

(0, -3)
rar
นกั

L ib
สาํ

al
n tr
Ce

การเลือกจุดทดสอบว่าบริเวณใดเป็นบริเวณทีส่ อดคล้องกับอสมการ เราเลือกมาเพียงจุด


เดียวทีเ่ ห็นได้ชดั เจนว่าอยูเ่ หนือหรือใต้กราฟก็เพียงพอ และโดยทัวไปจุ
่ ด (0, 0) ก็มกั จะเป็นจุดที่
สะดวกทีส่ ุดในการนามาพิจารณา จุดทีน่ ามาทดสอบนี้เรียกว่า จุดทดสอบ (test point)
190

จากตัวอย่าง 3, 4 และ 5 สามารถสรุปเป็นขัน้ ตอนการเขียนกราฟอสมการเชิงเส้น


สองตัวแปรได้ดงั นี้

การเขียนกราฟอสมการเชิ งเส้ นสองตัวแปร


ขัน้ ที่ 1 เขียนกราฟของสมการ
ถ้าอสมการมีเครือ่ งหมาย ≤ หรือ ≥ ให้เขียนเป็นเส้นทึบ
ถ้าอสมการมีเครือ่ งหมาย < หรือ > ให้เขียนเป็นเส้นประ
ขัน้ ที่ 2 การทดสอบบริ เวณที่สอดคล้องกับอสมการ โดยเลือกจุด (0, 0)
เป็นจุดทดสอบ
ถ้าจุดทดสอบทาให้อสมการเป็นจริง แสดงว่าจุดทุกจุดในข้าง


เดียวกันของจุดทดสอบก็จะสอดคล้องกับอสมการด้วย

วโิ ร
ทร
แต่ถา้ จุดทดสอบทาให้อสมการเป็นเท็จ แสดงว่าจุดทุกจุดใน
นิ
คร
อีกข้างหนึ่งของเส้นตรงก็จะสอดคล้องกับอสมการ
นี
ศร

it y
ขัน้ ที่ 3 แรเงาบริ เวณที่ได้จากขัน้ ที่ 2
ers
ลยั
ยา

n iv
tU
วทิ
หา

ir o
งม

nw
ลา

ari
ดุ ก

a kh
สม

rin
หอ

yS
rar
นกั

L ib
สาํ

al
n tr
Ce
191

ใบกิ จกรรมที่ 4 เรื่อง กราฟอสมการเชิ งเส้นสองตัวแปร


จุดประสงค์การเรียนรู้
1. นักเรียนสามารถเขียนกราฟอสมการเชิงเส้นสองตัวแปรได้

ชื่อ …………………………………………………………... ชัน้ ……………. เลขที่ …………….

คาสัง:่ จงเขียนกราฟของอสมการทีก่ าหนดให้ต่อไปนี้


วโิ ร
(1)
ทร
x  1

นิ
คร
วิ ธีทา
นี
ศร

it y
ers
ขัน้ ที่ 1 เขียนกราฟของสมการ ……………………..อสมการมีเครือ่ งหมาย ………….
ลยั
ยา

n iv
จึงใช้เส้น …………………………………………………………………………
tU
วทิ
หา

ir o

ขัน้ ที่ 2 ใช้จดุ ………………. ตรวจสอบอสมการ


งม

nw

จะได้ ………………………………………. ซึง่ อสมการเป็น ………………..


ลา

ari
ดุ ก

a kh

ขัน้ ที่ 3 แรเงาบริเวณ ………………………………………………..…………………..


สม

rin

จะได้กราฟของอสมการดังนี้
หอ

yS
rar
นกั

L ib
สาํ

al
n tr
Ce
192

(2) xy3

วิ ธีทา
ขัน้ ที่ 1 เขียนกราฟของสมการ ……………………..อสมการมีเครือ่ งหมาย ………….
จึงใช้เส้น …………………………………………………………………………
ขัน้ ที่ 2 ใช้จดุ ………………. ตรวจสอบอสมการ
จะได้ ………………………………………. ซึง่ อสมการเป็น ………………..
ขัน้ ที่ 3 แรเงาบริเวณ ………………………………………………..…………………..
จะได้กราฟของอสมการดังนี้


วโิ ร
ทร
นิ
คร
นี
ศร

it y
ers
ลยั
ยา

n iv
tU
วทิ
หา

ir o
งม

nw

(3) 2x  y  2
ลา

ari
ดุ ก

a kh

วิ ธีทา
สม

rin

ขัน้ ที่ 1 เขียนกราฟของสมการ ……………………..อสมการมีเครือ่ งหมาย ………….


หอ

yS
rar

จึงใช้เส้น …………………………………………………………………………
นกั

L ib
สาํ

ขัน้ ที่ 2 ใช้จดุ ………………. ตรวจสอบอสมการ


al
n tr

จะได้ ………………………………………. ซึง่ อสมการเป็น ………………..


Ce

ขัน้ ที่ 3 แรเงาบริเวณ ………………………………………………..…………………..


จะได้กราฟของอสมการดังนี้
193

2. กราฟระบบอสมการเชิ งเส้นสองตัวแปร

เมือ่ ต้องพิจารณาอสมการเชิงเส้นมากกว่าหนึ่งอสมการพร้อมๆ กัน จะเรียกว่า


ระบบอสมการเชิ งเส้น คาตอบของระบบอสมการเชิงเส้น คือ คู่อนั ดับ (x, y) ทีส่ อดคล้องกับ
อสมการทัง้ หมดของระบบอสมการ หรือ คู่อนั ดับ (x, y) ทีค่ ่า x และ ค่า y ทาให้อสมการทัง้ หมดเป็น
จริง เมือ่ พิจารณาจากกราฟคาตอบของระบบอสมการจะแทนได้ดว้ ยบริเวณทีซ่ อ้ นทับร่วมกันของ
กราฟของอสมการทัง้ หมด


กราฟระบบอสมการเชิ งเส้นสองตัวแปร คือ เซตของจุดทีส่ อดคล้องกับทุกอสมการใน

วโิ ร
ทร
ระบบนัน้ หรืออาจกล่าวได้ว่า กราฟบนระนาบทีเ่ กิดจากการซ้อนทับร่วมกันของกราฟทุกอสมการ
นิ
คร
ในระบบนัน้
นี
ศร

it y
ers
ลยั
ยา

n iv
ตัวอย่าง 6 จงเขียนกราฟของระบบอสมการ และ
tU

x  y  10 yx
วทิ
หา

ir o
งม

nw

วิ ธีทา 1. เขียนกราฟ x  y  10 ซึง่ บริเวณทีส่ อดคล้องกับอสมการ x  y  10


ลา

ari
ดุ ก

a kh

หรือ y  x 10 คือบริเวณเหนือเส้นตรง รวมทัง้ จุดบนเส้นตรง(เส้นทึบ) ดังภาพซ้ายมือ


สม

rin

2. เขียนกราฟ y  x ซึง่ บริเวณทีส่ อดคล้องกับอสมการ y  x คือ


หอ

yS

บริเวณใต้เส้นตรง ไม่รวมจุดบนเส้นตรง(เส้นประ) เพิม่ ลงบนระนาบเดิม


rar
นกั

L ib
สาํ

al
n tr
Ce

รูป 1 กราฟของ x  y  10 รูป 2 yx


194

สามารถแสดงอาณาบริเวณของกราฟทัง้ สองอสมการดังรูป 3


วโิ ร
ทร
รูป 3 อาณาบริเวณของกราฟทัง้ สองอสมการ
นิ
นีคร
ศร

it y
บริเวณทีซ่ อ้ นทับกันของกราฟของอสมการ และ ers
y  x เป็ นกราฟของระบบอสมการ
ลยั

x  y  10
ยา

n iv
tU
วทิ
หา

ir o
งม

nw
ลา

ari
ดุ ก

a kh
สม

rin
หอ

yS
rar
นกั

L ib
สาํ

al
n tr
Ce

อย่าลืมนะ!! บริเวณทีซ่ อ้ นทับกันของ


กราฟอสมการทัง้ สอง จะเป็ นกราฟ
ของระบบอสมการนันเอง ่
195

ใบกิ จกรรมที่ 5 เรื่อง กราฟระบบอสมการเชิ งเส้นสองตัวแปร


จุดประสงค์การเรียนรู้
1. นักเรียนสามารถเขียนกราฟระบบอสมการเชิงเส้นสองตัวแปรได้

ชื่อ …………………………………………………………... ชัน้ ……………. เลขที่ …………….

คาสัง:่ จงเขียนกราฟของระบบอสมการทีก่ าหนดให้ต่อไปนี้


วโิ ร
(1) y  2
x  y 1 นิทร
คร
นี
ศร

it y
วิ ธีทา สามารถเขียนกราฟของระบบอสมการเชิงเส้น ได้ดงั นี้
ers
ลยั
ยา

n iv
กราฟของระบบอสมการ คือ
tU
วทิ
หา

ir o
งม

nw
ลา

ari
ดุ ก

a kh
สม

rin
หอ

yS
rar
นกั

L ib
สาํ

al
n tr
Ce
196

(2) x  2y  4
x  y  1

วิ ธีทา สามารถเขียนกราฟของระบบอสมการเชิงเส้น ได้ดงั นี้


กราฟของระบบอสมการ คือ


วโิ ร
ทร
นิ
คร
นี
ศร

it y
ers
ลยั
ยา

n iv
tU
วทิ
หา

ir o
งม

nw
ลา

ari

(3) x  2y  10
ดุ ก

a kh
สม

rin

2x  3y  18
หอ

yS
rar
นกั

วิ ธีทา สามารถเขียนกราฟของระบบอสมการเชิงเส้น ได้ดงั นี้


L ib
สาํ

กราฟของระบบอสมการ คือ
al
n tr
Ce
197

(4) จงเขียนกราฟของระบบอสมการต่อไปนี้ พร้อมทัง้ ระบุจดุ ตัดของกราฟ


xy7
3x  2y  18
x0
y0

วิ ธีทา สามารถเขียนกราฟของระบบอสมการเชิงเส้น ได้ดงั นี้


กราฟของระบบอสมการ คือ


วโิ ร
ทร
นิ
คร
นี
ศร

it y
ers
ลยั
ยา

n iv
tU
วทิ
หา

ir o
งม

nw
ลา

ari

……………………………………………………………………………………………..
ดุ ก

a kh

………………………………………………………………………………………………
สม

rin
หอ

yS

………………………………………………………………………………………………
rar
นกั

………………………………………………………………………………………………
L ib
สาํ

……………………………………………………………………………………...………
al
n tr

………………………………………………………………………………………………
Ce

………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………
.……………………………………………………………………………………………...
………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………
198

เอกสารหน่ วยการเรียนที่ 2: การแก้ปัญหากาหนดการเชิ งเส้นโดยวิ ธีกราฟ


เรื่องการสร้างแบบจาลองกาหนดการเชิ งเส้น

กาหนดการเชิงเส้นเป็ นเครือ่ งมือทีน่ าไปใช้แก้ปญั หาได้หลายลักษณะ ไม่ว่าจะเป็นปญั หา


ด้านการผลิต การจัดสรรงบประมาณ การโภชนาการ การขนส่ง ฯลฯ ซึง่ วิธกี ารหาคาตอบทีจ่ ะนาไป
แก้ปญั หาต่างๆ ทีเ่ กิดขึน้ นัน้ มีดว้ ยกันหลายวิธ ี ซึง่ ในทีน่ ้จี ะขอกล่าวถึงเฉพาะวิธกี ารแก้ปญั หาโดย
วิธกี ราฟ เนื่องจากการแก้ปญั หาด้วยวิธกี ราฟเป็นวิธกี ารแก้ปญั หาทีใ่ ช้กบั กาหนดการเชิงเส้นทีม่ ตี วั


วโิ ร
แปรเพียง 2 ตัว จึงสามารถชีใ้ ห้เห็นถึงลักษณะและบริเวณผลเฉลยทีเ่ ป็นไปได้ ตลอดจนหลักเกณฑ์

ทร
ในการหาคาตอบได้ชดั เจน
นิ
นีคร
ศร

it y
ขัน้ ตอนการแก้ปญั หากาหนดการเชิงเส้นโดยวิธกี ราฟ มีดงั นี้
ers
ลยั
ยา

n iv
tU
วทิ

วิ เคราะห์ปัญหา
หา

ir o
งม

nw
ลา

ari
ดุ ก

a kh
สม

rin

สร้างตัวแบบ
หอ

yS
rar
นกั

L ib
สาํ

คานวณหาผลลัพธ์
al
n tr
Ce

ทดสอบผลลัพธ์

สรุปผลเพื่อนาผลลัพธ์ไปใช้
199

1. โครงสร้างแบบจาลองกาหนดการเชิ งเส้น

การนาเอาปญั หาทีเ่ กิดขึน้ มาเขียนให้อยูใ่ นรูปแบบของกาหนดการเชิงเส้นนับเป็นสิง่ สาคัญ


และควรระมัดระวังอย่างยิง่ เนื่องจากในกระบวนการแก้ปญั หาจะต้องอาศัยตัวแบบทางคณิตศาสตร์
ของกาหนดการเชิงเส้น ซึง่ ถ้าแบบจาลองของกาหนดการเชิงเส้นมีความผิดพลาดจะส่ง ผลให้คาตอบ
ทีไ่ ด้ผดิ พลาดไปด้วย ก่อนทีจ่ ะศึกษากระบวนการสร้างแบบจาลองของกาหนดการเชิงเส้น จึงควร
ศึกษาโครงสร้างแบบจาลองกาหนดการเชิงเส้นเสียก่อน


แบบจาลองกาหนดการเชิงเส้น จะประกอบด้วยส่ วนต่างๆ ทีส่ าคัญ 3 ส่วน คือ

วโิ ร
ทร
1. สมการจุดประสงค์ เป็นการแสดงความสัมพันธ์ของตัวแปรทีต่ อ้ งการทราบค่ า
หรือต้องการตัดสินใจ เป้าหมายของกาหนดการเชิงเส้นมีดว้ ยกัน 2 ประเภทคือ
นิ
คร
นี
ศร

it y
1.1 การหาค่าสูงสุด (maximize) เช่น การทากาไรให้สงู สุด ต้องการผลิตมากสุด
ers
ลยั

1.2 การหาค่าต่าสุด (minimize) เช่น ต้นทุนต่าสุด ใช้เวลาน้อยสุด


ยา

n iv
tU

2. อสมการข้อจากัด เป็นสมการหรืออสมการทีแ่ สดงเงือ่ นไขและข้อจากัดของ


วทิ
หา

ir o

สถานการณ์ เช่น ปริมาณทรัพยากร ความต้องการ หรือระยะเวลาของแต่ละกิจกรรม เป็นต้น


งม

nw
ลา

ari

โดยข้อจากัดจะถูกกาหนดให้อยูใ่ นรูปแบบของความสัมพันธ์เชิงเส้น
ดุ ก

a kh

3. ข้อกาหนดของตัวแปร ตัวแปรทุกตัวจะต้องมีค่ามากกว่าหรือเท่ากับศูนย์
สม

rin
หอ

yS
rar
นกั

L ib
สาํ

al

พิจารณาโครงสร้างแบบจาลองกาหนดการเชิงเส้นจากตัวอย่างต่อไปนี้
n tr
Ce

ตัวอย่าง 1 โรงงานแห่งหนึ่งต้องการผลิตอุปกรณ์ก่อสร้าง 2 ชนิด คือ อุปกรณ์ก่อสร้างชนิด A และ


B โดยทีอ่ ุปกรณ์ก่อสร้างชนิด A ใช้เวลาผลิตด้วยเครือ่ งจักร 2 ชัวโมง
่ และผลิตด้วยแรงงานคน 2
ชัวโมง
่ อุปกรณ์ก่อสร้างชนิด B ใช้เวลาผลิตด้วยเครือ่ งจักร 1 ชัวโมง
่ และผลิตด้วยแรงงานคน 4
ชัวโมง
่ โรงงานมีเวลาสาหรับผลิตด้วยเครือ่ งจักร 150 ชัวโมงและผลิ
่ ตด้วยแรงงานคน 300 ชัวโมง

ซึง่ อุปกรณ์ก่อสร้างชนิด A ได้กาไรจากการขายชิน้ ละ 150 บาท อุปกรณ์ก่อสร้างชนิด B ได้กาไร
จากการขายชิน้ ละ 100 บาท โรงงานจะต้องผลิตอุปกรณ์ก่อสร้างแต่ละชนิดเป็นจานวนเท่าไรจึง
จะได้กาไรสูงสุด
200

จากปญั หาทีก่ าหนดไว้ขา้ งต้น จงตอบคาถามต่อไปนี้


1. สิง่ ทีโ่ จทย์ตอ้ งการทราบ คือ ………………………………………................................................
2. เป้าหมายของปญั หา คือ ……………………………………………………………………………...
3. ข้อจากัดของปญั หา คือ ………………………………………………………………………...........

จากตัวอย่างที่ 1 ถ้าผลิตอุปกรณ์ก่อสร้างชนิด A เป็นจานวน 20 ชิน้ และผลิตอุปกรณ์ก่อสร้างชนิด


B เป็นจานวน 30 ชิน้ โดยอุปกรณ์ก่อสร้างชนิด A ได้กาไรชิน้ ละ 150 บาท อุปกรณ์ก่อสร้างชนิด B
ได้กาไรชิน้ ละ 100 บาท จะได้ว่า
กาไรจากการขายอุปกรณ์ก่อสร้างชนิด A = 150 × 20 = 3,000 บาท
กาไรจากการขายอุปกรณ์ก่อสร้างชนิด B = ………………………….


กาไรรวม = กาไรจากการขาย A + กาไรจากการขาย B

วโิ ร
= …………………………………………………………….
ดังนัน้ ถ้าให้ x เป็นจานวนการผลิตอุปกรณ์ก่อสร้างชนิด A
ทร
นิ
คร
y เป็นจานวนการผลิตอุปกรณ์ก่อสร้างชนิด B
นี
ศร

it y
และ P เป็นกาไรรวม (บาท) จะได้ ers
ลยั
ยา

n iv
กาไรจากการขายอุปกรณ์ก่อสร้างชนิด A = …………………………….
tU
วทิ
หา

ir o

กาไรจากการผลิตอุปกรณ์ก่อสร้างชนิด B = …………………………….
งม

nw

กาไรรวม (P) = …………………………………………………………..


ลา

ari
ดุ ก

a kh

ซึง่ เป้าหมายของปญั หาคือ กาไรสูงสุด ดังนัน้ สามารถเขียนสมการจุดประสงค์


สม

rin

ได้ดงั นี้
หอ

yS

P = …………………………………………………………...
rar
นกั

L ib
สาํ

al
n tr
Ce

ข้อจากัดของปญั หา คือ เวลาทีใ่ ช้ผลิตด้วยเครือ่ งจักรและเวลาทีใ่ ช้ผลิตด้วยแรงงานคน


ซึง่ สามารถเขียนให้อยูใ่ นรูปอสมการข้อจากัด ได้ดงั นี้
1. เวลาทีใ่ ช้ผลิตด้วยเครือ่ งจักรไม่เกิน 150 ชัวโมง

เนื่องจากอุปกรณ์ก่อสร้างชนิด A ใช้เวลาผลิตด้วยเครือ่ งจักร 2 ชัวโมง่ และอุปกรณ์
ก่อสร้างชนิด B ใช้เวลาผลิตด้วยเครือ่ งจักร 1 ชัวโมง ่ จึงได้ว่า
อสมการข้อจากัด คือ 2x + y ≤ 150
2. เวลาทีใ่ ช้ผลิตด้วยแรงงานคนไม่เกิน 300 ชัวโมง ่
เนื่องจากอุปกรณ์ก่อสร้างชนิด A ใช้เวลาผลิตด้วยแรงงานคน 2 ชัวโมง ่ และอุปกรณ์
ก่อสร้างชนิด B ใช้เวลาผลิตด้วยแรงงานคน 4 ชัวโมง ่ จึงได้ว่า
อสมการข้อจากัด คือ ………………………………………………………………….
201

3. เนื่องจาก x, y แทนจานวนการผลิตอุปกรณ์ก่อสร้างชนิด A และ B ดังนัน้ x, y จะต้องมี


ค่ามากกว่าหรือเท่ากับศูนย์ นันคื
่ อ ……………………………………………………………
ดังนัน้ อสมการข้อจากัด คือ
……………………………………………………
…………………………………………………… ต้องฝึกทาเยอะๆ
นะ จะได้เกิดความ
……………………………………………………
ชานาญ
……………………………………………………
……………………………………………………


วโิ ร
ทร
ตัวอย่าง 2 โรงงานเซรามิกวางแผนทีจ่ ะทาการผลิตแจกัน ซึง่ มีรปู แบบแตกต่างกัน คือ แบบC และ
นิ
คร
แบบ D ในแต่ละแบบจะต้องผ่านกระบวนการผลิตดังนี้ การขึน้ รูป การเผา และการเคลือบสี แจกัน
นี
ศร

it y
ers
รูปแบบใหม่ทผ่ี ลิตสามารถจาหน่ายได้ทงั ้ หมด ในแต่ละกระบวนการผลิตมีขอ้ จากัดด้านจานวน
ลยั
ยา

n iv
ชัวโมงแรงงานในแต่
่ ละแผนกทีใ่ ช้สาหรับการผลิตดังตาราง
tU
วทิ
หา

ir o
งม

nw

กระบวนการผลิต การขึน้ รูป การเผา การเคลือบสี กาไรต่อชิน้


ลา

ari

รูปแบบแจกัน (ชม.) (ชม.) (ชม.) (บาท)


ดุ ก

a kh
สม

C 3 4 5 250
rin
หอ

yS

D 1 2 5 200
rar
นกั

จานวนชัวโมงแรงงาน
่ 150 200 300
L ib
สาํ

โรงงานต้องการกาไรมากทีส่ ุด ดังนัน้ โรงงานควรผลิตแจกันแต่ละแบบเป็นจานวนเท่าไร


al
n tr

จึงได้กาไรมากทีส่ ุดตามความต้องการ
Ce

กาหนดให้ x เป็นจานวนการผลิตแจกันรูปแบบ C (ชิน้ )


y เป็นจานวนการผลิตแจกันรูปแบบ D (ชิน้ )
และ P เป็นกาไรทัง้ หมด
จงตอบคาถามต่อไปนี้
1. สิง่ ทีโ่ จทย์ตอ้ งการทราบ คือ ………………………………………........................................
…………………………………………………………………………………………………....
2. เป้าหมายของปญั หา คือ ………….…………………………………………………………….
3. สมการจุดประสงค์ คือ ……………………………………………………………………………
202

4. ข้อจากัดของปญั หา คือ …………………………………………………………………………


……………………………………………………………………………………………………
5. เขียนข้อจากัดของปญั หาให้อยูใ่ นรูปอสมการ
1. ……………………………………………………………………………………..
อสมการข้อจากัด คือ …………………………………………………………………………
2. ……………………………………………………………………………………..
อสมการข้อจากัด คือ ………………………………………………………………………….
3. ………………….………………………………………………………………….
อสมการข้อจากัด คือ ………………………………………………………………………….
6. ข้อจากัดของตัวแปรทีต่ อ้ งการตัดสินใจ


เนื่องจาก x, y แทนจานวนชิน้ ของการผลิตแจกันรูปแบบ C และ D ดังนัน้ x, y จะต้องไม่

วโิ ร
เป็นจานวนลบ นันคื ่ อ ……………………………………………………………………………………
ทร
นิ
คร
นี
ศร

it y
ers
ลยั
ยา

n iv
tU
วทิ
หา

ir o
งม

nw
ลา

ari
ดุ ก

a kh
สม

rin
หอ

yS
rar
นกั

L ib
สาํ

al
n tr
Ce
203

ใบกิ จกรรมที่ 6 เรื่อง โครงสร้างแบบจาลองของกาหนดการเชิ งเส้น


จุดประสงค์การเรียนรู้
1. นักเรียนสามารถบอกจุดประสงค์ของปญั หาได้
2. นักเรียนสามารถเขียนจุดประสงค์ของปญั หาในรูปสมการเชิงเส้นสองตัวแปรได้
3. นักเรียนสามารถบอกข้อจากัดของปญั หาได้
4. นักเรียนสามารถเขียนข้อจากัด ของปญั หาในรูปอสมการเชิงเส้นสองตัวแปรได้

ชื่อ …………………………………………………………... ชัน้ ……………. เลขที่ …………….


วโิ ร
คาสัง:่ จงตอบคาถามทีก่ าหนดให้ต่อไปนี้
นิทร
คร
นี
ศร

it y
ers
1. บริษทั แฟนต้า ผลิตน้าอัดลมชนิด M และชนิด N โดยทีน่ ้าอัดลมชนิด M แต่ละขวดใช้หวั เชือ้
ลยั
ยา

n iv
น้าตาล 4 กรัม และหัวเชือ้ น้าส้ม 1 กรัม ส่วนน้าอัดลมชนิด N แต่ละขวดใช้หวั เชือ้ น้าตาล 2 กรัม
tU
วทิ
หา

ir o

และหัวเชือ้ น้าส้ม 3 กรัม ถ้าในแต่ละวันบริษทั มีหวั เชือ้ น้าตาลเพียง 20,000 กรัม และหัวเชือ้ น้าส้ม
งม

nw

9,000 กรัมเท่านัน้ บริษทั จะได้กาไรจากการขายน้าอัดลมชนิด M ขวดละ 1 บาทและชนิด N ขวดละ


ลา

ari
ดุ ก

a kh

2 บาท อยากทราบว่าทางบริษทั ควรผลิตน้าอัดลมชนิด M และชนิด N วันละกีข่ วดจึงได้กาไรมากสุด


สม

rin

และเป็นเงินเท่าไร
หอ

yS
rar
นกั

L ib
สาํ

al

ตารางแสดงค่าต่างๆ ทีก่ าหนดให้ดงั นี้


n tr
Ce

น้าอัดลม M N ปริมาณหัวเชือ้ ทีม่ ี


หัวเชือ้ (ขวด) (ขวด)
น้าตาล(กรัม)
น้าส้ม(กรัม)
กาไรต่อขวด(บาท)

กาหนดให้ x แทนจานวนการผลิตน้าอัดลมชนิด M (ขวด)


y แทนจานวนการผลิตน้าอัดลมชนิด N (ขวด)
และ P แทนกาไรทัง้ หมด (บาท)
204

จงตอบคาถามต่อไปนี้
1. สิง่ ทีโ่ จทย์ตอ้ งการทราบ คือ ………………………………………................................
……………………………………………………………………………………………..
2. เป้าหมายของปญั หา คือ ………….………………………………………………………
3. สมการจุดประสงค์ คือ ……………………………………………………………………..
4. ข้อจากัดของปญั หา คือ …………………………………………………………………...
……………………………………………………………………………………………...
5. เขียนข้อจากัดของปญั หาให้อยูใ่ นรูปอสมการ
1. …………………………………………………………………………….……….
อสมการข้อจากัด คือ ……………………………………………………………………...


2. …………………………………………………………..…………………………

วโิ ร
อสมการข้อจากัด คือ ……………………………………………………………….……..
6. ข้อจากัดของตัวแปรทีต่ อ้ งการตัดสินใจ
ทร
นิ
คร
………………………………………………………………………………………………
นี
ศร

it y
…..…..…………………………………………………………………………………….. ers
ลยั
ยา

n iv
tU
วทิ
หา

ir o
งม

nw
ลา

ari
ดุ ก

a kh
สม

rin

2. บริษทั สหพัฒน์ เป็นบริษทั ผูผ้ ลิตสีทาบ้าน เป็นบริษทั ขนาดเล็กทาการผลิตสี 2 ชนิด


หอ

yS

ด้วยกัน คือ สีทาภายในบ้านและสีทาภายนอกบ้าน วัตถุดบิ ทีใ่ ช้ในการผลิตสีม ี 2 ประเภทคือ


rar
นกั

L ib
สาํ

สารละลายสี และสารเติมแต่งสี ในการผลิตสีแต่ละวันบริษทั มีขอ้ จากัดด้านวัตถุดบิ คือ มีปริมาณ


al

สารละลายสีและสารเติมแต่งสีทใ่ี ช้ในการผลิตสีแต่ละวันสูงสุดไม่เกิน 34 ตัน และ 28 ตันตามลาดับ


n tr
Ce

ความต้องการวัตถุดบิ เพื่อใช้ในการผลิตสีแต่ละวัน และกาไรในการผลิตสีแต่ละชนิด แสดงในตาราง


ชนิดสีทผ่ี ลิต สีทาภายใน สีทาภายนอก ปริมาณวัตถุดบิ สูงสุด
วัตถุดบิ ทีน่ าไปใช้ในการผลิต(ตัน)
สารละลายสี (ตัน) 3 4 34
สารเติมแต่งสี (ตัน) 4 1 28
กาไรต่อวัน (บาท) 3,000 2,000

บริษทั สหพัฒน์ จะต้องผลิตสีทาบ้านทัง้ สองชนิดเป็นจานวนเท่าใดจึงจะได้กาไรสูงสุด


205

กาหนดให้ x แทนปริมาณในการผลิตสีทาภายในแต่ละวัน (ตัน)


y แทนปริมาณในการผลิตสีทาภายนอกแต่ละวัน (ตัน)
และ P แทนกาไรทัง้ หมด (บาท)

จงตอบคาถามต่อไปนี้
1. สิง่ ทีโ่ จทย์ตอ้ งการทราบ คือ ………………………………………................................
……………………………………………………………………………………………..
2. เป้าหมายของปญั หา คือ ………….………………………………………………………
3. สมการจุดประสงค์ คือ ……………………………………………………………………..
4. ข้อจากัดของปญั หา คือ …………………………………………………………………...


……………………………………………………………………………………………...

วโิ ร
5. เขียนข้อจากัดของปญั หาให้อยูใ่ นรูปอสมการ
ทร
1. ………………………………………………………………….………………….
นิ
คร
อสมการข้อจากัด คือ ……………………………..……………………………………...
นี
ศร

it y
2. ………………………………………………………….…………….……………ers
ลยั
ยา

n iv
อสมการข้อจากัด คือ ……………………………………………………………………..
tU
วทิ
หา

6. ข้อจากัดของตัวแปรทีต่ อ้ งการตัดสินใจ
ir o
งม

nw

………………………………………………………………………………………………
ลา

ari
ดุ ก

a kh

…..…..……………………………………………………………………………………..
สม

rin
หอ

yS
rar
นกั

L ib
สาํ

al
n tr
Ce
206

2. การสร้างแบบจาลองกาหนดการเชิ งเส้น

จากการศึกษาโครงสร้างแบบจาลองของกาหนดการเชิงเส้น และตัวอย่างข้างต้น สามารถ


สรุปขัน้ ตอนของการสร้างแบบจาลองกาหนดการเชิงเส้น ได้ ดงั นี้

ขัน้ ตอนการสร้างแบบจาลองกาหนดการเชิงเส้ น สามารถสรุปได้ 5 ขัน้ ตอน คือ


ขัน้ ที่ 1……………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………….
ขัน้ ที่ 2……………………………………………………………………………….


…………………………………………………………………………..........................

วโิ ร
ทร
ขัน้ ที่ 3………………………………………………………………………………
นิ
คร
……………………………………………………………………………………………
นี
ศร

it y
ขัน้ ที่ 4………………………………………………………………………………
ers
ลยั

…………………………………………………………………………………………..
ยา

n iv
tU

ขัน้ ที่ 5………………………………………………………………………………


วทิ
หา

ir o

…………………………………………………………………………………………
งม

nw
ลา

ari
ดุ ก

a kh

……………………………………………………………………………...
สม

rin
หอ

yS

พิจารณาการสร้างแบบจาลองกาหนดการเชิงเส้นจากตัวอย่างต่อไปนี้
rar
นกั

L ib
สาํ

ตัวอย่าง 4 โรงงานผลิตเฟอร์นิเจอร์ไม้แห่งหนึ่งทาการผลิตโต๊ะรูปแบบใหม่ 2 ขนาด คือ ขนาดมาตรฐาน


al
n tr

และขนาดพิเศษ ซึง่ แต่ละขนาดต้องผ่านกระบวนการการเตรียมวัสดุ และการประกอบ ในการผลิตโต๊ะ


Ce

ขนาดมาตรฐานแต่ละตัวใช้เวลาในกระบวนการเตรียมวัสดุ 2 ชัวโมง ่ และการประกอบ 1 ชัวโมง ่ ส่วนการ


ผลิตโต๊ะขนาดพิเศษแต่ละตัวใช้เวลาในกระบวนการเตรียมวัสดุ 2 ชัวโมง
่ และการประกอบ 3 ชัวโมง่
โดยทีแ่ ผนกการเตรียมวัสดุและการประกอบสามารถทางานแต่ละสัปดาห์ได้ไม่เกิน 120 ชัวโมง่ และ 160
ชัวโมง
่ ตามลาดับ ซึง่ กาไรจากการขายโต๊ะขนาดมาตรฐาน 1,200 บาทต่อตัว และขนาดพิเศษ 1,500
บาทต่อตัว อยากทราบว่าในแต่ละสัปดาห์โรงงานแห่งนี้ควรจะวางแผนการผลิตอย่างไรจึงจะได้กาไรสูงสุด
โดยสมมุตวิ ่าสินค้าทีผ่ ลิตออกมาแล้วนัน้ จะต้องขายให้หมด

จงสร้างแบบจาลองกาหนดการเชิงเส้น
207

วิ ธีทา สามารถสร้างแบบจาลองกาหนดการเชิงเส้น ได้ดงั นี้


ขัน้ ที่ 1 วิเคราะห์โจทย์ปญั หา
สิ่ งที่โจทย์ต้องการทราบ คือ ในแต่ละสัปดาห์โรงงานแห่งนี้ควรจะวางแผนการผลิต
อย่างไรจึงจะได้กาไรสูงสุด
เป้ าหมายของปัญหา คือ กาไรมากทีส่ ุด
ข้อจากัดของปัญหา คือ ข้อจากัดเกีย่ วกับจานวนชัวโมงแรงงานในแผนกการเตรี
่ ยมวัสดุ
และการประกอบ
ตารางแสดงค่าต่างๆ ทีก่ าหนดให้ดงั นี้

ขนาดโต๊ะ ขนาดมาตรฐาน ขนาดพิเศษ จานวนชัวโมงแรงงาน



แผนก (ต่อสัปดาห์)


วโิ ร
การเตรียมวัสดุ (ชม.) 2 2 120

ทร
การประกอบ (ชม.) 1 คร
นิ 3 160
กาไรต่อตัว(บาท) 1,200 1,500
นี
ศร

it y
ers
ลยั
ยา

n iv
ขัน้ ที่ 2 กาหนดตัวแปรให้กบั สิง่ ทีต่ อ้ งการทราบค่า
tU
วทิ
หา

ir o

x แทนจานวนของโต๊ะไม้ขนาดมาตรฐานทีผ่ ลิตในแต่ละสัปดาห์
งม

nw

y แทนจานวนของโต๊ะไม้ขนาดพิเศษทีผ่ ลิต ในแต่ละสัปดาห์


ลา

ari
ดุ ก

a kh

P แทนกาไรทัง้ หมด
สม

rin

ขัน้ ที่ 3 กาหนดสมการจุดประสงค์ของปญั หา


หอ

yS

สมการจุดประสงค์ คือ P  1,200x  1,500y


rar
นกั

L ib
สาํ

ขัน้ ที่ 4 กาหนดอสมการข้อจากัด


al

1. จานวนชัวโมงแรงงานในการเตรี
่ ยมวัสดุไม่เกิน 120 ชม./สัปดาห์
n tr
Ce

อสมการข้อจากัดคือ 2x  2y  120
2. จานวนชัวโมงแรงงานในการประกอบไม่
่ เกิน 160 ชม./สัปดาห์
อสมการข้อจากัดคือ x  3y  160
ขัน้ ที่ 5 ข้อกาหนดของตัวแปร
เนื่องจาก x และ y แทนจานวนของโต๊ะไม้ขนาดมาตรฐาน และขนาดพิเศษทีจ่ ะ
ถูกผลิตในแต่ละสัปดาห์ ดังนัน้ x และ y จะต้องมีค่ามากกว่าหรือเท่ากับศูนย์
นันคื
่ อ x  0, y  0
208

สรุป แบบจาลองกาหนดการเชิงเส้น คือ


สมการจุดประสงค์ P  1,200x  1,500y
อสมการข้อจากัด
2x  2y  120
x  3y  160
x0
y0


วโิ ร
ทร
นิ
คร
นี
ศร

it y
ers
ลยั
ยา

n iv
tU
วทิ
หา

ir o
งม

nw
ลา

ari
ดุ ก

a kh
สม

rin
หอ

yS
rar
นกั

L ib
สาํ

al
n tr
Ce
209

ใบกิ จกรรมที่ 7 เรื่อง การสร้างแบบจาลองกาหนดการเชิ งเส้น


จุดประสงค์การเรียนรู้
1. นักเรียนสามารถเขียนแบบจาลองกาหนดการเชิงเส้นของปญั หาทีก่ าหนดให้ได้

สองตัวแปรได้
ชื่อ …………………………………………………………... ชัน้ ……………. เลขที่ …………….

คาสัง:่ จงสร้างแบบจาลองกาหนดการเชิงเส้นในแต่ละข้อต่อไปนี้


วโิ ร
ทร
1. บริษทั ผลิตวงล้อจักรยาน 2 แบบ คือ แบบ A และแบบ B ในการผลิตแต่ละวงล้อต้องใช้วสั ดุ
นิ
คร
ทีส่ าคัญคือ แผ่นเหล็ก และยาง ในการผลิตวงล้อจักรยานแบบ A แต่ละอันใช้แผ่นเหล็ก 3 เส้น ยาง
นี
ศร

it y
ers
2 เส้น และการผลิตวงล้อจักรยานแบบ B ใช้แผ่นเหล็ก 1 เส้น ยาง 2 เส้น ซึง่ แต่ละวันบริษทั มีแผ่น
ลยั
ยา

n iv
เหล็ก 1,080 เส้นและยาง 840 เส้น จะได้กาไรจากการขายวงล้อจักรยานแบบ A อันละ 18 บาท และ
tU
วทิ
หา

ir o

กาไรจากการขายวงล้อจักรยานแบบ B อันละ 12 บาท บริษทั จะต้องผลิตวงล้อจักรยานแต่ละแบบ


งม

nw

เป็นจานวนเท่าไรจึงจะได้กาไรสูงสุด
ลา

ari
ดุ ก

a kh
สม

rin

จงสร้างแบบจาลองของกาหนดการเชิงเส้น
หอ

yS
rar
นกั

L ib
สาํ

วิ ธีทา สร้างแบบจาลองกาหนดการเชิงเส้น ได้ดงั นี้


al

ขัน้ ที่ 1 วิเคราะห์โจทย์ปญั หา


n tr
Ce

สิ่ งที่โจทย์ต้องการทราบ คือ ………………………………………………………………..


…………………………………………………………………………………………………………….
เป้ าหมายของปัญหา คือ ……………………………………………………………………
ข้อจากัดของปัญหา คือ …………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………...
210

เขียนตารางแสดงค่าต่างๆ ทีก่ าหนดให้ ดังนี้


วงล้อจักรยาน แบบ A แบบ B จานวนวัสดุทม่ี อี ยู่
วัสดุ
แผ่นเหล็ก (เส้น)
ยาง (เส้น)
กาไร (บาท)

ขัน้ ที่ 2 กาหนดตัวแปรให้กบั สิง่ ทีต่ อ้ งการทราบค่า


กาหนดให้ x เป็น ………………………………………………………………….……
y เป็น …………………………………………………………………..……


P เป็น ……………………………………………………………………….

วโิ ร
ขัน้ ที่ 3 กาหนดสมการจุดประสงค์ของปญั หา
นิทร
สมการจุดประสงค์ คือ …………………………………………………………………....
คร
ขัน้ ที่ 4 กาหนดอสมการข้อจากัด
นี
ศร

it y
ers
ลยั

1. …………………………………………………………………………………..…
ยา

n iv
อสมการข้อจากัด คือ ……………………………………………………………………
tU
วทิ
หา

ir o

2. …………………………………………………………………………………....
งม

nw

อสมการข้อจากัด คือ ……………………………………………………………………..


ลา

ari
ดุ ก

a kh

3. …………………………………………………………………...………………..
สม

rin

อสมการข้อจากัด คือ ……………………………………………………………………..


หอ

yS
rar

ขัน้ ที่ 5 ข้อกาหนดของตัวแปร


นกั

L ib
สาํ

……………………………………………………………………………………………
al
n tr

……………………………………………………………………………………………
Ce

สรุป แบบจาลองกาหนดการเชิงเส้น คือ


สมการจุดประสงค์ คือ
……………………………………………………………………………………………..
อสมการข้อจากัด
……………………………………………………………………………………………..
……………………………………………………………………………………………..
……………………………………………………………………………………………..
……………………………………………………………………………………………..
……………………………………………………………………………………………..
211

2. โรงงานกระดาษแห่งหนึ่งผลิตกระดาษเพื่อเป็นสมุดวาดเขียนและสมุดบันทึก โดยผลิตสมุดทัง้ สอง


ได้อย่างมาก 200 โหลต่อวัน ในแต่ละวันจะมีลกู ค้าประจาสังซื
่ อ้ สมุดวาดเขียนอย่างน้อย 10 โหล
และสังซื
่ อ้ สมุดบันทึกอย่างน้อย 80 โหล ถ้ากาไรในการขายสมุดวาดเขียนโหลละ 50 บาท และกาไร
ในการขายสมุดบันทึกโหลละ 35 บาท โรงงานจะต้องผลิตสมุดวาดเขียนและสมุดบันทึกวันละกีโ่ หล
จึงจะได้กาไรจากการขายมากทีส่ ุด

จงสร้างแบบจาลองกาหนดการเชิงเส้น

วิ ธีทา สร้างแบบจาลองกาหนดการเชิงเส้น ได้ดงั นี้


ขัน้ ที่ 1 วิเคราะห์โจทย์ปญั หา


วโิ ร
สิ่ งที่โจทย์ต้องการทราบ คือ ………………………………………………………………..

ทร
……………………………………………………………………………………………………………. คร
นิ
เป้ าหมายของปัญหา คือ ……………………………………………………………………
นี
ศร

it y
ers
ข้อจากัดของปัญหา คือ …………………………………………………………………….
ลยั
ยา

n iv
…………………………………………………………………………………………………………...
tU
วทิ
หา

ขัน้ ที่ 2 กาหนดตัวแปรให้กบั สิง่ ทีต่ อ้ งการทราบค่า


ir o
งม

nw

กาหนดให้ x เป็น ………………………………………………………………….……


ลา

ari
ดุ ก

a kh

y เป็น …………………………………………………………………..……
สม

rin

P เป็น …………………………………………………………………..……
หอ

yS

ขัน้ ที่ 3 กาหนดสมการจุดประสงค์ของปญั หา


rar
นกั

L ib
สาํ

สมการจุดประสงค์ คือ …………………………………………………………………....


al

ขัน้ ที่ 4 กาหนดอสมการข้อจากัด


n tr
Ce

1. …………………..…………………………………………………………………
อสมการข้อจากัด คือ ……………………………………………………………………
2. ………………………………………………………………………...…………..
อสมการข้อจากัด คือ ……………………………………………………………………..
3. ……………………………………………………………………………………..
อสมการข้อจากัด คือ ……………………………………………………………………..
ขัน้ ที่ 5 ข้อกาหนดของตัวแปร
……………………………………………………………………………………………
212

สรุป แบบจาลองกาหนดการเชิงเส้น คือ


สมการจุดประสงค์ คือ
……………………………………………………………………………………………..
อสมการข้อจากัด
……………………………………………………………………………………………..
……………………………………………………………………………………………..
…………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………...
……………………………………………………………………………………………


วโิ ร
ทร
นิ
คร
นี
ศร

it y
ers
ลยั
ยา

n iv
tU
วทิ
หา

ir o
งม

nw
ลา

ari
ดุ ก

a kh
สม

rin
หอ

yS
rar
นกั

L ib
สาํ

al
n tr
Ce
213

เอกสารหน่ วยการเรียนที่ 2: การแก้ปัญหากาหนดการเชิ งเส้นโดยวิ ธีกราฟ


เรื่องการหาค่าสูงสุดและตา่ สุดของกาหนดการเชิ งเส้น

ในหัวข้อทีผ่ ่านมา เป็ นการกล่าวถึงการสร้างแบบจาลองกาหนดการเชิงเส้นไปแล้ว


ซึง่ ในหัวข้อนี้เป็นการแสดงวิธกี ารคานวณเพื่อหาค่าสูงสุดและต่าสุดของกาหนดการเชิงเส้นโดย
วิธกี ราฟ โดยใช้ตวั อย่างประกอบการอธิบาย ดังนี้

ตัวอย่าง 1 กาหนดแบบจาลองกาหนดการเชิงเส้นต่อไปนี้


วโิ ร
สมการจุดประสงค์ P  2x  3y

ทร
อสมการข้อจากัด คร
นิ
x  3y  6 (1)
นี
ศร

it y
2x  2 y  8
ers
(2)
ลยั
ยา

n iv
x0
tU
วทิ
หา

y0
ir o
งม

nw

จงหาค่าสูงสุดของ P
ลา

ari
ดุ ก

a kh
สม

rin
หอ

วิ ธีทา สามารถดาเนินการแก้ปญั หาได้ดงั นี้


yS
rar
นกั

1. เขียนกราฟของอสมการข้อกาจัด
L ib
สาํ

ขัน้ แรก พิจารณา ข้อจากัด x  0 และ y  0 หมายความว่า ค่า (x, y) มีค่าเป็นศูนย์


al
n tr

หรือบวกเท่านัน้ ดังนัน้ ทุกค่าของ (x, y) ต้องอยูใ่ น จตุภาคที่ 1


Ce

ขัน้ ทีส่ อง พิจารณาอสมการข้อจากัดต่างๆ ในลักษณะทีเ่ ป็นสมการ คือมีเครือ่ งหมาย


เท่ากับ เสียก่อนดังนี้
x  3y  6 (1)
2x  2 y  8 (2)
จากสมการเงือ่ นไขแต่ละข้อนามาเขียนกราฟ โดยการแทนค่า x  0 จะได้จดุ ตัดแกน Y
และเมือ่ แทนค่า y  0 จะได้จดุ ตัดแกน X ให้ลากเส้นตรงเชื่อมจุดทัง้ สอง จะได้เส้นตรงทีแ่ สดง
สมการเงือ่ นไขบังคับข้อนัน้ ๆ
จากสมการเงือ่ นไขบังคับข้อที่ 1 x  3y  6
แทนค่า x  0 จะได้ 3y  6
y2
214

แทนค่า y  0 จะได้ x6


ดังนัน้ จะได้จดุ กัดบนแกน Y คือ (0, 2) และจุดตัดบนแกน X คือ (6, 0)
ในทานองเดียวกันสมการเงือ่ นไขบังคับข้อที่ 2 2x  2y  8
แทนค่า x  0 จะได้ 2y  8
y4
แทนค่า y  0 จะได้ 2x  8

x4
ดังนัน้ จะได้จดุ กัดบนแกน Y คือ (0, 4) และจุดตัดบนแกน X คือ (4, 0)
เขียนกราฟของสมการเงือ่ นไขบังคับข้อที่ 1 และ 2 และแสดงพืน้ ทีส่ อดคล้องกับอสมการ
ข้อจากัดนัน้ ได้ดงั รูป


Y

วโิ ร
นิทร
นี คร
ศร

it y
ers
ลยั
ยา

n iv
tU

2
วทิ
หา

ir o
งม

nw

X
ลา

6
ari
ดุ ก

a kh
สม

rin

รูป 1 x  3y  6
หอ

yS
rar
นกั

Y
L ib
สาํ

al
n tr
Ce

4 X
รูป 2 2x  2 y  8
215

เมือ่ เขียนกราฟอสมการข้อจากัดทัง้ สองข้อในรูปเดียวกัน จะได้พน้ื ทีซ่ ง่ึ สอดคล้องกับ


อสมการข้อจากัดครบทัง้ สองข้อ ดังแสดงในรูป 3 พืน้ ทีน่ ้เี รียกว่า บริ เวณผลเฉลยที่เป็ นไปได้
(feasible region) หมายความว่าจุดทุกจุดทีอ่ ยูใ่ นพืน้ ทีน่ ้รี วมทัง้ บนเส้นทีเ่ ป็นขอบ จะเป็นผลเฉลยที่
เป็ นไปได้ของปญั หา (feasible solution)
Y
บริเวณทีซ่ อ้ นทับกันของ
กราฟอสมการจะเป็ นคาตอบ
ของระบบอสมการ


A B

วโิ ร
ทร
O C (1)
คร
นิ X
(2)
นี
ศร

it y
รูป 3 บริเวณผลเฉลยทีเ่ ป็นไปได้
ers
ลยั
ยา

n iv
tU
วทิ

2. เขียนกราฟของสมการ P  2x  3y เมือ่ P เป็นค่าคงทีต่ ่างๆ กัน


หา

ir o
งม

nw

สมมติค่า P เป็นค่าคงทีต่ ่างๆ กัน เช่น


ลา

ari

เมือ่ P  0 จะได้ 2x  3y  0
ดุ ก

a kh
สม

P6 จะได้ 2x  3y  6
rin
หอ

yS

P  12 จะได้ 2x  3y  12
rar
นกั

ซึง่ จากสมการข้างต้นจะได้กราฟดังรูป 4
L ib
สาํ

al

Y Y
n tr

ทุกๆ จุดทีอ่ ยู่บนเส้นตรง


Ce

เดียวกัน ให้ ค่า P เท่ากัน

A A B B

C (1)C X
O O (2)
P = 12
P=0 P=6
รูป 4 เส้นสมการจุดประสงค์ 3 เส้นซึง่ ให้ค่า P ต่างๆ กัน
216

ข้อสังเกต จากการสมมติค่า P เป็นค่าคงทีต่ ่างๆ กัน แล้วลากเส้นสมการจุดประสงค์ เปรียบเทียบ


กันตามรูป 4 จะมองเห็นลักษณะทีส่ าคัญดังนี้
เส้นสมการจุดประสงค์ทุกเส้นขนานกัน
เส้นสมการจุดประสงค์ทอ่ี ยูใ่ กล้จดุ กาเนิดจะมีค่าต่ากว่าเส้น สมการจุดประสงค์ทอ่ี ยู่
ห่างออกไป

จากรูป 4 จะเห็นได้ว่าเส้นสมการจุดประสงค์เส้นที่ 1 และ 2 ซึง่ ให้ค่า P เท่ากับ 0 และ 6


ตามลาดับนัน้ ลากผ่านบริเวณผลลัพธ์ทเ่ี ป็นไปได้ ส่วนเส้น สมการจุดประสงค์เส้นที่ 3 ถึงแม้จะให้ค่า


P ทีส่ งู คือ 12 แต่เนื่องจากอยูน่ อกบริเวณผลเฉลยทีเ่ ป็นไปได้ ทาให้ค่า x และ y บนเส้นตรงนี้ไม่

วโิ ร
สอดคล้องตามเงือ่ นไขข้อบังคับของปญั หา ดังนัน้ ค่า P = 12 จึงสูงเกินกว่าจะเป็นไปได้
ทร
การหาค่า P ทีส่ งู ทีส่ ุดและเป็นไปได้นนั ้ ทาได้โดยการเลื่อนเส้น สมการจุดประสงค์ออกไป
นิ
คร
ให้ไกลจากจุดกาเนิดให้มากทีส่ ุด โดยให้อยูบ่ ริเวณผลลัพธ์ทเ่ี ป็นไปได้ จากปญั หาข้างต้นจะเห็นได้ว่า
นี
ศร

it y
ers
เราสามารถเลื่อนเส้นสมการจุดประสงค์ออกไปจนสัมผัสกับจุด B (แสดงเป็นเส้นประ) นับเป็นเส้นที่
ลยั
ยา

n iv
ไกลทีส่ ุด โดยมีจดุ B เป็นจุดทีอ่ ยูใ่ นบริเวณผลเฉลยทีเ่ ป็นไปได้ (เพื่อให้เกิ ดความเข้าใจยิ่ งขึ้นให้
tU
วทิ
หา

ir o

เปิ ดกิ จกรรมการสารวจหาผลเฉลยที่เหมาะสมที่สดุ ที่สร้างโดยโปรแกรม C.a.R.) การหาพิกดั


งม

nw

ของจุด B ทาโดยการแก้สมการด้วยวิธกี ารทางพีชคณิตดังนี้


ลา

ari
ดุ ก

a kh

จุด B ซึง่ เป็นจุดทีใ่ ห้คาตอบทีด่ ที ส่ี ุดนัน้ เป็นจุดตัดของเส้นสมการเงือ่ นไขบังคับข้อที่ 1 และ


สม

rin

ข้อที่ 2 นาสมการทัง้ สองมาหาค่าตัวแปร


หอ

yS

(1)
rar

x  3y  6
นกั

L ib
สาํ

2x  2 y  8 (2)
al

(1)  2; 2x  6y  12 (3)
n tr
Ce

(3)  (2); 4y  4
y 1
แทนค่า y 1 ใน (1) จะได้
x  3(1)  6
x3
จุด B ซึง่ มีพกิ ดั (3, 1) เป็นจุดทีส่ อดคล้องกับเงือ่ นไขบังคับและให้ค่า P สูงทีส่ ุดจึงเป็นผล
เฉลยเหมาะทีส่ ุด แทนค่าจะได้
P  2(3)  3(1)  9
217

ตัวอย่าง 2 กาหนดแบบจาลองของกาหนดการเชิงเส้นต่อไปนี้
สมการจุดประสงค์ P  2x  2y
อสมการข้อจากัด
5x  2y  30
x  2y  20
x0
y0
จงหาค่าต่าสุดของ P


วโิ ร
วิ ธีทา

ทร
1. เขียนกราฟของอสมการข้อกาจัด
นิ
คร
นี
ศร

it y
ers
ลยั
ยา

n iv
tU
วทิ
หา

ir o
งม

nw
ลา

ari
ดุ ก

a kh
สม

rin
หอ

yS
rar
นกั

L ib
สาํ

al
n tr
Ce

2. เขียนกราฟของสมการ P  2x  2y เมือ่ P เป็นค่าคงทีต่ ่างๆ กัน


สมมติค่า P เป็นค่าคงทีต่ ่างๆ กัน เช่น ( P =6, 12, 30)
3. จุดทีเ่ ป็นผลเฉลยเหมาะสมทีส่ ุด (ค่า P ต่าสุด) คือ………………………………………
4. หาพิกดั ของจุดทีเ่ ป็นผลเฉลยเหมาะสมทีส่ ุด
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
218

…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
5. แทนค่าหาค่า P จะได้
P = …………………………………………………………………………………
= …………………………………………………………………………………

ถ้าต้องการหาค่าสูงสุดของ P ผลเฉลยทีเ่ หมาะสมจะอยูท่ จ่ี ดุ ใด


วโิ ร
และจะได้ค่า P สูงสุดเป็นเท่าไร

ทร
นิ
นีคร
ศร

it y
ers
ลยั
ยา

n iv
ตอบ ……………………………………………………………...............
tU
วทิ
หา

ir o

……………………………………………………………………………..
งม

nw
ลา

ari
ดุ ก

a kh
สม

rin
หอ

yS
rar
นกั

จากตัวอย่างข้างต้น สามารถสรุปได้ดงั นี้


L ib
สาํ

ถ้าเป็ นปญั หาหาค่าสูงสุด ให้เลื่อนเส้นสมการจุดประสงค์ขนานกับเส้นเดิม


al
n tr

ออกไปห่างจากจุดกาเนิดให้มากสุด โดยยังอยูใ่ นบริเวณผลเฉลยทีเ่ ป็นไปได้


Ce

ถ้าเป็ นปญั หาค่าต่ าสุด ให้เลื่อนเส้นสมการจุดประสงค์ขนานกับเส้นเดิม


เข้าไปใกล้จดุ กาเนิดให้มากสุด โดยยังอยูใ่ นบริเวณผลเฉลยทีเ่ ป็นไปได้
219

ใบกิ จกรรมที่ 8 เรื่อง การเขียนกราฟของสมการจุดประสงค์และอสมการข้อจากัด


จุดประสงค์การเรียนรู้
1. นักเรียนสามารถเขียนกราฟของอสมการข้อจากัดได้ถูกต้อง
2. นักเรียนสามารถบอกบริเวณผลเฉลยทีเ่ ป็นไปได้ของอสมการข้อจากัดได้ถูกต้อง
3. นักเรียนสามารถเขียนกราฟของสมการจุดประสงค์ทม่ี คี ่าต่างๆ ได้ถูกต้อง

ชื่อ …………………………………………………………... ชัน้ ……………. เลขที่ …………….


คาสัง:่ จงตอบคาถามทีก่ าหนดให้ต่อไปนี้

วโิ ร
ทร
นิ
คร
1. กาหนดแบบจาลองกาหนดการเชิงเส้นต่อไปนี้
นี
ศร

it y
สมการจุดประสงค์ P  3x  4y ers
ลยั
ยา

n iv
อสมการข้อจากัด
tU
วทิ
หา

ir o

x  2y  50
งม

nw

5x  4y  140
ลา

ari
ดุ ก

a kh

x0
สม

rin

y0
หอ

yS

จงหาค่าสูงสุดของ P
rar
นกั

L ib
สาํ

al

จงหาคาตอบต่อไปนี้
n tr
Ce

1.1 จงเขียนกราฟของอสมการข้อจากัด
220

1.2 จงเขียนกราฟของสมการ P  3x  4y เมือ่ P = 24, 72, 96


1.3 จุดทีเ่ ป็นผลเฉลยเหมาะสมทีส่ ุด คือ …………………………………………………
1.4 จงหาพิกดั ของจุดทีเ่ ป็นผลเฉลยเหมาะสมทีส่ ุด
……………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………


……………………………………………………………………………………………

วโิ ร
……………………………………………………………………………………………
ทร
……………………………………………………………………………………………
นิ
คร
1.5 ค่า P สูงสุด คือ …………………………………………………………………………
นี
ศร

it y
ers
…………………………………………………………………………………………..
ลยั
ยา

n iv
tU
วทิ
หา

ir o
งม

nw
ลา

ari
ดุ ก

a kh

ทาด้วยความรอบคอบ
สม

rin
หอ

พยายามเข้านะจ๊ะ
yS

สู้ สู้ ๆๆๆๆๆ


rar
นกั

L ib
สาํ

al
n tr
Ce
221

2. กาหนดแบบจาลองของกาหนดการเชิงเส้นต่อไปนี้
สมการจุดประสงค์ P  4x  5y
อสมการข้อจากัด
2x  y  10
2x  3y  12
x0
y0
จงหาค่าต่าสุดของ P


จงหาคาตอบต่อไปนี้

วโิ ร
1.1 จงเขียนกราฟของอสมการข้อจากัด
นิทร
คร
นี
ศร

it y
ers
ลยั
ยา

n iv
tU
วทิ
หา

ir o
งม

nw
ลา

ari
ดุ ก

a kh
สม

rin
หอ

yS
rar
นกั

L ib
สาํ

al

1.2 จงเขียนกราฟของสมการ P  4x  5y เมือ่ P = 20, 50, 60


n tr
Ce

1.3 จุดทีเ่ ป็นผลเฉลยเหมาะสมทีส่ ุด คือ …………………………………………………


1.4 จงหาพิกดั ของจุดทีเ่ ป็นผลเฉลยเหมาะสมทีส่ ุด
……………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………
1.5 ค่า P สูงสุด คือ …………………………………………………………………………
222

3. กาหนดแบบจาลองของกาหนดการเชิงเส้นต่อไปนี้
สมการจุดประสงค์ P  5x  3y
อสมการข้อจากัด
2x  4y  80 (1)
5x  2y  80 (2)
x0
y0
จงหาค่าสูงสุดของ P
เขียนกราฟของอสมการข้อจากัดได้ดงั รูป


Y

วโิ ร
ทร
40
นิ
คร
นี
30
ศร

it y
ers
ลยั
ยา

n iv
tU

20
วทิ
หา

ir o
งม

nw
ลา

ari

10
ดุ ก

a kh
สม

rin
หอ

yS

40 X
10 20 30
rar
นกั

(2) (1)
L ib
สาํ

al
n tr
Ce

จงตอบคาถามต่อไปนี้
3.1 จงแรเงาแสดงบริเวณทีเ่ ป็นผลเฉลยทีเ่ ป็นไปได้
3.2 จงเขียนกราฟของสมการ P  5x  3y เมือ่ P = 15, 60, 105
223

จากการหาค่าสูงสุดและต่าสุดของกาหนดการเชิงเส้นในตัวอย่างข้างต้นพบว่า คาตอบของ
ปญั หากาหนดการเชิงเส้นจะอยูท่ จ่ี ดุ มุมของบริเวณผลเฉลยทีเ่ ป็นไปได้ ดังนัน้ ในการแก้ปญั หา
กาหนดการเชิงเส้นอาจแสดงวิธที าอย่างกระชับโดยการนาจุดมุมทุกจุดของบริเวณผลเฉลยทีเ่ ป็นไป
ได้มาหาค่าสมการจุดประสงค์เปรียบเทียบกัน จุดใดให้ค่าสมการจุดประสงค์ทด่ี ที ส่ี ุด (มากทีส่ ุดหรือ
น้อยทีส่ ุด)แสดงว่าค่าของตัวแปรทีจ่ ดุ นัน้ เป็นผลเฉลยทีเ่ หมาะสมทีส่ ุด
จากตัวอย่าง 1 รูป 3 บริเวณผลเฉลยทีเ่ ป็นไปได้ จะได้ว่า จุด O จุด A จุด B และจุด C คือ
จุดมุมของรูปหลายเหลีย่ มของบริเวณผลเฉลยทีเ่ ป็นไปได้
Y


วโิ ร
A
ทร
นิ
คร
B
นี
ศร

it y
X
O C ers
ลยั
ยา

n iv
tU
วทิ

หาพิกดั ของจุดมุมของบริเวณผลเฉลยทีเ่ ป็นไปได้


หา

ir o
งม

จุด A เป็นจุดตัดของเส้นตรง x  3y  6 ตัดกับแกน y ให้ x  0 จะได้ y  2


nw
ลา

ari

ดังนัน้ จุด A มีพกิ ดั (0, 2)


ดุ ก

a kh

จุด B เป็นจุดตัดของเส้นตรง x  3y  6 และ 2x  2y  8 แก้สมการหาจุดตัด


สม

rin
หอ

yS

ได้ x  3 , y  1 ดังนัน้ จุด B มีพกิ ดั (3, 1)


rar
นกั

จุด C เป็นจุดตัดของเส้นตรง 2x  2y  8 ตัดกับแกน x ให้ y  0 ได้ x  4


L ib
สาํ

ดังนัน้ จุด C มีพกิ ดั (4, 0)


al
n tr

ทดสอบจุดมุมของบริเวณผลเฉลยทีเ่ ป็นไปได้
Ce

จุดมุม ค่าตัวแปร (x, y) ค่า P = 2x + 3y


O (0, 0) 2(0) + 3(0) = 0
A (0, 2) 2(0) + 3(2) = 6
B (3, 1) 2(3) + 3(1) = 9
C (4, 0) 2(4) + 3(0) = 8

จะเห็นได้ว่า ค่าสูงสุดอยูท่ จ่ี ดุ B คือ x = 3 และ y = 1 เป็นผลเฉลยทีเ่ หมาะสมทีส่ ุดและทาให้ P =9


224

ตัวอย่าง 4 กาหนดแบบจาลองกาหนดการเชิงเส้นต่อไปนี้
สมการจุดประสงค์ P  6x  4y
อสมการข้อจากัด
3x  2y  12
3x  6y  18
x0
y0
จงหาค่าสูงสุดของ P


วโิ ร
วิ ธีทา ดาเนินตามขัน้ ตอนต่อไปนี้

ทร
1. เขียนกราฟของอสมการข้อจากัด
นิ
นี คร
ศร

it y
ers
ลยั
ยา

n iv
tU
วทิ
หา

ir o
งม

nw
ลา

ari
ดุ ก

a kh
สม

rin
หอ

yS
rar
นกั

L ib
สาํ

al
n tr
Ce

2. หาพิกดั ของจุดมุมของบริเวณผลเฉลยทีเ่ ป็นไปได้


......................................................................................................................................
......................................................................................................................................
......................................................................................................................................
......................................................................................................................................
......................................................................................................................................
......................................................................................................................................
......................................................................................................................................
......................................................................................................................................
.....................................................................................................................................
225

3. ทดสอบจุดมุมของบริเวณผลเฉลยทีเ่ ป็นไปได้
จุดมุม ค่าตัวแปร (x, y) ค่า P = 6x + 4y

4. สรุป


วโิ ร
……………………………………………………………………………………………

ทร
……………………………………………………………………………………………
นิ
คร
……………………………………………………………………………………………
นี
ศร

it y
……………………………………………………………………………………………
ers
ลยั
ยา

n iv
tU

มีจดุ อื่นอีกไหมทีเ่ ป็นผลเฉลยทีเ่ หมาะสมทีส่ ุด


วทิ
หา

ir o
งม

nw
ลา

ari
ดุ ก

a kh
สม

rin
หอ

ตอบ ……………………………………………………………………..
yS
rar
นกั

……………………………………………………………………………..
L ib
สาํ

al
n tr
Ce

สรุปขัน้ ตอนของวิ ธีการหาผลเฉลยที่เหมาะสมที่สดุ ได้ดงั นี้


1. เขียนกราฟอสมการข้อจากัด เพื่อแสดงบริเวณผลเฉลยทีเ่ ป็นไป
2. หาจุดมุมของรูปหลายเหลีย่ มของบริเวณผลเฉลยทีเ่ ป็นไปได้ทงั ้ หมด
3. นาจุดมุมแต่ละจุดไปแทนค่า ในสมการจุดประสงค์เพื่อหาค่าสมการจุดประสงค์
4. พิจารณาจุดมุมทีท่ าให้ค่าสมการจุดประสงค์ทด่ี ที ่ีสุด (สูงสุดหรือต่าสุด)
- ถ้าหากมีจดุ มุมเพียงจุดเดียวทีท่ าให้สมการจุดประสงค์มคี ่าสูงสุด(หรือต่าสุด)
แล้ว จุดมุมนัน้ จะเป็นผลเฉลยทีเ่ หมาะสมทีส่ ุดเพียงผลเฉลยเดียว
- ถ้าหากผลเฉลยเหมาะทีส่ ุดเกิดขึน้ ทีจ่ ดุ มุมสองจุดแล้ว จุดทุกจุดบนเส้นตรง
ระหว่างสองจุดนัน้ ก็เป็นผลเฉลยเหมาะสมทีส่ ุด (ผลเฉลยทีเ่ หมาะทีส่ ุดมากเป็นอนันต์)
226

ใบกิ จกรรมที่ 9 เรื่อง การหาค่าสูงสุดและตา่ สุดของกาหนดการเชิ งเส้น


จุดประสงค์การเรียนรู้
1. นักเรียนสามารถหาค่าสูงสุดหรือต่าสุดของของกาหนดการเชิงเส้นด้วยวิธกี ราฟได้
ถูกต้อง
2. นักเรียนสามารถหาพิกดั ของจุดมุมของบริเวณผลเฉลยได้

ชื่อ …………………………………………………………... ชัน้ ……………. เลขที่ …………….

คาสัง:่ จงหาค่าสูงสุดและต่าสุดของกาหนดการเชิงเส้นทีก่ าหนดให้ต่อไปนี้


วโิ ร
นิทร
คร
1. กาหนดแบบจาลองกาหนดการเชิงเส้นต่อไปนี้
นี
ศร

สมการจุดประสงค์ P  15x  10y

it y
ers
ลยั

อสมการข้อจากัด
ยา

n iv
(1)
tU

3x  2y  80
วทิ
หา

ir o

2x  3y  70 (2)
งม

nw
ลา

ari

x0
ดุ ก

a kh

y0
สม

rin

จงหาค่าสูงสุดของ
หอ

yS

P
rar
นกั

L ib
สาํ

al

วิ ธีทา ดาเนินตามขัน้ ตอนต่อไปนี้


n tr
Ce

1. เขียนกราฟของอสมการข้อจากัด
227

2. หาพิกดั ของจุดมุมของบริเวณผลเฉลยทีเ่ ป็นไปได้


…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………


…………………………………………………………………………………………………

วโิ ร
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
ทร
นิ
คร
…………………………………………………………………………………………………
นี
ศร

it y
………………………………………………………………………………………………… ers
ลยั
ยา

n iv
tU
วทิ
หา

3. ทดสอบจุดมุมของบริเวณผลเฉลยทีเ่ ป็นไปได้
ir o
งม

nw
ลา

ari

จุดมุม ค่าตัวแปร (x, y) ค่า P = 15x + 10y


ดุ ก

a kh
สม

rin
หอ

yS
rar
นกั

L ib
สาํ

al
n tr
Ce

4. สรุป
…………………………………………………………………………………………………
………….………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
228

2. กาหนดแบบจาลองกาหนดการเชิงเส้นต่อไปนี้
สมการจุดประสงค์ P  10x  25y
อสมการข้อจากัด
3x  4y  25 (1)
x  3y  15 (2)
x0
y0
จงหาค่าต่าสุดของ P


วโิ ร
วิ ธีทา ดาเนินตามขัน้ ตอนต่อไปนี้
1. เขียนกราฟของอสมการข้อจากัด นิทร
คร
นี
ศร

it y
ers
ลยั
ยา

n iv
tU
วทิ
หา

ir o
งม

nw
ลา

ari
ดุ ก

a kh
สม

rin
หอ

yS
rar
นกั

L ib
สาํ

al
n tr
Ce

2. หาพิกดั ของจุดมุมของบริเวณผลเฉลยทีเ่ ป็นไปได้


…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
229

…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………


3. ทดสอบจุดมุมของบริเวณผลเฉลยทีเ่ ป็นไปได้

วโิ ร
ทร
จุดมุม ค่าตัวแปร (x, y) ค่า P = 30x + 40y
นิ
นีคร
ศร

it y
ers
ลยั
ยา

n iv
tU
วทิ
หา

ir o
งม

nw
ลา

ari
ดุ ก

a kh
สม

rin
หอ

yS

4. สรุป
rar
นกั

…………………………………………………………………………………………………
L ib
สาํ

………….………………………………………………………………………………………
al
n tr

…………………………………………………………………………………………………
Ce

…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
230

3. กาหนดแบบจาลองกาหนดการเชิงเส้นต่อไปนี้
สมการจุดประสงค์ P  50x  72y
อสมการข้อจากัด
4x  4y  16 (1)
8x  24y  48 (2)
x0
y0
จงหาค่าต่าสุดของ P


วโิ ร
วิ ธีทา ดาเนินตามขัน้ ตอนต่อไปนี้
1. เขียนกราฟของอสมการข้อจากัด
ทร
นิ
คร
นี
ศร

it y
ers
ลยั
ยา

n iv
tU
วทิ
หา

ir o
งม

nw
ลา

ari
ดุ ก

a kh
สม

rin
หอ

yS
rar
นกั

L ib
สาํ

al
n tr
Ce

2. หาพิกดั ของจุดมุมของบริเวณผลเฉลยทีเ่ ป็นไปได้


…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
231

…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………


…………………………………………………………………………………………………

วโิ ร
3. ทดสอบจุดมุมของบริเวณผลเฉลยทีเ่ ป็นไปได้
ทร
นิ
นี คร
จุดมุม ค่าตัวแปร (x, y) ค่า P = 50x +72y
ศร

it y
ers
ลยั
ยา

n iv
tU
วทิ
หา

ir o
งม

nw
ลา

ari
ดุ ก

a kh
สม

rin
หอ

yS
rar
นกั

L ib
สาํ

4. สรุป
al

…………………………………………………………………………………………………
n tr
Ce

………….………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
232

เอกสารหน่ วยการเรียนที่ 2: การแก้ปัญหากาหนดการเชิ งเส้นโดยวิ ธีกราฟ


เรื่องการแก้โจทย์ปัญหาของกาหนดการเชิ งเส้น

ขัน้ ตอนการแก้โจทย์ปัญหากาหนดการเชิ งเส้น มีดงั นี้


1. วิเคราะห์โจทย์ว่าต้องการทราบอะไร เป้าหมายของปญั หาต้องการหาค่าสูงสุด
หรือต่ าสุดและมีขอ้ จากัดของปญั หาอะไรบ้าง แล้วเขียนตารางแสดงค่าต่างๆ ทีก่ าหนดให้
2. สร้างแบบจาลองกาหนดการเชิงเส้น


วโิ ร
3. ดาเนินการแก้ปญั หา โดยการเขียนกราฟของอสมการข้อจากัดแสดงบริเวณของ

ทร
ผลเฉลยทีเ่ ป็นไปได้ แล้วหาพิกดั ของจุดมุมของบริเวณผลเฉลยทีเ่ ป็นไปได้
นิ
คร
4. ทดสอบจุดมุมของบริเวณผลเฉลยทีเ่ ป็นไปได้ ทาการทดสอบโดยการนาจุดมุมไป
นี
ศร

it y
แทนค่าในสมการจุดประสงค์ เพื่อพิจารณาเลือกจุดทีท่ าให้สมการจุดประสงค์มคี ่าสูงสุดหรือต่าสุด
ers
ลยั
ยา

n iv
ตามทีโ่ จทย์ตอ้ งการ
tU
วทิ

5. สรุปผลทีไ่ ด้จากข้อ 4
หา

ir o
งม

nw
ลา

ari
ดุ ก

a kh
สม

rin
หอ

yS

ให้นกั เรียนพิจารณาตัวอย่างต่อไปนี้
rar
นกั

L ib
สาํ

al
n tr
Ce

ตัวอย่าง 9 บริษทั ไทยเจริญวางแผนการผลิตของขวัญ 2 แบบ คือ แบบ A และแบบ B


ถ้าผลิตแบบ A จะได้กาไรชิน้ ละ 10 บาท ถ้าผลิตแบบ B จะได้กาไรชิน้ ละ 12 บาท ในการผลิต
ของขวัญต้องใช้เครือ่ งจักร 2 เครือ่ ง โดยใช้เวลาในการผลิตดังนี้ ในการผลิตของขวัญแบบ A ใช้
เครือ่ งจักร 1 เป็นเวลา 2 นาทีต่อชิน้ ใช้เครือ่ งจักร 2 เป็นเวลา 1 นาทีต่อชิน้ ในการผลิตของขวัญ
แบบ B ใช้เครือ่ งจักร 1 เป็นเวลา 1 นาทีต่อชิน้ ใช้เครือ่ งจักร 2 เป็นเวลา 3 นาทีต่อชิน้ ถ้า
กาหนดเวลาสาหรับเครือ่ งจักร 1 ทัง้ หมดไม่เกิน 3 ชัวโมง ่ และเวลาสาหรับเครือ่ งจักร 2 ทัง้ หมดไม่
เกิน 5 ชัวโมง
่ จงหาว่าจะผลิตของขวัญในแต่ละแบบจานวนเท่าใด จึงจะได้กาไรมากสุด
233

วิ ธีทา การแก้ปญั หากาหนดการเชิงเส้นมีขนั ้ ตอนดังนี้


ขัน้ ที่ 1 วิเคราะห์โจทย์ปญั หา
สิ่ งที่โจทย์ต้องการทราบ คือ บริษทั ไทยเจริญควรจะผลิตของขวัญในแต่ละแบบจานวน
เท่าใดจึงจะได้กาไรมากทีส่ ุด
เป้ าหมายของปัญหา คือ กาไรมากทีส่ ุด
ข้อจากัดของปัญหา คือ เวลาทีใ่ ช้ในการผลิตของเครือ่ งจักร 1 และ เครือ่ งจักร 2
เขียนตารางแสดงค่าต่างๆ ทีก่ าหนดให้ดงั นี้
ของขวัญ แบบ A แบบ B เวลาทัง้ หมด
เครือ่ งจักร
เครือ่ งจักร 1 (นาที) 2 1 180


วโิ ร
เครือ่ งจักร 2 (นาที) 1 3 300

ทร
กาไรต่อชิน้ (บาท) 10 12
นิ
คร
นี
ศร

it y
ขัน้ ที่ 2 สร้างแบบจาลองกาหนดการเชิงเส้น ers
ลยั
ยา

n iv
ให้ x แทนจานวนการผลิตของขวัญแบบ A
tU
วทิ
หา

y แทนจานวนการผลิตของขวัญแบบ B
ir o
งม

nw

P แทนกาไรจากการขายของขวัญ
ลา

ari
ดุ ก

a kh

ดังนัน้ จะได้ แบบจาลองกาหนดการเชิงเส้นดังนี้


สม

rin

สมการจุดประสงค์ คือ P  10x  12y


หอ

yS

อสมการข้อจากัด
rar
นกั

L ib

(1)
สาํ

2x  y  180
al

x  3y  300 (2)
n tr
Ce

x0
y0
234

ขัน้ ที่ 3 ดาเนินการแก้ปญั หา


- เขียนกราฟของอสมการข้อจากัดแสดงบริเวณของผลเฉลยทีเ่ ป็นไปได้

A B


วโิ ร
C
X
ทร
O
(1)
คร
นิ (2)
- หาพิกดั ของจุดมุมของบริเวณผลเฉลยทีเ่ ป็นไปได้
นี
ศร

it y
ers
จากรูป มีจดุ มุม 4 จุด คือ O, A, B, C หาพิกดั โดยการแก้สมการได้ดงั นี้
ลยั
ยา

n iv
จุด A เป็นจุดตัดของเส้นตรง x  3y  300 ตัดกับแกน y ให้ x  0 ได้ y  100
tU
วทิ
หา

ir o

ดังนัน้ จุด A มีพกิ ดั (0, 100)


งม

nw

จุด B เป็นจุดตัดของเส้นตรง 2x  y  180 และ x  3y  300 แก้สมการหาจุดตัด


ลา

ari
ดุ ก

a kh

ดังนัน้ จุด B มีพกิ ดั (48, 84)


สม

rin

จุด C เป็นจุดตัดของเส้นตรง 2x  y  180 ตัดกับแกน x ให้ y  0 ได้ x  90


หอ

yS

ดังนัน้ จุด C มีพกิ ดั (90, 0)


rar
นกั

L ib
สาํ

ขัน้ ที่ 4 ทดสอบจุดมุมของบริเวณผลเฉลยทีเ่ ป็นไปได้


al
n tr

จุดมุม ค่าตัวแปร (x, y) ค่า P  10x  12y


Ce

O (0, 0) 10(0) + 12(0) = 0


A (0, 100) 10(0) + 12(100) = 1,200
B (48, 84) 10(48) + 12(84) = 1,488
C (90, 0) 10(90) + 12(0) = 900

ขัน้ ที่ 5 สรุป


จากตารางจะพบว่า P มีค่าสูงทีส่ ุดเท่ากับ 1,488 เมือ่ x = 48 และ y = 84
แสดงว่า บริษทั ไทยเจริญควรผลิตของขวัญแบบ A จานวน 48 ชิน้ และผลิตของขวัญ
แบบ B จานวน 84 ชิน้ ซึง่ จะได้กาไรสูงสุด 1,488 บาท
235

ใบกิ จกรรมที่ 10 เรื่อง การแก้โจทย์ปัญหาของกาหนดการเชิ งเส้น


จุดประสงค์การเรียนรู้
1. นักเรียนสามารถแก้โจทย์ปญั หาของกาหนดการเชิงเส้นด้วยวิธกี ราฟได้

ชื่อ …………………………………………………………... ชัน้ ……………. เลขที่ …………….

คาสัง:่ จงแก้ปญั หากาหนดการเชิงเส้นทีก่ าหนดให้ต่อไปนี้


วโิ ร
ทร
1. บริษทั เฟอร์นิเจอร์ผลิตโต๊ะและเก้าอี้ โดยโต๊ะแต่ละตัวเสียเวลาในการผลิตขัน้ ตอนประกอบ
นิ
คร
1 ชัวโมง
่ ขัน้ ตอนการขัดเงา 2 ชัวโมง ่ และขายได้กาไรตัวละ 30 บาท ส่วนเก้าอีแ้ ต่ละตัวเสียเวลา
นี
ศร

it y
ในการผลิตขัน้ ตอนการประกอบ 2 ชัวโมง ่ ขัน้ ตอนการขัดเงา 2 ชัวโมง ่ และขายได้กาไรตัวละ 50
ers
ลยั

บาท ในแต่ละวันบริษทั กาหนดเวลาในการผลิตขัน้ ตอนการประกอบและการขัดเงาทางานไม่เกิน


ยา

n iv
tU

วันละ 8 ชัวโมง
่ และ 10 ชัวโมง ่ ตามลาดับ จงหาว่า ในแต่ละวันบริษทั ควรผลิตโต๊ะและเก้าอีแ้ ต่ละ
วทิ
หา

ir o

ชนิดเป็นจานวนเท่าใด จึงจะได้กาไรสูงสุด
งม

nw
ลา

ari
ดุ ก

a kh
สม

rin

วิ ธีทา การแก้ปญั หากาหนดการเชิงเส้นมีขนั ้ ตอนดังนี้


หอ

yS
rar

ขัน้ ที่ 1 วิเคราะห์โจทย์


นกั

L ib
สาํ

สิ่ งที่โจทย์ต้องการทราบ คือ ………………………………………………………………..


al
n tr

…………………………………………………………………………………………………
Ce

เป้ าหมายของปัญหา คือ ………………………………………………………………….


ข้อจากัดของปัญหา คือ ……………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………..
เขียนตารางแสดงค่าต่างๆ ทีก่ าหนดให้ดงั นี้

ผลิต โต๊ะ เก้าอี้ ข้อจากัด


ขัน้ ตอนการผลิต
ขัน้ แรก(ชม.)
ขัน้ ทีส่ อง(ชม.)
กาไรตัวละ (บาท)
236

ขัน้ ที่ 2 สร้างแบบจาลองของกาหนดการเชิงเส้น


ให้ x แทน ……………………………………………………………….
y แทน ………………………………………………………………
P แทน ………………………………………………………………
ดังนัน้ จะได้ แบบจาลองของกาหนดการเชิงเส้นดังนี้
สมการจุดประสงค์ คือ ……………………………………………………………………
อสมการข้อจากัด
……………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………


……………………………………………………………………………………………

วโิ ร
……………………………………………………………………………………………
ทร
นิ
คร
ขัน้ ที่ 3 ดาเนินการแก้ปญั หา
นี
ศร

it y
ers
เขียนกราฟของอสมการข้อจากัดแสดงบริเวณของผลเฉลยทีเ่ ป็นไปได้
ลยั
ยา

n iv
tU
วทิ
หา

ir o
งม

nw
ลา

ari
ดุ ก

a kh
สม

rin
หอ

yS
rar
นกั

L ib
สาํ

al
n tr
Ce
237

หาพิกดั ของจุดมุมของบริเวณผลเฉลยทีเ่ ป็นไปได้


……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………


……………………………………………………………………………………………………………

วโิ ร
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
ทร
นิ
คร
……………………………………………………………………………………………………………
นี
ศร

it y
…………………………………………………………………………………………………………… ers
ลยั
ยา

n iv
……………………………………………………………………………………………………………
tU
วทิ
หา

……………………………………………………………………………………………………………
ir o
งม

nw
ลา

ari

ขัน้ ที่ 4 ทดสอบจุดมุมของบริเวณผลเฉลยทีเ่ ป็นไปได้


ดุ ก

a kh
สม

rin

จุดมุม ค่าตัวแปร (x, y) แทนค่า P


หอ

yS
rar
นกั

L ib
สาํ

al
n tr
Ce

ขัน้ ที่ 5 สรุป


……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………….................
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
238

2. บริษทั ผลิตโครงเหล็กต้องการผลิตโครงเหล็ก 2 แบบ คือ แบบ A และแบบ B ในการผลิตโครง


เหล็กแบบ A หนึ่งชิน้ ต้องใช้เหล็ก 3 กิโลกรัม และใช้เวลา 6 นาที ในการผลิตโครงเหล็กแบบ B
หนึ่งชิน้ ต้องใช้เหล็ก 4 กิโลกรัม และใช้เวลา 3 นาที โดยโครงเหล็กแบบ A ขายได้กาไรชิน้ ละ 20บาท
และโครงเหล็กแบบ B ขายได้กาไรชิน้ ละ 15 บาท ถ้าในแต่ละวันมีเหล็กไม่เกิน 1,000 กิโลกรัม และ
มีคนงานทางานไม่เกิน 20 ชัวโมง ่ จงหาว่าจะผลิตโครงเหล็กแบบใด จานวนเท่าใด จึงจะได้กาไร
สูงสุด

วิ ธีทา การแก้ปญั หากาหนดการเชิงเส้นมีขนั ้ ตอนดังนี้


ขัน้ ที่ 1 วิเคราะห์โจทย์


สิ่ งที่โจทย์ต้องการทราบ คือ ………………………………………………………………..

วโิ ร
ทร
…………………………………………………………………………………………………
นิ
เป้ าหมายของปัญหา คือ ………………………………………………………………….
คร
นี
ศร

ข้อจากัดของปัญหา คือ ……………………………………………………………………

it y
ers
ลยั

………………………………………………………………………………………………..
ยา

n iv
tU

เขียนตารางแสดงค่าต่างๆ ทีก่ าหนดให้ดงั นี้


วทิ
หา

ir o
งม

nw

โครงเหล็ก แบบ A แบบ B ข้อจากัด


ลา

ari
ดุ ก

a kh
สม

rin
หอ

yS

เหล็ก(ก.ม.)
rar
นกั

เวลา(นาที)
L ib
สาํ

กาไรต่อชิน้ (บาท)
al
n tr
Ce

ขัน้ ที่ 2 สร้างแบบจาลองของกาหนดการเชิงเส้น


ให้ x แทน ………………………………………………………..
y แทน………………………………………………………..
P แทน ………………………………………………………
239

ดังนัน้ จะได้ แบบจาลองของกาหนดการเชิงเส้นดังนี้


สมการจุดประสงค์ คือ ……………………………………………………………………
อสมการข้อจากัด
……………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………
……..……………………………………………………………………………………

ขัน้ ที่ 3 ดาเนินการแก้ปญั หา


เขียนกราฟของอสมการข้อจากัดแสดงบริเวณของผลเฉลยทีเ่ ป็นไปได้

วโิ ร
ทร
นิ
คร
นี
ศร

it y
ers
ลยั
ยา

n iv
tU
วทิ
หา

ir o
งม

nw
ลา

ari
ดุ ก

a kh
สม

rin
หอ

yS
rar
นกั

L ib
สาํ

al
n tr
Ce

หาพิกดั ของจุดมุมของบริเวณผลเฉลยทีเ่ ป็นไปได้


……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
240

……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………


……………………………………………………………………………………………………………

วโิ ร
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
ทร
นิ
นี คร
ศร

it y
ขัน้ ที่ 4 ทดสอบจุดมุมของบริเวณผลเฉลยทีเ่ ป็นไปได้
ers
ลยั
ยา

n iv
จุดมุม ค่าตัวแปร (x, y) แทนค่า P
tU
วทิ
หา

ir o
งม

nw
ลา

ari
ดุ ก

a kh
สม

rin
หอ

yS
rar
นกั

L ib
สาํ

al
n tr

ขัน้ ที่ 5 สรุป


Ce

……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………….................
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
241

3. ช่างตัดเสือ้ มีผา้ สีพน้ื 16 เมตร ผ้าลายดอก 11 เมตร และผ้าลูกไม้ 15 เมตร ถ้าช่าง


ต้องการนาผ้าทีม่ อี ยูด่ งั กล่าวมาตัดเป็นชุดทางานและชุดราตรี โดยทีช่ ุดทางานแต่ละชุดใช้ผา้ สีพน้ื
2 เมตร ผ้าลายดอก 1 เมตร ผ้าลูกไม้ 1 เมตร และขายได้กาไรตัวละ 300 บาท ส่วนชุดราตรีแต่ละ
ชุดต้องใช้ผา้ สีพน้ื 1 เมตร ผ้าลายดอก 2 เมตร ผ้าลูกไม้ 3 เมตร และขายได้กาไรตัวละ 500 บาท
จงหาว่าช่างตัดเสือ้ ควรจะตัดชุดทางานและชุดราตรีอย่างละกีช่ ุดจึงจะได้กาไรมากสุดและเป็นเงิน
เท่าไร

วิ ธีทา การแก้ปญั หากาหนดการเชิงเส้นมีขนั ้ ตอนดังนี้


ขัน้ ที่ 1 วิเคราะห์โจทย์


สิ่ งที่โจทย์ต้องการทราบ คือ ………………………………………………………………..

วโิ ร
ทร
…………………………………………………………………………………………………
นิ
คร
เป้ าหมายของปัญหา คือ ………………………………………………………………….
นี
ศร

it y
ข้อจากัดของปัญหา คือ ……………………………………………………………………
ers
ลยั

………………………………………………………………………………………………..
ยา

n iv
tU

………………………………………………………………………………………………..
วทิ
หา

ir o
งม

nw
ลา

ari

ตารางแสดงค่าต่างๆ ทีก่ าหนดให้ดงั นี้


ดุ ก

a kh

ชุด
สม

rin
หอ

yS

ชนิดผ้า ชุดทางาน ชุดราตรี จานวนผ้าทัง้ หมด


rar
นกั

ผ้าสีพน้ื (เมตร)
L ib
สาํ

ผ้าลายดอก (เมตร)
al
n tr

ผ้าลูกไม้ (เมตร)
Ce

กาไรต่อชิน้ (บาท)

ขัน้ ที่ 2 สร้างแบบจาลองของกาหนดการเชิงเส้น


กาหนดให้ x แทน …………………………………………………………
y แทน …………………………………………………...........
P แทน …………………………………………………………
242

ดังนัน้ จะได้ แบบจาลองของกาหนดการเชิงเส้นดังนี้


สมการจุดประสงค์ คือ ……………………………………………………………………
อสมการข้อจากัด
…………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………

ขัน้ ที่ 3 ดาเนินการแก้ปญั หา


วโิ ร
- เขียนกราฟของอสมการข้อจากัดแสดงบริเวณของผลเฉลยทีเ่ ป็นไปได้
ทร
นิ
คร
นี
ศร

it y
ers
ลยั
ยา

n iv
tU
วทิ
หา

ir o
งม

nw
ลา

ari
ดุ ก

a kh
สม

rin
หอ

yS
rar
นกั

L ib
สาํ

al
n tr
Ce

- หาพิกดั ของจุดมุมของบริเวณผลเฉลยทีเ่ ป็นไปได้


……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
243

……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………


……………………………………………………………………………………………………………

วโิ ร
ขัน้ ที่ 4 ทดสอบจุดมุมของบริเวณผลเฉลยทีเ่ ป็นไปได้
ทร
นิ
นี คร
ศร

it y
จุดมุม ค่าตัวแปร (x, y) แทนค่า P
ers
ลยั
ยา

n iv
tU
วทิ
หา

ir o
งม

nw
ลา

ari
ดุ ก

a kh
สม

rin
หอ

yS
rar
นกั

L ib
สาํ

al
n tr

ขัน้ ที่ 5 สรุป


Ce

……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………….................
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
244

เฉลยใบกิ จกรรมที่ 1 ความหมายของกาหนดการเชิ งเส้น


จุดประสงค์การเรียนรู้
1. นักเรียนมีความรูค้ วามเข้าใจความหมายของกาหนดการเชิงเส้นได้
2. นักเรียนมีความรูค้ วามเข้าใจเกีย่ วกับประวัตคิ วามเป็นมาของกาหนดการเชิงเส้น

คาสัง:่ ให้นกั เรียนตอบคาถามต่อไปนี้

1. จงบอกความหมายของกาหนดการเชิงเส้น


ตอบ กาหนดการเชิงเส้น เป็ นตัวแบบทางคณิตศาสตร์ทส่ี ร้างขึน้ แทนปญั หาทีเ่ กิดขึน้ เพื่อ

วโิ ร
หาแนวทางในการแก้ปญั หาทีด่ ที ส่ี ุดตามเป้าหมายทีต่ งั ้ ไว้ และสอดคล้องกับเงือ่ นไขทีม่ อี ยู่
ทร
ในปญั หานัน้ ๆ โดยทีค่ วามสัมพันธ์ของตัวแปรต่างๆ เกีย่ วข้องเป็นเชิงเส้นทัง้ สิน้
นิ
คร
2. กาหนดการเชิงเส้นนาไปใช้กบั ปญั หาในลักษณะใด
นี
ศร

it y
ers
ตอบ ปญั หาเกีย่ วกับการจัดสรรทรัพยากร หรือกิจกรรมต่างๆ ทีมอี ยูอ่ ย่างจากัด
ลยั
ยา

n iv
3. ใครเป็นบิดาของกาหนดการเชิงเส้น
tU
วทิ
หา

ir o

ตอบ ยอร์ชบี แดนท์ซกิ (George B. Dantzig)


งม

nw

4. กาหนดการเชิงเส้นถูกนามาใช้ครัง้ แรกในด้านใด
ลา

ari
ดุ ก

a kh

ตอบ ด้านการทหาร
สม

rin

5. จงยกตัวอย่างปญั หาทีใ่ ช้กาหนดการเชิงเส้นแก้ปญั หา พร้อมทัง้ อธิบาย (3 ปญั หา)


หอ

yS

ตอบ 1. ปญั หาการผลิต นากาหนดการเชิงเส้นมาใช้ในการพิจารณาปริมาณสินค้า


rar
นกั

L ib
สาํ

แต่ละประเภททีค่ วรจะทาการผลิต เพื่อทีจ่ ะได้ผลตอบแทนสูงสุด


al

2. ปญั หาการผสมสาร นากาหนดการเชิงเส้นมาใช้ในเป็นการพิ จารณาหาปริมาณ


n tr
Ce

สารหรือวัตถุดบิ ชนิดต่างๆ ทีจ่ ะนามาผสมกัน เพื่อทีจ่ ะได้มคี ่าใช้จา่ ยต่าสุด


3. ปญั หาการขนส่ง เป็นการพิจารณาหาปริมาณสินค้าทีจ่ ะทาการขนส่งจากแหล่ง
ผลิตสินค้าไปยังผูบ้ ริโภคหรือจุดหมายปลายทาง เพื่อ ให้ค่าใช้จา่ ยในการขนส่งทีต่ ่า สุดหรือ
ส่งสินค้าถึงจุดหมายปลายทางได้เร็ว สุด
245

เฉลยใบกิ จกรรมที่ 2 เรื่อง กราฟสมการเชิ งเส้นสองตัวแปร


จุดประสงค์การเรียนรู้
1. นักเรียนสามารถเขียนกราฟสมการเชิงเส้นสองตัวแปรได้

คาสัง:่ ให้นกั เรียนเขียนกราฟของสมการต่อไปนี้


(1) y  2x  4  0

วโิ ร
ทร
วิ ธีทา จากสมการ y  2x  4  0 จะได้ว่า
นิ
คร
ถ้า x = 0 แล้ว y = 4 ดังนัน้ เส้นตรงตัดกับแกน Y ทีจ่ ดุ (0, 4)
นี
ศร

it y
ถ้า y = 0 แล้ว x = -2 ดังนัน้ เส้นตรงตัดกับแกน X ทีจ่ ดุ (-2, 0)
ers
ลยั
ยา

n iv
กราฟของสมการเป็นดังนี้
tU
วทิ
หา

ir o
งม

nw
ลา

ari
ดุ ก

a kh
สม

rin
หอ

yS
rar
นกั

L ib
สาํ

al
n tr
Ce
246

(2) 5x  y  6  0

วิ ธีทา จากสมการ 5x  y  6  0 จะได้ว่า


ถ้า x = 0 แล้ว y = 6 ดังนัน้ เส้นตรงตัดกับแกน Y ทีจ่ ดุ (0, 6)
6
ถ้า y = 0 แล้ว x = ดังนัน้ เส้นตรงตัดกับแกน X ทีจ่ ดุ ( 6 , 0)
5 5
กราฟของสมการได้ดงั นี้


วโิ ร
นิทร
นีคร
ศร

it y
ers
ลยั
ยา

n iv
tU
วทิ
หา

ir o
งม

nw

(3) 2x  4 y  6
ลา

ari
ดุ ก

a kh
สม

วิ ธีทา จากสมการ จะได้ว่า


rin

2x  4 y  6
หอ

yS

3
ถ้า x = 0 แล้ว y = ดังนัน้ เส้นตรงตัดกับแกน Y ทีจ่ ดุ (0, 3 )
rar
นกั

2 2
L ib
สาํ

ถ้า y = 0 แล้ว x = 3 ดังนัน้ เส้นตรงตัดกับแกน X ทีจ่ ดุ (3, 0)


al
n tr

กราฟของสมการได้ดงั นี้
Ce
247

เฉลยใบกิ จกรรมที่ 3 กราฟระบบสมการเชิ งเส้นสองตัวแปร


จุดประสงค์การเรียนรู้
1. นักเรียนสามารถเขียนกราฟระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปรได้

คาสัง:่ จงเขียนกราฟของระบบสมการทีก่ าหนดให้ต่อไปนี้


(1) กาหนดให้

วโิ ร
x  2y  3 (1)
3x  y  4
ทร
นิ (2)
คร
นี
ศร

it y
กราฟของระบบสมการได้ดงั นี้
ers
ลยั
ยา

n iv
tU
วทิ
หา

ir o
งม

nw
ลา

ari
ดุ ก

a kh
สม

rin
หอ

yS
rar
นกั

L ib
สาํ

al
n tr
Ce
248

(2) กาหนดให้
3x  5y  15 (1)
4x  3y  12 (2)
กราฟของระบบสมการได้ดงั นี้


วโิ ร
ทร
นิ
คร
นี
ศร

it y
ers
ลยั
ยา

n iv
tU
วทิ
หา

ir o
งม

nw
ลา

ari
ดุ ก

a kh

(3) กาหนดให้
สม

rin

2x  4y  20
หอ

yS

8x  6y  48
rar
นกั

L ib
สาํ

กราฟของระบบสมการได้ดงั นี้
al
n tr
Ce
249

เฉลยใบกิ จกรรมที่ 4 เรื่อง กราฟอสมการเชิ งเส้นสองตัวแปร


จุดประสงค์การเรียนรู้
1. นักเรียนสามารถเขียนกราฟอสมการเชิงเส้นสองตัวแปรได้

คาสัง:่ จงเขียนกราฟของอสมการทีก่ าหนดให้ต่อไปนี้

(1) x  1


วโิ ร
วิ ธีทา ขัน้ ที่ 1 เขียนกราฟของสมการ x = -1 อสมการมีเครือ่ งหมาย
ทร

จึงเส้นใช้เส้นทึบ นิ
คร
ขัน้ ที่ 2 ใช้จดุ (0, 0) ตรวจสอบอสมการ
นี
ศร

it y
จะได้ 0  1 ซึง่ อสมการเป็ นจริ ง ers
ลยั
ยา

n iv
ขัน้ ที่ 3 แรเงาบริเวณด้านทีจ่ ดุ (0, 0) อยูท่ งั ้ หมด
tU
วทิ
หา

ir o

จะได้กราฟของอสมการ
งม

nw
ลา

ari
ดุ ก

a kh
สม

rin
หอ

yS
rar
นกั

L ib
สาํ

al
n tr
Ce
250

(2) xy3

วิ ธีทา ขัน้ ที่ 1 เขียนกราฟของสมการ x – y = 3 อสมการมีเครือ่ งหมาย >


จึงเส้นใช้เส้นประ
ขัน้ ที่ 2 ใช้จดุ (0, 0) ตรวจสอบอสมการ
จะได้ 0 > 3 ซึง่ อสมการเป็ นเท็จ
ขัน้ ที่ 3 แรเงาบริเวณด้านตรงข้ามทีจ่ ดุ (0, 0) อยู่
จะได้กราฟของอสมการ
x–y=3


วโิ ร
นิ ทร
คร
นี
ศร

it y
ers
ลยั
ยา

n iv
tU
วทิ
หา

ir o
งม

nw

(3) 2x  y  2
ลา

ari
ดุ ก

a kh

วิ ธีทา ขัน้ ที่ 1 เขียนกราฟของสมการ y + 2x = 2 อสมการมีเครือ่ งหมาย 


สม

rin

จึงเส้นใช้เส้นทึบ
หอ

yS

ขัน้ ที่ 2 ใช้จดุ (0, 0) ตรวจสอบอสมการ


rar
นกั

L ib
สาํ

จะได้ 0 ≤ 2 ซึง่ อสมการเป็ นจริ ง


al
n tr

ขัน้ ที่ 3 แรเงาบริเวณด้านเดียวกับทีจ่ ดุ (0, 0) อยูท่ งั ้ หมด


Ce

จะได้กราฟของอสมการ

y + 2x = 2
251

เฉลยใบกิ จกรรมที่ 5 เรื่อง กราฟระบบอสมการเชิ งเส้นสองตัวแปร


จุดประสงค์การเรียนรู้
1. นักเรียนสามารถเขียนกราฟระบบอสมการเชิงเส้นสองตัวแปรได้

คาสัง:่ จงเขียนกราฟของระบบอสมการทีก่ าหนดให้ต่อไปนี้

(1) y  2
x  y 1


วโิ ร
วิ ธีทา สามารถเขียนกราฟของระบบอสมการเชิงเส้น ได้ดงั นี้

ทร
กราฟของระบบอสมการ คือ
นิ
นีคร
ศร

it y
ers
ลยั
ยา

n iv
tU
วทิ
หา

ir o
งม

nw
ลา

ari
ดุ ก

a kh
สม

rin
หอ

yS
rar
นกั

L ib
สาํ

(2) x  2y  4
al
n tr

x  y  1
Ce

วิ ธีทา สามารถเขียนกราฟของระบบอสมการเชิงเส้น ได้ดงั นี้


กราฟของระบบอสมการ คือ
252

(3) x  2y  10
2x  3y  18

วิ ธีทา สามารถเขียนกราฟของระบบอสมการเชิงเส้น ได้ดงั นี้


กราฟของระบบอสมการ คือ


วโิ ร
ทร
นิ
นี คร
ศร

it y
ers
ลยั
ยา

n iv
tU
วทิ
หา

ir o
งม

nw

(4) จงเขียนกราฟของระบบอสมการต่อไปนี้ พร้อมทัง้ ระบุจดุ ตัด ของกราฟ


ลา

ari

xy7
ดุ ก

a kh
สม

rin

3x  2y  18
หอ

yS

x0
rar
นกั

y0
L ib
สาํ

วิ ธีทา สามารถเขียนกราฟของระบบอสมการเชิงเส้น ได้ดงั นี้


al
n tr

กราฟของระบบอสมการ คือ
Ce

(4, 3)
253

เฉลยใบกิ จกรรมที่ 6 เรื่อง โครงสร้างแบบจาลองของกาหนดการเชิ งเส้น


จุดประสงค์การเรียนรู้
1. นักเรียนสามารถบอกจุดประสงค์ของปญั หาได้
2. นักเรียนสามารถเขียนจุดประสงค์ของปญั หาในรูปสมการเชิง เส้นสองตัวแปรได้
3. นักเรียนสามารถบอกข้อจากัดของปญั หาได้
4. นักเรียนสามารถเขียนข้อจากัด ของปญั หาในรูปอสมการเชิงเส้นสองตัวแปรได้

คาสัง:่ จงตอบคาถามทีก่ าหนดให้ต่อไปนี้


วโิ ร
ทร
1. บริษทั แฟนต้า ผลิตน้าอัดลมชนิด M และชนิด N โดยทีน่ ้าอัดลมชนิด M แต่ละขวดใช้หวั เชือ้
นิ
คร
น้าตาล 4 กรัม และหัวเชือ้ น้าส้ม 1 กรัม ส่วนน้าอัดลมชนิด N แต่ละขวดใช้หวั เชือ้ น้าตาล 2 กรัม
นี
ศร

it y
ers
และหัวเชือ้ น้าส้ม 3 กรัม ถ้าในแต่ละวันบริษทั มีหวั เชือ้ น้าตาลเพียง 20,000 กรัม และหัวเชือ้ น้าส้ม
ลยั
ยา

n iv
9,000 กรัมเท่านัน้ บริษทั จะได้กาไรจากการขายน้าอัดลมชนิด M ขวดละ 1 บาทและชนิด N ขวดละ
tU
วทิ
หา

ir o

2 บาท อยากทราบว่าทางบริษทั ควรผลิตน้าอัดลมชนิด M และชนิด N วันละกีข่ วดจึงได้กาไรมากสุด


งม

nw

และเป็นเงินเท่าไร
ลา

ari
ดุ ก

a kh
สม

rin

ตารางแสดงค่าต่างๆ ทีก่ าหนดให้ดงั นี้


หอ

yS
rar
นกั

L ib
สาํ

น้าอัดลม M N ปริมาณหัวเชือ้ ทีม่ ี


al

หัวเชือ้ (ขวด) (ขวด)


n tr
Ce

น้าตาล(กรัม) 4 2 20,000
น้าส้ม(กรัม) 1 3 9,000
กาไรต่อขวด(บาท) 1 2

กาหนดให้ x แทนจานวนการผลิตน้าอัดลมชนิ ด M (ขวด)


y แทนจานวนการผลิตน้าอัดลมชนิด N (ขวด)
และ P แทนกาไรทัง้ หมด (บาท)
254

จงตอบคาถามต่อไปนี้
1. สิง่ ทีโ่ จทย์ตอ้ งการทราบ คือ บริษทั ควรผลิตน้าอัดลมชนิด M และชนิด N วันละกีข่ วด
จึงได้กาไรมากทีส่ ุดและเป็นเงินเท่าไร
2. เป้าหมายของปญั หา คือ กาไรมากทีส่ ุด
3. สมการจุดประสงค์ คือ P  x  2y
4. ข้อจากัดของปญั หา คือ ปริมาณหัวเชือ้ น้าตาลและหัวเชือ้ น้าส้ม
5. เขียนข้อจากัดของปญั หาให้อยูใ่ นรูปอสมการ
1. ปริมาณทีใ่ ช้หวั เชือ้ น้าตาลในการผลิตไม่เกิน 20,000 กรัม
อสมการข้อจากัด คือ 4x  2y  20,000
2. ปริมาณทีใ่ ช้หวั เชือ้ น้าส้มในการผลิตไม่เกิน 9,000 กรัม


อสมการข้อจากัด คือ x  3y  9,000

วโิ ร
6. ข้อจากัดของตัวแปรทีต่ อ้ งการตัดสินใจ
x  0, y  0
ทร
นิ
นี คร
ศร

it y
ers
ลยั
ยา

n iv
tU
วทิ
หา

ir o
งม

nw
ลา

ari
ดุ ก

a kh

2. บริษทั สหพัฒน์ เป็นบริษทั ผูผ้ ลิตสีทาบ้าน เป็นบริษทั ขนาดเล็กทาการผลิตสี 2 ชนิด


สม

rin

ด้วยกัน คือ สีทาภายในบ้านและสีทาภายนอกบ้าน วัตถุดบิ ทีใ่ ช้ในการผลิตสีม ี 2 ประเภทคือ


หอ

yS

สารละลายสี และสารเติมแต่งสี ในการผลิตสีแต่ละวันบริษทั มีขอ้ จากัดด้านวัตถุดบิ คือ มีปริมาณ


rar
นกั

L ib
สาํ

สารละลายสีและสารเติมแต่งสีทใ่ี ช้ในการผลิตสีแต่ละวันสูงสุดไม่เกิน 34 ตัน และ 28 ตันตามลาดับ


al

ความต้องการวัตถุดบิ เพื่อใช้ในการผลิตสีแต่ละวัน และกาไรในการผลิตสีแต่ละชนิด แสดงในตาราง


n tr
Ce

ชนิดสีทผ่ี ลิต สีทาภายใน สีทาภายนอก ปริมาณวัตถุดบิ สูงสุด


วัตถุดบิ ทีน่ าไปใช้ในการผลิต(ตัน)
สารละลายสี (ตัน) 3 4 34
สารเติมแต่งสี (ตัน) 4 1 28
กาไรต่อวัน (บาท) 3,000 2,000

บริษทั สหพัฒน์ จะต้องผลิตสีทาบ้านทัง้ สองชนิดเป็นจานวนเท่าใดจึงจะได้กาไรสูงสุด


255

กาหนดให้ x แทนปริมาณในการผลิตสีทาภายในแต่ละวัน (ตัน)


y แทนปริมาณในการผลิตสีทาภายนอกแต่ละวัน (ตัน)
และ P แทนกาไรทัง้ หมด (บาท)

จงตอบคาถามต่อไปนี้
1. สิง่ ทีโ่ จทย์ตอ้ งการทราบ คือ จะต้องผลิตสีทาบ้านทัง้ สองชนิดเป็นจานวนเท่าใดจึงจะได้
กาไรสูงสุด
2. เป้าหมายของปญั หา คือ กาไรสูงสุด
3. สมการจุดประสงค์ คือ P  3,000x  2,000y
4. ข้อจากัดของปญั หา คือ ปริมาณสารละลายสีและสารเติมแต่งสีทใ่ี ช้ในการผลิต
5. เขียนข้อจากัดของปญั หาให้อยูใ่ นรูปอสมการ


วโิ ร
1. ปริมาณสารละลายสีทใ่ี ช้ในการผลิตสีแต่ละวันสูงสุดไม่เกิน 34 ตัน
อสมการข้อจากัด คือ 3x  4y  34
ทร
นิ
คร
2. ปริมาณสารเติมแต่งสีทใ่ี ช้ในการผลิตสีแต่ละวันสูงสุดไม่เกิน 28 ตัน
นี
ศร

it y
อสมการข้อจากัด คือ 4x  y  28 ers
ลยั
ยา

n iv
6. ข้อจากัดของตัวแปรทีต่ อ้ งการตัดสินใจ
tU
วทิ
หา

ir o

x  0, y  0
งม

nw
ลา

ari
ดุ ก

a kh
สม

rin
หอ

yS
rar
นกั

L ib
สาํ

al
n tr
Ce
256

เฉลยใบกิ จกรรมที่ 7 เรื่อง การสร้างแบบจาลองกาหนดการเชิ งเส้น


จุดประสงค์การเรียนรู้
1. นักเรียนสามารถเขียนแบบจาลองกาหนดการเชิงเส้นของปญั หาทีก่ าหนดให้ได้

สองตัวแปรได้
คาสัง:่ จงสร้างแบบจาลองของกาหนดการเชิงเส้นในแต่ละข้อต่อไปนี้


1. บริษทั ผลิตวงล้อจักรยาน 2 แบบ คือ แบบ A และแบบ B ในการผลิตแต่ละวงล้อต้องใช้วสั ดุ

วโิ ร
ทีส่ าคัญคือ แผ่นเหล็ก และยาง ในการผลิตวงล้อจักรยานแบบ A แต่ละอันใช้แผ่นเหล็ก 3 เส้น ยาง
ทร
2 เส้น และการผลิตวงล้อจักรยานแบบ B ใช้แผ่นเหล็ก 1 เส้น ยาง 2 เส้น ซึง่ แต่ละวันบริษทั มีแผ่น
นิ
คร
เหล็ก 1,080 เส้นและยาง 840 เส้น จะได้กาไรจากการขายวงล้อจักรยานแบบ A อันละ 18 บาท และ
นี
ศร

it y
ers
กาไรจากการขายวงล้อจักรยานแบบ B อันละ 12 บาท บริษทั จะต้องผลิตวงล้อจักรยานแต่ละแบบ
ลยั
ยา

n iv
เป็นจานวนเท่าไรจึงจะได้กาไรสูงสุด
tU
วทิ
หา

ir o
งม

nw

จงสร้างแบบจาลองกาหนดการเชิงเส้น
ลา

ari
ดุ ก

a kh
สม

rin

วิ ธีทา สร้างแบบจาลองกาหนดการเชิงเส้น ได้ดงั นี้


หอ

yS

ขัน้ ที่ 1 วิเคราะห์โจทย์ปญั หา


rar
นกั

L ib
สาํ

สิ่ งที่โจทย์ต้องการทราบ คือ บริษทั จะต้องผลิตวงล้อจักรยานแต่ละแบบเป็นจานวน


al

เท่าไร จึงจะได้กาไรสูงสุด
n tr
Ce

เป้ าหมายของปัญหา คือ กาไรสูงสุด


ข้อจากัดของปัญหา คือ จานวนแผ่นเหล็กและจานวนยางทีใ่ ช้ในการผลิตวงล้อจักรยาน
ทัง้ สองแบบ
เขียนตารางแสดงค่าต่างๆ ทีก่ าหนดให้ ดังนี้
วงล้อจักรยาน แบบ A แบบ B จานวนวัสดุทม่ี อี ยู่
วัสดุ
แผ่นเหล็ก (เส้น) 3 1 1,080
ยาง (เส้น) 2 2 840
กาไร (บาท) 18 12
257

ขัน้ ที่ 2 กาหนดตัวแปรให้กบั สิง่ ทีต่ อ้ งการทราบค่า


กาหนดให้ x เป็นจานวนการผลิตวงล้อจักรยานแบบ A
y เป็นจานวนการผลิตวงล้อจักรยานแบบ B
P เป็นกาไรทัง้ หมด (บาท)
ขัน้ ที่ 3 กาหนดสมการจุดประสงค์ของปญั หา
สมการจุดประสงค์ คือ P  18x  12y
ขัน้ ที่ 4 กาหนดอสมการข้อจากัด
1. จานวนแผ่นเหล็กทีใ่ ช้ในการผลิตไม่เกิน 1,080 เส้น
อสมการข้อจากัด คือ 3x  y  1,080
2. จานวนยางทีใ่ ช้ในการผลิตไม่เกิน 840 เส้น


อสมการข้อจากัด คือ 2x  2y  840

วโิ ร
ขัน้ ที่ 5 ข้อกาหนดของตัวแปร
นิทร
คร
x  0, y  0
สรุป แบบจาลองของกาหนดการเชิงเส้น คือ
นี
ศร

it y
ers
ลยั

สมการจุดประสงค์ คือ P  18x  12y


ยา

n iv
อสมการข้อจากัด
tU
วทิ
หา

ir o

3x  y  1,080
งม

nw
ลา

ari

2x  2y  840
ดุ ก

a kh

x0
สม

rin
หอ

y0
yS
rar
นกั

L ib
สาํ

al
n tr
Ce
258

2. โรงงานกระดาษแห่งหนึ่งผลิตกระดาษเพื่อทาสมุดวาดเขียนและสมุดบันทึก โดยผลิตสมุดทัง้
สองได้อย่างมาก 200 โหลต่อวัน ในแต่ละวันจะมีลกู ค้าประจาสังซื
่ อ้ สมุดวาดเขียนอย่างน้อย 10
โหล และสังซื่ อ้ สมุดบันทึกอย่างน้อย 80 โหล ถ้ากาไรในการขายสมุดวาดเขียนโหลละ 50 บาท
และกาไรในการขายสมุดบันทึกโหลละ 35 บาท โรงงานจะต้องผลิตสมุดวาดเขียนและสมุดบันทึก
วันละกีโ่ หล จึงจะได้กาไรจากการขายมากสุด

จงสร้างแบบจาลองของกาหนดการเชิงเส้น

วิ ธีทา สร้างแบบจาลองกาหนดการเชิงเส้น ได้ดงั นี้


ขัน้ ที่ 1 วิเคราะห์โจทย์ปญั หา


วโิ ร
สิ่ งที่โจทย์ต้องการทราบ คือ โรงงานจะต้องผลิตสมุดวาดเขียนและสมุดบันทึกวันละ

ทร
กีโ่ หล จึงจะได้กาไรจากการขายมากทีส่ ุด
นิ
คร
เป้ าหมายของปัญหา คือ กาไรสูงสุด
นี
ศร

it y
ข้อจากัดของปัญหา คือ จานวนการผลิตสมุดวาดเขียนและสมุดบันทึก
ers
ลยั
ยา

n iv
ขัน้ ที่ 2 กาหนดตัวแปรให้กบั สิง่ ทีต่ อ้ งการทราบค่า
tU
วทิ
หา

กาหนดให้ x เป็นจานวนการผลิตสมุดวาดเขียนในแต่ละวัน (โหล)


ir o
งม

nw

y เป็นจานวนการผลิตสมุดบันทึกในแต่ละวัน (โหล)
ลา

ari

P เป็นกาไรทัง้ หมด (บาท)


ดุ ก

a kh
สม

ขัน้ ที่ 3 กาหนดสมการจุดประสงค์ของปญั หา


rin
หอ

yS

สมการจุดประสงค์ คือ P  50x  35y


rar
นกั

L ib

ขัน้ ที่ 4 กาหนดอสมการข้อจากัด


สาํ

al

1. ผลิตสมุดทัง้ สองชนิดได้อย่างมาก 200 โหลต่อวัน


n tr
Ce

อสมการข้อจากัด คือ x  y  200


2. ในแต่ละวันจะมีลกู ค้าประจาสังซื ่ อ้ สมุดวาดเขียนอย่างน้อย 10 โหล
อสมการข้อจากัด คือ x  10
3. ในแต่ละวันจะมีการสังซื ่ อ้ สมุดบันทึกอย่างน้อย 80 โหล
อสมการข้อจากัด คือ y  80
ขัน้ ที่ 5 ข้อกาหนดของตัวแปร
x  0, y  0
259

สรุป แบบจาลองของกาหนดการเชิงเส้น คือ


สมการจุดประสงค์ คือ P  50x  35y
อสมการข้อจากัด
x  y  200
x  10
y  80
x0
y0


วโิ ร
นิ ทร
คร
นี
ศร

it y
ers
ลยั
ยา

n iv
tU
วทิ
หา

ir o
งม

nw
ลา

ari
ดุ ก

a kh
สม

rin
หอ

yS
rar
นกั

L ib
สาํ

al
n tr
Ce
260

เฉลยใบกิ จกรรมที่ 8 เรื่อง การเขียนกราฟของสมการจุดประสงค์และอสมการข้อจากัด


จุดประสงค์การเรียนรู้
1. นักเรียนสามารถเขียนกราฟของอสมการข้อจากัดได้ถูกต้อง
2. นักเรียนสามารถบอกบริเวณผลเฉลยทีเ่ ป็นไปได้ของอสมการข้อจากัดได้ถูกต้อง
3. นักเรียนสามารถเขียนกราฟของสมการจุดประสงค์ทม่ี คี ่าต่างๆ ได้ถูกต้อง

คาสัง:่ จงตอบคาถามทีก่ าหนดให้ต่อไปนี้


วโิ ร
1. กาหนดแบบจาลองกาหนดการเชิงเส้นต่อไปนี้

ทร
สมการจุดประสงค์ P  3x  4y คร
นิ
อสมการข้อจากัด
นี
ศร

it y
x  2y  50
ers
ลยั
ยา

n iv
5x  4y  140
tU
วทิ
หา

ir o

x0
งม

nw

y0
ลา

ari
ดุ ก

จงหาค่าสูงสุดของ P
a kh
สม

rin
หอ

yS
rar
นกั

L ib
สาํ

จงหาคาตอบต่อไปนี้
al

1.1 จงเขียนกราฟของอสมการข้อจากัด
n tr
Ce

P=96
P=24 P=72
261

1.2 จงเขียนกราฟของสมการ P  3x  4y เมือ่ P = 24, 72, 96


1.3 จุดทีเ่ ป็นผลเฉลยเหมาะสมทีส่ ุด คือ จุด B
1.4 จงหาพิกดั ของจุดทีเ่ ป็นผลเฉลยเหมาะสมทีส่ ุด
จุด B เป็นจุดตัดของเส้นสมการเงือ่ นไขบังคับข้อที่ 1 และ ข้อที่ 2 จะได้ว่า
x  2y  50 (1)
5x  4y  140 (2)
(1)  (5) จะได้ 5x  10y  250 (3)
(2)  (3) จะได้  6y  110
55
y
3
แทน y ใน (1) จะได้


วโิ ร
40
x

ทร
3
นิ
คร
ดังนัน้ จุด B มีพกิ ดั ( 40 , 55 )
3 3
นี
ศร

it y
40 55
1.5 ค่า P สูงสุด คือ P  3( )  4( )  113.33
ers
ลยั
ยา

n iv
3 3
tU
วทิ
หา

ir o
งม

nw
ลา

ari
ดุ ก

a kh
สม

ทาด้วยความรอบคอบ
rin
หอ

yS

พยายามเข้านะจ๊ะ
rar
นกั

สู้ สู้ ๆๆๆๆๆ


L ib
สาํ

al
n tr
Ce
262

2. กาหนดแบบจาลองของกาหนดการเชิงเส้นต่อไปนี้
สมการจุดประสงค์ P  4x  5y
อสมการข้อจากัด
2x  y  10
2x  3y  12
x0
y0
จงหาค่าต่าสุดของ P


จงหาคาตอบต่อไปนี้

วโิ ร
1.1 จงเขียนกราฟของอสมการข้อจากัด
นิ ทร
คร
นี
ศร

it y
ers
ลยั
ยา

n iv
tU
วทิ
หา

ir o
งม

nw
ลา

ari
ดุ ก

a kh
สม

rin
หอ

yS
rar

P= 60
นกั

P= 50
L ib

P= 20
สาํ

al

1.2 จงเขียนกราฟของสมการ P  4x  5y เมือ่ P = 20, 50, 60


n tr
Ce

1.3 จุดทีเ่ ป็นผลเฉลยเหมาะสมทีส่ ุด คือ จุด B


1.4 จงหาพิกดั ของจุดทีเ่ ป็นผลเฉลยเหมาะสมทีส่ ุด
2x  y  10 (1)
2x  3y  12 (2)
(2)  (1) จะได้ 2y  2
y 1
9
แทน y ใน (1) จะได้ x
2
9
ดังนัน้ จุด B มีพกิ ดั ( , 1)
2
9
1.5 ค่า P สูงสุด คือ P  4( )  5(1)  23
2
263

3. กาหนดแบบจาลองของกาหนดการเชิงเส้นต่อไปนี้
สมการจุดประสงค์ P  5x  3y
อสมการข้อจากัด
2x  4y  80 (1)
5x  2y  80 (2)
x0
y0
จงหาค่าสูงสุดของ P
เขียนกราฟของอสมการข้อจากัดได้ดงั รูป


Y

วโิ ร
นิ ทร
คร
นี
ศร

it y
ers
ลยั
ยา

n iv
tU
วทิ
หา

ir o
งม

nw
ลา

ari
ดุ ก

a kh
สม

rin
หอ

yS
rar
นกั

X
L ib

(1)
สาํ

(1) (2)
al

P = 15 P=60 P=105
n tr
Ce

จงตอบคาถามต่อไปนี้
3.1 จงแรเงาแสดงบริเวณทีเ่ ป็นผลเฉลยทีเ่ ป็นไปได้
3.2 จงเขียนกราฟของสมการ P  5x  3y เมือ่ P = 15, 60, 105
264

4. ให้นกั เรียนเปิดแฟ้มกิจกรรมทีส่ ร้างโดยโปรแกรม C.a.R. และโปรแกรม Euler แล้วเลือกทา


กิจกรรมการสารวจหาผลเฉลยทีเ่ หมาะสมทีส่ ุด ว่าจุดใดให้ค่าสูงสุด และจุดใดให้ค่าต่าสุด เมือ่
กาหนดบริเวณทีเ่ ป็นไปได้และสมการจุดประสงค์


วโิ ร
ทร
นิ
นีคร
ศร

it y
ers
ลยั
ยา

n iv
1. สมการจุดประสงค์ P  2y  x 2. สมการจุดประสงค์ P  x  5y
tU
วทิ
หา

จุดทีใ่ ห้ค่า P สูงสุด คือ B จุดทีใ่ ห้ค่า P สูงสุด คือ D


ir o
งม

nw

จุดทีใ่ ห้ค่า P ต่าสุด คือ D จุดทีใ่ ห้ค่า P ต่าสุด คือ B


ลา

ari
ดุ ก

a kh
สม

rin

3. สมการจุดประสงค์ P  2x  3y 4. สมการจุดประสงค์ P  15x  9y


หอ

yS

จุดทีใ่ ห้ค่า P สูงสุด คือ B, C จุดทีใ่ ห้ค่า P สูงสุด คือ C


rar
นกั

L ib
สาํ

จุดทีใ่ ห้ค่า P ต่าสุด คือ E จุดทีใ่ ห้ค่า P ต่าสุด คือ A


al
n tr
Ce

ไชโย ทาเสร็จ …… ซะที !


เช็คคาตอบด้วยนะ
265

เฉลยใบกิ จกรรมที่ 9 เรื่อง การหาค่าสูงสุดและตา่ สุดของกาหนดการเชิ ง เส้น


จุดประสงค์การเรียนรู้
1. นักเรียนสามารถหาค่าสูงสุดหรือต่าสุดของของกาหนดการเชิงเส้นด้วยวิธกี ราฟได้
ถูกต้อง
2. นักเรียนสามารถหาพิกดั ของจุดมุมของบริเวณผลเฉลยได้

คาสัง:่ จงหาค่าสูงสุดและต่าสุดของกาหนดการเชิงเส้นทีก่ าหนดให้ต่อไปนี้


1. กาหนดแบบจาลองกาหนดการเชิงเส้นต่อไปนี้

วโิ ร
ทร
สมการจุดประสงค์ P  15x  10y
นิ
คร
อสมการข้อจากัด
นี
ศร

(1)

it y
3x  2y  80
ers
ลยั

2x  3y  70 (2)
ยา

n iv
tU
วทิ

x0
หา

ir o

y0
งม

nw

จงหาค่าสูงสุดของ
ลา

ari

P
ดุ ก

a kh
สม

rin
หอ

yS

วิ ธีทา ดาเนินตามขัน้ ตอนต่อไปนี้


rar
นกั

L ib
สาํ

1. เขียนกราฟของอสมการข้อจากัด
al
n tr
Ce
266

2. หาพิกดั ของจุดมุมของบริเวณผลเฉลยทีเ่ ป็นไปได้


จุด A เป็นจุดตัดของเส้นตรง 2x  3y  70 ตัดกับแกน Y
ดังนัน้ จุด A มีพกิ ดั (0, 70 )
3
จุด B เป็นจุดตัดของเส้นตรง 3x  2y  80 และ 2x  3y  70 แก้สมการหาจุดตัด
ดังนัน้ จุด B มีพกิ ดั (20, 10)
จุด C เป็นจุดตัดของเส้นตรง 3x  2y  80 ตัดกับแกน X
ดังนัน้ จุด C มีพกิ ดั ( 80 , 0)
3
3. ทดสอบจุดมุมของบริเวณผลเฉลยทีเ่ ป็นไปได้
จุดมุม ค่าตัวแปร (x, y) ค่า P  15x  10y


วโิ ร
0 (0, 0) 15(0) + 10(0) = 0

ทร
A (0, 70
) 15(0) + 10( 70 ) = 233.33
นิ
3
คร 3
B (20, 10) 15(20) + 10(10) = 400
นี
ศร

it y
C ( 80 , 0) ers
15( 80 ) + 10(0) = 400
ลยั
ยา

n iv
3 3
tU
วทิ
หา

ir o

4. สรุป
งม

nw

ค่าสูงสุดอยูท่ จ่ี ดุ B และจุด C ซึง่ เป็นผลเฉลยทีเ่ หมาะสมทีส่ ุด จะได้ P =400


ลา

ari
ดุ ก

a kh
สม

rin
หอ

yS
rar
นกั

L ib
สาํ

al
n tr
Ce
267

2. กาหนดแบบจาลองของกาหนดการเชิงเส้นต่อไปนี้
สมการจุดประสงค์ P  10x  25y
อสมการข้อจากัด
3x  4y  25 (1)
x  3y  15 (2)
x0
y0
จงหาค่าต่าสุดของ P


วโิ ร
วิ ธีทา ดาเนินตามขัน้ ตอนต่อไปนี้
1. เขียนกราฟของอสมการข้อจากัด
ทร
นิ
นี คร
ศร

it y
ers
ลยั
ยา

n iv
tU
วทิ
หา

ir o
งม

nw
ลา

ari
ดุ ก

a kh
สม

rin
หอ

yS
rar
นกั

L ib
สาํ

al
n tr
Ce

2. หาพิกดั ของจุดมุมของบริเวณผลเฉลยทีเ่ ป็นไปได้


จุด A เป็นจุดตัดของเส้นตรง 3x  4y  25 ตัดกับแกน Y
ดังนัน้ จุด A มีพกิ ดั (0, 25 )
4
จุด B เป็นจุดตัดของเส้นตรง 3x  4y  25 และ x  3y  15 แก้สมการหาจุดตัด
ดังนัน้ จุด B มีพกิ ดั (3, 4)
จุด C เป็นจุดตัดของเส้นตรง x  3y  15 ตัดกับแกน X
ดังนัน้ จุด C มีพกิ ดั ( 80 , 0)
3
268

3. ทดสอบจุดมุมของบริเวณผลเฉลยทีเ่ ป็นไปได้
จุดมุม ค่าตัวแปร (x, y) ค่า P  10x  25y
A (0, 25 ) 10(0) + 25( 25 ) = 156.25
4 4
B (3, 4) 10(3) + 25(4) = 130
C ( 80 , 0) 10( 80 ) + 25(0) = 266.67
3 3

4. สรุป
ค่าต่าสุดอยูท่ จ่ี ดุ B เป็นผลเฉลยทีเ่ หมาะสมทีส่ ุด จะได้ P = 130


วโิ ร
3. กาหนดแบบจาลองของกาหนดการเชิงเส้นต่อไปนี้
ทร
นิ
คร
สมการจุดประสงค์ P  50x  72y
นี
ศร

it y
ers
ลยั

อสมการข้อจากัด
ยา

n iv
4x  4y  16 (1)
tU
วทิ
หา

ir o

8x  24y  48 (2)
งม

nw
ลา

ari

x0
ดุ ก

a kh

y0
สม

rin

จงหาค่าต่าสุดของ
หอ

yS

P
rar
นกั

L ib
สาํ

al

วิ ธีทา ดาเนินตามขัน้ ตอนต่อไปนี้


n tr
Ce

2. เขียนกราฟของอสมการข้อจากัด
269

2. หาพิกดั ของจุดมุมของบริเวณผลเฉลยทีเ่ ป็นไปได้


จุด A เป็นจุดตัดของเส้นตรง 4x  4y  16 ตัดกับแกน Y
ดังนัน้ จุด A มีพกิ ดั (0, 4)
จุด B เป็นจุดตัดของเส้นตรง 4x  4y  16 และ 8x  24y  48
ดังนัน้ จุด B มีพกิ ดั (3, 1)
จุด C เป็นจุดตัดของเส้นตรง 8x  24y  48 ตัดกับแกน X
ดังนัน้ จุด C มีพกิ ดั (6, 0)
3. ทดสอบจุดมุมของบริเวณผลเฉลยทีเ่ ป็นไปได้
จุดมุม ค่าตัวแปร (x, y) ค่า P = 50x +72y
A (0, 4) 50(0) + 72(4) = 288


วโิ ร
B (3, 1) 50(3) + 72(1) = 222
C (6, 0) นิทร 50(6) + 72(0) = 300
คร
นี
ศร

it y
4. สรุป ers
ลยั
ยา

n iv
จะเห็นได้ว่าค่าต่าสุดอยูท่ จ่ี ดุ B คือ x = 3 และ y = 1 เป็นผลเฉลยเหมาะสมทีส่ ุด
tU
วทิ
หา

และได้ P = 222
ir o
งม

nw
ลา

ari
ดุ ก

a kh
สม

rin
หอ

yS
rar
นกั

L ib
สาํ

al
n tr
Ce
270

เฉลยใบกิ จกรรมที่ 10 เรื่อง การแก้โจทย์ปัญหาของกาหนดการเชิ งเส้น


จุดประสงค์การเรียนรู้
1. นักเรียนสามารถแก้โจทย์ปญั หาของกาหนดการเชิงเส้นด้วยวิธกี ราฟได้

คาสัง:่ จงแก้ปญั หากาหนดการเชิงเส้นทีก่ าหนดให้ต่อไปนี้

1. บริษทั เฟอร์นิเจอร์ผลิตโต๊ะและเก้าอี้ โดยโต๊ะแต่ละตัวเสียเวลาในการผลิตขัน้ ตอนประกอบ


วโิ ร
1 ชัวโมง
่ ขัน้ ตอนการขัดเงา 2 ชัวโมง ่ และขายได้กาไรตัวละ 30 บาท ส่วนเก้าอีแ้ ต่ละตัวเสียเวลา

ทร
ในการผลิตขัน้ ตอนการประกอบ 2 ชัวโมง ่ ขัน้ ตอนการขัดเงา 2 ชัวโมง ่ และขายได้กาไรตัวละ 50
นิ
คร
บาท ในแต่ละวันบริษทั กาหนดเวลาในการผลิตขัน้ ตอนการประกอบและการขัดเงาทางานไม่เกิน
นี
ศร

it y
วันละ 8 ชัวโมง
่ และ 10 ชัวโมง ่ ตามลาดับ จงหาว่า ในแต่ละวันบริษทั ควรผลิตโต๊ะและเก้าอีแ้ ต่ละ
ers
ลยั

ชนิดเป็นจานวนเท่าใด จึงจะได้กาไรสูงสุด
ยา

n iv
tU
วทิ
หา

ir o
งม

nw

วิ ธีทา การแก้ปญั หากาหนดการเชิงเส้นมีขนั ้ ตอนดังนี้


ลา

ari
ดุ ก

a kh

ขัน้ ที่ 1 วิเคราะห์โจทย์


สม

rin
หอ

สิ่ งที่โจทย์ต้องการทราบ คือ บริษทั ควรผลิตโต๊ะและเก้าอีแ้ ต่ละชนิดเป็นจานวนเท่าใด


yS
rar
นกั

จึงจะได้กาไรสูงสุด
L ib
สาํ

เป้ าหมายของปัญหา คือ กาไรสูงสุด


al
n tr

ข้อจากัดของปัญหา คือ กาหนดเวลาทีใ่ นการผลิตขัน้ ต้นและขัน้ ทีส่ อง


Ce

เขียนตารางแสดงค่าต่างๆ ทีก่ าหนดให้ดงั นี้


ผลิต โต๊ะ เก้าอี้ ข้อจากัดของเวลาใน
ขัน้ ตอนการผลิต การทางาน
การประกอบ (ชม.) 1 2 8
การขัดเงา (ชม.) 2 2 10
กาไรตัวละ (บาท) 30 50
271

ขัน้ ที่ 2 สร้างแบบจาลองของกาหนดการเชิงเส้น


กาหนดให้ x แทนจานวนการผลิตโต๊ะในแต่ละวัน (ตัว)
y แทนจานวนการผลิตเก้าอีใ้ นแต่ละวัน (ตัว)
P แทนกาไรทัง้ หมด (บาท)
ดังนัน้ จะได้ แบบจาลองของกาหนดการเชิงเส้นดังนี้
สมการจุดประสงค์ คือ P  30x  50y
อสมการข้อจากัด
x  2y  8 (1)
2x  2y  10 (2)
x0


y0

วโิ ร
ขัน้ ที่ 3 ดาเนินการแก้ปญั หา
ทร
เขียนกราฟของอสมการข้อจากัดแสดงบริเวณของผลเฉลยทีเ่ ป็นไปได้
นิ
คร
นี
ศร

it y
ers
ลยั
ยา

n iv
tU
วทิ
หา

ir o
งม

nw
ลา

ari
ดุ ก

a kh
สม

rin
หอ

yS
rar
นกั

L ib
สาํ

al
n tr
Ce

หาพิกดั ของจุดมุมของบริเวณผลเฉลยทีเ่ ป็นไปได้


จากรูป มีจดุ มุม 4 จุด คือ O, A, B, C, หาพิกดั โดยการแก้สมการได้ดงั นี้
จุด A เป็นจุดตัดของเส้นตรง x  2y  8 ตัดกับแกน Y
ดังนัน้ จุด A มีพกิ ดั (0, 4)
จุด B เป็นจุดตัดของเส้นตรง x  2y  8 และ 2x  2y  10
ดังนัน้ จุด B มีพกิ ดั (2, 3)
จุด C เป็นจุดตัดของเส้นตรง 2x  2y  10 ตัดกับแกน X
ดังนัน้ จุด C มีพกิ ดั (5, 0)
272

ขัน้ ที่ 4 ทดสอบจุดมุมของบริเวณผลเฉลยทีเ่ ป็นไปได้


จุดมุม ค่าตัวแปร (x, y) แทนค่า P  30x  50y

O (0, 0) 30(0) + 50(0) = 0


A (0, 4) 30(0) + 50(4) = 200
B (2,3) 30(2) + 50(3) = 210
C (5, 0) 30(5) + 50(0) = 150

ขัน้ ที่ 5 สรุป


วโิ ร
จากตารางจะพบว่า P มีค่าสูงสุดเท่ากับ 210 เมือ่ x = 2 และ y = 3

ทร
แสดงว่า ในแต่ละวันบริษทั ควรผลิตโต๊ะจานวน 2 ตัว และผลิตเก้าอี้ จานวน 3 ตัว
นิ
คร
จึงจะได้กาไรสูงสุดเป็นเงิน 210 บาท
นี
ศร

it y

ers
ลยั
ยา

n iv
tU
วทิ
หา

ir o
งม

nw
ลา

ari
ดุ ก

a kh
สม

rin
หอ

yS
rar
นกั

L ib
สาํ

al
n tr
Ce
273

2. บริษทั ผลิตโครงเหล็กต้องการผลิตโครงเหล็ก 2 แบบ คือ แบบ A และแบบ B ในการผลิตโครง


เหล็กแบบ A หนึ่งชิน้ ต้องใช้เหล็ก 3 กิโลกรัม และใช้เวลา 6 นาที ในการผลิตโครงเหล็กแบบ B
หนึ่งชิน้ ต้องใช้เหล็ก 4 กิโลกรัม และใช้เวลา 3 นาที โดยโครงเหล็กแบบ A ขายได้กาไรชิน้ ละ 20
บาท และโครงเหล็กแบบ B ขายได้กาไรชิน้ ละ 15 บาท ถ้าในแต่ละวันมีเหล็กไม่เกิน 1,000 กิโลกรัม
และมีคนงานทางานไม่เกิน 20 ชัวโมง ่ จงหาว่าจะผลิตโครงเหล็กแบบใด จานวนเท่าใด จึงจะได้กาไร
สูงสุด

วิ ธีทา การแก้ปญั หากาหนดการเชิงเส้นมีข นั ้ ตอนดังนี้


ขัน้ ที่ 1 ทาความเข้าใจโจทย์

วโิ ร
สิ่ งที่โจทย์ต้องการ คือ จะผลิตโครงเหล็กแบบใด จานวนเท่าใด จึงจะได้กาไรสูงสุด
นิทร
คร
เป้ าหมายของปัญหา คือ กาไรสูงสุด
นี
ศร

it y
ข้อจากัดของปัญหา คือ จานวนเหล็กและเวลาทีใ่ ช้ในการผลิต
ers
ลยั

เขียนตารางแสดงค่าต่างๆ ทีก่ าหนดให้ดงั นี้


ยา

n iv
tU
วทิ

ชนิดโครงเหล็ก แบบ A แบบ B ข้อจากัด


หา

ir o
งม

กระบวนการผลิต
nw
ลา

ari

เหล็ก (ก.ม.) 3 4 1,000


ดุ ก

a kh

เวลา (นาที) 6 3 1,200


สม

rin
หอ

yS

กาไรต่อชิน้ (บาท) 20 15
rar
นกั

L ib
สาํ

ขัน้ ที่ 2 สร้างแบบจาลองของกาหนดการเชิงเส้น


al

กาหนดให้ x แทนจานวนการผลิตโครงเหล็กแบบ A (ชิน้ )


n tr
Ce

y แทนจานวนการผลิตโครงเหล็กแบบ B (ชิน้ )
P แทนกาไรทัง้ หมด (บาท)
ดังนัน้ จะได้ แบบจาลองของกาหนดการเชิงเส้นดังนี้
สมการจุดประสงค์ คือ P  20x  15y
อสมการข้อจากัด
3x  4y  1,000 (1)
6x  3y  1,200 (2)
x0
y0
274

ขัน้ ที่ 3 ดาเนินการแก้ปญั หา


- เขียนกราฟของอสมการข้อจากัดแสดงบริเวณของผลเฉลยทีเ่ ป็นไปได้


วโิ ร
- หาพิกดั ของจุดมุมของบริเวณผลเฉลยที่เป็นไปได้
ทร
จากรูป มีจดุ มุม 4 จุด คือ O, A, B, C, หาพิกดั โดยการแก้สมการได้ดงั นี้
นิ
คร
จุด A เป็นจุดตัดของเส้นตรง 3x  4y  1,000 ตัดกับแกน Y
นี
ศร

it y
ดังนัน้ จุด A มีพกิ ดั (0, 250) ers
ลยั
ยา

n iv
จุด B เป็นจุดตัดของเส้นตรง 3x  4y  1,000 และ 6x  3y  1,200
tU
วทิ
หา

ir o

ดังนัน้ จุด B มีพกิ ดั (120, 160)


งม

nw

จุด C เป็นจุดตัดของเส้นตรง 6x  3y  1,200 ตัดกับแกน X


ลา

ari
ดุ ก

a kh

ดังนัน้ จุด C มีพกิ ดั (200, 0)


สม

rin
หอ

yS

ขัน้ ที่ 4 ทดสอบจุดมุมของบริเวณผลเฉลยทีเ่ ป็นไปได้


rar
นกั

L ib
สาํ

จุดมุม ค่าตัวแปร (x, y) แทนค่า P  20x  15y


al

O (0, 0) 20(0) + 15(0) = 0


n tr
Ce

A (0, 250) 20(0) + 15(250) = 3,750


B (120, 160) 20(120) + 15(160) = 4,800
C (200, 0) 20(200) + 15(0) = 4,000

ขัน้ ที่ 5 สรุป


จากตารางจะพบว่า P มีค่าสูงสุดเท่ากับ 4,800 เมือ่ x = 120 และ y = 160
แสดงว่า จะต้องผลิตโครงเหล็กแบบ A จานวน 120 ชิน้ และผลิตโครงเหล็กแบบ B จานวน 160 ชิน้
จึงจะได้กาไรสูงสุดเป็นเงิน 4,800 บาท


275

3. ช่างตัดเสือ้ มีผา้ สีพน้ื 16 เมตร ผ้าลายดอก 11 เมตร และผ้าลูกไม้ 15 เมตร ถ้าช่าง


ต้องการนาผ้าทีม่ อี ยูด่ งั กล่าวมาตัดเป็นชุดทางานและชุดราตรี โดยทีช่ ุดทางานแต่ละชุดใช้ผา้ สีพน้ื
2 เมตร ผ้าลายดอก 1 เมตร ผ้าลูกไม้ 1 เมตร และขายได้กาไรตัวละ 300 บาท ส่วนชุดราตรีแต่ละ
ชุดต้องใช้ผา้ สีพน้ื 1 เมตร ผ้าลายดอก 2 เมตร ผ้าลูกไม้ 3 เมตร และขายได้กาไรตัวละ 500 บาท
จงหาว่าช่างตัดเสือ้ ควรจะตัดชุดทางานและชุดราตรีอย่างละกี่ ชุดจึงจะได้กาไรมากสุดและเป็นเงิน
เท่าไร

วิ ธีทา การแก้ปญั หากาหนดการเชิงเส้นมีขนั ้ ตอนดังนี้


ขัน้ ที่ 1 ทาความเข้าใจโจทย์

วโิ ร
ทร
สิ่ งที่โจทย์ต้องการ คือ ช่างตัดเสือ้ ควรจะตัดชุดทางานและชุดราตรีอย่างละกีช่ ุดจึงจะได้
นิ
คร
กาไรมากทีส่ ุด
นี
ศร

it y
เป้ าหมายของปัญหา คือ กาไรมากทีส่ ุด
ers
ลยั

ข้อจากัดของปัญหา คือ ปริมาณของผ้าทัง้ 3 ชนิด นันคื ่ อ ผ้าสีพน้ื ผ้าลายดอกและผ้าลูกไม้


ยา

n iv
tU

ทีใ่ ช้ในการตัดชุดทางานและชุดราตรี
วทิ
หา

ir o

เขียนตารางแสดงค่าต่างๆ ที่กาหนดให้ดงั นี้


งม

nw
ลา

ari

ชุด
ดุ ก

a kh

ชนิดผ้า ชุดทางาน ชุดราตรี จานวนผ้าทัง้ หมด


สม

rin
หอ

yS
rar
นกั

ผ้าสีพน้ื (เมตร) 2 1 16
L ib
สาํ

ผ้าลายดอก (เมตร) 1 2 11
al
n tr

ผ้าลูกไม้ (เมตร) 1 3 15
Ce

กาไรต่อชิน้ (บาท) 300 500

ขัน้ ที่ 2 สร้างแบบจาลองของกาหนดการเชิงเส้น


ให้ x เป็นจานวนชุดทางานที่ตดั
y เป็นจานวนชุดราตรีทต่ี ดั
P เป็นกาไรทัง้ หมด (บาท)
276

ดังนัน้ จะได้ แบบจาลองของกาหนดการเชิงเส้นดังนี้


สมการจุดประสงค์ P  300x  500y
อสมการข้อจากัด
2x  y  16 (1)
x  2y  11 (2)
x  3y  15 (3)
x0
y0
ขัน้ ที่ 3 ดาเนินการแก้ปญั หา
- เขียนกราฟของอสมการข้อจากัดแสดงบริเวณของผลเฉลยทีเ่ ป็นไปได้


วโิ ร
ทร
Y
นิ
คร
นี
ศร

it y
ers
ลยั
ยา

n iv
tU
วทิ
หา

ir o

B
งม

A
nw

C
ลา

ari

X
ดุ ก

a kh

D
(3)
สม

rin
หอ

yS

(1) (2)
rar
นกั

L ib
สาํ

- หาพิกดั ของจุดมุมของบริเวณผลเฉลยทีเ่ ป็นไปได้


al

จากรูป มีจดุ มุม 5 จุด คือ O, A, B, C, D หาพิกดั โดยการแก้สมการได้ดงั นี้


n tr
Ce

จุด A เป็นจุดตัดของเส้นตรง 2x  y  16 ตัดกับแกน X


ดังนัน้ จุด A มีพกิ ดั (8, 0)
จุด B เป็นจุดตัดของเส้นตรง 2x  y  16 และ x  2y  11แก้สมการหาจุดตัด
ดังนัน้ จุด B มีพกิ ดั (7, 2)
จุด C เป็นจุดตัดของเส้นตรง x  2y  11และ x  3y  15 แก้สมการหาจุดตัด
ดังนัน้ จุด C มีพกิ ดั (3, 4)
จุด D เป็นจุดตัดของเส้นตรง x  3y  15 ตัดกับแกน Y
ดังนัน้ จุด D มีพกิ ดั (0, 5)
277

ขัน้ ที่ 4 ทดสอบจุดมุมของบริเวณผลเฉลยทีเ่ ป็นไปได้


จุดมุม ค่าตัวแปร (x, y) ค่า P  300x  500y
O (0, 0) 300(0) + 500(0) = 0
A (8, 0) 300(8) + 500(0) = 2,400
B (7, 2) 300(7) + 500(2) = 3,100
C (3, 4) 300(3) + 500(4) = 2,900
D (0, 5) 300(0) + 500(5) = 2,500

ขัน้ ที่ 5 สรุป


จากตารางจะพบว่า P มีค่าสูงสุดเท่ากับ 3,100 เมือ่ x = 7 และ y = 2


วโิ ร
แสดงว่า ช่างตัดเสือ้ ควรจะตัดชุดทางาน 7 ชุดและชุดราตรี 2 ชุดจึงจะได้กาไรมากทีส่ ุด

ทร
เป็นเงิน 3,100 บาท
นิ
นีคร
ศร

it y
ers
ลยั
ยา

n iv
tU
วทิ
หา

ir o
งม

nw
ลา

ari
ดุ ก

a kh
สม

rin
หอ

yS
rar
นกั

L ib
สาํ

al
n tr
Ce
278


วโิ ร
ทร
นิ
คร
นี
ศร

it y
ภาคผนวก จ
ers
ลยั
ยา

n iv
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนเรื่องกาหนดการเชิ งเส้น
tU
วทิ
หา

ir o

สาหรับนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปี ที่ 3


งม

nw
ลา

ari
ดุ ก

a kh
สม

rin
หอ

yS
rar
นกั

L ib
สาํ

al
n tr
Ce
279

แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนเรื่องกาหนดการเชิ งเส้น


ระดับชัน้ มัธยมศึกษาปี ที่ 3

คาชี้แจง
1. แบบทดสอบฉบับนี้สร้างขึน้ เพื่อวัดผลสัมฤทธิ ์ทางการเรียนเรือ่ งกาหนดการเชิงเส้น
ของนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 3 ทีเ่ รียนด้วยชุดกิจกรรมการเรียนการสอนเรือ่ ง
กาหนดการเชิงเส้นโดยใช้โปรแกรม C.a.R. และโปรแกรม Euler
2. แบบทดสอบฉบับนี้ม ี 2 ตอน จานวน 22 ข้อ ดังนี้


ตอนที่ 1 เป็นแบบปรนัยจานวน 20 ข้อ

วโิ ร
ตอนที่ 2 เป็นแบบอัตนัยจานวน 2 ข้อ
ทร
3. แบบทดสอบแบบปรนัย ให้นกั เรียนเลือกคาตอบทีถ่ ูกทีส่ ุดเพียงข้อเดียวในข้อ ก – ง
นิ
คร
แล้วให้นกั เรียนเขียนเครือ่ งหมาย X ลงในกระดาษคาตอบ
นี
ศร

it y
ers
ลยั

4. เวลาทีใ่ ช้ในการทาแบบทดสอบ 2 คาบ (100 นาที)


ยา

n iv
tU
วทิ
หา

ir o
งม

nw
ลา

ari
ดุ ก

a kh
สม

rin
หอ

yS
rar
นกั

L ib
สาํ

al
n tr
Ce

ชื่อ ………………………………………………………… ชัน้ ……………… เลขที่ ………………..


280

ตอนที่ 1 จงเลือกคาตอบที่ถกู ที่สดุ เพียงคาตอบเดียวในข้อ ก – ง แล้วเขียนเครื่องหมาย X


ลงในกระดาษคาตอบ

1. ข้อใดไม่ใช่ลกั ษณะของกาหนดการเชิงเส้น
ก. เป็นการหาทางเลือกทีด่ ที ส่ี ุดเพื่อต้องการผลตอบแทนสูงสุด
ข. ช่วยในการแก้ปญั หาการจัดสรรทรัพยากรทีม่ อี ยูอ่ ย่างจากัด ให้เกิดประโยชน์สงู สุด
ค. ช่วยในการหากาไรสูงสุดและค่าใช้จา่ ยน้อยสุด ภายใต้ขอ้ จากัด
ง. ช่วยในการวางแผนและการตัดสินใจในการทางาน ภายใต้เงือ่ นไขข้อจากัด

2. กราฟของอสมการ 2x  y  8 คือข้อใด


ก. ข.

วโิ ร
ทร
นิ
8
คร
นี
8
ศร

it y
ers
ลยั
ยา

n iv
tU
วทิ
หา

ir o

0
งม

4
nw

0 4
ลา

ari
ดุ ก

a kh

ค. ง.
สม

rin
หอ

yS
rar
นกั

8 8
L ib
สาํ

al
n tr
Ce

0 4 0 4
281

3. กราฟของอสมการ 2x  3y  12 คือข้อใด
ก. ข.


ค. ง.

วโิ ร
ทร
นิ
คร
4
นี
ศร

it y
4
ers
ลยั
ยา

n iv
tU
วทิ
หา

ir o

0 6 6
งม

nw

0 6
ลา

ari
ดุ ก

a kh
สม

rin

4. กราฟของระบบอสมการ x  y 1
หอ

yS

x  2y  6 คือข้อใด
rar
นกั

L ib
สาํ

ก. ข.
al
n tr
Ce

3 3

1 6
-1 1 6
-1
282

ค. ง.

3 3

1 6 1 6
-1 -1

5. จากกราฟทีก่ าหนดให้พกิ ดั ของจุด A, จุด B และจุด C ตามลาดับคือข้อใด


วโิ ร
ทร
นิ
คร
นี
ศร

it y
ers
ลยั
ยา

n iv
tU
วทิ
หา

ir o
งม

nw
ลา

ari
ดุ ก

a kh
สม

rin
หอ

yS

ก. A(0, 6), B(3, 5), C(7, 0) ข. A(0, 6), B(5, 3), C(7, 0)
rar
นกั

L ib
สาํ

ค. A(0, 7), B(5, 3), C(6, 0) ง. A(0, 7), B(3, 5), C(6, 0)
al
n tr
Ce

6. กาหนดระบบอสมการ คือ 3x  2y  8
2x  4 y  8
x  0, y  0
จุดในข้อใดไม่ใช่จดุ มุมของระบบอสมการ
ก. (0, 0) ข. (0, 2)
ค. (2, 1) ง. ( 3 , 0)
8
283

7. กาหนดแบบจาลองของกาหนดการเชิงเส้นต่อไปนี้
สมการจุดประสงค์ P  4x  5y
อสมการข้อจากัด x  3y  9
xy5
x0
y0
ค่าสูงสุดของ P เป็นเท่าใด
ก. 15 ข. 21
ค. 22 ง. 27

จากโจทย์ต่อไปนี้จงตอบคาถามข้อ 8 – 10


วโิ ร
บริษทั แห่งหนึ่งต้องการผลิตพัดลม 2 ชนิด คือ พัดลมตัง้ พืน้ และพัดลมติดผนัง โดยทีพ่ ดั

ทร
ลมตัง้ พืน้ แต่ละตัวจะต้องเสียเวลาในการผลิตโดยใช้เครือ่ งจักร 2 ชัวโมง
่ ใช้แรงงานคน 1 ชัวโมง ่
นิ
คร
และขายได้กาไรตัวละ 80 บาท สาหรับพัดลมติดผนัง แต่ละตัวจะต้องเสียเวลาในการผลิตโดยใช้
นี
ศร

it y
เครือ่ งจักร 1 ชัวโมง
่ ใช้แรงงานคน 3 ชัวโมง่ และขายได้กาไรตัวละ 100 บาท ถ้าในแต่ละวันใช้
ers
ลยั
ยา

n iv
เครือ่ งจักรได้ไม่เกิน 6 ชัวโมง
่ และใช้แรงงานคนทางานได้ไม่เกิน 8 ชัวโมง ่ ต้องการทราบว่า
tU
วทิ

ในแต่ละวันบริษทั ควรผลิตพัดลมแต่ละชนิดเป็นจานวนเท่าใด จึงจะได้กาไรมากทีส่ ุด


หา

ir o
งม

nw
ลา

ari

8. เป้าหมายของปญั หาคือข้อใด
ดุ ก

a kh
สม

ก. จานวนการผลิตพัดลมตัง้ พืน้ และพัดลมติดผนัง ทีท่ าให้กาไรสูงสุด


rin
หอ

yS

ข. จานวนการผลิตพัดลมตัง้ พืน้ และพัดลมติดผนัง ทีท่ าให้ค่าใช้จา่ ยน้อยสุด


rar
นกั

ค. จานวนเวลาในการผลิตโดยใช้เครือ่ งจักรและแรงงานคน ทีท่ ากาไรสูงสุด


L ib
สาํ

ง. จานวนเวลาในการผลิตโดยใช้เครือ่ งจักรและแรงงานคน ทีท่ าให้ค่าใช้จา่ ยน้อยสุด


al
n tr
Ce

9. ตัวแปรของปญั หานี้คอื ข้อใด


ก. ราคาทีข่ ายพัดลมตัง้ พืน้ และพัดลมติดผนัง
ข. เวลาทีใ่ ช้ผลิตพัดลมตัง้ พืน้ และพัดลมติดผนัง
ค. จานวนการผลิตพัดลมตัง้ พืน้ และพัดลมติดผนัง
ง. เวลาในการใช้เครือ่ งจักรและแรงงานคนในการผลิตพัดลมทัง้ สองชนิด
284

10. ข้อใดเป็นข้อจากัดของปญั หา
ก. จานวนการผลิตพัดลมแต่ละชนิด
ข. ขัน้ ตอนการผลิตพัดลม
ค. ค่าใช้จา่ ยในการผลิต
ง. เวลาในการใช้เครือ่ งจักรและแรงงานคนในการผลิต

จากโจทย์ต่อไปนี้จงตอบคาถามข้อ 11 – 15
นักวิจยั ทดลองผสมอาหารสัตว์ โดยมีขอ้ กาจัดว่าในแต่ละวันต้องประกอบด้วยโปรตีนไม่
น้อยกว่า 29 หน่วย และไขมันไม่น้อยกว่า 20 หน่วย มีอาหาร 2 ชนิดทีใ่ ช้ในการผสม คือ ชนิด A
และชนิด B ซึง่ อาหารชนิด A แต่ละถุงจะมีโปรตีน 3 หน่วย ไขมัน 4 หน่วย ราคาถุงละ 3 บาท


ส่วนอาหารชนิด B แต่ละถุงจะมีโปรตีน 5 หน่วย ไขมัน 2 หน่วย ราคาถุงละ 4 บาท จงหาว่าจะใช้

วโิ ร
อาหารชนิดใดจานวนเท่าใดผสมกันจึงจะได้สารอาหารครบตามต้องการ และเสียค่าใช้จา่ ยน้อยสุด
กาหนดให้ x เป็นตัวแปรการตัดสินใจ
ทร
นิ
คร
y เป็นตัวแปรการตัดสินใจ
นี
ศร

it y
ers
ลยั
ยา

n iv
11. ตัวแปรการตัดสินใจ แทนสิง่ ใดต่อไปนี้
tU
วทิ
หา

ก. ค่าใช้จา่ ยในการชือ้ อาหารชนิด A และชนิด B


ir o
งม

nw

ข. ปริมาณสารอาหารมีอยูใ่ นอาหารชนิด A และชนิด B


ลา

ari
ดุ ก

a kh

ค. จานวนอาหารชนิด A และชนิด B ทีใ่ ช้ในการผสมอาหารสัตว์


สม

rin

ง. จานวนสัตว์ทไ่ี ด้รบั อาหารชนิด A และชนิด B ในแต่ละวัน


หอ

yS
rar
นกั

12. ข้อใดเป็ นข้อจากัดของปญั หา


L ib
สาํ

al

ก. ค่าใช้จา่ ยทีใ่ ช้ในการผลิตอาหารสัตว์


n tr
Ce

ข. ปริมาณสารอาหารมีอยูใ่ นอาหารชนิด A และชนิด B


ค. จานวนอาหารชนิด A และชนิด B ทีใ่ ช้ในการผสมอาหารสัตว์
ง. จานวนสัตว์ทไ่ี ด้รบั อาหารชนิด A และชนิด B ในแต่ละวัน

13. สมการจุดประสงค์ของโจทย์น้คี อื ข้อใด


ก. P  3x  4y ข. P  5x  2y
ค. P  3x  5y ง. P  4x  2y
285

14. อสมการข้อจากัดของโจทย์คอื ข้อใด


ก. 3x  4y  29 ข. 5x  4y  29
5x  2y  20 3x  2y  20
ค. 3x  4y  29 ง. 3x  5y  29
5x  2y  20 4x  2y  20

15. ขอบเขตของตัวแปรคือข้อใด
ก. x  0, y  0 ข. x  0, y  0
ค. x  0, y  0 ง. x  0, y  0


จากโจทย์ต่อไปนี้จงตอบคาถามข้อ 16 – 20

วโิ ร
โรงงานอุตสาหกรรมแห่งหนึ่งผลิตเครื่องสาอาง 2 ชนิด คือ ดินสอเขียนคิว้ และลิปสติก
ทร
โดยดินสอเขียนคิว้ แต่ละชิน้ ใช้เวลาในการผลิตขัน้ แรก 2 ชัวโมง
นิ ่ ขัน้ ทีส่ อง 1 ชัวโมง
่ และขายได้กาไร
คร
ชิน้ ละ 40 บาท ลิปสติกแต่ละชิน้ ใช้เวลาในการผลิตขัน้ แรก 1 ชัวโมง
่ ขัน้ ทีส่ อง 2 ชัวโมง
่ และขายได้
นี
ศร

it y
ers
กาไรชิน้ ละ 50 บาท เครือ่ งจักรใช้เวลาในการผลิตสินค้าทัง้ สองชนิดในขัน้ แรกและขัน้ ทีส่ องวันละไม่
ลยั
ยา

n iv
เกิน 10 และ 11 ชัวโมง
่ จงหาว่าโรงงานจะได้กาไรมากทีส่ ุดในการผลิตสินค้าทัง้ สองชนิดเท่าใด
tU
วทิ
หา

กาหนดให้ x จานวนชิน้ ดินสอเขียนคิว้


ir o
งม

nw

y จานวนชิน้ ในการผลิตลิปสติก
ลา

ari
ดุ ก

a kh
สม

rin

16. สมการจุดประสงค์ คือข้อใด


หอ

yS

ก. P  40x  50y ข. P  50x  40y


rar
นกั

L ib
สาํ

ค. P  10x  11y ง. P  11x  10y


al
n tr
Ce

17. อสมการข้อจากัด คือข้อใด


17. อสมการข้อจากัด คือข้อใด
ก. x  2y  10 ข. x  2y  10
2x  y  11 2x  y  11
x  0, y  0 x  0, y  0
ค. 2x  y  10 ง. 2x  y  10
x  2y  11 x  2y  11
x  0, y  0 x  0, y  0
286

18. กราฟคาตอบของอสมการข้อจากัดทีไ่ ด้ในข้อ 19 คือข้อใด


ก. ข.


ค. ง.

วโิ ร
นิทร
คร
นี
ศร

it y
ers
ลยั
ยา

n iv
tU
วทิ
หา

ir o
งม

nw
ลา

ari
ดุ ก

a kh
สม

rin
หอ

yS

19. โรงงานจะผลิตเครือ่ งสาอางชนิดละเท่าใด จึงจะได้กาไรสูงสุด


rar
นกั

L ib
สาํ

ก. ดินสอเขียนคิว้ 4 ชิน้ และลิปสติก 3 ชิน้


al

ข. ดินสอเขียนคิว้ 3 ชิน้ และลิปสติก 4 ชิน้


n tr
Ce

ค. ดินสอเขียนคิว้ 2 ชิน้ และลิปสติก 5 ชิน้


ง. ดินสอเขียนคิว้ 1 ชิน้ และลิปสติก 6 ชิน้

20. โรงงานจะได้กาไรมากทีส่ ุดในการผลิตสินค้าทัง้ สองชนิด เป็นเท่าใด


ก. 310 บาท ข. 320 บาท
ค. 330 บาท ง. 340 บาท
287

ตอนที่ 2 ให้นักเรียนแสดงวิ ธีทาอย่างละเอียดลงในกระดาษที่แจกให้

1. บริษทั แห่งหนึ่งวางแผนผลิตไม้เทนนิสและไม้แบดมินตัน สาหรับการผลิตไม้เทนนิสแต่ละอันใช้


เวลาผลิตด้วยเครือ่ งจักร A 4 ชัวโมงและผลิ
่ ตด้วยเครือ่ งจักร B 2 ชัวโมง
่ การผลิตไม้แบดมินตัน
แต่ละอันใช้เครือ่ งจักร A เป็นเวลา 6 ชัวโมง
่ ใช้เครือ่ งจักร B เป็นเวลา 6 ชัวโมง
่ ถ้ากาหนดเวลา
สาหรับเครือ่ งจักร A ทางานได้สปั ดาห์ละ 120 ชัวโมง
่ และเครือ่ งจักร B ทางานได้สปั ดาห์ละ 72
ชัวโมง
่ ถ้าผลิตไม้เทนนิสจะได้กาไรอันละ 20 บาท และถ้าผลิตไม้แบดมินตันได้กาไรอันละ 35 บาท
บริษทั จะต้องผลิตไม้เทนนิสและไม้แบดมินตันเป็นจานวนเท่าใดต่อสัปดาห์ จึงจะได้กาไรมากทีส่ ุด

2. โรงงานแห่งหนึ่งสามารถผลิตเสือ้ แจ็คเก็ตได้อย่างน้อยวันละ 32 ตัวและผลิตเสือ้ หนังได้อย่างน้อย


วันละ 30 ตัว ทางโรงงานต้องการจ้างคนงานเพิม่ ซึง่ มีผมู้ าสมัครเข้าทางาน 2 คน โดยคนแรก

วโิ ร
สามารถผลิตเสือ้ แจ็คเก็ตได้ 4 ตัวและผลิตเสือ้ หนังได้ 5 ตัวในเวลาหนึ่งชัวโมงและมี
่ ค่าแรง 25 บาท
ต่อชัวโมง
ทร
่ ส่วนคนทีส่ องสามารถผลิตเสือ้ แจ็คเก็ตได้ 6 ตัวและผลิตเสือ้ หนังได้ 5 ตัวในเวลาหนึ่ง
นิ
คร
ชัวโมงและมี
่ ค่าแรง 30 บาทต่อชัวโมง่ จงหาว่าโรงงานควรจะจ้างคนงานคนใดเข้าทางาน และทางาน
นี
ศร

it y
กีช่ วโมง
ั ่ เพื่อต้องการเสียค่าใช้จา่ ยน้อยทีส่ ุด ers
ลยั
ยา

n iv
tU
วทิ
หา

ir o
งม

nw
ลา

ari
ดุ ก

a kh
สม

rin
หอ

yS
rar
นกั

L ib
สาํ

al
n tr
Ce
288


วโิ ร
ทร
นิ
คร
นี
ศร

it y
ภาคผนวก ฉ ers
ลยั
ยา

n iv
แบบสอบถามวัดความพึงพอใจที่มีต่อเนื้ อหากาหนดการเชิ งเส้น
tU
วทิ
หา

ir o

และการจัดกิ จกรรมการเรียนรู้ โดยใช้โปรแกรม C.a.R. และโปรแกรม Euler


งม

nw
ลา

สาหรับนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปี ที่ 3


ari
ดุ ก

a kh
สม

rin
หอ

yS
rar
นกั

L ib
สาํ

al
n tr
Ce
289

แบบสอบถามวัดความพึงพอใจที่มีต่อเนื้ อหากาหนดการเชิ งเส้น


และการจัดกิ จกรรมการเรียนรู้ โดยใช้โปรแกรม C.a.R. และโปรแกรม Euler
สาหรับนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปี ที่ 3

คาชี้แจง
1. แบบสอบถามวัดความพึงพอใจฉบับนี้เป็นแบบวัดความพึงพอใจมีต่อเนื้อหากาหนดการ
เชิงเส้น และการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ โดยใช้โปรแกรม C.a.R. และโปรแกรม Euler สาหรับนักเรียน
ชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 3 มีจานวน 20 ข้อ แบ่งเป็น 2 ตอน คือ
ตอนที่ 1 เป็นแบบสอบถามวัดความพึงพอใจต่อเนื้อหาเรือ่ งกาหนดการเชิงเส้น
ตอนที่ 2 เป็นแบบสอบถามวัดความพึงพอใจต่อการจัดกิจกรรมการเรียนรูโ้ ดยใช้


วโิ ร
โปรแกรม C.a.R. และโปรแกรม Euler

ทร
2. ให้นกั เรียนทาเครือ่ งหมาย ✓ ลงในช่องทางขวามือหลังข้อความทีต่ รงกับความรูส้ กึ ที่
คร
นิ
แท้จริงของนักเรียนเพียงช่องเดียว คาตอบทีน่ กั เรียนตอบนัน้ ไม่มถี ูกหรือผิด เพราะแต่ละคนย่อมมี
นี
ศร

it y
ers
ความรูส้ กึ แตกต่างกันไป และคาตอบทีน่ กั เรียนตอบนัน้ ไม่มผี ลต่อการให้คะแนน
ลยั
ยา

n iv
3. ในแต่ละช่องทีแ่ สดงความพึงพอใจ มีความหมายดังนี้
tU
วทิ
หา

พึงพอใจมากทีส่ ุด หมายความว่า นักเรียนเห็นด้วยกับข้อความข้อนัน้ มากทีส่ ุด


ir o
งม

nw

พึงพอใจมาก หมายความว่า นักเรียนเห็นด้วยกับข้อความข้อนัน้ มาก


ลา

ari

พึงพอใจปานกลาง หมายความว่า นักเรียนเห็นด้วยกับข้อความข้อนัน้ ปานกลาง


ดุ ก

a kh
สม

rin

พึงพอใจน้อย หมายความว่า นักเรียนเห็นด้วยกับข้อความข้อนัน้ น้อย


หอ

yS

พึงพอใจน้อยทีส่ ุด หมายความว่า นักเรียนเห็นด้วยกับข้อความข้อนัน้ น้อยทีส่ ุด


rar
นกั

L ib
สาํ

al
n tr
Ce
290

ตอนที่ 1 แบบสอบถามวัดความพึงพอใจต่อเนื้อหาเรือ่ งกาหนดการเชิงเส้น

ระดับความพึงพอใจ
ข้อที่ ข้อความ มาก มาก ปาน น้ อย น้ อย
ที่สดุ กลาง ที่สดุ
1 เมือ่ นักเรียนเรียนเนื้อหาเรือ่ งกาหนดการ
เชิงเส้น แล้วนักเรียนมีความสุข สนุกสนาน
2 เมือ่ นักเรียนเรียนเนื้อหาเรือ่ งกาหนดการ
เชิงเส้น แล้วทาให้นกั เรียนตัดสินใจได้อย่าง
มีเหตุผล


วโิ ร
3 เมือ่ นักเรียนเรียนเนื้อหาเรือ่ งกาหนดการ

ทร
เชิงเส้น แล้วทาให้นกั เรียนคิดและทางาน
นิ
คร
อย่างมีระบบ
นี
ศร

it y
4 เมือ่ นักเรียนเรียนเนื้อหาเรือ่ งกาหนดการ
ers
ลยั
ยา

เชิงเส้น แล้วทาให้นกั เรียนเห็นคุณค่าของ


n iv
tU
วทิ

คณิตศาสตร์มากขึน้
หา

ir o
งม

5 นักเรียนสามารถนาความรูเ้ กีย่ วกับ


nw
ลา

ari

กาหนดการเชิงเส้นไปใช้ในชีวติ ประจาวันได้
ดุ ก

a kh

6 ภาษาและสัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์
สม

rin
หอ

yS

ในเนื้อหากาหนดการเชิงเส้นอ่านแล้วเข้าใจ
rar
นกั

ง่ายและไม่สบั สน
L ib
สาํ

7 นักเรียนสามารถทาใบกิจกรรม เกีย่ วกับ


al
n tr

เนื้อหาเรือ่ งกาหนดการเชิงเส้นได้ดว้ ยตนเอง


Ce

8 นักเรียนสามารถทาการแก้โจทย์ปญั หาของ
กาหนดการเชิงเส้นได้ดว้ ยตนเอง
9 การเรียนเรือ่ งกาหนดการเชิงเส้น ทาให้
นักเรียนเข้าใจเนื้อหาเรือ่ งสมการและอสมการ
มากขึน้
10 กาหนดการเชิงเส้นเป็นเนื้อหาทีน่ ่าสนใจ
291

ตอนที่ 2 แบบสอบถามวัดความพึงพอใจต่อการจัดกิจกรรมการเรียนรูโ้ ดยใช้โปรแกรม C.a.R. และ


โปรแกรม Euler

ระดับความพึงพอใจ
ข้อที่ ข้อความ มาก มาก ปาน น้ อย น้ อย
ที่สดุ กลาง ที่สดุ
11 การจัดกิจกรรมการเรียนรูเ้ รือ่ งกาหนดการ
เชิงเส้นโดยใช้โปรแกรม C.a.R. และ
โปรแกรม Euler ทาให้นกั เรียนมีความเข้าใจ
เนื้อหามากยิง่ ขึน้


วโิ ร
12 การจัดกิจกรรมการเรียนรูเ้ รือ่ งกาหนดการ

ทร
เชิงเส้นโดยใช้โปรแกรม C.a.R. และ
นิ
คร
โปรแกรม Euler ทาให้นกั เรียนสามารถสรุป
นี
ศร

it y
แนวคิดทีส่ าคัญได้สะดวกมากขึน้
ers
ลยั

13 การจัดกิจกรรมการเรียนรูเ้ รือ่ งกาหนดการ


ยา

n iv
tU

เชิงเส้นโดยใช้โปรแกรม C.a.R. และ


วทิ
หา

ir o

โปรแกรม Euler กระตุน้ ให้นกั เรียน


งม

nw
ลา

ari

เกิดการแสวงหาความรูด้ ว้ ยตนเอง
ดุ ก

a kh

14 การจัดกิจกรรมการเรียนรูเ้ รือ่ งกาหนดการ


สม

rin
หอ

yS

เชิงเส้นโดยใช้โปรแกรม C.a.R. และ


rar
นกั

โปรแกรม Euler ทาให้นกั เรียนมีความ


L ib
สาํ

กระตือรือร้น และสนุกกับการเรียนมากขึน้
al
n tr

15 การจัดกิจกรรมการเรียนรู้เรือ่ งกาหนดการ
Ce

เชิงเส้นโดยใช้โปรแกรม C.a.R. และ


โปรแกรม Euler ทาให้นกั เรียนมีโอกาส
แลกเปลีย่ นความคิดเห็นกับเพื่อนมากขึน้
16 การจัดกิจกรรมการเรียนรู้เรือ่ งกาหนดการ
เชิงเส้นโดยใช้โปรแกรม C.a.R. และ
โปรแกรม Euler ทาให้นกั เรียนมีความมันใจ่
ในตัวเองเกีย่ วกับการเรียนมากขึน้
292

ระดับความพึงพอใจ
ข้อที่ ข้อความ มาก มาก ปาน น้ อย น้ อย
ที่สดุ กลาง ที่สดุ
17 การจัดกิจกรรมการเรียนรู้เรือ่ งกาหนดการ
เชิงเส้นโดยใช้โปรแกรม C.a.R. และ
โปรแกรม Euler ช่วยฝึกทักษะการคิด
คานวณ และมีความละเอียดรอบคอบ
18 การจัดกิจกรรมการเรียนรู้เรือ่ งกาหนดการ
เชิงเส้นโดยใช้โปรแกรม C.a.R. และ
โปรแกรม Euler มีความหลากหลาย


วโิ ร
ชวนให้คดิ และไม่น่าเบื่อ

ทร
19 การจัดกิจกรรมการเรียนรูเ้ รือ่ งกาหนดการ
นิ
คร
เชิงเส้นโดยใช้โปรแกรม C.a.R. และ
นี
ศร

it y
โปรแกรม Euler ทาให้นกั เรียนมีกาลังใจ
ers
ลยั

และตัง้ ใจเรียนมากขึน้
ยา

n iv
tU
วทิ

20 ทาให้นกั เรียนมีเจตคติทด่ี ีต่อการเรียน


หา

ir o
งม

คณิตศาสตร์
nw
ลา

ari
ดุ ก

a kh
สม

rin
หอ

yS
rar
นกั

L ib
สาํ

al
n tr
Ce
สาํ
นกั
หอ
Ce สม
n tr ดุ ก
al ลา
L ib งม
rar หา
yS วทิ
rin ยา
a kh ลยั
ศร
นี

ภาคผนวก ช
ari
nw คร

รายนามผูเ้ ชี่ยวชาญ
ir o นิ ทร
tU วโิ ร
n iv ฒ
ers
it y
293
294

รายนามผูเ้ ชี่ยวชาญ
รายนามผูเ้ ชีย่ วชาญการสอนคณิตศาสตร์ ทีไ่ ด้รบั ความอนุเคราะห์ตรวจสอบความถูกต้อง
ด้านเนื้อหาและความเหมาะสมของชุดกิจกรรมการเรียนการสอน เรือ่ งกาหนดการเชิงเส้นโดยใช้
โปรแกรม C.a.R. และโปรแกรม Euler ความเทีย่ งตรงของเนื้อหา ความเหมาะสมของแผนการ
จัดการเรียนรู้ ความเหมาะสมของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ ์ทางการเรียนเรือ่ งกาหนดการเชิงเส้น
และการใช้ภาษาในแบบสอบถามวัดความพึงพอใจของนักเรียนทีไ่ ด้เรียนด้วยชุดกิจกรรมการเรียน
การสอนเรือ่ งกาหนดการเชิงเส้น โดยใช้โปรแกรม C.a.R. และโปรแกรม Euler มีดงั นี้

1. อาจารย์ ธนูชยั ภูอุดม


อาจารย์ภาควิชาคณิตศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ


วโิ ร
2. อาจารย์เมตต์ แย้ มวงษ์

ทร
อาจารย์ภาควิชาคณิตศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
นิ
คร
นี
ศร

it y
3. อาจารย์ กาญจนา พานิ ชการ
ers
ลยั

อาจารย์ภาควิชาคณิตศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ


ยา

n iv
tU
วทิ
หา

ir o
งม

nw
ลา

ari
ดุ ก

a kh
สม

rin
หอ

yS
rar
นกั

L ib
สาํ

al
n tr
Ce
สาํ
นกั
หอ
Ce สม
n tr ดุ ก
al ลา
L ib งม
rar หา
yS วทิ
rin ยา
a kh ลยั
ศร
ari นี

ประวัติย่อผู้วิจยั
nw คร
ir o นิ ทร
tU วโิ ร
n iv ฒ
ers
it y
295
296

ประวัติย่อผู้วิจยั

ชื่อ ชื่อสกุล นางสาวเกตุกนก หนูดี


วันเดือนปีเกิด 8 มกราคม 2528
สถานทีเ่ กิด อาเภอเมือง จังหวัดตรัง
สถานทีอ่ ยูป่ จั จุบนั 96 หมู่ 6 ตาบลน้าพุ อาเภอบ้านนาสาร จังหวัดสุราษฏร์ธานี
ประวัตกิ ารศึกษา
พ.ศ. 2542 ชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 3
จาก โรงเรียนบ้านควนใหม่ จังหวัดสุราษฏร์ธานี
พ.ศ. 2545 ชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 6


วโิ ร
จาก โรงเรียนบ้านนาสาร จังหวัดสุราษฏร์ธานี

ทร
พ.ศ. 2549 วิทยาศาสตรบัณฑิต (วท.บ.) สาขาวิชาคณิตศาสตร์
นิ
คร
จาก มหาวิทยาลัยทักษิณ
นี
ศร

it y
พ.ศ. 2553 การศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม.) สาขาวิชาคณิตศาสตร์
ers
ลยั

จาก มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
ยา

n iv
tU
วทิ
หา

ir o
งม

nw
ลา

ari
ดุ ก

a kh
สม

rin
หอ

yS
rar
นกั

L ib
สาํ

al
n tr
Ce

You might also like