You are on page 1of 84

คูม่ ือ นักส่งกำลังบำรุง ทบ. มืออำชีพ โดย : กจบ.

58

บทนำ สำรบัญ

“กำรส่ งกำลังบำรุ ง...ในมุมมองของ นทน.กจบ.58” ฉบับนี ้ ถูกเรี ยบเรี ยงขึ ้นระหว่ำงกำรศึกษำ


หลักสูตร กจบ. (กำรจัดงำนส่งกำลังบำรุงชันสู
้ ง) รุ่ นที่ 58 โดยมีจดุ เริ่ มต้ นจำก นทน.(นำยทหำรนักเรี ยน) นำย บทนำ
หนึง่ ...ก็คือตัวผมเอง^^ ซึง่ ไม่มีพื ้นฐำนและประสบกำรณ์กำรทำงำนด้ ำนกำรส่งกำลังบำรุ งโดยตรงมำก่อน แต่
เมื่อมีโอกำสได้ มำศึกษำในหลักสูตรนี ้ ได้ พบเจอบุคลำกรด้ ำนกำรส่งกำลังบำรุ งชันหั
้ วกระทิจำกทัว่ ทังกองทั
้ พบก 1 หลักพืน้ ฐำนกำรส่ งกำลังบำรุ ง 2
และจำกนอกกองทัพบก ทำให้ ผมต้ องค้ นคว้ ำหำตำรำที่อ่ำนง่ำย และเข้ ำใจง่ำย เพื่อเป็ นกำรปูพื ้นฐำนระหว่ำง
2 วงรอบกำรส่ งกำลัง 12
กำรศึกษำในหลักสูตร กจบ.นี ้ จนกระทัง่ มำเจอหนังสือเล่ มนี ้ โดยบังเอิญ...วำงอยู่ในห้ องสมุดของ รร.กบ.ทบ.
(ซึง่ ใช้ เป็ นห้ องพักทำนกำแฟของ นทน.) พอหยิบมำดูก็พบชื่อที่ค้ นุ เคย...พล.ต.มำรุ ต ลิม้ เจริญ ผบ.บชร.2 (ยศ/ 3 กำรจัดงำนควำมต้ องกำร 14
ตำแหน่งในขณะนัน)
้ “พี่ต้อ” นัน่ เอง รุ่ นพี่ซงึ่ ผมเคำรพและศรัทธำในควำมสำมำรถด้ ำนกำรส่งกำลังบำรุงตังแต่
้ ผม
4 กำรจัดหำ 17
เป็ น ว่ำที่ ร.ต. ในพื ้นที่ ทภ.2 (ป.พัน.23) ยิ่งทำให้ หนังสือเล่มนันน่
้ ำสนใจมำกยิ่งขึ ้น ผมจึงใคร่ขอใช้ เนื ้อหำ
บำงส่วนและวิธีกำรนำเสนอจำกหนังสือทังสองเล่
้ มนี ้ รวมกับเนื ้อหำที่ได้ ศกึ ษำในหลักสูตร กจบ. 5 กำรแจกจ่ ำย 32

กำรได้ รับควำมไว้ วำงใจจำกอำจำรย์และเพื่อนๆ ให้ ปฏิบตั หิ น้ ำที่ หน.วิชำกำร ทำให้ ผมมีโอกำสได้ 6 กำรซ่ อมบำรุ ง 40

ทำงำนรุ่ นร่ วมกับพี่ๆเพื่อนๆที่เก่งๆหลำยท่ำน เห็นควำมทุม่ เทของตุ๊ก วิชำกำร,พี่ตอ๋ ง,พี่เปิ ล้ ควำมรอบรู้ของพี่ปี 7 กำรจำหน่ ำย 43


เตอร์ , พี่จร และอีกหลำยๆท่ำนที่ไม่ได้ เอ่ยชื่อ ซึง่ ต่ำงสนับสนุนกำรจัดทำเอกสำรฉบับนี ้ โดยมีวตั ถุประสงค์ในกำร
จัดทำร่ วมกันคือ เพื่อทบทวนควำมรู้ ที่ได้ เรี ยนมำ, ใช้ เป็ นเอกสำรอ่ำนประกอบกำรทำงำน หรื อใช้ เพื่อประโยชน์ 8 กำรควบคุม 51
อื่นๆตำมสมควร ทังนี
้ ้ ผมขอเน้ นว่ำเอกสำรฉบับนี ้มิใช่ เอกสำรที่ใช้ ในกำรอ้ ำงอิงทำงวิชำกำร เพรำะเกิดจำก 9 หลักกำรใช้ กำลังเพื่อกำรป้ องกันประเทศ 54
มุมมองของ นทน.กจบ.58 คนหนึง่ เท่ำนัน้ และหำกท่ำนผู้ใดตรวจพบข้ อผิดพลำดคลำดเคลื่อนใดๆ ผมขออภัยมำ
ณ ที่นี ้ หรื อหำกท่ำนข้ อแนะนำใดๆ รบกวนแจ้ งผ่ำนทำงหลักสูตร กจบ.รร.กบ.ทบ.เพื่อกำรปรับปรุงและพัฒนำ 10 กำรส่ งกำลังบำรุ งในสนำม 55

ต่อไป 11 กำรส่ งกำลังบำรุ งในยำมสงครำม 77

สุดท้ ำยนี ้ ผมขอขอบพระคุณท่ำน รอง ผบ.รร.กบ.ทบ. (พ.อ.สมบัติ เพชรประดับวงศ์ ), อจ.นก เอกสำรอ้ ำงอิง :
(พ.อ.หญิง สว่ ำงจิตต์ กำญจนะโกมล), คณำจำรย์, ทีมวิชำกำร และเพื่อนๆ กจบ.58 ที่เป็ นพี่เลี ้ยงคอยแนะนำ
และให้ กำลังใจเสมอมำ …หวังเป็ นอย่ำงยิ่งว่ำ เอกสำรฉบับนี ้จะมีประโยชน์ตอ่ ท่ำนที่สนใจ และเป็ นจุดเริ่ มต้ น ห
สำหรับ นทน.กจบ.รุ่ นต่อๆไป เพื่อปรับปรุ งและพัฒนำให้ ดียิ่งๆขึ ้น สมบูรณ์มำกยิง่ ขึ ้น
นั

ส่ผู้สงกนับำลัสนุงในสนำม
นไปสู่ความมีชัย
n
พ.ท. ภาสกร ยะสะวุฒิ และทีมวิชาการ กจบ.58 – เรี ยบเรี ยง
สื2d 1

คูม่ ือ นักส่งกำลังบำรุง ทบ. มืออำชีพ โดย : กจบ.58

1 หลักพื้นฐานการส่ งกาลังบารุ ง
หลักกำรส่ งกำลังบำรุ ง คาสั่ง ทบ. ที่ 487/2543 เรื ่องการกาหนดภารกิ จ นโยบาย แนวความคิ ด และความรับผิ ดชอบ ในการส่งกาลังบารุงของ ทบ.
ขอบเขตของงำนกำรส่ งกำลังบำรุ ง
1) กำรส่ งกำลัง
ควำมหมำยของกำรส่ งกำลังบำรุ ง : “กำรส่ งกำลังบำรุ ง” เป็ นงำนสำขำหนึ่งของกำรช่ วยรบ ประกอบไปด้ วยกำรวำงแผนและกำร หลักกำรส่ งกำลังบำรุ ง 2) กำรซ่ อมบำรุ ง
ปฏิบัติกำรสนับสนุนหน่ วยเกี่ยวกับงำนกำรช่ วยรบ รวมทัง้ กิจกรรมทัง้ ปวงที่นอกเหนือไปจำกกำรยุทธ ได้ แก่  กำรรวมกำรสนับสนุน 3) กำรขนส่ ง
- กำรกำหนดนโยบำยกำรวำงแผน กำรวิจัยและพัฒนำกำร กำรทำงบประมำณในกำรส่ งกำลังบำรุ ง  กำรสนับสนุนจำกข้ ำง 4) กำรบริกำรทำงกำรแพทย์
- กำรออกแบบและพัฒนำ กำรจัดหำ กำรเก็บรักษำ กำรแจกจ่ ำย กำรเคลื่อนย้ ำย กำรซ่ อมบำรุ ง กำรส่ งกลับ และกำร หลังไปข้ ำงหน้ ำ 5) กำรบริกำรอื่น ๆ
จำหน่ ำยยุทโธปกรณ์  ควำมเชื่อถือได้
- กำรเคลื่อนย้ ำย กำรส่ งกลับ และกำรรักษำพยำบำลกำรักษำพยำบำลกำลังพล  ควำมง่ ำย ปั จจัยสำคัญในกำรส่ งกำลังบำรุ ง
- กำรจัดหำ หรือกำรก่ อสร้ ำง กำรซ่ อมแซม กำรดำเนินงำนและกำรจัดตัง้ สิ่งอำนวยควำมสะดวกต่ ำงๆ  กำรทันเวลำ ประกอบด้ วย
- กำรจัดหำหรือจัดให้ มีบริกำรต่ ำงๆ  กำรได้ ส่วนสัมพันธ์  คน
 อำนำจหน้ ำที่  เงิน
วัตถุประสงค์ ของกำรส่ งกำลังบำรุ ง คือ  ควำมปลอดภัย  สิ่งอุปกรณ์
จัด สป.และบริกำรอย่ำงเพียงพอและทันเวลำ ให้ กบั  ควำมประหยัด  ระบบที่เหมำะสม
แนวควำมคิดในกำรส่ งกำลังบำรุ งของ ทบ.
หน่วยรับกำรสนับสนุนตำมที่หน่วยรับกำรสนับสนุน 1) ใช้ ระบบกำรส่งกำลังบำรุ งระบบเดียวกัน ทังในยำมปกติ
้ และในยำมสงครำมให้ มำก
ต้ องกำร ที่สดุ เท่ำที่จะทำได้ • สป 1 เสบียงคน และเสบียงสัตว์ พธ., กส.
ภำรกิจในกำรส่ งกำลังบำรุ งของ ทบ. 2) ต้ องเป็ นไปตำมมำตรฐำนเดียวกัน แต่อำจมีข้อแตกต่ำงกันบ้ ำง ทังนี ้ ้เนื่องจำกควำม • สป 2 สป.ที่กำหนดไว้ ในอัตรำ ทุกสำย
แตกต่ำงของที่ตงั ้ สภำพภูมิประเทศ ลมฟ้ำอำกำศ และเหตุกำรณ์ทเี่ ผชิญหน้ ำหน่วยนัน้ ๆ
สนับสนุนทำงกำรส่งกำลังบำรุงแก่หน่วยต่ำง ๆ • สป 3 น ้ำมันเชื ้อเพลิง และน ้ำมันอุปกรณ์ พธ.
3) มอบควำมรับผิดชอบในกำรส่งกำลังบำรุ งให้ แก่ กองทัพภำคเป็ นหน่วยดำเนินกำร
ใน ทบ. ให้ สำมำรถทรงชีพอยูไ่ ด้ และสำมำรถ • สป 4 สป.นอกอัตรำ (ที่มิได้ กำหนดไว้ ในอัตรำ) ทุกสำย
สนับสนุนหน่วยใช้ ที่อยู่ในเขตพื ้นที่ให้ มำกที่สดุ โดยกำรกระจำยสิง่ อุปกรณ์ กำรบริ กำร และ
ปฏิบตั ิภำรกิจได้ สำเร็จตำมควำมมุง่ หมำย และเป็ น • สป. 5 กระสุน และวัตถุระเบิด สพ., วศ.
สิง่ อำนวยควำมสะดวกต่ำง ๆ ออกไปยังสถำนที่ตงกำรส่ ั้ งกำลังบำรุ งในส่วนภูมิภำค
ผลดีตอ่ ทบ. 4) จัดและเตรี ยมให้ มีสงิ่ อุปกรณ์อยูใ่ นสภำพพร้ อมใช้ งำนตลอดเวลำด้ วยกำรจัดหำตำมปกติ
สนับสนุนทำงกำรส่งกำลังบำรุงแก่เหล่ำทัพอื่น ๆ และยึดถือนโยบำยกำรดำเนินกำรเกี่ยวกับกิจกำรอุตสำหกรรมทหำรของกระทรวงกลำโหม ฝ่ ำยยุทธบริกำร 9 สำย
หน่วยรำชกำร และองค์กำรอื่นใดเมื่อได้ รับกำรร้ องขอ เป็ นหลัก • พธ.ทบ. (นนทบุรี)
รวมทังก้ ำลังชำติพนั ธมิตรตำมที่มีข้อตกลงกันไว้ 5) จัดและเตรี ยมให้ มีกำรสะสมสิง่ อุปกรณ์สำรองสงครำมที่จำเป็ นไว้ • กส.ทบ. (นครปฐม)
รวมทังเตรี
้ ยมกำรระดมสรรพกำลังด้ ำนกำรส่งกำลังบำรุ งไว้ ให้ พร้ อม • กช. (รำชบุรี)
นโยบำยในกำรส่ งกำลังบำรุ งของ ทบ. 6) จัดและเตรี ยมให้ มีกำรบริกำร สิง่ ก่อสร้ ำง กำรสำธำรณูปโภค รวมทังสิ ้ ง่ อำนวย • ขส.ทบ. (กรุ งเทพฯ)
- ดำเนินกำรส่งกำลังบำรุงตำมหลักกำรส่งกำลังบำรุง ควำมสะดวกทังปวง ้ ให้ สำมำรถสนองควำมต้ องกำรแก่หน่วยต่ำง ๆ ได้ อย่ำงครบถ้ วน • สส. (กรุ งเทพฯ)
- ทำกำรส่งกำลังบำรุงโดยใช้ สิ่งอุปกรณ์ กำลังพล 7) จัดให้ มีหน่วยส่งกำลังบำรุ งอย่ำงเพียงพอ และให้ ได้ สว่ นสัมพันธ์กบั หน่วยกำลังรบ • สพ.ทบ. (กรุ งเทพฯ)
ของ ทบ. เท่ำที่มีอยู่ และที่สำมำรถจัดหำมำได้ เป็ น โดยกำรปรับปรุ งเพิ่มขีดควำมสำมำรถของหน่วยส่งกำลังบำรุงที่มีอยู่แล้ ว และจัดตังหน่ ้ วย • วศ.ทบ. (กรุ งเทพฯ)

หลัก สำหรับงบประมำณ ให้ บริหำรอยูใ่ นวงเงินที่ได้ รับ ส่งกำลังบำรุ งขึ ้นใหม่ตำมควำมจำเป็ น • พบ. (กรุ งเทพฯ)
• ยย.ทบ. (กรุ งเทพฯ)
กำรจัดสรรจำก ทบ. 8) พัฒนำระบบกำรส่งกำลังบำรุง ให้ เหมำะสมและทันสมัยอยูเ่ สมอ
2
คูม่ ือ นักส่งกำลังบำรุง ทบ. มืออำชีพ โดย : กจบ.58

ทบทวนหลักการส่ งกาลังบารุง

หลักกำรส่ งกำลังบำรุ ง 1. การรวมการสนั บสนุ น หมำยถึงกำรรวมขีดควำมสำมำรถในกำรสนับสนุนทำงกำรส่งกำลังบำรุง ของหน่ วยสนับสนุ นทัง้ ปวง ไปสนับสนุนหน่วยทำงยุทธวิธีให้
สำมำรถปฏิบตั ิภำรกิจตำมที่ได้ รับมอบ

2. การสนับสนุนจากข้ างหลังไปข้ างหน้ า หน่วยสนับสนุนทำงกำรส่งกำลังบำรุงที่อยูใ่ นเขตหลัง หรื อใกล้ กบั ฐำนกำรส่งกำลังบำรุง จะต้ องให้ กำรสนับสนุนแก่ หน่ วยที่อยู่ใกล้ พืน้ ที่กำรรบตำมลำดับ รวมทังหมำยถึ
้ งกำรสนับสนุน
จะกระทำจำกหน่ วยเหนือไปยังหน่ วยรองด้ วย เพื่อเป็ นกำรปลดเปลื ้องภำระงำนด้ ำนกำรส่งกำลังบำรุงของหน่วยรองให้ มำกที่สดุ

3. ความเชื่อถือได้ หน่วยสนับสนุนทำงกำรส่งกำลังบำรุงจะต้ องมีขีด

ควำมสำมำรถ ซึง่ ทำให้ หน่วยรับกำรสนับสนุนมีควำมมัน่ ใจได้ วำ่ จะได้ รับกำรสนับสนุนได้ ตำมเวลำและสถำนที่ที่ได้ วำงแผนไว้ ในกำรนี จ้ ำเป็ นต้ องมีแหล่ งสนับสนุนสำรองและแผนสำรองไว้ ผู้บงั คับบัญชำทุกระดับชันจะต้
้ องป้ องกัน
แหล่ งสนับสนุนของตนจำกกำรสูญหำยจำกสำเหตุตำ่ งๆ ตลอดจนกำรใช้ อย่ำงไม่ประหยัด

4. ความง่ าย ควำมยุง่ ยำกสลับซับซ้ อนเกี่ยวกับระบบกำรส่งกำลังบำรุงจะต้ องมีน้อยที่สดุ ระบบกำรส่งกำลังบำรุงที่ดีควรจะ

 หลีกเลี่ยงแบบพิมพ์ที่ต้องกรอกข้ อควำมต่ำง ๆ โดยที่ไม่ได้ นำข่ำวสำรที่กรอกนันมำใช้


้ ประโยชน์

 ไม่ผ่ำนสำยงำนและเจ้ ำหน้ ำที่มำก

 ไม่มีกำรขออนุมตั ิกนั หลำยลำดับชัน้

 ใช้ สิ่งอุปกรณ์ที่ใช้ ร่วมกันได้ หลำย ๆ รำยกำร และสำมำรถใช้ งำน ถอดประกอบและซ่อมบำรุงได้ โดยง่ำยอีกด้ วย

5. การทันเวลา กำรส่งกำลังบำรุงจะต้ องมีและใช้ ได้ ในปริมำณที่ต้องกำร ณ เวลำและสถำนที่ท่กี ำหนดเฉพำะเรื่องเวลำนันต้


้ องให้ มีควำมพอดีโดยไม่ลำ่ ช้ ำแต่ไม่ควรก่อนเวลำมำกนัก

6. การได้ ส่วนสัมพันธ์ กำรจัดหน่วยส่งกำลังบำรุงต้ องให้ เหมำะสมกับควำมต้ องกำรในกำรสนับสนุน ไม่ น้อยเกินไปจนทำให้ ส่วนดำเนินกลยุทธ์ ต้องเสียภำรกิจทำงยุทธกำรเพรำะขำดกำรสนับสนุนที่เพียงพอ กำรจัดงำนของ
หน่วยส่งกำลังบำรุงเองต้ องได้ สว่ นสัมพันธ์กนั ด้ วย เช่น ต้ องมีเจ้ ำหน้ ำที่ซอ่ มบำรุงให้ สมั พันธ์กบั เจ้ ำหน้ ำที่สง่ กำลัง หรือต้ องมีหน่วยส่งกลับทำงกำรแพทย์ให้ สมั พันธ์กบั หน่วยรักษำพยำบำล เป็ นต้ น

7. อานาจหน้ าที่ ถึงแม้ ควำมรับผิดชอบทำงกำรส่งกำลังบำรุงจะเป็ นควำมรับผิดชอบของผู้บงั คับบัญชำแต่เพียงผู้เดียวก็ตำม แต่สมควรมอบอำนำจหน้ ำที่ให้ กับผู้บังคับหน่ วยสนับสนุ นทำงกำรส่ งกำลังบำรุ งให้ เพียงพอที่จะ
ปฏิบตั ิหน้ ำที่ให้ เป็ นผลสำเร็จ และมีควำมอ่อนตัวพอสมควร โดยไม่ถกู แทรกแซงจำกบุคคลอื่นๆ ด้ วย
3
คูม่ ือ นักส่งกำลังบำรุง ทบ. มืออำชีพ โดย : กจบ.58
8. ความปลอดภัย กำรสนับสนุนทำงกำรส่งกำลังบำรุงต้ องไม่ถกู ขัดขวำงอย่ำงรุนแรงจำกกำรกระทำของข้ ำศึก และด้ วยข้ อห้ ำมจำกมำตรกำรรักษำควำมปลอดภัยของฝ่ ำยเดียวกัน

9. การประหยัด หมำยถึงกำรใช้ กำลังพล สิ่งอุปกรณ์ กำรบริ กำรและสิ่งอำนวยควำมสะดวกในกำรส่งกำลังบำรุง เท่ ำที่จำเป็ นให้ ค้ ุมค่ ำมำกที่สุด โดยคำนึงถึงฐำนะทำงเศรษฐกิจของประเทศเป็ นสำคัญ จะต้ องเพ่งเล็งในเรื่ องกำร
ปรนนิบตั ิบำรุงและซ่อมบำรุงสิ่งอุปกรณ์ตำ่ ง ๆ ให้ สำมำรถใช้ สิ่งอุปกรณ์นนั ้ ๆ ให้ คงสภำพได้ นำนที่สดุ

 ใช้ ระบบกำรส่งกำลังบำรุงระบบเดียวกันทังในยำมปกติ
้ และในยำมสงครำมให้ มำกที่สดุ เท่ำที่จะทำได้

 ต้ องเป็ นไปตำมมำตรฐำนเดียวกันแต่อำจจะมีข้อแตกต่ำงกันบ้ ำงทังนี


้ ้เนื่องจำกควำมแตกต่ำงของที่ตงั ้ สภำพภูมิประเทศ ลมฟ้ำอำกำศ และเหตุกำรณ์ที่เผชิญหน้ ำหน่วยนันๆ

 มอบควำมรับผิดชอบในกำรส่งกำลังบำรุงให้ แก่กองทัพภำค เป็ นหน่วยดำเนินกำรสนับสนุนหน่วยใช้ ที่อยูใ่ นเขตพื ้นที่ให้ มำกที่สดุ โดยกำร  กาหนดระดับสะสมสิ่ งอุปกรณ์ไว้ให้นอ้ ยทีส่ ดุ
กระจำยสิ่งอุปกรณ์ กำรบริกำร และสิ่งอำนวยควำมสะดวกต่ ำงๆ ออกไปยังสถำนที่ตงั ้ กำรส่ งกำลังบำรุ งในส่ วนภูมิภำค
 ใช้การขนย้ายทางอากาศให้นอ้ ยทีส่ ดุ
 จัดและเตรียมกำรให้ มีส่ งิ อุปกรณ์ อยู่ในสภำพพร้ อมใช้ งำนตลอดเวลำด้ วยกำรจัดหำตำมปกติ และยึดถือนโยบำยกำรดำเนินกำรเกี่ยวกับ
 ยกขนเคลือ่ นย้ายสิ่ งอุปกรณ์ให้นอ้ ยครัง้ ทีส่ ดุ
กิจกำรอุตสำหกรรมทหำรของกระทรวงกลำโหมเป็ นหลัก
 มีทีต่ งั้ ทางการส่งกาลังบารุงน้อยทีส่ ดุ
 จัดและเตรียมให้ มีกำรสะสมสิ่งอุปกรณ์ สำรองสงครำมที่จำเป็ นไว้ รวมทังเตรี
้ ยมกำรระดมสรรพกำลังด้ ำนกำรส่งกำลังบำรุงไว้ ให้ พร้ อม
 กระจายทีต่ งั้ และหน่วยส่งกาลังบารุงออกไปให้มากทีส่ ดุ
 จัดและเตรียมให้ มีกำรบริกำร สิ่งก่ อสร้ ำง กำรสำธำรณูปโภครวมทัง้ สิ่งอำนวยควำมสะดวกทังปวง
้ ให้ สำมำรถสนองควำมต้ องกำร เท่าทีไ่ ม่เป็ นอุปสรรคต่อการควบคุมและการระวังป้องกัน
แก่หน่วยต่ำง ๆ ได้ อย่ำงครบถ้ วน  ใช้สิ่งอานวยความสะดวก สิ่ งอุปกรณ์และสาธารณูปโภค
 จัดให้ มีหน่ วยส่ งกำลังบำรุ งอย่ ำงเพียงพอ และให้ ได้ ส่วนสัมพันธ์ กบั หน่วยกำลังรบ โดยกำรปรับปรุงเพิ่มขีดควำมสำมำรถของหน่วย ที ม่ ี อยู่ในพืน้ ที ป่ ฏิ บตั ิ การตลอดจนยุทโธปกรณ์ทีย่ ึดได้

ส่งกำลังบำรุงที่มีอยูแ่ ล้ ว และจัดตังหน่
้ วยส่งกำลังบำรุงขึ ้นใหม่ตำมควำมจำเป็ น กาลังพลพลเรื อนและเชลยศึกให้มากทีส่ ดุ

 พัฒนำระบบกำรส่งกำลังบำรุง ให้ เหมำะสมและทันสมัยอยู่เสมอ  ประหยัดทรัพยากรให้มากทีส่ ดุ

 ใช้เส้นทางสารองต่างๆให้มากทีส่ ดุ

 ใช้ชดุ ซ่อมบารุงเคลือ่ นทีใ่ ห้มากทีส่ ดุ

 จัดให้มีการสารวจอย่างกวดขันทีส่ ดุ

4
คูม่ ือ นักส่งกำลังบำรุง ทบ. มืออำชีพ โดย : กจบ.58

หลักการสนับสนุนทางการส่ งกาลังบารุ งในการรบ

กำรรบในปั จจุบนั สถำนกำรณ์ จะเปลี่ยนแปลงไปอย่ำงรวดเร็ว ทังนี


้ ้ เนื่องจำกหน่วยปฏิบตั ิมีควำมคล่องแคล่วในกำรเคลื่อนที่สงู ขึ ้น รวมทังอำวุ
้ ธสนับสนุนต่ำง ๆ ก็มีประสิทธิภำพสูงขึ ้นด้ วย ดังนัน้ กำรสนับสนุนทำงกำรส่ง
กำลังบำรุงในแต่ละภำรกิจทำงยุทธวิธี จำเป็ นต้ องใช้ วิธีกำรต่ำง ๆ อย่ำงใดอย่ำงหนึ่งหรือหลำยอย่ำงรวมกัน ดังนี ้.-

1.ใช้ เครื่องมือขนส่ งแบบรวมกำรให้ มำกที่สุด เช่น รวมเครื่ องมือขนส่งในเขตหน้ ำและเขตหลังเข้ ำด้ วยกัน เพื่อสนับสนุนกำรเคลื่อนย้ ำยภำรกิจใดภำรกิจหนึ่งให้ เกิดประสิทธิภำพสูงสุด

2.ลดกำรแบ่ งมอบสป.ของบำงหน่ วยลง เพื่อเตรียมระดับสะสมไว้ สนับสนุนหน่วยที่ติดพันภำรกิจสำคัญ เพื่อประกันควำมเพียงพอและต่อเนื่อง

3.โยกย้ ำยหน่วยส่งกำลังบำรุงจำกด้ ำนที่สำคัญน้ อยกว่ ำไปสนับสนุนด้ ำนที่สำคัญและเร่ งด่ วนสูงกว่ ำ

4.จัดวำง สป.ไว้ ณ ตำบลที่เหมำะสม ต่อกำรสนับสนุนของหน่วยแยก หรือหน่วยที่กำลังถอนตัว

5.กำรจัดระเบียบและควบคุมกำรเคลื่อนย้ ำย สป.และหน่ วยทหำร เพื่อกำรข้ ำมเครื่องกีดขวำง หรือช่องทำงบังคับที่สำคัญ ๆ

6.เพิ่มระดับกำรระวังป้ องกันที่ตงทำงกำรส่
ั้ งกำลังบำรุง และเส้ นทำงคมนำคมต่ำง ๆ

7.จัดทำ สป. ให้ มีควำมคล่ องแคล่ วในกำรเคลื่อนที่ เช่น แยกประเภทบรรจุหีบห่อกองไว้ เป็ นสัดส่วน หรือบรรทุกไว้ เพื่อให้ สำมำรถสนับสนุนหรือเคลื่อนย้ ำยไปได้ โดยไม่ชกั ช้ ำ

8.นำ สป.เช่น ยำนพำหนะ จำกหน่วยที่หมดประสิทธิภำพในกำรรบแล้ วมำไว้ ในสำยงำนส่งกำลังบำรุงเพื่อใช้ ในกำรแจกจ่ำย หรือทดแทนให้ หน่วยอื่น รวมทังน
้ ำ สป.ที่ได้ ดำเนินกำรชำระล้ ำงพิษจำกกำรรบมำแล้ ว ไว้ ในสำย
งำนกำรส่งกำลังบำรุง เพื่อแจกจ่ำยต่อไป

ในการปฏิ บตั ิ งานด้านการส่งกาลังบารุง ในฐานะฝ่ ายอานวยการ (ฝอ.) ของหน่วยตัง้ แต่ระดับกองทัพบก ถึงระดับกองพล (สธ.4) และตัง้ แต่ระดับกรมลงมา (ฝอ.4) เป็ นการ
ปฏิ บตั ิ งานของฝ่ ายอานวยการประสานงาน (หรื อฝ่ ายเสนาธิ การ) ซึ่งมี หน้าทีร่ ่ วมกับ ฝอ.ทุกประเภท และทุกสายงาน มี 5 ประการ ได้แก่ การหา/ให้ ข่าวสาร, การประมาณการ, การ
เสนอแนะ, การทาแผน/คาสั่ง และการกากับดูแล โดยมีการ “ประสานงาน” เป็ นใจกลางความเชื ่อมโยงในหน้าทีร่ ่ วมดังกล่าว

การแสวงข้ อตกลงใจทางทหาร (Military Decision Making Process: MDMP) เป็ นการขยายรายละเอี ยดหลักนิ ยมการรบอากาศ-พื ้นดิ น และจัดระเบียบปัจจัยต่างๆ เพื ่อ
พัฒนา ห/ป (หนทางปฏิ บตั ิ ) อย่างมี เหตุผล โดยกระบวนการดังกล่าวแบ่งออกเป็ น 4 กลุ่มงาน ได้แก่ การวิเคราะห์ ภารกิจ (Mission Analysis), การพัฒนาหนทางปฏิบัติ (Course of
Action Development), การวิเคราะห์ หนทางปฏิบัติ (Course of Action Analysis) และการตกลงใจ & การปฏิบัติ (Decision & Execution)

ในความเชื ่อมโยงของหน้าทีข่ อง ฝอ.และการแสวงข้อตกลงใจทางทหารของ สธ.4 (ฝอ.4) แสดงในแผนภาพในหน้าต่อไป...


รวมทัง้ ระเบี ยบ คาสัง่ อนุมตั ิ หลักการ ในงานส่งกาลังบารุง ของ ทบ.โดยสรุปเพื ่อให้เกิ ดความชัดเจน ตามตารางหน้าถัดไป...

5
คูม่ ือ นักส่งกำลังบำรุง ทบ. มืออำชีพ โดย : กจบ.58
สรุ ปวิชำฝ่ ำยอำนวยกำร ควำมสัมพันธ์ ระหว่ ำงหน้ ำที่ของ ฝอ. และงำนของ สธ.4 ในกำรแสวงข้ อตกลงใจ
งำนของ สธ.4 กับกำรแสวงข้ อตกลงใจ
โดยกระทาได้ จาก กำรหำและให้ ข่ำวสำร เรื่ องทีต่ ้ องกล่ าว
 การวิ เคราะห์ รายงาน -ที่ตงทำงกบ.
ั้ หน่วยเหนือ 1. รับมอบภำรกิจ
การหาข่ าวสาร
 การเยี ย่ มเยี ยนทาง ฝอ. การให้ ข่าวสาร -ระบบแจกจ่ำย สป. วิเครำะห์ ภำรกิจ 2. วิเครำะห์ แผน/คำสั่งหน่ วยเหนือ
-ฝ่ ำยอำนวยกำรอื่นๆ 3. จัดทำ IPB ขัน้ ต้ น
 การตรวจของ ฝอ. -ผบ.และ ฝอ. -กำรขำดแคลนยุทธภัณฑ์หลัก
-ฝ่ ำยกิจกำรพิเศษที่เกี่ยวข้ อง 4. กำหนดกิจเฉพำะ กิจแฝง และกิจสำคัญยิ่ง
-กระจำยข่ำวสำรที่จำเป็ น -อัตรำกระสุนที่ใช้ ได้ ข้ อเท็จจริง 5. พิจำรณำและทบทวนเครื่องมือที่มีอยู่
-ฝ่ ำยยุทธบริกำร ให้ ข่ำวสำร 6. พิจำรณำข้ อจำกัด(ข้ อห้ำม/ข้ อบังคับ)
ให้ มั่นใจว่ าหน่ วยรองเข้ าใจ และ  หน่วยเหนือ -สถำนภำพทำง กบ.ของหน่วย สมมุติฐำน
-แผน/คำสัง่ ชร.หน่วยเหนือ ขันต้
้ น 7. ตรวจสอบข้ อเท็จจริงและสมมติฐำน
ได้ ปฏิบัติตามแผนและคาสั่ง… เพื่อ  หน่วยรอง
-เบ็ดเตล็ด (น ้ำ,กำรเคลื่อนย้ ำย วิเครำะห์ 8. ประเมินค่ ำเกณฑ์ เสี่ยง
 ปลดเปลื้อง ผบ. จากรายละเอียด
-รำยงำน กบ.ตำมระยะเวลำ 9. กำหนดควำมต้ องกำรข่ ำวสำรสำคัญยิ่งที่
 หน่วยข้ ำงเคียง
หน่วย,กำรก่อสร้ ำงในสนำม) งำน ผบ.หน่ วยต้ องกำร
 ทบทวนการประมาณการ -ข้ อมูลส่งกำลังบำรุง  ภำรกิจแถลงใหม่ 10. วิเครำะห์ /วำงแผนกำรใช้ เวลำ
 รายงานความก้ าวหน้ าตามแผน/คาสั่ง -ประสบกำรณ์  หป.ข้ ำศึก 11. เขียนภำรกิจแถลงใหม่
ประมำณกำรส่ งกำลังบำรุ ง  เจตนำรมณ์ ผบ. 12. บรรยำยสรุปวิเครำะห์ ภำรกิจ
13. ร่ ำงเจตนำรมณ์ ขนั ้ ต้ นของ ผบ.หน่ วย
1. ภำรกิจ (ยว./แถลงใหม่ )  แนวทำงวำงแผน 14. ผบ.หน่ วยให้ แนวทำงวำงแผน
วิเคราะห์ สถานการณ์ 2. สถำนกำรณ์ และ ข้ อพิจำรณำ
ด้ าน กบ.ต่ อ แต่ ละ ร่วมพัฒนำ แนวควำมคิด
หป.ของ สธ.3 โดย ก. สถำนกำรณ์ขำ่ วกรอง พัฒนำ หป.
ในกำรสนับสนุน
ความร่ วมมือของ ฝอ. ข. สถำนกำรณ์ทำงยุทธวิธี
และฝ่ ายกิจการพิเศษ  หป. ข้ ำศึก
ทีเ่ กี่ยวข้ อง ค. สถำนกำรณ์กำลังพล
 หป. ฝ่ ำยเรำ
ง. สถำนกำรณ์กิจกำรพลเรื อน ร่วมวำดภำพกำรรบ/
จ. สถำนกำรณ์สง่ กำลังบำรุง วิเครำะห์ หป. วิเครำะห์ผลกระทบ
สธ.4 ทาข้ อเสนอ • วำดภำพกำรรบ งำนของตน
ด้ าน กบ. แก่ ผบ. ฉ. สมมุตฐิ ำน
ข้ อตกลงใจ,แนวความคิดในการปฏิบัตทิ ี่ เพื่อให้ ผบ.ตกลงใจ
เกี่ยวกับ กบ.ของ ผบ. 3. วิเครำะห์  บันทึกผลฯ
 ตำรำงประสำนสอดคล้ อง
แผนกำรส่ งกำลังบำรุ ง 4. เปรียบเทียบ
แผนกำรส่ งกำลังบำรุ ง แผนกำรช่ วยรบ  กิจของหน่ วยรอง  ผลวำดภำพกำรรบ
1.สถำนกำรณ์ 1.สถำนกำรณ์ +แผนกำลังพล 5. ข้ อสรุป  แผนรวบรวมข่ ำวสำร  ตำรำงตกลงใจ
2.ภำรกิจ 2.ภำรกิจ +แผนกำรกิจกำรพลเรือน
3.กล่ำวทัว่ ไป 3.กล่ำวทัว่ ไป
4.งำนในหน้ ำที่ 4.ยุทโธปกรณ์และบริ กำร การให้ ข้อเสนอ เปรียบเทียบ หป/
ก.ยุทโธปกรณ์และบริ กำร
แผน/คำสั่งกำรช่ วยรบ ตกลงใจ & ปฏิบตั ิ
5.กำรส่งกลับสำยแพทย์และกำร 1. ในแง่ของ กบ. สำมำรถ สน.ภำรกิจได้ หรื อไม่ ทำแผน/คำสัง่
ข.กำรส่งกลับสำยแพทย์และ รักษำพยำบำล -หน่วยรับกำรสนับสนุนจะ
กำรรักษำพยำบำล 6.กำรกำลังพล ไปรับกำรสนับที่ใด 2. หป.ใดที่ กบ.สำมำรถ สน.ได้ ดีทสี่ ดุ • เปรี ยบเทียบ
ค.เบ็ดเตล็ด 7.กิจกำรพลเรื อน 3. ปั ญหำข้ อขัดข้ องในเรื่ อง กบ.มีอะไรบ้ ำง
• เลือก หป.  เลือก,ปรับ หป.
5.กำรบังคับบัญชำและกำรสือ่ สำร 8.เบ็ดเตล็ด
-หน่วยสนับสนุนนำไปทำ • ซักซ้ อม  ปรับเจตนำรมณ์
คำสัง่ ของหน่วย 4. ข้ อเสนอแนะในกำรแก้ ปัญหำข้ อขัดข้ อง
9.กำรบังคับบัญชำและกำรสือ่ สำร 6
 แผน /คำสัง่
คูม่ ือ นักส่งกำลังบำรุง ทบ. มืออำชีพ โดย : กจบ.58
ระเบียบ คำสั่ง อนุมตั ิหลักกำร ในงำนส่ งกำลังบำรุ ง ของ ทบ.

สิ่งอุปกรณ์ ประเภท 2 และ 4

ระเบียบ คำสั่ง อนุมัติหลักกำรที่ใช้ ร่วมกันทุกสำยยุทธบริกำร


 การเสนอความต้ องการ คำสัง่ ทบ. ที่ 487/2543 ลง 3 ต.ค.43 เรื่อง กำรกำหนดนโยบำยแนวควำมคิดและควำมรับผิดชอบในกำรส่งกำลังบำรุงของกองทัพบก
 การเบิก - ระเบียบ ทบ. ว่ำด้ วยกำรส่งกำลัง สป.2 และ 4 พ.ศ.2534
- ระเบียบ ทบ. ว่ำด้ วยกำรส่งลำยมือชื่อผู้มีสิทธิ์เบิก และรับสิ่งอุปกรณ์ พ.ศ.2510
- คำสัง่ ทบ. ที่ 289/11 ลง 28 ส.ค. 11 เรื่ อง กำรติดตำมใบเบิก
- คำสัง่ ทบ. ที่ 445/20 ลง 11 ต.ค. 20 เรื่อง กำรโอนสิ่งอุปกรณ์
- หนังสือ กบ.ทบ.ที่ กห 0318/12377 ลง 13 พ.ย.21 เรื่ องกำรยกเลิกใบเบิกที่ค้ำงจ่ำยข้ ำมปี โดยอัตโนมัติ
- หนังสือ กบ.ทบ.ต่อ ที่ กห 0404/3138/38 ลง 22 พ.ค.38 เรื่อง กำรโอนควำมรับผิดชอบชุดเครื่องมือช่ำงชนิดต่ำง ๆ
- กำรพิจำรณำแก้ ไข ปรับปรุงหรือยกเลิกคำสัง่ กำรยกเลิกใบเบิกค้ ำงจ่ำยตำมอนุมตั ิ ผบ.ทบ.ท้ ำยหนังสือ กบ.ทบ.ที่ กห 0404/2033 ลง 23 มิ.ย. 40
 การแจกจ่ าย - ระเบียบ ทบ. ว่ำด้ วยกำรส่งและรับสิ่งอุปกรณ์ พ.ศ.2500
- คำสัง่ กองทัพบกที่ 386/2543 ลง 27 ก.พ.43 เรื่องอนุมตั ิให้ ยืม สป. 2 และ 4 ระหว่ำงหน่วยขึ ้นตรง
- คำสัง่ กองทัพบกที่ 95/2541 ลง 27 ก.พ.41 เรื่ อง กำรเก็บรักษำและปรนนิบตั ิบำรุงยุทโธปกรณ์ในสถำนกำรณ์ปัจจุบนั
 การซ่ อมบารุ ง - ระเบียบกองทัพบกว่ำด้ วยกำรซ่อมบำรุงยุทโธปกรณ์ พ.ศ.2524
- ระเบียบ ทบ. ว่ำด้ วย ชิ ้นส่วนซ่อมตำมอัตรำพิกดั และชิ ้นส่วนที่สะสม พ.ศ.2512
 การจาหน่ าย - ระเบียบ ทบ.ว่ำด้ วยกำรจำหน่ำย สป. พ.ศ.2557 ลง 31 ม.ค. 57
 การควบคุม - คำสัง่ ทบ. ที่ 653/27 ลง 4 ก.ย. 27 เรื่อง กำรควบคุมยุทโธปกรณ์ที่หน่วยต่ำง ๆ ใน ทบ.จัดหำ
ระเบียบ คำสั่ง อนุมัติหลักกำรที่ใช้ เฉพำะในแต่ ละกรมฝ่ ำยยุทธบริกำร
 สำยช่ ำง
 การเสนอความต้ องการ - คำสัง่ ทบ. ที่ 400/2524 ลง 20 ก.ค.24 เรื่อง ให้ ใช้ อตั รำ สป.เครื่องช่วยฝึ กประเภทเครื่องกีดขวำง
- ระเบียบ ทบ. ว่ำด้ วย ควำมรับผิดชอบในสิ่งอุปกรณ์ พ.ศ. 2535
- คำสัง่ ทบ. ที่ 792/2543 ลง 24 มิ.ย.34 เรื่อง กำรเรียกชื่อสิ่งอุปกรณ์สำยช่ำง
- ระเบียบ ทบ.ว่ำด้ วย กำรส่งกำลัง สป. 2 และ 4 พ.ศ.2534 ลง 30 ธ.ค.34
 การเบิก - ระเบียบ ทบ.ว่ำด้ วย กำรส่งลำยมือชื่อผู้มีสิทธิ์เบิกและ รับสิ่งอุปกรณ์ พ.ศ.2510
- คำสัง่ ทบ. ที่ 289/2511 ลง 28 ส.ค.11 เรื่ อง กำรติดตำมใบเบิก
- คำสัง่ ทบ. ที่ 537/2537 ลง 20 ก.ย.37 เรื่อง ให้ ใช้ อตั รำ สป. สิ ้นเปลืองเกี่ยวกับสีเพื่อกำรปรนนิบตั ิบำรุงยุทโธปกรณ์
 การแจกจ่ าย - ระเบียบ ทบ.ว่ำด้ วย กำรส่งและรับสิง่ อุปกรณ์ พ.ศ. 2500

7
คูม่ ือ นักส่งกำลังบำรุง ทบ. มืออำชีพ โดย : กจบ.58
- หนังสือ กช. ที่ กห 0441/1019 ลง 23 พ.ค.37 เรื่ อง เครื่ องตรวจค้ นทุน่ ระเบิดไม่ปลอดภัย
- รปจ. กช.ฉบับที่ 2/2537 ว่ำด้ วย กำรปรนนิบตั ิบำรุงและเก็บรักษำเข็มทิศเล็นเซติค
 การซ่ อมบารุ ง - ระเบียบ ทบ.ว่ำด้ วย กำรส่งซ่อมยุทโธปกรณ์สำยช่ำง พ.ศ.2494
- หนังสือ กช. ที่ กห 0441/2568 ลง 4 ส.ค.เรื่ อง คำแนะนำกำปฏิบตั ิด้ำนกำรซ่อมบำรุง สป. สำย ช.
 การจาหน่ าย - คำสัง่ ทบ. (เฉพำะ) ที่ 121/2521 ลง 31 ม.ค.21 เรื่อง กำรใช้ และกำรจำหน่ำยแผนที่ตำมอัตรำ
- ระเบียบ ทบ.ว่ำด้ วย กำรจำหน่ำย สป. พ.ศ. 2539 ลง 9 พ.ค.39
- คำสัง่ ทบ. (เฉพำะ) ที่ 1188/43 ลง 13 พ.ย.43 เรื่อง กำรกำหนดรำยกำร สป.ที่หน่วยจะต้ องส่งซำกคืนและไม่ต้องส่งซำกคืน
 การควบคุม - หนังสือ กช. ที่ กห 0325/9630 ลง 24 ส.ค.๒๐ เรื่อง กำรรำยงำน สถำนภำพแผนที่ รอบ 6 เดือน
- คำสัง่ ทบ. ที่ 653/2527 ลง 4 ก.ย.27 เรื่อง กำรควบคุมยุทโธปกรณ์ที่หน่วยต่ำงๆใน ทบ.จัดหำ หรือจำกกำรได้ รับมอบ หรือรับบริจำคสำย ช.
 สำย พ.
 การเสนอความต้ องการ - คำสัง่ ทบ. (เฉพำะ) ที่ 388/10 ลง 29 ธ.ค. 10 เรื่อง กำรใช้ เวชบริภณ ั ฑ์ใน อจย. เพื่อกำรฝึ ก
- คำสัง่ ทบ.(เฉพำะ) ที่ 77/13 ลง 4 ส.ค. 13 เรื่อง ให้ ใช้ อตั รำสิ่งอุปกรณ์ถำวร ของหน่วยรักษำพยำบำลในกองทัพบก
- คำสัง่ ทบ.(เฉพำะ) ที่ 148/14 ลง 10 ก.ย. 14 เรื่ อง ให้ ใช้ อตั รำสิ่งอุปกรณ์สิ ้นเปลืองสำยแพทย์ เพื่อจ่ำยประจำหน่วยทหำรและประจำตัวทหำรหรือจำกกำรได้ รับมอบหรือรับบริจำค
- คำสัง่ ทบ. (เฉพำะ) ที่ 1465/36 ลง 2 ธ.ค. 36 เรื่อง ปรับปรุงแก้ ไขอัตรำสิ่งอุปกรณ์สำยแพทย์ทำงเวชกรรมป้องกัน สำหรับหน่วยรักษำพยำบำลของกองทัพบก
- คำสัง่ พบ. (เฉพำะ) ที่ 567/41 ลง 21 มิ.ย.41 เรื่ อง กำหนดรำยกำรยำและเวชภัณฑ์พื ้นฐำน
 การจาหน่ าย - หนังสือ พบ. ที่ กห 0329/3309 ลง 19 ก.พ. 17 เรื่อง กำรปฏิบตั ิตอ่ สิ่งอุปกรณ์ที่กำหนดอำยุหรือเสื่อมสภำพได้
 สำย พธ.
 การเสนอความต้ องการ - ระเบียบกองทัพบกว่ำด้ วยอัตรำกำรแจกจ่ำยสูทภัณฑ์ปกติ , สูทภัณฑ์สนำม สำหรับหน่วยกองพัน พ.ศ.2533 ลง 28 ก.พ.33
- คำสัง่ ทบ.ที่ 263/14 ลง 11 มิ.ย.14 เรื่อง ให้ ใช้ อตั รำสิ่งอุปกรณ์ประเภทเครื่องแต่งกำย,เครื่องประกอบเครื่องแต่งกำย, เครื่องนอนและเครื่องสนำม
- คำสัง่ กองทัพบก ที่ 340/2545 ลง 23 ส.ค.45 เรื่ อง ให้ กำหนดอัตรำสิ่งอุปกรณ์ ประเภทเครื่องแต่งกำย, เครื่องประกอบเครื่องแต่งกำย, เครื่องนอน และของใช้ สว่ นตัวสำหรับพล
ทหำรกองประจำกำรปี ที่ 1 ถึงปี ที่ 8
 การเบิก - ว.พธ.ทบ.ที่ กห 0445/272 ลง 29 ม.ค.39 เรื่ อง แนวทำงกำรเขียนใบเบิก
 สำย ส.
 การเสนอความต้ องการ - คำสัง่ ทบ ที่ 54/2536 ลง 29 ม.ค.36 เรื่ อง กำรกำหนดกำรเบิก - กำรแจกจ่ำย – กำรจำหน่ำยแบตเตอรี่แห้ งยำมปกติ
 การเบิก - หนังสือ สส.ที่ กห 0442/6564 ลง 27 ก.ย.39 เรื่ อง กำรยกเลิกใบเบิกค้ ำงจ่ำยและใบเบิกอัตโนมัติ
 การแจกจ่ าย - ข่ำวสำรกำรส่งกำลังสำยสื่อสำรหมำยเลข 1-39 ลง 7 มิ.ย.39 เรื่อง กำรปฏิบตั ิก่อนกำรส่งคืนเครื่องสื่อสำร
- อนุมตั ิ ผบ.ทบ. ท้ ำยหนังสือ กบ.ทบ. ต่อ ที่ กห 0404/3198/38 ลง 22 พ.ค. 38 เรื่ อง กำรโอนควำมรับผิดชอบชุดเครื่องมือช่ำงชนิดต่ำง ๆ
 การซ่ อมบารุ ง - ข่ำวสำรกำรส่งกำลังสำยสื่อสำรหมำยเลข 1-38 ลง 11 ม.ค.38 เรื่องกำรส่งซ่อมเครื่องกำเนิดไฟฟ้ำ
 การจาหน่ าย - ข่ำวสำรกำรส่งกำลังสำยสื่อสำรหมำยเลข 2-29 ลง 2 ก.ย.39 เรื่อง กำรส่งคืนซำกชิ ้นส่วนซ่อมเครื่องสื่อสำร
- ข่ำวสำรกำรส่งกำลังและซ่อมบำรุงสำยสื่อสำรหมำยเลข 2-34 ลง ก.ย. 34 เรื่ อง คำแนะนำกำรจำหน่ำยสิ่งอุปกรณ์สำยสื่อสำร

8
คูม่ ือ นักส่งกำลังบำรุง ทบ. มืออำชีพ โดย : กจบ.58
- ข่ำวสำรกำรส่งกำลังและซ่อมบำรุงหมำยเลข 1-35 ลง 16 ต.ค.35 เรื่ อง กำหนดอำยุ สป.เพื่อกำรจำหน่ำย
 สำย สพ.

 การเสนอความต้ องการ - คำสัง่ ทบ. ที่ 443/2517 ลง 16 พ.ย.17 เรื่องให้ ใช้ อตั รำจ่ำยวัสดุทำควำมสะอำดและปรนนิบตั ิบำรุง
- คำสัง่ ทบ. ที่ 559/2537 เรื่อง กำรเบิกเปลี่ยนยำงและแบตเตอรี่ สำหรับยำนพำหนะ ลง 30 ก.ย. 37
 การเบิก - คำสัง่ ทบ. ที่ 171/2510 เรื่ อง กำรเบิกและกำรส่งคืนสิ่งอุปกรณ์รำยกำรเดียว ลง 26 มิ.ย. 10
- คำสัง่ ผบ.ทบ. ท้ ำยบันทึกข้ อควำม กพ.ทบ. ต่อที่ กห 0313/22125 ลง 1 ธ.ค.25 เรื่ อง ขอให้ กวดขันกำรควบคุมกำรเบิกจ่ำยอำวุธสงครำม
- หนังสือ สพ.ทบ. ที่ 0443/3724 ลง 25 เม.ย.34 เรื่อง ชี ้แจงวิธีกำรเบิกวัสดุทำควำมสะอำดและปรนนิบตั ิบำรุง
 การซ่ อมบารุ ง - คำสัง่ ทบ. (คำสัง่ ชี ้แจง) ที่ 19/15790 เรื่อง กำรตรวจสภำพเฉพำะอย่ำงยุทโธปกรณ์สำยสรรพำวุธ ลง 13 ก.ค. 03
- คำสัง่ ทบ. (คำชี ้แจง) ที่ 13/1693 เรื่อง กำรตรวจสภำพกำรซ่อมบำรุงยุทโธปกรณ์สำยสรรพำวุธโดยผู้บงั คับบัญชำ ลง 6 ก.พ. 04
- คำสัง่ ทบ. (คำชี ้แจง) ที่ 23/8150 เรื่อง กำหนดขันกำรซ่
้ อมบำรุงยำนยนต์สำยสรรพำวุธ ในโครงกำร ฯ ลง 18 มิ.ย.05
- คำแนะนำกองทัพบก เรื่อง ให้ สง่ รำยงำนสถำนภำพกำรซ่อมบำรุงยุทโธปกรณ์สำยสรรพำวุธ ลง 14 ต.ค.12
 สำย ขส.

 การเบิก - บันทึกข้ อควำม กบ.ทบ. ที่ ต่อ กห 0404/4385 ลง 12 พ.ย.44 เรื่อง กำรปรับปรุงระยะเวลำในกำรเบิกรับและจัดส่ง สป. สำย ขส.
 การแจกจ่ าย - ระเบียบ กห. ว่ำด้ วยรถรำชกำรทหำร พ.ศ.2525 ลง 29 ธ.ค.25
- ระเบียบ ขส.ทบ. ว่ำด้ วยแผ่นป้ำยเลขทะเบียน ประจำรถยนต์ สำย ขส. พ.ศ.2531 ลง 8 พ.ย.31
- บันทึกข้ อควำม กบ.ทบ. ที่ กห 0318/9443 ลง 15 ก.ค.19 เรื่อง กำรใช้ ป้ำยทะเบียนส่วนบุคคล
- บันทึกข้ อควำม กบ.ทบ. ต่อที่ กห 0404/10604 ลง 25 ก.ย. 34 เรื่องกำรใช้ ป้ำยเลขทะเบียนวงจักรของทำงรำชกำรทหำรและกำรเขียนนำมหน่วยลงบนยำนพำหนะ
- บันทึกข้ อควำม กบ.ทบ. ที่ ต่อ กห 0404/411 ลง 31 ม.ค.45 เรื่อง กำรเขียนนำมหน่วยลงบนยำนพำหนะสำย ขส.
- คำสัง่ ทบ. ( คำสัง่ ชี ้แจง ) ที่ 12/9142 ลง 24 เม.ย.02 เรื่อง ให้ กวดขันกำรปฏิบตั ิกำรปรนนิบตั ิบำรุงดูแลรักษำยำนพำหนะนอกโครงกำร
 การซ่ อมบารุ ง - บันทึกข้ อควำม กบ.ทบ. ที่ ต่อ กห 0404/20871 ลง 25 เม.ย.45 เรื่ อง กำรกำหนดแนวทำงในกำรซ่อมบำรุงยำนพำหนะ สำย ขส.
- คำสัง่ ทบ. ที่ 271/2536 ลง 13 พ.ค.36 เรื่ อง กำรจัดหำและซ่อมบำรุงรำยย่อยโดยใช้ งบประมำณกลุม่ งบงำนกำรบริหำรงำนและบริหำรหน่วยงบงำนบริหำรหน่วย
- คำสัง่ ทบ. ที่ 369/2536 ลง 6 มิ.ย.36 เรื่อง กำรจัดหำและซ่อมบำรุงรำยย่อยโดยใช้ งบประมำณค่ำเครื่องช่วยฝึ ก
- คำสัง่ ทบ. ที่ 193/2512 ลง 5 มิ.ย.2512 เรื่ อง ชิ ้นส่วนซ่อมยำนยนต์สำยขนส่งที่ไม่ต้องส่งซำกคืน
- คำสัง่ ทบ.ที่ 559/2537 ลง 30 ก.ย. 37 เรื่อง กำรเบิกเปลี่ยนยำง และแบตเตอรี่สำหรับยำนพำหนะ

9
สิ่งอุปกรณ์ ประเภท 3 และ สป. 5

ระเบียบ คำสั่ง อนุมัติหลักกำรที่ใช้ ร่วมกันทุกสำยยุทธบริกำร (สป. 3)


 การเสนอความต้ องการ - คำสัง่ ทบ.(เฉพำะ) ที่ 1164/45 ลง 26 ก.ย.45 เรื่ อง กำรวำงระดับ สป.3 ในกำรสะสมเก็บรักษำยำมปกติน ้ำมันเชื ้อเพลิงภำคพื ้น
- คำสัง่ ทบ.(เฉพำะ) ที่ 1216/43 ลง 20 พ.ย.43 เรื่อง กำรวำงระดับ สป.3 ในกำรสะสมเก็บรักษำยำมปกติน ้ำมันเชื ้อเพลิงอำกำศยำน
- คำสัง่ ทบ.ที่ 367/2517 ลง 18 ก.ย.17 เรื่ อง ให้ ใช้ เกณฑ์ควำมสิ ้นเปลืองน ้ำมันเชื ้อเพลิงและน ้ำมันอุปกรณ์สำหรับยำนพำหนะและเครื่องมือกลในกำรใช้ งำน
- คำสัง่ ทบ.ที่ 544/2539 ลง 21 ต.ค.39 เรื่อง ให้ ใช้ เกณฑ์ควำมสิ ้นเปลืองน ้ำมันเชื ้อเพลิงและน ้ำมันอุปกรณ์สำหรับยำนพำหนะและเครื่องมือกลสำย สพ.ในกำรใช้ งำน กำรซ่อมบำรุง และ
ฝึ กพลขับเบื ้องต้ น
- คำสัง่ ทบ.(เฉพำะ) ที่ 483/42 ลง 27 เม.ย.42 เรื่อง ให้ ใช้ เกณฑ์ควำมสิ ้นเปลืองน ้ำมันเชื ้อเพลิงและน ้ำมันอุปกรณ์สำหรับยำนพำหนะและเครื่องมือกลสำย ขส.ในกำรใช้ งำน กำรซ่อม
บำรุง และฝึ กพลขับเบื ้องต้ น
- คำสัง่ ทบ.(เฉพำะ) ที่ 1288/41 ลง 8 พ.ย.41 เรื่อง ให้ ใช้ เกณฑ์ควำมสิ ้นเปลืองน ้ำมันเชื ้อเพลิงและน ้ำมันอุปกรณ์สำหรับยำนพำหนะและเครื่องมือกลสำย ช. ในกำรใช้ งำน กำรซ่อมบำรุง
และฝึ กพลขับเบื ้องต้ น
 การแจกจ่ าย - ระเบียบ ทบ. ว่ำด้ วยกำรส่งกำลัง สป.3 สำยพลำธิกำร พ.ศ.2524
- ระเบียบ ทบ. ว่ำด้ วยกำรส่งกำลัง สป.3 สำยพลำธิกำร (ฉบับที่ 2)พ.ศ.2531
- คำสัง่ ทบ.ที่ 356/2508 เรื่อง ให้ หน่วยใน ทบ.ช่วยกันประหยัดกำรใช้ ยำนพำหนะและน ้ำมันเชื ้อเพลิง ลง 19 ต.ค.25
- คำสัง่ ทบ.(คำชี ้แจง) ที่ 19/14145 เรื่ อง กำรเบิกทดแทนและขอจำหน่ำยน ้ำมันเชื ้อเพลิงสิ่งอุปกรณ์ประเภท 3 ประจำสัปดำห์
- คำสัง่ ทบ.ที่ 976/2530 ลง 4 พ.ย.30 เรื่อง กำรยืมน ้ำมันเติมระหว่ำงทำง และกำรเบิกและจ่ำยทดแทน
- อนุมตั ิหลักกำรแจกจ่ำยและกำรกำหนดเครดิต สป.3 ประเภทต่ำงๆ ประจำปี งบประมำณของ ทบ.
- คำสัง่ ทบ.(คำชี ้แจง) ที่ 227/17308 เรื่องทฤษฎีกำรรั่วระเหยหำยของน ้ำมันเชื ้อเพลิงและกำรป้องกัน ลง 28 ส.ค.99
 การควบคุม - คำสัง่ ทบ.ที่ 422/2518 ลง 22 ก.ย.18 เรื่อง กำรรำยงำนสถำนภำพ
ระเบียบ คำสั่ง อนุมัติหลักกำรที่ใช้ ร่วมกันทุกสำยยุทธบริกำร (สป. 5)
 การเสนอความต้ องการ - คำสัง่ ลับ (เฉพำะ) ที่ 98/43 ลง 6 ก.ย.2543 เรื่องอัตรำมูลฐำนกระสุนวัตถุระเบิด
- ระเบียบกองทัพบกว่ำด้ วยกำรส่งกำลัง สป.5 พ.ศ.2542 ลง 5 มี.ค.2542
 การแจกจ่ าย - ระเบียบกองทัพบก ว่ำด้ วยกำรเก็บรักษำกระสุนวัตถุระเบิด พ.ศ.2545
 การจาหน่ าย - คำสัง่ ทบ.ที่ 965/2525 ลง 28 ต.ค.2525 เรื่องให้ สง่ กระสุนหมุนเวียน สป.5
- คำสัง่ สพ.ทบ.ที่ 31/2545 ลง 21 ม.ค.2545 เรื่ องรำคำ สป.5 และของหมุนเวียน
- คำสัง่ กองทัพบก ที่ 263/14261 ลง 7 พ.ย.2505 เรื่อง กวดขันปลอกกระสุนสูญหำย
 การควบคุม - คำสัง่ ทบ.ลับมำก ที่ 92/33 ลง 2 ก.ค.33 เรื่อง กำรส่งยอดระดับ สป.5
- รำยงำน สป.5 สำย สพ. ใน ทบ. กคสป.สพ.ทบ. ม.ค.2539
- หนังสือ สพ.ทบ. ที่ 0443/8056 ลง 28 พ.ย.45 เรื่อง ชี ้แจงแนวทำงต่อ สป.5 ที่เหลือฝึ กจำกกำรฝึ กประจำปี

10
คูม่ ือ นักส่งกำลังบำรุง ทบ. มืออำชีพ โดย : กจบ.58

2 วงรอบการส่ งกาลัง

อัตรำกำรจัดและยุทโธปกรณ์ (อจย.) ใช้ สำหรับหน่วยกำลังรบและหน่วยสนับสนุนกำรรบเป็ นหลัก เช่น กองทัพภำค


กองพล กรม กองพัน รวมทังหน่
้ วยที่ไม่ใช่หน่วยกำลังรบบำงส่วนด้ วย เช่น กองบัญชำกำรช่วยรบ มณฑลทหำรบก
คาสั่ง ทบ.(เฉพาะ) ลับ ที่ 22/47 ลง 1 มิ.ย.47 จังหวัดทหำรบก กองพลพัฒนำ เป็ นต้ น และเนื่องจำก หน่วยส่วนใหญ่ ของกองทัพบกเป็ นหน่วยที่ ใช้ อจย.เป็ นหลัก
เรี่อง หลักการจัดทาอัตราของกองทัพบก ดังนัน้ อจย.จึงเป็ นอัตรำของกองทัพบกที่ค่อนข้ ำงตำยตัวเปลี่ยนแปลงแก้ ไขยำก เพรำะกำรเปลี่ยนแปลงแก้ ไขจะมีผลต่อ
หน่วยทุกหน่วยที่ใช้ อจย.เดียวกัน สมมุติว่ำ อจย.ของกองพันทหำรรำบกำหนดให้ มี รยบ. ¼ ตัน 20 คัน หำกมีกำร
แก้ ไข อจย.ในรำยกำรดังกล่ำวเป็ น 30 คัน นั่นคือกองทัพบกจะต้ องจัดหำ รยบ. ¼ ตัน ให้ เพิ่มเติมอีก 10 คัน และถ้ ำ
“อัตราการจัดและยุทโธปกรณ์ (อจย.) คื อ เอกสารที ่ ทบ.กาหนดขึ้ น และ แจกจ่ายแก่หน่วย สมมุติ ว่ำ กองทัพ บกมี กองพัน ทหำรรำบ 30 กองพัน นั่น คื อกองทัพ บกต้ องจัด หำ รยบ. ¼ ตัน ทัง้ หมด 300 คัน เพื่ อ
ระดับต่าง ๆ แบ่งเป็ น 4 ตอน คือ ตอนที ่ 1 ภารกิ จและขี ดความสามารถ, ตอนที ่ 2 ผังการจัด, แจกจ่ำยให้ หน่วยทังหมด

ตอนที ่ 3 อัตรากาลังพล, ตอนที ่ 4 อัตรายุทโธปกรณ์
อัตรำเฉพำะกิจ (อฉก.) ใช้ กบั หน่วยที่ไม่ใช่หน่วยกำลังรบ ซึง่ ส่วนใหญ่เป็ นหน่วยระดับกองทัพบก เช่น กรมฝ่ ำยเสนำธิ
อัตราเฉพาะกิ จ (อฉก.) คือ เอกสารที ่ ทบ.กาหนดขึ้น เพือ่ การจัดหน่วยเป็ นการชัว่ คราวและ กำร กรมฝ่ ำยยุทธบริกำร กรมฝ่ ำยกิจกำรพิเศษ โรงพยำบำล หน่วยในส่วนกำรศึกษำ เป็ นต้ น และเนื่องจำก อฉก.นี ้
ไม่มีอตั ราการจัดทีเ่ หมาะสมแน่นอน แบ่งเป็ น 4 ตอน คือ ตอนที ่ 1 กล่าวทัว่ ไป, ตอนที ่ 2 ผัง เป็ น อัต รำเฉพำะหน่ ว ย ซึ่งแต่ล ะหน่ ว ยจะมี อฉก.แตกต่ำ งกัน ดังนัน้ กำรแก้ ไขเปลี่ยนแปลง อ ฉก.จึงง่ำ ยกว่ำ อจย.
การจัด, ตอนที ่ 3 อัตรากาลังพล, ตอนที ่ 4 คาชีแ้ จง เนื่องจำกเป็ นกำรแก้ ไขเฉพำะหน่วยเดียวไม่มีผลต่อหน่วยอื่นๆ

อัตราสิ่ งอุปกรณ์ถาวร (อสอ.) คือ อัตราซึ่งกาหนดจานวนสิ่ งอุปกรณ์ถาวร อนุมตั ิ จ่ายสาหรับ อัตรำสิ่งอุปกรณ์ ถำวร (อสอ.) กำรแก้ ไข อสอ. มีทงยำกและง่
ั้ ำย หำกเป็ น อสอ.ของหน่วยที่ใช้ อจย.ก็จะ
หน่วยต่าง ๆ ใน ทบ. ทัง้ หน่วยใช้ อจย. และ อฉก. เพือ่ ใช้ปฏิ บตั ิ งาน ณ ทีต่ งั้ ปกติ แบ่งเป็ น แก้ ไขยำก แต่ถ้ำเป็ น อสอ.ของหน่วยที่ใช้ อฉก.จะแก้ ไขง่ำยกว่ำ นอกจำกอัตรำที่กล่ำวมำแล้ วยังมีอตั รำอื่นๆที่เกี่ยวข้ อง
4 ตอน คื อ ตอนที ่ 1 กล่าวทัว่ ไป, ตอนที ่ 2 ผังการจัด, ตอนที ่ 3 สรุปยอดกาลังพลตามชัน้ ยศ, กับหน่วย เช่น อัตรำอำคำร (ออค.), อัตรำมูลฐำน อัตรำพิกดั เป็ นต้ น
ตอนที ่ 4 รายการสิ่ งอุปกรณ์ถาวร
ดังนัน้ อัต รำประจำหน่ วย ซึ่งมีกำรกำหนดรำยกำรและจำนวนของสิ่งอุป กรณ์ ที่ ต้ องมีไว้ ใช้ ในหน่ วย จึงเป็ น เอกสำร
หลักฐำนสำคัญที่หน่วยต้ องใช้ ในกำรให้ ได้ มำของสิ่งอุปกรณ์ หรือใช้ ในกำร “ความต้ องการ” สิ่งอุปกรณ์นนั่ เอง ซึง่ กำร
เสนอควำมต้ องกำรนีต้ ำมปกติจะเสนอตำมสำยกำรส่งกำลังแต่บ ำงครัง้ ก็ สำมำรถเสนอตำมสำยกำรบังคับ บัญ ชำได้
โดยเฉพำะในกำรเร่งรัด หรือ กำรเสนอควำมต้ องกำรเร่งด่วนเป็ นกรณีพิเศษ

11
คูม่ ือ นักส่งกำลังบำรุง ทบ. มืออำชีพ โดย : กจบ.58

เมื่อหน่วยได้ เสนอควำมต้ องกำรสิ่งอุปกรณ์ตำมที่ระบุไว้ ในอัตรำประจำหน่วยแล้ ว หำกกองทัพบกมีสิ่งอุปกรณ์เพียงพอสำมำรถให้ กำรสนับสนุ นได้ ก็จะแจ้ งให้ หน่วยดำเนินกำร “เบิก”สิ่งอุปกรณ์ดงั กล่ำวซึง่ เป็ นวิธีกำรหนึ่งของ “กำร
จัดหำ” โดยหน่วยต้ องเบิกไปยังหน่วยสนับสนุนทำงกำรส่งกำลังบำรุงตำมสำยกำรส่งกำลังเท่ำนัน้ หลังจำกหน่วยสนับสนุนทำงกำรส่งกำลังบำรุงตรวจสอบควำมถูกต้ องและอนุมตั ิกำรเบิกของหน่วยแล้ ว หน่วยสนับสนุนทำงกำรส่ง
กำลังบำรุงดังกล่ำวก็จะดำเนิน “การแจกจ่ าย” สิ่งอุปกรณ์ ที่หน่วยเบิกมำทังโดยกำรแจกจ่
้ ำยไปที่หน่วยตำมสำยกำรส่งกำลัง หรือให้ หน่วยมำรับเองโดยตรงหำกจำเป็ น ดังนัน้ กำรแจกจ่ำย จึงหมำยรวมถึงกระบวนกำรตังแต่
้ กำรขนสิ่ง
อุปกรณ์จำกคลังของหน่วยส่งกำลังบำรุงไปส่งจนถึงหน่วยเบิก กำรแจกจ่ำยต่อไปให้ หน่วยใช้ ซึ่งเป็ น หน่วยรองของหน่วยเบิก และกำรเก็บรักษำในคลังทังของหน่
้ วยส่งกำลังบำรุงและหน่วยใช้ แต่หำกหน่วยได้ ดำเนินกำรซ่อมบำรุงจนสุด
ควำมสำมำรถแล้ วแต่ไม่สำมำรถซ่อมให้ อยู่ในสภำพที่ใช้ กำรได้ ตำมปกติแล้ ว หรื อสิ่งอุปกรณ์ นนั ้ เกิดกำร สูญหำยไปจำกหน่วย หน่วยจะต้ องดำเนินกำรในขันตอนที
้ ่วำ่ “การจาหน่ าย” เพื่อส่งคืนสิ่งอุปกรณ์ ที่ใช้ กำรไม่ได้ แล้ วนัน้
กลับคืนไปให้ หน่วยส่งกำลังบำรุงที่แจกจ่ำยมำตอนแรก หรือตัดยอดสิ่งอุปกรณ์ที่สญ
ู หำยไป

เมื่อหน่วยได้ รับอนุมตั ิให้ จำหน่ำยสิ่งอุปกรณ์ที่ชำรุดหรือสูญหำยแล้ ว หน่วยจะตัดยอดสิ่งอุปกรณ์ นนออกจำกบั


ั้ ญชีคมุ ของหน่วยซึง่ หมำยถึงหน่วยไม่มีสิ่งอุปกรณ์นนแล้
ั ้ วหรื อขำดอัตรำนัน่ เอง ดังนันเพื
้ ่อให้ หน่วยมีสิ่งอุปกรณ์ใ น
รำยกำรดังกล่ำวใช้ ตอ่ ไป หน่วยก็จะต้ อง “เสนอความต้ องการ” ไปใหม่ โดยใช้ “กำรเบิกทดแทน” ซึ่งสิ่งอุปกรณ์ที่เบิกทดแทนไปนี ้ ก็จะได้ รับกำรแจกจ่ำยมำใหม่อีกรอบหนึ่ง แล้ วเหตุกำรณ์ในลักษณะนี ้ก็จะวนเวียนไปเรื่ อยๆ เปรี ยบ
เหมือนวงจรชีวิตของสิ่งอุปกรณ์นนั่ เอง

อย่ำงไรก็ตำม เพื่อให้ วงจรชีวิตของสิ่งอุปกรณ์ตงแต่


ั ้ กำรเสนอควำมต้ องกำรจนถึงกำรจำหน่ำย เป็ นไปอย่ำงมีประสิทธิภำพ หน่วยส่งกำลังบำรุงและหน่วยใช้ สำมำรถติดตำมตรวจสอบได้ วำ่ ปั จจุบนั สิ่งอุปกรณ์แต่ละชิ ้นอยูใ่ นวงจรใด
เช่น เบิกไปหรือยัง? ได้ รับมำตังแต่
้ เมื่อไหร่? ส่งซ่อมไปถึงไหนแล้ ว? สถำนภำพคงเหลือปั จจุบนั มีเท่ำใด รวมทังกำรติ
้ ดตำมเร่งรัดกำรดำเนินกำรในแต่ละวงจร จึงต้ องมีศนู ย์กลำงของวงจรชีวิตที่วำ่ นี ้ ซึง่ เรียกว่ำ “การควบคุม”

ระเบียบกองทัพบกว่ าด้ วยการส่ งกาลังสิ่งอุปกรณ์ ประเภท 2 และ 4 พ.ศ.2534


ควำมต้ องกำร
“ข้อ 5.8 การจาหน่าย หมายถึง การตัดยอดสิ่ งอุปกรณ์ ออกจากความรับผิ ดชอบของกองทัพบก
เนือ่ งจากสูญไป สิ้ นเปลื องไป (สิ่ งอุปกรณ์ สิ้นเปลื อง) ชารุดเสี ยหายจนไม่สามารถซ่อมคื นสภาพได้
อย่างคุ้มค่า เสื อ่ มสภาพจนใช้งานไม่ได้ หรื อสูญหาย ตาย เกิ นความต้องการ หรื อเป็ นของล้าสมัย จำหน่ ำย กำร จัดหำ
ควบคุม
ไม่ใช้ราชการต่อไป

ข้อ 7.2 ความต้องการทดแทน ได้แก่ ความต้องการเพือ่ ทดแทนสิ่ งอุปกรณ์ทีห่ น่วยใช้เคยได้รบั


มาแล้ว และเป็ นความต้องการสิ่ งอุปกรณ์ในกรณีดงั นี ้ : เพือ่ ทดแทนสิ่ งอุปกรณ์ทีห่ มดเปลืองไปหรื อ แจกจ่ ำย
ชารุดเนือ่ งจากการใช้และรวมทัง้ ทดแทนชิ้ นส่วนซ่อมทีช่ ารุดด้วย เพือ่ ทดแทนสิ่ งอุปกรณ์ ทีถ่ ูกละทิ้ ง
ทาลาย ข้าศึกทาให้เสี ยหาย โจรกรรม หรื อเสี ยหายโดยเหตุอืน่ เพือ่ ทดแทนสิ่ งอุปกรณ์ ทีอ่ ยู่ใน วงจรชีวิตของ “ของหลวง” หรื อ “สิ่งอุปกรณ์” นี ้ กองทัพบกเรียกว่ำ “วงรอบกำรส่ งกำลัง” ซึง่
ระหว่างการซ่อมบารุงโดยใช้สิ่งอุปกรณ์สารองเพือ่ การซ่อมบารุง วงรอบนี ้จะไม่มีกำรหมุนย้ อนกลับทำง และจะเริ่มต้ น ณ จุดใดก็ได้ แต่โดยธรรมดำแล้ วควำม
ข้อ 16.2 การเบิ กทดแทน ได้แก่ การเบิ กสิ่ งอุปกรณ์ตามความต้องการทดแทนทีร่ ะบุไว้ในข้อ 7.2” ต้ องกำรมักจะเป็ นจุดเริ่มต้ นของกำรส่งกำลัง.....

12
คูม่ ือ นักส่งกำลังบำรุง ทบ. มืออำชีพ โดย : กจบ.58
“การปฏิ บตั ิ การในเรื่ อง ความต้ องการ การจัดหา การแจกจ่ าย และ เป็ นควำมต้ องกำรที่เกิดจำก เพื่อทดแทน สป.ที่เคยได้ รับมำแล้ วและ
วงรอบกำรส่ งกำลัง การจาหน่ าย สป.รวมทัง้ การควบคุมการปฏิ บตั ิ ตามขัน้ ตอนดังกล่าว” - กำรจัดตัง้ หน่ วยใหม่ - ได้ ใช้ หมดไป
- กำรเปลี่ยนแปลงอื่นๆ - ชำรุดสูญหำย
ควำมรับผิดชอบในกำรควบคุม มูลฐาน: อจย.,อฉก.,อสอ.,อัตรำ - รักษำระดับสะสมตำมที่ กำหนดไว้
• กำรควบคุมทำงกำรส่ งกำลัง (Supply Control) ทำงกำรส่ งกำลัง มูลฐำน,อัตรำพิกดั ,รำยกำร
• กำรควบคุมทำงบัญชี (Stock Control) – ทบ. : กำหนดระดับส่งกำลัง เปลี่ยนแปลง สป. เป็ นควำมต้ องกำร สป. ที่หน่วย .1 .2,4 .3 .5

– หน่ วยสนับสนุนทำงกำรส่ งกำลัง ส่งกำลังต้ องกำรเพิ่มเติมให้ เต็ม


วิธีดำเนินกำรที่เกี่ยวกับ ระบบกำรรำยงำน กำร o คานวณปริ มาณ สป.ตามวันส่งกาลัง 1) ควำมต้ องกำรขันต้
้ น ระดับส่งกำลัง รักษำระดับ
คำนวณ กำรรวบรวมข้ อมูลและกำรประเมินค่ำ เพื่อ ที ่ ทบ.กาหนด - ระดับปลอดภัย
2) ควำมต้ องกำรทดแทน
กำรรักษำดุลระหว่ำงกำรส่งกำลังกับควำมต้ องกำร o รักษาระดับส่งกาลัง - ระดับปฏิบตั ิกำร หรื อวงรอบ
3) ควำมต้ องกำรเพื่อรักษำ
o รวบรวมข้อมูลที ม ่ ี ผลกระทบต่อ กำรจัดหำ
กรรมวิธีกำรรักษำข้ อมูลต่ำง ๆ ของปริมำณที่มีอยูแ่ ละ ระดับส่งกำลัง เป็ นควำมต้ องกำร สป.ที่นอกเหนือ
สถานภาพการส่งกาลัง แล้วเสนอขอ - เวลำในกำรเบิกและจัดส่ง
สภำพของ สป.และยป.ที่ ค้ ำงรับ คงคลัง และค้ ำงจ่ำย 4) ควำมต้ องกำรตำมโครงกำร จำกควำมต้ องกำรปกติ เพื่อสนับสนุน
อนุมตั ิ เปลีย่ นแปลงระดับส่งกาลัง หรือเวลำล่วงหน้ ำในกำรจัดหำ
ควำมรับผิดชอบ โครงกำร หรือกำรปฏิบตั ิกำรพิเศษ
– หน่ วยสนับสนุนทำงกำรส่ งกำลัง ตำมแผน
– หน่ วยใช้ ควำมต้ องกำร
สป. ทีผ่ ้ บู ังคับบัญชา ทำงได้ มำซึง่ สิ่งอุปกรณ์ แบ่งเป็ น 2 ประเภท
สป.รายการทีค่ วบคุม คือ ควบคุม คือ สป.ที่ กำร รวมการ โดย กรมฝ่ ำยยุทธบริกำร และกรมฝ่ ำยกิจกำรพิเศษ
สป.ที่ ทบ. ประกาศไว้ ใน ผู้บังคับบัญชาประกาศ
จำหน่ ำย ควบคุม จัดหำ แยกการ โดย บชร. และส่วนภูมิภำค หรือหน่วยได้ รับอนุมตั ิ
บัญชี สป.รายการที่ควบคุม ว่ าจะต้ องอยู่ในความ
 หายากราคาสูง ควบคุม
 มีลักษณะทางเทคนิคสูง  ขาดแคลนใน การส่ ง
แจกจ่ ำย ทำงได้ มำซึ่งสิ่งอุปกรณ์ :
 เป็ นอันตรายง่ าย กาลัง จัดซื ้อ/จ้ ำง, ควำมช่วยเหลือ
กำรรับ กำรจ่ ำย
 มีลักษณะทีส ่ าคัญยิ่ง • การตัดยอด สป.ออกจากความรับผิ ดชอบของทบ. จำกต่ำงประเทศ,ซ่อมบำรุง
• “ตามระเบียบ ทบ.ว่ าด้ วยการจาหน่ ายสป.พ.ศ. กำรเก็บรักษำ และกำรขน สป. ,เก็บซ่อม(ยุบรวม),รับบริจำค
สำเหตุในกำรจำหน่ ำย ,เบิก,ยืม,โอน,ผลิต,เกณฑ์/ยึด
2557”
• ชำรุด
สป.เพื่อกำรจำหน่ ำย ,แลกเปลี่ยน
• ล้ ำสมัย รำยกำร สป.ที่ตัดออกจำกบัญชีโดยไม่ ต้องจำหน่ ำย
• สป.สิ ้นเปลือง ระบบกำรแจกจ่ ำยมี 2 วิธี
• สูญหำย • สป.ถาวรกาหนดอายุ จ่ายประจาตัวทหาร
• สป.ถำวร 1) กำรแจกจ่ ำย ณ ตำบลส่ งกำลัง
• เครื ่องแต่งกายทหาร แหล่ งของกำรจัดหำ
• เสื่อมสภำพ – กำหนดอำยุ • หน่วยใช้จดั รถไปขนมายังหน่วยตนเอง
1) เขตภำยใน
• หมดควำมจำเป็ น • ชิ้ นส่วนซ่อมในการซ่อมบารุง 2) กำรแจกจ่ ำย ณ ที่ตัง้ หน่ วย
– ไม่กำหนดอำยุ 2) ยุทธบริเวณอื่น
• เกินควำมต้ องกำร • สป.สิ ้นเปลืองที่ใช้ ไป (เว้ น สป.5 ขออนุมตั ิจำหน่ำย • หน่วยเหนือจัดรถขนเอาไปให้หน่วยใช้
• สป.มีชีวิต 3) ประเทศพันธมิตร
• ครบอำยุตำมเกณฑ์ที่กำหนด แต่ไม่ต้องตังกรรมกำร)

• ชิ ้นส่วนซ่อม 4) ภำยในยุทธบริเวณ 13
คูม่ ือ นักส่งกำลังบำรุง ทบ. มืออำชีพ โดย : กจบ.58
การบริหารงบประมาณด้ านการส่ งกาลังบารุ ง
- กำรกำหนด
 ความต้ องการ - กำรเสนอ 3 การจัดงานความต้ องการ
 การทาแผนจัดหา - คำขอ ในเรื่อง สป. ตำมจำนวน และ
ในเวลำ ที่บง่ ไว้ หรือตำมเวลำที่กำหนด

 ลักษณะควำมต้ องกำร • ความต้ องการประจา คือ ควำมต้ องกำรเพื่อทดแทนสิ่งอุปกรณ์ที่ใช้ หมดไป หรือใช้ สิ ้นเปลือง และเพื่อเพิ่มเติมระดับส่งกำลังอันสืบ
 ประเภทควำมต้ องกำร เนื่องมำจำกกำรปฏิบตั ิงำน ซึง่ ควำมต้ องกำรประจำนี ้ใช้ เป็ นข้ อมูลสำหรับคำนวณควำมต้ องกำรทังเพื ้ ่อกำรจัดหำและเพื่อกำรเบิก
 กำรกำหนดควำมต้ องกำร • ความต้ องการครั้ งคราว คือ ควำมต้ องกำรที่เกิดขึ ้นครัง้ เดียวในห้ วงเวลำ 12 เดือน สำหรับควำมมุง่ หมำยอย่ำงเดียวกัน และหมำยรวมถึง
 กำรคำนวณควำมต้ องกำร ควำมต้ องกำรขันต้
้ น เพื่อสนองควำมต้ องกำรตำมอัตรำ ควำมต้ องกำรเพื่อรักษำระดับส่งกำลังที่เพิ่มขึ ้น และควำมต้ องกำรตำมโครงกำรพิเศษ
 กำรเสนอควำมต้ องกำร ต่ำง ๆ เช่น ควำมต้ องกำรเพื่อกำรซ่อมบำรุงสิ่งอุปกรณ์สำเร็จรูป เป็ นต้ น ควำมต้ องกำรครัง้ ครำวนี ใ้ ช้ เป็ นข้ อมูลสำหรับคำนวณควำม
ต้ องกำร เพื่อกำรจัดหำเท่ำนัน้
• กำรจัดทำงบประมำณ
- ยึดถือนโยบำยและผลงำนเป็ นหลัก 1. ควำมต้ องกำรขันต้
้ น - กำรรับทหำรใหม่เข้ ำประจำกำรใหม่
2. ควำมต้ องกำรทดแทน - กำรจัดตังหน่
้ วยใหม่
- คำนึงถึงควำมต่อเนื่อง มีควำมโปร่งใส สำมำรถตรวจสอบได้ - กำรกำหนดมำตรฐำนสิ่งอุปกรณ์ใหม่
- มีควำมยืดหยุน่ ในกำรบริหำรจัดกำร 3. ควำมต้ องกำรเพื่อรักษำระดับกำรส่งกำลัง
- กำรเพิ่มจำนวนและรำยกำร สป.เนื่องจำกกำรแก้ อตั รำ
- สอดคล้ องกับกลยุทธ์ ทบ. และยุทธศำสตร์ กำรจัดสรรงบประมำณ 4. ควำมต้ องกำรตำมโครงกำร - รำยกำรที่ได้ รับอนุมตั ิให้ จ่ำยครัง้ แรกแก่หน่วยที่ยงั ไม่ได้ รับอนุมตั ิอตั รำ
รำยจ่ำยประจำปี ของรัฐบำล - รำยกำรที่ได้ รับอนุมตั ิให้ จ่ำยครัง้ แรกซึง่ เกินจำนวนจำกอัตรำ
- อจย., อสอ., ออค. และอัตรำอื่นๆ ที่ได้ รับอนุมตั ิจำก ทบ.
 กำรจัดทำ MTEF และคำของบประมำณ - เกณฑ์ควำมสิ ้นเปลือง, อนุมตั ิหลักกำร - ทดแทนสิ่งอุปกรณ์ที่หมดเปลืองไป หรื อชำรุดจำกกำรใช้ และชิ ้นส่วน
- สปช.ทบ. แจ้ งแนวทำงกำรจัดทำ MTEF ของ ทบ.ตำมกลยุทธ์ ทบ. - อื่นๆ ซ่อมที่ชำรุด
- กบ.ทบ. (หน่วยรับผิดชอบงบประมำณหลัก) จัดทำ MTEF โดย - ทดแทนสิ่งอุปกรณ์ที่ถกู ละทิ ้ง ทำลำย ข้ ำศึกทำให้ เสียหำย โจรกรรม
รวบรวมและตรวจสอบคำขอจำกหน่วยรับผิดชอบงบประมำณรองและ สป. ตำมอัตรำ ตำมระดับส่งกำลังหรือตำมโครงกำร ที่ หรื อเสียหำยโดยเหตุอื่น
ได้ รับอนุมตั ิแล้ ว กรม ฝยบ. หรือ กรมฝ่ ำยกิจกำรพิเศษที่ - ทดแทนสิ่งอุปกรณ์ที่อยูใ่ นระหว่ำงกำรซ่อมบำรุง โดยใช้ สป. สำรอง
หน่วยเจ้ ำของงบประมำณ (กรม ฝยบ., กรมฝ่ ำยกิจกำรพิเศษ) เสนอ
เพื่อกำรซ่อมบำรุง
สปช.ทบ. รับผิดชอบ สป. เป็ นผู้รวบรวมควำมต้ องกำร สป. เสนอไป
- สปช.ทบ. (หน่วยงบประมำณ ทบ.) ส่งคำของบประมำณรำยจ่ำย กบ.ทบ. ตำมที่ ทบ. กำหนด - ระดับปลอดภัย
ประจำปี ไปยังหน่วยเหนือ - ระดับปฏิบตั ิกำร หรื อวงรอบกำรจัดหำ
สป. ที่นอกเหนือจำกที่กล่ ำวแล้ ว - เวลำในกำรเบิกและจัดส่ง หรื อเวลำล่วงหน้ ำในกำรจัดหำ
 แบบพิมพ์ ในกำรจัดทำคำของบประมำณ
หน่วยใช้ เสนอควำมต้ องกำรไปตำมสำยส่งกำลัง จนถึง กรม ฝยบ.
- ทบ.500-111 สรุปเปรียบเทียบคำของบประมำณ
หรือ กรมฝ่ ำยกิจกำรพิเศษที่รับผิดชอบ - เพื่อสนับสนุนโครงกำร หรื อกำรปฏิบตั ิกำรพิเศษตำมแผน
- ทบ.500-112 สรุปคำของบประมำณ และวัตถุประสงค์ของ ทบ. เช่น
กรม ฝยบ. หรือ กรมฝ่ ำยกิจกำรพิเศษ รวบรวมควำม
- ทบ.500-113 สรุปคำของบประมำณจำแนกตำมหมวดรำยจ่ำย * โครงกำรจัดตังหน่
้ วยใหม่
ต้ องกำรของหน่วยใช้ เสนอ กบ.ทบ. ตำมที่ ทบ. กำหนด
- ทบ.500-114 รำยละเอียดคำของบประมำณค่ำครุภณ ั ฑ์ ที่ดิน และ * โครงกำรระดมสรรพกำลัง
สิ่งก่อสร้ ำง
14
คูม่ ือ นักส่งกำลังบำรุง ทบ. มืออำชีพ โดย : กจบ.58

กำรจัดสรรงบประมำณ
ระเบียบ ทบ. ว่ ำด้ วยกำรงบประมำณ พ.ศ.2556 กำหนดเกณฑ์และกำรจัดสรรงบประมำณรำยจ่ำยประจำปี กำรทำโดย
จสง.ทบ. และ คณะอนุกรรมกำร จสง.ฯ
จัดทำนโยบำย
จัดทำคำของบประมำณ กำรจัดทำควำมต้ องกำรงบประมำณ
ภำคกำรจัดทำงบประมำณ
หน่ วยรับผิดชอบงบประมำณหลัก เชิญหน่วยรับผิดชอบงบประมำณ
จัดสรรงบประมำณ
รอง ร่ วมพิจารณากรอบวงเงินที่จะแบ่งมอบให้ ในแต่ละกลุม่ งบประมำณ พร้ อม
จัดทำแผนกำรใช้ จำ่ ยงบประมำณ แจ้ งนโยบำยด้ ำนงบประมำณของกลุม่ งบงำนต่ำงๆ ให้ หน่วยรับผิดชอบงบประมำณ
รอง ใช้ เป็ นแนวทำงและขอบเขตในกำรจัดทำควำมต้ องกำร
ภำคกำรบริหำรงบประมำณ เสนอขอเงินงวด / ก่อหนี ้ผูกพัน / ขอเปลี่ยนแปลง / ขอเพิ่มเติม - หน่วยรับผิดชอบงบประมำณหลัก รวบรวมควำมต้ องกำรจำกหน่วยรับผิดชอบ
งบประมำณรองในควำมรับผิดชอบ
ส่งคืนงบประมำณ / ขอกันเงิน - ตรวจสอบ/วิเครำะห์ควำมต้ องกำรงบประมำณ
- เสนอหน่วยงบประมำณของ ทบ. ตำมห้ วงเวลำที่กำหนด
ติดตำม
ภำคกำรติดตำมและประเมินผล
หน่ วยรับผิดชอบงบประมำณรอง
ประเมินผล / รำยงำน
- รวบรวมควำมต้ องกำรในควำมรับผิดชอบ
- ตรวจสอบ/วิเครำะห์ควำมต้ องกำรงบประมำณ
ประเด็นยุทธศำสตร์ ควำมมัน่ คงแห่งรัฐ
ตัวอย่ ำงควำมเชื่อมโยงกับ - เสนอหน่วยรับผิดชอบงบประมำณหลัก ตำมห้ วงระยะเวลำที่หน่วยรับผิดชอบ
ยุทธศำสตร์ ของรัฐบำล งบประมำณหลักกำหนด
แผนงำน / แผนงบประมำณ เสริมสร้ ำงระบบป้องกันประเทศ
- หน่วยงบประมำณ ทบ. รวบรวมควำมต้ องกำรงบประมำณแต่ละกลุ่มงบงำน จำก
รัฐบำล กำรเตรียมกำลังและกำรใช้ กำลัง หน่วยรับผิดชอบหลัก
ผลผลิต - วิเครำะห์ควำมจำเป็ นและควำมเหมำะสม และสรุปควำมต้ องกำร
ในกำรป้องกันประเทศฯ โดยกองทัพบก
- เสนอคณะอนุกรรมกำร จสง.ฯ เพื่อใช้ ประกอบกำรพิจำรณำจัดสรรงบประมำณ
กระทรวงกลำโหม กิจกรรม รำยจ่ำยประจำปี
กำรส่งกำลังบำรุง

กองทัพบก กลุม่ งบงำน กลุม่ งบงำนโครงกำรเสริมสร้ ำงหน่วยและยุทโธปกรณ์

งบงำนโครงกำรจัดหำยุทโธปกรณ์
กรมส่งกำลังบำรุงทหำรบก งบงำน
กำรจัดหำยุทโธปกรณ์เป็ นส่วนรวมสนับสนุนหน่วยตำมโครงกำร
กำร
รำยกำร รำยกำรจัดหำ สป. สำย ขส.

15
คูม่ ือ นักส่งกำลังบำรุง ทบ. มืออำชีพ โดย : กจบ.58
 โครงกำรจัดตัง้ ปรับปรุ ง และขยำยหน่ วย
หลัก – กบ.ทบ. / รอง – ยย.ทบ., กช.
 โครงกำรปรับปรุ งบ้ ำนพัก โรงเรือน และสิ่งก่ อสร้ ำงอื่นๆ  งบงำนซ่ อมแซมอำคำรและสิ่งปลูกสร้ ำง
หลัก – กบ.ทบ. / รอง – ยย.ทบ.  งบงำนที่ดิน
กำรจัดสรรงบประมำณรำยจ่ ำยประจำปี
 โครงกำรก่ อสร้ ำงบ้ ำนพัก โรงเรือน และสิ่งก่ อสร้ ำงอื่นๆ  งบงำนสำธำรณูปโภค
- อนุกรรมกำร จสง.ฯ (ประธำน) กำหนดวันประชุม กำรจัดสรร
หลัก – กบ.ทบ. / รอง – ยย.ทบ.  หน่วยรับผิดชอบงบฯ หลัก – กบ.ทบ.
งบประมำณรำยจ่ำยประจำปี
 โครงกำรก่ อสร้ ำงบ้ ำนพัก โรงเรือน และสิ่งก่ อสร้ ำงอื่นๆ  รอง – ยย.ทบ.
- หน่วยรับผิดชอบงบประมำณหลัก ชี ้แจงภำพรวมของ กลุม่
ที่ผูกพันข้ ำมปี ฯ
งบงำนในควำมรับผิดชอบ (รวมทังกลุ
้ ม่ งบงำนโครงกำร) หลัก – กบ.ทบ. / รอง – ยย.ทบ.
- หน่วยรับผิดชอบงบประมำณรองแถลงและชี ้แจงรำยละเอียด กลุ่มงบงำนในควำมรับผิดชอบของ กบ.ทบ.
ควำม ต้ องกำรงบประมำณ ในแต่ละงบงำนที่เสนอเข้ ำรับกำร  งบงำนกำรจัดหำและกำรผลิตเพื่อแจกจ่ ำย และกำรซ่ อม  กลุ่มงบงำนซ่ อมแซมอำคำร สิ่งปลูกสร้ ำงและกำรที่ดน

จัดสรรงบประมำณรำยจ่ำยประจำปี บำรุ ง (สป. สำยต่ ำงๆ)
- หน่วยงบประมำณของ ทบ. อำนวยกำรทังปวงในกำร
้ หลัก – กบ.ทบ.  กลุ่มงบงำนโครงกำรก่ อสร้ ำงปรั บปรุ งอำคำรและสิ่งปลูกสร้ ำง
ดำเนินกำร จัดสรรงบประมำณรำยจ่ำยประจำปี แล้ วสรุปผล รอง – กรม ฝยบ., กรมฝ่ ายกิ จการพิเศษ  กลุ่มงบงำนส่ งกำลัง และซ่ อมบำรุ งยุทโธปกรณ์
กำรจัดสรรงบประมำณ แต่ละกลุม่ งบงำน ให้ ประธำน  งบงำนกำรจัดระบบและกำรบริหำรงำนส่ งกำลังบำรุ ง
อนุกรรมกำร จสง.ฯ ลงนำม เพื่อขออนุมตั ิตอ่ ผบ.ทบ./ หลัก – กบ.ทบ. / รอง – กบ.ทบ.  กลุ่มงบงำนโครงกำรเสริมสร้ ำงหน่ วยและยุทโธปกรณ์
ประธำนคณะกรรมกำร จสง.ทบ.  งบงำนกำรจัดหำและผลิตเครื่องแต่ งกำยและเครื่องนอน
 กลุ่มงบงำนกำรแพทย์
หลัก – กบ.ทบ. / รอง – พธ.ทบ.
 งบงำนกำรจัดหำ สป.3 เพื่อทรงชีพ
แบบพิมพ์ ในกำรจัดทำควำมต้ องกำรงบประมำณ หลัก – กบ.ทบ. / รอง – พธ.ทบ.  งบงำนสำธำรณูปโภค รพ. ของ ทบ.
- ทบ.500-121 สรุปเปรียบเทียบควำมต้ องกำรงบประมำณ  งบงำนกำรจัดหำ สป.5 หลัก – กบ.ทบ. / รอง – พบ.ทบ.
- ทบ.500-122 สรุปควำมต้ องกำรงบประมำณ หลัก – กบ.ทบ. / รอง – สพ.ทบ., วศ.ทบ.  งบงำนสนับสนุนบุคลำกรสำยแพทย์ และสถำนพยำบำล
- ทบ.500-123 สรุปควำมต้ องกำรงบประมำณ จำแนกตำม หลัก – กบ.ทบ. / รอง – พบ.ทบ.
หมวดรำยจ่ำย  งบงำนโครงกำรเสริมสร้ ำงหน่ วย  งบงำนดำรงสภำพกำลังประจำกำร รพ.ของ ทบ.
- ทบ.500-124 รำยละเอียดควำมต้ องกำรงบประมำณ ค่ำ หลัก – ยก.ทบ. / รอง – ยก.ทบ. หลัก – กบ.ทบ. / รอง – กพ.ทบ.
ครุภณ
ั ฑ์ ที่ดิน และสิ่งก่อสร้ ำง  งบงำนโครงกำรจัดหำยุทโธปกรณ์
- ทบ.500-125 กำรวิเครำะห์ควำมต้ องกำรงบประมำณ หลัก – ยก.ทบ. / รอง – กบ.ทบ. งำนจัดหำและกำรผลิตเพื่อแจกจ่ ำย ฯ (6
กำร)
- ทบ.500-126 รำยละเอียดควำมต้ องกำรงบประมำณ  งบงำนโครงกำรซ่ อมแซมและปรับปรุ งยุทโธปกรณ์
กำรจัดหำเพื่อแจกจ่ำย
- ทบ.500-127 สรุปควำมต้ องกำรงบประมำณกลุม่ งบงำน หลัก – ยก.ทบ. / รอง – กบ.ทบ.
กำรจัดหำครุภณั ฑ์
โครงกำร  งบงำนโครงกำรเสริ มสร้ ำงกำลังกองทัพที่ผูกพันตำมมติ ครม.
หลัก – ยก.ทบ. / รอง – กบ.ทบ. กำรผลิตเพื่อแจกจ่ำย
- ทบ.500-128 สรุปควำมต้ องกำรงบประมำณ กลุม่ งบงำน
กำรเก็บรักษำและแจกจ่ำย
โครงกำร จำแนกตำมงบงำน
กำรซ่อมบำรุง
กำรบริกำร 16
คูม่ ือ นักส่งกำลังบำรุง ทบ. มืออำชีพ โดย : กจบ.58

4 การจัดหา

เมื่อเปิ ดในระเบียบกองทัพบกว่ำด้ วยกำรส่งกำลังบำรุงสิ่งอุปกรณ์ประเภท 2 และ 4 พ.ศ.2534 กำรจัดหำ คือทำงได้ มำซึง่ สิ่งอุปกรณ์ โดยทัว่ ไปหน่วยหรือคลังซึง่ มีกำรสะสมสิ่งอุปกรณ์และ/หรื อ มีไว้ เพื่อปฏิบตั ิกำร
ย่อมจะได้ รับสิ่งอุปกรณ์จำกลักษณะใดลักษณะหนึ่ง โดยกำรเบิกก็เป็ นลักษณะหนึ่งในกำรจัดหำสิ่งอุปกรณ์มำใช้ ในหน่วย
กำรเบิก หมำยถึง วิธีดำเนินกำรเสนอคำขอไปยังหน่วยสนับสนุนทำงกำรส่งกำลัง เพื่อขอรับสิ่งอุปกรณ์ตำมจำนวนที่ต้องกำร ซึ่งหน่ วยในสำยกำรส่ งกำลังซึ่งต่ำกว่ ำระดับคลังสำยงำนหรือหมำยถึงหน่ วย
ตัง้ แต่ กองบัญชำกำรช่ วยรบลงมำถึงหน่ วยใช้ ในระดับกองพันให้ ถือว่ ำกำรเบิกเป็ นวิธีหลักในกำรได้ มำซึ่งสิ่งอุปกรณ์
ดังนันเมื
้ ่อกำรเบิกเป็ นวิธีหลักในกำรได้ มำซึง่ สิ่งอุปกรณ์ของหน่วยที่กล่ำวข้ ำงต้ น (แต่ควำมจริงแล้ วทุกหน่วยในกองทัพบกก็มีฐำนะเป็ นหน่วยใช้ ด้วยไม่เว้ นแม้ แต่กรมฝ่ ำยยุทธบริกำรและกรมฝ่ ำยกิจกำรพิเศษที่เป็ นเจ้ ำของ
คลัง ยกตัวอย่ำงเช่น ถ้ ำจะเบิกนำ้ มันเติมรถเจ้ ำกรมพลำธิกำรทหำรบก หน่วยเจ้ ำของรถซึง่ ได้ แก่กรมพลำธิกำรทหำรบกก็ต้องเบิกน ้ำมัน ไปที่กรมพลำธิ กำรทหำรบก..) ประเภทกำรเบิก จึงแบ่งออกเป็ น 4 ประเภทซึง่ สอดคล้ อง
กับกำรเสนอควำมต้ องกำรตำมที่ได้ กล่ำวถึงในบทที่ผ่ำนมำ คือ
1. การเบิกขั้นต้ น ได้ แก่ กำรเบิกสิ่งอุปกรณ์ตำมควำมต้ องกำรขัน้ ต้ น ส่วนใหญ่ได้ แก่กำรเบิกครัง้ แรกเมื่อจัดตังหน่
้ วยใหม่ และกำรแจกจ่ำยสิ่งอุปกรณ์ใหม่จำกกองทัพบก เช่น กำรเบิกของหน่วยกองพลทหำรม้ ำที่ 3
ที่จดั ตังขึ
้ ้นใหม่ หรือกำรเบิก รยบ. 2 1/2 ตัน ISUZU FTS ที่กองทัพบกจัดหำใหม่ เป็ นต้ น
2. การเบิกทดแทน ได้ แก่ กำรเบิกสิ่งอุปกรณ์ตำมควำมต้ องกำรทดแทน ซึง่ เป็ นกำรเบิกเมื่อสิ่งอุปกรณ์ที่มีอยูถ่ กู ใช้ หมดไปก็จะทำกำรเบิกมำไว้ ให้ เต็มตำมจำนวนที่กำหนด รวมถึงกำรทดแทนสิ่งอุปกรณ์ที่ไ ด้ รับอนุมตั ิ
ให้ จำหน่ำยเรียบร้ อยแล้ วด้ วย เช่น กำรเบิก สป.3 มำทดแทน สป.3 อัตรำพิกดั ซึง่ หน่วยใช้ ไปในกำรปฏิบตั ิภำรกิจ
3. การเบิกเพิ่มเติมเพื่อรั กษาระดับส่ งกาลัง ได้ แก่ กำรเบิกสิ่งอุปกรณ์ตำมควำมต้ องกำรเพื่อรักษำระดับส่งกำลัง เป็ นกำรเบิกของหน่วยส่งกำลังบำรุงที่มีกำรวำงระดับสิ่งอุปกรณ์ เช่น กระสุนวัตถุระเบิด น ้ำมัน
เชื ้อเพลิง เมื่อสิ่งอุปกรณ์ที่วำงระดับมียอดต่ำกว่ำที่กองทัพบกหรือหน่วยเหนือกำหนด
4. การเบิกพิเศษ ได้ แก่ กำรเบิกเร่งด่วน กำรเบิกนอกอัตรำ และกำรเบิกก่อนกำหนด
กำรเบิกเร่งด่วน ได้ แก่ กำรเบิกสิ่งอุปกรณ์ ที่หน่วยใช้ มีควำมจำเป็ นต้ องใช้ โดยเร่งด่วน หรื อในยำมฉุกเฉิน หรือเพื่อกำรซ่อมบำรุงสิ่งอุปกรณ์ งดใช้ กำร ส่วนใหญ่จะใช้ ในกำรเบิกสิ่งอุปกรณ์ ที่ใช้ สิ ้นเปลือง
โดยเฉพำะในกำรรบ เช่น กระสุน วัตถุระเบิ ด น้ามัน ชิ้ นส่วนซ่ อม เป็ นต้ น ในที่นีห้ มำยถึง กำรเบิกโดยใช้ เครื ่องมื อสื ่อสารที ่รวดเร็ วที ่สุด แต่ต้องมีควำมชัดเจน สมบูรณ์ เพียงพอ และอำจต้ องส่งหลักฐำนที่เป็ นเอกสำรตำมมำ
ภำยหลังด้ วย...
กำรเบิกนอกอัตรำ ได้ แก่ กำรเบิกสิ่งอุปกรณ์ ประเภท 4 หรือสิ่งอุปกรณ์ที่ไม่ได้ ระบุไว้ ในรำยกำรตอนที่ 4 ของ อจย. และ อสอ.ของหน่วย รวมทังสิ ้ ่งอุปกรณ์ประเภทป้อ มสนำม เช่น ลวดหนาม กระสอบ
ทราย แต่หน่วยต้ องตรวจสอบให้ ชดั เจนว่ำสิ่งอุปกรณ์ที่จะทำกำรเบิกนีเ้ ป็ นสิ่งอุปกรณ์ในอัตรำ(ประเภท 2) หรื อนอกอัตรำ (ประเภท 4) เนื่องจำกบำงครัง้ กองทัพบกจัดหำยุทโธปกรณ์หลำกหลำยรูปแบบมำแจกจ่ำยให้ หน่วยโดย
อำจจ่ำยมำให้ เป็ นสิ่งอุปกรณ์ในอัตรำ หรือนอกอัตรำก็ได้ เช่น รถยนต์บรรทุก 1 1/4 ตัน ( ยูนิม็อก) ซึง่ กองทัพบกจัดหำมำแจกจ่ำยให้ หน่วยใช้ แทนรถยนต์บรรทุกแบบ 3/4 ตันที่กำหนดไว้ ใน อจย. ลักษณะนี ้ต้ องถือว่ำเป็ นสิ่งอุปกรณ์
ในอัตรำหรือ สป.2 แต่กรณีที่ กองทัพบกแจกจ่ำยรถยนต์บรรทุกปกติขนำดเล็กแบบขับเคลื่อนสี่ล้อเพื่อใช้ ในภำรกิจพิเศษในพื ้นที่ 3 จชต. เพิ่มเติมจำกรถยนต์บรรทุกปกติขนำดเล็กที่ระบุไว้ ใน อสอ. ลักษณะนี ้จะถือว่ำ เป็ นสิ่งอุปกรณ์
นอกอัตรำหรือ สป.4 เป็ นต้น โดยหน่วยต้องตรวจสอบจากหมายเหตุท้ายอัตรา อจย.,อสอ., เอกสารการแจกจ่ายสิ่ งอุปกรณ์ หรื อเอกสารต่างของหน่วยเหนือทีเ่ กีย่ วข้อง
กำรเบิกก่อนกำหนด ได้ แก่ กำรเบิกสิ่งอุป กรณ์ ที่ห น่วยมีควำมจำเป็ นต้ องใช้ ก่อนวงรอบกำรเบิกซึ่งหน่วยสนับสนุนได้ กำหนดขึ้ น ซึ่ งส่วนใหญ่ ก็จะเป็ นสิ่ งอุป กรณ์ ใช้สิ้นเปลื อง เช่น น้ ามัน เป็ นต้ น
เนื่องจำกบำงสถำนกำรณ์หน่วยที่เป็ นคลังน ้ำมันเล็กๆ เช่น จังหวัดทหำรบก มีนำ้ มันในคลังไม่มำก แต่อำจเกิดเหตุกำรณ์ฉุกเฉินที่ต้องใช้ นำ้ มันจำนวนมำกๆ ในทันที ก็ จะต้ องเบิกก่อนห้ วงเวลำที่กำหนด หรือ กำรเบิกยำงรถยนต์
แบตเตอรี่ของยำนพำหนะซึง่ มีกำรชำรุดหมดสภำพก่อนวงรอบกำรเบิกเปลี่ยนที่ ทบ. กำหนด เป็ นต้ น

17
คูม่ ือ นักส่งกำลังบำรุง ทบ. มืออำชีพ โดย : กจบ.58

ใครมีหน้ าที่เบิก

ตำมระเบียบกองทัพบกว่ำด้ วยกำรส่งกำลังบำรุงสิ่งอุปกรณ์ประเภท 2-4 พ.ศ.2534 ท่ำนกล่ำวไว้ วำ่ หน่วยเบิก คือ


- หน่ วยใช้ ระดับกองพันหรือเทียบเท่ ำ
- หน่ วยสนับสนุนทำงกำรส่ งกำลังทุกระดับ ที่เบิกสิ่งอุปกรณ์ไปยังหน่วยจ่ำย ในที่นี ้หมำยถึงกำรเบิกของหน่วยส่งกำลังบำรุงที่เบิกสิ่งอุปกรณ์ไปยังหน่วยจ่ำยเพื่อแจกจ่ำยให้ หน่วยใช้ เช่น กองทหารพลาธิ การกองพล
กองสรรพาวุธเบากองพล มณฑลทหารบก กองบัญชาการช่วยรบ
อำจมีผ้ สู งสัยว่ำแล้ วหน่วยระดับเล็กกว่ำกองพัน เช่น กองร้ อย จะเบิกสิ่งอุปกรณ์อย่ำงไร คำตอบคือ ก็ให้กองพันหรื อหน่วยเหนือเบิ กให้ อำจทำรำยงำนเป็ นหนังสือไปที่หน่วยเหนือ หรืออำจทำเป็ นใบเบิกไปก็ได้ แล้ ว
รำยงำนไปตำมสำยกำรบังคับบัญชำ เช่น กองร้ อยอำวุธเบำรำยงำนขอเบิกไปที่กองพันทหำรรำบ กองร้ อยทหำรม้ ำลำดตระเวนกองพลทหำรรำบที่ 3 รำยงำนขอเบิกไปที่กองพลทหำรรำบที่ 3 เป็ นต้ น จำกนัน้ กองพันทหำรรำบ
หรือ กองพลทหำรรำบที่ 3 ก็จะทำกำรเบิกอย่ำงเป็ นทำงกำรตำมสำยกำรส่งกำลังต่อไป
ผู้บังคับหน่ วยเบิก ต้ องรับผิดชอบในกำรขอเบิกสิ่งอุปกรณ์เพื่อให้ หน่วยสำมำรถปฏิบตั ิภำรกิจตำมที่ได้ รับมอบหมำยอย่ำงมีประสิทธิภำพ แต่ในทำงปฏิบตั ิก็เ ป็ นหน้ ำที่ของฝ่ ำยส่งกำลังบำรุงของหน่วยที่ต้องดำเนินกำร
โดยเสนอเรื่องหรือทำใบเบิกให้ ผ้ บู งั คับหน่วยลงนำม

เบิกอย่ างไร เมื่อจะเบิกของหรือสิ่งอุปกรณ์ เจ้ ำหน้ ำที่ฝ่ำยส่งกำลังบำรุงก็จะต้ องทำอะไรบ้ ำง.....


กำรเบิกขัน้ ต้ น
กำรเบิก สป. ตำมอัตรำประจำหน่วย เช่น อจย. , อสอ. ให้ดาเนิ นการเบิ กเมื ่อได้รับเอกสารการแจกจ่ายสิ่ งอุปกรณ์ (ทบ.400-073) จำกกรมฝ่ ำยยุทธบริกำร ซึ่ง ผบ.ทบ. (ผช.ผบ.ทบ.รับคำสัง่ ฯ) ลงนำมอนุมตั ิแล้ ว
หรือหลักฐำนเอกสำรต่ำงๆ ที่มีกำรอนุมตั ิแจกจ่ำยสิ่งอุปกรณ์แก่หน่วย
หำกหน่วยมีควำมจำเป็ นต้ องใช้ สป. ตำม อจย. หรือ อสอ. เป็ นกำรเร่งด่วน แต่ยงั ไม่ได้ รับเอกสำรกำรแจกจ่ำยดังกล่ำว ให้ หน่วยทำหนังสือเสนอความต้องการขอรับการสนับสนุนเป็ นการเร่ งด่วนตามสายการส่ง
กาลัง โดยมีองค์ประกอบได้ แก่
1. เหตุผลที่ขอรับกำรสนับสนุนเป็ นกำรเร่งด่วน
2. สถำนภำพตำม อจย. หรือ อสอ. ที่หน่วยมีควำมต้ องกำรใช้ เร่งด่วนเรียงตำมลำดับ อจย.หรือ อสอ. โดยมีรำยละเอียดรำยกำร อัตรำเต็ม อัตรำลดได้ รับ จำนวนที่ขอรับกำรสนับสนุนเร่งด่วน
3. สำเนำ อจย.หรือ อสอ.ที่เกี่ยวข้ อง
ทังนี
้ ้สถำนภำพและสำเนำเอกสำรดังกล่ำว หน่วยต้ องส่งให้ บชร.2 จำนวน 3 ชุด เพื่อรำยงำนต่อไปยังหน่วยส่งกำลังบำรุงในระดับกองทัพบกต่อไป และหลักฐำนที่หน่วยเสนอขอรับกำรสนับสนุนเร่งด่วน สำมำรถนี ้
เป็ นหลักฐำนแทนกำรเบิกขันต้ ้ น ได้
กำรเบิกขันต้
้ นของ สป.บำงสำยยุทธบริกำร มีข้อกำหนดเฉพำะเป็ นกรณีพิเศษ ดังนี ้.-
 ในกรณีท่เี ป็ นกำรเบิก สป.5 อัตรำมูลฐำน ให้ ใช้ หลักฐำนกำรเบิกตำม คำสัง่ ทบ.ลับมำก (เฉพำะ) ที่ 98/43 ลง 6 ก.ย.43 และระเบียบ ทบ.ว่ำด้ วยกำรส่งกำลัง สป.5 พ.ศ.2542 ตอนที่ 3 โดยมีจำนวน สป.5 และ
หลักฐำนประกอบ ดังนี ้
1. อัตรำจำนวนและชนิด สป.5 ให้ คิดจำกจำนวนอำวุธที่หน่วยได้ รับ พร้ อมกับแนบเอกสำรกำรรับหรือแจกจ่ำยอำวุธ
2. ลข.88 สังหำร ให้ เบิก 3 ลูก/คน ตำมยอดกำลังพลที่บรรจุจริง โดยแนบบัญชีสถำนภำพกำลังพลมำด้ วย
ในกรณีท่ เี ป็ น สป. ประจำสถำนพยำบำล ให้ หน่วยเบิกได้ เลย เพรำะ พบ.ได้ จดั หำให้ เป็ นกำรส่วนรวมในแต่ละปี แล้ ว กำรที่จะทรำบว่ำ สป. ใดเป็ น สป.ประจำสถำนพยำบำลหรื อไม่ ให้ ตรวจสอบได้ จำกหนังสือ พบ. ที่
กห 0446/3266 ลง 10 พ.ค. 36

18
คูม่ ือ นักส่งกำลังบำรุง ทบ. มืออำชีพ โดย : กจบ.58
สป.2-4 สำย วศ. ตำม อจย., อสอ. และเครื่องดับเพลิงประจำอำคำร วศ.ทบ.จะแจกจ่ำยให้ แก่หน่วยโดยไม่ต้องเบิกขันต้ ้ น
สิ่งอุปกรณ์ ประเภท 2 และ 4 อำกำศยำน ให้ เสนอใบเบิกผ่ำน พัน.ขส.ซบร.บ.ทบ
กำรเบิกทดแทน
 เมื่อหน่วยได้ ดำเนินกำรขออนุมตั ิจำหน่ำยและ ได้รับการอนุมตั ิ ให้จาหน่ายจากผู้มีอานาจตำมระเบียบ ทบ.ว่ำด้ วย กำรจำหน่ำยสิ่งอุปกรณ์ พ.ศ.2557 แล้ วให้ หน่วยใช้ เบิกทดแทนตำมสำยกำรส่งกำลัง โดยมี
หลักฐำน ดังนี ้
1. ใบเบิก ทบ.400-006 หรือ ทบ.400-007-1 แล้ วแต่กรณี
2. ใบส่งคืน ทบ.400-013 หรือ ทบ.400-007-1 แล้ วแต่กรณี
3. สำเนำแบบรำยงำนขออนุมตั ิจำหน่ำย ทบ.400-065 แนบไปพร้ อมกับ ใบเบิก และ ใบส่งคืน
 กรณี สป. สำย วศ. และ ขส. มีข้อกำหนดเพิ่มเติมดังนี ้.- (ดูจำกตำรำง)

สำย สป.ที่เบิกทดแทน กำรปฏิบัตขิ องหน่ วยใช้

วศ. ก๊ ำซชนิดต่ำงๆ ส่งคืนท่อเปล่ำพร้ อมใบส่งคืนและใบเบิกทดแทน


วศ. น ้ำกรด น ้ำกลัน่ ส่งคืนถังเปล่ำพร้ อมใบส่งคืนและใบเบิกทดแทน พร้ อมทังบั
้ ญชีรำยละเอียดกำรใช้
วศ. เครื่ องมือเครื่ องใช้ ประจำศูนย์บริกำร ส่งคืนและเบิกทดแทน
แบตเตอรี่
วศ. เครื่ องควบคุมควำมดันก๊ ำซต่ำงๆ ส่งซ่อม จำหน่ำย แล้ วจึงทำกำรเบิกทดแทน
วศ. เครื่ องดับเพลิง แนบสำเนำแบบรำยงำนขอนุมตั จิ ำหน่ำยจำนวน 2 ชุด เพื่อเบิกต่อไปยัง วศ.ทบ.
วศ. โฟม น ้ำยำเคมีดบั เพลิง ที่ใช้ ในกำรซ้ อม แนบสำเนำคำสัง่ กำรฝึ กซ้ อมไปพร้ อมกับใบเบิกทดแทน
ป้องกันอัคคีภยั
วศ. สป.5 สำย วศ.ที่เสื่อมสภำพ ตังคณะกรรมกำรสอบสวน
้ จำหน่ำยและเบิกทดแทน โดยหน่วยต้ องขออนุมตั ทิ ำลำย สป.ตำมระเบียบด้ วย
ขส. ยำง - เบิกเปลี่ยนโดยถือเกณฑ์อำยุกำรใช้ งำนไม่น้อยกว่ำ 3 ปี และวัดกำรสึกหรอของดอกยำงประกอบกำรเบิกเปลี่ยนด้ วย
- หำกยำงเกิดชำรุ ดเสียหำย ,เสื่อมสภำพ หรื อ กรณีใด ๆ ก่อนเกณฑ์ ให้ หน่วยใช้ ตงกรรมกำรสอบสวนหำข้
ั้ อเท็จจริ ง โดยปฏิบตั ติ ำมระเบียบ ทบ. ว่ำด้ วยกำรจำหน่ำย สป.
ขส. แบตเตอรี่ - เบิกเปลี่ยนโดยถือเกณฑ์อำยุกำรใช้ งำน ไม่น้อยกว่ำ 2 ปี สำหรับยำนพำหนะทุกประเภท ทุกสำยยุทธบริ กำร
- หน่วยต้ องนำแบตเตอรี่ เก่ำส่งคืนหน่วยที่ให้ กำรสนับสนุน พร้ อมเบิกแบตเตอรี่ ใหม่ได้ ทนั ที่ และให้ เบิกเปลีย่ นตำมสภำพ
- กรณีจำเป็ นต้ องเบิกเปลี่ยนก่อนครบเกณฑ์ ให้ ปฏิบตั เิ ช่นเดียวกับกำรเบิกเปลีย่ นยำง
ขส. ชิ ้นส่วนซ่อม - หน่วยต้ องหมำยเหตุประเภทยำนพำหนะ , หมำยเลขทะเบียน , รุ่ น / ปี ,หมำยเลขเครื่ อง , หมำยเลขแคร่และหมำยเลขชิ ้นส่วน ( Part Number ) ลงในใบเบิกด้ วย โดยระบุหมำยเลขชิ ้นส่วน
ลงในช่องหมำยเลขสิง่ อุปกรณ์
ขส. ชิ ้นส่วนซ่อมที่จดั หำในท้ องถิ่นได้ เอง ใช้ งบบริ หำรหน่วยและงบเครื่ องช่วยฝึ กตำมที่ ทบ.กำหนด

19
คูม่ ือ นักส่งกำลังบำรุง ทบ. มืออำชีพ โดย : กจบ.58

กำรเบิกเพิ่มเติมเพื่อรักษำระดับส่ งกำลัง
 หน่ วยใช้ ไม่มีการเบิ ก
 หน่ วยสนับสนุนโดยตรง คลังส่ วนภูมิภำค หรือคลังกองบัญชำกำรช่ วยรบ เมื่อสิ่งอุปกรณ์ที่สะสมไว้ เพื่อสนับสนุนหน่วยลดระดับลงถึงจุดเพิ่มเติ มหรื อถึงวงรอบการเบิ กให้ ทำกำรเบิกตำมสำยกำรส่งกำลังต่อไป
 คลังสำยงำนเมื่อสิ่งอุปกรณ์ที่สะสมไว้ เพื่อสนับสนุนให้ แก่หน่วยรับกำรสนับสนุนลดระดับลงถึงจุดเพิ่มเติ มหรื อถึงวงรอบการจัดหา ให้ ดำเนินกำรเสนอควำมต้ องกำรเพื่อจัดหำต่อไป
กำรเบิกพิเศษ
 กรณีเบิกเร่งด่วน
เมื่อหน่วยใช้ มีควำมต้ องกำรเร่งด่วน ให้ ผ้ บู งั คับบัญชำหน่วยใช้ ที่มีสิทธิเบิกติดต่อขอรับสิ่งอุปกรณ์จำกหน่วยให้ กำรสนับสนุน โดยเครื ่องสื ่อสารทีเ่ หมาะสม เมื่อได้ รับสิ่งอุปกรณ์แล้ ว จะต้องทาใบเบิ กส่งหน่วยจ่ายภายใน 3
วัน โดยอ้ ำงหลักฐำนในกำรเบิกเร่งด่วน
หน่วยสนับสนุนโดยตรงหรือคลังส่วนภูมิภำค หรือคลังกองบัญชำกำรช่วยรบ ถ้ ำมีสิ่งอุปกรณ์สนับสนุน ให้ ผ้ มู ีอำนำจสัง่ จ่ำยอนุมตั ิจ่ำยตำมหลักฐำนในกำรเบิกเร่งด่วน ถ้ ำไม่มีสิ่งอุปกรณ์สนับสนุนให้ ติดต่อขอรับจำกหน่วยให้
กำรสนับสนุนด้ วยเครื่องสื่อสำรที่เหมำะสม เมื่อได้ รับสิ่งอุปกรณ์แล้ วจะต้ องทำ ใบเบิกส่งหน่วยจ่ำยภำยใน 3 วัน
คลังกรมฝ่ ำยยุทธบริ กำรหรื อกรมฝ่ ำยกิจกำรพิเศษ ถ้ ำมีสิ่งอุปกรณ์ สนับสนุน ให้ มีผ้ ูมีอำนำจในกำรสัง่ จ่ำยอนุมตั ิจ่ำยตำมหลักฐำนในกำรเบิกเร่ งด่วน ถ้ ำไม่มีสิ่งอุปกรณ์ สนับสนุนหำกพิจำรณำเห็นว่ำสำมำรถจัดหำ
สนับสนุนได้ ทนั ทีก็ให้ ดำ เนินกำรต่อไป
 กรณีกำรเบิกนอกอัตรำ เบิ กเมือ่ ได้รบั อนุมตั ิ ความต้องการตามทีเ่ สนอ โดยมีวิธีกำรเบิกเช่นเดียวกับกำรเบิกขันต้ ้ น
 กรณีกำรเบิกก่อนกำหนด เมื่อมีควำมจำเป็ นต้ องใช้ สิ่งอุปกรณ์ก่อนวงรอบการเบิ ก ซึง่ หน่วยสนับสนุนได้ กำหนดขึ ้น ให้ ดำเนินกำรเบิกได้ โดยมีวิธีกำรเช่นเดียวกับเบิกทดแทน แต่อำจต้ องแนบเอกสำรหลักฐำนประกอบเพิ่มเติม
ตำมที่กำหนดในแต่ละสำยยุทธบริกำร

คำสั่ง กห (เฉพำะ) ที่ 200/58 เรื่องกำรพัสดุ ลง 25 พ.ค.58(ผนวก ก.)


คำสั่ง กห ที่ 269 / 48 ลง 18 เม.ย.48

20
คูม่ ือ นักส่งกำลังบำรุง ทบ. มืออำชีพ โดย : กจบ.58
กระบวนกำรในกำรจัดซือ้ -จ้ ำง
ผู้มีอำนำจ
อนุมัติ
รำยงำนขอซือ้ /จ้ ำง หน.ส่ วนรำชกำร
จนท.พัสดุ-หน.จนท.พัสดุ (นร.27) เห็นชอบ (นร.29)
ตัง้ กรรมกำร (นร. 34) นร.65-67, กห.
200/58

ตกลง นร.39 สัญญำ/


ข้ อตกลง
สอบ ว.7286, นร.40-43 นร.132-136 , กห.200/58
ระเบียบ ทบ. พ.ศ. 2536
ประกวด ว.7286, นร.44-53

พิเศษ นร.57 / 58 ดำเนินกรรมวิธี หลักประกัน


จนท.พัสดุ/ นร.141-142
กรรมกำร
กรณีพเิ ศษ นร.59
กำรพัสดุด้วยวิธีกำร ตรวจรับ
e-Auction ทำงเล็กทรอนิกส์ พ.ศ.2549 นร.71,72

e-Market แนวทำงปฏิบัติฯ 3 ก.พ.58


คืนหลักประกัน เบิกจ่ ำย
e-Bidding แนวทำงปฏิบัติฯ 3 ก.พ.58
นร.144, ว.7286 นร.68,70

21
คูม่ ือ นักส่งกำลังบำรุง ทบ. มืออำชีพ โดย : กจบ.58

วิธีตกลงรำคำ • วงเงินกำรจัดหำ ไม่เกิน 100,000.- บำท : สร.ปี 35 กจห.พธ.ทบ. ได้ รับแผนจัดหำ จนท.พัสดุของ กองจัดหำ ติดต่อขอเชิญผู้มี จนท.พัสดุของ กองจัดหำ ขออนุมตั หิ ลักกำร และขออนุมตั ิ
อำชีพขำย/รับจ้ ำงทำ สป. ซื ้อ/จ้ ำงจำก หัวหน้ ำหน่วยงำน (จก.พธ.ทบ.) ( 2 วัน )
• วงเงินกำรจัดหำ ไม่เกิน 500,000.- บำท : ว.299/58 ( ติดต่อขอคุณลักษณะเฉพำะ
สป. จำก กวก.พธ.ทบ.) ที่จะจัดหำให้ มำเสนอรำคำ ( 3 วัน )
จนท.พัสดุ นำเรี ยน หน.เจ้ ำหน้ ำที่พสั ดุ เพื่อ กองฝ่ ำยงบประมำณ ตรวจสอบงบประมำณ
คณะกรรมกำรตรวจรับพัสดุ รำยงำนผล เมื่อผู้ขำย/ผู้รับจ้ ำงแจ้ งส่งของ จนท.พัสดุของ กองจัดหำ อนุมตั ริ ้ ำน (1 วัน )
กำรตรวจรับให้ ฝ่ำยพัสดุทรำบ จนท. แจ้ งให้ คณะกรรมกำรตรวจรับพัสดุ และคลัง ทรำบ เพื่อ (ถ้ ำมีงบประมำณ ฝ่ ำยงบประมำณ จะให้ รหัส
พัสดุของ กองจัดหำ ตรวจสอบควำมถูก งบประมำณ)
เตรียมกำรตรวจรับ คณะกรรมกำรตรวจรับพัสดุ
ต้ องของหลักฐำน แล้ วนำเรียน หัวหน้ ำ จนท.พัสดุของ กองจัดหำ ติดต่อขอหลักประกันสัญญำจำก
ดำเนินกำรตรวจรับพัสดุ เมื่อผู้ขำย/ผู้รับจ้ ำงส่งของครบ กองส่งกำลัง ตรวจสอบควำมถูกต้ องของกำรดำเนินกำร ควำม
หน่วยงำน (จก.พธ.ทบ.) เพื่อขอรำยงำน ผู้ประกอบกำร ( 3 วัน ) และนำรี ยนขออนุมตั ฝิ ำกหลักประกัน
ผลกำรตรวจรับ และขอเบิกเงิน สัญญำ และตรวจสอบหนังสือค ้ำประกันกับธนำคำร (1 วัน) นัดให้ เหมำะสมของรำคำ และควำมถูกต้ องของเอกสำร แล้ วนำเรี ยน
กองจัดหำ ดำเนินกำรถอนหลักประกันสัญญำ ให้
ผู้ขำย/ผู้รับจ้ ำงมำลงนำมในใบสัง่ ซื ้อ/จ้ ำง ( 3 วัน )พร้ อมเแจ้ ง หัวหน้ ำหน่วยงำน (จก.พธ.ทบ.) เพื่อขอ อนุมตั ซิ ื ้อ/จ้ ำง และขอ
คูส่ ญ
ั ญำเมื่อครบระยะเวลำกำรรับประกัน
ควำมชำรุ ดบกพร่ อง คณะกรรมกำรตรวจรับพัสดุ ( 1 วัน ) อนุมตั แิ ต่งตังคณะกรรมกำร
้ ตรวจรับพัสดุ/ตรวจกำรจ้ ำง (3 วัน)

วิธีสอบรำคำ • วงเงินกำรจัดหำเกิน 100,000- บำท แต่ไม่เกิน 2,000,000.- บำท : สร.ปี 35 ได้ รับแผนจัดหำ (ติดต่อขอ จนท.พัสดุ จัดเตรี ยมเอกสำรประกอบกำร ตังเรื ้ ่ อง ตรวจสอบงบประมำณ (2 วัน)
• วงเงินกำรจัดหำเกิน 500,000- บำท แต่ไม่เกิน 2,000,000.- บำท : ว.299/58 คุณลักษณะเฉพำะ สป.) (รำยงำนขออนุมตั หิ ลักกำร, ร่ ำงประกำศและ
เงื่อนไขต่ำงๆ) ตรวจสอบควำมถูกต้ องของร่ำงประกำศ ฯ
เมื่อถึงวันเปิ ดซองสอบรำคำ คณะกรรมกำรฯ รับซองเอกสำร และของตัวอย่ำงจำก หน.เจ้ ำหน้ ำที่พสั ดุตรวจสอบ กำร ผู้ขำย/ผู้รับจ้ ำง ยื่นซองเอกสำร กับเอกสำรรำยงำน นำเรี ยน หัวหน้ ำ
แล้ วนำเรี ยน หัวหน้ ำหน่วยงำน เพื่อขออนุมตั ิ
มีผลประโยชน์ร่วมกันของผู้ยื่นซองตรวจสอบเอกสำรหลักฐำนต่ำงๆ ของผู้ยื่นซองเปิ ดซองรำคำตำมเวลำที่กำหนดไว้ และของตัวอย่ำงที่ หน.เจ้ ำหน้ ำที่ หน่วยงำน ขออนุมตั หิ ลักกำรซื ้อ/จ้ ำง และ
หลักกำรดำเนินกำรด้ วยวิธีสอบรำคำ
ในประกำศสอบรำคำแสดงรำคำของผู้ยื่นซองทุกรำยโดยเปิ ดเผย (ขึ ้นกระดำน) ส่งสิง่ ของตัวอย่ำงของผู้ยื่นซองที่ผ่ำน พัสดุ หน.เจ้ ำหน้ ำที่พสั ดุ เก็บ อนุมตั ปิ ิ ดประกำศ กำหนดวัน เวลำ
พร้ อมกับขออนุมตั ปิ ิ ดประกำศสอบรำคำ (2 วัน)
กำรตรวจสอบเอกสำรให้ ทำกำรทดสอบ หรื อไปตรวจสอบขีดควำมสำมำรถโรงงำนผู้ยื่นซองที่สงิ่ ของตัวอย่ำงถูกต้ อง รักษำเอกสำรหลักฐำน และ สถำนที่รับและเปิ ดซองสอบรำคำ และ
(กรณีงำนจ้ ำงผลิต) พิจำรณำคัดเลือกผู้ที่เสนอรำคำต่ำสุด (ตำมระเบียบพัสดุฯ ปี 35) แล้ วรำยงำนผลกำรเปิ ดซองให้ สิง่ ของตัวอย่ำงไว้ แล้ วส่งเอกสำร จนท.พัสดุ ปิ ดประกำศสอบรำคำ ณ ที่ปิด แต่งตังคณะกรรมกำรเปิ
้ ดซองสอบรำคำ
หน.ส่วนรำชกำร ทรำบ หลักฐำน และสิง่ ของตัวอย่ำงให้ ประกำศ ของหน่วยงำนส่งประกำศไปยังหน่วย ที่ (3 วัน) และคณะกรรมกำรตรวจรับฯ
คณะกรรมกำร ฯ ในวันเปิ ดซอง เกี่ยวข้ องต่ำงๆเผยแพร่ในเว๊ บไซต์กรมบัญชีกลำง
หน.ส่วนรำชกำรอนุมตั ซิ ื ้อจ้ ำง เตรี ยมการลงนามสัญญา
สอบรำคำ
หน.จนท.พัสดุ ตรวจสอบกำร /หน่วยงำน (ประกำศและยื่นซองฯ ไม่น้อยกว่ำ
- ติ ดต่อขอเอกสารต่างๆ
ดำเนินกรรมวิธีของคณะกรรมกำร 10 วัน, เปิ ดซองวันถัดไป) และแจ้ งคณะ ดำเนินกำรถอนหลักประกันสัญญำให้
และหนังสือค้ าประกันสัญญา
ตรวจสอบงบประมำณ กรรมกำรเปิ ดซองสอบรำคำ เพื่อปฏิบตั ติ ำม คูส่ ญ
ั ญำเมื่อครบระยะเวลำกำรรับประกัน
ฯ และควำมสมบูรณ์ของเอกสำร - ส่งเรื ่องให้ นธน. ตรวจร่ างสัญญา
เมื่อมีกำรสัง่ จ่ำยแล้ ว เมื่อผู้ขำย/ผู้รับจ้ ำงแจ้ งส่งของ จนท. ควำมชำรุ ดบกพร่ อง
ควำมเหมำะสมของรำคำแล้ วนำ - ฝากหลักประกันสัญญา หน้ ำที่
พัสดุ แจ้ งให้ คณะกรรม กำรฯ และ
เรี ยน ผลกำรดำเนินกำรของ - ส่งตรวจสอบหนังสือค้ าประกันฯ
จนท.พัสดุ เตรี ยมกำรลงนำมใน - ผูกตัวอย่างประกอบสัญญา
คลัง ทรำบ เพื่อเตรี ยมกำรตรวจรับฯ คณะกรรมกำรตรวจรับพัสดุ รำยงำนผลกำรตรวจรับให้ ฝ่ำยพัสดุ ทรำบ
คณะกรรมกำรฯ
สัญญำซื ้อ/จ้ ำง พร้ อมกับแจ้ ง - นาเรี ยนให้หวั หน้าหน่วยงานลง คณะกรรมกำรฯ ดำเนินกำรตรวจรับ จนท.พัสดุ ตรวจสอบควำมถูก ต้ องของหลักฐำน แล้ วนำเรี ยน หัวหน้ ำ
เพื่อขออนุมตั ซิ ื ้อ/จ้ ำงจำก หน.
คณะกรรมกำรตรวจรับพัสดุ นาม พัสดุเมื่อผู้ขำย/ผู้รับจ้ ำงส่งของครบ หน่วยงำน เพื่อขอรำยงำนผลกำรตรวจรับและขอเบิกเงิน
ส่วนรำชกำร

22
คูม่ ือ นักส่งกำลังบำรุง ทบ. มืออำชีพ โดย : กจบ.58
วิธีพิเศษ  วงเงินกำรจัดหำเกิน 100,000.- บำท : สร.ปี 35 ได้ รับแผนจัดหำ จนท.พัสดุ จัดเตรี ยมเอกสำรประกอบกำรตังเรื ้ ่ องนำเรี ยน หน. ส่วนรำชกำร เพื่อขอ
 วงเงินกำรจัดหำเกิน 500,000.- บำท : ว.299/58 (ติดต่อขอคุณลักษณะเฉพำะ สป.) อนุมตั หิ ลักกำรดำเนินกำรด้ วยวิธีพเิ ศษ (3 วัน) (ในขันตอนกำรขออนุ
้ มตั หิ ลักกำรใน
กำรดำเนินกำรด้ วยวิธีพิเศษ ต้ องอ้ ำงเหตุผลว่ำเข้ ำเงื่อนไขใดพร้ อมเสนอแต่งตัง้ ตรวจสอบงบประมำณ (2 วัน)
ตรวจสอบกำรดำเนินกรรมวิธีของคณะกรรมกำรฯ และควำมสมบูรณ์ เมื่อถึงกำหนดวัน คณะกรรมกำรฯ ทำกำรเปิ ด คณะกรรมกำรจัดซื ้อจัดจ้ ำง โดยวิธีพเิ ศษ เอกสำรหลักฐำนต้ องเกิดหลังจำกที่อนุมตั ิ
ตรวจสอบควำมถูกต้ อง นำเรี ยน
ของเอกสำร ควำมเหมำะสมของรำคำนำเรี ยนผลกำรดำเนินกำรของ ซอง และพิจำรณำคัดเลือก จำกผู้เสนอรำคำที่ แต่งตังคณะกรรมกำรจั
้ ดซื ้อจัดจ้ ำงด้ วยวิธีพิเศษแล้ ว)
ถูกต้ องตำมเงื่อนไข และรำคำต่ำสุด ขออนุมตั หิ ลักกำรและ ขออนุมตั ิ
คณะกรรมกำรฯ ให้ หน.ส่วนรำชกำร ทรำบ (พร้ อมแจ้ งผลถ้ ำมี
(เอกสำรหลักฐำน, สิง่ ของตัวอย่ำง, ขีดควำม คณะกรรมกำรฯ เชิญผู้มีอำชีพขำยพัสดุนนๆ ั ้ โดยตรง มำเสนอรำคำ จัดส่งหนังสือ แต่งตังคณะกรรมกำรจั
้ ดซื ้อ/จ้ ำง
งบประมำณ) (2 วัน)
สำมำรถโรงงำน) (7 วัน) เชิญชวนไปยังผู้มีอำชีพขำย/รับจ้ ำง โดยตรง (กำรออกหนังสือเชิญชวนจะลงนำม โดยวิธีพิเศษ จำก หน.ส่วน
ตรวจสอบควำมถูกต้ องของกำรดำเนินกำร โดยประธำนคณะกรรมกำรหรื อ หน.ส่วนรำชกำรก็ได้ (ระเบียบมิได้ ระบุไว้ ข้ อ 57)) รำชกำร (กรณีวงเงินอำนำจ
รำยงำนผลกำรเปิ ดซองให้ หน.ส่วนรำชกำร
นำเรี ยน หน.ส่วนรำชกำร เพื่อขออนุมตั ซิ ื ้อ/จ้ ำง ให้ มำเสนอรำคำ และแจ้ งให้ หน่วยงำนที่เกี่ยวข้ องทรำบ (5 วัน) อนุมัติ ผบ.ทบ. จะขอกรรมกำร
ทรำบ ผ่ำน หน.จนท.พัสดุ (3 วัน)
และแต่งตังคณะกรรมกำรตรวจรั
้ บพัสดุ/ตรวจกำรจ้ ำง (2วัน) (ส่ งสำเนำหนังสือเชิญชวน ถ้ ำวงเงินเกิน 2,000,000.- บำท ให้ จบ. และ ร่ วมจำก นขต.ทบ. 2 นำย) (3
เตรี ยมการลงนามสัญญา สลก.ทบ. และถ้ ำวงเงินอยู่ในอำนำจ ผบ.ทบ. ต้ องส่ งให้ กบ.ทบ. ด้ วย (ตำม วัน)
ตรวจสอบงบประมำณก่อนผูกพัน - ติ ดต่อขอเอกสารต่าง ๆ และหนังสือค้าประกัน คำสั่ง ทบ.ที่ 214/2545 ลง 10 พ.ค. 45)
สัญญา จากคู่สญ ั ญา
จนท.พัสดุ เตรี ยมกำรตรวจสอบงบประมำณก่อนผูกพันลงนำมใน - ส่งเรื ่ องให้ นธน.ตรวจร่ างสัญญา เมื่อผู้ขำย/ผู้รับจ้ ำงแจ้ งส่งของ จนท.พัสดุ คณะกรรมกำรตรวจรับพัสดุ รำยงำนผล ดำเนินกำรถอนหลักประกัน
สัญญำซื ้อ/จ้ ำง พร้ อมกับแจ้ งคณะกรรมกำรตรวจรับพัสดุ เพื่อ - ฝากหลักประกันสัญญา แจ้ งให้ คณะกรรมกำรฯ และคลัง ทรำบ กำรตรวจรับให้ ฝ่ำยพัสดุ ทรำบ จนท.พัสดุ สัญญำให้ คสู่ ญ
ั ญำเมื่อครบ
เตรี ยมปฏิบตั ติ ำมหน้ ำที่ - ส่งตรวจสอบหนังสือค้าประกันฯ เพื่อเตรี ยมกำรตรวจรับฯ / คณะ ตรวจสอบควำมถูกต้ องของหลักฐำน แล้ ว ระยะเวลำกำรรับประกันควำม
- ผูกตัวอย่างประกอบสัญญา กรรมกำรฯ ดำเนินกำรตรวจรับพัสดุ เมื่อ นำเรี ยน หน.ส่วนรำชกำร เพื่อขอรำยงำน ชำรุ ดบกพร่ อง
- นาเรี ยนให้หวั หน้าหน่วยงานลงนาม ผู้ขำย/ผู้รับจ้ ำงส่งของครบ ผลกำรตรวจรับและขอเบิกเงิน

วิธีกรณีพเิ ศษ  ไม่จำกัดวงเงินกำรจัดหำ : สร.ปี 35 ได้ รับแผนจัดหำ ขอทรำบรำคำจำกหน่วยงำน จนท.พัสดุทำรำยงำนขออนุมตั หิ ลักกำร ตรวจสอบควำมถูกต้ อง แล้ วนำเรี ยนขออนุมตั ิ
(ติดต่อขอคุณลักษณะเฉพำะ สป.) ที่จะจัดซื ้อด้ วยวิธีกรณีพิเศษ และทำหนังสือถึงหน่วยที่ได้ รับสิทธิพิเศษ หลักกำร และนำเรี ยนให้ หน.ส่วนรำชกำร

เพื่อขอทรำบรำคำและรำยละเอียดต่ำง ๆ ลงนำมในหนังสือถึงหน่วยที่ได้ รับสิทธิพิเศษ
ตรวจสอบ
ตรวจสอบควำมถูกต้ องของกำรดำเนินกำร เพื่อขอทรำบรำคำ และรำยละเอียดต่ำง ๆ
งบประมำณ
นำเรี ยน หน.ส่วนรำชกำร เพื่อขออนุมตั ซิ ื ้อ/จ้ ำง
ก่อนผูกพัน ตรวจสอบงบประมำณ (2 วัน)
และขอแต่งตังคณะกรรมกำรตรวจรั
้ บพัสดุ (2 วัน) เมื่อได้ รับหนังสือรำยละเอียดรำคำและรำยละเอียด
นำเรี ยนขออนุมตั ซิ ื ้อ/จ้ ำง (1 วัน)
ต่ำงๆจำกหน่วยงำนที่ได้ รับสิทธิพิเศษ (3 วัน)
เตรี ยมการลงนามสัญญา
- ติ ดต่อขอเอกสารต่างๆ และหนังสือค้า เมื่อหน่วยงำนที่ได้ รับสิทธิพิเศษแจ้ งส่งของ
ประกันสัญญา จากคู่สญ ั ญา จนท.พัสดุ แจ้ งให้ คณะกรรมกำร ฯ และคลัง คณะกรรมกำรฯ รำยงำนผลกำรตรวจรับให้ ฝ่ำยพัสดุ ทรำบ
เตรี ยมกำรลงนำมในสัญญำซื ้อ/จ้ ำง (วิธีกรณีพเิ ศษ สำมำรถทำเป็ น
- ส่งเรื ่ องให้ นธน. ตรวจร่ างสัญญา ทรำบ เพื่อเตรี ยมกำรตรวจรับ จนท.พัสดุ ตรวจสอบควำมถูกต้ อง สมบูรณ์ของหลักฐำน
ข้ อตกลง แทนกำรทำสัญญำได้ และไม่ต้องเรี ยกหลักประกันจำกผู้ขำย/
- ผูกตัวอย่างประกอบสัญญา คณะกรรมกำร ฯ ดำเนินกำรตรวจรับพัสดุ เมื่อ แล้ วนำเรี ยน หัวหน้ ำหน่วยงำน
รับจ้ ำง ที่เป็ นส่วนรำชกำร)พร้ อมกับแจ้ งคณะกรรมกำรตรวจรับพัสดุ
- นาเรี ยนให้หวั หน้าหน่วยงานลงนาม ผู้ขำย/ผู้รับจ้ ำงส่งของครบ เพื่อขอรำยงำนผลกำรตรวจรับ/ตรวจกำรจ้ ำงและขอเบิกเงิน
เพื่อเตรี ยมปฏิบตั ติ ำมหน้ ำที่

23
คูม่ ือ นักส่งกำลังบำรุง ทบ. มืออำชีพ โดย : กจบ.58
วิธีตลำดอิเล็กทรอนิกส์  วงเงินเกิน 100,000 บำท : (ว 105 ลง 10 เม.ย.58 และประกำศสำนักนำยกรัฐมนตรี ฯ ลง 3 ก.พ.
ผู้ค้ำ/ผู้เสนอรำคำ ลงทะเบียนใน e-catalog จนท.พัสดุ ทำเอกสำรขออนุมตั แิ บบจัดหำ
(Electronic Market) 58)
เสนอ หน.ส่วนรำชกำร (ผ่ำน หน.จนท.พัสดุ)
 วงเงินเกิน 2,000,000 บำท : ว.299/58
ผู้มีอำนำจอนุมตั ซิ ื ้อจ้ ำง  สดุ รำยงำนผลต่อ หน.ส่วน
หน.จนท.พั กำรพิจำรณำเกณฑ์รำคำต่ำสุด ระบบเป็ นผู้เลือก เสนอรำคำ – วงเงินเกิน 100,000.- บำท ไม่เกิน 5,000,000.- บำท
หน.ส่วนรำชกำร เห็นชอบเผยแพร่ ประกำศฯ
แล้ วประกำศผลกำร รำชกำร เห็นชอบ ใช้ ใบเสนอรำคำ (RFQ) ผ่ำนระบบ e-GP
เว็บไซต์กรมบัญชีกลำงและหน่วยงำน
พิจำรณำในเว็บไซต์ รำยงำนขออนุมตั ซิ ื ้อ/จ้ ำงตำมอำนำจอนุมตั ิ วงเงินเกิน 5,000,000.- บำท ใช้ ระบบประมูลอิเล็กทรอนิกส์
ไม่น้อยกว่ำ 3 วันทำกำร
(กรณีวงเงิน > 2 ล้ ำนบำท ส่งสำเนำประกำศ
ตรวจสอบงบประมำณ ก่อหนี ้ผูกพันสัญญำ ตรวจรับพัสดุ โดยคณะกรรมกำรตรวจรับพัสดุ เบิกจ่ำยเงิน ตำม คำสัง่ ทบ.ที่ 214/2545 ลง 10 พ.ค.45)
ทำสัญญำโดย หน.ส่วนรำชกำร

วิธีประกวดรำคำอิเล็กทรอนิกส์  วงเงินเกิน 100,000 บำท : ว 105 ลง 10 เม.ย. 58 และประกำศสำนักนำยกรัฐมนตรี ฯ ลง 3 ก.พ.58 จนท.พัสดุ ทำเอกสำรขออนุมตั คิ วำมเห็นชอบเสนอ หน.ส่วนรำชกำร (ผ่ำน หน.จนท.พัสดุ)
(Electronic Bidding)  วงเงินเกิน 2,000,000 บำท : ว.299/58

คณะกรรมกำรพิจำรณำผลกำรประกวดรำคำอิเล็กทรอนิกส์รำยเดียว รำยงำนผลกำรเผยแพร่ ตอ่ TOR มีผ้ กู ่อหนี ้หรื อไม่ หน.ส่วนรำชกำร เห็นชอบเผยแพร่ ประกำศ ฯ ร่ ำง TOR ไม่น้อยกว่ำ 3 วันทำกำร
ตรวจสอบคุณสมบัตติ อ่ รองรำคำหลำยรำย คัดเลือก, เกณฑ์รำคำ โดยหน.ส่ ว นรำชกำร อนุ
ม ต
ั ห
ิ ลั
ก กำร เผยแพร่ ป ระกำศฯ ไม่ น้ อ ยกว่
ำ 1 วั
น ทำกำร ถ้ ำ วงเงินเกิน 100,000.- บำท ไม่ เกิน 5,000,000.- บำท
ต่ำสุด,เกณฑ์ประสิทธิภำพต่อรำคำ วงเงิน ≥ 1,000,000 บำท และ ไม่น้อยกว่ำ 3 วันทำกำรถ้ ำวงเงิน < 1,000,000 บำท เผยแพร่ ประกำศฯ ร่ ำง TOR ให้ สำธำรณชนวิจำรณ์ก็ได้
คณะกรรมกำรฯ สรุ ปผลฯ ขออนุมตั จิ ดั หำ เว้ นไม่น้อยกว่ำ 3 – 15 วันทำกำร (ตำมวงเงิน) วงเงินเกิน 5,000,000.- บำท ต้ องเผยแพร่ ประกำศฯ
(ผู้มีอำนำจตำมวงเงิน) เสนอรำคำผ่ำนระบบ e-GP เท่ำนัน้ (ยื่นพัสดุเพื่อนำเสนอ/ทดสอบ ภำยใน 5 วันทำกำร (ถ้ ำมี) ร่ ำง TOR ไม่ น้อยกว่ ำ 3 วันทำกำร
หน.ส่วนรำชกำร (ผู้มีอำนำจ) อนุมตั ซิ ื ้อจ้ ำงแล้ ว ปิ ดประกำศในเว็บไซต์
ของหน่วยงำนและกรมบัญชีกลำง และแจ้ งผู้เสนอรำคำทุกรำยทรำบ ตรวจสอบงบประมำณก่อนผูกพัน ผูกพันสัญญำ ทำสัญญำโดย หน.ส่วนรำชกำร ตรวจรับพัสดุ โดยคณะกรรมกำร เบิกจ่ำยเงิน
ตรวจรับพัสดุ

สัญญำและหลักประกัน
จำกระเบียบสำนักนำยกรัฐมนตรี วำ่ ด้ วยกำรพัสดุ พ.ศ. ๒๕๓๕ และที่แก้ ไขเพิ่มเติม (ข้ อ๑๓๒ –๑๔๑)
ข้ อ ๑๓๒ กำรลงนำมในสัญญำในกำรจัดหำตำมระเบียบนี ้ เป็ นอำนำจของ หน.ส่วนรำชกำร และให้ ทำเป็ นภำษำไทยหรื อภำษำอังกฤษตำมตัวอย่ำงที่ กวพ. กำหนด เว้ นแต่ หน.ส่วนรำชกำรเห็นว่ำจะมีปัญหำในทำงเสียเปรี ยบหรื อไม่รัดกุมพอ ก็ให้ สง่
ร่ ำงสัญญำนันไปให้
้ สำนักงำนอัยกำรสูงสุดพิจำรณำก่อน
ข้ อ ๑๓๓ ระบุว่ำกำรจัดหำในกรณีดงั ต่อไปนี ้ จะทำข้ อตกลงเป็ นหนังสือไว้ ตอ่ กันโดยไม่ต้องทำเป็ น สัญญำตำมข้ อ ๑๓๒ ก็ได้ โดยให้ อยู่ในดุลพินิจของ หน.ส่วนรำชกำร
๑. กำรซื ้อ กำรจ้ ำง หรื อกำรแลกเปลี่ยนโดยวิธีตกลงรำคำ หรื อกำรจ้ ำงที่ปรึกษำโดย วิธีตกลงที่มีวงเงินไม่เกิน ๑๐๐,๐๐๐ บำท
๒. กำรจัดหำที่คสู่ ญ ั ญำ สำมำรถส่งมอบพัสดุได้ ครบถ้ วนภำยในห้ ำวันทำกำรของทำง รำชกำร นับตังแต่ ้ วนั ถัดจำกวันทำข้ อตกลงเป็ นหนังสือ
๓. กำรซื ้อหรื อจ้ ำงโดยวิธีกรณีพิเศษ และกำรจัดหำจำกส่วนรำชกำร
๔. กำรซื ้อโดยวิธีพเิ ศษตำมข้ อ ๒๓ และกำรจ้ ำงโดยวิธีพเิ ศษตำมข้ อ ๒๔
๕. กำรเช่ำ ซึง่ ผู้เช่ำไม่ต้องเสียเงินอื่นใดนอกจำกค่ำเช่ำ
๖. ในกรณีกำรจัดหำซึง่ มีรำคำไม่เกิน ๑๐,๐๐๐ บำท หรื อในกรณีกำรซื ้อหรื อกำรจ้ ำงซึง่ ใช้ วิธีดำเนินกำรตำมข้ อ ๓๙ วรรคสอง จะไม่ทำข้ อตกลงเป็ นหนังสือไว้ ตอ่ กันก็ได้
24
คูม่ ือ นักส่งกำลังบำรุง ทบ. มืออำชีพ โดย : กจบ.58
ข้ อ ๑๓๔ กำรทำสัญญำหรื อข้ อตกลงเป็ นหนังสือ นอกจำกกำรจ้ ำงที่ปรึกษำให้ กำหนดค่ำปรับ เป็ นรำยวันในอัตรำตำยตัวระหว่ำงร้ อยละ ๐.๐๑-๐.๒๐ ของรำคำพัสดุที่ยงั ไม่ได้ รับมอบ เว้ นแต่กำร จ้ ำงซึง่ ต้ องกำรผลสำเร็ จของงำนทังหมดพร้ ้ อมกัน ให้
กำหนดค่ำปรับเป็ นรำยวันเป็ นจำนวนเงินตำยตัวใน อัตรำร้ อยละ ๐.๐๑ – ๐.๑๐ ของรำคำงำนจ้ ำงนัน้ แต่จะต้ องไม่ต่ำกว่ำวันละ ๑๐๐ บำท สำหรับงำนก่อสร้ ำงสำธำรณูปโภคที่มีผลกระทบต่อกำรจรำจร ให้ กำหนดค่ำปรับเป็ นรำยวันในอัตรำร้ อยละ ๐.๒๕ ของ
รำคำงำนจ้ ำงนัน้ แต่อำจจะกำหนดขันสู ้ งสุดของกำรปรับก็ได้ ทังนี ้ ้ ตำมหลักเกณฑ์ที่กวพ. กำหนด
ข้ อ ๑๓๕ ให้ หวั หน้ ำส่วนรำชกำรส่งสำเนำสัญญำหรื อข้ อตกลงเป็ นหนังสือ ซึง่ มีมลู ค่ำตังแต่ ้ หนึง่ ล้ ำนบำทขึ ้นไป ให้ สำนักงำนตรวจเงินแผ่นดินหรื อสำนักงำนตรวจเงินแผ่นดินภูมิภำค แล้ วแต่กรณี และกรมสรรพำกร ภำยใน ๓๐ วัน นับแต่วนั ทำ
สัญญำหรื อข้ อตกลง
ข้ อ ๑๓๖ สัญญำหรื อข้ อตกลงเป็ นหนังสือที่ได้ ลงนำมแล้ ว จะแก้ ไขเปลี่ยนแปลงมิได้ เว้ นแต่ กำรแก้ ไขนันจะเป็ ้ นควำมจำเป็ นโดยไม่ทำให้ ทำงรำชกำรต้ องเสียประโยชน์ หรื อเป็ นกำรแก้ ไขเพื่อ ประโยชน์แก่ทำงรำชกำร ให้ อยู่ในอำนำจของหน.ส่วน
รำชกำรที่จะพิจำรณำอนุมตั ใิ ห้ แก้ ไข เปลี่ยนแปลงได้
ข้ อ ๑๓๗ หน.ส่วนรำชกำรพิจำรณำใช้ สทิ ธิบอกเลิกสัญญำหรื อข้ อตกลง ในกรณีที่มีเหตุ อันเชื่อได้ ว่ำ ผู้รับจ้ ำงไม่สำมำรถทำงำนให้ แล้ วเสร็ จภำยในระยะเวลำที่กำหนด เฉพำะกรณีที่เป็ นประโยชน์แก่ทำงรำชกำรโดยตรง หรื อเพื่อแก้ ไขข้ อเสียเปรี ยบ
ของทำงรำชกำรในกำรที่ จะปฏิบตั ติ ำมสัญญำหรื อข้ อตกลงนันต่ ้ อไป
ข้ อ ๑๓๘ ในกรณีที่คสู่ ญ ั ญำไม่สำมำรถปฏิบตั ติ ำมสัญญำหรื อข้ อตกลงได้ และจะต้ องมีกำร ปรับตำมสัญญำหรื อข้ อตกลงนัน้ หำกจำนวนเงินค่ำปรับจะเกิน ร้ อยละสิบของวงเงินค่ำพัสดุหรื อค่ำจ้ ำง ให้ สว่ นรำชกำรพิจำรณำดำเนินกำรบอกเลิกสัญญำ
หรื อข้ อตกลง เว้ นแต่คสู่ ญ
ั ญำจะได้ ยินยอมเสียค่ำปรับ ให้ แก่ทำงรำชกำรโดยไม่มีเงื่อนไขใด ๆ ทังสิ ้ ้น ให้ หวั หน้ ำส่วนรำชกำรพิจำรณำผ่อ นปรนกำรบอกเลิก สัญญำได้ เท่ำที่จำเป็ น
ข้ อ ๑๓๙ กำรงดหรื อลดค่ำปรับให้ แก่คสู่ ญ ั ญำ หรื อกำรขยำยเวลำทำกำรตำมสัญญำหรื อ ข้ อตกลง ให้ อยูใ่ นอำนำจของ หน.ส่วนรำชกำรที่จะพิจำรณำได้ ตำมจำนวนวันที่มีเหตุเกิดขึ ้นจริ งเฉพำะ กรณีดงั ต่อไปนี ้ เหตุเกิดจำกควำมผิด หรื อควำม
บกพร่ องของส่วนรำชกำร เหตุสดุ วิสยั และเหตุเกิดจำกพฤติกำรณ์อนั หนึง่ อันใดที่คสู่ ญ ั ญำไม่ต้องรับผิดตำมกฎหมำย ให้ สว่ นรำชกำรระบุไว้ ในสัญญำกำหนดให้ คสู่ ญ ั ญำต้ องแจ้ งเหตุดงั กล่ำวให้ สว่ นรำชกำรทรำบ ภำยใน 15 วัน นับแต่เหตุนนได้ ั ้ สิ ้นสุดลง หำกมิได้
แจ้ งภำยในเวลำที่กำหนด คูส่ ญ ั ญำจะยกมำกล่ำวอ้ ำง เพื่อขอลดหรื องดค่ำปรับ หรื อขอขยำยเวลำในภำยหลังมิได้
ข้ อ ๑๔๐ ในกรณีที่ไม่มีระเบียบกำหนดไว้ เป็ นกำรเฉพำะ และเป็ นควำมจำเป็ นเพื่อประโยชน์ แก่ทำงรำชกำรที่จะใช้ สทิ ธิตำมเงื่อนไขของสัญญำหรื อข้ อตกลง หรื อข้ อกฎหมำย ให้ อยูใ่ นดุลพินิจของ หัวหน้ ำส่วนรำชกำรที่จะใช้ สทิ ธิดงั กล่ำว สัง่ กำรได้
ตำมควำมจำเป็ น หลักประกัน
ข้ อ ๑๔๑ หลักประกันซองหรื อหลักประกันสัญญำ ให้ ใช้ หลักประกันอย่ำงหนึง่ อย่ำงใด ดังต่อไปนี ้ เงินสด เช็คที่ธนำคำรเซ็นสัง่ จ่ำย ซึง่ เป็ นเช็ค ลงวันที่ที่ใช้ เช็คนันช ้ ำระต่อเจ้ ำหน้ ำที่ หรื อ ก่อนวันนันไม่
้ เกิน 3 วันทำกำร หนังสือค ้ำประกันของธนำคำร
ภำยในประเทศตำมตัวอย่ำงที่ กวพ. กำหนด หนังสือค ้ำประกันของบรรษัทเงินทุนอุตสำหกรรมแห่งประเทศไทย บริ ษัทเงินทุน หรื อบริ ษัทเงินทุน หลักทรัพย์ที่ได้ รับอนุญำตให้ ประกอบกิจกำรเงินทุนเพื่อกำรพำณิชย์และประกอบธุรกิจ ค้ ำประกันตำมประกำศของ
ธนำคำรแห่งประเทศไทย ตำมรำยชื่อบริษัทเงินทุนที่ธนำคำรแห่งประเทศ ไทยแจ้ งเวียนให้ สว่ นรำชกำรต่ำง ๆ ทรำบแล้ ว โดยอนุโลมให้ ใช้ ตำมตัวอย่ำงหนังสือค ้ำประกันของ ธนำคำรที่ กวพ. กำหนด และ พันธบัตรรัฐบำลไทย
ข้ อ ๑๔๔ ให้ สว่ นรำชกำรคืนหลักประกันให้ แก่ผ้ เู สนอรำคำคูส่ ญ ั ญำหรื อผู้ค ้ำประกันตำมหลักเกณฑ์ ดังนี ้
๑. หลักประกันซองให้ คืนให้ แก่ผ้ เู สนอรำคำหรื อผู้ค ้ำประกันภำยใน ๑๕ วัน นับแต่ วันที่ได้ พิจำรณำในเบื ้องต้ นเรี ยบร้ อยแล้ ว เว้ นแต่ผ้ เู สนอรำคำรำยที่คดั เลือกไว้ ซงึ่ เสนอรำคำต่ำสุดไม่เกิน ๓ รำย ให้ คืนได้ ตอ่ เมื่อได้ ทำสัญญำหรื อข้ อตกลง
หรื อผู้เสนอรำคำได้ พ้นจำกข้ อผูกพันแล้ ว
๒. หลักประกันสัญญำให้ คืนให้ แก่คสู่ ญ ั ญำ หรื อผู้ค ้ำประกันโดยเร็ ว และอย่ำงช้ ำต้ อง ไม่เกิน ๑๕ วัน นับแต่วนั ที่คสู่ ญ
ั ญำพ้ นจำกข้ อผูกพันตำมสัญญำแล้ ว กำรจัดหำที่ไม่ต้องมีกำรประกันเพื่อควำมชำรุ ดบกพร่ องให้ คืนหลักประกันให้ แก่
คูส่ ญ
ั ญำหรื อผู้ค ้ำ ประกันตำมอัตรำส่วนของพัสดุ ซึง่ ทำงรำชกำรได้ รับมอบไว้ แล้ ว แต่ทงนี ั ้ ้จะต้ องระบุไว้ เป็ นเงื่อนไขใน เอกสำรสอบรำคำหรื อเอกสำรประกวดรำคำ และในสัญญำด้ วย กำรคืนหลักประกันที่เป็ นหนังสือค ้ำประกันของธนำคำร บรรษัทเงินทุน
อุตสำหกรรมแห่ง ประเทศไทย บริษัทเงินทุน หรื อบริ ษัทเงินทุนหลักทรัพย์ ในกรณี ทผี่ ้ เู สนอรำคำหรื อคูส่ ญ ั ญำไม่มำรับ ภำยในกำหนดเวลำข้ ำงต้ น ให้ รีบส่งต้ นฉบับหนังสือค ้ำประกันให้ แก่ผ้ เู สนอรำคำ หรื อคูส่ ญ ั ญำ โดยทำง ไปรษณีย์ลงทะเบียนโดยเร็ ว พร้ อมกับ
แจ้ งให้ ธนำคำร บรรษัทเงินทุนอุตสำหกรรมแห่งประเทศไทย บริษัทเงินทุน หรื อบริ ษัทเงินทุนหลักทรัพย์ผ้ ูค ้ำประกันทรำบด้ วย

จำกหนังสือ คณะกรรมกำรว่ำด้ วยกำรพัสดุ ที่ กค (กวพ.) ๐๔๒๑.๓/ว.๑๕๐ ลง ๑๐ เม.ย.๕๘ และประกำศสำนักนำยกรัฐมนตรี เรื่ อง แนวทำงกำรปฏิบตั ใิ นกำรจัดหำพัสดุด้วยวิธีตลำดอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Market) และด้ วยวิธี
ประกวดรำคำอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Bidding) ลง ๓ ก.พ.๕๘ ได้ กำหนดกำรประกันควำมเสียหำยที่เกิดจำกกรณีผ้ ทู ี่เสนอรำคำไม่ปฏิบตั ติ ำมระเบียบดังนี ้
ข้ อ ๓๔ เพื่อประกันควำมเสียหำยที่อำจเกิดขึ ้นจำกกรณีที่ผ้ เู สนอรำคำไม่ปฏิบตั ิ ตำมกระบวนกำรจัดซื ้อจัดจ้ ำง ให้ สว่ นรำชกำรกำหนดหลักประกันกำรเสนอรำคำ มูลค่ำของหลักประกัน กำรเสนอรำคำ และเงื่อนไขกำรยึดหลักประกันกำรเสนอรำคำ
ดังนี ้
๑. หลักประกันกำรเสนอรำคำ ให้ สว่ นรำชกำรกำหนดให้ ใช้ หลักประกันกำรเสนอรำคำ ได้ แก่ หนังสือค้ํ ำประกันอิเล็กทรอนิกส์ของธนำคำรภำยในประเทศ
๒. มูลค่ำของหลักประกัน ให้ สว่ นรำชกำรกำหนดมูลค่ำของหลักประกัน เป็ นจำนวนเต็มในอัตรำร้ อยละ ๕ ของวงเงินงบประมำณที่จดั หำพัสดุในครัง้ นัน้

25
คูม่ ือ นักส่งกำลังบำรุง ทบ. มืออำชีพ โดย : กจบ.58

๓. เงื่อนไขกำรยึดหลักประกันกำรเสนอรำคำ ให้ สว่ นรำชกำรสำมำรถ ยึดหลักประกันกำรเสนอรำคำในกรณีที่ได้ รับคัดเลือกให้ เป็ นผู้ชนะกำรเสนอรำคำในกำรประกวดรำคำ อิเล็กทรอนิกส์แล้ วไม่ไปทำสัญญำหรื อข้ อตกลงภำยในเวลำที่ทำงรำชกำร
กำหนด ทังนี ้ ้เงื่อนไขกำรยึด หลักประกันกำรเสนอรำคำ ให้ กำหนดในเอกสำรประกวดรำคำอิเล็กทรอนิกส์ให้ ชัดเจน
๔. กำรคืนหลักประกันกำรเสนอรำคำ ให้ สว่ นรำชกำรคืนหลักประกันกำรเสนอรำคำ ให้ แก่ผ้ ยู ื่นเสนอรำคำหรื อผู้ค ้ำประกันภำยใน ๑๕ วัน นับถัดจำกวันที่หวั หน้ ำส่วนรำชกำรได้ พิจำรณำ รำยงำนผลกำรคัดเลือกผู้ชนะกำรเสนอรำคำในเบื ้องต้ น
เรี ยบร้ อยแล้ ว เว้ นแต่ผ้ เู สนอรำคำรำยที่คดั เลือกไว้ ๓ ลำดับแรก ให้ คืนได้ ตอ่ เมื่อได้ ทำสัญญำหรื อข้ อตกลง หรื อผู้เสนอรำคำได้ พ้นจำกข้ อผูกพันแล้ ว

สรุ ป
จากผลการถกแถลงของ นทน.กจบ.58 (กลุ่มที่ 1) ในครั้ งนี้ ทาให้ ทราบถึงขบวนการและขั้นตอนวิธีการจัดซื้อจัดจ้ าง ขั้นตอนการดาเนินงาน วงเงินของแต่ ละวิธีในการจัดซื้อจัดจ้ าง อานาจอนุมัตซิ ื้อหรื อจ้ างตาม
ระเบียบสานักนายกรัฐมนตรี ว่ าด้ วยการพัสดุ พ.ศ.๒๕๓๕ และที่แก้ ไขเพิม่ เติม รวมถึงแนวทางแนวทางการปฏิบัตใิ นการจัดหาพัสดุด้วยวิธีตลาดอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Market) และด้ วยวิธีประกวดราคาอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic
Bidding) สัญญาและหลักประกัน จากระเบียบฯ และคาสั่งฯ ที่เกี่ยวข้ อง ได้ แก่ ระเบียบสานักนายกรั ฐมนตรี ว่ าด้ วยการพัสดุ พ.ศ.๒๕๓๕ และที่แก้ ไขเพิม่ เติม หนังสือคณะกรรมการว่ าด้ วยการพัสดุ ที่ กค (กวพ.) ๐๔๒๑.๓/ว.๑๕๐ ลง ๑๐ เม.ย.
๕๘ และประกาศสานักนายกรั ฐมนตรี เรื่ อง แนวทางการปฏิบัตใิ นการจัดหาพัสดุด้วยวิธีตลาดอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Market) ด้ วยวิธีประกวดราคาอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Bidding) ลง ๓ ก.พ.๕๘, หนังสือคณะกรรมการว่ าด้ วยการ
พัสดุ ที่ กค (กวพ.) ๐๔๒๑.๓/ว.๒๙๙ ลง ๒๘ ส.ค.๕๘ และ คาสั่ง กห (เฉพาะ) ที่ ๒๐๐/๕๘ ลง ๒๕ พ.ค.๕๘ เรื่ อง การพัสดุ

26
คูม่ ือ นักส่งกำลังบำรุง ทบ. มืออำชีพ โดย : กจบ.58

หลักเกณฑ์ และวิธีกำรจัดหำยุทโธปกรณ์ ลักษณะทั่วไป ข้ อแตกต่ างระหว่ าง G TO G กับ FMS


1. ใช้ แนวทำงกำรจัดหำแบบ FMS โดยอนุโลม 1. G TO G ใช้ กำรเจรจำร่ ำงข้ อตกลงร่ วมกัน แต่ FMS ใช้ สญ
ั ญำ (LOA) ของสหรัฐฯ เป็ นหลัก
และบริกำรจำกต่ ำงประเทศ 2. G TO G ต่ อรองรำคำได้ แต่ FMS ฝ่ ำยสหรัฐฯ เป็ นผู้กำหนด
2. ได้ รับยกเว้ นไม่ต้องปฏิบตั ติ ำมระเบียบสำนักนำยก ว่ำด้ วย
โดยวิธีรัฐบำลต่ อรัฐบำล (G to G) 3. G TO G ต้ องขออนุมัตจิ ำก ครม. แต่ FMS ไม่ต้อง
กำรพัสดุ (ส่วนรำชกำรจะต้ องขออนุมตั ยิ กเว้ นหรื อผ่อนผันไปที่
4. G TO G กำหนดวงเงินอนุมติซือ้ แต่ FMS ไม่กำหนด แต่ต้องไม่เกินวงเงินงบประมำณที่ได้ รับ
กวพ. และ/หรื อ กวพ.อ. ก่อนดำเนินกำร ทังนี
้ ้ตำมมติ ครม. เมื่อ
ความเป็ นมา 5. G TO G จะติดต่ อผ่ ำน สน.ผชท.ทหำร หรื อ สถำนเอกอัครรำชทูต แต่ FMS ติดต่อผ่ำน จม.ไทย
- เมื่อ 13 ม.ค.30 ครม.อนุมตั ใิ ห้ ทบ. จัดหำยุทโธปกรณ์และ 4 ธ.ค. 55)
บริ กำรทำงทหำรจำกรัฐบำลต่ำงประเทศ โดยถือปฏิบตั ติ ำม 3. ใช้ ข้อตกลงร่ วมกันแทนกำรทำสัญญำ ข้ อดีของการจัดหา G TO G
หลักกำรจัดหำด้ วยวิธี FMS โดยอนุโลม 1. มีควำมเชื่อถือได้ ระดับรัฐบำล
4. ได้ รับยกเว้ นไม่ต้องใช้ บริกำรขนส่งโดยเรื อไทย
- เมื่อ มี.ค.33 รมว.กห.อนุมตั อิ ำนำจในกำรอนุมตั สิ งั่ ซื ้อ สัง่ จ้ ำง 2. มีชิ ้นส่วนซ่อมสนับสนุน และยำมฉุกเฉินจะได้ รับกำรสนับสนุน
5. มีกำรกำหนดอำนำจอนุมัตไิ ว้
ตำมวงเงิน ดังนี ้.- 3. รำคำค่อนข้ ำงถูกกว่ำ เพรำะเน้ นด้ ำนควำมสัมพันธ์
ผบ.เหล่ ำทัพ ไม่ เกิน 100 ล้ ำนบำท 4. ไม่ต้องปฏิบตั ติ ำมระเบียบสำนักนำยกฯ ว่ำด้ วยกำรพัสดุ (ต้ องขอยกเว้ น
- ผบ.ทบ., ผบ.ทร. และ ผบ.ทอ. ไม่ เกิน 100 ล้ ำนบำท
ผบ.ทหำรสูงสุด และ ปล.กห. ไม่ เกิน 125 ล้ ำนบำท /ผ่อนผันไปที่ กวพ. หรื อ กวพ.อ.)
- ปล.กห. และ ผบ.ทหำรสูงสุด ไม่ เกิน 125 ล้ ำนบำท
รมว.กห. ไม่ จำกัดวงเงิน 5. ใช้ ข้อตกลงแทนกำรทำสัญญำ
- หำกเกินกว่ ำ 125 ล้ ำนบำท ต้ องขออนุมัตจิ ำก รมว.กห.
- กำรสั่งซือ้ สั่งจ้ ำงทุกครั ง้ ให้ สป., บก.ทหำรสูงสุดและเหล่ำทัพ 6. ต้ องได้ รับอนุมัตจิ ำก ครม. ในกำรลงนำมในข้ อตกลง 6. ไม่จำเป็ นต้ องใช้ บริกำรขนส่งของเรื อไทย
รำยงำนให้ รมว.กห.ทรำบ ในฐำนะผู้แทนรั ฐบำลทุกครั ง้ 7. จัดหำได้ จำกทุกประเทศที่มีควำมสัมพันธ์ทำงกำรทูต
- กห.ได้ เสนอ ครม. เพื่อขอให้ พิจำรณำอนุมตั ใิ ห้ ปล.กห., ผบ. 8. ใช้ งบประมำณจำกกำรช่วยเหลือแบบให้ เปล่ำได้
ทหำรสูงสุด และ ผบ.เหล่ ำทัพ มีอำนำจลงนำมในข้ อตกลงฯ ขั้นตอนและแผนผังการจัดหาแบบรั ฐบาลต่ อรั ฐบาล ข้ อเสียของการจัดหา G TO G
ระหว่ำงรัฐบำลที่จดั ทำขึ ้นแทนกำรทำสัญญำได้ ในฐำนะผู้แทน 1. ขันกำรหำข้
้ อมูลและควำมเป็ นไปได้ ในกำรจัดหำ 1. ข้ อตกลงที่จดั ทำเป็ นข้ อตกลงระหว่ำงรัฐบำล
รั ฐบำล 2. ขันกำรตรวจสอบ
้ และกำรขอยกเว้ น/ผ่อนผันฯ 2. ต้ องขออนุมตั จิ ำก ครม. ทุกครัง้
- มติ ครม. เมื่อ ๔ ธ.ค. ๕๕ 3. ขันกำรขออนุ
้ มตั คิ วำมต้ องกำรและแผนจัดหำ 3. เป็ นช่องทำงให้ บริ ษัทฯ เสนอขำย สป. โดยไม่ต้องปฏิบตั ติ ำมระเบียบพัสดุ
นโยบายการปฏิบัตงิ านของ
1. กำรขอยกเว้ น หรื อผ่อนผันกำรไม่ปฏิบตั ติ ำมระเบียบ 4. ขันกำรจั้ ดหำ 4. เนื่องจำกเป็ นกำรจัดหำระหว่ำงรัฐบำลต่อรัฐบำล ทำให้ ข้อตกลง กบ.ทบ.ปี 45
สนร. ว่ำด้ วยกำรพัสดุ พ.ศ.๒๕๓๕ และระเบียบ สนร.ว่ำ 5. ขันกำรตั ้ งแต่
้ ผ้ แู ทนรัฐบำล สัญญำ มีควำมอ่อนตัวสูงส่งผลต่อกำรควบคุมและบริ หำรข้ อตกลงฯ เช่น กำรจัดหำยุทโธปกรณ์ของ ทบ.
ด้ วยกำรพัสดุ ด้ วยวิธีกำรทำงอิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ.๒๕๔๙ ให้ ส่วน 6. ขันกำรลงนำมและบริ
้ หำรสัญญำ/ข้ อตกลงฯ - ไม่มีบทลงโทษกรณีปฏิบตั ไิ ม่ตรงตำมข้ อตกลงฯ ในปี งบประมำณ 2545 ให้
รำชกำรหรื อหน่ วยงำนของรั ฐ เสนอเรื่ องไปยัง กวพ. หรื อ - ไม่มีข้อกำหนดในกำรตรวจสอบคุณภำพก่อนกำรจัดหำ พิจำรณำจัดหำจำกแหล่งผลิต
กวพ. อ. แล้ วแต่ กรณี โดยไม่ ต้องเสนอขออนุมัตจิ ำก ครม. - ควำมล่ำช้ ำในกำรจัดหำและกำรส่งมอบ เนื่องจำกมีควำมอ่อนตัวและ ภำยในประเทศเป็ นหลัก รำยกำร
2. กำรทำสัญญำใดๆ ของส่วนรำชกำรหรื อหน่วยงำนของ หน้ าที่ของกรมฝ่ ายยุทธบริการ ใช้ กำรเจรจำเป็ นหลัก
1. ขออนุมตั หิ ลักกำรจัดหำจำก จก.ฝ่ ำยยุทธบริ กำร ใดที่จำเป็ นต้ องจัดหำจำก
รัฐ หำกสัญญำนันมิ ้ ได้ อยูใ่ นอำนำจของ ครม. ที่จะต้ องพิจำรณำ
2. รำยงำน ทบ. (ผ่ำน กบ.ทบ.) เพื่อขอทรำบรำคำและเชิญเจรจำ ต่ำงประเทศให้ ดำเนินกำรจัดหำ
อนุมตั หิ รื อให้ ควำมเห็นชอบ ก็ให้ ส่วนรำชกำรฯ ดำเนินกำรไป หน้ าที่ของ กบ.ทบ.
3. เจรจำต่อรองรำคำ และร่ ำงข้ อตกลงร่ วม ด้ วยวิธีกำร ตำมลำดับดังนี ้.-
ตำมอำนำจหน้ ำที่โดยไม่ ต้องเสนอขออนุมัตหิ รื อควำม 1. ประสำน ขว.ทบ., สน.ผชท. หรื อ สถำนเอกอัครรำชทูตต่ำงประเทศ 1. วิธี FMS
เห็นชอบจำก ครม. 4. รำยงำนขออนุมตั แิ ผนจัดหำ และขออนุมตั ซิ ื ้อ 2. ส่งใบเสนอรำคำให้ กรมฝ่ ำยยุทธบริ กำร 2. วิธีรัฐต่ อรั ฐ
5. ลงนำมในข้ อตกลงฯ 3. ส่งเจ้ ำหน้ ำที่ร่วมสังเกตกำรณ์ เจรจำร่ ำงข้ อตกลงหำกร้ องขอ 3. วิธีประกวดรำคำ
6. ตรวจรับ สป. 4. ตรวจสอบรำยงำนขออนุมตั จิ ดั ซื ้อ, ร่ำงข้ อตกลงฯ 4. วิธีพเิ ศษ
5. รำยงำนขออนุมตั จิ ำกผู้มีอำนำจ
6. ส่งเรื่ องที่ได้ รับอนุมตั ฯิ ให้ กรมฝ่ ำยยุทธบริ กำรดำเนินกำรต่อไป
27
คูม่ ือ นักส่งกำลังบำรุง ทบ. มืออำชีพ โดย : กจบ.58

ฝ่ ยยุ ธบ ิ ฝ่ ยยุ ธบ ิ ฝ่ ยยุ ธบ ิ

P&A สน ส่ P&A
ห ื Proposal นุ ั ิแผนจัดห
ห ื Proposal
. บ. บ. บ. จจ ่ / ื่ นไ
บ. บ.( .)
P&A ห ื Proposal ส่ P&A
P&A นุ ั ิ
ห ื Proposal ห ื Proposal สน.ผช . ห ่ ศ
สน.ผช . ห ่ ศ ห ื ส . ห ื ผูแ น ี่ได ับ แ ่ ้ ั จ ัฐบ ล บ.
หื ส .

้นั น ี่ 1 ห ูลแล ็ นไ ไดใน จัดห ้ นั น ี่ 2 จส บ ูลแล ้นั น ี่ 3 นุ ั ิ


นุ ั ิ ย น/ผ่ นผันฯ แล แผนจัดห

ซื้
ฝ่ ยยุ ธบ ิ
(ในน ัฐบ ล) ฝ่ ยยุ ธบ ิ ฝ่ ยยุ ธบ ิ

นุ ั ิล น นุ ั ิซ้ื

บ. บ. ( ช .) บ. บ.( ช .)

ล น ในสัญญ นุบ. ั นุ ั ิ

บ. (ไ ่ ิน 100 ล นบ )

ล. ห./บ . .
นุ ั ิ

สน.ผช . ห ่ ศ ล. ห./บ . ห สู สุ ด (ไ ่ ิน 125 ล นบ )


ห ื จน ./ผูแ น ี่ได ับ
(ในน ัฐบ ล ่
แ ่ ้ั
ศ) นุ ั
. ห.
/ . ห. (ไ ่จ ดั ิ น)

นุ ั ิล น ้นั น ี่ 4 จัดห
. ิ
้นั น ี่ 6 ล น แล บ ิ ห สัญญ / ลฯ

้ นั น ี่ 5 แ ่ ้ ั ผูแ น ัฐบ ล 28
คูม่ ือ นักส่งกำลังบำรุง ทบ. มืออำชีพ โดย : กจบ.58
โครงการขายทางทหาร (FMS) คือโครงการที่สหรัฐฯ ขายทั้งยุทธภัณฑ์ และ
กำรจัดหำโดยวิธี FMS การบริการทางทหารให้ แก่ ประเทศพันธมิตร ทั้งในรูปเงินสดและ เงินกู้ โดย ชนิดการขายแบบ FMS การจัดซื้อยุทธภัณฑ์ หลัก
มีเป้าหมาย ดังนี้.- ๑. ส่ งเสริมความมั่นคงของสหรัฐฯ ๑.ขายแบบระบุรายการ (DEFINE LINE CASE) เป็ นการซื้อยุทธภัณฑ์ เฉพาะ สหรัฐฯ จะเสนอขายพร้ อม
๒. ส่ งเสริมสั นติภาพของโลก
อย่ าง โดยระบุประเภท รายการ จานวนที่แน่ นอน ส่ วนประกอบที่เกีย่ วข้ องครบชุ ด
๓. กระชับไมตรีกับพันธมิตร
๒.ขายแบบไม่ ระบุรายการ และจานวน (BLANKET OPEN END หรื อ BOE) (Total Package) เช่ น ชิ้นส่ วน
รู ปแบบของการช่ วยเหลือเพื่อความมัน่ คง (Security Assistance) การจัดหา สป.โดยวิธี FMS เป็ นการจัดหา สป. ใช้ ในการสั่ งซื้อชิ้นส่ วนซ่ อม หรื อ สป.EXCESS หรื อการส่ งซ่ อมระบบ Repair ซ่ อมอุปกรณ์สนับสนุน คู่มือ
จากต่ างประเทศในระบบ G-TO-G ต้ องปฏิบัติ & Return (R&R) บริการทางการซ่ อมบารุ ง ชุ ด
ในส่ วนทีร่ ับผิดชอบของ กห.สหรัฐฯ ภายใต้ กฎหมาย FOREIGN ตามกฎหมายของสหรัฐฯ และเงื่อนไขที่
๓.ขายแบบจัดระบบส่ งกาลังบารุ งร่ วมกัน (COOPERATIVE LOGISTICS ฝึ กสอนเคลื่อนที่ การช่ วยเหลือ
ASSISTANCE ACT ปี ๑๙๖๑ และ INTERNATIONAL SECURITY สหรัฐฯ กาหนด
SUPPLY SUPPORT ARRANGEMENT หรื อ CLSSA) เป็ นการให้ การ ทางเทคนิคตลอดจนถึงการ
ASSISTANCE AND ARMS EXPORT CONTROL ACT ปี ๑๙๗๖ แบ่ งเป็ น
สนับสนุนชิ้นส่ วนซ่ อมระบบอาวุธในช่ วงระยะเวลาตั้งแต่ ๕ ถึง ๑๐ ปี โดยถือ สนับสนุนการซ่ อมบารุ งขั้นคลัง
๑. Foreign Military Sale (FMS) โครงการขายทางทหาร เป็ นส่ วนหนึ่งของระบบการส่ งกาลังบารุ งร่ วมกับ ทบ.สหรัฐฯ (Repair and Return หรื อ
๒. Foreign Military Financing Program (FMFP) R&R) สาหรับยุทธภัณฑ์ ใหม่ ที่ผ้ ู
๓. International Military Education and Training (IMET) กฎหมาย, มติ ครม., ระเบียบ และอนุมตั ิหลักการที่สาคัญในการจัดหา สป.โดยวิธี FMS.- ซื้อ ยังไม่ มีขีดความสามารถ
๑. มติ ครม.เมื่อ ๒๗ พ.ย.๒๒ กรุ ณาอนุมัติให้ จะดาเนินการได้ เช่ น
๔. Emergency Drawdown
- ให ห.ด นิ น จัดห ส .ห ื บ ิ ห จ ห.สห ัฐฯ ได ็ น ณี พิ ศษ โดยย นไ ่ ฮ.ท. ๖๐ แบบ M ( UH-60 M)
๕. Leases of Equipment
ถื ฏิบ ั ิ บียบส นั น ย ัฐ น ี ่ ด ย พัสดุ ี่ . นุ ั ิใช แล ี่แ ไ พิ่ ิ
๖. Excess Defense Articles (EDA)
- สัญญ ซื้ ยโดย ิธี FMS ใหใชแบบฟ ์ ล แล ื่ นไ ล ห. เงื่อนไขในสัญญา (LOA) ที่ผ้ ซู ื้อต้ อง
ปฏิบัติตาม
สห ัฐฯ ิ ช่น ล LOA แบบ DD Form 1513 ็ นสัญญ ซื้ ยได
นโยบายทางทหารที่สาคัญคือ ๑. ซื้ ส .จ ใชสัญญ ล แล ิธี
๑. สหรัฐฯ จะไม่ ขายระบบอาวุธทันสมัยทีเ่ พิง่ พัฒนาหรื อเพิง่ บรรจุเข้ าประจาการ - ส่ ส . ห ฎ ่ ีส . ย ใด ิด ช ุ ด สี ยห ย ผิด ย หื ดจ น น โดย ี่
จ ่ ๆ ในลั ษณ ดีย บั จัดห ส .ให
ให้ ประเทศฝ่ ายใด (เพื่อป้ องกันการแข่ งขันทางอาวุธ) และจะไม่ ขายอาวุธทีก่ องทัพ บียบ สห ัฐฯ ห ื ื่ นไ ล หนด ่ ี ูล ่ ี่ไ ่ ุ ่ บั สี ย ่ ใชจ่ ยใน สห ัฐฯ
สหรัฐฯ ยังมิได้ นาเข้ าประจาการในกองทัพให้ แก่ ประเทศใด รวมทั้งจะห้ ามการผลิต ี่ สห ัฐฯ จ จัดส่ ส .นั้น ชดใช พั ไ ย ใหด นิ น จ หน่ ย ส . ย ดั ล่ ๒. สห ัฐฯ ส นสิ ธิ จ ย ลิ สัญญ ้ ั ห ด
หรื อปรับปรุงระบบอาวุธพิเศษเพื่อการส่ งออก ยกเว้ นเมื่อประธานาธิบดีอนุมตั เิ ป็ น
็ นสู ญใน ้ นั จ ับ ส .ได ห ื บ ส่ นใน ล ใด ็ได พื่ ผล โยชน์
กรณีพเิ ศษ
- . ห. ผบ. ห สู สุ ด ผบ. บ. ผบ. . แล ผบ. . ี น จ นุ ั ิใหแ ไ ล ศ
๒. ห้ ามนาอาวุธทีส่ หรัฐฯ ขายให้ ขายหรื อส่ งต่ อให้ ประเทศที่ ๓
๓. การขายทางทหารจะต้ องมีลกั ษณะไม่ ขดั กับสิ ทธิมนุษยชน หลั จ ล น แล ไดใน ณี ดั ่ ไ นี้ .- ๓. ในสัญญ ็ น โดย ณ สห ัฐฯ จ
(ห้ ามขายสารปราบจลาจลและระเบิดนาปาล์ ม) และไม่ กระทบกระเทือนต่ อสภาพ ิด จ ิ ใน จัดห บั ่
ี น จ นุ ั ิให ับ ุ ลี่ยนแ ล ย ส . ี่จดั ซื้ ให ห ส บั ย ี่ สห ัฐฯ
เศรษฐกิจของประเทศ ด นิ น ่ ๆ ห หลื จ ืน ินให แล ห ไ ่
ี ยใหได โดย ี่ ส .นั้น ็ น ส . ี่ พั ไ ยจ ็ น จัดห พื่ สนับสนุน ิจ
๔. รัฐบาลสหรัฐฯ จะหลีกเลีย่ งการค้ าขายแข่ งกับบริษัทเอกชน (Direct พ จ ี ย ็บ พิ่ ิ
Commercial Sale) ี น จให พิ่ ิน ี่จดั ซื้ โดยใช ิน บ ณ พั ไ ย พิ่ ้ ึนได ใน ณี ี่ ส . ี่ ๔. ผูซื้ จย ลิ ห ื แ ไ ย ส .บ ย่
๕. สหรัฐฯ จะขายในราคาต้ นทุน รวมค่ าใช้ จ่ายต่ างๆ ตามทีร่ ัฐบาลสหรัฐฯ ได้ใช้ ส่ จ ิ ี ิน ่ ิน ี่ หนดไ ใน ล แล ็ นไ ื่ นไ ี่ บุไ ใน ล นั้น สัญญ ได ุ ล ่ น ี ส่ บ ห ื ่ น
จ่ ายไป (การซื้อขายนั้น รัฐบาลสหรัฐฯ จะไม่ เอากาไร แต่ กไ็ ม่ ยอมขาดทุน) และจะ ้ ั นี้ โดยใชจ่ ยจ ิน บ ณ พั ไ ย จ ี ี่ได ับแจ ส ห ับส่ น ี่ ินนั้น ด นิ น ใดๆ ี่ ี่ย โดยผูซื้ จ ับผิดช บ
จากัดกาไรของผู้ผลิต (ไม่ ให้ คดิ กาไรเกินควร) ๒. หนังสื อ กบ.ทบ. ที่ กห ๐๓๑๘/๑๗๓๖๕ ลง ๑๑ พ.ย.๒๓ เป็ น รปจ.ทบ. ในการจัดซื้อ สป.โดยวิธี ่ ใชจ่ ย นั ็ นผล ี่ ิดจ ย ลิ ห ื แ ไ
๖. สหรัฐฯจะเก็บเงินล่ วงหน้ าในการซื้อขาย รวมทั้งจะเก็บดอกเบีย้ จากเงินประจา สัญญ นี้ 29
FMS
งวดทีส่ ่ งไปช้ าด้ วย
คูม่ ือ นักส่งกำลังบำรุง ทบ. มืออำชีพ โดย : กจบ.58

การคิดราคาในการขาย สาเหตุที่ทาให้ การส่ งมอบล่ าช้ า


ยึดถื หลั ิด น ุนใน จัดห บั ่ ใชจ่ ย ี่ ิด ้ ึนจ ิ บั ัฐบ ลสห ัฐฯ ๑. สาเหตุจากฝ่ ายไทย
สัญญ (LOA) นั้น ็ น โดย ณ ี่แ จ ิ จ ็ น ี่แจ ใน FINAL - ล น ใน LOA ล่ ช ไ ่ นั หนด ใหไ ่ นั ิ ดส ย ผลิ ิ ดส ย ผลิ ใน ด ่ ไ
- ส่ ินล่ ช ใหสห ัฐฯ ด นิ น จัดห ไ ่ นั ิ ดส ย ผลิ
BILLING STATEMENT ซึ่ จ ส่ ใหผูซื้ ับ บ ุ ๆ ๓ ดื น โดย ั่ ไ จ ย
๒. สาเหตุจากฝ่ ายสหรัฐฯ
หล่ นี้ ื
- สั่ ส .ล ส ยั ไ ่ ีส ย ผลิ ิ ด ยู่ สี ย ล ศห ผูผลิ
๑. โดย ณ ยุ ธ ณั ฑ์ ี่จ ซื้ จ ้ ึนล ได ส พ ็ นจ ิ - จ น นสั่ น ย จ น นผลิ ่ สุ ด ี่จ ิ ดส ย ผลิ ได
๒. ่ ใชจ่ ย ธุ ็ น ่ ใชจ่ ยใน ด นิ น ิธีจดั ห ่ ดษ ื่ ียน ่ ิด ่ - ส . ผูผลิ ไ ่ผ่ น จส บ ้ นั น ด ให ่
ส น น ่ แบบ ่ จ แ น ณฑ์ ิ ิด ณ ๓.๘% ๑ ส (ย น ส . ี่ - จ ดั จ่ ย ส .บ ย ไ ให ศ ื่น ี่ ี ่ ด่ นสู
ไ ่ใช่ ส . ฐน บ.สห ัฐฯ ช่น ส . ่ ึ พ ณิ ชย์แล สั่ ซื้ ห ื ผลิ ใหให ่ แล ซื้ - บ พ่ ผูผลิ ช่น น นสไ ์ ไฟไห โ น
ยแบบ CLSSA จ ิด ๕%) - ลั สห ัฐฯ จ ย สี ย ล นส่ ยั ่ ื ห ื ลั สิ น ั แ นจัด นส่
๓. สาเหตุจากกรรมวิธีขนส่ ง
๓. ่ ใชจ่ ยใน จัดห หี บห่ นย ย แล นส่ ิด ๓.๕% (ในบ ณี จ ไ ่ ี)
- ั แ นจัด นส่ ด นิ น ล่ ช ไ ่ บ ส . ี่ได ับ บ จุ ล่ พื่ บ จุ ู CONTAINER พื่
๔. ่ ใชจ่ ย ื่นๆ ช่น ่ นส่ ยใน ศ ิด ๓% ถ ซื้ ส .จ ลั สห ัฐฯ จ ิด ่ ็บ ั ษ
บ ุล ื
พิ่ ี ๑%
- ั แ นจัด นส่ จัด จ ื พื่ นสิ น ล่ ช ( ี พ แล แ ่ไ ่ ีเรื อขน)
๕. ถ ซื้ ส .จ ลั สห ัฐฯ แล ส .นั้น ็ น ส . ี่สห ัฐฯ จ จัดห ดแ นแล สห ัฐฯจ
- ตัวแทนจัดการขนส่ งดาเนินการด้ านเอกสารเกีย่ วกับการส่ ง สป.ออกจากท่ าเรื อสหรัฐฯ ผิดผลาดและล่ าช้ าทาให้ ส่งตู้
ิด ส .นั้น ใน ี่ จัดห ดแ นซึ่ จจ ็ น ดิ ห ื แพ ่
๖. ผูซื้ จ ีส่ น ่ ใน ่ ใชจ่ ยใน ิจยั พัฒน ธุ นั้น (R&D COST) ด ย CONTAINER ออกไม่ ได้
ฉลี่ย จ น นผลิ (PRO RATE SHARE) - การเดินทางใช้ เวลาอย่างน้ อย ๔๕ วัน เมื่อถึงไทยแล้ ว ต้ องดาเนินกรรมวิธี ศุ ลกากรเอา สป. ออก

สาเหตุที่ทาให้ สป.ขึน้ ราคา สรุ ปข้ อดีข้อเสียของการจัดซื้ อแบบ FMS


๑. สาเหตุที่เกิดจากฝ่ ายไทย ข้ อดี ข้ อเสีย
- ล น ใน LOA ล่ ช ไ ่ นั หนด จจ นื่ จ ล่ ช ธุ ห ื ั ญห ๑. ได้ สป.มาตรฐานทางทหารของสหรั ฐฯ/โลกเสรี ๑. เป็ นการผูกพันสัญญาโดยตรง
บ ณ ใหไ ่ นั บั ิ ดส ย ผลิ ใน ณ นั้น ๒. ความเชื่อถือได้ระดับรัฐบาล/ประเทศ ๒. ต้ องปฏิบัติตามเงื่อนไขผู้ขาย
- ส่ ินล่ ช นื่ จ ั ญห ธุ หื บ ณไ ่ นั ิ ดส ย ผลิ ๓. ร่ วมระบบส่ งกาลังโลกเสรี ๓. การส่ งมอบอาจล่าช้ า
- สั่ ส .จ น นน ยไ ่พ บั จ น นผลิ ่ สุ ด ี่ ผูผลิ หนดไ จึ ให น ุนสู ๔. มีชิ้นส่ วนสนับสนุนระยะยาวอย่ างต่ อเนื่อง ๔. ราคาอาจสู งขึ้นมากตามสภาพความเป็ นจริง
๒. สาเหตุที่เกิดจากฝ่ ายสหรัฐฯ ๕. สป.เกินต้ องการราคาถูกมาก ๕. สหรัฐฯ อาจไม่ ขาย สป.ที่ต้องการให้ กไ็ ด้
- สห ัฐฯ สัญญ บั ผูผลิ แบบสัญญ ับ ได ให ผลิ ใช ล ย น น ่ ิน ฟ พิ่ ๖. ยามฉุกเฉินจะได้ รับการสนับสนุนทันที
ุ ี โดย ฉลี่ย ี ล ๑๐% ส .จึ สู ้ ึน ็ น ั ๗. ราคาถูกถ้ าจัดหามาก และทันงวดการผลิต
- สั ดุใน ผลิ ่ ชื้ พลิ ่ แ สู ้ ึน ศ ษฐ ิจโล ๘. ใช้ งบ GRANT AID/CREDIT ได้
- บ ้ ั สห ัฐฯ แจ ส . ้ ึน หลั ส่ บแล ส ห ุ นื่ จ ิด ฉลี่ย
๙. จัดหาชิ้นส่ วนตามระบบ CLSSA ราคาถูกรวดเร็ ว
่ จัดห ใน ้ ั หนึ่ ๆ ช่ ผลิ จจ ีผซืู ้ บ ยย ลิ ็ นผลให ฉลี่ย
๑๐. ไม่ มี AGENT FEE, COMMISSION
สู ้ ึน 30
๑๑. ราคาอาจถูกลงตามสภาพเป็ นจริ ง
คูม่ ือ นักส่งกำลังบำรุง ทบ. มืออำชีพ โดย : กจบ.58

31
คูม่ ือ นักส่งกำลังบำรุง ทบ. มืออำชีพ โดย : กจบ.58

5 การแจกจ่ าย
ตำมระเบียบ ทบ.ว่ำด้ วย กำรส่งกำลัง สิ่งอุปกรณ์ 2-4 พ.ศ.2534 ให้ ควำมหมำยของกำรแจกจ่ำยว่ำ หมำยถึง กำรรับ กำรเก็บรักษำ กำรจ่ำย และกำรขนสิ่งอุปกรณ์

ใครบ้ างที่เกี่ยวข้ อง หำกเรียงตำมลำดับจำกหน่วยแจกจ่ำยไปจนถึงหน่วยใช้ สำมำรถเขียนเป็ นรูปภำพได้ ดงั นี ้

ลั ฝ่ ยฯ ลั ฝ่ ยฯ

บ.

บช .
บช .

หน่ ยสนับสนุนโดย หน่ ยสนับสนุนโดย


ใน ั พล. . ใน ั พล. .

-หน่ ยใชน ั พล. . -หน่ ยใชน ั พล. .


หน่ ยใชใน ั พล. . หน่ ยใชใน ั พล. .
-หน่ ย น . . -หน่ ย น . .

กรณี ปกติ

กรณีเร่ งด่วน

32
คูม่ ือ นักส่งกำลังบำรุง ทบ. มืออำชีพ โดย : กจบ.58

หน่ วย ควำมเกี่ยวข้ อง
การเดินทางของสิ่งอุปกรณ์ จากคลังถึงหน่ วยเบิก
กรมฝ่ ำยยุทธบริกำร - กำรจัดเตรียม สิ่งอุปกรณ์เพื่อแจกจ่ำย
ในกำรแจกจ่ำยสิ่งอุปกรณ์ตำมแผนผังขันต้
้ นนัน้ เพื่อให้ สิ่งอุปกรณ์ถึงมือผู้ใช้ หรือหน่วยใช้ ทังในยำมปกติ
้ และยำมสงครำม
- กำรขอกำรขนส่ งจำก ขส.ทบ./กำรจ้ ำ งกำรขนส่งจำก
ได้ แบ่งวิธีกำรแจกจ่ำยออกเป็ น 2 วิธีคือ
รฟท./ผู้ประกอบกำรขนส่ง
1. กำรแจกจ่ ำย ณ ตำบลส่ งกำลัง เป็ นกรรมวิธีกำรแจกจ่ำย สิ่งอุปกรณ์ของหน่วยจ่ำย โดยให้ เจ้ ำหน้ ำที่ของหน่วยใช้ นำ
บชร. - กำรรับ สิ่งอุปกรณ์จำกกรมฝ่ ำยยุทธบริกำร
ยำนพำหนะไปรับ สิ่งอุปกรณ์จำกหน่วยจ่ำย ณ ตำบลส่งกำลัง หรือตำบลจ่ำยที่ให้ กำรสนับสนุน วิธีนี ้ใช้ เป็ นวิธีหลักในกำรแจกจ่ำยโดย
คำนึงถึงควำมประหยัดและกำรควบคุมของหน่วยแต่ละระดับ - กำรจัดเตรียม สิ่งอุปกรณ์เพื่อแจกจ่ำยต่อ

2. กำรแจกจ่ ำย ณ ที่ตัง้ หน่ วย (หรื อจ่ ำยถึงหน่ วย) เป็ นกรรมวิธีกำรแจกจ่ำย สิ่งอุปกรณ์ โดยให้ เจ้ ำหน้ ำที่ของหน่วย - กำรประสำนหน่วยใช้ ในกำรรับ สิ่งอุปกรณ์
จ่ำยนำ สิ่งอุปกรณ์ขนส่งไปแจกจ่ำยให้ หน่วยใช้ ถึงที่ตงหน่
ั ้ วย ของหน่วยใช้ นนั ้ ๆ หรืออำจจ่ำยถึงผู้ใช้ โดยตรงก็ได้ วิธีนีจ้ ะใช้ ในกรณี
- กำรขนส่งโดย พัน .ขส. /กำรจ้ ำงกำรขนส่งจำก รฟท./
จำเป็ นเร่งด่วนและในกำรปฏิบตั ิรำชกำรสนำมหรือยำมสงครำมเพื่อลดภำระหน่วยในแนวหน้ ำ
ผู้ประกอบกำรขนส่ง
เมื่อหน่วยส่งกำลังบำรุ งอนุมัติ ให้ ทำกำรแจกจ่ำยสิ่งอุปกรณ์ ตำมที่หน่วยใช้ เบิก ขัน้ ตอนแรกที่หน่วยส่งกำลังบ ำรุ งต้ อง
มทบ. - กำรรั บ สิ่ งอุป กรณ์ จำก บชร. หรื อจำกกรมฝ่ ำยยุท ธ
ด ำเนิ น กำรคื อ กำรเตรี ย มกำรจ่ ำยสิ่ งอุ ป กรณ์ ซึ่งหน่ ว ย ส่งกำลังบ ำรุ งทุกระดับ จะมี ขัน้ ตอนกำรปฏิ บัติ ค ล้ ำ ยๆกัน แต่อ ำจมี
บริกำร
รำยละเอียดที่แตกต่ำงกันไปบ้ ำง ได้ แก่ กำรจัดทำแผนกำรแจกจ่ำยหรื อเอกสำรกำรแจกจ่ำยสิ่งอุปกรณ์ (สำคัญมำก), กำรปรนนิบตั ิ
บำรุงสิ่งอุปกรณ์ก่อนจ่ำย และกำรจัดสถำนที่เตรียมจ่ำย - กำรประสำนหน่วยใช้ ในกำรรับ สิ่งอุปกรณ์

ขันตอนต่
้ อไปคือ กำรจ่ ำยสิ่งอุปกรณ์ โดยเจ้ ำหน้ ำที่สว่ นบัญชีคมุ จะต้ องตรวจสอบใบเบิกในเรื่อง ลำยมือชื่อผู้มีสิทธิเบิก, - กำรส่ง สิ่งอุปกรณ์ให้ หน่วยใช้ โดย สขส.มทบ.
ควำมเรียบร้ อยและควำมถูกต้ องของใบเบิกโดยเฉพำะกำรอ้ ำงอิงหลักฐำน รำยกำรและจำนวนทีข่ อเบิก, กำรบันทึกค้ ำงรับและค้ ำง
จ่ำย และห้ วงเวลำที่กำหนดให้ ทำกำรเบิก ซึง่ กำรดำเนินกำรทำงบัญชีนี ้อำจเพิ่มหรือลดจำนวนที่ขอเบิกมำก็ได้ เพื่อควำมเหมำะสม
หน่ วยสนับสนุน - กำรรับ สิ่งอุปกรณ์จำก บชร.

กับมำตรฐำนกำรบรรจุหีบห่อ และจะพิจำรณำจ่ำยตำมลำดับทะเบียนหน่วยจ่ำย ซึง่ เมื่อดำเนินกำรแล้ วเสร็ จจะส่งเอกสำรกำรจ่ำยให้ โดยตรงในอัตรำ


- กำรประสำนหน่วยใช้ ในกำรรับ สิ่งอุปกรณ์
เจ้ ำหน้ ำที่สว่ นเก็บรักษำไว้ เป็ นหลักฐำนด้ วย พล.ร.
- กำรส่ง สิ่งอุปกรณ์ให้ หน่วยใช้ โดยยำนพำหนะในอัตรำ

หน่ วยใช้ - กำรรับ สิ่งอุปกรณ์ณ ที่ตงหน่


ั ้ วย/ณ ตำบลส่งกำลัง

- กำรแจกจ่ำยต่อ

33
คูม่ ือ นักส่งกำลังบำรุง ทบ. มืออำชีพ โดย : กจบ.58

กำรจ่ำยสิ่งอุปกรณ์อีกวิธีหนึ่งที่กรมฝ่ ำยยุทธบริกำรใช้ ในกรณีจำเป็ นเร่งด่วน คือกำรจ่ ำยสิ่งอุปกรณ์ โดยอัตโนมัติ ได้ แก่ กำรจ่ำยสิ่งอุปกรณ์ให้ หน่วยใช้ โดยตรงโดยหน่วยใช้ นนไม่
ั ้ ต้องทำ ใบเบิก โดยหน่วยจ่ำยจะทำใบเบิก 1
ชุด และลงทะเบียนเอกสำรแล้ วบันทึกคำ ว่ำ "อัตโนมัติ" ไว้ ด้ำนบนของใบเบิกด้ วยอักษรสีแดงเก็บใบเบิกฉบับที่ 3 ไว้ ในแฟ้มรอเรื่อง ส่วนที่เหลือส่งไปให้ หน่วยใช้ พร้ อมกับสิ่งอุปกรณ์ ซึ่งหน่วยใช้ ที่ได้ รับสิ่งอุปกรณ์จำกกำรแจกจ่ำยโดย
อัตโนมัตินี ้จะต้ องรีบดำเนินกำรลงที่ใบเบิก ลงนำมผู้เบิกและผู้รับสิ่งอุปกรณ์ในใบเบิกที่ได้ รับ แล้ วส่งใบเบิกฉบับที่ 1 คืนหน่วยจ่ำย ภำยใน 7 วัน นับจำกวันที่ได้ รับสิ่งอุปกรณ์ หำกส่ง คืนหน่วยจ่ำยล่ำช้ ำเกินกว่ำ 7 วัน หน่วยจ่ำย
จะแจ้ งให้ ผ้ บู งั คับบัญชำชันเหนื
้ อของหน่วยใช้ เพื่อสอบสวนหำสำเหตุแห่งควำมล่ำช้ ำ

ในส่วนของเจ้ ำหน้ ำที่สว่ นเก็บรักษำของคลังหน่วยจ่ำย เมื่อได้ รับหลักฐำนอนุมตั ิกำรจ่ำยสิ่งอุปกรณ์จำกส่วนบัญชี คมุ จะดำเนินกำรลงนำมผู้จำ่ ยในใบเบิก, จัดเตรียมและคัดแยกสิ่งอุปกรณ์ให้ ครบถ้ วน เขียนป้ำยประจำสิ่ง
อุปกรณ์, ตรวจสอบลำยมือชื่อผู้มีสิทธิรับสิ่งอุปกรณ์กรณีที่หน่วยเบิกมำรับสิ่งอุปกรณ์เอง (อันนี ้สำคัญมำก), มอบสิ่งอุปกรณ์ให้ ผ้ รู ับหรือจัดกำรขนส่งให้ หน่วยรับต่อไป

ขันตอนต่
้ อไปเมื่อหน่วยเบิกได้ รับแจ้ งว่ำจะได้ รับสิ่งอุปกรณ์ ที่ขอเบิกแล้ ว ก็จะเป็ นขันตอนในกำรเตรี
้ ยมกำรรั บสิ่งอุปกรณ์ โดยมีกำรปฏิบตั ิที่สำคัญคือ กำรตรวจสอบเอกสำรกำรรับสิ่งอุปกรณ์และเตรียมสถำนที่และสิ่ง
อำนวยควำมสะดวกในกำรรับสิ่งอุปกรณ์

ขันตอนต่
้ อไป ซึ่งเป็ นขันตอนที
้ ่สำคัญที่สดุ ในกระบวนกำรแจกจ่ำย คือ กำรรับสิ่งอุปกรณ์ ซึง่ หมำยถึง กำรดำเนินกรรมวิธีเพื่อเข้ ำครอบครองสิ่งอุปกรณ์ที่ได้ มำ ซึง่ กำรรับสิ่งอุปกรณ์ก็จะสอดคล้ องกับวิธีกำรแจกจ่ำยตำมที่
กล่ำวข้ ำงต้ นดังนี ้

- การรับสิ่ งอุปกรณ์ ในกรณี หน่วยเบิ กไปรับสิ่ งอุปกรณ์ ณ ที ่ตงั้ หน่วยจ่าย : หน่วย เบิกดำเนินกำรตรวจสอบควำมถูกต้ องของใบเบิก, ลงนำมรับสิ่งอุปกรณ์ในใบเบิกและเก็บเป็ นหลักฐำนของหน่วยเบิก จำกนันขนสิ
้ ่ง
อุปกรณ์กลับมำยังหน่วย เมื่อผู้รับนำสิ่งอุปกรณ์ไปถึงหน่วยเบิกให้ ผ้ บู งั คับหน่วยเบิกตังกรรมกำรตรวจรั
้ บสิ่งอุปกรณ์ และรำยงำนผลกำรตรวจรับให้ ผ้ บู งั คับหน่วยเบิกทรำบ

- การรับสิ่ งอุปกรณ์ ในกรณี รับมอบสิ่ งอุปกรณ์ จาก สขส. : หน่วยเบิกดำเนินกำรตรวจสอบใบเบิก ลงนำมรับ สิ่งอุปกรณ์ , ลงนำมรับหีบห่อสิ่งอุปกรณ์จำก สขส.ปลำยทำงโดยลงนำมรับในใบตรำส่ง, ตรวจรับสิ่งอุปกรณ์
ภำยในหีบห่อโดยคณะกรรมกำรตรวจรับสิ่งอุปกรณ์, ลงนำมรับสิ่งอุปกรณ์ และมอบสิ่งอุปกรณ์ให้ เจ้ ำหน้ ำที่ผ้ รู ับ และเก็บหลักฐำนที่เกี่ ยวข้ องไว้ ที่ หน่วยต่อไป

ข้ อควรรู้ในกำรรับสิ่งอุปกรณ์ ท่สี ำคัญมีดังนี.้ -

1. กำรตังคณะกรรมกำรตรวจรั
้ บสิ่งอุปกรณ์ต้องมีนำยทหำรสัญญำบัตรอย่ำงน้ อย 2 นำย และตังเจ้
้ ำหน้ ำที่ในสำยงำนที่รับผิดชอบต่อสิ่งอุปกรณ์นนเข้
ั ้ ำร่วมด้ วย

2. ถ้ ำปรำกฏว่ ำสิ่งอุปกรณ์ คลำดเคลื่อนไปจำกใบเบิกหรือมีกำรชำรุ ดเสียหำย ให้ คณะกรรมกำรสอบสวนสำเหตุและดำเนินกำรจำหน่ ำยตำมระเบียบ (***)

3. ระเบียบที่เกี่ยวข้ องในกำรเบิกรับสิ่งอุปกรณ์จำกสำนักงำนขนส่งปลำยทำง

- ระเบียบกองทัพบก ว่ำด้ วยกำรส่งและรับสิง่ อุปกรณ์ พ.ศ.2500

- คำสัง่ กองทัพบกที่ 57/13166 ลง 11 ต.ค.2504 เรื่ อง ชี ้แจงกำรปฏิบตั ิกำรส่งและรับสิง่ อุปกรณ์ของ ทบ.(ครัง้ ที่ 3)

34
คูม่ ือ นักส่งกำลังบำรุง ทบ. มืออำชีพ โดย : กจบ.58

ขันตอนสุ
้ ดท้ ำย เจ้ ำหน้ ำที่บญ
ั ชีคมุ ของหน่วยเบิกจะต้ องบันทึกกำรรั บสิ่งอุปกรณ์ ในบัตรบัญชีคุมหลังจำกคณะกรรมกำรตรวจรับได้ ตรวจรับเรี ยบร้ อยแล้ วทันที หลังจำกขัน้ ตอนนีจ้ ะถือว่ ำหน่ วยได้ ครอบครอง
และรับผิดชอบสิ่งอุปกรณ์ โดยสมบูรณ์ ทนั ที

จำกที่ได้ ลำดับขันตอนมำแล้
้ วนี ้ เพื่อควำมเข้ ำใจที่งำ่ ยขึ ้นสำมำรถเขียนเป็ นแผนผังกำรเดินทำงของสิ่งอุปกรณ์จำกคลังถึงหน่วยเบิกได้ ดงั นี ้

35
คูม่ ือ นักส่งกำลังบำรุง ทบ. มืออำชีพ โดย : กจบ.58

การเก็บรักษา

กำรเก็บรักษำ คือ กำรดำเนินกรรมวิธีตอ่ สิ่งอุปกรณ์หลังจำกรับ สิ่งอุปกรณ์เข้ ำมำสู่ระบบจนถึง สิ่งอุปกรณ์ได้ ถกู แจกจ่ำยออกไป ซึง่ กำรดำเนินกำรดังกล่ำวมีงำนที่จะต้ องดำเนินกำร คือ กำรแยก สิ่งอุปกรณ์เป็ นประเภท กำร
เก็บไว้ ณ ตำบลที่กำหนด รวมทังกำรจั
้ ดระบบกำรรักษำควำมปลอดภัยในกำรเก็บรักษำสิ่งอุปกรณ์ด้วย

กำรเก็บรักษำจะสำเร็จได้ ต้องอำศัยปั จจัย 3 ประกำรคือ สถำนที่ กำลังคน และเครื่องยกขนหรือเครื่องทุน่ แรง

วัตถุประสงค์ ของกำรเก็บรักษำ ก็คือ เก็บและป้องกันสิ่งอุปกรณ์ที่ได้ รับเข้ ำมำจนกว่ำจะถึงเวลำที่ต้องกำร ดังนัน้ จึงมีควำมจำเป็ นที่จะต้ องทำกำรระวังรักษำสิ่งอุปกรณ์เป็ นอย่ำงดี และในเมื่อต้ องกำรใช้ ก็จะต้ องมี
จำนวนเพียงพอ และอยู่ในสภำพที่ใช้ กำรได้ จะต้ องวำงแผนกำรเก็บรักษำสิ่งอุปกรณ์ ที่ได้ รับอยู่เสมอ จะต้ องใช้ พื ้นที่และสิ่งอำนวยควำมสะดวกให้ เกิดประสิทธิภำพสูงสุด ซึ่งแบบของ พืน้ ที่ท่ ใี ช้ ในกำรเก็บรั กษำในปั จจุบัน
ได้ แก่

- คลังเปิ ด หมำยถึงพื ้นที่เก็บรักษำที่จดั ทำขึ ้นกลำงแจ้ ง

- คลังปิ ด หมำยถึง พื ้นที่เก็บรักษำที่มีหลังคำ ซึง่ คลังปิ ดนี ้จะหมำยรวมทังคลั


้ งทัว่ ไปและคลังเฉพำะ เช่น คลังเก็บเย็น คลังเก็บเชื ้อเพลิง คลังเก็บกระสุนบนดิน

นอกจำกจะแบ่งตำมลักษณะหรือแบบของพื ้นที่เก็บรักษำแล้ ว ยังสำมำรถออกได้ ตำมประเภทของ สิ่งอุปกรณ์ที่เก็บรักษำ ตำมภำรกิจ ตำมที่ตงั ้ และตำมรูปกำรจัดหน่วย

ควำมรับผิดชอบในกำรเก็บรักษำ :

- ผู้บงั คับบัญชา ได้ แก่ เจ้ ำกรมฝ่ ำยยุทธบริ กำร และ/หรื อ เจ้ ำกรมฝ่ ำยกิจกำรพิเศษ ผู้บญ
ั ชำกำรกองบัญชำกำรช่วยรบ ผู้บญ
ั ชำกำรมณฑลทหำรบก ผู้บงั คับกำรจังหวัดทหำรบก ผู้บงั คับหน่วยสนับสนุนโดยตรง ผู้
บังคับหน่วยใช้ จะต้ องวำงระเบียบและจัดงำนเก็บรักษำสิ่งอุปกรณ์ในที่เก็บให้ ปลอดภัย และอยูใ่ นสภำพที่ใช้ กำรได้

- เจ้าหน้าทีเ่ ก็บรักษา จะต้ องเก็บรักษำสิ่งอุปกรณ์ให้ เป็ นไปตำมระเบียบที่ผ้ บู งั คับบัญชำกำหนด

ข้ อควรรู้ในการเก็บรั กษา

- ทีเ่ ก็บรักษา ต้ องมีกำรแบ่งเป็ นคลังหรือพื ้นที่แถว ตอน และช่อง โดยใช้ ตวั อักษรผสมกับตัวเลข ตัวอย่ำงเช่น 1-ก-2-4 หมำยควำมว่ำ คลังหรือพื ้นที่ 1 แถว ก ตอนที่ 2 และช่องที่ 4 และมีผงั แสดงที่เก็บ

- การนาสิ่ งอุปกรณ์เข้าทีเ่ ก็บ เจ้ ำหน้ ำที่เก็บรักษำต้ องบันทึกบัตรแสดงที่เก็บ ,ทำกำรบำรุงรักษำสิ่งอุปกรณ์ก่อนนำเข้ ำเก็บ, ผูกป้ำยประจำสิ่งอุปกรณ์, นำสิ่งอุปกรณ์เข้ ำเก็บในที่ที่กำหนดให้

- การเก็บหรื อการวางสิ่งอุปกรณ์ ต้ องกำหนดทำงเดินในพืน้ ที่เก็บรั กษำ เพื่อควำมสะดวกในกำรใช้ แรงงำนหรื อเครื่ องทุ่นแรง มีทำงเดินสำรองไว้ สำหรั บใช้ ในกรณีฉุกเฉิน เก็บสิ่งอุปกรณ์ ให้
เต็มที่ว่ำงทัง้ ทำงดิ่งและทำงระดับ และให้ พ้นจำกอันตรำย (***สำคัญมำก***)

36
คูม่ ือ นักส่งกำลังบำรุง ทบ. มืออำชีพ โดย : กจบ.58

- การนาสิ่งอุปกรณ์ ออกจากที่เก็บ ต้ องมีหลักฐำนกำรนำออก (***สำคัญมำก***) และต้ องบันทึกกำรย้ ำยไว้ เป็ นหลักฐำน ในส่วนของคลังหน่วยสนับสนุนทำงกำรส่งกำลังบำรุงมีข้อพึงระลึกคือสิ่ง
อุปกรณ์ใดที่นำเข้ ำเก็บก่อน-ให้ นำออกจ่ำยก่อน (First In – First Out : FIFO)

- การระวังรักษา เจ้ ำหน้ ำที่เก็บรักษำจะต้ องระวังรักษำสิ่งอุปกรณ์ให้ ปลอดภัย จำกภัยธรรมชำติ ควำมร้ อน ควำมชื ้น สัตว์และแมลงต่ำง ๆ อัคคีภยั

- การป้องกันการทุจริ ต สิ่งอุปกรณ์ที่มีคำ่ สูง ขนย้ ำยและขำยง่ำย ต้ องเก็บไว้ ในที่ปลอดภัย และมอบควำมรับผิดชอบให้ เฉพำะบุคคล คลังทุกคลังจะต้ องปิ ดประตูใส่กญ
ุ แจและตีตรำให้ เรียบร้ อยเมื่อเลิกงำน และ
ระมัดระวังมิให้ บคุ คลลักลอบนำสิ่งอุปกรณ์ออกจำกคลัง

- การป้องกันวิ นาศกรรม จัดเจ้ ำหน้ ำที่รักษำกำรณ์หรือเวรยำม กวดขันบุคคลและยำนพำหนะที่จะผ่ำนเข้ ำ-ออก มีเครื่องกีดขวำงหรือเครื่องเตือนภัยในบริเวณที่เก็บรักษำ

- การป้องกันอุบตั ิ เหตุ ต้ องอบรมชี ้แจงกำรใช้ เครื่องมือยกขน วิธีกำรขนย้ ำย และวิธีกำรจัดวำงสิ่งอุปกรณ์ หมัน่ ตรวจและปรนนิบตั ิบำรุงเครื่องมือยกขนอยูเ่ สมอ และทำควำมสะอำดในที่เก็บรักษำ

- สิ่ งอุปกรณ์ซึ่งอยู่ในทีเ่ ก็บรักษา จะต้ องได้ รับกำรดูแลรักษำให้ อยูใ่ นสภำพใช้ กำรได้ หรือมิให้ เสื่อมสภำพก่อนนำไปใช้ โดยจะต้ องปฏิบตั ิตำมระเบียบ หรือคำสัง่ ที่ทำงรำชกำรกำหนดหรือตำมคำแนะนำของผู้ผลิต

กำรจ่ ำยสิ่งอุปกรณ์ ต่อให้ หน่ วยรอง

เมื่อได้ รับสิ่งอุปกรณ์แล้ วต้ องจ่ำยให้ หน่วยรองที่เป็ นหน่วยใช้ ทนั ที โดยให้ หน่วยรองเสนอใบเบิกขึน้ มำให้ ผบ.หน่วย อนุมตั ิแล้ วเก็บใบเบิกของหน่วยรองไว้ เป็ นหลั กฐำน ๑ ฉบับ พร้ อมทังบั
้ นทึกทะเบียนใบเบิกใน
ทะเบียนหลักฐำนกำรส่งกำลัง(ทบ.๔๐๐–๐๐๒)แล้ วบันทึกกำรจ่ำยสิ่งอุปกรณ์ด้ำนหลังบัญชีสิ่งอุปกรณ์ ของหน่วย (ทบ.๔๐๐–๐๐๕)

การส่ งคืนเมื่อมีส่งิ อุปกรณ์ เกินอัตรา ล้ าสมัย เลิกใช้ หรือถูกเรียกคืน

เมื่อหน่วยได้ รับกำรแจกจ่ำยสิ่งอุปกรณ์มำใช้ งำนที่หน่วย เมื่อใช้ ไปได้ ระยะหนึ่งหน่วยอำจจะต้ องส่งคืนสิ่งอุปกรณ์ดงั กล่ำวทังโดยเต็


้ มใจและไม่เต็มใจ เช่น

- มีเกินอัตรา ซึง่ หมำยถึง ตำมอัตรำประจำหน่วย อจย.,อสอ.กำหนดไว้ จำนวนนี ้ แต่หน่วยมีอยูใ่ นครอบครองมำกกว่ำที่กำหนดไว้ ในอัตรำ

- ล้ าสมัย ควำมหมำยง่ำยๆ คือ ไม่ใช้ งำนแล้ วหรื อใช้ งำนไม่ได้ ผลในยุคปั จจุบนั แล้ ว เช่น วิทยุสื่อสำรหรื อรถยนต์รุ่นเก่ำๆสมัยสงครำมโลก เครื่ องโทรพิมพ์ที่ไม่มีใครเขำใช้ กันแล้ ว หรือชุดสูทภัณฑ์สนำมรุ่นโบรำณ
ตัวชี ้วัดที่จะชี ้ได้ วำ่ สิ่งอุปกรณ์นี ้ล้ ำสมัยแล้ วที่ชดั เจนคือไม่มีชิ ้นส่วนซ่อมเนื่องจำกเขำเลิกกำรผลิตไปแล้ ว

- เลิกใช้ ในกรณีนี ้ สิ่งอุปกรณ์ดงั กล่ำวอำจยังใช้ งำนได้ ดีหรือยังทันสมัยอยู่ แต่หน่วยไม่ได้ ใช้ งำนแล้ ว เช่น มีกำรแปรสภำพหน่วยใหม่ กำรยกเลิกหรือจบภำรกิจ เป็ นต้ น ซึง่ ส่วนใหญ่จะเป็ น สิ่งอุปกรณ์นอกอัตรำที่
ได้ รับกำรแจกจ่ำยเป็ นพิเศษ

37
คูม่ ือ นักส่งกำลังบำรุง ทบ. มืออำชีพ โดย : กจบ.58
- ถูกเรียกคืน แบบนี ้ไม่ต้องอธิบำยอะไรมำก หมำยถึงว่ำ หน่วยเหนือเขำสัง่ ให้ สง่ คืนก็ต้องทำตำมที่เขำสัง่ มำนัน่ เอง ส่วนใหญ่จะเกิดกับหน่วยที่ถูกยุบหรือแปรสภำพ หรือกองทัพบกใจดีแจกจ่ำยสิ่งอุปกรณ์แบบใหม่มำ
ให้ ใช้ แทน

- ในกรณีอื่นๆ เช่น เมื่อครบกำหนดเวลำที่ได้ รับอนุมตั ิให้ ยืม หรือ เมื่อได้ รับอนุมตั ิให้ จำหน่ำย

ข้ อควรรู้ในกำรส่ งคืน

 สิ่งอุปกรณ์ ตาม อจย. , อสอ. เมื่อเกินอัตรา, ล้ าสมัย , เปลี่ยนแบบหรื อเลิกใช้ ให้ หน่ วยใช้ รำยงำนส่ งคืนทำงบัญชีตำมสำยกำรส่ งกำลังจนถึงกรมฝ่ ำยยุทธบริ กำร เมื่อกรมฝ่ ำยยุทธบริ กำรอนุมัติให้
ส่ งคืนและออกเอกสำรกำรเรียกคืนแล้ ว หน่ วยใช้ จึงทำกำรส่ งคืนได้ (***) พร้ อมแนบหลักฐำนที่เกี่ยวข้ องพร้ อมกับใบส่ งคืน

 แบบพิมพ์ทีใ่ ช้ เลือกใช้ ให้ ถกู ต้ องดังนี ้

1. ใบส่ งคืน ทบ. 400-013 ส่งคืน สิ่งอุปกรณ์ได้ หลำยรำยกำร ใช้ สำหรับหน่วยที่ไม่ต้องขอกำรขนส่ง และใช้ สง่ คืน สิ่งอุปกรณ์สิ ้นเปลือง

2. ใบส่ งคืน ทบ. 400-014 ส่งคืน สิ่งอุปกรณ์ได้ หลำยรำยกำร ใช้ สำหรับหน่วยห่ำงจำก บชร. เกินกว่ำ 50 กม. ,ใช้ สง่ คืน สิ่งอุปกรณ์ ที่ต้องขอกำรขนส่ง สขส. และใช้ สง่ คืน สิ่งอุปกรณ์สิ ้นเปลือง

3. ใบส่ งคืน ทบ.400-007-1 ส่งคืน สิ่งอุปกรณ์ได้ รำยกำรเดียว ใช้ ได้ ทงเบิ


ั ้ ก สิ่งอุปกรณ์และส่งคืน สิ่งอุปกรณ์ ได้ ทกุ ประเภทเว้ น สิ่งอุปกรณ์สิ ้นเปลือง

ทาอย่ างไรเมื่อมีหน่ วยอืน่ มาขอยืมสิ่งอุปกรณ์ ไปใช้ ช่วั คราวและหน่ วยเราต้ องไปยืมเขามาใช้ เช่ นกัน
เนื่องจำกกองทัพบกมีงบประมำณจำกัดไม่สำมำรถจัดหำสิ่งอุปกรณ์ แจกจ่ำยให้ หน่วยใช้ ได้ ครบ
ตำมอัตรำทุกหน่วย จึงมีควำมเป็ นไปได้ วำ่ หำกมีควำมจำเป็ นอย่ำงยิ่งยวดแล้ วหน่วยที่ออกไปปฏิบตั ิภำรกิจตำมที่ได้ รับมอบอำจต้ องยืมสิ่งอุปกรณ์ของหน่วยเรำไปใช้ ชวั่ ครำว (แต่ไม่ร้ ูวำ่ นำนขนำดไหน) และเรำก็ไม่ควรปฏิเสธ เพรำะ
ของหลวงเป็ นของทุกคนและทุกหน่วย และหำกเรำปฏิเสธเขำอำจจะให้ หน่วยเรำไปปฏิบตั ิภำรกิจแทนให้ หมดเรื่องไป และในทำงตรงกันข้ ำมหน่วยเรำก็อำจจำเป็ นจะต้ องไปยืมสิ่งอุปกรณ์ของหน่วยอื่นมำใช้ เช่นกัน

กำรยืมสิ่งอุปกรณ์ หมำยถึง วิธีกำรดำเนินกำรขอรับกำรสนับสนุนสิ่งอุปกรณ์เป็ นกำรชัว่ ครำว ( เว้ นชิ ้นส่วนซ่อม ) สำหรับปฏิบตั ิภำรกิจซึง่ หน่วยไม่ได้ รับอนุมตั ิให้ มี สิ่งอุปกรณ์ ดังกล่ำวไว้ ในครอบครองหรื ออนุมตั ิให้ มี
ใช้ แล้ วแต่ไม่เพียงพอ

กำรปฏิบัติในกำรยืม มีกำรปฏิบตั ิที่ไม่ซบั ซ้ อนยุง่ ยำก คือ

 หน่ วยใช้ ทำรำยงำนขอยืมสิ่งอุปกรณ์ เป็ นลำยลักษณ์ อักษร เสนอตามสายการส่ งกาลัง โดยแจ้ งเหตุผลและรำยละเอียดในกำรใช้ สิ่งอุปกรณ์ ให้ ชัดเจน (***) และกำหนดวันส่ งคืนในรำยงำนนัน้ ด้ วย

 หลักฐำนในกำรยืมใช้ ใบเบิกสิ่งอุปกรณ์ โดยขีดฆ่ำชื่อแบบพิมพ์เปลี่ยนเป็ น “ใบยืม” ก็ได้

- เมื่อครบกำหนดที่ได้ รับอนุมตั ิให้ ยืมตำมที่บง่ ไว้ ในใบเบิก ต้ องส่งคืนภำยใน 7 วัน

38
คูม่ ือ นักส่งกำลังบำรุง ทบ. มืออำชีพ โดย : กจบ.58

- ถ้ ำ สิ่งอุปกรณ์ ที่ยืมไปเกิดกำรชำรุดหรือสูญหำยให้ ดำเนินกำรจำหน่ำยตำมระเบียบ ใครมีอำนำจอนุมัติส่ งั ให้ ยืม (***อันนีส้ ำคัญมำก***)

- หำกมีกำรโยกย้ ำยหรือสับเปลี่ยนตำแหน่งผู้เบิกยืม ให้ แจ้ งกำรยกเลิกใบเบิกเดิมพร้ อมกับให้ ทำใบเบิกเสนอขึ ้นมำใหม่  สิ่ งอุ ป กรณ์ สำคัญ ได้ แ ก่ ผู้บัญ ชำกำรทหำรบก อะไรบ้ ำงเป็ น สิ่งอุป กรณ์ ส ำคัญ
สำมำรถเปิ ดดูได้ ในคำสั่ง ทบ.ที่ 385/37 ลง 21 มิ.ย.37 เรื่ อง กำหนดรำยกำร สิ่งอุป กรณ์ สำคัญ และ
ประกำศของกรมฝ่ ำยยุทธบริ กำร ซึ่งส่วนใหญ่ แล้ วจะเป็ น อำวุธยุท โธปกรณ์ เช่น อำวุธประจำกำย
ทาอย่ างไรเมื่อต้ องโอนสิ่งอุปกรณ์ ไปให้ หน่ วยอืน่ ใช้ แทน
ลักษณะนี จ้ ะดูห นักกว่ำ กำรยืม เพรำะ ประจำหน่วย ยำนพำหนะ เครื่องสื่อสำร อำกำศยำน เป็ นต้ น
กำรยืมยังมีวนั ได้ เห็นอุปกรณ์ ของเรำกลับคืนมำที่หน่วย แต่กำรโอนนีเ้ หมือนกำรไปแล้ วไปรับไม่กลับมำ ปั ญหำก็เกิดจำก
ื ๆ ได้ แก่ เจ้ ำกรมฝ่ ำยยุทธบริกำรหรื อเจ้ ำกรมฝ่ ำยกิจกำรพิเศษหรือแม่ทพั
 สิ่งอุปกรณ์ อ่ น
กำรขำดแคลนงบประมำณในกำรจัดหำอำวุธยุทโธปกรณ์เช่นเดียวกัน แล้ วทีนี ้หำกกองทัพบกมีกำรจัดตังหน่
้ วยใหม่ขึน้ มำ
ภำคแล้ วแต่กรณี
หรือมีกำรแปรสภำพหน่วย เปลี่ยนแปลงแก้ ไขภำรกิจกำรจัด
 สำหรั บอำวุธของหน่ วยใน ทภ. ให้ ทำกำรเบิกยืมอำวุธระหว่ำงหน่วยขึ ้นตรงได้ โดย
กำรโอนหมำยถึง กำรโอนกรรมสิทธิ์ครอบครองสิ่งอุปกรณ์ระหว่ำงหน่วยเมื่อได้ รับอนุมตั ิจำกผู้มีอำนำจในกำรสัง่ โอน เพื่อ
แม่ทพั ภำค เป็ นผู้อนุมตั ิตำมคำสัง่ ทบ.ที่ 386/2543 ลง 28 ก.ค.43
- ให้ หน่วย(ซึง่ ไม่ใช่หน่วยเรำ) มี สิ่งอุปกรณ์ ครบตำมอัตรำหรือระดับสะสม (อันนี ้มักจะเป็ นกรณีจดั ตังหน่
้ วยใหม่
ใครมีอำนำจสั่งให้ โอน
หรือหน่วยที่จะต้ องออกปฏิบตั ิรำชกำรสนำม)
 สิ่งอุปกรณ์ เกินอัตรำหรื อเกินระดับสะสม สิ่งอุปกรณ์ รอง และชิน้ ส่ วนซ่ อม เว้ นอำวุธ ได้ แก่
- ใช้ สิ่งอุปกรณ์ ที่มีอยูเ่ พื่อให้ เกิดประโยชน์มำกที่สดุ (สงสัยว่ำหน่วยเรำมีของแล้ วไม่คอ่ ยนำมำใช้ แน่ๆ) เจ้ ำกรมฝ่ ำยยุทธบริกำร

- ประหยัดเวลำในกำรขนส่ง (โอนจำกหน่วยใช้ ที่อยูใ่ กล้ กนั ง่ำยกว่ำแจกจ่ำยจำกหน่วยส่งกำลังบำรุงในส่วนกลำง)  กรณีอ่ นื ๆ นอกเหนือจำกที่กล่ำว ได้ แก่ ผู้บญ
ั ชำกำรทหำรบก

- เพื่อให้ กำรส่งกำลังเป็ นไปอย่ำงต่อเนื่อง (อันนี ้เป็ นเหตุผลที่งำ่ ยที่สดุ ซึง่ ไม่ควรสงสัยมำก) หน่ วยรั บโอน (หน่ วยเจ้ าของใหม่ )
- ลงทะเบียนใบโอน
กรรมวิธีในกำรโอน - ตรวจรับสิ่งอุปกรณ์ ตำมใบโอน (***ถ้ ำไม่ รับ แสดงว่ ำต้ องมีปัญหำแน่ ****)
หน่ วยโอน (หน่ วยเจ้ าของเดิม) - ลงนำมรับสิ่งอุปกรณ์ในใบโอนเก็บไว้ 1 ฉบับ ส่งคืนหน่วยโอน 1 ฉบับ ส่งให้ หน่วยสนับสนุนของหน่วยรับโอน
- ทำกำรปรนนิบตั ิบำรุงสิ่งอุปกรณ์ก่อนกำรโอน 1 ฉบับ และส่งให้ บชร.และกรมฝ่ ำยยุทธบริกำรที่รับผิดชอบ 1 ฉบับ
- ตรวจสอบให้ มีส่ งิ อุปกรณ์ ครบชุดและสำมำรถใช้ กำรได้ (**)
- นำสิ่งอุปกรณ์เข้ ำเก็บที่หน่วย และลงบัญชีคมุ ทันที
- ผูกป้ำยประจำสิ่งอุปกรณ์โดยใช้ แบบพิมพ์ ทบ.400 - 010
- ทำใบโอนสิ่งอุปกรณ์โดยใช้ แบบพิมพ์ ทบ.400 – 074
ข้ อควรรู้ ในกำรโอน : ระเบียบที่เกี่ยวข้ องกับได้ แก่
- ส่งสิ่งอุปกรณ์พร้ อมใบโอนไปยังหน่วยรับโอนและเก็บใบโอนที่ได้ รับคืนจำกหน่วยรับโอน
ระเบียบ ทบ.ว่ำด้ วย กำรโอนสิ่งอุปกรณ์จำกสำยยุทธบริกำรหนึ่งไปอีกสำยยุทธบริกำรหนึ่ง พ.ศ. 2501
- สำเนำใบโอนรำยงำนให้ หน่วยสนับสนุนของหน่วยโอนทรำบ
 คำสัง่ ทบ. ที่ 290/2508 ลง 30 ส.ค. 08 เรื่อง กำหนดวิธีดำเนินกำรโอนสิ่งอุปกรณ์ครบชุดของสำยยุทธบริกำรเพิ่มเติม
- ตัดยอดสิ่งอุปกรณ์ออกจำกบัญชีคมุ
39
คูม่ ือ นักส่งกำลังบำรุง ทบ. มืออำชีพ โดย : กจบ.58

6 การซ่ อมบารุ ง

การซ่ อมบารุ งคืออะไร เมื่อเปิ ดดูในระเบียบ ทบ.ว่ ำด้ วย กำรซ่ อมบำรุ ง พ.ศ. 2524 กำรซ่อมบำรุงหมำยถึงกำรกระทำใด ๆ ที่มงุ่ หมำยจะรักษำยุทโธปกรณ์ตำ่ ง ๆ ให้ อยูใ่ นสภำพที่ใช้ กำรได้ หรือมุง่ หมำยที่จะทำให้
ยุทโธปกรณ์ที่ชำรุดกลับคืนมำอยูใ่ นสภำพที่ใช้ กำรได้ และให้ หมำยรวมถึงกำรตรวจสภำพ กำรทดสอบ กำรบริกำร กำรซ่อมแก้ กำรซ่อมใหญ่ กำรซ่อมสร้ ำง กำรดัดแปลง และกำรซ่อมคืนสภำพ
สรุปง่ำยๆคือทำยังไงก็ได้ ให้ ของที่ชำรุดจำกกรณีใดๆก็ตำมให้ กลับมำใช้ งำนได้

- การปรนนิบัติบารุ ง เป็ นหัวใจสำคัญของกำรซ่ อมบำรุ ง หำกมีกำรใช้ สิ่งอุปกรณ์โดยขำดควำมระมัดระวังจะทำให้ สิ่งอุปกรณ์ชำรุดเร็ วกว่ำกำหนด ทำให้ กองทัพบกเสี ยงบประมำณในกำร
ข้ อควรรู้ก่อนส่ งซ่ อม
ซ่อมบำรุงมำกเกินควำมจำเป็ น ดังนันทุ
้ กหน่วยจะต้ องให้ ควำมสำคัญกับกำรปรนนิบตั ิบำรุง

- ก่อนที่เรำจะส่งซ่อมสิ่งอุปกรณ์ ที่ชำรุดเสียหำย เรำควรจะทรำบก่อนว่ำ การจัดงานซ่ อมบารุ งของกองทัพบก เขำจัดกันอย่ำงไร เพื่อจะได้ ส่งซ่อม ติดตำมกำรซ่อมได้ ถูก ต้ อง ไม่เสียเวลำ
ปั จจุบนั กำรซ่อมบำรุงแบ่งเป็ น 4 ประเภท สรุปรวบยอดได้ ดงั นี ้

ประเภทกำร ซบร. คืออะไร ใครเกี่ยวข้ อง ทำอะไร มีข้อจำกัดอย่ ำงไร ประเภทกำร ซบร. คืออะไร ใครเกี่ยวข้ อง ทำอะไร มีข้อจำกัดอย่ ำงไร

กำรซ่ อมบำรุ ง กำรซ่อมบำรุง - ผู้ใช้ -กำรตรวจสภำพ กระทำอย่ำงจำกัดตำม กำรซ่ อมบำรุ ง กำรซ่อมแก้ หน่วยตำม อจย. -กำรซ่อม -เพื่อส่งกลับเข้ ำสำย
ระดับหน่ วย ยุทโธปกรณ์ - พลประจำ -กำรทำควำมสะอำด คูม่ ือ คำสัง่ หรือผังกำร สนับสนุนทั่วไป ยุทโธปกรณ์ที่ หรือ อฉก. และ ส่วนประกอบใหญ่ กำรส่งกำลัง
ที่อยูใ่ นควำม ยุทโธปกรณ์ -กำรบริกำร ซ่อมบำรุงที่อนุญำตให้ เกินขีดควำม บ่งถึงภำรกิจ และส่วนประกอบ
ครอบครองของ - ช่ำงซ่อมของ -กำรรักษำ กระทำได้ ในระดับนี ้ สำมำรถของ กำรซ่อมบำรุง ย่อย
หน่วยที่ใช้ หน่วย -กำรหล่อลื่น กำรซ่อมบำรุง ดังกล่ำวไว้ - กำรแลกเปลี่ยน
ยุทโธปกรณ์นนั ้ -กำรปรับตำมควำม สนับสนุน โดยตรง
จำเป็ น โดยตรง
-กำรเปลี่ยนชิ ้นส่วนซ่อม กำรซ่ อมบำรุ ง กำรซ่อมบำรุง กรมฝ่ ำยยุทธ - กำรซ่อมใหญ่
กำรซ่ อมบำรุ ง กำรซ่อมบำรุงที่ หน่วยตำม อจย. -กำรซ่อมและกำรเปลี่ยน - ซ่อมแก้ อย่ำงจำกัดต่อ ระดับคลัง โดยหน่วย บริกำร - กำรซ่อมสร้ ำง
สนับสนุนโดยตรง อนุมตั ิให้ กระทำ อฉก. และบ่งถึง ส่วนที่ใช้ งำนไม่ได้ ยุทโธปกรณ์ครบชุด ซ่อมขันคลั
้ ง ยุทโธปกรณ์
ต่อยุทโธปกรณ์ ภำรกิจกำรซ่อม - กำรซ่อมและกำรเปลี่ยน - ซ่อมแก้ สว่ นประกอบที่ ของกรม
ที่อยูใ่ นควำม บำรุงดังกล่ำวไว้ ส่วนประกอบย่อยและ ใช้ งำนไม่ได้ ฝ่ ำยยุทธ
รับผิดชอบกำร ส่วนประกอบธรรมดำ บริกำร
ซ่อมบำรุงของ
หน่วยสนับสนุน
โดยตรง
40
คูม่ ือ นักส่งกำลังบำรุง ทบ. มืออำชีพ โดย : กจบ.58

- สายการซ่ อมบารุ ง เป็ นคำที่ใช้ อธิบำยถึงทำงเดินกำรส่งซ่อมสิ่งอุปกรณ์ตำมประเภทกำรซ่อมบำรุง ซึง่ ในระเบียบ คำสัง่ ทำงด้ ำนกำรส่งกำลังบำรุงจะมีแต่คำว่ ำสำยกำรส่งกำลัง ส่วนคำว่ำสำยกำรซ่อมบำรุงเป็ นกำรเรียกทำงเดินกำร
ส่งซ่อมสิ่งอุปกรณ์ให้ สอดคล้ องกับสำยกำรส่งกำลังเพื่อให้ เกิดควำมเข้ ำใจยิ่งขึ ้น

- หน่ วยใช้ ก่อนส่งสิ่งอุปกรณ์ทกุ ชิ ้นไปทำกำรซ่อมในระดับที่สงู กว่ำ หน่ วยใช้ จะต้ องซ่ อมบำรุ งระดับหน่ วยให้ เรี ยบร้ อยก่ อนโดยยึดหลักกำรซ่อมบำรุงเบื ้องต้ น กำรทำควำมสะอำด กำรบริ กำร กำรบำรุงรักษำ กำรหล่อลื่น กำร
ปรับตำมควำมจำเป็ น กำรเปลี่ยนชิ ้นส่วนโดยใช้ ชิ ้นส่วนซ่อมตำมอัตรำพิกดั หรือ PLL รวมทังกำรท
้ ำควำมสะอำดด้ วย ทังนี
้ ้กำรส่งซ่อมจะต้ องส่งส่วนประกอบต่ำงๆให้ ครบชุดพร้ อมสมุดประวัติสิ่งอุปกรณ์และอื่นๆตำมที่เจ้ ำหน้ ำที่หน่วย
เหนือกำหนด

- การซ่ อมบารุ งระดับหน่ วย เป็ นควำมรับผิดชอบของผู้บงั คับหน่วยใช้ ซึง่ เป็ นหัวใจสำคัญที่สดุ ของงำนซ่อมบำรุง กำรปฏิบตั ิที่สำคัญได้ แก่

1. กำรปรนนิบัติบำรุ งยุทโธปกรณ์ (***)

2. กำรซ่อมบำรุงทำได้ เท่ำที่กำหนดไว้ ในคู่มือทำงเทคนิคเท่ำนัน้ ถ้ ำเกินกว่ำที่กำหนดไว้ ต้องส่งไปซ่อมหรือปรนนิบตั ิบำรุงที่หน่วยสนับสนุนโดยตรง โดยใช้ ชิ ้นส่วนซ่อมตำมอัตรำพิกัดของหน่วยเป็ นหลักซึง่ เมื่อใช้ ไปแล้ วต้ องเบิก
ทดแทนทันที และพลประจำยุทโธปกรณ์ต้องช่วยเหลือช่ำงซ่อมของหน่วยด้ วย

3. ก่อนส่งยุทโธปกรณ์ไปซ่อมที่หน่วยสนับสนุนโดยตรง จะต้ องทำกำรปรนนิบตั ิบำรุงและซ่อมบำรุงในชันของตนให้


้ เรียบร้ อยก่อน

- การซ่ อมบารุ งสนับสนุนโดยตรง ทำกำรซ่อมแบบยุบรวมได้ และต้ องส่งกำลังชิ ้นส่วนซ่อมสนับสนุนหน่วยใช้ ด้วย ยุทโธปกรณ์ที่ซอ่ มเสร็จแล้ วจะส่งกลับคืนหน่วย นอกจำกนันยั
้ งสำมำรถจัดชุดซ่อมเคลื่อนที่ไปทำกำรซ่อม
ณ ที่ตงหน่
ั ้ วยใช้ ได้ และทำกำรซ่อมโดยกำรแลกเปลี่ยนโดยตรงโดยจ่ำย สป.สำรองทดแทนกำรส่งซ่อมให้ หน่วยนำไปใช้ ก่อน (******ถ้ ำมี*****)

- การซ่ อมบารุ งสนับสนุนทั่วไป ยุทโธปกรณ์ที่ซอ่ มเสร็จจะส่งเข้ ำสำยกำรส่งกำลังไม่คืนให้ หน่วยเดิม (***ในทางทฤษฎี ***)

- การซ่ อมบารุ งระดับคลัง ยุทโธปกรณ์ที่จะนำมำซ่อมระดับนี ้ ค่ำซ่อมไม่ควรเกิน 65 % ของรำคำจัดหำใหม่ เมื่อซ่อมเสร็จแล้ วให้ สง่ ขึ ้นบัญชีคมุ ของกรมฝ่ ำยยุทธบริกำรเพื่อกำรแจกจ่ำยใหม่ (***ในทางทฤษฎี ***)

- ก่ อนส่ งซ่ อม ต้ องตรวจสอบให้ ชัดเจนว่ำสิ่งอุปกรณ์ นัน้ สำยยุทธบริ กำรใดรับผิดชอบ หำกส่งซ่อมไปผิดสำยงำนนอกจำกจะซ่อมไม่ได้ แล้ ว ยังทำให้ เสียเวลำและเสียงบประมำณในกำรขนส่งเคลื่อนย้ ำยมำก วิธีกำรที่จะ
ตรวจสอบว่ำเป็ นสิ่งอุปกรณ์ในสำยยุทธบริกำรใดให้ ดไู ด้ จำก

 ใบเบิกหรือหลักฐำนกำรได้ มำของสิ่งอุปกรณ์นนั ้

 เอกสำรกำรแจกจ่ำยสิ่งอุปกรณ์

41
คูม่ ือ นักส่งกำลังบำรุง ทบ. มืออำชีพ โดย : กจบ.58

 สอบถำมจำกหน่ วยตำมสำยกำรส่ งกำลัง (***อันนีจ้ ำเป็ นมำก***) โดยเฉพำะสิ่งอุปกรณ์บำงรำยกำรที่ต้องแยกส่วนประกอบส่งซ่อมไปในหลำยสำยยุทธบริกำร หรื อเป็ นสิ่งอุปกรณ์ไฮเทคที่แจกจ่ำยให้ หน่วยใช้ เป็ นกรณี
พิเศษ (ส่วนใหญ่จะเป็ นหน่วยปฏิบตั ิรำชกำรสนำม) เช่น หมวกพลประจำรถถัง กล้ องตรวจกำรณ์เทคโนโลยีสงู อำกำศยำนตรวจกำรณ์แบบไร้ คนขับ (UAV) เป็ นต้ น

- ชิ้นส่ วนซ่ อมตามอัตราพิกัด (ชอพ.) เป็ นปั จจัยสำคัญของกำรซ่อมบำรุง มีสิ่งที่ต้องควรรู้ดงั นี ้

หน่วยใช้ สะสมไว้ ได้ ตำมที่กำหนดไว้ ในบัญชีชิ ้นส่วนซ่อมตำมอัตรำพิกดั (บชอพ.) ซึง่ เป็ นเอกสำรแสดงรำยกำรและจำนวนชิ ้นส่วนซ่อมซึง่ อนุมตั ิให้ มีไว้

กำรดำเนินกำรเกี่ยวกับชิ ้นส่วนซ่อมตำมอัตรำพิกดั ให้ ยดึ ถือปฏิบตั ิตำม ระเบียบ ทบ.ว่ำด้ วยชิ ้นส่วนซ่อมตำมอัตรำพิกดั และชิ ้นส่วนซ่อมที่ สะสม พ.ศ.2512

42
คูม่ ือ นักส่งกำลังบำรุง ทบ. มืออำชีพ โดย : กจบ.58

7 การจาหน่ าย

การจาหน่ ายคืออะไร
กำรจำหน่ำย เป็ นคำในภำษำรำชกำร ซึง่ ไม่ได้ แปลว่ำ “กำรขำย” แต่หมำยถึง กำรตัดยอดสิ่งอุปกรณ์ออกจำกควำมรับผิดชอบของกองทัพบก เนื่องจำกสำเหตุตอ่ ไปนี ้..

1. สูญไป สิน้ เปลืองไป (สิ่งอุปกรณ์สิ ้นเปลือง) : ถ้ามีสาเหตุจากข้อนี ้ ก็ไม่มีปัญหาอะไรมาก จาหน่ายได้สบายๆ แต่ย้ าว่าต้องเป็ นสิ่ งอุปกรณ์ สิ้นเปลื องเท่านัน้ คื อ ใช้แล้วหมดไป และต้องไม่เกิ นเกณฑ์ ที่ ทบ.เขา
กาหนดด้วย ไม่งนั้ อาจมีปัญหาเหมือนกัน...

2. ชำรุ ดเสียหำยจนไม่ สำมำรถซ่ อมคืนสภำพได้ อย่ ำงคุ้มค่ ำ เสื่อมสภำพจนใช้ งำนไม่ ได้ : ถ้ามีสาเหตุจากข้อนี ้ ก้อต้องมี ล้นุ เหมื อนกันว่าการชารุดนัน้ เกิ ดจากสภาพอายุใช้งานตามกฎธรรมชาติ หรื อจากการ
ใช้งานไม่ถูกวิ ธีหรื อขาดการปรนนิ บตั ิ บารุง ถ้าเกิ ดจากประเด็นหลังก็มีปัญหาแน่นอน..และต้องลุ้นระทึกกันต่อไปอีกว่างานนีจ้ ะต้องชดใช้หลวงหรื อติ ดคุกหรื อไม่ !!!

3. สูญหำย ตำย : ถ้ามี สาเหตุจากข้อนี ้ บอกได้คาเดี ยวว่างานนีห้ นัก !!! หมายถึ งมี ปัญหาแน่ๆ โดยเฉพาะการสูญหาย คงไม่มีการมาลุ้นกันว่าจะต้องมี การชดใช้หลวงหรื อติ ดคุกหรื อเปล่า แต่ต้องไปลุ้นว่าจะต้อง
ชดใช้กีบ่ าทหรื อติ ดคุกกีป่ ี แทน!!!!!...... ส่วนกรณี “ตาย” ใช้กบั สิ่ งอุปกรณ์สายการสัตว์เช่น สุนขั ม้า ลา ล่อ เป็ นต้น

4. เกินควำมต้ องกำร หรือเป็ นของล้ ำสมัย ไม่ใช้ รำชกำรต่อไป หมดควำมจำเป็ น ไม่ใช้ รำชกำรต่อไป หรื อหำกใช้ รำชกำรต่อไปจะสิ ้นเปลืองค่ำใช้ จำ่ ยมำก หรือครบอำยุกำรใช้ งำนตำมเกณฑ์ที่กำหนด : ถ้าเกิ ดจาก
สาเหตุนีน้ ่าจะเบาใจได้ไม่ต้องกังวลมากเหมือนข้ออืน่ ๆ

สรุ ปคือ เมื่อสิ่งอุปกรณ์มีสภำพตำมเหตุผลที่กล่ำวมำข้ ำงต้ น หน่วยใช้ ที่ ครอบครองสิ่งอุปกรณ์ดงั กล่ำวจะต้ องดำเนินกำรในขัน้ ตอนสุดท้ ำยของวงจรชีวิตสิ่งอุปกรณ์ หรือ “วงรอบกำรส่ งกำลัง” คือ กำรจำหน่ ำย เพื่อตัด
ยอดหรื อลบสิ่งอุปกรณ์ รำยกำรนัน้ ๆออกจำกบัญชีคุมหรื อออกจำกควำมรั บผิดชอบของหน่ วย เพรำะไม่สำมำรถใช้ ประโยชน์ได้ ต่อไปแล้ ว หลังจำกนัน้ หน่วยก็จะดำเนินกำร “เบิกทดแทน” เพื่อให้ ได้ รับสิ่งอุปกรณ์ใน
รำยกำรดังกล่ำวแต่เป็ น “ชิ ้นใหม่” มำใช้ งำนแทน แล้ วก็วนเข้ ำวงรอบส่งกำลังใหม่ตอ่ ไป

ข้ อควรรู้ก่อนการจาหน่ าย

 ระเบียบหลักที่ใช้ ในกำรจำหน่ำยเป็ นระเบียบที่แตกต่ำงกับกระบวนกำรอื่นๆในวงรอบกำรส่งกำลังที่ผ่ำนมำ ซึ่งเรี ยกว่ำ ระเบียบ ทบ.ว่ าด้ วยการจาหน่ าย สป. พ.ศ.2557 ลง 31 ม.ค.57 นอกจำกนันยั
้ งมีระเบียบ คำสัง่ ข้ อ
กฎหมำยที่เกี่ยวข้ องอีกมำกมำยทังภำยในกองทั
้ พบกเองจนถึงระดับรัฐบำล เช่น ประมวลวินัยทหำร กฎหมำยอำญำทหำร ระเบียบสำนักนำยกรัฐมนตรี วำ่ ด้ วยกำรพัสดุ ระเบียบสำนักนำยกรัฐมนตรี ว่ำด้ วยกำรรับผิดทำงละเมิด
กฎหมำยแพ่งและพำณิชย์ กฏหมำยว่ำด้ วยกำรฟอกเงิน กฎหมำยว่ำด้ วยกำรป้องกันและปรำบปรำมกำรกระทำอันเป็ นทุจริต เป็ นต้ น

43
คูม่ ือ นักส่งกำลังบำรุง ทบ. มืออำชีพ โดย : กจบ.58

 หน่วยทีเ่ ริ่ มการจาหน่าย คือ หน่ วยระดับกองร้ อยหรือเทียบเท่ ำขึน้ ไป เป็ นหน่วยเริ่มรำยงำนขออนุมตั ิกำรจำหน่ำยไปตำมสำยกำรบังคับบัญชำ (***ระวังอย่าสับสนกับการเบิ ก..ถ้าเป็ นการเบิ ก...กองพันเป็ นหน่วยเริ่ มเบิ ก****)

 อานาจในการอนุมัติจาหน่ าย สป. หมำยถึง ผู้ท่ มี ีอำนำจให้ ส่ งั กำรให้ ตัดยอดสิ่งอุปกรณ์ ไม่ ว่ำจะชิน้ เดียวหรื อหลำยชิน้ รวมกันออกจำกบัญชีคุมของหน่ วยได้ มีดังต่ อไปนี ้ (***ข้ อนีส้ ำคัญที่สุด***)

1. กรณีมีซำก สป. (อันนี ้ค่อนข้ ำงโปร่งใส..อนุมตั ิตดั ยอดง่ำย)

วงเงินไม่ เกิน (บำท) ผู้มีอำนำจอนุมัติ

80,000 ผบ.พล.หรือเทียบเท่ ำ

160,000 มทภ.

320,000 จก.ยุทธบริกำร

ไม่ จำกัดวงเงิน ผบ.ทบ.

2. กรณีเป็ นสูญ/ไม่ มีซำกคืน (กรณีนี ้ ต้ องดำเนินกำรกันอีกหลำยขันตอน


้ กำรตัดยอดกระทำได้ ยำกมำก)

วงเงินไม่ เกิน (บำท) ผู้มีอำนำจอนุมัติ

40,000 ผบ.พล.หรือเทียบเท่ ำ

80,000 มทภ.

160,000 จก.ยุทธบริกำร

200,000 ผบ.ทบ.

500,000 รมต.กห.

ไม่ จำกัดวงเงิน กระทรวงการคลัง (ระเบียบฯพัสดุปี 41 ข้ อ 159)

44
คูม่ ือ นักส่งกำลังบำรุง ทบ. มืออำชีพ โดย : กจบ.58

 การจาหน่ ายเป็ นสูญ หมำยถึง กำรจำหน่ำยในกรณีที่สิ่งอุปกรณ์ สูญไป โดยไม่ปรำกฏตัวผู้รับผิด หรือมีตวั ผู้รับผิดแต่ไม่สำมำรถชดใช้ ตำมระเบียบของทำงรำชกำรได้ หรือมีสิ่งอุปกรณ์อยู่ แต่ไม่สำมำรถขำย แลกเปลี่ยน โอน แปร
สภำพ หรือทำลำยได้ ในกำรปฏิบตั ิรำชกำรสนำมนัน้ หำกเกิดกรณีที่ไม่สำมำรถนำซำกสิ่งอุปกรณ์กลับมำได้ เนื่องจำกควำมจำกัดของภูมิประเทศ หรือเนื่องจำกกำรกระทำของข้ ำศึก ให้ ถือว่ำสิ่งอุปกรณ์นนสู
ั ้ ญไป ไม่มีซำกเหลืออยู่
ให้ เห็น และในกรณีที่ผ้ รู ับผิดชอบชดใช้ ถึงแก่กรรม เนื่องจำกกำรปฏิบตั ิรำชกำรสนำมครำวนันให้
้ ถือว่ำ หำผู้รับผิดชอบชดใช้ ไม่ได้

 ปั จจุบนั หำกมีสิ่งอุปกรณ์ชำรุดซึง่ ไม่เป็ นไปตำมสภำพกำรใช้ งำนปกติ จะต้ องรำยงำนไปตำมสำยกำรบังคับบัญชำ เพื่อดำเนินกำรตำมระเบียบสานั กนายก รมต.ว่ าด้ วยหลักเกณฑ์ การปฏิบัติเกี่ยวกับความผิดทางละเมิด
ของเจ้ าหน้ าที่ พ.ศ.2539 จนได้ ข้อยุติแล้ วจึงจะรำยงำนขออนุมตั ิจำหน่ำย ซึ่งข้ อนี ้จะเป็ นกำรชี ้ชะตำผู้ใช้ งำน หรื อรับผิดชอบสิ่งอุปกรณ์ชิ ้นนันว่
้ ำจะต้ องชดใช้ หลวงหรือไม่ตำมกฎเหล็กตังแต่
้ สมัยโบรำณที่กล่ำวไว้ วำ่ “ของหลวงตก
นำ้ ไม่ ไหล ตกไฟไม่ ไหม้ ”

 อย่ำงไรก็ตำมหำกหน่ วยมีความจาเป็ นต้ องมี สป.มาทดแทน สป.ที่ใช้ งำนไม่ได้ เช่นในสถำนกำรณ์ฉกุ เฉิน เร่งด่วน ทบ.ได้ ให้ ทำงออกไว้ วำ่ “...ถ้ ำในระหว่ำงกำรดำเนินกรรมวิธีขออนุมตั ิจำหน่ำย หน่วยรำยงำนมีควำม
จำเป็ นต้ องใช้ สป.นัน้ ให้ หน่วยรำยงำนทำเบิกทดแทนไปได้ ยกเว้ น สป.4 โดยในกำรเบิกทดแทนให้ แนบสำเนำรำยงำนขออนุมตั ิจำหน่วยไปด้ วย ทังนี
้ ้เนื่องจำกกระบวนกำรจำหน่ำยมีขนตอนค่
ั้ อนข้ ำงมำกและเป็ นกระบวนกำรที่ใช้
เวลำและเอกสำรประกอบมำกทีส่ ดุ ในวงรอบกำรส่งกำลัง

 ราคาของสิ่งอุปกรณ์ ในการขออนุมัติจาหน่ าย หรื อ ราคาซื้อหรื อได้ มา หมำยถึง รำคำที่ซื ้อสิ่งอุปกรณ์นนมำ


ั ้ หรือรำคำสิ่งอุปกรณ์ที่ได้ มำ

- สิ่งอุปกรณ์ ในโครงกำร (โครงกำรช่วยเหลือทำงทหำร เช่น ของสหรัฐสมัยสงครำมเวียดนำม) ให้ ถือรำคำตำมใบแจ้ งรำคำ และเพิ่มขึ ้นอีก ร้ อยละ 20

- สิ่งอุปกรณ์ ท่กี องทัพบกจัดหำหรื อได้ มำโดยวิธีอ่ นื (เป็ นสิ่งอุปกรณ์สว่ นใหญ่ที่ใช้ กนั อยูใ่ นปั จจุบนั นี ้) ให้ ถือรำคำตำมใบเบิก หรือรำคำตำมที่กรมฝ่ ำยยุทธบริกำร หรือกรมฝ่ ำยกิจกำรพิเศษ ที่รับผิดชอบในสิ่งอุปกรณ์นนก
ั ้ ำหนด

การจาหน่ ายในกรณีส่งิ อุปกรณ์ ชารุ ดมากจนซ่ อมไม่ ค้ ุมค่ า ปกติจะกำหนดไว้ วำ่ หำกเกิดกำรชำรุดและต้ องใช้ งบประมำณในกำรซ่อมบำรุงมีมลู ค่ำเมื่อคิดเป็ นเงินแล้ วเกินกว่ ำ 65% ของรำคำสิ่งอุปกรณ์ นัน้ แล้ ว

หน่วยซ่อมบำรุงจะลงควำมเห็นว่ำซ่อมไม่ค้ มุ ค่ำเพื่อให้ หน่วยใช้ ดำเนินกำรจำหน่ำยต่อไป

 การสอบสวนเมื่อมีการจาหน่ ายสิ่งอุปกรณ์ ดังที่บอกไว้ วำ่ “ของหลวงตกน ้ำไม่ไหลตกไฟไม่ไหม้ ” ดังนันเมื


้ ่อของหลวงตกน ้ำหรือตกไฟไปแล้ วจะต้ องมีคนรับผิดเพื่อเอำไปชดใช้ หนี ้หลวงหรือจับยัดซังเตมิให้ เป็ นเยี่ยงอย่ำงสืบไป
กระบวนกำรหำคนรับผิดนี ้เขำเรียกว่ำกำรสอบสวน

กำรสอบสวน หมำยถึง กำรดำเนินกำรเพื่อแสวงหำข้ อเท็จจริง และหลักฐำน ตลอดจนกำรรวบรวมพยำนหลักฐำน อันได้ แก่ บุคคลที่เกี่ยวข้ อง หรือบุคคลที่ร้ ูเห็นเหตุกำรณ์ เอกสำร สถำนที่ ภำพถ่ำย หรือสิ่งอุปกรณ์ เป็ น
ต้ น และกำรดำเนินกำรใด ๆ เพื่อที่จะทรำบข้ อเท็จจริง หรือพิสจู น์ทรำบเหตุนนั ้ ๆ

ั ้ ญไปหรือเปลี่ยนแปลงไปตามธรรมชาติ ไม่ เกินเกณฑ์ ที่กองทัพบกกาหนด ให้ รำยงำนขออนุมตั ิจำหน่ำยโดยไม่ต้องตังกรรมกำรสอบสวน


อย่ำงไรก็ตำม หำกเป็ นกรณีที่สิ่งอุปกรณ์นนสู ้

45
คูม่ ือ นักส่งกำลังบำรุง ทบ. มืออำชีพ โดย : กจบ.58

กำรตัง้ คณะกรรมกำรสอบสวน

 ให้ ตงคณะกรรมกำรทั
ั้ นทีที่ได้ รับรำยงำนว่ำจะต้ องจำหน่ำยสิ่งอุปกรณ์

 คณะกรรมกำรประกอบด้ วย ข้ ำรำชกำรชันสั
้ ญญำบัตร อย่ ำงน้ อย 3 นำย

 คณะกรรมกำรมีหน้ ำที่สอบสวนหำรำยละเอียดข้ อเท็จจริง และสำเหตุของกำรจำหน่ำยพร้ อมทังพิ


้ จำรณำกำรดูแลรักษำสิ่งอุปกรณ์ของเจ้ ำหน้ ำที่ หรือพลประจำด้ วยว่ำได้ ปฏิบตั ิอย่ำงถูกต้ องตำมคำแนะนำหรือคูม่ ือหรือไม่แล้ ว
รำยงำนผลกำรสอบสวน พร้ อมทังแนบส
้ ำนวนกำรสอบสวนของพนักงำนสอบสวน (ถ้ ำมี) ส่งถึงผู้สงั่ แต่งตังคณะกรรมกำรให้
้ เสร็จสิ ้นภำยใน 30 วัน นับตังแต่
้ วนั ทีป่ ระธำนกรรมกำรได้ รับทรำบคำสัง่ แต่งตังกรรมกำรแต่
้ ถ้ำกำรสอบสวน
ยังไม่เสร็จ จะขออนุญำตผู้สงั่ แต่งตังกรรมกำรเพื
้ ่อขยำยเวลำสอบสวนต่อไป อีกครำวละไม่ เกิน 15 วัน ผู้ถกู สอบสวนได้ แก่ผ้ รู ับผิดชอบและผู้เกี่ยวข้ องไม่น้อยกว่ำ 3 นำย คือ นำยทหำรสัญญำบัตรซึง่ เป็ นผู้ควบคุมกำรใช้ งำนสิ่ง
อุปกรณ์ดงั กล่ำว และนำยทหำรชันประทวน
้ 2 นำยซึง่ ผู้รับผิดชอบและพยำนผู้ร้ ูเห็น

กำรดำเนินกำรสอบสวนนัน้ มีสำระสำคัญดังนี.้ -

1. สอบสวนตำมควำมสำคัญของเรื่อง ในกรณีเป็ นสิ่งอุปกรณ์ที่มีรำคำตำ่ หรือเป็ นเรื่องที่เกี่ยวเนื่องจำกกำรปฏิบตั ริ ำชกำรสนำม คณะกรรมกำรรำยงำนผลกำรสอบสวนโดยสรุป และเสนอควำมเห็นในเรื่องที่สอบสวนให้ ผ้ สู งั่ แต่งตัง้
กรรมกำรใช้ แนบไปกับรำยงำนขออนุมตั ิจำหน่ำย เพื่อประกอบกำรพิจำรณำสัง่ กำรของผู้มีอำนำจอนุมตั ิก็เป็ นกำรเพียงพอ

2.ข้ อสำคัญต้ องสอบสวนให้ ได้ ควำมจริงว่ำเกิดจำกเหตุใด โดยสำนวนกำรสอบสวนจะต้ องระบุถึงควำมรับผิดชอบ สป.ของ จนท.ดูแลหรือใช้ งำนว่ำ

 ปรนนิบตั ิบำรุง สป.ดังกล่ำวอย่ำงถูกต้ องหรือไม่  สิ่งอุปกรณ์ ต่อไปนีส้ ำมำรถตัดออกจำกบัญชีคุมโดยไม่ ต้อง


รายงานขออนุมัติจาหน่ าย
 สรุปผลกำรสอบสวนจะต้ องระบุวำ่
1. สิ่งอุปกรณ์ใช้ สิ ้นเปลืองซึง่ หมดสิ ้นไปตำมสภำพกำรใช้ งำน เว้ น สป.5
- สำเหตุของกำรชำรุด : ทุจริต, บกพร่องหน้ ำที่, อุบตั ิเหตุ, เหตุสดุ วิสยั ,ตำมสภำพกำรใช้ งำน ซึง่ หมดสิ ้นไปตำมสภำพกำรใช้ งำน ให้ รำยงำนขออนุมตั ิจำหน่ำยแต่ไม่ต้อง
ตังกรรมกำรสอบสวน

- ต้ องมีผ้ รู ับผิดชอบชดใช้ หรือไม่
2. สิ่งอุปกรณ์ถำวรกำหนดอำยุ ซึง่ ได้ จำ่ ยประจำตัวทหำร เมื่อใช้ งำน
3.ถ้ ำหำกผลกำรสอบสวนส่อไปในทำงเป็ นควำมผิดในทำงอำญำด้ วย ให้ คณะกรรมกำรสอบสวน แยกสำนวนกำรสอบสวนดำเนินคดีอำญำต่อไป
ครบอำยุแล้ ว
4. ในกรณีสญ
ู หำย เสียหำย ตำย หรือขำดบัญชี ซึง่ ต้ องหำตัวผู้รับผิดทำงแพ่งหรือทำงละเมิด ให้ รำยงำนตำมลำดับชันไปยั
้ งกองทัพบกโดยด่วน
3. ชิ ้นส่วนซ่อม ซึง่ ใช้ ไปในกำรซ่อมบำรุง
เพื่อตังคณะกรรมกำรสอบสวนหำตั
้ วผู้รับผิดทำงแพ่งหรือทำงละเมิด โดยปฏิบตั ิตำมข้ อบังคับหรือกฎหมำยที่มีผลบังคับใช้ ในปั จจุบนั
4. เครื่ องแต่งกำยทหำร

46
คูม่ ือ นักส่งกำลังบำรุง ทบ. มืออำชีพ โดย : กจบ.58
จาหน่ ายอย่ างไรไม่ มีปัญหา

เมื่อสิ่งอุปกรณ์ต้องมีอนั เป็ นไปตำมสำเหตุทงสี


ั ้ ่ตำมที่กล่ำวข้ ำงต้ น ให้ ใจเย็นๆ แล้ วค่อยๆทำตำมขันตอนต่
้ อไปนี ้ แล้ วจะไม่มีปัญหำอะไรมำก (****บำงทีเรื่องใหญ่ก็กลำยเป็ นเรื่องเล็กได้ นะ.. แต่ถ้ำทำไปมัว่ ๆ เรื่องเล็ก
อำจกลำยเป็ นเรื่องใหญ่และเรื่องใหญ่ก็จะใหญ่ขึ ้น...****)

ขัน้ แรก หน่วยระดับกองร้ อยหรื อเทียบเท่ำขึ ้นไปเริ่มรำยงำนอนุมตั ิจำหน่ำยตำม สำยกำรบังคับบัญชำ (จำกกองร้ อยไปกองพัน - กองพันไปกรม.)

ขัน้ ต่ อมำ หน่วยระดับกองพันหรือเทียบเท่ำขึ ้นไปเป็ นหน่วยออกคำสัง่ แต่งตังคณะกรรมกำรสอบสวน


้ และดำเนินกำรสอบสวนจนถึงขันรำยงำนสรุ
้ ปผลกำรสอบสวนให้ ผ้ มู ีอำนำจแต่งตังกรรมกำรทรำบ

ขัน้ ต่ อมำ หน่วยดำเนินกำรรวบรวมและจัดทำหลักฐำนกำรขออนุมตั ิจำหน่ำย โดยหลักฐำนประกอบกำรขออนุมตั จิ ำหน่ำยประกอบด้ วย (***)

1. รำยงำนของหน่วยเริ่มรำยงำน

2.คำสัง่ แต่งตังคณะกรรมกำรสอบสวน(ให้
้ ลงนำมรับทรำบคำสัง่ พร้ อมวันที่)

3. สำนวนของผู้ถกู สอบสวน

4. สรุปผลกำรสอบสวน

5.แบบรำยงำนขออนุมตั ิจำหน่ำยสิ่งอุปกรณ์ (ทบ.400-065) หำกรำยงำนมีมำกกว่ำ 1 แผ่น ให้ ผบ.หน่วยลงนำมในแผ่นสุดท้ ำยที่มีรำคำรวมทังสิ


้ ้น

6.ใบส่งซ่อมและสัง่ งำน(ทบ.468-311)ที่ผ่ำนกำรตรวจสอบสภำพและลงควำมเห็นว่ำซ่อมไม่ค้ มุ ค่ำเห็นควรให้ จำหน่ำย

7. สำเนำใบเบิกหรือหลักฐำนกำรได้ มำของ สป.

8. ภำพถ่ำยสีของ สป.ที่ขอจำหน่ำย

9. กรณีรำยงำนล่ำช้ ำให้ รำยงำนชี ้แจงควำมล่ำช้ ำประกอบด้ วย

10. กรณีเป็ นยำนพำหนะจะมีหลักฐำนอื่นๆที่แต่ละกรมฝ่ ำยฯ กำหนด

47
คูม่ ือ นักส่งกำลังบำรุง ทบ. มืออำชีพ โดย : กจบ.58

ขัน้ ต่ อมำ เมื่อหลักฐำนถูกต้ องเรี ยบร้ อย ก็จะพิจำรณำกำรอนุมัติจำหน่ ำย (****)

ในกรณีท่มี ีอำนำจอนุมัติ

1. สัง่ กำรอนุมตั ิให้ ตดั ยอดออกจำกบัญชีคมุ และสัง่ กำรชดใช้ (ถ้ ำมี)

2. ถ้ ำสิ่งอุปกรณ์นนมี
ั ้ ซำกอยู่ ก็สงั่ กำรปฏิบตั ิตอ่ ซำกนันไปพร้
้ อมกันด้ วย

3.รำยงำนที่อนุมตั ิแล้ วกลับไปยังหน่วยรำยงำนตำมสำยกำรส่งกำลัง

4.ถ้ ำเป็ นสิ่งอุปกรณ์ถำวรตำมที่ระบุไว้ ในอัตรำกำรจัดและยุทโธปกรณ์ หรืออัตรำสิ่งอุปกรณ์ ก็ให้ เสนอสำเนำรำยงำนขออนุมตั ิจำหน่ำยที่อนุมตั ิแล้ วไปยังกรมฝ่ ำยยุทธบริกำร หรือกรมฝ่ ำยกิจกำรพิเศษ ที่รับผิดชอบในสิ่ง
อุปกรณ์ และกองบัญชำกำรช่วยรบที่ให้ กำรสนับสนุนด้ วย

ในกรณีท่เี กินอำนำจอนุมัติ

1.ให้ บนั ทึกควำมเห็นลงไปในรำยงำนนัน้

2.เสนอรำยงำนนัน้ พร้ อมทังหลั


้ กฐำนที่แนบต่อไปตำมสำยกำรส่งกำลัง ตำมลำดับจนถึงผู้มีอำนำจอนุมตั ิ

กำรจำหน่ ำยสิ่งอุปกรณ์ ในโครงกำร

ให้ รำยงำนขออนุมตั ิจำหน่ำยจนถึงผู้มีอำนำจอนุมตั ิให้ ตดั ยอดสิ่งอุปกรณ์ออกจำกบัญชีคมุ


แล้ วสำเนำรำยงำนขออนุมตั ิจำหน่ำยเสนอกรมฝ่ ำยยุทธบริกำร หรือกรมฝ่ ำยกิจกำรพิเศษ ที่รับผิดชอบในสิ่งอุปกรณ์นนั ้
จำกนันกรมฝ่
้ ำยฯจะต้ องรำยงำนถึงกองทัพบก เพื่อแจ้ งให้ ประเทศผู้มอบ/บริจำคทรำบและทำข้ อตกลงหรือกำหนดแนวทำงปฏิบตั ิตอ่ สิ่งอุปกรณ์ดงั กล่ำวต่อไป โดยห้ ามหน่ วยดาเนินการใด ๆ หรื อปฏิบัติต่อสิง่ อุปกรณ์ ทไี่ ด้ รับ
อนุมัติให้ จาหน่ าย และตัดยอดออกจากบัญชีคุมก่ อนทีจ่ ะได้ ข้อยุติ

ขัน้ ต่ อมำ เมื่อหน่วยรำยงำนทรำบผลกำรอนุมตั ิจำหน่ำยสิ่งอุปกรณ์แล้ ว ให้ตัดยอดสิ่งอุปกรณ์ นัน้ ออกจำกบัญชีคุมของหน่ วย และแจ้ งผลกำรอนุมตั ินนให้
ั ้ หน่วยบังคับบัญชำโดยตรงทรำบ

ขัน้ สุดท้ ำย ดำเนินกำรต่ อซำกสิ่งอุปกรณ์ ท่ไี ด้ รับกำรอนุมัติจำหน่ ำยตำมที่ส่ งั กำรอย่ ำงเคร่ งครัด (****)

เมื่อจาหน่ ายแล้ วต้ องทาอะไรต่ อ


เมื่อได้ รับอนุมตั ิให้ จำหน่ำยสิ่งอุปกรณ์นนแล้
ั ้ ว โดยทัว่ ไปจะมีกำรปฏิบตั ิหลักๆ ดังนี ้

48
คูม่ ือ นักส่งกำลังบำรุง ทบ. มืออำชีพ โดย : กจบ.58

กำรชดใช้ ส่ ิงอุปกรณ์ (ใช้ หนี ้หลวง) มีสำระสำคัญดังนี ้

เมื่อสิ่งอุปกรณ์ได้ ชำรุดเสียหำย เสื่อมสภำพ จนใช้ รำชกำรไม่ได้ สูญหำย ตำย ซึง่ เกิดขึ ้นจำกกำรจงใจ หรือประมำทเลินเล่อ หรือทุจริต หรือปฏิบตั ิหน้ ำที่บกพร่อง ซึง่ ผลกำรสอบสวนฟันธงออกมำในลักษณะนี ้ก็ต้องชดใช้ สิ่งอุปกรณ์
ให้ คืนแก่ทำงรำชกำร ซึง่ กระทำได้ 3 วิธี คือ กำรแก้ ไขให้ คงสภำพเดิม กำรชดใช้ ด้วยสิ่งอุปกรณ์ และกำรชดใช้ ด้วยเงิน

 กำรชดใช้ ด้วยสิ่งอุปกรณ์ ในกรณีที่สญ


ู หำย หรือไม่สำมำรถแก้ ไข ให้ คงสภำพเดิมได้ ต้ องมีชนิด ลักษณะ และขนำดอย่ำงเดียวกัน หรือคล้ ำยคลึงกัน โดยมีสภำพไม่เลวไปกว่ำสิ่งอุปกรณ์ทขี่ ออนุมตั ิตดั ยอดออกจำกบัญชี
คุมนัน้ แต่สิ่งอุปกรณ์หลักและสิ่งอุปกรณ์สำคัญห้ ำมไม่ให้ ชดใช้ ด้วยสิ่งอุปกรณ์
 กำรชดใช้ ด้วยเงิน ให้ เป็ นไปตำมหลักเกณฑ์ที่กระทรวงกำรคลังกำหนด โดยต้ องชดใช้ ให้ เสร็จสิ ้นใน 45 วัน นับแต่วนั ที่ได้ สงั่ กำร ถ้ ำไม่สำมำรถปฏิบตั ไิ ด้ ให้ ผ่อนผันใช้ เป็ นรำยเดือนได้ โดยให้ ผ่อนส่งให้ เสร็จสิ ้นโดยเร็ว หรือ
ภำยในไม่เกิน 1 ปี หำกเกิน 1 ปี จะต้ องขอทำควำมตกลงกับกระทรวงกำรคลังก่อน และบำงกรณีจะต้ องขออนุมตั ิรัฐมนตรีวำ่ กำรกระทรวงกลำโหม หรือต้ องทำสัญญำรับสภำพหนี ้ด้ วย
 ในกำรแก้ ไขให้ คงสภำพเดิมและกำรชดใช้ ด้วยสิ่งอุปกรณ์ ให้ ตงคณะกรรมกำรตรวจรั
ั้ บสิ่งอุปกรณ์ที่แก้ ไขหรือที่นำมำชดใช้ ประกอบด้ วยข้ ำรำชกำรสัญญำบัตรอย่ำงน้ อย 3 นำย โดยแต่งตังเจ้
้ ำหน้ ำที่ที่มีควำมรู้ควำม
ชำนำญในสิ่งอุปกรณ์นนร่
ั ้ วมด้ วย

กำรส่ งซำกสิ่งอุปกรณ์ มีสำระสำคัญดังนี ้

เมื่อผู้มีอำนำจได้ อนุมตั ิให้ จำหน่ำยสิ่งอุปกรณ์แล้ ว จะต้ องสัง่ กำรปฏิบตั ิตอ่ สิ่งอุปกรณ์หรือซำกสิ่งอุปกรณ์ที่ตดั ยอดออกจำกบัญชีคมุ โดยให้ส่งคืน หรื อมอบให้แก่ผู้ชดใช้ หรื อให้หน่วยนาไปใช้ประโยชน์อย่างอืน่ หรื อส่งให้แก่
ตาบลรวบรวมสิ่ งอุปกรณ์จาหน่าย หรื อทาลาย แต่หำกผู้อนุมตั ิเป็ นผู้บญ
ั ชำกำรทหำรบก จะสัง่ กำรปฏิบตั ติ อ่ สิ่งอุปกรณ์ หรือซำกสิ่งอุปกรณ์ เพิ่มเติมนอกจำกที่กล่ำวไว้ ได้ อีกโดยให้ขาย หรื อแลกเปลีย่ น หรื อโอน

 สิ่งอุปกรณ์ หรือซำกสิ่งอุปกรณ์ หลักและสิ่งอุปกรณ์ สำคัญห้ ำมมอบให้ แก่ ผ้ ชู ดใช้

กำรส่ งให้ ตำบลรวบรวมสิ่งอุปกรณ์ จำหน่ ำย ให้ นำส่ง ณ ตำบลทีส่ ะดวกในกำรขนส่งและเสียค่ำใช้ จำ่ ยน้ อยที่สดุ โดยมีหลักฐำนได้ แก่ สำเนำรำยงำนขออนุมตั ิจำหน่ำย (ทบ.400 - 065) ที่อนุมตั ิแล้ ว และใบส่งคืนสิ่งอุปกรณ์

สิ่งอุปกรณ์ หรือซำกสิ่งอุปกรณ์ ท่ ีห้ำมส่ งให้ แก่ ตำบลรวบรวมสิ่งอุปกรณ์ จำหน่ ำย ได้ แก่ สัตว์, สิ่งอุปกรณ์ที่มีคำสัง่ ให้ ปฏิบตั ิด้วยวิธีอื่นแล้ ว, กระสุนและวัตถุระเบิด, เชื ้อเพลิง สิ่งอุปกรณ์ที่เป็ นพิษ และทำให้ ระคำยเคือง,ยำ
รักษำโรค สำรเคมี ชีวะรังสี และยำเสพติดให้ โทษ , สิ่งอุปกรณ์ และซำกสิ่งอุปกรณ์ที่เห็นว่ำไม่มีคำ่ ในกำรซื ้อขำย

หน่วยที่มีหน้ ำที่ในกำรจัดตังต
้ ำบลรวบรวมสิ่งอุปกรณ์จำหน่ำย ได้ แก่ มทบ.,บชร. และกรมฝ่ ำยยุทธบริกำร

49
คูม่ ือ นักส่งกำลังบำรุง ทบ. มืออำชีพ โดย : กจบ.58

ต่ อไปนีเ้ ป็ นหัวข้ อตรวจสอบ (Checklist) ในกำรรวบรวมหลักฐำนประกอบกำรจำหน่ ำยสิ่งอุปกรณ์ ในแต่ ละสำยยุทธบริกำร(**ข้ อนีก้ ็สำคัญ**)

ลำดับ สพ. ขส. ช. พ. ส.

1 หลักฐำนทังหมดตำม
้ หลักฐำนทังหมดตำม
้ หลักฐำนทังหมดตำม
้ หลักฐำนทังหมดตำม
้ หลักฐำนทังหมดตำม
้ ที่ระบุข้ำงต้ น

ที่ระบุข้ำงต้ น ที่ระบุข้ำงต้ น ที่ระบุข้ำงต้ น ที่ระบุข้ำงต้ น

2 ผลกำรตรวจสภำพและใบประเมินรำคำซ่อม ภำพถ่ำยเลขเครื่อง,เลขแคร่,เครื่องยนต์ หนังสือ กช. ผลกำรตรวจสภำพและ สป.ล้ ำสมัย ให้ แนบหนังสือรับรองฯ ผลกำรลงควำมเห็น ซ่อมไม่ค้ มุ ค่ำ
เกิน 65%ของ กรซย.ศซส. สพ.ทบ. ,ด้ ำนหน้ ำ/ข้ ำง /ภำยใน มี น. รับรอง ใบประเมินรำคำซ่อมเกิน 65% จำก พบ. ของ กคส.สส.กชอ.สส., พัน.ส.ซบร.
ควำมถูกต้ อง เขตหลัง

3 ใบตรวจสภำพทำงเทคนิค ลอกลำยหมำยเลขเครื่อง,แคร่ ให้ น.รับรอง ใบตรวจสภำพทำงเทคนิค สป.ที่มีรำคำ 1 ล้ ำนบำทขึ ้นไปให้ กรณี สป.มีอำยุกำรใช้ งำนน้ อยให้
ควำมถูกต้ อง แนบสถิติกำรใช้ งำน, กำร ปบ.,ควำม แนบบันทึกประวัติกำรซ่อมบำรุง สป.
สิ ้นเปลืองในกำร ปบ.รอบเดือน,ปี แนบ
และประวัติกำรซ่อม

4 ผลกำรตรวจสภำพยำนพำหนะ รหัส สภำพ ใบเบิกจำก บชร. ถึง ขส.ทบ.(หำกไม่มใี ห้ ทำ ทะเบียนรถ(ที่ กคช.กช.เก็บไว้ ) สป.ล้ ำสมัยให้ แนบหนังสือรับรองจำก
เอ็กซ์ หนังสือไปยัง ขส.ทบ.) สส.

5 รำยงำนกำร ปบ./กำรตรวจสภำพ (ทบ.468- แผ่นป้ำยทะเบียนทังหมด



360)ของหน่วย

6 ใบทะเบียน(ยำนพำหนะ)แทนสมุดประวัติ ใบทะเบียน(ยำนพำหนะ)แทนสมุดประวัติ

50
คูม่ ือ นักส่งกำลังบำรุง ทบ. มืออำชีพ โดย : กจบ.58

8 การควบคุม
หลังจำกทีเ่ รำได้ ดำเนินกำรจัดหำสิง่ อุปกรณ์มำใช้ ในหน่วยแล้ วไม่วำ่ จะโดยวิธีกำรใดก็ตำม เช่น กำรเบิก กำรยืม เป็ นต้ น เรำจะต้ องมี วธิ ีกำรจัดกำรสิง่ อุปกรณ์นนๆ
ั ้ ให้ เกิดประสิทธิภำพสูงสุด และมี
กำรใช้ ประโยชน์อย่ำงคุ้มค่ำ ซึง่ หลักของกำรควบคุมสิง่ อุปกรณ์ของทำงรำชกำรหรื อของหลวงนี ้ จะครอบคลุมถึงกำรควบคุมทำงบัญชีหรื อทะเบี ยน และกำรตรวจสอบ

กำรควบคุม เป็ นส่วนสำคัญของวงรอบกำรส่งกำลังสิง่ อุปกรณ์ แต่หน่วยส่วนใหญ่จะให้ ควำมสำคัญในเรื่ องนี ้น้ อยกว่ำกำรจัดหำ ทังๆที
้ ่ กำรใช้ ประโยชน์สงิ่ อุปกรณ์เป็ นเรื่ องที่สง่ ผลกระทบต่อเงิน
งบประมำณแผ่นดินเป็ นอย่ำงมำก เนื่องจำก กำรที่ไม่มีระบบกำรควบคุมที่ดี จะทำให้ สิ่งอุปกรณ์เกิดกำรสูญหำยหรื อเสือ่ มสภำพในเวลำอันไม่สมควร ทำให้ ต้องเสียค่ำใช้ จ่ำยในกำรจัดหำใหม่หรื อซ่อมแซม
บำรุงรักษำให้ อยูใ่ นสภำพที่ใช้ กำรได้ ดีดงั เดิม ในระเบียบ ทบ.ว่ำด้ วย กำรส่งกำลังสิง่ อุปกรณ์ประเภท ๒ และ ๔ กล่ำวสันๆว่
้ ำ กำรควบคุมสิง่ อุปกรณ์กำรควบคุมนันอยู
้ ต่ รงกลำงของวงรอบกำรส่งกำลัง คือ
ควบคุมทุกขันตอนของวงรอบ
้ นับตังแต่
้ สงิ่ อุปกรณ์ได้ เริ่ มเข้ ำสูร่ ะบบกำรส่งกำลังไปจนกระทัง่ หน่วยใช้ ได้ ใช้ หมดสิ ้นไป และได้ รับอนุมัติให้ จำหน่ำยออกจำกบัญชีคมุ ของกองทัพบกแล้ ว โดยแบ่งออกเป็ น

1. กำรควบคุมทำงบัญชี

 หมำยถึง กำรควบคุมกำรแจกจ่ำย กำรจ่ำยเพิ่มเติม กำรรวบรวมบันทึกรำยงำน กำรจัดทำข้ อมูลถำวรต่ำง ๆ กำรสำรวจ กำรรำยงำนสถำนภำพสิง่ อุปกรณ์ กำรกำหนดนโยบำยเกี่ยวกับ
ระดับสิง่ อุปกรณ์
 หน่วยที่เกี่ยวข้ องได้ แก่ หน่วยใช้ และหน่วยสนับสนุนทำงกำรส่งกำลัง

2. กำรควบคุมทำงกำรส่ งกำลัง

 หมำยถึง ระบบกำรรำยงำน กำรคำนวณ กำรรวบรวมข้ อมูลและกำรประเมินค่ำ เพื่อให้ สงิ่ อุปกรณ์ตำมควำมต้ องกำรทังสิ


้ ้นได้ สว่ นสัมพันธ์กบั ทรั พย์สนิ ที่มอี ยู่ อันจะเป็ นแนวทำงในกำร
ประมำณกำรด้ ำนงบประมำณ กำรจัดหำ กำรแจกจ่ำย และกำรจำหน่ำยสิง่ อุปกรณ์

 หน่วยในสำยกำรส่งกำลังระดับต่ำกว่ำ ต้ องอยูใ่ นควำมควบคุมของหน่วยระดับเหนือกว่ำในสำยกำรส่งกำลังเดียวกัน

 หน่วยที่เกี่ยวข้ องได้ แก่ กองทัพบก และหน่วยสนับสนุนทำงกำรส่งกำลัง

51
คูม่ ือ นักส่งกำลังบำรุง ทบ. มืออำชีพ โดย : กจบ.58

- ผู้บังคับบัญชาทุกระดับชั้น ต้ องรับผิดชอบในกำรควบคุมสิ่งอุปกรณ์ให้ เป็ นไปโดยเรียบร้ อยเหมำะสม ถูกต้ องตำมควำมมุง่ หมำยของทำงรำชกำร

- หลักการควบคุมสิ่งอุปกรณ์ ทดี่ ีนั้นกล่ าวไว้ ว่า สิ่งอุปกรณ์ไม่วำ่ จะได้ มำด้ วยประกำรใดจะต้ องมีกำรควบคุมทำงบัญชีหรือทะเบียน เพื่อให้ ทรำบว่ำมีกำรเบิกจ่ำยไปใช้ จริงและมีกำรใช้ ให้ สมประโยชน์ กรณีที่มีกำรยืม จะต้ อง
มีหลักฐำนกำรยืม กำรอนุมตั ิให้ ยืม และกำรติดตำมทวงคืนภำยในกำหนดเวลำยืม มีกำรควบคุมดูแลและเก็บรักษำในที่ที่เหมำะสม อยูใ่ นสภำพที่ใช้ งำนได้ ตลอดเวลำ และทันตำมควำมต้ องกำรในกำรใช้ งำน ตลอดจน ต้ องมีกำรตรวจสอบ
กำรรับและจ่ำยพัสดุอย่ำงสม่ำเสมอ อย่ำงน้ อยปี ละ 1 ครัง้

- การควบคุม สป. ถาวร เมื่อหน่วยใช้ ได้ รับ สป. จำกหน่วยจ่ำยแล้ ว ต้ องทำกำรควบคุมทำงบัญชีโดยใช้ แบบพิมพ์ ทบ.400-005 บัญชีสิ่งอุปกรณ์ของหน่วย ใช้ คมุ สิ่งอุปกรณ์ถำวรทุกชนิด ที่หน่วยมีอยู่
ในครอบครอง ถ้ ำเป็ นกำรคุม สป.ตำม อจย.และ อสอ.ต้ องเรียงลำดับตำม อจย.และ อสอ.ของหน่วยนัน้ ๆ

- การควบคุม สป.สิ้นเปลือง ชิ้นส่ วนซ่ อม ให้ ใช้ แบบพิมพ์ ทบ.400-068

- การควบคุม สป. ทีไ่ ด้ รับจากการจัดหาเอง หรือได้ รับจากการบริจาค หน่วยต้ องรำยงำนขอขึ ้นยอดบัญชีคมุ พร้ อมหลักฐำนกำรได้ มำ ผ่ำนไปตำมสำยกำรบังคับบัญชำ ไปจนถึงกรมฝ่ ำยยุทธบริกำรที่รับผิดชอบ โดยปฏิบตั ิ
ตำม คำสัง่ ทบ. ที่ 653/27 ลง 4 ก.ย.27 เมื่อกรมฝ่ ำยยุทธบริกำรตอบรับกำรขอขึ ้นยอดบัญชีคมุ แล้ วต้ องสำเนำให้ บชร. ทรำบด้ วยเพื่อขึ ้นยอดบัญชีคมุ ให้ ตรงกัน ต่อไป

- การควบคุมทางบัญชีของหน่ วยรั กษาพยาบาลใน รพ.ทภ. ซึ่งได้ ดำเนินกำรจัดหำด้ วยเงินรำยรับสถำนพยำบำลของหน่วยเอง เมื่อขออนุมตั ิขึ ้นยอดบัญชีคมุ กับ ทบ. แล้ ว หน่วยต้ องรำยงำนให้ บชร. ทรำบและเพื่อขึ ้นยอด
บัญชีคมุ สป.สำย พ. ตำม อสอ. ถำวร เพื่อเป็ นหลักฐำนทำงเอกสำรให้ หน่วยต่อไป

ข้ อกำหนดเพิ่มเติมในกำรรำยงำนสถำนภำพของสิ่งอุปกรณ์ บำงสำยยุทธบริกำร

- มทบ. ที่มี สป. ป้อมสนำม งบวำงระดับให้ รำยงำนในรอบ 6 เดือน ปิ ดรำยงำนในสิ ้น มี.ค. และ ก.ย.โดยใช้ แบบพิมพ์ ทบ.400 - 017 ให้ รำยงำนทุกรำยกำรที่เป็ น สป. งบวำงระดับส่งไปตำมสำยกำรส่งกำลัง (ส่งให้ บชร.)
จำนวน 4 ชุด ภำยใน 20 วัน นับจำกวันปิ ดรำยงำน บชร. รวบรวมส่ง กช.และ ทภ. ภำยใน 30 วัน นับจำกวันปิ ดรำยงำน

- หน่วยใช้ ที่มีแผนที่อยูใ่ นครอบครอง ทังแผนที


้ ่ตำมอัตรำมูลฐำน และ แผนที่นอกอัตรำมูลฐำน ให้ ปิดรำยงำนในสิ ้น มิ.ย. และ ธ.ค. สำหรับสิ ้น ธ.ค.ให้ รำยงำนรำยกำรที่เปลี่ยนแปลง ถ้ ำไม่มีกำรเปลี่ย นแปลงให้ พิมพ์ข้อควำมว่ำ
“ไม่มีกำรเปลี่ยนแปลง” และ ส่งรำยงำนไปตำมสำยกำรบังคับบัญชำ จำนวน 3 ชุด ภำยใน 20 วัน นับจำกวันปิ ดรำยงำน แบบพิมพ์ใช้ ในกำรรำยงำนให้ ใช้ แบบ ขว.2

- บัญชีคมุ แบตเตอรี่แห้ งสำยสื่อสำรให้ ใช้ แบบพิมพ์ ทบ.400-003

กำรสำรวจ : ตัวช่ วยสุดท้ ำยของกำรควบคุม

กำรสำรวจ ได้ แก่ กำรนับจำนวนและกำรตรวจสภำพสิ่งอุปกรณ์ในที่เก็บให้ ตรงกับหลักฐำนบัญชีคมุ หรือที่เรียกว่ำกำรสำรวจสิ่งอุปกรณ์ และกำรตรวจสอบที่เก็บสิ่งอุปกรณ์ให้ ตรงกับบัตรบัญชีคมุ สิ่งอุปกรณ์ หรือบัตรแสดงที่เก็บ
หรือเรียกว่ำกำรสำรวจที่เก็บ
52
คูม่ ือ นักส่งกำลังบำรุง ทบ. มืออำชีพ โดย : กจบ.58
ประเภทกำรสำรวจสิ่งอุปกรณ์ ได้ แก่

1. กำรสำรวจเบ็ดเสร็จ ได้ แก่ กำรสำรวจสิ่งอุปกรณ์ในครอบครองทังหมด


้ โดยปิ ดกำรเบิกจ่ำยทังสิ
้ ้น เว้ นกรณีเร่งด่วน กำรสำรวจประเภทนี ้กระทำเมื่อมีเครื่องมื อสำรวจสมบูรณ์ ซึง่ จะทำให้ กำรสำรวจนันเสร็
้ จสิ ้นโดยเร็ว

2. กำรสำรวจหมุนเวียน ได้ แก่ กำรสำรวจสิ่งอุปกรณ์ที่ได้ แบ่งออกเป็ นจำพวก หรือชนิด หรือรำยกำร เพื่อทำกำรสำรวจหมุนเวียนกันไปตำมห้ วงระยะเวลำที่กำหนดปิ ดกำรเบิกจ่ำยเฉพำะรำยกำรที่สำรวจนัน้ เว้ นกรณีเร่งด่วน

3. กำรสำรวจพิเศษ ได้ แก่ กำรสำรวจสิ่งอุปกรณ์เป็ นครัง้ ครำวตำมควำมจำเป็ น โดยปิ ดกำรเบิกจ่ำยเฉพำะรำยกำรที่สำรวจนัน้ เว้ นกรณีเร่งด่วน กำรสำรวจประเภทนี ้จะสำรวจสิ่งอุปกรณ์จำพวกใด ชนิดใด หรือรำยกำรใดนัน้ ขึ ้นอยู่
กับกรณีที่ไม่ปกติ เช่น มีอนั ตรำยเกิดขึ ้นกับสิ่งอุปกรณ์ พบสิ่งอุปกรณ์ตกหล่นเมื่อมีกำรรับส่งหน้ ำที่ เป็ นต้ น

กำรดำเนินกำรสำรวจสิ่งอุปกรณ์ ต้องมีกำรตัง้ คณะกรรมกำรหรือชุดสำรวจสิ่งอุปกรณ์ อย่ ำงน้ อย 3 นำย (ประธำนกรรมกำร หรือ หัวหน้ ำชุดต้ องเป็ นนำยทหำรสัญญำบัตร) ใช้ แบบพิมพ์ ทบ.400-011 ซึ่งมีอยู่ 3 ส่วน
บันทึกคนละ 1 ส่วนเพื่อสอบยันกัน จำกนันรำยงำนกำรส
้ ำรวจและปรับยอดในบัตรบัญชีคมุ

ถ้ ำจ ำนวนสิ่ งอุ ป กรณ์ ขำดจำกยอดในบั ต รบั ญ ชี คุ ม ต้ อง


ดำเนินกำรจำหน่ ำย แต่ ถ้ำจำนวนสิ่งอุปกรณ์ เกินกว่ ำยอดในบัญชีคุมให้
ผู้มีอำนำจในกำรสั่งสำรวจสิ่งอุปกรณ์ ส่ ังแก้ ไขในบัตรบัญชีคุมได้ แล้ วแจ้ ง
ให้ สำยยุทธบริกำรที่รับผิดชอบในสิ่งอุปกรณ์ นัน้ ทรำบด้ วย

ส่วนกำรสำรวจที่เก็บสิง่ อุปกรณ์มีควำมมุง่ หมำยเพื่อให้ สงิ่ อุปกรณ์อยูใ่ นที่เก็บตรงกับบัตรแสดงที่เก็บโดยทำตำรำงกำรสำรวจที่เก็บสิง่ อุปกรณ์โดยใช้ แบบพิมพ์ ทบ.400-011-1 และสำรวจอย่ำง
ต่อเนื่องในรอบปี

53
คูม่ ือ นักส่งกำลังบำรุง ทบ. มืออำชีพ โดย : กจบ.58

9 หลักการใช้ กาลัง
เพื่อการป้ องกันประเทศ
กำรส่งกำลังบำรุงให้ กบั หน่วยที่ปฏิบตั ิรำชกำรสนำมจะเกิดขึ ้น และเป็ นไปโดยสอดคล้ องกับกำรใช้ กำลังเพื่อกำรป้องกันประเทศ ซึง่ แบ่งเป็ น 3 ขันตอน
้ ตำมระดับของสถำนกำรณ์คือ ยำมปกติ, ยำมใกล้ จะเกิดสงครำม และยำม
สงครำม โดยมีรำยละเอียดกำรปฏิบตั ิในแต่ละขันของกำรใช้
้ กำลังพอสังเขปดังนี ้

โดยที่ในยำมปกติของห้ วงระยะเวลำ มีแนวโน้ มว่ำพื ้นที่ชำยแดนทุกด้ ำนยังคงได้ รับผลกระทบด้ ำนควำมมัน่ คง เนื่องจำกปั ญหำต่ำงๆที่เกิดขึ ้นอย่ำงต่อเนื่อง ประกอบกับ ทบ.มีควำม
การใช้ กาลังในยามปกติ จำเป็ นต้ องเตรียมกำรป้องกันภัยคุกคำมในระยะยำวตังแต่
้ ยำมปกติ ดังนัน้ ทบ. จึงจัดกำลังรบหลักบำงส่วนออกปฏิบตั ิกำรร่วมกับกำลังประจำถิ่นที่อยูใ่ นควำมรับผิดชอบของ ทบ. โดย
จัดเป็ นกำลังป้ องกันชำยแดน

แม้ ผลกำรประมำณกำรแนวโน้ มของสถำนกำรณ์จะระบุวำ่ ภัยคุกคำมจำกฝ่ ำยตรงข้ ำมถึงขึ ้นกำรใช้ กำลังขนำดใหญ่ยงั ไม่น่ำจะเกิดขึ ้น แต่ควำมแปรปรวนของสถำนกำรณ์
และกำรพัฒนำทำงกำรทหำรของประเทศเพื่อนบ้ ำน ตลอดจนปั จจัยอื่น ๆ อำจทำให้ ควำมขัดแย้ งระดับต่ำในห้ วงเวลำขยำยตัวอย่ำงรวดเร็ว และอำจเพิ่ มระดับจนถึงขันจะเกิ
้ ดสงครำม
การใช้ กาลังในยาม
กำรใช้ กำลังทำงบกของ ทบ. ในขันตอนนี
้ ใ้ ห้ ถือปฏิบัติตำมแผนป้ องกันประเทศในขัน้ เตรียมกำร ซึ่งเป็ นกำรปฏิบัติกำรรบร่ วมกับเหล่ ำทัพอื่น โดยขยำยผลจำกงำนเตรียมกำร
ใกล้ จะเกิดสงคราม ป้องกันภัยคุกคำมในระยะยำวทีด่ ำเนินกำรตังแต่
้ ยำมปกติ ได้ แก่ กำรขยำยผลกำรปฏิบตั ิกำรพิเศษในพื ้นที่ระวังป้องกัน กำรระดมสรรพกำลัง กำรวำงกำลังในพื ้นที่กำรรบ และกำรปฏิบตั ิ
ในพื ้นที่สว่ นหลังเป็ นต้ น

เมื่อกำรขยำยตัวของภัยคุกคำมลุกลำมออกไปจนถึงขันเกิ
้ ดสงครำม กำรใช้ กำลังทำงบกของ ทบ. ในขันตอนนี
้ ใ้ ห้ ถือปฏิบัติตำมแผนป้ องกันประเทศในขัน้ ปฏิบัติกำร ซึง่
การใช้ กาลังในยามสงคราม เป็ นกำรรบร่วมกับเหล่ำทัพอื่น โดยเป็ นกำรใช้ กำลังเต็มขนำดตำมแนวควำมคิดในกำรใช้ กำลัง เพื่อให้ ประสบผลสำเร็จตำมควำมมุง่ หมำย

54
คูม่ ือ นักส่งกำลังบำรุง ทบ. มืออำชีพ โดย : กจบ.58

10 การส่ งกาลังบารุ งในสนาม


กำรส่ งกำลังบำรุงในสำยงำน ศปก.ทบ.

ยึดถือปฏิบตั ิตำมแนวทำงกำรปฏิบตั ิงำนในสนำม ตำมคำสัง่ ของ ศปก.ทบ. ซึง่ ได้ จดั ทำขึ ้นเป็ นประจำทุกปี ประกอบด้ วยสำระสำคัญต่ำง ๆ เพื่อให้ หน่วยที่ปฏิบตั ิกำรในสนำม และ
หน่วยสนับสนุนทำงกำรส่งกำลังบำรุงใช้ เป็ นแนวทำงในกำรปฏิบตั ิและประสำนงำน เพื่อให้ ภำรกิจของหน่วยบรรลุเป้ำหมำย และเกิดอุปสรรคน้ อยที่สดุ

คาสั่ง ระเบียบและแนวทางการปฏิบัติทที่ ุกหน่ วยต้ องยึดถือและปฏิบัติ

 คาสัง่ กองทัพบกที ่ 487/2543 ลง 3 ต.ค.43 เรื ่อง การกาหนดภารกิ จ นโยบาย แนวความคิ ด และความรับผิ ดชอบในการส่งกาลังบารุงของกองทัพบก

 ระเบียบปฏิ บตั ิ ประจาการส่งกาลังบารุงสนับสนุนหน่วยปฏิ บตั ิ ราชการสนามของกองทัพบก พ.ศ.2531

 ระเบียบปฏิ บตั ิ ประจาของหน่วย และหน่วยเหนือทีก่ าหนด

 ระเบียบ คาสัง่ อนุมตั ิ หลักการ ข้อบังคับ แบบธรรมเนียมทางการส่งกาลังบารุงของกองทัพบก ทีม่ ีผลใช้บงั คับในการปฏิ บตั ิ ภารกิ จในสนามโดยอนุโลม

 กาลังทหาร (ทบ.) ทีเ่ ข้าปฏิ บตั ิ การตามแผนงานรักษาความมัน่ คงภายในของ กอ.รมน. ให้ยึดถือและปฏิ บตั ิ ตามข้อบังคับ กอ.รมน.ว่าด้วยการดาเนินการด้านพัสดุ พ.ศ.2553 ระเบียบปฏิ บตั ิ ประจา กองอานวยการรักษาความ
มัน่ คงภายในราชอาณาจักรว่าด้วยการสนับสนุน พ.ศ.2553 และระเบียบของ

กอ.รมน. ทีเ่ กีย่ วข้องเป็ นหลักและแนวทางตามข้อ 1- 4

 เตรียมสมอง (การจัดทาแผนหรื อผนวกการช่วยรบ)

จะไปรบทัพจับศึกแต่ไม่มีแผนในหัวก้ อตำยเปล่ำ...ศปก.ทบ.ห่วงใยท่ำนจึงกำชับ ให้ ทกุ หน่วยต้ องจัดทำแผนกำรช่วยรบ หรือผนวกกำรช่วยรบประกอบแผนยุทธกำรหรือแผนเผชิญเหตุให้ อนุ่ ใจไว้ วำ่ จะบู๊ล้ำงผลำญกันปำนใด สำยสี่ยงั
มีข้ำวให้ ทำ่ นกินเสมอ มีแต่แผนที่นงั่ เทียนเพ้ อเจ้ อเขียนในอำกำศอย่ำงเดียวก้ อไม่ได้ ต้องมีกำรทดสอบในห้ วงเวลำที่เหมำะสมด้ วยว่ำทำได้ แต่บนกระดำษหรือเปล่ำ รวมทังต้
้ องเสนอให้ หน่วยเหนือ หน่วยสนับสนุนในพื ้นที่ และ ทบ.(ศปก.ทบ.)
ทรำบด้ วยทุกครัง้ เพื่อตรวจสอบและเร่งรัดติดตำมกำรสนับสนุนให้ แก่หน่วยได้ ทนั ตำมควำมต้ องกำรและต่อเนื่อง.....ยกเว้ นว่ำท่ำนจะรบกำรกุศลโดยใช้ ทนุ ตนเองทังหมด

 เตรียมของ (การตรวจสอบความพร้อมรบด้านยุทโธปกรณ์ )
55
คูม่ ือ นักส่งกำลังบำรุง ทบ. มืออำชีพ โดย : กจบ.58
 มีโจทก์(คู่ตอ่ สู้) มีสมอง(มีแผนกำร) แต่มีแค่มือเปล่ำไปตีกบั เขำก้ อเอวังครับท่ำน ดังนันก่
้ อนออกไปซัดกับชำวบ้ ำนเขำก้ อต้ องดูก่อนว่ำมีเครื่องทุน่ แรงครบหรื อยัง ยุทโธปกรณ์หรือสิ่งอุปกรณ์ของหน่วยที่ยงั ขำดอัตรำซึง่ อำจ
เกิดจำกยังไม่ได้ รับกำรแจกจ่ำยหรื อค้ ำงจ่ำย (ไม่ รู้ว่าจะหวงไปทาไมนักหนา), ยังอยู่ในระหว่ำงกำรส่งซ่อม, ยังอยู่ระหว่ำงดำเนินกำรขออนุมตั ิจำหน่ำย (ยังสอบสวนไม่เสร็ จเพราะคนที ่ใช้ตายไป
แล้วแต่ต้องรับผิ ดทางละเมิ ด..โอ้พระเจ้า...), ได้ รับอนุมตั ิให้ จำหน่ำยแล้ วแต่ยงั ไม่ได้ เบิกทดแทน(อ้าว..แบบนีท้ ่านสายสีจ่ ะแก้ตวั ยังไงล่ะ..) หรืออื่น ๆ ที่ทำให้ ยทุ โธปกรณ์ หรือสิ่งอุปกรณ์ของหน่วยขำด
อัตรำในทุกกรณีดงั กล่ำวแล้ ว(แล้วแต่ท่านสายสี ่จะโม้..) หน่วยจะต้ องรำยงำนตำมสำยกำรบังคับบัญชำให้ หน่วยเหนือทรำบ เพื่อพิจำรณำแก้ ปัญหำเสียก่อนเป็ นลำดับแรก และต้ องคอยติดตำม
ผลอยูเ่ สมอ รวมทังแจ้
้ งให้ ทบ.(ศปก.ทบ.) ทรำบด้ วย เพื่อติดตำมและเร่งรัดหน่วยเกี่ยวข้ องดำเนินกำรต่อไป

 ลำพังมีเฉพำะปื นผำหน้ ำไม้ ในอัตรำ สมัยนี ้ไม่มีทำงได้ กิน ข้ ำศึกศัตรูเดีย๋ วนี ้ไม่ใช่พวกบ้ ำนนอกหลังเขำเหมือนสมัยก่อนแล้ ว ไฮเทค
เหมือนกัน

ดังนัน้ ท่ำนสำยสี่ต้องไปจับเข่ำคุยกับท่ำนสำยสำมเพื่อ ตรวจสอบและเสนอควำมต้ องกำรสิ่งอุปกรณ์นอกอัตรำ หรือสิ่งอุปกรณ์พิเศษ เพื่อเสริมขีดควำมสำมำรถในกำรปฏิบตั ิภำรกิจของหน่วยให้


สำเร็จตำมเป้ำหมำย(จะเอาไฮเทคขนาดไหนก็เพ้อฝันกันไปให้เต็มที.่ .) โดยเสนอควำมต้ องกำรตำมสำยกำรบังคับบัญชำ จนถึง ทบ.(ศปก.ทบ.) เมื่อได้ รับอนุมตั ิแล้ ว จึงขอรับกำรสนับสนุนในพื ้นที่
หรือตำมสำยกำรส่งกำลังต่อไป

 มีของครบแต่รบไม่ได้ ....ให้ ตำยเถอะโรบิน!! ดังนัน้ ยุทโธปกรณ์หรือสิ่งอุปกรณ์ตำ่ ง ๆ ตำมอัตรำที่หน่วยนำไปใช้ ปฏิบตั ิกำรในสนำมต้ องเป็ นยุทโธปกรณ์ หรื อสิ่งอุปกรณ์ที่ใช้ กำร
ได้ อย่ำงสมบูรณ์ ไม่นำยุทโธปกรณ์ หรื อสิ่งอุปกรณ์ที่งดใช้ กำร หรื ออยู่ในสภำพใกล้ จะงดใช้ กำรไปใช้ ในสนำม(ในประเด็นนี ้กองทัพบางประเทศชอบนาไปใช้จนกลายเป็ นหลักนิ ยมไปแล้ว..
Believe its or not..) เพรำะจะเป็ นกำรเพิ่มภำระในกำรซ่อมบำรุ งในสนำม ซึ่งกระทำได้ อย่ำงจำกัด (ซ่อมไป..หลบกระสุนไป...) และยังเป็ นปั ญหำแก่หน่วยในกำรใช้ ยุทโธปกรณ์ หรื อสิ่ง
อุปกรณ์นนั ้ ๆด้ วย ยุทโธปกรณ์หรือสิ่งอุปกรณ์ตำมอัตรำที่หน่วยจะต้ องนำไปพร้ อมกับหน่วย ได้ แก่

 สป.5 ตำมอัตรำมูลฐำน, ชิ ้นส่วนซ่อมตำมอัตรำพิกดั (PLL) สำหรับหน่วยใช้ และชิ ้นส่วนซ่อมตำมอัตรำสะสม (ASL) สำหรับหน่วยสนับสนุน

 ยำและเวชภัณฑ์ตำมอัตรำกำหนด

 ยุทโธปกรณ์หรือสิ่งอุปกรณ์อื่น ๆ ที่หน่วยเหนือกำหนด

 เตรียมหน่ วย (การเตรี ยมการอืน่ ๆ)

 ต้ องทำใจไว้ ล่วงหน้ ำว่ำในกำรรบทัพจับศึกมันต้ องมีอะไรหลำยๆอย่ำงที่ต้องใช้ อย่ำงมำกมำยมหำศำล รวมทังหลำยๆอย่


้ ำงอำจไม่ได้ กลับมำหรื อกลับมำแบบไม่เหมือนเดิม ดังนันหน่
้ วยจะต้ องทรำบ และทำควำมเข้ ำใจต่อ
ระเบียบ คำสัง่ คำแนะนำตลอดจนข้ อมูลทำงด้ ำนกำรส่งกำลังบำรุงที่ห น่วยเหนือ และหน่วยสนับสนุนได้ แจกจ่ำยให้ รวมทังต้
้ องทรำบสถำนกำรณ์ส่งกำลังบำรุงและวิธีกำรปฏิบตั ิที่จะขอรับกำรสนับสนุนในพื ้นที่ป ฏิบตั ิกำร เพื่อให้ เป็ นสำยสี่มือ
อำชีพที่ทกุ คนหวังพึง่ ได้

56
คูม่ ือ นักส่งกำลังบำรุง ทบ. มืออำชีพ โดย : กจบ.58
 ชกมวยต้ องมีพี่เลี ้ยงและเจ้ ำของค่ำย กำรรบก้ อเหมือนกัน หน่วยจะต้ องประสำนกับหน่วยสนับสนุน และหน่วยเหนืออย่ำงใกล้ ชิดในทุกกรณีโดยต่อเนื่อง ที่สำคัญต้ องรู้วำ่ หน่วยไหนให้ กำรสนับสนุนเรำ

 คน..เป็ นปั จจัยที่หนึ่งของระบบกำรส่งกำลังบำรุง จะไปเสี่ยงเป็ นเสี่ยงตำยในสนำม ไม่ใช่ไปเดินเล่นที่ห้ำง เจ้ ำหน้ ำที่สำยสี่ทกุ คนจึงต้ องสำมำรถฝำกผีฝำกไข้ ได้ หน่วยต้ องตรวจสอบและพิจำรณำบรรจุกำลังพลที่ต้องใช้
ควำมรู้ ควำมชำนำญพิเศษสำหรับหน่วยส่งกำลังบำรุงหรือส่วนสนับสนุนกำรช่วยรบ ได้ แก่ พลประจำเครื่องมือ ช่ำงซ่อมและเจ้ ำหน้ ำที่สง่ กำลัง เป็ นต้ น

 ทุกหน่วยให้ ควำมสำคัญต่อกำรจัดหน่วยสนับสนุนทำงกำรส่งกำลังบำรุงให้ พร้ อมที่จะสนับสนุนหน่วยตำมแผนยุทธกำร หรือแผนเผชิญเหตุ เมื่อมีกำรใช้ กำลังทุกระดับได้ ทนั ที ...ลองนึกดูวำ่ ถ้ ำกระสุนหมดแต่ไม่มีใครเอำมำเพิ่มให้
จะได้ อำรมณ์กนั ขนำดไหน.....

 เงิน..เป็ นปั จจัยที่สองของระบบกำรส่งกำลังบำรุง ซึง่ ก้ อแน่นอนอยูแ่ ล้ ว กระสุนทุกนัดมันไม่ได้ ไปหำเด็ดได้ ตำมต้ นไม้ น ้ำมันทุกลิ ตรมันก้ อไม่ได้ ไปหำตักได้ ตำมลำห้ วย เมื่อรู้วำ่ จะต้ องไปท่องยุทธจักรแล้ ว ท่ำนสำยสี่ที่รัก
จะต้ องเตรียมจัดทำควำมต้ องกำรงบส่งกำลังบำรุงประจำปี โดยยึดถือแนวทำงกำรเสนอควำมต้ องกำรที่ ศปก.ทบ.(ฝกบ.ศปก.ทบ.) กำหนดให้ ทังนี
้ ้ ขอให้ หน่วยเร่งรัดเสนอควำมต้ องกำรถึง ศปก.ทบ.(ผ่ำน ฝกบ.ศปก.ทบ.) ภำยใน 20 วัน
ภำยหลังจำกที่หน่วยได้ รับทรำบอนุมตั ิแผนงำนป้องกันชำยแดน และแผนงำนรักษำควำมมัน่ คงภำยในประจำปี แล้ ว (ถ้าหลัง 20 วันไปแล้วจะถือว่าเป็ นการรบการกุศล.....)

การปฏิบัติของหน่ วยในระหว่ างที่อยู่ในสนาม

 แน่นอนว่ำสภำพในสนำม ข้ ำวของต่ำงๆมันจะต้ องกระจัดกระจำยแยกย้ ำยกันไปหลำยสำขำ ไม่มีคลังเก็บรักษำเหมือนที่หน่วยปกติ ในสภำพเช่นนี ้หน่วยจะต้ องดำเนินกำรควบคุมทำงบัญชีกำรเก็บรักษำต่อสิ่งอุปกรณ์ที่ได้ รับ


กำรสนับสนุนจำก ศปก.ทบ.ให้ เป็ นไปด้ วยควำมเรียบร้ อย ถูกต้ อง และให้ เป็ นไปตำมระเบียบคำสัง่ ที่เกี่ยวข้ องโดยเคร่งครัด เพื่อให้ ทรำบสถำนภำพสิ่งอุปกรณ์ได้ ตลอดเวลำ และเป็ นกำรป้องกันกำรสูญเสียจำกอัคคีภยั หรือกำรโจรกรรม...ไม่งนั้
ตอนจบภารกิ จกลับมาหน่วยปกติ ก้อ...งานเข้าครับเจ้านายยย...

 บรรดำปื นผำหน้ ำไม้ รถรำม้ ำช้ ำง ที่หน่วยหอบเอำไปซัดกับชำวบ้ ำนเขำนันอย่


้ ำลืมว่ำมันเป็ น “ของหลวง” หน่วยจะต้ องจัดทำบัญชีรำยกำรยุทโธปกรณ์ หรือสิ่งอุปกรณ์ที่นำใช้ ปฏิบตั ิ กำรโดยทันทีที่เคลื่อนย้ ำยเข้ ำที่ตงหน่
ั ้ วยใน
สนำมเรียบร้ อยแล้ ว พร้ อมรำยงำนตำมสำยกำรบังคับบัญชำถึง ทบ.(ศปก.ทบ.) ภำยใน 1 เดือน พร้ อมสำเนำให้ หน่วยสนับสนุนทำงกำรส่งกำลัง จนถึงกรมฝ่ ำยยุทธบริกำรที่รับผิดชอบ สป.ทรำบด้ วย โดยระบุชนิด , จำนวน, หมำยเลข
ยุทโธปกรณ์ หรื อสิ่งอุปกรณ์ให้ แน่ชดั หำกมีกำรเปลี่ยนแปลงไม่ ว่ำกรณีใด หน่ วยจะต้ องรำยงำนให้ หน่ วยเหนือ, หน่ วยสนับสนุนและ ทบ.(ศปก.ทบ.) ทรำบทันทีและทุกครัง้ ที่เปลี่ยนแปลง โดยมีรำยกำรยุทโธปกรณ์ดงั นี ้

อำวุธ เครื่องควบคุมกำรยิง กระสุน และวัตถุระเบิด

ยำนพำหนะ

เครื่องมือสื่อสำร

เครื่องมือกล

เครื่องมือพิเศษอื่น ๆ ที่หน่วยเหนือมอบให้
57
คูม่ ือ นักส่งกำลังบำรุง ทบ. มืออำชีพ โดย : กจบ.58

ข้ อนี ้ต้ องขอฝำกเน้ นย ้ำกันเป็ นพิเศษ เพรำะไม่ร้ ูวำ่ มันเป็ นเพรำะอะไรกันนักกันหนำ....หน่วยจึงไม่ค่อยจะรำยงำนกัน ทีนีพ้ อจะต้ องจำหน่ำยหรื อส่งซ่อมก้ อมีปัญหำโดยเฉพำะกำรจำหน่ำยเป็ นสูญเนื่องจำกกำรรบ...ถ้ ำไม่มีรำยกำร
ที่วำ่ ไว้ ก้อต้ องไปอธิบำยกันยำวที่กระทรวงกำรคลัง-เจ้ ำของ “ของหลวง”

 ผบ.หน่วยทุกระดับ จะต้ องดูแลและเอำใจใส่กำรใช้ งำน กำรปรนนิบตั ิบำรุงตลอดจนกำรซ่อมบำรุงรักษำอำวุธยุทโธปกรณ์ทงในและนอกอั


ั้ ตรำ โดยเฉพำะอย่ำงยิ่งอำวุธพิเศษ ขอให้ มีกำรกวดขันในเรื่องกำรใช้ ให้ ถกู ต้ องตำมคูม่ ือ
เพื่อยืดอำยุกำรใช้ งำน เช่น กล้ องตรวจกำรณ์เวลำกลำงคืน GPS, วิทยุควำมถี่ก้ำวกระโดด เป็ นต้ น รวมทังที
้ ่ได้ รับกำรจ่ำยยืมเพรำะถ้ ำเกิดชำรุดขึ ้นมำแล้ วกำรทดแทนกระทำได้ ยำกและไม่ได้ ทนั ทีที่ต้องกำร

 หน่วยควรบันทึกผลกำรใช้ สป.ตำมอัตรำ หรือ สป.ที่ได้ รับเพิ่มเติม มีควำมเหมำะสมในกำรปฏิบตั ิงำนมำกน้ อยเพียงใด แล้ วสรุปรำยงำนให้ หน่วยเหนือทรำบ

 ของเมื่อใช้ ไปแล้ วมันต้ องหมดเปลืองไปหรื อชำรุดเสียหำย แต่ถ้ำมัวแต่นั่งรอนอนรอมันคงจะมีมำให้ หรอก...อย่ำลืมว่ำส่งกำลังแบบไทยไทยส่ งกระดำษไป อำจได้ กระดำษมำ ดังนันหน่
้ วยจะต้ องติดตำม และสอบถำมหน่วย
เหนือ ในกำรสนับสนุนด้ ำนส่งกำลังบำรุง ทังที
้ ่เป็ นกำรสนับสนุนตำมระยะเวลำและกำรสนับสนุนเพิ่มเติมอยูต่ ลอดเวลำ เพื่อกำรทรงชีพของหน่วย

 หน่วยจะต้ องรำยงำนสถำนภำพกำรส่งกำลังบำรุง หรือปั ญหำข้ อขัดข้ องต่ำง ๆ ให้ หน่วยเหนือทรำบ โดยรำยงำนตำมแบบฟอร์ มกำรส่งกำลังบำรุง ตำมระยะเวลำทุกห้ วง 15 วัน รำยงำนถึงห้ องปฏิบตั ิกำร ศปก.ทบ. ในวันที่ 17
และ 2 ของเดือน ปิ ดรำยงำนเวลำ 1600 เพื่อแก้ ไขปั ญหำที่เกิดขึ ้น

 เมื่ออำวุธยุทโธปกรณ์ชำรุดเสียหำย จะต้ องรำยงำนด่วนให้ หน่วยเหนือทรำบตำมสำยกำรบังคับบัญชำทันที

 กำรใช้ สป.5 หน่วยจะต้ องเพ่งเล็งในด้ ำนกำรประหยัด และใช้ ให้ ก่อประโยชน์ในกำรทำลำยเป้ำหมำยให้ มำกที่สดุ โดยสอดคล้ องกับระเบียบปฏิบตั ิตำมที่หน่วยเหนือกำหนด

 ในสนำม หนทำงต่ำงๆมันลำบำก ไม่มีถนนซูเปอร์ ไฮเวย์หรือทำงด่วนผ่ำนฐำนแน่ๆ ดังนันหน่


้ วยจะต้ องมีแผน หรือเตรียมกำรในเรื่ องกำรขำดแคลนอำหำร, น ้ำ, สป.3 และ สป.5 ไว้ เสมอ เพรำะกำรสนับสนุนด้ ำนกำรส่งกำลัง
โดย ฮ. บำงครัง้ อำจจะประสบปั ญหำ สนับสนุนให้ ไม่ทนั ควำมต้ องกำรของหน่วย ทังนี
้ ้จะต้ องเพ่งเล็ง ไม่ทำให้ หน่วยขำดควำมคล่องตัวในกำรปฏิบตั ิ

 หน่วยจะต้ องควบคุมให้ กำลังพลปฏิบตั ิตำมหลักสุขำภิบำล และอนำมัยด้ วยกำรให้ มีเวชกรรมป้องกันในเรื่องกำรป้องกันไข้ มำลำเรีย กำรทำน ้ำให้ สะอำดก่อนดื่ม ฯลฯ

 หน่วยจะต้ องวำงแผนแก้ ปัญหำในกำรอำนวยควำมสะดวก ให้ สำมำรถดำเนินกำรส่ง-รับ ผู้ป่วยเจ็บออกจำกพื ้นที่ปฏิบตั ิกำรให้ ได้ ไม่วำ่ สถำนกำรณ์จะบีบบังคับ อย่ำงไร เพื่อดำรงขวัญของกำลังพลในหน่วย โดยขอให้ พิจำรณำ
วำงแผนกำรส่งกลับทำงอำกำศไว้ ด้วย

58
คูม่ ือ นักส่งกำลังบำรุง ทบ. มืออำชีพ โดย : กจบ.58

กำรปฏิบัติของหน่ วยภำยหลังจำกเสร็จสิน้ ภำรกิจในสนำม

 หน่วยจะต้ องสำรวจควำมเสียหำยของหน่วยตำมบัญชียทุ โธปกรณ์ทงปวงที


ั้ ่หน่วยนำไปใช้ ในกำรปฏิบตั ิกำรว่ำมันยับเยินขนำดไหน แยกรำยกำรออกเป็ น ชำรุด สูญหำย จำกกำรกระทำของฝ่ ำยตรงข้ ำมหรือจำกกำรใช้ งำน
รำยกำรที่จะต้ องส่งซ่อมและส่งคืนหลังจำกได้ รำยงำนขออนุมตั ิจำหน่ำยแล้ ว

 รำยงำนผลกำรสำรวจควำมเสียหำยของหน่วย ให้ หน่วยเหนือทรำบตำมสำยกำรบังคับบัญชำ พร้ อมด้ วยเหตุผล

 รำยงำนขอเบิก สป.5 ให้ ครบอัตรำมูลฐำนโดยเร็ว

 รำยงำนขอส่งซ่อม หรือจำหน่ำยอำวุธยุทโธปกรณ์ที่ชำรุด สูญหำย พร้ อมด้ วยเหตุผล โดยปฏิบตั ิตำมระเบียบ ทบ. ว่ำด้ วยกำรจำหน่ำย สป. พ.ศ.2539 (ข้อนีม้ ีกองทัพบางประเทศชอบมัว่ นิ่ม...เอาของที ่ไม่ได้นาไปใช้ใน
สนามมาจาหน่ายกันหน้าตาเฉยก้อมี...)

 ดำเนินกำรส่งคืนอำวุธยุทโธปกรณ์ และสิ่งอุปกรณ์ที่ได้ รับกำรจ่ำยยืมให้ เสร็จสิ ้น พร้ อมทังรำยงำนให้


้ หน่วยเหนือทรำบตำมสำยกำรบังคับบัญชำ

 รำยงำนขออนุมตั ิทดแทนอำวุธยุทโธปกรณ์ตำ่ ง ๆ ที่ได้ รับอนุมตั ิจำหน่ำย โดยเสนอใบเบิกตำมสำยกำรส่งกำลัง (ไปหาอ่านได้จากหนังสือ “ส่งกาลังบารุง : ไม่ย่งุ อย่างทีค่ ิ ด” )

 รำยงำนผลกำรปฏิบตั ิ พร้ อมทังข้


้ อขัดข้ อง ข้ อเสนอแนะทังปวงที
้ ่เกี่ยวข้ องกับกำรส่งกำลังบำรุงให้ หน่วยเหนือทรำบ เพื่อยึดถือเป็ นข้ อมูลในกำรปรับปรุงแก้ ไขต่อไป

หากมี ปัญ หาข้อขัดข้องทางการส่งกาลังบ ารุง ให้รายงานให้หน่วยเหนื อหน่วย


สนับสนุนทันที และจะต้องติ ดตามผลการแก้ไขตามขัน้ ตอนของหน่วยเหนืออย่างใกล้ชิด
ทัง้ นี ้หากหน่วยมี ความจาเป็ นต้องแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้าตามสถานการณ์ ที่บีบบังคับ ให้
หน่วยดาเนิ นการตามขี ดความสามารถเท่าที ่จะกระทาได้โดยเหมาะสม และสอดคล้องกับ
ความจาเป็ น และจะต้องรายงานให้หน่วยเหนือทราบตามสายการบังคับบัญชาทุกครัง้

59
คูม่ ือ นักส่งกำลังบำรุง ทบ. มืออำชีพ โดย : กจบ.58

แนวทำงกำรเสนอควำมต้ องกำรด้ ำนกำรส่ งกำลังบำรุ ง ในกำรสนับสนุนทำงกำรส่งกำลังบำรุง ต่อหน่วยปฏิบตั ิกำรตำมแผนงำนป้องกันชำยแดน ฝกบ.ศปก.ทบ.ได้ พิจำรณำกำหนดแนวทำงกำรเสนอควำม


ต้ องกำรส่งให้ ทภ.และหน่วยต่ำง ๆ ในสนำมในห้ วงเดือน ก.ย.ของทุกปี โดยยึดถือ รปจ.กำรส่งกำลังบำรุง ฯ เกณฑ์กำรสนับสนุนตำมระเบียบ คำสัง่
ของหน่ วยในสนำมตำมแผนงำนประจำปี อนุมตั ิหลักกำรเกี่ยวกับกำรส่งกำลังบำรุงของ ทบ. ที่มีผลใช้ บงั คับในกำรปฏิบตั ิภำรกิจในสนำมโดยอนุโลม และเกณฑ์ที่ ศปก.ทบ.กำหนดโดยมี
รำยละเอียดประเภทของสิ่งอุปกรณ์ตำมขอบเขตของงบส่งกำลังบำรุง
ที่กำหนดไว้ ในแนวทำงกำรเสนอควำมต้ องกำรดังกล่ำว ได้ แก่ ค่ำเครื่องแต่งกำย, ค่ำยำและเวชภัณฑ์, ค่ำแบตเตอรี่ แห้ ง, ค่ำ สป.3, ค่ำยำและเวชภัณฑ์สำหรับสัตว์, ค่ำอำหำรเสริมสำหรับสัตว์และค่ำใช้ จ่ำยอื่น ๆ ซึ่งค่ำใช้ จ่ำยแต่ละรำยกำรได้
กำหนดแนวทำงกำรประมำณกำรไว้ ในแต่ละปี

1. ค่ ำเครื่ องแต่ งกำย คิดเกณฑ์ตำมจำนวนกำลังพลประจำกำรที่ปฏิบตั ิงำน/ปี ตำมอัตรำจ่ำยที่ ทบ.กำหนด โดยให้ หน่วยตำมแผนงำนป้องกันชำยแดน ขออนุมตั ิแผนจัดหำผ่ ำน ฝกบ.ศปก.ทบ. และดำเนินกำรจัดหำเอง ยกเว้ นชุด
นักบิน ให้ พธ.ทบ.ดำเนินกำรจัดหำ

2. ค่ ำยำและเวชภัณฑ์ คิดเกณฑ์ตำมจำนวนกำลังพลประจำกำรที่ปฏิบตั ิงำน ตำมอัตรำเครดิตค่ำยำและเวชภัณฑ์ที่ ทบ.กำหนด โดยให้ พบ.รองจ่ำย แล้ วขออนุมตั ิจดั หำทดแทนภำยหลัง

3. ค่ ำแบตเตอรี่แห้ ง คิดเกณฑ์ตำมควำมสิ ้นเปลืองชนิดและจำนวนเครื่องมือสื่อสำรและเครื่องตรวจค้ นวัตถุระเบิด กล้ องตรวจกำรณ์และกล้ องเล็งแบบต่ำง ๆ ที่หน่วยนำไปปฏิบตั ิงำน โดยให้ กช.และ สส. รองจ่ำยแล้ วขออนุมตั ิจดั หำ
ทดแทนภำยหลัง

4. ค่ ำ สป.3

4.1 สป.3 ยำนยนต์ คิดเกณฑ์ 20 กม./คัน/วัน จำนวน 300 วันปฏิบตั ิกำรตำมเกณฑ์ควำมสิ ้นเปลืองที่ ทบ.กำหนด เครื่องมือช่ำงและเครื่องมือกล คิดเกณฑ์ตำมควำมเหมำะสม สำหรับน ้ำมันอุปกรณ์ตำมส่วนสัมพันธ์ พิจำรณำ
สนับสนุนให้ เฉพำะน ้ำมันหล่อลื่นตำมที่ ผบ.ทบ.ได้ กรุณำอนุมตั ิหลักกำรไว้ แล้ ว

4.2 สป.3 อ. คิดเกณฑ์ตำมจำนวน อำกำศยำน แผนกำรปฏิบตั ิงำนของหน่วยและเกณฑ์ควำมสิ ้นเปลืองตำมจำนวนชัว่ โมงบิน และให้ ศบบ.เสนอควำมต้ องกำรน ้ำมันเชื อ้ เพลิงและน ้ำมันอุปกรณ์อำกำศยำน เพื่อใช้ สนับสนุน
อำกำศยำนของหน่วยบินทำงยุทธวิธี (ชปบ. และบทบ.ยว.) ของ ทภ./กอ.รมน.ภำค และหน่วยในสนำมต่ำง ๆ ที่เข้ ำไปทำกำรซ่อมบำรุงตำมวงรอบที่ ศบบ. รวมทัง้ สป.3 อ. ในกำรเดินทำงเที่ยวกลับหน่วย และที่ศบบ.ใช้ ในกำรส่งกำลังชิ ้นส่วนซ่อม

4.3 กำรดำเนินกำรสนับสนุนตำมแผนงำนป้องกันชำยแดน ให้ พธ.ทบ.รองจ่ำย สป.3 และ สป.3 อ. สนับสนุนหน่วยเป็ นส่วนรวม สำหรับแผนงำนรักษำควำมมัน่ คงภำยในของ กอ.รมน.กำรสนับสนุน สป.3 ยำนยนต์ และน ้ำมัน
อุปกรณ์ ให้ ปฏิบตั ิตำมที่ กอ.รมน.กำหนด

4.4 สป.3 เรือหำงยำว คิดเกณฑ์ตำมจำนวนเรือที่ปฏิบตั ิงำน

5. ค่ ำอำหำรเสริ ม, ค่ ำยำและเวชภัณฑ์ สำหรับสัตว์ คิดเกณฑ์ตำมจำนวนสัตว์ที่ปฏิบตั ิงำน โดยให้ กส.ทบ.สนับสนุนจำกงบประมำณที่ตงไว้


ั ้ ในแผนงำนประจำปี สำหรับ ศปก.ทบ.พิจำรณำสนับสนุนเพิ่ มเติมตำมหลักเกณฑ์ที่ทบ.
กำหนด

60
คูม่ ือ นักส่งกำลังบำรุง ทบ. มืออำชีพ โดย : กจบ.58

6. ค่ ำใช้ จ่ำยอื่น ๆ

6.1 สป.5 ให้ หน่วยนำกระสุนตำมอัตรำมูลฐำนไปใช้ ปฏิบตั ิงำน และเบิกจ่ำยทดแทนตำมสำยงำนปกติ

6.2 กำรซ่ อมแซมยำนพำหนะสำย ขส. กำรเบิกยำงและแบตเตอรี่รถยนต์ ให้ หน่วยเสนอควำมต้ องกำรตำมควำมจำเป็ นที่แท้ จริง โดยยึดถือระเบียบ คำสัง่ และอนุมตั ิหลักกำรที่เกี่ยวข้ อง

6.3 กำรซ่ อมแซม/ปรับปรุ งอำคำร สำนักงำน ที่พัก ฐำนปฏิบัติกำรและสิ่งอำนวยควำมสะดวกต่ ำง ๆ ให้ หน่วยเสนอควำมต้ องกำรตำมควำมจำเป็ นที่แท้ จริง

6.4 สป.ป้ อมสนำม ให้ หน่วยเสนอควำมต้ องกำรตำมควำมจำเป็ นที่แท้ จริง

6.5 สป.ที่จำเป็ นรำยกำรอื่น ๆ ให้ หน่วยและกรมฝ่ ำยยุทธบริกำร เสนอควำมต้ องกำรตำมควำมจำเป็ น และให้ ยดึ ถือตำมหลักเกณฑ์ที่ ศปก.ทบ.กำหนด

ความรั บผิดชอบทางการส่ งกาลังบารุ ง (ใครสนับสนุนให้ ใคร?)

กรณีไม่ มีกำรจัดหน่ วยสนับสนุนโดยตรงในสนำม

จำกข้ อจำกัดด้ ำนงบประมำณทำให้ ทบ.ต้ องจัดกำลังปฏิบตั ิรำชกำรสนำมโดยจัดเฉพำะหน่วยกำลังรบและหน่วยสนับสนุนกำรรบเป็ นหลักก่อน เช่น ร้ อย ร. กกล.ป้องกันชำยแดน, ร้ อย.ป.กกล.ป้องกันชำยแดน เป็ นต้ น โดยไม่มีกำร
จัดในส่วนของหน่วยส่งกำลังบำรุงสนับสนุนโดยตรงในสนำม ตัวอย่ำงกรณีนี ้ได้ แก่ กำรจัดกำลังของกองกำลังสู้ไพรินทร์ กองกำลังพิทกั ษ์ ไทย (ก่อนกรณีเขำพระวิหำร) ถึงแม้ วำ่ อำจมีกำรจัดหน่วยส่งกำลั งบำรุงบำงส่วนแต่มีหน้ ำที่เฉพำะกำร
สนับสนุนภำยในกองบังคับกำรเท่ำนัน้ เช่น ส่วนบริกำร ส่วนธุรกำร ส่วนขนส่ง แต่ไม่มีกำรจัดกำลังจำกส่ วนฐำนกองพล เช่น กอง สพบ.พล., กอง พธ.พล. หรือ พัน.สร.พล.เพื่อจัดตังต
้ ำบลจ่ำยหรือสนับสนุนทำงกำรส่งกำลังบำรุงโดยตรงให้ แก่
หน่วยขึ ้นตรงของกองกำลังป้องกันชำยแดนดังกล่ำว

ในกรณีนี ้กำรส่งกำลังบำรุงจะยึดหลักกำร 2 หลักกำร ดังนี ้

 หลักควำมสัมพันธ์ ทำงกำรบังคับบัญชำ

ควำมสัมพันธ์ทำงกำรควบคุมบังคับบัญชำตำมหลักนิยมของกองทัพบก ได้ จำแนกไว้ ดงั นี ้

1. หน่ วยในอัตรำ (Organic) คือ หน่วยที่ถกู บรรจุมอบให้ เป็ นส่วนสำคัญส่วนหนึ่งของหน่วยหนึ่งอย่ำงถำวร เช่น พัน.ร. เป็ นหน่วยในอัตรำของ กรม.ร.

2. บรรจุมอบ (Assign) คือ กำรมอบหน่วยหรือกำลังพลให้ อยูใ่ นควำมควบคุมของอีกหน่วยหนึ่งทังถำวรและกึ


้ ่งถำวร หน่วยที่รับบรรจุมอบจะควบคุมและดำเนินกำรต่อ หน่วยหรือกำลังพลดังกล่ำวให้ เป็ นไปตำมพันธกิจหลัก

61
คูม่ ือ นักส่งกำลังบำรุง ทบ. มืออำชีพ โดย : กจบ.58

3. ขึน้ สมทบ (Attach) คือ กำรมอบหน่วยหรือกำลังพลให้ กบั หน่วยหนึ่งชัว่ ครำว ผบ.หน่วยรับกำรขึ ้นสมทบจะมีอำนำจควบคุมบังคับบัญชำและรับผิดชอบต่อหน่วยหรือกำลังพลที่มำขึ ้นสมทบเช่นเดียวกับหน่วยหรือกำลังพล
ที่อยูใ่ นอัตรำของตน ยกเว้ น เรื่องอานาจหน้ าทีท่ างธุรการกาลังพลได้ แก่ กำรเลื่อนยศ ปลด ย้ ำย และ สับเปลี่ยนตำแหน่ง

4. กำรสนับสนุน (Support) คือ กำรที่หน่วยใดหน่วยหนึ่งไปสนับสนุนหน่วยอื่นๆ เพื่อให้ ภำรกิจสำเร็จและยังคงอยู่ใต้ บังคับบัญชาของหน่ วยเดิมของตน

5. กำรควบคุมทำงยุทธกำร (Operational Control) คือ กำรมอบหน่วยใดหน่วยหนึ่งให้ อยูใ่ นควำมควบคุมของ ผบ.หรือ ฝอ.ของอีกหน่วยหนึ่งเพื่อให้ มีสิทธิ์สงั่ กำรในกำรปฏิบตั ิภำรกิจต่ำงๆได้ การควบคุมทางยุทธการมิได้
รวมถึงความรั บผิดชอบงานธุรการ การส่ งกาลังบารุ ง การรั กษาวินัย การจัดภายในและการฝึ ก อย่ำงไรก็ตำม กำรควบคุมทำงยุทธกำรยังรวมอำนำจหน้ ำที่ในกำรให้ คำแนะนำในกำรฝึ กร่วมด้ วย

นอกจำกนัน้ เนื่องจำกในกำรปฏิบตั ิกำรรบอำจมีเหล่ำทัพอื่นเข้ ำร่วมในกำรปฏิบตั ิกำรด้ วย ดังนัน้ หลักควำมสัมพันธ์ทำงกำรบังคับบัญชำของหน่วยที่เข้ ำร่วมในกำรปฏิบตั ิกำรต้ องปฏิบตั ิ ตำมหลักพืน้ ฐำนกำรยุทธร่ วมด้ วย
ซึง่ ได้ จำแนกไว้ ดงั นี ้

1. กำรควบคุมทำงยุทธกำร (Operational Control: OPCON) เป็ นกำรมอบหน่วยใดหน่วยหนึ่งให้ อยู่ในควำมควบคุมของอีกหน่วยหนึ่งเพื่อให้ มีอำนำจสัง่ กำรในกำรปฏิบตั ิภำรกิจต่ำงๆได้ หน่ วยควบคุมทางยุทธการไม่ มี
ความรั บผิดชอบและอานาจหน้ าทีใ่ นเรื่ องของการส่ งกาลังบารุ ง ธุรการ วินัย การจัดและการฝึ กต่อหน่วยที่มำขึ ้นกำรควบคุมทำงยุทธกำร

2. กำรควบคุมทำงยุทธวิธี (Tactical Control : TACON) เป็ นอำนำจกำรบังคับบัญชำต่อกำลังที่ได้ รับกำรแบ่งมอบหรื อขึน้ สมทบหรื อต่อขีดควำมสำมำรถทำงทหำร หรื อกองกำลังที่พร้ อมปฏิบตั ิงำนเฉพำะ กิจ ซึ่งอำนำจ
ดังกล่ำวจะมีจำกัดเฉพำะและกำรสัง่ กำรระยะใกล้ (Local Direction) กำรควบคุมกำรดำเนินกลยุทธ กำรเคลื่อนย้ ำย กำรดำเนินกำรยุทธที่จำเป็ นเพื่อปฏิบตั ิภำรกิจให้ สำเร็จ กำรควบคุมทำงยุทธวิธีสำมำรถใช้ โดยผู้บงั คับบัญชำทุกระดับ ตังแต่
้ ผ้ ู
บัญชำกำรรบลงไป การควบคุมทางยุทธวิธี ไม่ รวมถึงอานาจในการจัดทางธุรการ และการสนับสนุนการส่ งกาลังบารุ ง ซึง่ ผู้บงั คับบัญชำหน่วยต้ นสังกัดยังคงรับผิดชอบในเรื่องดังกล่ำวอยู่ นอกจำกจะมีคำสัง่ เป็ นอย่ำงอื่น

3. กำรสนับสนุนซึ่งกันและกัน (Mutual Support) เป็ นกำรปฏิบตั ิระหว่ำงหน่วย ควำมสัมพันธ์ทำงกำรสนับสนุนสำมำรถกำหนดขึ ้นโดยผู้บงั คับบัญชำของหน่วยเหนือ ระหว่ำงผู้บงั คับบัญชำหน่วยรองสองหน่วย เมื่อหน่วยใด
หน่วยหนึ่งถูกกำหนดให้ ชว่ ยเหลือ ป้องกัน ทำให้ สำเร็จภำรกิจโดยสมบูรณ์ หรือดำรงควำมต่อเนื่องให้ กบั อีกหน่วยหนึ่ง

4. กำรขึน้ สมทบ (Attach) เป็ นกำรมอบหน่วยหรื อกำลังพลให้ กับหน่วยหนึ่งเป็ นกำรชัว่ ครำว ผู้บังคับบัญชำของหน่วยรับกำรขึน้ สมทบจะควบคุมบังคับบัญชำหน่วยที่มำขึ ้นสมทบเช่นเดียวกับหน่วยในอัตรำของตน โดย
รับผิดชอบในด้ ำนกำรส่งกำลังบำรุง ธุรกำร กำรฝึ ก กำรยุทธ เว้ น การเลือ่ น ลด ปลด ย้ าย

5. กำรบังคับบัญชำทำงยุทธกำร (Operational Command) คือกำรมอบอำนำจให้ แก่ผ้ บู งั คับบัญชำ เพื่อมอบภำรกิจหรือกิจเฉพำะแก่ผ้ บู งั คับหน่วยรองในกำรใช้ กำลังรบหรือเพื่อมอบอำนำจกำรควบคุมทำงยุทธกำร แต่ ไม่
รวมถึงความรั บผิดชอบเรื่ องธุรการและการส่ งกาลังบารุ ง

6. กำรบรรจุมอบ (Assign) เป็ นกำรมอบหน่วยหรือกำลังพลให้ ไปอยูใ่ นควำมควบคุมของอีกหน่วยหนึ่ง ซึง่ กำรมอบดังกล่ำวจะเป็ นกำรถำวรหรือกึ่งถำวรก็ได้ หน่วยที่รับมอบจะควบคุมและดำเนินกำรต่อหน่วยหรือกำลังพล
ที่มำบรรจุมอบให้ เป็ นไปตำมพันธกิจหลัก

62
คูม่ ือ นักส่งกำลังบำรุง ทบ. มืออำชีพ โดย : กจบ.58
 หลักสำยกำรส่ งกำลัง

หลักกำรแรก : ปฏิบตั ิตำมที่ระบุไว้ ในผนวกกำรส่งกำลังบำรุงหรือผนวกกำรช่วยรบประกอบแผน/คำสัง่ ยุทธกำรที่มีผลบังคับใช้

หำกในหลักกำรแรกไม่ระบุไว้ หรือมีรำยละเอียดไม่เพียงพอให้ ปฏิบตั ิตำมหลักกำรต่อไปนี ้

หลักกำรที่สอง : ปฏิบตั ิตำมระเบียบปฏิบตั ิประจำว่ำด้ วยกำรส่งกำลังบำรุงหน่วยปฏิบตั ิรำชกำรสนำมของกองทัพบก พ.ศ.2531

หลักกำรที่สำม : ปฏิบตั ิตำมคำสัง่ กองทัพบก ที่ 487/2543 เรื่อง กำหนดภำรกิจ นโยบำย แนวควำมคิด และควำมรับผิดชอบในกำรส่งกำลังบำรุงของกองทัพบก

“ 4.2.2 กองทัพภาค รั บผิดชอบในการสนั บสนุ นทางการส่ งกาลังบารุ งให้ แก่ หน่ วยในอั ตราและหน่ วยอื่นๆ ที่กองทัพบกมอบหมายให้ มีที่ตั้ง หรื อเข้ าปฏิบัติการอยู่ในพื้นที่ของกองทัพภาค หรื อพื้นที่ที่
กองทัพบกกาหนด โดยมีกองบัญชำกำรช่วยรบ มณฑลทหำรบกและ จังหวัดทหำรบกเป็ นหน่วยปฏิบตั ิกำรสนับสนุน

4.2.2.1 กองบัญชำกำรช่วยรบ สนับสนุนทำงกำรส่งกำลังบำรุงแก่หน่วยต่ำง ๆ ในอัตรำกองทัพภำค และหน่วยของกองทัพบก ตำมผนวก ข

4.2.2.2 มณฑลทหำรบก สนับสนุนทำงกำรส่งกำลังบำรุงให้ แก่หน่วยทหำรในพื ้นที่รับผิดชอบ ดังนี ้

- สนับสนุนโดยตรงและสนับสนุนทัว่ ไปสิ่งอุปกรณ์ประเภท 1 เว้ นกรณีที่กองทัพบกได้ กำหนดระเบียบหรืออนุมตั ิหลักกำรเป็ นอย่ำงอื่นไว้ โดยเฉพำะให้ ถือปฏิบตั ิตำมระเบียบหรืออนุมตั ิหลักกำรที่เกี่ยวข้ องกับเรื่องนัน้

- สนับสนุนโดยตรงและสนับสนุนทัว่ ไปสิ่งอุปกรณ์ประเภท 2 และ 4 สำยยุทธโยธำ, สำยแพทย์ (ยำและเวชภัณฑ์สิ ้นเปลือง) และสำยพลำธิกำร (เครื่องแต่งกำย เครื่องนอน เครื่องใช้ ประจำกำยและประจำหน่วย)

- สนับสนุนโดยตรงสิ่งอุปกรณ์ประเภท 3

- สนับสนุนโดยตรงสิ่งอุปกรณ์ประเภท 5 ฝึ ก-ศึกษำและสะสมสิ่งอุปกรณ์ประเภท 5 สำรองสงครำม ตำมระดับสะสมที่กองทัพภำคมอบหมำยให้

- สนับสนุนกำรซ่อมบำรุงสนับสนุนโดยตรงสิ่งอุปกรณ์สำยยุทธโยธำ

- กำรเคลื่อนย้ ำย และกำรขนส่ง กำลังพล สิ่งอุปกรณ์และสัตว์

- กำรรักษำพยำบำล และกำรส่งกลับ

- เป็ นตำบลส่งกำลังของกองบัญชำกำรช่วยรบ ตำมที่กองทัพภำค หรือกองทัพบกกำหนด เพื่อทำหน้ ำที่เกี่ยวกับกำรเก็บรักษำ กำรแจกจ่ำยและกำรจำหน่ำยสิ่งอุปกรณ์

- กำรดำเนินกำรเกี่ยวกับ อสังหำริมทรัพย์ กำรก่อสร้ ำง ซ่อมแซม ปรับปรุง อำคำร สิ่งปลูกสร้ ำงและสำธำรณูปโภค กำรติดตังและซ่


้ อมสิ่งอำนวยควำมสะดวก ตำมนโยบำยกำรแบ่งมอบงำนที่กองทัพบกกำหนด

63
คูม่ ือ นักส่งกำลังบำรุง ทบ. มืออำชีพ โดย : กจบ.58
4.2.2.3 กำรมอบควำมรับผิดชอบในกำรส่งกำลังบำรุงให้ แก่หน่วยงำนทำงกำรส่งกำลังบำรุงของหน่วยในบังคับบัญชำของกองทัพภำคให้ อยูใ่ นอำนำจของแม่ทั พภำคที่จะสัง่ กำร โดยไม่ขดั แย้ งกับหลักกำรส่งกำลังบำรุงที่
กองทัพบกกำหนด และจะต้ องแจ้ งให้ กรมฝ่ ำยยุทธบริกำรและหน่วยที่เกี่ยวข้ องทรำบด้ วย

4.2.3 หน่ วยทหารซึ่งมีหน่ วยส่ งกาลังบารุ งในอัตรา หรือได้ รับหน่ วยสนับสนุนทางการส่ งกาลังบารุ งมาสมทบ ดาเนินการสนับสนุนทางการส่ งกาลังบารุ ง ให้ แก่ หน่ วยรองของตนและหน่ วยอื่นๆ ตามทีไ่ ด้ รับมอบ

4.2.5 หน่ วยขึ้นตรงและหน่ วยของกองทัพบก (หน่ วยนอกกองทัพภาค)และหน่ วยต่ างกองทัพภาค หากหน่ วยจัดกาลังเข้ าปฏิบัติการในสนามในพื้นที่ กองทัพภาคใด ให้ ขอรั บการสนับสนุนจากกองบัญชาการช่ วย
รบในอัตราของกองทัพภาคนั้น เว้ นแต่ จะมีการสั่งการเป็ นอย่ างอื่น

4.2.6 มณฑลทหำรบกที่ 11, มณฑลทหำรบกที่ 14, มณฑลทหำรบกที่ 21,มณฑลทหำรบกที่ 39, มณฑลทหำรบกที่ 43 (จังหวัดทหำรบกทุ่งสงเดิม) ไม่ต้องดำเนินกำรสนับสนุนทำงกำรส่งกำลังบำรุงให้ แก่หน่วยทหำรใน
พื ้นที่รับผิดชอบในเรื่องที่กรมฝ่ ำยยุทธบริกำร หรือกองบัญชำกำรช่วยรบให้ กำรสนับสนุนโดยตรงแก่หน่วยนัน้ ๆ อยูแ่ ล้ ว ”

จำกหลักกำรดังกล่ำวสำมำรถสรุปได้ ตำมตำรำงดังนี ้

หน่ วยใช้ (ในสนำม) หน่ วยสนับสนุนโดยตรง หน่ วยสนับสนุนทั่วไป หน่ วยสนับสนุนระดับคลัง

หน่ วยในกองพล - บชร./มทบ. กรมฝ่ ำยยุทธบริกำร

(ต่ำกว่ ำกองพัน) (ผ่ำน กกล.ฯ)

หน่ วยในกองพล - บชร./มทบ. กรมฝ่ ำยยุทธบริกำร

(ระดับกองพันขึน้ ไป)

หน่ วยนอกกองพล - บชร. กรมฝ่ ำยยุทธบริกำร

(ขึน้ สมทบ กกล.)

หน่ วยนอกกองพล บชร./มทบ. บชร./มทบ. กรมฝ่ ำยยุทธบริกำร

(ขึน้ ควบคุมทำง ยก.กกล.)

หน่ วยนอก ทภ. บชร. บชร. กรมฝ่ ำยยุทธบริกำร

(ขึน้ สมทบ ทภ.)

หน่ วยนอก ทบ. เหล่ำทัพ เหล่ำทัพ เหล่ำทัพ

64
คูม่ ือ นักส่งกำลังบำรุง ทบ. มืออำชีพ โดย : กจบ.58

กรณีท่มี ีกำรจัดหน่ วยสนับสนุนโดยตรงในสนำม หน่ วยใช้ หน่ วยสนับสนุน หน่ วยสนับสนุน หน่ วยสนับสนุน

(ในสนำม) โดยตรง ทั่วไป ระดับคลัง


หน่วยสนับสนุนโดยตรงในสนำม สำมำรถจัดได้ ในหลำยลักษณะ โดยทัว่ ไปแบ่งได้ เป็ น 2 ลักษณะดังนี ้
หน่ วยในกองพล หน่ วยสนับสนุน บชร./มทบ. กรมฝ่ ำยยุทธบริกำร
1. จัดในลักษณะเฉพำะกิจ โดยจัดส่วนต่ำงๆของหน่วยฐำนกองพลหรื อหน่วยสนับสนุนในระดับสูงกว่ำ
เช่น มว.ส่งกำลัง สป.3 กอง พธ.พล., มว.ซบร.กอง สพบ.พล., มว.ขส.ร้ อย.บก.พล., ชุดทำลำยล้ ำงวัตถุระเบิด พัน.สพ. (ต่ำกว่ ำกองพัน) โดยตรง กกล.
กระสุน บชร. มำประกอบกำลังเป็ นหน่วยสนับสนุนโดยตรงของกองกำลังป้องกันชำยแดน ตัวอย่ำงเช่น กำรจัดหน่วย
(ผ่ ำน กกล.)
บริกำรและสนับสนุน กกล.พิทกั ษ์ ไทย
หน่ วยในกองพล หน่ วยสนับสนุน บชร./มทบ. กรมฝ่ ำยยุทธบริกำร
2. จัด ในลักษณะหน่ วยสนั บ สนุ นโดยตรงตำมสำยยุ ทธบริ กำร โดยหน่ วยฐำนกองพลจัด กำลังเป็ น
หน่วยสนับสนุนโดยตรงของกองกำลังป้องกันชำยแดนคล้ ำยกับกำรจัดหน่วยสนับสนุนโดยตรงในพื ้นที่สนับสนุนของ (ระดับกองพันขึน้ ไป) โดยตรง กกล.
กองพลในยำมสงครำม เช่น กอง พธ.กกล., กอง สพบ.กกล. เป็ นต้ น หน่ วยนอกกองพล หน่ วยสนับสนุน บชร./มทบ. กรมฝ่ ำยยุทธบริกำร

ในกรณีนี ้กำรส่งกำลังบำรุงจะยึดหลักกำร 2 หลักกำร ดังนี ้ (ขึน้ สมทบ กกล.) โดยตรง กกล.

 หลักควำมสัมพันธ์ ทำงกำรบังคับบัญชำ หน่ วยนอกกองพล บชร./มทบ. บชร./มทบ. กรมฝ่ ำยยุทธบริกำร

เนื ้อหำสำระคงเช่นเดียวกับที่กล่ำวมำข้ ำงต้ น (ขึ ้น ค วบ คุ ม ท ำง ย ก .


กกล.)
 หลักสำยกำรส่ งกำลัง
หน่ วยนอก ทภ. บชร. บชร. กรมฝ่ ำยยุทธบริกำร
ปฏิบัติ ต ำมค ำสั่งกองทัพบก ที่ 487/2543 เรื่ อง กำหนดภำรกิ จ นโยบำย แนวควำมคิ ด และควำม
รับผิดชอบในกำรส่งกำลังบำรุงของกองทัพบก โดยมีเนื ้อหำสำระเช่นเดียวกับที่กล่ำวมำข้ ำงต้ น (ขึน้ สมทบ ทภ.)

หน่ วยนอก ทบ. เหล่ ำทัพ เหล่ ำทัพ เหล่ ำทัพ

65
คูม่ ือ นักส่งกำลังบำรุง ทบ. มืออำชีพ โดย : กจบ.58

กรณีท่มี ีกำรจัดหน่ วยส่ วนแยกกองบัญชำกำรช่ วยรบในสนำม

กำรจัดส่วนแยกกองบัญชำกำรช่วยรบ จะใช้ ในกรณีที่มีหน่วยรับกำรสนับสนุนในสนำมเป็ นจำนวนมำก ถึงแม้ วำ่ หน่วยรับกำรสนับสนุนอำจจะไม่ได้ จัดกำลังในรูปแบบของกองพลดำเนินกลยุทธ์ก็ตำม รวมทังมี


้ เหตุผล
ควำมจำเป็ นในเรื่องกำรจัดเฉพำะกิจ ระยะทำงตำมเส้ นหลักกำรส่งกำลัง กำรสะสมสิ่งอุปกรณ์ และควำมจำเป็ นทำงด้ ำนยุทธกำร กองทัพภำคอำจสัง่ ให้ บชร.จัดตังส่
้ วนแยกเพื่อให้ กำรสนับสนุนหน่วยอย่ำงใกล้ ชิดในห้ วง
ระยะเวลำที่กำหนดก็ได้ ตัวอย่ำงเช่น กำรจัดส่วนแยก บชร.2 สนับสนุน ทภ.2 สน.ในภำรกิจกำรปรำบปรำม ผกค. กำรจัดส่วนแยก บชร.2 สนับสนุน ศปก.ทภ.2 ในภำรกิจป้องกันชำยแดนกรณีพิพำทเขำพระวิหำร เป็ นต้ น

เมื่อมีกำรจัดส่วนแยก กองบัญชำกำรช่วยรบจะจัดหน่วยส่งกำลังบำรุงสนับสนุนโดยจัดจำกกองพันที่เป็ นหน่วยขึน้ ตรงของกองบัญชำกำรช่วยรบ กลุม่ ของหน่วยส่ งกำลังบำรุงเหล่ำนี ้เรียกว่ำ “ส่วนแยกกองบัญชำกำรช่วย


รบ” โดยมี “กองบังคับกำรส่วนแยก(บก.สย.บชร.)” ซึง่ อยูใ่ นกองบังคับกำรของกองบัญชำกำรแยกไปควบคุมบังคับบัญชำ

กำรจัดส่วนแยก บชร. ไม่มีอตั รำกำรจัดที่แน่นอนขึน้ อยู่กับพันธกิจที่ได้ รับมอบจำก ทภ. แนวควำมคิดในกำรจัด สย.บชร.นัน้ จะต้ องจัดให้ สมบูรณ์ เพียงพอที่จะปฏิบตั ิงำนส่งกำลังบำรุงได้ ซึ่งมีแนวควำมคิดในกำรจัด 2
ลักษณะ ได้ แก่

1. กำรจัด สย.บชร. ในลักษณะเฉพำะกิจ

ในกรณี ที่หน่ว ยกำลังรบเข้ ำ ปฏิบัติ กำรในพืน้ ที่ ข อง มทบ. อำจกำหนดให้ มทบ. เป็ น ต ำบลส่งกำลัง สป.ได้ บ ำงประเภท แต่เนื่ องจำกขี ด จำกัด ของ มทบ. เอง จึง อำจจำเป็ น ต้ องจัด หน่ ว ยส่งกำลังบ ำรุ งจำก
กองบัญชำกำรช่วยรบซึง่ หน่วยส่งกำลังบำรุงที่วำ่ นี ้อำจจะอยูภ่ ำยใต้ กำรบังคับบัญชำของกองบัญชำกำรช่วยรบหรือสมทบให้ กบั มทบ. ก็ได้ ซงึ่ จะต้ องใช้ สิ่งอำนวยควำมสะดวกจำก มทบ. ในพื ้นที่

กำรจัด สย.บชร.ในลักษณะเฉพำะกิจต้ องพิจำรณำให้ สำมำรถสนับสนุนให้ ภำรกิจสำเร็จ เช่น บำง สย.บชร. มีเพียงกำรส่งกำลังเท่ำนัน้ ไม่มีหน่วย ซบร.หรือหน่วยบริกำร, บำง สย.บชร. มีเพียงหน่วยส่งกำลัง สป.1 หรือ
ส่งกำลัง สป.3 เท่ำนัน้ เป็ นต้ น ซึง่ ขีดควำมสำมำรถของ สย.บชร. นัน้ จะสำมำรถให้ กำรสนับสนุนหน่วยระดับกองพล ได้ 1 หน่วยต่อ 1 ส่วนแยก นอกจำกนี ้กองทัพภำคอำจกำหนดให้ มทบ. แปรสภำพเป็ นตำบลส่งกำลัง
ของ ทภ. ซึง่ บชร. สำมำรถจะใช้ ประโยชน์ตอ่ ตำบลส่งกำลังดังกล่ำว เพื่อสนับสนุนหน่วยต่ำงๆของกองทัพภำคได้

2. กำรจัด สย.บชร.ในลักษณะสมบูรณ์ แบบ

กำรประกอบกำลังของ สย.บชร.ในลักษณะนี ้ สำมำรถให้ กำรสนับสนุนกำรส่งกำลังบำรุงแก่หน่วยรับกำรสนับสนุนได้ ทกุ ประเภทของ สป.และทุกสำยยุทธบริกำร ซึง่ รูปแบบกำรจัดตำมปกติจะมีลกั ษณะตำมภำพ

66
คูม่ ือ นักส่งกำลังบำรุง ทบ. มืออำชีพ โดย : กจบ.58

กำรส่ งกำลังบำรุ งในกรณีท่ มี ีกำรจัดส่ วนแยก บชร.นัน้ ไม่ แตกต่ ำง


จำกกรณีท่ไี ม่ มีส่วนแยก บชร.แต่ อย่ ำงใดเนื่องจำก สย.บชร.ก็คือ บชร.นัน้ เอง
ดั ง นั ้น อ ำนำจในกำรอนุ มั ติ ต ำมวงรอบกำรส่ งก ำลั ง ของ ผบ.สย.บชร.จึ ง
เทีย บเท่ ำกั บ อ ำนำจของ ผบ.บชร. (ยกเว้ น อ ำนำจในกำรอนุ มั ติ จ ำหน่ ำย)
กำรมีส่วนแยกก็เปรี ยบเสมือนกำรตัง้ สำขำของ บชร.ในท้ องถิ่นเพื่อให้ บริ กำร
ลูกค้ ำอย่ ำงใกล้ ชิดนั่นเอง

แต่เพื่อให้ เกิดควำมเข้ ำใจและเห็นภำพมำกยิ่งขึ ้นจึงขออธิบำยเป็ นรูปภำพ


โดยขอใช้ ตวั อย่ำงจำกหน่วยใน ทภ.2 ดังนี ้

สายส่ งกาลังบารุ ง สายการส่ งกาลัง สป.1( เสบียง ข. , ค. )


่ ห ่ วย ว อนุมัติ
ย นขต. /
ย. .2 ยธ หน่ วยขึน้ ศปก.ทภ.2 ศปก.ทบ.
่วไ กกล.ฯ
ล. ย สมทบ
ตาบลจ่ าย แผนแจกจ่ าย สั่ งการ
.2 ่ กกล.ฯ เบิก/รั บ
่ . สป.1 กกล.ฯ
ล. ย
. หน่ วยขึน้ ควบคุมฯ เบิก/รั บ สย.บชร.2 บชร.2 เบิก/รั บ
พธ.ทบ.
่ .ล กกล.ฯ มทบ. ,
มทบ.
ห ่ วย จทบ.
จ . ย
ล. หน่ วยขึน้ สมทบ
ย ศปก.ทภ.2 สน
เบิก/รับ
**** เมื่ื ่ อ มทบ.
**** . ล เป็จ น. ตส.ทภ.๒
็ . .2 บิ / ับ

67
คูม่ ือ นักส่งกำลังบำรุง ทบ. มืออำชีพ โดย : กจบ.58
จำกหลักกำรดังกล่ำวสำมำรถสรุปได้ ตำมตำรำงดังนี ้

สายการส่ งกาลัง สป.2-4 สายการส่ งกาลัง สป.3


 ับ สนับสนุน ส .พิ ศษ ,ส . บ ุ ,ส .น ั แล ส . ี่ ี  ับ สนับสนุน ส .3 ฏิบ ั ิ แล ธุ
โนโลยีสู
อนุมัติ อนุมัติ
นขต. / นขต. /
หน่ วยขึน้ ศปก.ทภ.2 ศปก.ทบ. หน่ วยขึน้ ศปก.ทภ.2 ศปก.ทบ.
กกล.ฯ กกล.ฯ
สมทบ สมทบ สนับสนุน
ตาบลจ่ าย แผนแจกจ่ าย ตาบลจ่ าย
กกล.ฯ เบิก/รั บ สั่ งการ กกล.ฯ งบประมาณ
กกล.ฯ กกล.ฯ
ทดแทน
ระดับ
หน่ วยขึน้ ควบคุมฯ เบิก/รั บ
สย.บชร.2 กรมฝ่ ายฯ หน่ วยขึน้ ควบคุมฯ สย.บชร.2 พธ.ทบ.
บชร.2 เบิก/รั บ ทดแทน
บชร.2
ระดับ
กกล.ฯ มทบ. ,
มทบ. กกล.ฯ ทดแทน
จทบ. มทบ.
มทบ. ระดับ

หน่ วยขึน้ สมทบ หน่ วยขึน้ สมทบ จทบ.


สน ย น ใช
ศปก.ทภ.2 ศปก.ทภ.2
เบิก/รับ บิ ดแ น
บิ / ับ จ่ ย ส .3

การส่ งกาลัง สป.5 ย ย์


 การเบิกรับ สป.5 ทดแทนอัตรากระสุ นมูลฐานของหน่ วยทีใ่ ช้ ไป
ศปก.ทภ.2 ศปก.ทบ.
เบิก/รับ
นขต. / OOOO
หน่ วยขึน้ กกล.ฯ รายงาน ศปก.ทภ.2 ศปก.ทบ. นขต. /
สมทบ หน่ วยขึน้ สย.บชร.2
ทก.กกล.ฯ
กกล.ฯ สมทบ รพ.ค่ ายสุ รนารี รพ.พระมงกุฎฯ
สพ.ทบ.
สย.บชร.2 กกล.ฯ
XX XXXX XXXX
บชร.2 แผนก 5
มทบ.
มทบ. กองคลังแสง รพ.มทบ./จทบ.
รพ.มทบ.
หน่ วยขึน้ สมทบ จทบ. เบิกทดแทน เบิกทดแทน
ระดับ
ระดับ
สพ.ทบ.
ศปก.ทภ.2 หน่ วยขึน้ สมทบ
ย น ใช ส .5 ศปก.ทภ.2 ส่ งกลับทางรถพยาบาล
บิ ดแ น ส่ งกลับทางอากาศยาน
ับ ส .5 รายงานผู้ป่วยเจ็บ

68
คูม่ ือ นักส่งกำลังบำรุง ทบ. มืออำชีพ โดย : กจบ.58

กำรส่ งกำลังบำรุงในพืน้ ที่ 3 จชต.

69
คูม่ ือ นักส่งกำลังบำรุง ทบ. มืออำชีพ โดย : กจบ.58

มทบ.๔๖ (จทบ.ป.น. เดิม)

70
คูม่ ือ นักส่งกำลังบำรุง ทบ. มืออำชีพ โดย : กจบ.58

มทบ.๔๖ (จทบ.ป.น. เดิม)

71
คูม่ ือ นักส่งกำลังบำรุง ทบ. มืออำชีพ โดย : กจบ.58

มทบ.๔๖ (จทบ.ป.น. เดิม)

72
คูม่ ือ นักส่งกำลังบำรุง ทบ. มืออำชีพ โดย : กจบ.58

มทบ.๔๖ (จทบ.ป.น. เดิม)

73
คูม่ ือ นักส่งกำลังบำรุง ทบ. มืออำชีพ โดย : กจบ.58

มทบ.๔๖ (จทบ.ป.น. เดิม)

74
คูม่ ือ นักส่งกำลังบำรุง ทบ. มืออำชีพ โดย : กจบ.58

มทบ.๔๖ (จทบ.ป.น. เดิม)

75
คูม่ ือ นักส่งกำลังบำรุง ทบ. มืออำชีพ โดย : กจบ.58

มทบ.๔๖ (จทบ.ป.น. เดิม)

76
คูม่ ือ นักส่งกำลังบำรุง ทบ. มืออำชีพ โดย : กจบ.58

กำรจัดดินแดนในยำมสงครำม 11 การส่ งกาลังบารุ งในยามสงคราม


เมื่อประเทศอยูใ่ นภำวะสงครำม ตำมมำตรำ 34 พระรำชบัญญัติจดั ระเบียบรำชกำรกระทรวงกลำโหม พ .ศ.2551 ให้ รัฐมนตรี วำ่ กำรกระทรวงกลำโหมโดยควำมเห็นชอบของสภำกลำโหม มีอำนำจ
กำหนดพื ้นที่ที่จำเป็ นต่อกำรปฏิบตั ิกำรทำงทหำรเป็ นยุทธบริ เวณและกำหนดพื ้นที่สว่ นที่เหลือเป็ นเขตภำยใน

การจัดดิ นแดนในยามสงคราม

77
คูม่ ือ นักส่งกำลังบำรุง ทบ. มืออำชีพ โดย : กจบ.58
กำรจัดแบ่งดินแดนของประเทศเป็ นไปตำมแผนป้องกันประเทศที่มีอยูใ่ นปั จจุบนั โดยใช้ ข้อพิจำรณำและแนวควำมคิดในกำรปฏิบตั ิให้ สอดคล้ องกับแผนยุทธกำรของหน่วยเหนือตำมควำมเหมำะสมในกำรสนับสนุนทำงกำรส่งกำลัง
บำรุง ให้ แก่หน่วยทหำรมำกที่สดุ

เขตสงคราม

คือพื ้นที่ทำงบก ทำงทะเล และทำงอำกำศ ซึ่งอำจเกี่ยวข้ องหรื อเกี่ยวข้ องโดยตรงในกำรปฏิบัติกำรสงครำม เขตสงครำมอำจแบ่งย่อยลงไปอีกตำม ลักษณะของกำรยุทธที่วำงแผนไว้ หรื อตำมสภำพที่เป็ นอยู่ในขณะนัน้ เขต
สงครำมแบ่งออกเป็ น 2 ส่วนใหญ่ ๆ คือ เขตยุทธบริเวณ และ เขตภำยใน

เขตยุทธบริเวณ

ยุทธบริเวณ ประกอบด้ วยดินแดนส่วนหนึ่งของเขตสงครำม อันจำเป็ นแก่กำรปฏิบตั ิทำงทหำรตำมภำรกิจที่ได้ รับมอบซึง่ อำจจะเป็ นกำรรุก หรื อกำรตังรั้ บก็ได้ และจำเป็ นแก่กำรสนับสนุนทำงกำรช่วยรบต่อกำรปฏิบตั ิกำรทำง
ทหำรดังกล่ำว

เมื่อประเทศอยูใ่ นภำวะสงครำม รัฐมนตรี วำ่ กำรกระทรวงกลำโหม จะกำหนดพื ้นที่เป็ นยุทธบริเวณขึน้ และจะแต่งตังผู


้ ้ บญ
ั ชำกำรยุทธบริเวณ เพื่อรับผิดชอบในกำรปฏิบตั ิกำรยุทธและกำรช่วยรบของหน่วยกำลังรบทุกเหล่ำทัพ
ทัว่ ยุทธบริเวณ

โดยธรรมดำแล้ ว ยุทธบริเวณหนึ่งย่อมแบ่งออกเป็ นเขตหน้ ำ และเขตหลัง ส่วนที่เหลือของประเทศเป็ นเขตภำยใน สำหรับประเทศไทยพื ้นที่ขนำดเล็ก อำจกำหนดให้ พื ้นที่ทงประเทศเป็
ั้ นยุทธบริเวณก็ได้ เพรำะฉะนันเขต

หลังและเขตภำยในอำจจะทับกัน

เขตหน้ า

คือพื ้นที่นบั ตังแต่


้ แนวหน้ ำสุดที่กำลังทหำรของฝ่ ำยเรำ กำลังเผชิญหน้ ำ หรือกำลังทำกำรสู้รบข้ ำศึกในเขตพื ้นที่ของกองทัพภำคที่จำเป็ นสำหรับหน่วยรบใช้ ในกำรดำเนินกลยุทธ และหน่วยสนับสนุนทำงกำรส่งกำลังบำรุง
ดำเนินกำรสนับสนุนทำงกำรช่วยรบอย่ำงรวดเร็ว และฉับพลันให้ กบั กำลังพลในพื ้นที่ เขตหน้ ำจะครอบคลุมทังบนแผ่
้ นดิน น่ำนน ้ำและห้ วงอำกำศ

โดยปกติแล้ ว เขตหน้ ำ เป็ นพื ้นที่ของกองทัพภำค ประกอบด้ วยพื ้นที่ของกองพลและพืน้ ที่ส่วนหลังของกองทัพภำคที่มีหน่วยต่ำงๆของ กองทัพภำคป ฏิบัติงำนอยู่ ควำมลึกของเขตหน้ ำขึ ้นอยู่กับกำลังรบที่เกี่ยวข้ อง
ลักษณะของกำรปฏิบตั ิกำรที่ได้ วำงแผนไว้ ลักษณะเส้ นทำงคมนำคม ภูมิประเทศ และขีดควำมสำมำรถของข้ ำศึก

เส้ นเขตหลังของกองทัพภำค และของกองพลจะกำหนดขึ ้นให้ ไกลออกไปข้ ำงหน้ ำให้ มำกที่สดุ เท่ำที่จะทำได้ เพื่อลดควำมรับผิดชอบในเรื่องดินแดนของผู้บงั คับหน่วยให้ เหลือน้ อยที่สดุ

ข้ อสังเกตในการกาหนดเขตหน้ า

- เขตหน้ ำอำจจะเป็ นส่วนหนึ่งของกองทัพภำค หรือทังกองทั


้ พภำค หรือมำกกว่ำหนึ่งกองทัพภำคก็ได้

- เขตรับผิดชอบของกองทัพภำคและ มทบ./จทบ. ตำมพระรำชกฤษฎีกำฯ. ไม่เปลี่ยนแปลงไม่วำ่ ในเวลำปกติหรือในเวลำสงครำม


78
คูม่ ือ นักส่งกำลังบำรุง ทบ. มืออำชีพ โดย : กจบ.58

- เขตควำมรับผิดชอบของกองพลอำจเปลี่ยนแปลงได้ ตำมสถำนกำรณ์ โดยกองทัพภำคกำหนดเส้ นเขตหลังให้ แก่กองพลตำมข้ อพิจำรณำทำงยุทธวิธี และควำมรับผิดชอบทำงดินแดนของ มทบ./จทบ. และส่วนรำชกำรในพื ้นที่ เพื่อ
ควำมสอดคล้ องในกำรปฏิบตั ิงำนของหน่วยต่ำง ๆ ที่จะมำรับผิดชอบในพื ้นที่สว่ นหลัง

เขตหลัง

เขตหลังเป็ นส่วนหนึ่งของยุทธบริเวณ ประกอบด้ วยพื ้นดิน พื ้นน ้ำ และท้ องฟ้ำที่จำเป็ นต่องำนช่วยรบของยุทธบริเวณนันเป็


้ นส่วนรวม

เขตหลังนับจำกแนวเส้ นหลังของเขตหน้ ำไปจนถึงแนวเส้ นหลังของยุทธบริ เวณ เขตหลังที่มีพื ้นที่ขนำดใหญ่และจะมีระยะห่ำงจำกพื ้นที่ของกองทั พภำคมำกจนกำรสนับสนุนทำได้ ยำก จึงอำจจะแบ่งเขตหลังออกเป็ นส่วนหน้ ำและ
ส่วนฐำนก็ได้ ถ้ำมีควำมจำเป็ นทำงภูมิศำสตร์

หน่วยที่รับผิดชอบในกำรสนับสนุนกำรส่งกำลังบำรุงในเขตหลังให้ แก่กองทัพบกในสนำม คือ กองบัญชำกำรส่งกำลังบำรุงของกองทัพบก (บช.กบ.ทบ.)

เขตภายใน

คือดินแดนที่ไม่อยูใ่ นเขตยุทธบริเวณ แต่โดยที่ประเทศไทยเป็ นประเทศเล็กจึงอำจกำหนดให้ ดินแดนทังประเทศเป็


้ นเขตยุทธบริเวณ คือ มีเฉพำะเขตหน้ ำกับเขตหลัง หรือเขตหลังกับเขตภำยในจะทับกันหรือเป็ นพื ้นที่อนั เดียวกัน

เขตภำยในเป็ นแหล่งสำหรับแสวงหำทรัพยำกรทำงบุคคลและวัตถุให้ กบั เขตยุทธบริเวณ ตำมจำนวนที่ต้องกำร ตำมเวลำที่กำหนด ณ สถำนที่ ๆ ปลอดภัย และอยูใ่ นสภำพที่จะนำไปใช้ กำรได้ ทนั ที

ข้ อพิจำรณำต่ ำง ๆ ที่มีผลต่ อกำรกำหนดเส้ นเขตหน้ ำของเขตหลัง

ก) เส้ นเขตด้ ำนหลังของเขตหลัง จะต้ องห่ำงออกไปข้ ำงหลังพอเพียงที่จะให้ มีพื ้นที่อนั เหมำะสมสำหรับดำเนินกำรจัดตังหน่


้ วยสนับสนุนทำงกำรช่วยรบต่ำง ๆ เพื่อให้ กำรสนั บสนุนแก่หน่วยทหำรในเขตหน้ ำและหน่วยทหำรในเขตหลัง

ข) เส้ นเขตด้ ำนหน้ ำของเขตหลัง จะต้ องเลื่อนไปข้ ำงหน้ ำโดยเร็วที่สดุ เท่ำที่จะเร็วได้ เพื่อปลดเปลื ้องควำมรับผิดชอบในพื ้นที่สว่ นหลังของหน่วยรบในเขตหน้ ำให้ เหลือน้ อยที่สดุ เท่ำที่จำเป็ นสำหรับใช้ ในกำรดำเนินกลยุทธ

ค) เส้ นเขตหลัง(รวมทังด้
้ ำนหน้ ำและด้ ำนหลัง)ต้ องมีควำมสัมพันธ์กบั ชำยแดน เส้ นทำงคมนำคมอื่นๆและสอดคล้ องกับวิธีกำรส่งกลับหลักของผู้ ป่ วยเจ็บจำกเขตหน้ ำมำเขตหลังและจำกเขตหลังเข้ ำสูเ่ ขตภำยใน,ตลอดจนกำรแบ่งเขต
พื ้นที่ของกระทรวงมหำดไทย(จังหวัด,อำเภอ,ตำบล)ทังนี
้ ้เพื่อกำรใช้ กำลังประจำถิ่นอย่ำงเป็ นรูปแบบ

ง) กำรกำหนดเส้ นแบ่งเขตควรเป็ นที่หมำยสำคัญในภูมิประเทศสำมำรถสังเกตได้ งำ่ ยเช่นภูเขำ แม่น ้ำ ลำธำร ลำคลอง ถนนและทำงรถไฟ ส่วนในกำรวำงแผนเลื่อนเส้ นเขตหลังต้ องมีเวลำเพียงพอสำหรับกำรกำรลำดตระเวนตรวจ
ภูมิประเทศ ก่อนกำรโอนมอบหมำยควำมรับผิดชอบทำงดินแดน

พืน้ ที่ควำมรับผิดชอบของหน่ วยในพืน้ ที่ส่วนหลัง

พืน้ ที่ส่วนหลังในที่นี ้ หมำยถึงพืน้ ที่ส่วนหลังของทัพภำค หรือพืน้ ที่ส่วนหลังของยุทธบริเวณหรือเขตภำยในพืน้ ที่รับผิดชอบของ ทภ., มทบ.,จทบ.กำหนดขึน้ ตำมกำรแบ่ งเขตกำรปกครองของกระทรวงมหำดไทย
79
คูม่ ือ นักส่งกำลังบำรุง ทบ. มืออำชีพ โดย : กจบ.58

ทภ.กำหนดเขตพืน้ ที่ปฏิบัติกำรให้ แก่ กองพลในเขตหน้ ำ โดยใช้ ข้อพิจำรณำจำกสถำนกำรณ์ ข้ำศึกและพืน้ ที่ปฏิบัติกำร กำรเลื่อนเส้ นเขตหลั งของกองพลก็เพื่อปรับภำระควำมรั บผิดชอบทำงดินแดนของกองพล
ที่ปฏิบัติภำยในเขตหน้ ำให้ พอเหมำะกับสถำนกำรณ์ มำกที่สุด

พืน้ ที่ส่วนหลังตัง้ แต่ เส้ นเขตหลังของกองพลลงมำจะต้ องมีหน่ วยต่ ำง ๆ เข้ ำรับผิดชอบ โดยรั บผิดชอบในเรื่ องกำรระวังป้ องกัน และกำรควบคุมควำมเสียหำย หน่ วยที่จะรับผิดชอบพืน้ ที่ดังกล่ ำวนีไ้ ด้ แก่ มทบ.
หรือส่ วนรำชกำรสังกัดกระทรวงมหำดไทย ฉะนัน้ กำรกำหนดเส้ นเขตหลังของกองพลนอกจำกจะใช้ ข้อพิจำรณำทำงยุทธวิธีแล้ วต้ องพิจำรณำร่ วมกับงำนต่ ำง ๆ ที่จะมอบให้ กับหน่ วยในเขตหลังด้ วย

มทบ.

มทบ.
มทบ.
(จทบ.
เดิม)
มทบ.

มทบ.

80
คูม่ ือ นักส่งกำลังบำรุง ทบ. มืออำชีพ โดย : กจบ.58

ระบบกำรส่ งกำลังบำรุงในสนำมยำมสงครำม

กำรสนับสนุนกำรช่ วยรบเป็ นเรื่ องสำคัญเรื่องหนึ่งที่จะต้ องพิจำรณำในกำรวำงแผนกำรปฏิบัติทงั ้ ในยำมปกติและยำมสงครำม เพรำะงำนส่ งกำลั งบำรุ งซึ่งเป็ นแขนงหนึ่งของกำรช่ วยรบมีควำมสำคัญอย่ ำงยิ่งต่ อ
กำรทรงชีพและควำมพร้ อมรบของหน่ วย โดยเทียบเท่ ำกับงำนทำงด้ ำนทำงด้ ำนยุทธกำร กำรข่ ำว กำรกำลังพล กิจกำรพลเรื อน และกำรบริ หำรงบประมำณ ถ้ ำสำมำรถจัดเตรียมระบบกำรส่ งกำลังบำรุ งไว้ ให้ พร้ อมมูล
ครบถ้ วนสมบูรณ์ ตัง้ แต่ ยำมปกติก็จะเป็ นหลักประดันที่อบอุ่นและเบำใจของผู้บังคับบัญชำเมื่อต้ องนำทัพออกไปต่ อกรกับข้ ำศึกในสนำมรบ ควำมแตกต่ ำงระหว่ ำงกำรปฏิบัติกำรสนับสนุนกำรช่ วยรบ กำรสนับสนุนกำร
รบ และกำรปฏิบัติกำรรบไม่ อำจแยกกันได้ โดยเด็ดขำด

ในเขตหน้ ำ กองบัญชำกำรช่ วยรบของกองทัพภำคให้ กำรสนับสนุ นกำรช่ วยรบเป็ นส่ วนรวม ทัง้ นีห้ มำยควำมว่ ำในกองบัญชำกำรช่ วยรบจะต้ องมีหน่ วย ระดับกองร้ อย กองพันที่สำมำรถให้ กำรสนับสนุนกำร
ปฏิบัติงำนอยู่อย่ ำงเพียงพอและยังอำจจัดตัง้ เพิ่มเติมอีกได้ ตำมควำมจำเป็ น ในเขตหลัง มทบ./จทบ.จะเป็ นหน่ วยเสริ มในกำรสนับสนุนกำรช่ วยรบแก่ หน่ วยทหำรในพืน้ ที่

กองทัพภำคจัดทำแผนกำรสนับสนุนกำรช่ วยรบอย่ ำงกว้ ำงๆ และสอดคล้ องกับนโยบำยของ ทบ.สำหรับกำรยุทธที่ คำดคิดว่ ำจะเกิดขึน้ โดยกองบัญชำกำรช่ วยรบจัดทำแผน นโยบำย และคำชีแ้ จงต่ ำงๆสำหรั บ
กำรสนับสนุนกำรช่ วยรบในรำยละเอียดตำมนโยบำย คำชีแ้ จง และแนวทำงต่ ำงๆของกองทัพภำค ซึ่งจะครอบคลุมในเรื่องต่ อไปนี ้

กำรท ำประมำณกำร วิ เครำะห์ ตลอดจนท ำแผนสนั บ สนุ น ต่ ำงๆของตนเพื่ อ


สนับสนุนแผนและคำสั่งต่ ำงๆของกองทัพภำค

ประมำณควำมต้ องกำรในกำรสนับสนุนกำรช่ วยรบของกองทัพภำค

กำรจัดกำร สป.เกณฑ์ สะสมของกองทัพภำค

กำรประสำนกำรเคลื่อนย้ ำยกับส่ วนต่ ำงๆของกรมฝ่ ำยยุทธบริกำร

กำรจัดทำแผนกำรซ่ อมบำรุ งและจัดกำรยุทโธปกรณ์ ให้ เกิดควำมสมดุล

เมื่อมีองค์ ประกอบในสนำมรบครบถ้ วนตำมที่กล่ ำวมำแล้ ว ได้ แก่ กำรจัดดินแดน

กำรจัดหน่ วยสนับสนุนโดยตรง กำรจัดหน่ วยสนับสนุนทั่วไป เรียบร้ อยแล้ ว ระบบต่ ำงๆก็จะ

ครบวงจร ดังนัน้ ภำพของกำรส่ งกำลังบำรุ งในสนำมยำมสงครำมจึงไม่ ย่ ุงยำกสับสนเหมือนกับ

กำรส่ งกำลังบำรุ งในสนำมยำมปกติเนื่องจำกมีควำมชัดเจนและควำมสมบูรณ์ ในสำยกำรส่ งกำลัง

ซึ่งสำมำรถสรุ ปได้ ตำมภำพดังนี ้

81
คูม่ ือ นักส่งกำลังบำรุง ทบ. มืออำชีพ โดย : กจบ.58

กำรจัดตัง้ คลังและตำบลส่ งกำลังในยุทธบริเวณ

เนื่องจำกยุทธบริเวณจะมีดินแดนเป็ นส่วนหนึ่งของประเทศ หรืออำจจะเป็ นดินแดนของประเทศทังประเทศ


้ ซึง่ ในยำมปกติได้ มีกำรแบ่งพื ้นที่ของประเทศให้ กองทัพภำคที่ 1,2,3,4 รับผิดชอบ และในแต่ละกองทัพภำค
ก็แบ่งพื ้นที่ยอ่ ยให้ มทบ.,จทบ.รับผิดชอบอีกชันหนึ
้ ่ง ในพื ้นที่เหล่ำนี ้มีที่ตงหน่
ั ้ วยทหำรทังหน่
้ วยกำลังรบ, หน่วยสนับสนุนกำรรบ, หน่วยสนับสนุนกำรช่วยรบ, หน่วยส่วนภูมิภำค, คลัง,โรงงำน, โรงพยำบำล บ้ ำงก็อยูใ่ นค่ำยทหำร
เดียวกัน บ้ ำงก็แยกกระจำยกันอยู่ คลังส่วนใหญ่ของกรมฝ่ ำยยุทธบริกำรจะอยูใ่ นพื ้นที่กรุงเทพ นอกจำกนันก็
้ เป็ นคลังของ บชร. และคลังที่อยูก่ บั มทบ.,จทบ. ซึง่ บำงแห่งก็มีทำเลที่ตงเหมำะสมที
ั้ ่จะเป็ นสถำนกำรณ์ส่งกำลัง
บำรุงต่อไปในยำมสงครำม โดยสอดคล้ องกับกำรจัดดินแดนเป็ นยุทธบริเวณเช่นในเขตพื ้นที่กองทัพภำคที่ 2 บำงแห่งก็ไม่เหมำะสม ดังนันเพื
้ ่อปฏิบตั ิตำมคำสัง่ ทบ.ที่ 487/2543 เรื่อง กำรกำหนดภำรกิจ นโยบำย
แนวควำมคิด และควำมรับผิดชอบในกำรส่งกำลังบำรุงของกองทัพบก ในยำมสงครำมเมื่อมีกำรกำหนดเป็ นยุทธบริเวณแล้ ว คลังและสถำนกำรส่งกำลังบำรุงในยำมปกติที่มีที่ตงเหมำะสมสอดคล้
ั้ องกับสถำนกำรณ์ และกำรจัด
ดินแดนเป็ นยุทธบริเวณในครัง้ ครำวนันก็
้ ให้ ใช้ เป็ นคลังและตำบลส่งกำลัง/ตำบลจ่ำยในยำมสงครำมได้ เลย แต่ถ้ำกำหนดยุทธบริเวณแล้ วไม่ มีคลังและสถำนกำรส่งกำลังบำรุงยำมปกติที่เหมำะสมและสอดคล้ องกับสถำนกำรณ์
ก็ให้ ดำเนินกำรจัดตังขึ
้ ้น หรือหำกมีอยูแ่ ล้ วแต่มีขนำดเล็กก็เสริมเพิ่มเติมขึ ้นให้ เพียงพอกับควำมต้ องกำร

แนวทำงกำรจัดตังคลั
้ งและตำบลส่งกำลังบำรุงต่ำงๆในยุทธบริเวณมีกำรอธิบำยไว้ ในหลำกหลำยรูปแบบ แต่ในที่นี ้จะขอสรุปเป็ นตำรำงจำแนกเป็ นสำยยุทธบริกำรเพื่อง่ำยต่อกำรทำควำมเข้ ำใจได้ ดงั นี ้

82
คูม่ ือ นักส่งกำลังบำรุง ทบ. มืออำชีพ โดย : กจบ.58
รำยกำร พืน้ ที่เขตหลังของ พืน้ ที่ส่วนหลัง พืน้ ที่ส่วนหลัง วิธีกำรเบิกรั บ สป. รำยกำร พืน้ ที่เขตหลังของ พืน้ ที่ส่วนหลัง พืน้ ที่ส่วนหลัง วิธีกำรเบิกรั บ สป.ของ
ยุทธบริเวณ/ ของ ทภ. ของกองพล ของกองพลและกรม ยุทธบริเวณ/ ของ ทภ. ของกองพล กองพลและกรม
เขตภำยใน เขตภำยใน
สป.1
สำย พธ. สำย ส.
-หน่วยเบิกรับจำก ตจ.สป.1
พล.
สถำนกำรส่ ง - คลัง พธ. - ตส.สป.1 - ตจ.สป.1 สถำนกำรส่ ง - คลัง ส. - ตส.สป.2-4 - ตจ.สป.2-4 หน่ วยใช้
กำลัง - ตจ.สป.1 พล.เบิกรับจำก กำลัง
- ตส.สป.2-4 - ตจ.สป.2-4 (จัดตั ้งโดย กรม สน. - เสนอใบเบิกไปยังตอน ซบร.พัน.ส.
ตส.สป.1 ทภ.
พล.) พล.,กรม สน.
- ตส.สป.3 - ตจ.สป.3
สป.2-4 : รปจ.พล.

เครื่องหมำย oooo xxxx xx


สป.3
เครื่องหมำย oooo xxxx xx พัน.ส.พล./กรม สน.
(คลัง) (ตส.) (ตจ.) -หน่วยเบิกรับจำก ตจ.สป.3
พล. - สรุปควำมต้ องกำรของหน่วยเสนอ
xxxx xx (คลัง) (ตส.) (ตจ.) ไปยัง ตส.ทภ.
- ตจ.สป.3 พล.เบิกรับจำก
(ตส.) (ตจ.)
ตส.สป.3 ทภ.
xxxx xx
ตส.ทภ.
- กำรจ่ำย ณ ตจ.พล.ใช้ วิธีถงั ที่ตงั ้ พื ้นที่ บช.กบ.ทบ. พื ้นที่สว่ นหลัง ทภ./ทน. พื ้นที่สนับสนุนของกอง
(ตส.) (ตจ.) เปล่ำแลกถังเต็ม พล - รวบรวมใบเบิกสรุปรวมเสนอไปยัง
ที่ตงั ้ พื ้นที่ บช.กบ.ทบ. พื ้นที่สว่ นหลัง ทภ./ทน. พื ้นที่สนับสนุนของกอง คลัง ส.บช.กบ.ทบ.
กำรแจกจ่ ำย : จ่ำย ณ ตจ.
พล พล.
เจ้ ำหน้ ำที่ - กองคลัง สส. - พัน.สบร.บชร. - ตอน ซบร.พัน.ส.พล.
ปฏิบัตกิ ำร
กำรได้ มำของ สป.1 - พัน.ส.ซบร. - พัน.ซบร.บชร. - พัน.สบร.
เจ้ ำหน้ ำที่ - คลัง พธ. - พัน.สบร.บชร. - กอง พธ.พล.
ปฏิบัตกิ ำร
เขตหลัง กรม สน.พล.
- กก.พธ.ทบ. - พัน.ซบร.บชร. - พัน.สบร.กรม สน. - เบิกจำกเขตภำยในและ
พล. จัดซื ้อในยุทธบริ เวณ/บริ จำค
- กอง ซบร. - มทบ./จทบ.ที่
กำหนดให้ เป็ น ตส.ทภ. - เกณฑ์ในท้ องถิ่น/รับควำม
พธ.ทบ. ช่วยเหลือ

- ยบ.พธ.ทบ. - ยึดจำก ขศ.

83
คูม่ ือ นักส่งกำลังบำรุง ทบ. มืออำชีพ โดย : กจบ.58
รำยกำร พืน้ ที่เขตหลังของ พืน้ ที่ส่วนหลัง พืน้ ที่ส่วนหลัง วิธีกำรเบิกรั บ สป.
ยุทธบริเวณ/ ของ ทภ. ของกองพล ของกองพลและกรม
เขตภำยใน
สำย สพ.

สถำนกำรส่ งกำลัง - กำรส่งกำลังกระทำจำกข้ ำง


- กองคลังยุทโธปกรณ์ - ตส.สป.2-4 - ตจ.สป.2-4
หลังไปข้ ำงหน้ ำ(คลัง-บชร.-
- กองคลังแสง - ตจ.สป.5 กรม สน./กอง สพบ.)

เครื่องหมำย oooo xxxx xx - กำร ซบร.กระทำจำก


ข้ ำงหน้ ำไปข้ ำงหลัง (กรม
(คลัง) (ตส.) (ตจ.) สน./กอง สพบ.-บชร.-สพก.)

xxxx
oooo
(ตส.)
(คลัง)

ที่ตงั ้ กคส. - พื ้นที่สว่ นหลัง ทภ./ พื ้นที่สนับสนุนของกอง


ทน. พล
-แผนก 1,4(น.บ.)
- มทบ./จทบ.เมื่อเป็ น
-แผนก 2 (ล.บ.) ตส.ทภ.

-แผนก 3 (น.ว.)

-แผนก 5 (น.ม.)

-แผนก 6 (ล.บ.)

เจ้ ำหน้ ำที่ - กคย.สพ.ทบ. - พัน.สพ.กระสุน บชร. - กอง สพบ.พล.


ปฏิบัตกิ ำร
- กคส.สพ.ทบ. - พัน.ซบร.บชร. - พัน.ซบร.

กรม สน.พล.

84

You might also like