You are on page 1of 380

วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 296

ความรู้ความสามารถทั่วไปด้ านเหตุผล
อุปมาอุปไมย

ข้อสอบอุปมาอุปไมยเป็ นแบบทดสอบที่ใช้วดั ความรู ้ความเข้าใจด้านเหตุผลของผูเ้ ข้าสอบอีก


แบบหนึ่ง ซึ่ งการจะทาข้อสอบอุปมาอุปไมยให้ได้อย่างแม่นยานั้นต้องหมัน่ ศึกษาและฝึ กฝนทาข้อสอบ
บ่อยๆ เพื่อให้เข้าใจโจทย์ที่มีความสัมพันธ์หลายๆ รู ปแบบคาถาม และสามารถหาคาตอบของแต่ละ
รู ปแบบคาถามได้

เทคนิคการทาข้ อสอบอุปมาอุปไมย

๑. ต้องมีความรู ้รอบตัว คือมีความรู ้ในหลายๆ เรื่ อง โดยเฉพาะอย่างยิง่ ในเรื่ องของคน (อาชีพ


หน้าที่ เพศ) ประเทศต่างๆ (ที่ต้ งั ทวีป สภาพภูมิประเทศ) สัญลักษณ์ (สี สัตว์สัญลักษณ์) และลักษณะนาม
ของสิ่ งต่าง ๆ เป็ นต้น
๒. ต้องมองความสัมพันธ์ให้ออก คือการประยุกต์ความรู ้ที่มีมาแก้โจทย์ให้ได้ โดยมองหา
ความสัมพันธ์ของโจทย์ ทั้งต่อโจทย์กบั ตัวเลือก และระหว่างคาในโจทย์เอง เช่น กวาง : ควาย
ความสัมพันธ์ที่เหมือนกันคือ กวางและควายต่างก็เป็ นสัตว์บก มีเขา เป็ นสัตว์สี่ขา และเป็ นสัตว์กินพืช
ส่ วนความสัมพันธ์ที่แตกต่างกันคือ กวางอาศัยอยูใ่ นป่ า แต่ควายอาศัยอยูใ่ นบ้าน เป็ นต้น

แนวคิดในการพิจารณาความสัมพันธ์ขอ้ สอบอุปมาอุปไมย
๒.๑. ถ้ากล่าวถึงผลไม้ให้เทียบหรื อคิดจากลักษณะความสัมพันธ์ดงั ต่อไปนี้
- ลักษณะนาม
- รสชาติ เช่น หวาน/เปรี้ ยว
- ลักษณะภายนอก เช่น เปลือก สี ผวิ รู ปร่ าง เป็ นต้น
- การนาไปใช้ประโยชน์
- ประเภทเดียวกัน เช่น ใบเลี้ยงคู่/ใบเลี้ยงเดี่ยว
๒.๒. ถ้ากล่าวถึงบุคคล/กลุ่มบุคคลต่อสิ่ งของให้เทียบหรื อคิดจากลักษณะความสัมพันธ์
ดังต่อไปนี้
- เพศ
- อาชีพ

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 297
- ลักษณะหน้าที่การงาน
- ความสัมพันธ์ระหว่างเครื อญาติ
- วัสดุอุปกรณ์/เครื่ องมือเครื่ องใช้ในการประกอบอาชีพ
- เป็ นส่ วนใหญ่หรื อส่ วนย่อย
๒.๒. ถ้ากล่าวถึงประเทศ/ทวีปให้เทียบหรื อคิดจากลักษณะความสัมพันธ์ดงั ต่อไปนี้
- อยูใ่ นทวีปเดียวกัน
- เป็ นเกาะ/ติดกับแผ่นดิน
- เป็ นส่ วนใหญ่หรื อส่ วนย่อย
- เป็ นเมืองขึ้นของอีกประเทศหนึ่ง
- เป็ นเมืองสาคัญของประเทศ เช่น เมืองหลวง เมืองที่มีชื่อเสี ยง สมญานาม
เป็ นต้น
๒.๔. ถ้ากล่าวถึงจังหวัดของประเทศไทยให้เทียบหรื อคิดจากลักษณะความสัมพันธ์
ดังต่อไปนี้
- ภูมิภาค/อาณาเขต
- สัญลักษณ์/สมญานาม
- ภาษาถิ่น/วัฒนธรรม
- เส้นทางการคมนาคม
๒.๕. ถ้ากล่าวถึงสัตว์ให้เทียบหรื อคิดจากลักษณะความสัมพันธ์ดงั ต่อไปนี้
- ประเภทของสัตว์ เช่น สัตว์บก/สัตว์น้ า สัตว์ป่า/สัตว์เลี้ยง
- ลักษณะการเป็ นผูล้ ่า/เหยือ่
- รู ปร่ าง/ลักษณะทางกายภาพ (มีปีก มีขา ไม่มีขา)
- สัตว์ที่มีอยูจ่ ริ ง/สัตว์ในวรรณคดีหรื อเทพนิยาย
- อวัยวะที่ใช้ประโยชน์ตามธรรมชาติ
๒.๖. ถ้ากล่าวถึงสิ่ งของหรื อเครื่ องใช้ให้เทียบหรื อคิดจากลักษณะความสัมพันธ์
ดังต่อไปนี้
- ลักษณะการใช้งาน
- สมัยเก่า/สมัยใหม่
- ใช้เป็ นคู่หรื อเดี่ยว

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 298
๒.๗. ถ้ากล่าวถึงวัน เดือน ปี หรื อมาตราไทย/อังกฤษให้เทียบหรื อคิดจากลักษณะ
ความสัมพันธ์ดงั ต่อไปนี้
- เทียบอัตราส่ วนที่เท่ากัน
- เป็ นส่ วนย่อยส่ วนขยาย
- เป็ นสาเหตุกบั ผลที่ตามมา
- การเกิดก่อนหรื อหลัง
๒.๘. ถ้าเป็ นตัวเลขหรื ออักษรให้เทียบหรื อคิดจากลักษณะความสัมพันธ์ดงั ต่อไปนี้
- ผลต่างที่เท่ากัน เช่น บวก ลบ คูณ หาร ยกกาลัง
- เทียบอัตราส่ วนหรื อสมการ
- ช่วงห่างตัวอักษร
๒.๙. ถ้ากล่าวถึงเงิน หรื อเงินกับสิ่ งของให้เทียบหรื อคิดจากลักษณะความสัมพันธ์
ดังต่อไปนี้
- ตระกูลของเงิน
- เทียบจากหน่วยวัด
- หน่วยใหญ่หรื อหน่วยย่อย
๒.๑๐. ถ้านอกจาก ๙ ข้อที่กล่าวมาให้เทียบหรื อคิดจากลักษณะความสัมพันธ์ดงั ต่อไปนี้
- สาเหตุกบั ผลที่ตามมา
- เป็ นลักษณะเฉพาะของสิ่ งใดสิ่ งหนึ่ง
- เป็ นเหตุการณ์ที่เกิดต่อเนื่ องกัน
- เป็ นการแปรสภาพจากสิ่ งหนึ่งไปเป็ นอีกสิ่ งหนึ่ง
- เป็ นอาการหรื อสัญลักษณ์ที่ต่อเนื่องกัน
- เครื่ องมือเครื่ องใช้กบั ประโยชน์การใช้/ส่ วนประกอบ/ผูใ้ ช้
- เป็ นสถานที่กบั บุคคลที่เกี่ยวข้องหรื อเป็ นส่ วนหนึ่งของอีกส่ วนหนึ่ง
- เป็ นคาที่มีความหมายเหมือนกันหรื อตรงข้ามกัน
- เป็ นรู ปร่ างลักษณะของคน/สัตว์/สิ่ งของ

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 299
๓. ต้องสังเกตตาแหน่งคาให้ออก เพราะตัวเลือกมักหลอกโดยให้คาตอบที่ถูกต้องและชัดเจน แต่
สลับตาแหน่งกัน ดังตัวอย่างต่อไปนี้
สามี : ภรรยา ? : ?
ก. แม่ : พ่อ ข. ป้า : ลุง
ค. พี่ : น้อง ง. ปู่ : ย่า
คาตอบที่ถูกต้องคือ ง. ปู่ : ย่า เพราะความสัมพันธ์ในโจทย์เป็ นความสัมพันธ์ระหว่างสามีและภรรยา โดย
คาว่าสามีที่อยูต่ าแหน่งข้างหน้าเป็ นเพศชาย ดังนั้นในตัวเลือกคาที่อยูต่ าแหน่งข้างหน้าต้องเป็ นเพศชาย
ด้วย ตาแหน่งหลังเป็ นเพศหญิง
๔. ต้องคิดหลากหลาย ข้อสอบอุปมาอุปไมยนั้น เราควรหาเหตุผลมารองรับหลายๆ เหตุผล อย่าง
เพิ่งด่วนสรุ ป ต้องพิจารณาว่าความเป็ นเหตุเป็ นผลในตัวเลือกใดเหมาะสมที่สุด

ตัวอย่าง
๑. โรงพยาบาล : ผูป้ ่ วย ? : ?
ก. ทนายความ : ลูกความ ข. โรงเรี ยน : ครู
ค. มหาวิทยาลัย : นักศึกษา ง. รัฐสภา : กฎหมาย
ตอบ ค.
เหตุผล มหาวิทยาลัยกับนักศึกษาเป็ นความสัมพันธ์ในลักษณะสถานที่ให้บริ การกับผูใ้ ช้บริ การ
เช่นเดียวกับโรงพยาบาลกับผูป้ ่ วย
ก. ทนายความไม่ใช่สถานที่
ข. ครู ไม่ใช่ผใู ้ ช้บริ การ แต่เป็ นเจ้าหน้าที่ผใู ้ ห้บริ การด้านความรู ้แก่นกั เรี ยน
ง. กฎหมายไม่ใช่บุคคล ไม่ใช่ผใู ้ ช้บริ การ

๒. พิณ : ระนาด ? : ?
ก. ดนตรี ไทย : เครื่ องตี ข. จะเข้ : ฆ้อง
ค. ขิม : กลองยาว ง. โบราณ : ทันสมัย
ตอบ ข.
เหตุผล จะเข้เป็ นเครื่ องดนตรี ไทยประเภทเครื่ องดีดเช่นเดียวกับพิณ ระนาดเป็ นเครื่ องดนตรี ไทยประเภท
เครื่ องตีเช่นเดียวกัน
ก. ดนตรี ไทย : เครื่ องตี มีสัมพันธ์ไม่เหมือนกับความสัมพันธ์ในโจทย์ ดนตรี ไทย : เครื่ องตี
สัมพันธ์กนั ในลักษณะของส่ วนใหญ่กบั ส่ วนย่อย ระนาดไม่ใช่ส่วนย่อยของพิณ

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 300
ค. ขิมไม่ใช่เครื่ องดนตรี ไทยแต่เป็ นเครื่ องดนตรี ของจีนและไม่ใช่เครื่ องดีดแต่เป็ นเครื่ องตี บาง
ท่านอาจจะคิดว่าพิณกับขิมเป็ นเครื่ องดนตรี ที่มีสายเหมือนกัน ถ้าคิดแบบนั้นจะเข้ก็มีสายเหมือนกัน ทา
ให้ตอ้ งตอบ ๒ ข้อ ซึ่ งเป็ นไปไม่ได้ ต้องเลือกข้อที่ถูกต้องทีสุดเพียงข้อเดียว
ง. โบราณ : ทันสมัย มีสัมพันธ์ไม่เหมือนกับความสัมพันธ์ในโจทย์ โบราณ : ทันสมัย มี
ความสัมพันธ์กนั ในลักษณะของคาตรงข้ามกัน พิณกับระนาดไม่ได้ตรงข้ามกัน ไม่มีการวัดว่าอันไหน
โบราณหรื อทันสมัยกว่ากัน และโบราณกับทันสมัยก็ไม่ใช่เครื่ องดนตรี

๓. สวิง : กุง้ ? : ?
ก. คน : หมู ข. แห : ปลา
ค. กรง : นก ง. ลอบ : กระต่าย
ตอบ ข.
เหตุผล แหเป็ นเครื่ องมือในการจับปลา (ใช้วธิ ี เหวีย่ ง) เช่นเดียวกันกับสวิง เป็ นเครื่ องมือในการจับกุง้ (ใช้
วิธีชอ้ นตัก) และปลากับกุง้ ก็เป็ นสัตว์น้ าเหมือนกัน
ก. คนไม่ใช่อุปกรณ์ที่ใช้จบั หมู และหมูเป็ นสัตว์บกไม่ใช่สัตว์น้ า
ค. นกไม่ใช่สัตว์น้ า
ง. กระต่ายไม่ใช่สัตว์น้ า

๔. เกวียน : กรรไกร ? : ?
ก. เลื่อย : สิ่ ว ข. เข็ม : ผ้า
ค. หนังสื อ : เทียนไข ง. โค : คน
ตอบ ค.
เหตุผล เกวียนกับกรรไกร ทั้งสองคาเป็ นสิ่ งของและมีลกั ษณะนามเป็ นเล่มเหมือน และหนังสื อกับเทียน
ไข ก็เป็ นสิ่ งของและมีลกั ษณะนามเป็ นเล่มเหมือนกัน
ก. เลื่อยมีลกั ษณะนามเป็ นปื้ นไม่ใช่เล่ม (สิ่ วลักษณะนามเป็ นเล่ม)
ข. ผ้ามีลกั ษณะนามเป็ นชิ้น/ผืน/ม้วน/พับ แล้วแต่ลกั ษณะและจานวนของผ้า (เข็มมีลกั ษณะนาม
เป็ นเล่ม)
ง. โคกับคน ไม่ใช่ส่ิ งของ และไม่ได้มีลกั ษณะนามเป็ นเล่ม โคมีลกั ษณะนามเป็ นตัว คนมี
ลักษณะนามเป็ นคน

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 301
๕. ห้องพัก : โรงแรม ? : ?
ก. ห้องนอน : บ้าน ข. โรงพยาบาล : ห้องคลอด
ค. ห้องครัว : แม่บา้ น ง. ห้องน้ า : ห้องรับแขก
ตอบ ก.
เหตุผล ห้องนอนเป็ นส่ วนย่อยของบ้าน มีไว้สาหรับนอนพักผ่อน เช่นเดียวกับห้องพักเป็ นส่ วนย่อยของ
โรงแรม มีไว้สาหรับให้ลูกค้านอนพักผ่อน
ข. คาวางผิดตาแหน่ง คาหน้าต้องเป็ นส่ วนย่อย คาหลังเป็ นส่ วนรวม และห้องคลอดก็ไม่ได้มีไว้
ให้นอนพักผ่อน
ค. ห้องครัวไม่ใช่ส่วนย่อยของแม่บา้ น และแม่บา้ นก็ไม่ใช่สถานที่แต่เป็ นบุคคล
ง. ห้องน้ าไม่ใช่ส่วนย่อยของห้องรับแขก

๖. วันจันทร์ : วันพฤหัสบดี ? : ?
ก. กรกฎาคม : ธันวาคม ข. ๑๐.๐๐ น. : ๐๗.๐๐ น.
ค. ปี ฉลู : ปี มะโรง ง. วันหยุด : ปี ใหม่
ตอบ ค.
เหตุผล วันจันทร์ : วันพฤหัสบดี เป็ นคาที่เกี่ยวข้องกับเรื่ องเวลา และระหว่าง วันจันทร์ : วันพฤหัสบดี มี
ช่วงห่างเท่ากับ ๓ ซึ่ งปี ฉลู : ปี มะโรง ก็เป็ นคาที่เกี่ยวข้องกับเรื่ องเวลา และระหว่างปี ฉลู : ปี มะโรง มีช่วง
ห่างเท่ากับ ๓ เช่นเดียวกัน
ก. กรกฎาคม : ธันวาคม เป็ นคาที่เกี่ยวข้องกับเรื่ องเวลาเหมือนกัน แต่ระหว่าง กรกฎาคม :
ธันวาคม มีช่วงห่างเท่ากับ ๕
ข. ๑๐.๐๐ น. : ๐๗.๐๐ น. ตาแหน่งคาผิด คาหน้าต้องเป็ นเวลาที่เกิดก่อนคาหลัง
ง. วันหยุด : ปี ใหม่ มีความสัมพันธ์คนละแบบกับโจทย์ ไม่มีคาที่สัมพันธ์กบั คาในโจทย์ และไม่
สามารถบอกช่วงห่างระหว่างทั้งสองคาได้

๘. สอบติด : ขยัน ? : ?
ก. โง่ : ฉลาด ข. ฝึ กฝน : ประหยัด
ค. ตกงาน : ไม่มีเงิน ง. ความสาเร็ จ : พยายาม
ตอบ ง.
เหตุผล ความสาเร็ จเกิดจากความพยายาม เช่นเดียวกับ การสอบติดเกิดจากความขยัน (มีความสัมพันธ์ใน
ลักษณะเหตุกบั ผลเหมือนกัน โดยที่ผลเป็ นคาที่อยูข่ า้ งหน้า เหตุเป็ นคาที่อยูข่ า้ งหลัง)

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 302
ก. ฉลาดไม่ได้ทาให้โง่ โง่ : ฉลาด มีความสัมพันธ์ในลักษณะของคาที่มีความหมายตรงข้ามกัน
ข. ฝึ กฝนไม่ได้เป็ นผลที่ได้มาจากการประหยัด ทั้งสองคาไม่เป็ นเหตุผลซึ่ งกันและกัน
ค. ตกงานเป็ นเหตุไม่ใช่ผล ตกงานทาให้ไม่มีเงิน ไม่มีเงินไม่ได้ทาให้ตกงาน ตาแหน่งคาผิด ไม่มี
เงินควรอยูห่ น้า ตกงานอยูห่ ลัง

๙. ขุนช้าง : ขุนแผน ? : ?
ก. ดาบเจ็ดสี : มณี เจ็ดแสง ข. มีเงิน : รู ปหล่อ
ค. ผูร้ ้าย : ตารวจ ง. ทศกัณฐ์ : พระราม
ตอบ ง.
เหตุผล ขุนช้าง : ขุนแผน มีความสัมพันธ์กนั คือเป็ นตัวละครที่อยูใ่ นวรรณคดีเหมือนกันโดยคาหน้าเป็ น
ตัวร้าย คาหลังเป็ นพระเอก เช่นเดียวกับ ทศกัณฐ์ : พระราม ก็เป็ นตัวละครที่อยูใ่ นวรรณคดีเรื่ องเดียวกัน
ทศกัณฐ์เป็ นตัวร้ายและวางในตาแหน่งคาที่อยูข่ า้ งหน้าเหมือนกับขุนช้าง พระรามเป็ นพระเอกและเป็ นคา
ที่อยูข่ า้ งหลังเหมือนขุนแผน
ก. ดาบเจ็ดสี : มณี เจ็ดแสง ไม่ใช่ตวั บุคคลคล เป็ นอาวุธในละครไม่ใช่วรรณคดี
ข. มีเงิน : รู ปหล่อ เป็ นลักษณะเฉพาะ ไม่ใช่ตวั บุคคล ในโจทย์กล่าวถึงตัวบุคคลต้องตอบตัวเลือก
ที่เป็ นตัวบุคคล ถ้าไม่มีตวั เลือกที่เป็ นตัวบุคคลจึงพิจารณาตัวเลือกอื่นๆ
ค. ผูร้ ้าย : ตารวจ เป็ นตัวบุคคลเหมือนกับโจทย์ แต่ไม่ได้เป็ นตัวละครในวรรณคดี ดังนั้นต้อง
เลือกคาตอบที่มีความสัมพันธ์กบั โจทย์มากที่สุด นัน่ คือ ง. เพราะเป็ นทั้งบุคคลและตัวละครในวรรณคดี
เหมือนกัน

๑๐. เสื อ : เขี้ยว ? : ?


ก. ไก่ : เดือย ข. เป็ ด : น้ า
ค. กุง้ : หนวด ง. ปลา : ก้าง
ตอบ ก.
เหตุผล ไก่เป็ นชื่ อสัตว์ เดือยเป็ นอวัยวะหนึ่งของไก่ที่สามารถใช้เป็ นอาวุธไว้ป้องกันตัวและต่อสู ้กบั ฝ่ าย
ตรงข้าม เช่นเดียวกับ เสื อเป็ นชื่อสัตว์และมีอวัยวะคือเขี้ยวไว้เป็ นอาวุธป้ องกันตัวและต่อสู ้กบั ฝ่ ายตรง
ข้าม
ข. เป็ ดเป็ นสัตว์ แต่น้ าไม่ใช่อวัยวะของเป็ ด
ค. กุง้ เป็ นสัตว์ แต่หนวดกุง้ ไม่สามารถใช้ต่อสู ้กบั ฝ่ ายตรงข้ามได้
ง. ปลาเป็ นสัตว์ แต่กา้ งปลาไม่สามารถใช้ต่อสู ้กบั ฝ่ ายตรงข้ามได้

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 303

แนวข้ อสอบอุปมาอุปไมย

๑. แป้นราพึง : ? ? : ทุเรี ยน
ก. แป้นพิจิตร ชะนี ข. มะนาว กระดุม
ค. ผัก ผลไม้ ง. เปรี้ ยว หวาน
๒. ? : เล็บ ปอด : ?
ก. มือ เท้า ข. กระดูก กระเพาะอาหาร
ค. เส้นผม หัวใจ ง. จมูก ปาก
๓. ? : ปอนด์ วา : ?
ก. น้ าหนัก : ความยาว ข. เมตร : ขีด
ค. ศอก : ฟุต ง. เซนติเมตร : ลิตร
๔. บาท : ฟรังส์ ? : ?
ก. หยวน : ปอนด์ ข. เพนนี : ดอลล่า
ค. เชน : กลีบ ง. ลีร์ : สตางค์
๕. นักดนตรี : กีตาร์ ? : ?
ก. นักแต่งเพลง : นักร้อง ข. ปากกา : นักประพันธ์
ค. พยาบาล : หมอ ง. จิตรกร : พูก่ นั
๖. เครื่ องคิดเลข : ลูกคิด ? : ?
ก. เวลา : นาฬิกา ข. ถุงพลาสติก : ใบตอง
ค. ปุ๋ ยเคมี : ปุ๋ ยคอก ง. คอมพิวเตอร์ : โทรทัศน์
๗. มอเตอร์ไซด์ : จักรยาน ? : ?
ก. คน : ควาย ข. รถยนต์ : รถเข็น
ค. พาหนะ : ขับขี่ ง. เกวียน : รถบรรทุก
๘. กระซู่ : ควาย ? : ?
ก. สิ งโต : แมว ข. สุ นขั : เสื อ
ค. แรด : หมี ง. ไก่ : เป็ ด

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 304
๙. ไข่ขาว : ไข่แดง ? : ?
ก. กรอบรู ป : ภาพถ่าย ข. มะม่วง : เมล็ด
ค. แก้วน้ า : สุ รา ง. บ้าน : ห้องนอน
๑๐. รัฐศาสตร์ : แพทย์ศาสตร์ ? : ?
ก. วิทยาศาสตร์ : วิศวกรรมศาสตร์
ข. อักษรศาสตร์ : เภสัชศาสตร์
ค. ครุ ศาสตร์ : นิติศาสตร์
ง. ศิลปกรรมศาสตร์ : วารสารศาสตร์
๑๑. ขวดนม : ผ้าอ้อม ? : ?
ก. มุง้ : เสื้ อเชิ้ต ข. นาฬิกา : ยางลบ
ค. กรรไกร : ผ้าถุง ง. สาลี : เปล
๑๒. คน : ครอบครัว ? : ?
ก. ปลา : แม่น้ า ข. คน : สโมสร
ค. ทหาร : กองทัพ ง. ตารวจ : โรงพัก
๑๓. เทียน : ด้าย ? : ?
ก. วงกลม : จุดศูนย์กลาง ข. ล้อ : เพลา
ค. ดินสอ : กราไฟท์ ง. ปากกา : หมึก
๑๔. มาก : หลาย ใหญ่ : ?
ก. โต ข. ยักษ์
ค. ขนาด ง. ไกล
๑๕. สาเร็ จ : ล้มเหลว อ้วน : ?
ก. ดา ข. ผอม
ค. เบาหวาน ง. เตี้ย
๑๖. เบ็ด : ตกปลา หนังสื อ : ?
ก. ขาย ข. เรี ยน
ค. เขียน ง. อ่าน
๑๗. วัยเด็ก : วัยรุ่ น ? : ?
ก. เกิด : ตาย ข. เปิ ด : ผ่าน
ค. ตูม : บาน ง. ช้า : เร็ ว

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 305
๑๘. จันทร์ : พุธ มกราคม : ?
ก. กุมภาพันธ์ ข. มีนาคม
ค. พฤษภาคม ง. เดือน
๑๙. หนังสื อพิมพ์ : ฉบับ ช้างป่ า : ?
ก. ต้น ข. พลาย
ค. ตัว ง. เชือก
๒๐. แหวน : นิ้ว ? : ?
ก. ผ้า : นุ่ง ข. สร้อย : คอ
ค. เชือก : มัด ง. เครื่ องราง : บูชา
๒๑. นาง : งาม ? : ?
ก. กด : ดัน ข. สาว : งาม
ค. ดัน : นัด ง. ยก : ยอ
๒๒. ถี่ : ห่าง ละเอียด : ?
ก. หยาบ ข. ขรุ ขระ
ค. บด ง. อ่อนไหว
๒๓. เกยูร : สายสร้อย ดุษฎี : ?
ก. ยอม ข. เพื่อน
ค. ยอดเยีย่ ม ง. ความยินดี
๒๔. ? : เล็ก หน้า :?
ก. ใหญ่ : หัว ข. ใหญ่ : หลัง
ค. ตัว : ด้าน ง. รู ป : บาน
๒๕. แว่น : ตา ? : ?
ก. หวี : ผม ข. แขน : กาไร
ค. แหวน : มือ ง. หมวก : ผม
๒๖. นครราชสี มา : นครศรี ธรรมราช ? : ?
ก. นครสวรรค์ : นราธิวาส ข. อุบลราชธานี : อุดรธานี
ค. สุ รินทร์ : สุ ราษฎร์ธานี ง. สกลนคร : ชุมพร

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 306
๒๗. ม้า : ล่อ ? : ?
ก. สมุด : ปากกา ข. หญ้า : ลา
ค. ส้มโอ : ทุเรี ยน ง. แดง : ส้ม
๒๘. นก : หนอน ? : ?
ก. หมู : รา ข. เป็ ด : ไก่
ค. กับดัก : เนยแข็ง ง. เสื อ : กวาง
๒๙. ห่าน : เสื อ ? : ?
ก. กบ : เขียด ข. งู : จงอาง
ค. ไก่ : สิ งโต ง. พญาอินทรี ย ์ : ปลา
๓๐. พ่อ : ครอบครัว ? : ?
ก. สภา : สส. ข. ทหาร : กองทัพ
ค. นายกรัฐมนตรี : คณะรัฐมนตรี ง. ครู : นักเรี ยน
๓๑. ตา : ความงาม ? : ?
ก. ปาก : กิน ข. ความหอม : จมูก
ค. หู : ความไพเราะ ง. จิตใจ : ความสุ ข
๓๒. ? : ปากกา น้ า : ขวด
ก. ด้าม ข. ยางลบ
ค. หมึก ง. ดินสอ
๓๓. กล้อง : ถ่ายรู ป ? : ?
ก. พ่อครัว : อาหาร ข. พวงมาลัย : รถยนต์
ค. โทรศัพท์ : เสี ยง ง. มีด : หัน่
๓๔. ต้นไม้ : เฉา ? : แก่
ก. หนุ่ม ข. ข้าว
ค. สาว ง. คน
๓๕. แมงป่ อง : หาง ? : ?
ก. เสื อ : ขา ข. ปลา : เกล็ด
ค. ปู : ก้าม ง. เต่า : กระต่าย

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 307
๓๖. เมษายน : กันยายน งูใหญ่ : ?
ก. แพะ ข. เสื อ
ค. ลิง ง. ไก่
๓๗. กบ : ยุง ? : ?
ก. ผีเสื้ อ : อึ่งอ่าง ข. ลูกอ๊อด : ลูกน้ า
ค. จระเข้ : ไกรทอง ง. คลอง : ต้นไม้
๓๘. ชัว่ โมง : นาที ? : ?
ก. เซนติเมตร : เมตร ข. กิโลกรัม : ขีด
ค. น้ าหนัก : เวลา ง. น้อย : มาก
๓๙. ดอกไม้ : ? ? : กาง
ก. สวย หุบ ข. ผลิ ต้นไม้
ค. บาน ร่ ม ง. โรย มุม
๔๐. ? : ต้นตาล เตี้ย : ?
ก. ลูกตาล ตก ข. สู ง หญ้า
ค. ใหญ่ ต่า ง. พืช คน
๔๑. ? : อุดร วุน่ วาย : ?
ก. ทักษิณ สงบ ข. พายัพ โกลาหล
ค. จลาจล อุดร ง. เงียบเหงา อีสาน
๔๒. บัวขาว : นักมวย ชวน : ?
ก. นายก ข. ผูช้ าย
ค. นักการเมือง ง. ประชาธิปัตย์
๔๓. กวาง : ช้าง แมว : ?
ก. เหมียว ข. ปลาทู
ข. หมู ง. สุ นขั
๔๔. บ้าน : พืช ห้องครัว : ?
ก. ใบ ข. ตะหลิว
ค. ต้นไม้ ง. แม่ครัว

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 308
๔๕. เข็ม : ? จักร : ผ้า
ก. ด้าย ข. สน
ค. เชือก ง. เย็บ
๔๖. ซน : ? โง่ : ควาย
ก. ม้า ข. สุ นขั
ค. ลิง ง. แมว
๔๗. ส้มตา : มะละกอ ? : ?
ก. นาฬิกา : เวลา ข. ปลาทู : น้ าพริ กกะปิ
ค. ลาบ : หมู ง. ต้มยา : มะนาว
๔๘. ใบบัวบก : ดาวเหลือง
ก. ขม : หวาน ข. เขียว : เหลือง
ค. ความทุกข์ : ความรัก ง. ใบชา : มะนาว
๔๙. ? : มะระ ลาไย : ?
ก. ลิ้นจี่ ส้ม ข. เงาะ บอระเพ็ด
ค. มังคุด มะยม ง. มะดัน มะขวิด
๕๐. ? : สะพาน ภูเขา : ?
ก. ท้องฟ้า ถนน ข. เกาะ แม่น้ า
ค. มนุษย์ ธรรมชาติ ง. ต้นประดู่ ทะเล

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 309

เฉลยแนวข้ อสอบอุปมาอุปไมย

๑. เฉลยข้อ ข. เหตุผล คาหน้าเป็ นชื่อสายพันธุ์ของคาหลัง แป้นราพึงเป็ นชื่อมะนาวสายพันธุ์หนึ่ง


กระดุมเป็ นชื่อทุเรี ยนสายพันธุ์หนึ่ง
๒. เฉลยข้อ ค. เหตุผล เส้นผมกับเล็บเป็ นอวัยวะที่ตดั ทิง้ ได้โดยไม่เกิดอันตราย ส่ วนปอดและหัวใจ
เป็ นอวัยวะที่ไม่สามารถตัดทิ้งได้
๓. เฉลยข้อ ข. เหตุผล เมตรเป็ นมาตรวัดความยาว ส่ วนปอนด์เป็ นมาตรวัดน้ าหนัก เช่นเดียวกับ วา
เป็ นมาตรวัดความยาว และขีดเป็ นมาตรวัดน้ าหนัก (คาหน้าวัดความยาว คาหลัง
วัดน้ าหนัก)
๔. เฉลยข้อ ก. เหตุผล บาทกับเยนเป็ นสกุลเงินของประเทศในทวีปเอเชีย ส่ วนฟรังส์กบั ปอนด์เป็ น
สกุลเงินในประเทศยุโรป (คาหน้าสกุลเงินของประเทศในเอเชีย คาหลังสกุล
เงินของประเทศในยุโรป)
๕. เฉลยข้อ 4. เหตุผล กีตาร์ เป็ นอุปกรณ์ในการทางานของนักดนตรี พูก่ นั เป็ นอุปกรณ์ในการทางาน
ของจิตรกร (คาหลังเป็ นอุปกรณ์การทางานของคาหน้า)
๖. เฉลยข้อ ข. เหตุผล เครื่ องคิดเลขกับลูกคิดใช้ประโยชน์ในการคานวณเหมือนกัน โดยเครื่ องคิดเลข
จะเป็ นของที่นิยมใช้ในยุคปั จจุบนั เช่นเดียวกับถุงพลาสติกและใบตองที่ใช้ใส่
อาหารโดยถุงพลาสติกเป็ นของที่นิยมใช้ในปัจจุบนั
๗. เฉลยข้อ ข. เหตุผล มอเตอร์ ไซด์กบั รถยนต์เป็ นพาหนะที่ใช้เครื่ องยนต์ ส่ วนจักรยานกับรถเข็นเป็ น
พาหนะที่ไม่ใช้เครื่ องยนต์ (คาหน้าพาหนะที่ใช้เครื่ องยนต์ คาหลังพาหนะที่ไม่
ใช้เครื่ องยนต์)
๘. เฉลยข้อ ก. เหตุผล กระซู่เป็ นสัตว์ป่า ควายเป็ นสัตว์เลี้ยง เช่นเดียวกับสิ งโตเป็ นสัตว์ป่า ส่ วนแมว
เป็ นสัตว์เลี้ยง
๙. เฉลยข้อ ข. เหตุผล ไข่ขาวจะห่อหุ ม้ ไข่แดง โดยเป็ นลักษณะของธรรมชาติ เช่นเดียวกับมะม่วงและ
เมล็ด
๑๐. เฉลยข้อ ข. เหตุผล รัฐศาสตร์ และอักษรศาสตร์ เป็ นสาขาวิชาทางสังคมศาสตร์ ส่ วนแพทย์ศาสตร์
และเภสัชศาสตร์เป็ นสาขาวิชาทางวิทยาศาสตร์
๑๑. เฉลยข้อ ง. เหตุผล ขวดนม ผ้าอ้อม สาลี และเปล เป็ นอุปกรณ์ที่ใช้สาหรับทารก
๑๒. เฉลยข้อ ค. เหตุผล ทหารเป็ นส่ วนหนึ่งของกองทัพ และกองทัพไม่เป็ นสถานที่ เช่นเดียวกับคนก็
เป็ นส่ วนหนึ่งของครอบครัว และครอบครัวก็ไม่เป็ นสถานที่เช่นเดียวกัน

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 310
๑๓. เฉลยข้อ ค. เหตุผล ด้ายเป็ นไส้ของเทียน ส่ วนกราไฟท์เป็ นไส้ของดินสอ
๑๔. เฉลยข้อ ก. เหตุผล มาก หลาย มีความสัมพันธ์แบบความหมายเหมือนกัน ดังนั้น ใหญ่ มี
ความหมายเหมือนกับโต
๑๕. เฉลยข้อ ข. เหตุผล สาเร็ จ : ล้มเหลว มีความสัมพันธ์แบบตรงข้ามกัน ดังนั้น อ้วน ต้องตรงข้าม
กับผอม
๑๖. เฉลยข้อ ง. เหตุผล เบ็ด เป็ นอุปกรณ์ที่ใช้สาหรับตกปลา ดังนั้น หนังสื อจึงมีไว้สาหรับอ่าน
๑๗. เฉลยข้อ ค. เหตุผล วันเด็กนาไปสู่ วยั รุ่ น เป็ นความหมายที่ต่อเนื่องเป็ นระบบตรงกับความสัมพันธ์
ตูม : บาน
๑๘. เฉลยข้อ ข. เหตุผล จันทร์ เว้นไป ๑ วันก็จะเป็ นวันพุธ แล้วเดือนมกราคมเว้นไป ๑ เดือนก็จะเป็ น
เดือนมีนาคม
๑๙. เฉลยข้อ ค. เหตุผล ลักษณะนามของหนังสื อพิมพ์ คือ ฉบับ ลักษณะนามของช้างป่ าที่ถูกต้อง
คือ ตัว
๒๐. เฉลยข้อ ข. เหตุผล เป็ นคู่ความสัมพันธ์กนั โดยที่แหวนเป็ นเครื่ องประดับสาหรับสวมนิ้ว เช่นเดียว
สร้อยเป็ นเครื่ องประดับสาหรับคอ
๒๑. เฉลยข้อ ค. เหตุผล นาง งาม เป็ นการสลับตาแหน่งของอักษรและพยัญชนะ ดังนั้นคู่ความสัมพันธ์
หลังต้องสลับตาแหน่งของอักษรและพยัญชนะด้วย
๒๒. เฉลยข้อ ก. เหตุผล คู่ความสัมพันธ์ เป็ นการเปรี ยบเทียบคาที่มีความหมายตรงข้ามกัน
ดังนั้นละเอียดจึงตรงข้ามกับหยาบ
๒๓. เฉลยข้อ ง. เหตุผล คู่ความสัมพันธ์แรกเป็ นการบอกความหมายของคาศัพท์ เกยูร หมายถึง
สายสร้อยคู่ความสัมพันธ์หลังต้องพิจารณาความสัมพันธ์ให้เหมือนคู่แรก
ดุษฎี หมายถึง ความยินดี
๒๔. เฉลยข้อ ค. เหตุผล เป็ นความสัมพันธ์แบบตรงข้ามกัน คือ ใหญ่ตรงข้ามกับเล็ก หน้าตรงข้าม
กับหลัง
๒๕. เฉลยข้อ ก. เหตุผล เป็ นลักษณะการใช้เครื่ องใช้ให้เหมาะสม แว่นมีไว้ใส่ ตา หวีมีไว้หวีผม
๒๖. เฉลยข้อ ค. เหตุผล คาหน้าเป็ นชื่ อจังหวัดในภาคอีสาน คาหลังเป็ นชื่ อจังหวัดในภาคใต้ และทั้งสอง
จังหวัดมีคาขึ้นต้นเหมือนกัน
๒๗. เฉลยข้อ ง. เหตุผล ล่อ เป็ นสัตว์ที่เกิดจากการผสมระหว่างม้า กับ ลา ส้มก็เป็ นสี ที่เกิดจากการผสม
ของแม่สีคือ แดงและเหลือง

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 311
๒๘. เฉลยข้อ ง. เหตุผล คาหลังเป็ นสัตว์ที่เป็ นเหยื่อหรื ออาหารของสัตว์ในคาแรก
๒๙. เฉลยข้อ ค. เหตุผล ห่านเป็ นสัตว์ปีกเช่นเดียวกับไก่ ส่ วนเสื อเป็ นสัตว์บกเช่นเดียวกับสิ งโต
๓๐. เฉลยข้อ ค. เหตุผล สัมพันธ์กนั ในเชิงหน้าที่ คือพ่อเป็ นหัวหน้าครอบครัว นายกรัฐมนตรี ก็เป็ น
หัวหน้าคณะรัฐมนตรี
๓๑. เฉลยข้อ ค. เหตุผล สัมพันธ์กนั เชิงเหตุผล คาแรกเป็ นอวัยวะที่รับสัมผัสเกิดเป็ นคาหลัง ตาสัมผัส
มองเห็นความงาม หูสัมผัสได้ยนิ ความไพเราะ
๓๒. เฉลยข้อ ค. เหตุผล คาแรกจะบรรจุอยูใ่ นคาหลัง
๓๓. เฉลยข้อ ง. เหตุผล สัมพันธ์กนั ในเชิงเครื่ องมือเครื่ องใช้กบั หน้าที่ กล้องมีไว้สาหรับถ่ายรู ป มีดมีไว้
สาหรับหัน่ สิ่ งของพืชผักผลไม้ คาหน้าเป็ นเครื่ องมือเครื่ องใช้ คาหลังเป็ นหน้าที่
ใช้งาน
๓๔. เฉลยข้อ ง. เหตุผล เฉาเป็ นอาการเหี่ ยวแห้งของต้นไม้เหมือนกับแก่เป็ นอาการเหี่ ยวแห้งของคน
๓๕. เฉลยข้อ ค. เหตุผล แมงป่ องมีพิษตรงหางใช้เป็ นอาวุธต่อสู ้กบั ศัตรู เหมือนกับปูใช้กา้ มเป็ นอาวุธ
ต่อสู ้กบั ศัตรู
๓๖. เฉลยข้อ ง. เหตุผล สัมพันธ์ในเรื่ องการนับระยะห่างเดือนเมษายนห่างสิ งหาคมอยู่ ๕ เช่นเดียวกับ
งูใหญ่เป็ นปี นักษัตรห่างจากลิงอยู่ ๕
๓๗. เฉลยข้อ ค. เหตุผล มีความสัมพันธ์กนั ในเชิงวิวฒั นาการของสัตว์ คาคู่หน้าเป็ นชื่อสัตว์ตอนโต
เต็มวัย คาคู่หลังเป็ นชื่อสัตว์ตอนเป็ นตัวอ่อน
๓๘. เฉลยข้อ ข. เหตุผล คาหลังเป็ นหน่วยย่อยของคาหน้า
๓๙. เฉลยข้อ ค. เหตุผล ดอกไม้จะบานออก เหมือนกับร่ มที่กางออก
๔๐. เฉลยข้อ ข. เหตุผล เป็ นการเปรี ยบเทียบลักษณะของต้นพืช คาหน้าเป็ นลักษณะของต้นคาหลัง
๔๑.เฉลยข้อ ก. เหตุผล เมื่อพิจารณาจากโจทย์ คาหน้าควรเป็ น “ทิศ” คาหลังควรเป็ น “คา” ที่สามารถมี
“ความ” นาหน้าได้ ข้อ ค. กับ ข้อ ง. จึงผิดแน่ๆ เพราะ นาทิศไปไว้ขา้ งหลัง
เหลือตัวเลือกให้พิจารณาคือ ข้อ ก. กับ ข้อ ข. จะเห็นว่า “พายัพ” อยูข่ า้ งๆ อุดร
ในทางภาษาก็ไม่รู้จะเทียบกับอย่างไร ส่ วน “ทักษิณ” อยูต่ รงข้ามกับทิศอุดร คา
ว่า “สงบ” ก็ตรงข้ามกับ “วุน่ วาย” ดังนั้น คาตอบที่ถูกต้องในข้อนี้ คือ ข้อ ก.
๔๒. เฉลยข้อ ค. เหตุผล เมื่อพิจารณาจะเห็นว่าคาหน้ากับคาหลังมีความสัมพันธ์กนั โดยคาหน้าเป็ นชื่ อ
ของคนมีชื่อเสี ยงที่ประกอบอาชีพในคาหลัง ข้อ ก และ ง จึงผิดแน่นอน ส่ วน
ข้อ ข กับ ค ถ้าพูดถึงคนชื่อชวนที่มีชื่อเสี ยงย่อมก็ตอ้ งเป็ น ชวน หลีกภัย
นักการเมืองชื่ อดังแน่นอน ดังนั้นข้อนี้จึงตอบข้อ ค.

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 312
๔๓. เฉลยข้อ ง. เหตุผล คาหน้ากับคาหลังเป็ นสัตว์ประเภทเดียวกัน คือเป็ นสัตว์ที่ป่าและอาศัยอยูบ่ นบก
เหมือนกัน ต้องพิจารณาหาสัตว์ประเภทเดียวกับแมว ข้อ ก ผิดแน่นอนเพราะ
ไม่ใช่ชื่อสัตว์ ข้อ ข ปลาทูไม่ใช่สัตว์ประเภทเดียวกับแมวแน่นอน เหลือข้อ ค
กับ ง ทั้ง ๒ อย่างเป็ นสัตว์เลี้ยงเหมือนกัน แต่หมูเลี้ยงไว้เพื่อเป็ นอาหาร ส่ วน
สุ นขั เลี้ยงไว้เป็ นเพื่อน ดังนั้นจึงตอบข้อ ง เพราะแมวกับสุ นขั เป็ นสัตว์ที่มนุษย์
เลี้ยงไว้เป็ นเพื่อนเหมือนกัน
๔๔. เฉลยข้อ ค. เหตุผล ห้องครัวเป็ นหน่วยย่อยของบ้าน เช่นเดียวกับต้นไม้ที่เป็ นหน่วยย่อยของพืช
๔๕. เฉลยข้อ ก. เหตุผล เข็มต้องมีดา้ ย และจักรต้องมีผา้ จึงจะทางานได้
๔๖. เฉลยข้อ ค. เหตุผล เป็ นการเปรี ยบเทียบ โง่เหมือนควาย ซนเหมือนลิง
๔๗. เฉลยข้อ ค. เหตุผล มะละเป็ นวัตถุดิบหลักในการทาส้มตา เช่นเดียวกับหมูเป็ นวัตถุดิบหลักในการ
ทาลาบ
๔๘. เฉลยข้อ ข. เหตุผล ใบบัวบกมีสีเขียว ดาวเหลืองมีสีเหลือง
๔๙. เฉลยข้อ ข. เหตุผล เงาะกับลาไยมีรสหวานเหมือนกัน บอระเพ็ดกับมะระมีรสขมเหมือนกัน
๕๐. เฉลยข้อ ก. เหตุผล จากโจทย์จะเห็นว่า “สะพาน” นั้น มนุษย์สร้างขึ้น ส่ วน “ภูเขา” เป็ นสิ่ งที่เกิดขึ้น
เองตามธรรมชาติ ข้อ ข. กับ ข้อ ง. จึงผิดแน่ๆ เหลือให้พิจารณาคือ ข้อ ก. กับ
ข้อ ค.
ข้อ ค. นั้น ถ้าโจทย์เรี ยงลาดับแบบนี้ ............... สะพาน : ............... ภูเขา ข้อนี้ก็
จะมีโอกาสถูก เพราะ จะเรี ยงได้เป็ น มนุษย์-สะพาน : ธรรมชาติ-ภูเขา
(ตาแหน่งคาวางไม่ถูกต้อง) ดังนั้น คาตอบที่ถูกต้องก็คือ ข้อ ก. เพราะ ท้องฟ้า
เป็ นคาหน้าและเกิดขึ้นเองตามธรรมชาติเหมือนภูเขา ถนนเป็ นคาหลังและเป็ น
สิ่ งที่มนุษย์สร้างขึ้นเหมือนกับสะพาน

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 313

แบบการจาแนกประเภท

ข้อสอบการจาแนกประเภทเป็ นแบบทดสอบวัดความรู ้ความสามารถด้านเหตุผล ผูท้ าข้อสอบ


จะต้องวิเคราะห์แยกแยกความเหมือน ความแตกต่างของงสิ่ งต่างๆ ให้ได้
ลักษณะของข้อสอบจะกาหนดประเภทของสิ่ งต่างๆ มาให้เปรี ยบเทียบหาความเหมือนหรื อความ
แตกต่างกัน ข้อสอบแบบนี้แบ่งออกเป็ น ๒ แบบใหญ่ๆ ดังนี้
แบบไม่เข้าพวก
ข้อสอบลักษณะนี้จะกาหนดคาหรื อข้อความที่มีโครงสร้างเหมือนๆ กันมาให้ชุดหนึ่ง
แล้วให้พิจารณาคาหรื อข้อความที่แตกต่างไปจากข้ออื่นๆ
แบบเข้าพวก
ข้อสอบลักษณะนี้จะกาหนดคาหรื อข้อความที่อยูใ่ นพวกเดียวกันมาให้แล้วให้หาสิ่ งที่
เข้าพวก ซึ่ งอยูใ่ นตัวเลือก

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 314

แนวข้ อสอบแบบการจาแนกประเภท (แบบไม่ เข้ าพวก)

จงพิจาณาหาคาที่ไม่เข้าพวก จาก ก-ง


๑. ก. ดีใจ ข. ร่ าเริ ง ค. เศร้า ง. สนุก
๒. ก. เสื้ อ ข. หมอน ค. ผ้าห่ม ง. ฟูก
๓. ก. ทอด ข. ปิ้ ง ค. นึ่ง ง. ต้ม
๔. ก. กลอง ข. ระนาด ค. แคน ง. โปงลาง
๕. ก. แขน ข. ขา ค. หู ง. ปาก
๖. ก. ตกยาก ข. ตกทอด ค. ตกอับ ง. ตกทุกข์
๗. ก. โง่ ข. ทึบ ค. สมอง ง. ฉลาด
๘. ก. ไวโอลิน ข. ขิม ค. จระเข้ ง. ระนาด
๙. ก. ซอย ข. ปาด ค. ทุบ ง. สับ
๑๐. ก. ปลา ข. ปู ค. ไก่ ง. หมู
๑๑. ก. บิน ข. วิง่ ค. เหาะ ง. ร่ อน
๑๒. ก. ช้อน ข. ส้อม ค. จาน ง. ตะหลิว
๑๓. ก. เทียน ข. ไฟฉาย ค. ตะเกียง ง. ไต้
๑๔. ก. น้ าอ้อย ข. น้ าส้ม ค. น้ าเชื่อม ง. น้ าอัดลม
๑๕. ก. ลูกอม ข. ยาดอง ค. โซดา ง. น้ าพริ ก
๑๖. ก. ยาง ข. พวงมาลัย ค. หม้อน้ า ง. คนขับ
๑๗. ก. จิ้งจก ข. กิ้งก่า ค. แย้ ง. จระเข้
๑๘. ก. สมุด ข. ปากกา ค. ยางลบ ง. จดหมาย
๑๙. ก. ตะกร้า ข. กระชอน ค. ชะลอม ง. กระเช้า
๒๐. ก. เทศนา ข. โต้วาที ค. อธิบาย ง. บรรยาย
๒๑. ก. ขรุ ขระ ข. กลม ค. กลึง ง. เกลา
๒๒. ก. ชา ข. ปลูก ค. ติดตา ง. ตอน
๒๓. ก. วัว ข. หมู ค. หมี ง. แมว
๒๔. ก. อุ่น ข. เช้า ค. เย็น ง. ร้อน
๒๕. ก. ครู ข. แพทย์ ค. ช่างไม้ ง. ทนายความ
เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม
วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 315
๒๖. ก. มะระ ข. มะดัน ค. มะยม ง. มะขาม
๒๗. ก. ลาพูน ข. หนองคาย ค. เชียงราย ง. ศรี ษะเกษ
๒๘. ก. ชอล์ก ข. ยางลบ ค. ดินสอ ง. ไม้บรรทัด
๒๙. ก. ไหว้ ข. จับมือ ค. กอด ง. นอน
๓๐. ก. เวียนหัว ข. หัวเราะ ค. ปวดหัว ง. หัวเสี ย
๓๑. ก. กด ข. กัด ค. กิน ง. เคี้ยว
๓๒. ก. ลูกสาว ข. ยาย ค. ลุง ง. ป้า
๓๓. ก. หิ้ว ข. หาบ ค. หอบ ง. โหน
๓๔. ก. วงรี ข. สามเหลี่ยม ค. เส้นโค้ง ง. สี่ เหลี่ยม
๓๕. ก. เก้าอี้ ข. โต๊ะ ค. หลอดไฟ ง. เตียง
๓๖. ก. ชมพู่ ข. ราตรี ค. เชาเชา ง. ซ่อนกลิ่น
๓๗. ก. กระท่อม ข. บ้าน ค. เล้า ง. วัง
๓๘. ก. ตะเกียง ข. แก้ว ค. โอ่ง ง. ขัน
๓๙. ก. เสื้ อ ข. เข็มขัด ค. นาฬิกา ง. ปากกา
๔๐. ก. ปูแป้น ข. ปูนา ค. ปูมา้ ง. ปูทะเล
๔๑. ก. เบาะ ข. หมอน ค. ฟูก ง. ที่นอน
๔๒. ก. ช้าง ข. ปลา ค. ลา ง. แมว
๔๓. ก. กิน ข. ดื่ม ค. กลืน ง. วิง่
๔๔. ก. เปรี้ ยว ข. หวาน ค. เค็ม ง. ฉุน
๔๕. ก. แตกกระจาย ข. แตกต่าง ค. แตกแยก ง. แตกหัก
๔๖. ก. ชก ข. ต่อย ค. ตบ ง. เตะ
๔๗. ก. ข้าวเจ้า ข. ข้าวฟ่ าง ค. ข้าวกล้อง ง. ข้าวสาลี
๔๘. ก. ปลากริ ม ข. ปลาจ่อม ค. ปลาเจ่า ง. ปลาส้ม
๔๙. ก. งาม ข. เก่ง ค. สวย ง. หล่อ
๕๐. ก. ครบครัน ข. สมบูรณ์ ค. สุ ขใจ ง. อุดม

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 316

เฉลยแนวข้ อสอบแบบการจาแนกประเภท (แบบไม่ เข้ าพวก)

๑. เฉลยข้อ ค เหตุผล เพราะโครงสร้างข้อตัวเลือกในข้อนี้ เป็ นลักษณะของอาการดีใจ สนุกสนาน


ร่ าเริ ง ส่ วนเศร้า เป็ นอาการที่แตกต่างจากข้ออื่นๆ
๒. เฉลยข้อ ก เหตุผล เสื้ อใช้สวมใส่ ส่ วนข้ออื่นๆ เป็ นอุปกรณ์ที่ใช้ในการนอน
๓. เฉลยข้อ ก เหตุผล ทอดต้องใช้น้ ามันจึงจะสุ ก ส่ วนข้ออื่นๆ ไม่ตอ้ งใช้น้ ามันในการปรุ ง
๔. เฉลยข้อ ค เหตุผล แคนเป็ นเครื่ องดนตรี ประเภทเป่ า ส่ วนข้ออื่นเป็ นเครื่ องดนตรี ประเภทตี
๕. เฉลยข้อ ง เหตุผล ปากเป็ นอวัยวะที่หนึ่งคนมีเพียงหนึ่งอัน ส่ วนอวัยวะข้ออื่นต้องมีเป็ นคู่
๖. เฉลยข้อ ข เหตุผล โครงสร้างของตัวเลือกในข้อนี้คืออาการตกทุกข์ได้ยากทั้งนั้น ส่ วนตกทอด
หมายถึงการรับมอบมรดก
๗. เฉลยข้อ ค เหตุผล สมองเป็ นอวัยวะ แต่ขอ้ อื่นๆ เป็ นระดับของความฉลาด
๘. เฉลยข้อ ง เหตุผล ระนาดไม่มีสายเป็ นส่ วนประกอบเหมือนข้ออื่น
๙. เฉลยข้อ ง เหตุผล เพราะข้ออื่นๆ ใช้เครื่ องมือที่มีคมกระทา ส่ วนทุบไม่ตอ้ งใช้ของมีคม
๑๐. เฉลยข้อ ก เหตุผล ปลาไม่มีขา แต่ขอ้ อื่นๆ มีขา
๑๑. เฉลยข้อ ข เหตุผล เพราะข้ออื่นๆ เป็ นการกระทาที่ลอยอยูใ่ นอากาศ
๑๒. เฉลยข้อ ค เหตุผล จานเป็ นภาชนะใช้ใส่ อาหาร ข้ออื่นใช้คนหรื อตักอาหาร ใส่ อาหารไม่ได้
๑๓. เฉลยข้อ ข เหตุผล ไฟฉายไม่ตอ้ งจุดไฟ ข้ออื่นๆ ต้องจุดไฟเพื่อให้เกิดแสงสว่าง
๑๔. เฉลยข้อ ข เหตุผล เพราะน้ าส้มมีรสเปรี้ ยว แตกต่างจากข้ออื่นนี้ ๆ ที่มีรสหวาน
๑๕. เฉลยข้อ ก เหตุผล ลูกอมเป็ นของเด็กๆ รับประทาน ส่ วนข้ออื่น ๆ เป็ นของผูใ้ หญ่ใช้รับประทาน
๑๖. เฉลยข้อ ง เหตุผล ข้ออื่น ๆ เป็ นอุปกรณ์ในรถยนต์
๑๗. เฉลยข้อ ง เหตุผล จระเข้เป็ นสัตว์ที่ทาอันตรายคนได้ ข้ออื่นไม่มีอนั ตราย
๑๘. เฉลยข้อ ง เหตุผล เพราะข้ออื่นเป็ นอุปกรณ์การเรี ยน จดหมายไม่ใช่อุปกรณ์การเรี ยน
๑๙. เฉลยข้อ ข เหตุผล ข้ออื่นๆ ใช้สาหรับใส่ ของ ส่ วนกระด้งไม่ใช่
๒๐. เฉลยข้อ ข เหตุผล โต้วาทีเป็ นลักษณะพูดโต้ตอบส่ วนข้ออื่นๆ เป็ นลักษณะพูดให้ให้คน
ส่ วนมากฟัง
๒๑. เฉลยข้อ ก เหตุผล เพราะข้ออื่นๆ แสดงถึงความราบเรี ยบ ส่ วนข้อ ก ไม่ใช่
๒๒. เฉลยข้อ ข เหตุผล เพราะข้ออื่นๆ เป็ นชนิดของการขยายพันธุ์พืช ส่ วนข้อ ข ไม่ใช่

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 317
๒๓. เฉลยข้อ ค เหตุผล เพราะหมีเป็ นสัตว์ป่า ส่ วนข้ออื่นๆ เป็ นสัตว์เลี้ยง
๒๔. เฉลยข้อ ข เหตุผล เพราะเช้าเป็ นช่วงเวลาตอนเช้า ส่ วนข้ออื่นๆ เป็ นลักษณะของอากาศ
๒๕. เฉลยข้อ ค เหตุผล ช่างไม้เป็ นอาชีพที่ตอ้ งใช้ฝีมือ ส่ วนอาชีพอื่นใช้ความรู ้เฉพาะด้าน
๒๖. เฉลยข้อ ก เหตุผล มะระมีรสขม ส่ วนข้ออื่นๆ มีรสเปรี้ ยว
๒๗. เฉลยข้อ ก เหตุผล ข้ออื่นๆเป็ นจังหวัดชายแดน แต่ลาพูนไม่ใช่จงั หวัดชายแดน
๒๘. เฉลยข้อ ก เหตุผล ชอล์กไม่ใช่เครื่ องเขียนเหมือนข้ออื่นๆ
๒๙. เฉลยข้อ ง เหตุผล ข้ออื่นๆ เป็ นลักษณะของการแสดงการพบปะกัน แต่การนอนไม่ใช่
๓๐. เฉลยข้อ ข เหตุผล หัวเราะเป็ นอาการแสดงความดีใจ ส่ วนข้ออื่นๆ เป็ นอาการที่แสดงถึง
ความทุกข์ใจ
๓๑. เฉลยข้อ ก เหตุผล เพราะโครงสร้างคือขั้นตอนของการรับประทานอาหาร แต่การกดไม่ใช่
ขั้นตอนของการรับประทานอาหาร
๓๒. เฉลยข้อ ค เหตุผล เพราะโครงสร้างเป็ นเรื่ องเดียวกับเพศหญิง ส่ วนลูกเขยเป็ นผูช้ าย
๓๓. เฉลยข้อ ง เหตุผล เพราะตัวร่ วมของคาในข้อใดคืออาการของอาการขนย้ายสิ่ งของคือหิ้ วของ
หาบของ หอบของ แต่โหนไม่ใช่การกระทาที่เกี่ยวข้องกับสิ่ งของ
๓๔. เฉลยข้อ ค เหตุผล วงรี สามเหลี่ยม สี่ เหลี่ยม เป็ นรู ปทรงที่เป็ นพื้นที่ปิด ส่ วน เส้นโค้ง ยังเป็ น
เพียงเส้น ไม่เป็ นพื้นที่ปิด
๓๕. เฉลยข้อ ค เหตุผล เก้าอี้ โต๊ะ เตียง เป็ นเครื่ องใช้งาน ที่ทางานกับตัวของอุปกรณ์เหล่านั้นเอง
ส่ วน หลอดไฟ นั้น เป็ นอุปกรณ์ที่ช่วยให้มองเห็นสิ่ งอื่น เราไม่ได้ทางานกับหลอดไฟ
โดยตรง
๓๖. เฉลยข้อ ค เหตุผล ชมพู่ ราตรี ซ่อนกลิ่น เป็ นชื่ อพืช ส่ วน เชาเชา เป็ นชื่ อพันธุ์สัตว์ (เชาเชา เป็ น
สายพันธุ์สุนขั ที่มีถิ่นกาเนิดในประเทศจีน เชื่ อกันว่าเป็ นสายพันธุ์ที่เป็ นหนึ่งในต้นแบบ
ของหมาฟู)
๓๗. เฉลยข้อ ค เหตุผล กระท่อม บ้าน เล้า วัง ทั้งหมด เป็ นที่อยูอ่ าศัย กระท่อม บ้าน วัง เป็ นที่อยู่
ของคน ส่ วน “เล้า” เป็ นที่อยูข่ องสัตว์
๓๘. เฉลยข้อ ก เหตุผล แก้ว โอ่ง ขัน ขวด เป็ นภาชนะที่เราใช้บรรจุส่ิ งของได้โดยเฉพาะน้ า ส่ วน
ตะเกียงนั้นเป็ นอุปกรณ์ที่ช่วยให้มองเห็นสิ่ งอื่น บรรจุสิ่งของไม่ได้
๓๙. เฉลยข้อ ง เหตุผล เสื้ อ เข็มขัด นาฬิกา เป็ นของใช้ที่คนสวมใส่ กบั ร่ างกาย ส่ วนปากกาเป็ นของ
ใช้ที่คนไม่ตอ้ งสวมใส่ กบั ร่ างกาย
๔๐. เฉลยข้อ ข เหตุผล ปูแป้ น ปูมา้ ปูทะเล เป็ นสัตว์น้ าเค็ม ส่ วน ปูนา เป็ นสัตว์น้ าจืด

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 318
๔๑. เฉลยข้อ ข เหตุผล เบาะ ฟูก ที่นอน เป็ นเครื่ องใช้สาหรับนอน โดยรองรับได้ทุกส่ วนของร่ างกาย
ส่ วนหมอนรองรับได้เฉพาะศีรษะ
๔๒. เฉลยข้อ ข เหตุผล ช้าง ลา แมว เป็ นสัตว์บก ส่ วน ปลา เป็ นสัตว์น้ า
๔๓. เฉลยข้อ ง เหตุผล กิน ดื่ม กลืน เป็ นกริ ยาที่นาอาหารเข้าไปในร่ างกาย ส่ วน วิง่ เป็ นกริ ยาในการ
เคลื่อนไหว
๔๔. เฉลยข้อ ง เหตุผล เปรี้ ยว หวาน เค็ม ฉุ น เป็ นคาศัพท์ที่เกี่ยวกับอาหาร เปรี้ ยว หวาน มัน เค็ม
เป็ นการรับรู ้รสของอาหารโดยลิ้น ส่ วน ฉุ น เป็ นการรับรู ้กลิ่นของอาหารโดยจมูก
๔๕. เฉลยข้อ ข เหตุผล โจทย์ขอ้ นี้น่าสนใจ เราต้องมาดูความหมายของคาต่างๆ ก่อน
คาว่า “แตก” พจนานุกรมให้ความหมายไว้ดงั นี้
แตก ก. แยกออกจากส่ วนรวม เช่น แก้วแตก ชามแตก,
ทาให้แยกออกจากส่ วนรวม เช่น แตกสามัคคี แตกหมู่คณะ;
คุมหรื อควบคุมไว้ไม่อยู่ เช่น แตกฝูง ไฟธาตุแตก ใจแตก ตบะแตก;
ปะทุ เช่น ถ่านแตก; ผลิ เช่น แตกกิ่งก้าน แตกใบอ่อน แตกหน่อ;
ไหลออกมาเอง เช่น เหงื่อแตก เยีย่ วแตก ขี้แตก;
มีรอยแยก, แยกออกเป็ นรอย, เช่น กาแพงแตก หน้าขนมแตก;
ความหมายของคาตอบในตัวเลือก
-แตกกระจาย ไม่มีความหมายในพจนานุกรม
-แตกต่าง ก. ไม่เหมือนกัน, ผิดกัน.
-แตกแยก ก. แตกสามัคคี.
-แตกหัก ว. เด็ดขาดถึงที่สุดไม่ขา้ งใดก็ขา้ งหนึ่งเป็ นได้รู้ดีกนั เช่น รบขั้น
แตกหัก เจรจาขั้นแตกหัก,ฉาดฉานถึงที่สุดไม่มีอะไรคลุมเครื อ เช่น พูดแตกหัก.
จะเห็นได้วา่ แตกกระจาย แตกแยก แตกหัก ยังมีความหมายหลักๆ ในคาว่า “แตก” แยก
ออกจากส่ วนรวม ส่ วน แตกต่าง ก. ไม่เหมือนกัน, ผิดกัน.นั้น ความหมายไม่
เหมือนกับอีก ๓ คาข้างต้น
๔๖. เฉลยข้อ ง เหตุผล ชก ต่อย ตบ เป็ นกิริยาอาการที่ใช้มือกระทา ส่ วน เตะ ต้องใช้เท้ากระทา
๔๗. เฉลยข้อ ค เหตุผล ข้าวเจ้า ข้าวฟ่ าง ข้าวสาลี เป็ นชื่อของข้าวชนิดต่างๆ ส่ วน ข้าวกล้อง
พจนานุกรมให้ความหมายไว้ ดังนี้ น. ข้าวที่สีเอาเปลือกออกโดยยังมีจมูกข้าวและเยือ่
หุ ม้ เมล็ดข้าวอยู,่ เดิมใช้วธิ ี ใส่ ครกตา เรี ยกว่า ข้าวซ้อม หรื อ ข้าวซ้อมมือ.
จะเห็นว่า ข้าวกล้องนั้น เป็ นผลิตภัณฑ์ที่ได้มาจากข้าวอีกทีหนึ่ง

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 319
๔๘. เฉลยข้อ ก เหตุผล ปลาจ่อม ปลาเจ่า ปลาส้ม เป็ นชื่ออาหารที่ทาจากปลา ส่ วน ปลากริ ม เป็ นชื่ อ
ของขนม
๔๙. เฉลยข้อ ข เหตุผล งาม สวย หล่อ เป็ นคาวิเศษณ์ที่บรรยายในด้านร่ างกาย ส่ วน เก่ง พจนานุกรม
ให้ความหมายไว้ ดังนี้ ว. สามารถในทางใดทางหนึ่ง เช่น เก่งคานวณ เรี ยนเก่ง, เป็ น
เช่นนั้นบ่อย ๆ, มักเป็ นเช่นนั้น, เช่น เป็ นหวัดเก่ง หลับเก่งลืมเก่ง.
๕๐. เฉลยข้อ ค เหตุผล ครบครัน สมบูรณ์ อุดม เป็ นคาวิเศษณ์ที่ใช้บรรยายลักษณะทางกายภาพ
ส่ วน สุ ขใจเป็ นคาที่บรรยายถึงสภาวะทางจิตใจว่า กาลังมีความสุ ข

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 320

แนวข้ อสอบแบบการจาแนกประเภท (แบบเข้ าพวก)

๑. ส่ ง คืน ให้
ก. รับ ข. เอา ค. เก็บ ง. มอบ
๒. วิง่ กระโดด ว่ายน้ า
ก. เดินทน ข. ชักเย่อ ค. มวย ง. ยูโด
๓. ทึบ อึดอัด มืดมัว
ก. ก้าวร้าว ข. ร้อน ค. ระอุ ง. อบอ้าว
๔. ซอ จะเข้ ขิม
ก. กลอง ข. แตร ค. ฆ้อง ง. ไวโอลิน
๕. เชียงใหม่ เชียงราย ลาพูน
ก. แม่ฮ่องสอน ข. ราชบุรี ค. เลย ง. ระนอง
๖. หนอง บึง บ่อ
ก. ทะเล ข. สระ ค. ลาธาร ง. น้ าตก
๗. ดัน ยก ถือ
ก. กด ข. วาง ค. อัด ง. หิ้ว
๘. พ่อ ตา พระ
ก. น้า ข. แม่ ค. เณร ง. ชี
๙. กัด แทะ เคี้ยว
ก. กลืน ข. คาย ค. ชิม ง. ขบ
๑๐. ช้าง ม้า วัว
ก. แพะ ข. แกะ ค. ควาย ง. เสื อ
๑๑. ถ้วย จาน ชาม
ก. กระทะ ข. ช้อนส้อม ค. ตะหลิว ง. ขันน้ า
๑๒. โลด โผน โจน
ก. ผ่าน ข. เลื่อน ค. เผ่น ง. กระโดด
๑๓. บังคับ คุกคาม ขู่เข็ญ
ก. เข้มงวด ข. บีบคั้น ค. ระงับ ง. รัดกุม

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 321
๑๔. หนาว เย็น ร้อน
ก. ทุกข์ ข. อุ่น ค. ซีด ง. รู ้สึก
๑๕. นก เป็ ด ไก่
ก. กระรอก ข. ค้างคาว ค. แมวน้ า ง. หงส์
๑๖. แป้ ง ครี มรองพื้น ลิปสติก
ก. หมวก ข. กาไล ค. ครี มกันแดด ง. ขนตาปลอม
๑๗. กบ เขียด อึ่งอ่าง
ก. แย้ ข. เต่า ค. จระเข้ ง. คางคก
๑๘. มะลิ กุหลาบ ซ่อนกลิ่น
ก. เฟื่ องฟ้า ข. ราตรี ค. ดอกรัก ง. บานไม่รู้โรย
๑๙. พระราม พิเภก หนุมาน
ก. พระลักษณ์ ข. ทศกัณฑ์ ค. นางสี ดา ง. นางบุษบา
๒๐. กางเกง เข็มขัด รองเท้า
ก. หวี ข. กระดุม ค. เสื้ อ ง. กระเป๋ า
๒๑. กัลยา กานดา บังอร
ก. อมรา ข. มารศรี ค. โกสุ ม ง. เดือนเต็ม
๒๒. พม่า ไทย มาเลเซี ย
ก. จีน ข. ลาว ค. เกาหลีใต้ ง. ฝรั่งเศส
๒๓. ผอม เตี้ย อวบ
ก. ดา ข. สวย ค. สาว ง. ล่า
๒๔. กาฬโรค อีสุกอีใส ไข้หวัดใหญ่
ก. ปอดบวม ข. ตับแข็ง ค. โรคเอดส์ ง. ลาไส้อกั เสบ
๒๕. องุ่น เงาะ ลาไย
ก. แตงโม ข. มะม่วง ค. ลองกอง ง. ขนุน
๒๖. เมตร ฟุต ศอก
ก. ลิตร ข. เกวียน ค. ไมล์ ง. กรัม
๒๗. ครู ตารวจ ทหาร
ก. นักข่าว ข. ผูใ้ หญ่บา้ น ค. ดารา ง. นักมวย

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 322
๒๘. ปลา กุง้ ปู
ก. หมู ข. นก ค. วัว ง. หอย
๒๙. มือ หู ขา
ก. ผม ข. ตา ค. หัวใจ ง. จมูก
๓๐. รส กลิ่น เสี ยง
ก. ปาก ข. รู ป ค. หู ง. มอง

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 323

เฉลยแนวข้ อสอบแบบการจาแนกประเภท (แบบเข้ าพวก)

๑. เฉลยข้อ ง. เหตุผล คาของโจทย์ ๓ คา คือ ส่ ง คืน ให้ เป็ นคากริ ยาทั้งหมด อาการก็เป็ นการยืน่
สิ่ งของจากตัวเรา ไปให้อีกคนหนึ่ง ในคาตอบข้อ ก. – ค. รับ เอา เก็บ เป็ นคากริ ยานา
สิ่ งของเข้ามาหาตัวเรา ดั้งนั้น คาตอบที่ถูกต้องคือ ข้อ จ. มอบ
๒. เฉลยข้อ ก. เหตุผล คาของโจทย์ ๓ คา คือ วิง่ กระโดด ว่ายน้ า เป็ นชนิดของกีฬาที่แข่งโดยตัวของ
นักกีฬาเองโดยไม่มีฝ่ายตรงกันข้าม ต่างคนก็ต่างแข่งเพื่อสถิติของตัวเอง ในคาตอบข้อ
ข. – ง. ชักเย่อ มวย ยูโด เป็ นกีฬาที่ตอ้ งมีคู่ต่อสู ้ ดั้งนั้น คาตอบที่ถูกต้องคือ ข้อ ก. เดินทน
๓. เฉลยข้อ ง. เหตุผล คาของโจทย์ ๓ คา คือ ทึบ อึดอัด มืดมัว เป็ นการบรรยายสภาพของอากาศ ที่ไม่
โปร่ ง มีแสงสว่างน้อย คาตอบข้อ ก. ก้าวร้าว เป็ นการบรรยายสภาพเกี่ยวกับมนุษย์ จึงไม่
ถูกแน่นอน คาตอบข้อ ค. ระอุ พจนานุกรมให้ความหมายว่า ว. ร้อนมาก ในความว่า
อากาศร้อนระอุ แผ่นดินร้อนระอุ; สุ กทัว่ เช่นข้าวระอุ. ดังนั้น ข้อ ข. ร้อน ก็ตอ้ งผิดไป
ด้วย [คาตอบที่ถูกต้องต้องมีคาตอบเดียว ดังนั้น ถ้าข้อ ค. ถูกได้ ข้อ ข. ก็ตอ้ งถูกได้
เช่นเดียวกัน] คาตอบที่ถูกต้องคือ ข้อ ง. อบอ้าว
๔. เฉลยข้อ ง. เหตุผล ข้อสอบข้อนี้ ต้องวิเคราะห์ให้ดี คือ ถ้าวิเคราะห์วา่ คาของโจทย์ ซอ จะเข้ ขิม
ทั้งหมดเป็ นเครื่ องดนตรี ไทย การหาคาตอบก็จะยุง่ ยากในโจทย์ขอ้ นี้ ซอ จะเข้ ขิม ถ้า
วิเคราะห์วา่ เป็ นเครื่ องสาย คาตอบที่ถูกต้องก็คือ ข้อ ง. ไวโอลิน
๕. เฉลยข้อ ก. เหตุผล คาของโจทย์ ๓ คา คือ เชียงใหม่ เชียงราย ลาพูน เป็ นจังหวัดในเขตภาคเหนือ
คาตอบที่ถูกต้องจึงเป็ นข้อ ก. แม่ฮ่องสอน
๖. เฉลยข้อ ข. เหตุผล คาของโจทย์ ๓ คา คือ หนอง บึง บ่อ ทั้งหมดเป็ นแหล่งน้ าจืด ที่ไม่ติดต่อกับ
แหล่งน้ าอื่น อยูเ่ ป็ นเอกเทศ ตัวเลือกของคาตอบ ทะเล ลาธาร น้ าตก เป็ นแหล่งน้ าที่
ติดต่อกับแหล่งน้ าอื่น ดังนั้น คาตอบที่ถูกต้องคือ ข้อ ข. สระ
๗. เฉลยข้อ ง. เหตุผล คาของโจทย์ ๓ คา คือ ดัน ยก ถือ เป็ นคากริ ยาที่นาพาสิ่ งของไปด้วยกับเรา
ตัวเลือกของคาตอบ กด วาง อัด เป็ นคากริ ยาที่ไม่พาสิ่ งของไปด้วยกับเรา
ดังนั้น คาตอบที่ถูกต้องคือ ข้อ ง. หิ้ว
๘. เฉลยข้อ ค. เหตุผล คาของโจทย์ ๓ คา คือ พ่อ ตา พระ ทั้งหมดเป็ นเพศชาย ตัวเลือกของคาตอบ
น้า แม่ ชี เป็ นเพศหญิงทั้งหมด ดังนั้น คาตอบที่ถูกต้องคือ ข้อ ค. เณร

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 324
๙. เฉลยข้อ ง. เหตุผล ในโจทย์ขอ้ นี้ กัด แทะ เคี้ยว เป็ นกริ ยาในการรับประทานอาหารที่ใช้ฟัน
คาตอบที่ถูกต้องก็คือ ข้อ ง. ขบ
๑๐. เฉลยข้อ ค. เหตุผล คาตอบข้อนี้ เป็ นสานวนที่ใช้กนั เป็ นประจา สามารถอ่านพบได้เป็ นประจา
เพราะเป็ นสัตว์เลี้ยงในการใช้งานของคนไทย คือ ช้าง ม้า วัว ควาย
คาตอบที่ถูกต้องจึงเป็ นข้อ ค. ควาย
บางท่านอาจจะสงสัยว่าข้อ ก. แพะ กับ ข้อ ข. แกะ อาจจะถูก ตรงนี้มีเหตุผล ๒ ประการ
คือ ๑) คาตอบที่ถูกต้องต้องมีคาตอบเดียว ดังนั้น ถ้าข้อ ก. ถูกได้ ข้อ ข. ก็ตอ้ งถูกได้
เช่นเดียวกัน
๒) แพะ กับ แกะ ส่ วนใหญ่เลี้ยงเพื่อเอานม เนื้ อ และหนัง ไม่ใช่เลี้ยงเพื่อใช้งาน
๑๑. เฉลยข้อ ข. เหตุผล คาของโจทย์ ๓ คา คือ ถ้วย จาน ชาม ทั้งหมดเป็ นภาชนะในการ
รับประทานอาหาร เช่นเดียวกับช้อนส้อม ส่ วนตัวเลือกของคาตอบ กระทะ ตะหลิว และ
ขันน้ า เป็ นภาชนะที่ไม่ได้อยูใ่ นขณะรับประทานอาหาร
๑๒. เฉลยข้อ ง. เหตุผล คาของโจทย์ ๓ คา คือ โลด โผน โจน เป็ นคากริ ยาที่ลอยตัวออกจากพื้นไป
ตัวเลือกของคาตอบ ผ่าน เลื่อน ไม่ถูกแน่ๆ เหลือคาให้เลือกคือ “เผ่น” กับ “กระโดด”
เราต้องมาดูความหมายจากพจนานุกรม
คาว่า “โลด” คาเดียวไม่มีในพจนานุกรม มีคาที่เกี่ยวข้อง ๒ คา คือ
-โลดเต้น ก. อาการที่กระโดดขึ้นลงหลายครั้งหลายหนเพราะความดีอก ดีใจเป็ นต้น, มัก
ใช้เข้าคู่กบั คา กระโดด เป็ น กระโดดโลดเต้น.
-โลดโผน ว. แปลกผิดธรรมดา เช่น สานวนโลดโผน, ผาดโผนน่าหวาดเสี ยวต่อ
อันตราย เช่น ขับรถโลดโผน, บางทีก็ใช้เข้าคู่กบั คา โจนทะยานเป็ น โลดโผนโจน
ทะยาน หมายความว่า ผาดแผลงอย่างน่าหวาดเสี ยวต่ออันตราย เช่น เด็กซน ๆ ชอบเล่น
โลดโผนโจนทะยาน.
-โผน ก. ทาให้ตวั โลดลอยออกไป, อาการที่กระโดดเข้าไปทันที.
-โจน ก. กระโดดพุง่ ไปโดยเร็ ว เช่น โจนน้ า, เผ่นข้ามไป เช่น โจนท้องร่ อง,
กระโจน ก็วา่ , โดยปริ ยายหมายถึงอาการคล้ายคลึงเช่นนั้น เช่นน้ าโจน.
-เผ่น ก. อาการที่กระโดดโจนไปโดยไม่ร้ ังรอ.
-กระโดด ก. ใช้กาลังเท้าถีบพื้นให้ตวั ลอยสู งขึ้น, โดด ก็วา่ , โดยปริ ยายหมายถึงอาการที่
คล้ายคลึงเช่นนั้น เช่น ปลากระโดด ตัวพิมพ์กระโดด.
ดังนั้น คาตอบที่ถูกต้องควรเป็ นข้อ ง. กระโดด

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 325
๑๓. เฉลยข้อ ข. เหตุผล คาของโจทย์ ๓ คา คือ บังคับ คุกคาม ขูเ่ ข็ญ เป็ นคากริ ยาที่คนๆ หนึ่งแสดง
อานาจต่อคนอีกคนหนึ่งเช่นเดียวกับคาว่า ซึ่งตัวเลือกที่มีความหมายและลักษณะ
ใกล้เคียงที่สุดคือ คาว่า บีบคั้น ซึ่งหมายถึงการบีบบังคับให้ได้รับความลาบาก. ส่ วนตัว
เลือกอื่นๆ ไม่ใช่คากริ ยาที่คนๆ หนึ่งแสดงอานาจต่อคนอีกคนหนึ่ง
๑๔. เฉลยข้อ ข. เหตุผล คาของโจทย์ ๓ คา คือ หนาว เย็น ร้อน ทั้งหมดเป็ นการบอกสภาพของอากาศ
ว่าเป็ นอย่างไร โดยไม่มีความรู ้สึกของคนมาเกี่ยวข้อง ตัวเลือกของคาตอบ ทุกข์ ซีด
รู ้สึก และ สบาย เป็ นคาที่บ่งบอกความรู ้สึกนึกคิดอยูด่ ว้ ย
ดังนั้น คาตอบที่ถูกต้องจึงเป็ นข้อ ข. อุ่น
๑๕. เฉลยข้อ ง. เหตุผล คาของโจทย์ ๓ คา คือ นก เป็ ด ไก่ ทั้งหมดเป็ นสัตว์ปีก
ตัวเลือกของคาตอบ “กระรอก” กับ “แมวน้ า” เป็ นคาตอบที่ไม่ถูกแน่นอน เหลือให้เลือก
๒ คา คือ ค้างคาว หงส์
เราต้องมาดูความหมายจากพจนานุกรม
-ค้างคาว น. ชื่ อสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมหลายชนิดและหลายวงศ์ ลาตัวมีขนปุยปี กเป็ นแผ่น
หนังขนาดใหญ่ เวลาเกาะจะห้อยหัวลง หากินในเวลากลางคืน เช่น ค้างคาวแม่ไก่ป่าฝน
(Pteropus vampyrus) ในวงศ์Pteropodidae, ค้างคาวลูกหนูบา้ น (Pipistrellus javanicus)
ในวงศ์Vespertilionidae.
-หงส์ น. ชื่อนกจาพวกเป็ ดในวงศ์ Anatidae ลาตัวใหญ่ คอยาว มีหลายชนิดเช่น
หงส์ขาว (Cygnus olor) หงส์ดา (C. atratus).
ดังนั้น คาตอบที่ถูกต้องจึงเป็ นข้อ ง. หงส์
๑๖. เฉลยข้อ ค. เหตุผล คาของโจทย์ ๓ คา แป้ง ครี มรองพื้น ลิปสติก เป็ นเครื่ องสาอาง เช่นเดียวกับ
ครี มกันแดด
๑๗. เฉลยข้อ ง. เหตุผล คาของโจทย์ ๓ คา กบ เขียด อึ่งอ่าง เป็ นสัตว์ครึ่ งบกครึ่ งน้ าที่วางไข่ในน้ า
เช่นเดียวกับ คางคก
๑๘. เฉลยข้อ ข. เหตุผล คาของโจทย์ ๓ คา มะลิ กุหลาบ ซ่อนกลิ่น เป็ นดอกไม้ที่มีกลิ่นเช่นเดียวกับ
ราตรี
๑๙. เฉลยข้อ ก. เหตุผล คาของโจทย์ ๓ คา พระราม พิเภก หนุมาน เป็ นตัวละครเพศชายในวรรณคดี
เรื่ องรามเกียรติ์เช่นเดียวกับพระลักษณ์
๒๐. เฉลยข้อ ค. เหตุผล คาของโจทย์ ๓ คา กางเกง เข็มขัด รองเท้า เป็ นเครื่ องแต่งกายเช่นเดียวกับเสื้ อ

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 326
๒๑. เฉลยข้อ ข. เหตุผล คาของโจทย์ ๓ คา กัลยา กานดา บังอร มีความหมายเหมือนกันคือ ผูห้ ญิง
เช่นเดียวกับมารศรี
๒๒. เฉลยข้อ ข.เหตุผล คาของโจทย์ ๓ คา พม่า ไทย มาเลเซี ย เป็ นประเทศที่อยูใ่ นเอเชียตะวันออก-
เฉี ยงใต้เช่นเดียวกับประเทศลาว
๒๓. เฉลยข้อ ง. เหตุผล คาของโจทย์ ๓ คาผอม เตี้ย อวบ เป็ นคาที่บ่งบอกเกี่ยวกับลักษณะรู ปร่ าง
เช่นเดียวกับ ล่า
๒๔. เฉลยข้อ ค. เหตุผล คาของโจทย์ ๓ คา กาฬโรค อีสุกอีใส ไข้หวัดใหญ่ เป็ นโรคติดต่อเช่นเดียวกับ
โรคเอดส์
๒๕. เฉลยข้อ ค. เหตุผล คาของโจทย์ ๓ คา องุ่น เงาะ ลาไย เป็ นผลไม้ที่มีผลลักษณะเป็ นพวง
เช่นเดียวกับลองกอง
๒๖. เฉลยข้อ ค. เหตุผล คาของโจทย์ ๓ คา เมตร ฟุต ศอก เป็ นหน่วยวัดระยะทางเช่นเดียวกับไมล์
๒๗. เฉลยข้อ ข. เหตุผล คาของโจทย์ ๓ คา ครู ตารวจ ทหาร เป็ นอาชีพรับราชการเช่นเดียวกับ
ผูใ้ หญ่บา้ น
๒๘. เฉลยข้อ ง. เหตุผล คาของโจทย์ ๓ คา ปลา กุง้ ปู เป็ นสัตว์น้ าที่สามารถรับประทานได้
เช่นเดียวกับหอย
๒๙. เฉลยข้อ ข. เหตุผล คาของโจทย์ ๓ คา มือ หู ขา เป็ นอวัยวะของมนุษย์ที่มีสองข้างเช่นเดียวกับตา
๓๐. เฉลยข้อ ข. เหตุผล คาของโจทย์ ๓ คา รส กลิ่น เสี ยง เป็ นสิ่ งที่เรารับรู ้จากประสาทสัมผัส
เช่นเดียวกับรู ป

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 327

ความรู้ความสามารถทั่วไปด้ าน ภาษาไทย

สรุ ปเนื้อหา

๑. โครงสร้างของพยางค์ มีองค์ประกอบดังต่อไปนี้ (เปล่งเสี ยง ๑ ครั้งก็คือ ๑ พยางค์)


๑. พยัญชนะต้น
๒. สระ ทุกพยางค์จาเป็ นต้องมีเสมอ
๓. วรรณยุกต์
๔. พยัญชนะท้าย (ตัวสะกด) บางพยางค์ไม่จาเป็ นต้องมีก็ได้
จากจุดนี้ จึงเป็ นตัวตัดสิ นว่าโครงสร้างพยางค์ของใครเหมือน/ต่างเป็ นอันดับแรก

๒. โครงสร้างของแต่ละพยางค์ ต้องมีท้ งั รู ป และ เสี ยง


๑. พยัญชนะต้น รู ป ๔๔ เสี ยง ๒๑
๒. สระ รู ป ๒๑ เสี ยง ๒๑
๓. วรรณยุกต์ รู ป ๔ เสี ยง ๕
๔. พยัญชนะท้าย รู ป ๓๗ เสี ยง ๘

๓. ถอดพยางค์ "ทรุ ด"


๑. พยัญชนะต้น รู ป ทร เสี ยง /ซ/
๒. สระ รู ป ตีนเหยืยด เสี ยง อุ (สั้น)
๓. วรรณยุกต์ รู ป -(สามัญ) เสี ยง ตรี
๔. พยัญชนะท้าย รู ป ด เสี ยง /ต/

๔. ถอดพยางค์ "หมอบ"
๑. พยัญชนะต้น รู ป หม เสี ยง /ม/
๒. สระ รู ป ตัวออ เสี ยง ออ (ยาว)
๓. วรรณยุกต์ รู ป -(สามัญ) เสี ยง เอก
๔. พยัญชนะท้าย รู ป บ เสี ยง /ป/

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 328
๕. พยัญชนะต้น มี ๔๔ รู ป (ก ถึง ฮ) แบ่งเป็ นอักษร ๓ หมู่ เรี ยกว่า อักษรไตรยางศ์
อักษรกลาง ท่องว่า ไก่ จิก เด็ก ตาย บน ปาก อ่าว
อักษรสู ง ท่องว่า ผัว ฝาก ถุง ข้าว สาร ให้ ฉัน
อักษรต่าคู่ ท่องว่า พ่อ ค้า ฟัน ทอง ซื้ อ ช้าง ฮ่อ
อักษรต่าเดียว ท่องว่า งู ใหญ่ นอน อยู่ ณ ริ ม วัด โม ฬี โลก
* ที่เรี ยกว่า ต่าคู่ เพราะมีเสี ยงคู่กบั อักษรสู ง แม้วา่ หน้าตาจะไม่เหมือนกัน
๖. พยัญชนะต้นมี ๒๑ เสี ยง จากตัวรู ป ๔๔ รู ป เหลือ ๒๑ เสี ยง เพราะบางรู ปมีเสี ยงซ้ ากัน
๑. รู ปพยัญชนะ ก จะเป็ นเสี ยง /ก/
๒. พยัญชนะ ข ฃ ค ฅ ฆ จะเป็ นเสี ยง /ค/=/ข/ /ฃ/ /ฅ/ /ฆ/
๓. รู ปพยัญชนะ ง จะเป็ นเสี ยง /ง/
๔. รู ปพยัญชนะ จ จะเป็ นเสี ยง /จ/
๕. รู ปพยัญชนะ ช ฌ ฉ จะเป็ นเสี ยง /ช/
๖. รู ปพยัญชนะ ซ ส ศ ษ จะเป็ นเสี ยง /ซ/
๗. รู ปพยัญชนะ ย ญ จะเป็ นเสี ยง /ย/
๘. รู ปพยัญชนะ ด ฎ ฑ จะเป็ นเสี ยง /ด/ *ระวัง เสี ยงนี้ในพยัญชนะท้ายไม่มี
แล้ว แม่กด = /ต/
๙. รู ปพยัญชนะ ต ฏ จะเป็ นเสี ยง /ต/
๑๐. รู ปพยัญชนะ ท ถ ธ ฑ ฒ ฐ จะเป็ นเสี ยง /ท/
๑๑. รู ปพยัญชนะ น ณ จะเป็ นเสี ยง /น/
๑๒. รู ปพยัญชนะ บ จะเป็ นเสี ยง /บ/ *ระวัง เสี ยงนี้ในพยัญชนะท้ายไม่มี
แล้ว แม่กบ = /ป/
๑๓. รู ปพยัญชนะ ป จะเป็ นเสี ยง /ป/
๑๔. รู ปพยัญชนะ พ ผ ภ จะเป็ นเสี ยง /พ/
๑๕. รู ปพยัญชนะ ฟ ฝ จะเป็ นเสี ยง /ฟ/
๑๖. รู ปพยัญชนะ ม จะเป็ นเสี ยง /ม/
๑๗. รู ปพยัญชนะ ร (ฤ) จะเป็ นเสี ยง /ร/
๑๘. รู ปพยัญชนะ ล ฬ (ฦ) จะเป็ นเสี ยง /ล/
๑๙. รู ปพยัญชนะ ว จะเป็ นเสี ยง /ว/
๒๐. รู ปพยัญชนะ อ จะเป็ นเสี ยง /อ/
๒๑. รู ปพยัญชนะ ฮ ห จะเป็ นเสี ยง /ฮ/

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 329
๗. เสี ยงพยัญชนะต้นควบกล้ า (เสี ยงพยัญชนะประสม, เสี ยงพยัญชนะต้น ๒ หน่วยเสี ยง) ท่องว่า
ก่อนค่าไปพบเตี่ย (ก ค ป พ ต) คูณด้วย ร ล ว
กร คร ปร พร ตร
กล คล ปล พล ? ทั้งหมด 11 เสี ยง เป็ น ของไทย
กว คว ? ? ?
หมายเหตุ คร = ขร คล = ขล คว = ขว พล = ผล
หมายเหตุ เสี ยงควบกล้ าที่มาจากภาษาอังกฤษ /ดร/ /ฟร/ /ฟล/ /บร/ /บล/

๘. เสี ยงพยัญชนะต้นควบกล้ าไม่แท้ มี ๒ Version


๘.๑ ไม่ออกเสี ยง ร คือ ตัวหน้าออกเสี ยง (ร ไม่ออกเสี ยง) จริ ง ไซร้ ศรี สร้อย สร้าง สระ
๘.๒ "ทร" เปลี่ยนเสี ยงเป็ น ซ
ทรวดทรงทราบทรามทราย ทรุ ดโทรมหมายนกอินทรี
มัทรี อินทรี ยม์ ี เทริ ดนนทรี พุทราเพรา
ทรวงไทรทรัพย์แทรกวัด โทรมนัสฉะเชิงเทรา
ตัว "ทร" เหล่านี้เรา ออกสาเนียงเป็ นเสี ยง "ซ"
แต่ "ทร" ควบกล้ าแท้ก็มี แต่มาจากภาษาสันสกฤต จันทรา นิทรา อินทรา ภัทรา อิทรวิเชียรฉันท์

๙. อักษรนา มี ๒ Version (เอกลักษณ์อกั ษรนา เวลาอ่านจะมีเสี ยง "ห" นา)


๙.๑ อ่าน ๒ พยางค์ ท่องว่า สู งหรื อกลาง นา หน้า ต่าเดี่ยว ใช้สระตัวเดียวกัน
(ทั้งคา มีสระ ๑ ตัว)
- พยางค์หน้าออกเสี ยง "อะ" พยางค์หลังออกเสี ยง "ห" นา
- ผงก สนิม สยาย ตลาด ขนม สมัน
๙.๒ อ่าน ๑ พยางค์ ท่องว่า "ห" นา ต่าเดี่ยว หรื อ "อ" นา "ย"
- หนอน หมอน หน่อย อย่า อยู่ อย่าง อยาก

๑๐. ภาษาไทยเรามีรูปพยัญชนะบางรู ปไม่ออกเสี ยง เช่น องค์ พรหม ปรารถนา สามารถ พุทธ


พราหมณ์ เนตร จักร หลาก หมา สรวล สรวง เสร็ จ โทรม ทราบ หนอน สร้อย ทรง ลักษณ์
ลักษมณ์ ฯลฯ

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 330
๑๑. สระ มี ๒๑ รู ป ๒๑ เสี ยง
๑. วิสรรชนีย ์ อะ ๑๒. ! ฟันหนู "
๒. ลากข้าง อา ๑๓. ไม้ไต่คู ้ อ็ คา ว่า "ก็" เสี ยงสระเอาะ
๓. พินทุอ์ ิ อิ ๑๔. ไม้หนั อากาศ อั
๔. หยาดน้ าค้าง อ ๑๕. ตัวรึ ฤ ยืมมาจาก สันสกฤต
๕. ตีนเหยียด อุ ๑๖. ตัวรื อ ฤา ยืมมาจาก สันสกฤต
๖. ต้นคู อู ๑๗. ตัวลึ ฦ ยืมมาจาก สันสกฤต
๗. ไม้หน้า เ ๑๘. ตัวลือ ฦา ยืมมาจาก สันสกฤต
๘. ไม้โอ โ ๑๙. ตัวออ อ เป็ นสระ ก็ได้แฮะ!
๙. ไม้มลาย ไ ๒๐. ตัววอ ว เป็ นสระ ก็ได้แฮะ!
๑๐. ไม้มว้ น ใ ๒๑. ตัวยอ ย เป็ นสระ ก็ได้แฮะ!
๑๑. ฝนทอง อ,
๑๒. เสี ยงสระมี ๒๑ เสี ยง มี ๒ Version
๑. สระเดี่ยว (สระแท้) 18 เสี ยง อะ อา อิ อี อึ อือ อุ อู เอะ เอ แอะ แอ โอะ โอ เอาะ ออ เออะ เออ =
คู่สระ
๒. สระประสม (สระเลื่อน) 3 เสี ยง เอีย อัว เอือ ท่องว่า เมียกลัวเรื อ
สระประสมตัวมันเองจะไม่มีตวั สะกด แต่ถา้ ต้องการเติมสามารถทาได้ภายหลัง
ลาย เมีย เมียง
ลาว กลัว กล้วย
อ่าว เรื อ เรื อน
๑๓. ๘ พยางค์ทอง อา ไอ ใอ เอา ฤ ฤา ฦ ฦา = ไม่ใช้สระเกิน
อา = อ + อะ + ม
ไอ = อ + อะ + ย เป็ นพยางค์ที่มีตวั สะกดแม้จะมองไม่เห็น
ใอ = อ + อะ + ย
เอา = อ + อะ + ว
ฤ = อ + อึ
ฤา = อ + อื เป็ นพยางค์ที่ไม่มีตวั สะกด
ฦ = อ + อึ
ฦา = อ + อื

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 331
๑๔. ระวังมีหลักอยูข่ อ้ หนึ่ง คือ ภาษาไทยสามารถออกเสี ยงสระไม่ตรงกับรู ป คือ ปกติรูปยาวออกเสี ยง
ยาว รู ปสั้นออกเสี ยงสั้น แต่บางคา แต่บางคา ออกเสี ยงไม่ตรงกับรู ปหลักการทา ข้อสอบ คือ ออก
เสี ยงคู่สระของมัน ว่าตรงกับชีวติ จริ งไหม?
ว่าว รู ปยาว แต่ออกเสี ยง สั้น (อะ)
อิเหนา รู ปสั้น แต่ออกเสี ยง ยาว (อี)
คลินิก รู ปสั้น แต่ออกเสี ยง ยาว (อี)
คอมพิวเตอร์ รู ปยาว แต่ออกเสี ยง สั้น (เอาะ)

๑๕. รู ปสระบางรู ปไม่ออกเสี ยง เช่น ยาธาตุ นัง่ ขัดสมาธิ พยาธิ ญาติ ประวัติ เมรุ มาตุ ฯลฯ

๑๖. สระลดรู ป คือ มองไม่เห็นรู ปสระเดิม หรื ออาจเปลี่ยนรู ปเป็ นสระอื่นได้ เพราะมันมีตวั สะกด เช่น
กัน ศร เป็ น ชน เชิง เลย สงน ฯลฯ

๑๗. เปลี่ยนเสี ยงคู่สระสั้น-ยาว จะมีผลต่อความหมาย


วัด วาด
จิน จีน
แกะ แก
เกาะ กอ

๑๘. วรรณยุกต์ มี ๔ รู ป ๕ เสี ยง (สามัญไม่มีรูปให้เห็น)


หลักการนับเสี ยงวรรณยุกต์ ๑. ออกเสี ยงคานั้นจากชีวติ จริ งก่อน
๒. นับนิ้ว

๑๙. วรรณยุกต์ต่างกัน ความหมายจะต่างกัน เช่น เสื อ เสื่ อ เสื้ อ

๒๐. วรรณยุกต์มีการออกเสี ยงไม่ตรงกับรู ปก็ได้


ขี้ริ้ว รู ปโท แต่เสี ยง ตรี
ท่าน รู ปเอก แต่เสี ยง โท

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 332
๒๑. พยัญชนะท้าย มีรูป ๓๗ รู ป มี ๘ เสี ยง (๘ แม่ ๘ มาตร) ตัวอักษรที่ใช้เป็ นตัวสะกดไม่ได้มี ผัว
ฝาก เฌอ เอม ให้ ฉัน ฮ้า
๑. แม่กก = เสี ยง /ก/ ใช้รูปสะกดคือ กขคฆ
๒. แม่กบ = เสี ยง /ป/ ใช้รูปสะกดคือ บปพภฟ
๓. แม่กด = เสี ยง /ต/ ใช้รูปสะกดคือ คตจช กฐฒสศษถทธซฑ
๔. แม่กม = เสี ยง /ม/ ใช้รูปสะกดคือ ม
๕. แม่กน = เสี ยง /น/ ใช้รูปสะกดคือ นณญรลฬ
๖. แม่กง = เสี ยง /ง/ ใช้รูปสะกดคือ ง
๗. แม่เกย = เสี ยง /ย/ ใช้รูปสะกดคือ ย
๘. แม่เกอว = เสี ยง /ว/ ใช้รูปสะกดคือ ว

๒๒. พยางค์ปิด คือ พยางค์ที่มีเสี ยงตัวสะกด อา ไอ ใอ เอา เช่น กิน จิบ จา ฯลฯ
พยางค์เปิ ด คือ พยางค์ที่ไม่มีเสี ยงตัวสะกด เอีย อัว เอือ เช่น ดุ ปู เมีย ฯลฯ

๒๓. คา โสด : คา มูล (พยางค์เดียวหรื อหลายพยางค์ก็ได้ แต่แยกจากกันไม่ได้แล้ว)


คา แต่งงาน : ประสม ซ้อน ซ้ า สมาส สนธิ

๒๔. คา มูล : ข้าว อ้วน ไกล เพ็ญ โชว์ ขมิ้น ดิฉนั บะหมี่ เสวย ขจี สวรรคต ฯลฯ

๒๕. คา ประสม : เกิดจากคา มูล ๒ คาขึ้นไปมารวมกันแล้วเกิดความหมายใหม่ แต่ตอ้ งมีเค้า


ความหมายเดิม ใช้เรี ยกสิ่ งใหม่ คา มูล ๒ คา นั้นห้ามเหมือนกัน คล้าย ตรงข้าม มิฉะนั้นจะกลายเป็ น
ซ้อนหมาย (คา ประสม เช่น นาม กริ ยา หรื อ วิเศษณ์ก็ได้)

บ้านพัก เรื อด่วน ขายตัว


บ้านเรื อน เรื อแพ ซื้ อขาย
๑. N + N =N. เช่น รถไฟ น้ าปลา ฯลฯ
๒. N + V. =N. เช่น หมอดู เหล็กดัด ฯลฯ
๓. N + adj =N. เช่น มดแดง กล่องดา ฯลฯ
๔. N + Prep =N. เช่น คนกลาง ความหลัง ฯลฯ
๕. V. + V =N. เช่น ห่ อหมก กันสาด ฯลฯ

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 333
๖. V. + N =N. เช่น เรี ยงความ พัดลม ฯลฯ
๗. N + V. + N =N. เช่น ช่างเย็บผ้า คนขายตัว๋ ฯลฯ
๘. V. + V. =V. เช่น เดินเล่น ติดตั้ง ฯลฯ
๙. V. + N =V. เช่น ยกร่ าง เดินสาย ฯลฯ
๑๐. V. + adj =V. เช่น อวดดี คิดคด ฯลฯ
๑๑. N + V. =V. เช่น หัวหมุน ใจแตก ฯลฯ
๑๒. adj + N =V. เช่น ดีใจ อ่อนใจ ฯลฯ
๑๓. N + adj. =adj. เช่น ใจเย็น หัวสู ง ฯลฯ
คา ประสมสามารถแปลไม่ตรงตัว แปลเปรี ยบเทียบได้ เช่น แมวมอง ปากฉลาม ตีนแมว ฯลฯ
๒๖. คา ซ้อน มี ๒ Version
๑. ซ้อนเพื่อความหมาย มีไว้ขยายความ (คา ๒ คา ที่มาวางซ้อนต้องมีความหมายทั้งคู่ คือ
เหมือน คล้าย ตรงข้าม)
๒. ซ้อนเพื่อเสี ยง มีไว้ไพเราะ (คา ๒ คา ที่มาวางซ้อนกันต้องมีเสี ยงพยัญชนะต้นเสี ยงเดียวกัน
แต่จะมี ๑ คา ไม่ให้ความหมายหรื ออาจไม่ให้ความหมายของ ๒ คาเลย)
คา ซ้อนเพื่อความหมาย เช่น บ้านเรื อน เล็กน้อย ซื้ อขาย ฯลฯ
คา ซ้อนเพื่อเสี ยง เช่น ดีเด่ มองเมิง โลเล ฯลฯ
* คา ซ้อนเพื่อความหมาย ความหมายหลักบางครั้งอยูท่ ี่คา หน้าหรื อหลังงก็ได้ เช่น ใจคอ น้ าหู น้ าตา
หน้าตา หู ตา ปากคอ
ตารางความแตกต่างระหว่างคาประสมกับคาซ้อน
คาประสม คาซ้ อน
๑. ใช้เรี ยกสิ่ งใหม่ ๑. ไม่ได้เรี ยกสิ่ งใหม่
๒. ห้ามเหมือน คล้าย ตรงข้าม ๒. ต้อง เหมือน คล้าย ตรงข้าม
๓. น้ าหนักอยูท่ ีคา ต้น ๓. น้ าหนักเท่ากัน ไม่มีใครเด่นกว่าใคร
๔. แปลเปรี ยบเทียบได้ ๔. แปลเปรี ยบเทียบไม่ได้

๒๗. คา ซ้ า ต้องมีๆ ให้เห็น เพราะขี้เกียจเขียน ๒ ครั้ง เช่น เด็กๆ เพื่อนๆ ดังๆ ฯลฯ แต่จะเขียนใช้ ๆ
ได้ จะต้องมีลกั ษณะ ๓ ประการให้ครบต่อไปนี้
๑. คาเขียนเหมือนกัน
๒. ความหมายเหมือนกัน
๓. หน้าที่ของคา เหมือนกัน

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 334
*คา ต่อไปนี้ ตอ้ งเป็ นคา ซ้ าเสมอ เช่น ฝนตกหยิมๆ พยักหน้าหงึกๆ พูดฉอดๆ ได้มาเหนาะๆ

ความหมายที่เกิดจากการซ้ าคา
๑. บอกพหูพจน์ : เพื่อนๆ น้องๆ ปี ๆ ตูๆ้ ฯลฯ
๒. เน้นความหมาย : ซ้วยสวย เด๊กเด็ก ดี๊ดี ฯลฯ
๓. ไม่เจาะจง : เช้าๆ เย็นๆ หลังๆ แถวๆ ฯลฯ
๔. แยกเป็ นส่ วน : คนๆ เรื่ องๆ ห้องๆ อย่างๆ ฯลฯ
๕. เปลี่ยนความหมายจากเดิม : หยกๆ พื้นๆ ลวกๆ หมูๆ งูๆ ปลาๆ ฯลฯ
๖. บอกความไม่ต้ งั ใจ : ส่ งๆ เขียนๆ ชอบๆ ฯลฯ
๗. ทา กริ ยานั้นไปเรื่ อยๆ : มองๆ นัง่ ๆ เดินๆ ฯลฯ
๘. บอกลักษณะ : หล่อๆ อวบๆ ดาๆ สู งๆ ฯลฯ

๒๘. คา สมาส มี ๒ Version (ต้องเป็ นภาษาอินเดีย คือ บาลี-สันสกฤต เพราะเป็ นหลักสู ตรของ
อินเดีย) ๒๘.๑ สมาสแบบสมาส ที่พดู ติดปากว่า คาสมาส (ชน)
๒๘.๒ สมาสแบบสนธิ ที่พดู ติดปากว่า คาสนธิ (เชื่อม) คือ สมาสแบบกลมกลืนเสี ยง
* ระวัง ต่อไปนี้ไม่ใช่คา สมาส เพราะมีภาษาไทยแท้ ภาษาเขมร ภาษาอังกฤษ เข้ามาปน พลเมือง
ผลไม้ คุณค่า ทุนทรัพย์ ราชวัง ราชดาเนิน พลความ พลเรื อน พระพุทธเจ้า ตรัสรู ้ สรรพสิ่ ง มูลค่า
ชานาญการ เคมีภณั ฑ์ ภูมิลาเนา เครื่ องจักร บายศรี กลเม็ด กลมท่า เมรุ มาศ กระยาสารท
สมาส สนธิ
ชน เชื่อม
แยกง่าย แยกยาก
แยกง่าย : มองเห็นศัพท์รูปเดิมเป็ นคาๆ เต็มๆ ไม่เปลี่ยนแปลง
แยกยาก : มองไม่เห็นศัพท์รูปเดิมแต่แยกแล้ว ๙๙% คาหลังขึ้นต้นด้วย "อ"
๒๘.๑ คาสมาสแบบสมาส มีสูตรง่ายๆ ๒ ข้อ (ความหมายหลักจะอยูห่ ลัง เวลาแปลจะ แปลจาก
ข้างหลังไปข้างหน้า)
๑. ล้างให้สะอาด คือ ล้าง การัน และ อะ ของคาหน้าทิง้
๒. ทากาว คือ ตรงรอยต่อของ ๒ คา ให้ออกเสี ยง "อะ"
ศิลปะ + ศาสตร์ = ศิลปศาสตร์ สวัสดิ์ + ภาพ = สวัสดิภาพ
สิ ทธิ์ + บัตร = สิ ทธิบตั ร ภูมิ + ศาสตร์ = ภูมิศาสตร์

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 335
ชาติ + ภูมิ = ชาติภูมิ ญาติ + เภท = ญาติเภท
อุบตั ิ + เหตุ = อุบตั ิเหตุ วีระ + บุรุษ = วีรบุรุษ
ระวัง! เจอคาเหล่านี้ลงท้ายจะเป็ นสมาสแบบสมาส "กิจ การ กรรม กร ศึกษา ภัย สถาน ภาพ
วิทยา ศิลป์ ธรรม ศาสตร์"
แต่ ศิลปากร = ศิลป + อากร
ศุลกากร = ศุลก + อากร
คุณากร = คุณ + อากร สนธิ
ประชากร = ประชา + อากร
สรรพากร = สรรพ + อากร
๒๘.๒ สมาสแบบสนธิ จะดูแยกออกจากกันแยกยาก แต่เวลาแยกแล้ว คา หลังขึ้นต้นด้วย "อ"
(แยกยาก คือ มองไม่เห็นศัพท์รูปเดิมเป็ นตัวๆ) สนธิ มี ๓ Version
๑. สระสนธิ เอาสระกับสระมาเจอกัน
อะอา + อะอา = อา สุ ข + อภิบาล = สุ ขาภิบาล
อะอา + อิอี = อีเอ๋ (อิ อี เอ) นร + อิศวร = นเรศวร
อะอา + อุอู = อุอูโอ้ว (อุ อู โอ) นย + อุบาย = นโยบาย
อะอา + เอไอโอเอา= เอไอโอเอา ราช + ไอศูรย์ = ราไชศูรย์
อิอี + อิ = อิ โกสี + อินทร์ = โกสิ นทร์
อุอู + อุอู = อุอู ครู + อุปกรณ์ = ครุ ปกรณ์
๒. พยัญชนะสนธิ เอาพยัญชนะกับพยัญชนะมาเจอกัน (หลักการ คือ ๑. เปลี่ยน ส. เป็ น โ ๒. ลบ
ส. ทิง้ )
มนสฺ + ภาพ = มโนภาพ พรหมนฺ + ชาติ = พรหมชาติ
มนสฺ + รถ = มโนรถ รหส. + ฐาน = รโหฐาน
สรชฺ + ช = สโรช เตชสฺ +ธาตุ = เตโชธาตุ
ศิรสฺ + เพฐน์ = ศิโรเพฐน์ นิรสฺ + ทุกข์ = นิรทุกข์
เตชสฺ + ชัย = เตโชชัย ทุรส. + ชน = ทุรชน
นิรสฺ + ภัย = นิรภัย ทรส. + พล = ทุรพล
อาตมนฺ + ภาพ = อาตมภาพ ยสสฺ + ธร = ยโสธร

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 336
สระ
๓. นฤคหิตสนธิ คือ ส + พยัญชนะ
เศษวรรค
ส เจอสระให้สระผม
ส + อาคม = สมาคม ส + โอสร = สโมสสร
ส + อาทาน = สมาทาน ส + อาส = สมาส
ส + อุทยั = สมุทยั ส + อิทธิ = สมิทธิ
ส เจอพยัญชนะวรรค ให้เปลี่ยนเป็ นตัวสุ ดท้ายของวรรคนั้น
กขคฆง ส + คม = สังคม
จฉชฌญ ส + จร = สัญจร
ฏฐฑฒณ ส + ฐาน = สัณฐาน * เป็ นภาษาบาลี-สันสกฤต
ตถทธน ส + ธาน = สันธาน
ปผพภม ส + ผัส = สัมผัส
เศษวรรค : วิรุฬห์ยลส
ส เจอเศษวรรคให้ทิง้
ส + โยค = สังโยค ส + วาส = สังวาส
ส + หรณ์ = สังหรณ์ ส + สันทน์ = สังสรรค์
ส + วร = สังวร

๒๙. คาเป็ น คาตาย ท่องสู ตร คือ ดูตวั สะกดอันดับแรก


คา ตาย = เจอแม่ กบด มันก็ตาย จา : ใครกบฏมันต้องตาย เช่น โรค ภาพ มรกต ฯลฯ
= ถ้าไม่มีตวั สะกดค่อยดูสระเสี ยงสั้น จา : อายุส้ นั มันก็ตาย เช่น นะ ดุ ทิ ฯลฯ
คา เป็ น = เจอแม่ มนงยว เพราะยังมีชีวติ เป็ นๆ เธอเป็ นสาวชาวพม่า เช่น ส้ม ช้าง ฯลณ
= ถ้าไม่มีตวั สะกดค่อยดูที่สระเสี ยงยาว เพราะชีวติ ยืนยาวก็เป็ นๆ เช่น ตา ดู ปู ฯลฯ

๓๐. คาครุ คาลหุ ท่องสู ตร คือ ดูตวั สะกดก่อนอันดับแรก


คา ครุ : พยางค์ที่มีเสี ยงหนัก วิธีการจา ดูจาก ค.
: เจอตัวสะกดทุกแม่เป็ นครุ หมด เช่น โรค ภาพ มรกต ส้ม ช้าง ฯลน
: ถ้าไม่เจอตัวสะกดก็ดูที่สระเสี ยงยาว ยิง่ ยาวยิง่ หนัก เช่น ชูใจ มานี ฯลฯ

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 337
คา ลหุ : พยางค์ที่มีเสี ยงเบา วิธีการจา ดูจาก ล. เธอเกิดมาอาภัพ
: ห้ามีตวั สะกดและต้องเจอสระเสี ยงสั้นเท่านั้น เช่น บ่ ธ ณ ก็ เงอะงะ เกะกะ เอะอะ ฯลฯ
* อา ไอ ใอ เอา เป็ นครุ เพราะ มีตวั สะกด

๓๑. คาไทยแท้
๑. ๙๙% ไทยแท้จะมีพยางค์เดียว เช่น กิน นอน ฉัน ข้า ดิน น้ า บน ใน ฯลฯ
๒. ๑% จะมี ๒ พยางค์
จะมาจากการกร่ อนเสี ยง(ตัดเสี ยง) เช่น หมากพร้าว มะพร้าว ตัวขาบ ตะขาบ ฯลฯ
จะมาจากการเพิม่ เสี ยง เช่น หนึ่ง ประหนึ่ง โดด กระโดด ท้วง ประท้วง ฯลฯ
๓. ไทยแท้สะกดตรงตามมาตรา เช่น รัก คับ รัด วัง เรื อน ผม หาย ผิว ฯลฯ แต่บางครั้งสะกดตรง
ตามมาตราก็ไม่ใช่ไทยแท้
-ระวัง! โลก กาย ยาน พน ชน ราม ธน มน กนก วัย ชัย อภัย อาลัย มาจาก
บาลี-สันสกฤต
-ระวัง! จมูก เดิน ตะบันหมาก ทะเลสาบ ละออง บายศรี เลอโฉม ปล้นสะดม โง่เขลา
โปรด มาจาก เขมร
๔. ไทยแท้ไม่การันต์ ยกเว้น ผี้ว์ ม่าห์ เยียร์ = ไทยแท้
๕.ไทยแท้มีวรรณยุกต์ได แต่ภาษาอื่นไม่มีวรรณยุกต์
๖. ไทยแท้ไม่นิยมตัวอักษรหยยักๆ หัวแตกๆ หางยาวๆ เช่น ฆ ณ ญ ฎ ฏ ฐ ฑ ฒ ธ ศ ษ ยกเว้นบาง
คาเป็ นไทยแท้ คือ หญิง หญ้า ใหญ่ ระฆัง ฆ่า เฆี่ยน เศิก ศอก ศึก ธ เธอ ณ ฯลฯ

๓๒. คา บาลี-สันสกฤต
บาลีมีสระ ๘ ตัว = อะ อา อิ อี อุ อู เอ โอ
สันสกฤตมีสระ ๑๔ ตัว = อะ อา อิ อี อุ อู เอ โอ เพิ่ม ไอ เอา ฤ ฤา ฦ ฦา
บาลีมีพยัญชนะ ๓๓ ตัว = ๕ วรรคๆ ๕ ตัว = ๒๕ + เศษวรรค ๘ = ๓๓
สันสกฤตมีพยัญชนะ ๓๕ ตัว = เหมือนบาลีทุกตัว เพิ่มพิเศษอีก ๒ = ศ ษ
คา สันสกฤต ท่องสู ตร หระนะควบหันเคราะห์กด
๑. หระ คือ ประสมสระไอ เอา ฤ ฤา ฦ ฦา เป็ นสันสกฤต เช่น ไมตรี เยาวชน ฤดู ฯลฯ
๒. นะ คือ ประสมพยัญชนะ ศ ษ เป็ นสันสกฤต เช่น ศาสนา รัศมี ศึกษา มนุษย์ ฯลฯ
๓. ควบ คือ ควบกล้ า เป็ นสันสกฤต จะควบกล้ าศัพท์หรู เลิศ เช่น ปราชญ์ จักร อินทร์ ประทีป
ฯลฯ

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 338
๔. หัน คือ รร เป็ นสันสกฤต เช่น ธรรม จรรยา สวรรค์ อุปสรรค ฯลฯ
๕. เคราะห์ คือ มีคาว่า "เคราะห์" เป็ นสันสกฤต เช่น อนุเคราะห์ สังเคราะห์ วิเคราะห์ ฯลฯ
๖. กด คือ ตัวสะกด ตัวตาม นอกเหนื อกฎเกณฑ์ของบาลี ยกให้เป็ นสันสกฤต เช่น อัคนี มุกดา
รักษา วิทยา สัตว์ มนัส อาชญา ฯลฯ
คา บาลี ต้องมีตวั สะกด ตัวตามอยูบ่ รรทัดเดียวกัน
๑. ท่องว่า ๑ สะกด ๑, ๒ ตาม เช่น สักกะ จักขุ สัจจะ มัจฉา รัฏฐ อัฏฐิ ทิฏฐิ อัตตา วัตถุ บุปผา
กิจจ จิตต นิจจ เขตต ฯลฯ
๒. ท่องว่า ๓ สะกด ๓, ๔ ตาม เช่น อัคคี พยัคฆ์ วิชชา อัชฌาสัย วัฑฒนะ สิ ทธิ อัพภาส เวชช
ฯลฯ
๓. ท่องว่า ๕ สะกด ๑, ๒, ๓, ๔, ๕ ตาม เช่น กังขา สัญญา วันทนา องค์ สันติ บิณฑบาต คัมภีร์
การุ ญญ หิรัญญ อรัญญ สามัญญ ธัญญ เบญจ บุญญ ฯลฯ
๔. เศษวรรคสะกด แล้วเศษวรรคตาม เช่น ภัสสร ปั สสาวะ วัลลภ มัลลิกา นิสสัย นิสสิ ต ฯลฯ

๓๓. คา เขมร
๑. คนเขมรชอบสะสม จาน หญิง ลิง เรื อ เสื อ = สะกดด้วย จ ญ ล ร ส
๒. คนเขมรชอบควบ = ควบกล้ า (คา ง่ายๆ ธรรมดาๆ)
๓. คนเขมรชอบนา = อักษรนา
๔. คนเขมรชอบอา = ขึ้นต้นด้วย "กา คา จา ชา ดา ตา ทา สา อา"
๕. คนเขมรชอบระบา = บา บัง บัน บรร
๕.๑.อา นาจ เสร็ จ เสด็จ เพ็ญ สราญ เจริ ญ ถกล จรัล กา นัล ธร อร ขจร จา รัส ตรัส ฯลฯ
๕.๒. กรวด กระบือ ขลาด เกลอ โปรด ประชุม ประเดิม คลัง กรม เพลา โขลน ไพร ปรุ ง
เพลิง ฯลฯ
๕.๓. ขยม เขม่า สนอง เสวย เขนย จมูก ถวาย ฉนา ขนุน ขยา ขนม จรวด สนิม ฯลฯ
๕.๔. กา เนิ ด จา แนก จา หน่าย ชา นาญ ชา รุ ด ดา เนิน ดา ริ ดา รัส ตา รา กา จัด อา
นวย ฯลฯ
๕.๕.บา เพ็ญ บา นาญ บา บัด บังควร บังอาจ บันเทิง บันดาล บรรทุก บรรจุ บรรจงฯลฯ

๓๔. ราชาศัพท์ จา ๓ อย่างต่อไปนี้ให้ดีๆ


๑. ลา ดับชั้นพระราชวงศ์ไทย โดยมี ๕ ชั้น (๕ level)
๒. จา คา นาม ทา ให้เป็ น คา นามราชาศัพท์

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 339
๓. จา คา กริ ยา ทา ให้เป็ น คา กริ ยาราชาศัพท์
ชั้นที่ ๑ พระบรม/พระบรมราช
ชั้นที่ ๒ พระราช * เป็ นคานาม
ชั้นที่ ๓-๔-๕ พระ
* คา กริ ยา เจออะไรเอา "ทรง" ขึ้นต้นให้หมด แต่เว้นอย่างเดียวที่ทรงขึ้นต้นนา หน้าไม่ได้ คือ คา
นั้นเป็ นกริ ยาราชาศัพท์อยูแ่ ล้ว

๓๕. ราชวงศ์ ๕ ชั้น


ชั้นที่ ๑ (พระบาทสมด็จ..........)
-พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั
ชั้นที่ ๒ (สมเด็จพระบรม..........)
-สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ
-สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร
-สมเด็จพระเทพรัตนราชสุ ดาฯ สยาบรมราชกุมารี
ชั้นที่ ๓ (สมเด็จเจ้าฟ้า..........)
-สมเด็จพระเจ้าภคินีเธอเจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุ ดา สิ ริโสภาพรรณวดี
-สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอเจ้าฟ้ากัลยาณิ วฒั นากรมหลวงนราธิ วาสราชนคริ นทร์
-สมเด็จพระเจ้าลูกเธอเจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี
ชั้นที่ ๔ (พระองค์เจ้า..........)
-พระเจ้าวรวงศ์เธอพระองค์เจ้าโสมสวลี พระวรราชาทินดั ดามาตุ
-พระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้าพัชรกิติยาภา
* สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริ นายก
(สมเด็จวัดอื่นๆ จะใช้ราชาศัพท์ไม่ได้)
ชั้นที่ ๕ (หม่อมเจ้า.........)
หม่อมเจ้าสิ ริวณั วรี มหิ ดล
ม.ร.ว.ม.ล. ไม่ใช้ราชาศัพท์

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 340
๓๖. การทา คา นามให้เป็ น คา นามราชาศัพท์
๑. ใช้พระบรมหรื อพระบรมราช นา หน้าคา นามสา คัญมากๆ ของในหลวงพระองค์เดียว เช่น
-พระบรมมหาราชวังพระบรมราชินี พระบรมโอรสาธิ ราช พระสยามบรมราชกุมารี
* พระปรมาภิไธย (พระบาทสมพระปรมินทร มหาภูมิพลอดุลยเดช มหิ ตลาธิเบศร
รามาธิบดีจกั รี นฤบดินทรสยามินทราธิราช บรมนาถบพิตร)
-พระบรมนามาภิไธย (ชั้น ๒ ใช้ พระนามาภิไธย)
* พระบรมราชโองการ (ชั้น ๒ ใช้ พระราชโองการ) แต่สมเด็จพระนางเจ้าฯ ใช้ พระราช
เสาวณี ย ์
-พระบรมราโชวาท (ชั้น ๒ ใช้ พระราโชวาท)
-พระบรมราโชบาย (ชั้น ๒ ใช้ พระราโชบาย)
* พระบรมราชูปถัมภ์ (ชั้น ๒ ใช้ พระราชูปถัมภ์) แต่สมเด็จพระนางเจ้าฯ ใช้ พระบรม
ราชินูปถัมภ์
-พระบรมราชวินิจฉัย (ชั้น ๒ ใช้ พระราชวินิจฉัย)
-พระบรมราชวโรกาส (ชั้น ๒ ใช้ พระราชวโรกาส)
-พระบรมราชานุเคราะห์ (ชั้น ๒ ใช้ พระราชานุเคราะห์)
-พระบรมเดชานุภาพ (ชั้น ๒ ใช้ พระเดชานุภาพ)
๒. "พระราช" ใช้นา หน้าทัว่ ๆ ไปของในหลวง และคา นามสา คัญของราชวงศ์ลา ดับ ๒ เช่น
๑. พระราชหฤทัย ๔. พระราชดา ริ
๒. พระราชประวัติ ๕. พระราชประสงค์
๓. พระราชกุศล ๖. พระราชนิพนธ์
(ไหนลองถอดคา ศัพท์ขา้ งต้นให้ราชวงศ์ ลา ดับ ๓-๔-๕ จะใช้วา่ อย่างไร)
๑. พระหฤทัย ๔. พระดาริ
๒. พระประวัติ ๕. พระประสงค์
๓. พระกุศล ๖. พระนิพนธ์
๓. "พระ" นา หน้านามธรรมดาขั้นพื้นฐาน ชั้น ๑-๕ ใช้ได้หมด เช่น พระเก้าอี้ พระสุ พรรณราช
พระตาหนัก พระบาท พระหัตถ์ พระนาสิ ก ฯลฯ
๔. คา ราชาศัพท์บางคา ไม่นิยมใช้ "พระ" จะใช้ หลวง, ต้น แทน เช่น ช้างหลวง เรื อนหลวง ช้าง
ต้น เรื อต้น เรื อนต้น เครื่ องต้น ฯลฯ

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 341
๓๗. การทา กริ ยา ทา ให้เป็ น กริ ยาราชาศัพท์
๑. ทรง + กริ ยาธรรมดา กริ ยาราชาศัพท์ เช่น ทรงเปลี่ยน ทรงเจิม ทรงวิง่ ทรงฟัง ฯลฯ
๒. ทรง + นามธรรมดา กริ ยาราชาศัพท์ เช่น ทรงกีตาร์ ทรงม้า ทรงสกี ฯลฯ
๓. ทรง + นามราชาศัพท์ กริ ยาราชาศัพท์ เช่น ทรงพระราชดา ริ ทรงพระราชสมภพ ฯลฯ
* คา ที่หา้ มใช้ ทรง นา หน้า : ซูบพระองค์ บรรทม ประสู ติ สวรรคต ประทับ เสวย เสด็จ เสด็จ
แปรพระราชฐาน ตรัส รับสั่ง สรง โปรด พอพระราชหฤทัย พอพระทัย กริ้ ว ทอดพระเนตร สุ บิน
พระราชทาน สิ้ นพระชนม์

๓๘. มี, เป็ น + ราชาศัพท์ เช่น มีพระราชประสงค์ เป็ นพระราชโอรส มีพระราชดา ริ ฯลฯ
ทรงมี, ทรงเป็ น + คา ธรรมดา เช่น ทรงมีความสงสาร ทรงเป็ นครู ทรงเป็ นประธาน ฯลฯ

๓๙. สวรรคต = ชั้น ๑-๒


สิ้ นพระชนม์ = ชั้น ๓-๔
สิ้ นชีพิตกั ษัย = ชั้น ๕
ถึงแก่อสัญกรรม = ประธานาธิบดี, ประธาน ๓ อานาจ, ประธานองคมนตรี , องคมนตรี , รัฐมนตรี
ถึงแก่อนิจกรรม = ข้าราชการซี ๙ ขึ้นไป, ท่านผูห้ ญิง
ถึงแก่กรรม = พวกเราๆ ท่านๆ

๔๐. กราบบังคมทูลรายงาน = พูดรายงาน (ไม่ตอ้ งใส่ ถวายข้างหน้ารายงาน)

๔๑. แสดงความจงรักภักดี = มีความจงรักภักดี (ไม่ตอ้ งใส่ ถวายความจงรักภักดี)

๔๒. รับเสด็จพระราชดา เนิน = ต้อนรับ (ไม่ตอ้ งใส่ ถวายการต้อนรับ)

๔๓. ทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวาย = (ทูลเกล้าฯ ถวาย) ของเล็กๆ ยกได้


น้อมเกล้าน้อมกระหม่อมถวาย= (น้อมเกล้าฯ ถวาย) ของใหญ่ๆ หรื อ ของเล็กจานวนเยอะมาก

๔๔. แปรพระราชฐาน = ไปพักผ่อน


เสด็จนิวตั ิพระนคร = ขากลับกรุ งเทพฯ

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 342
๔๕."เสด็จ"ใช้เหมือนกับ"ทรง" ทุกอย่างแต่แพ้ อยู่ ๑ อย่าง คือ เสด็จ + นามธรรมดาไม่ได้ เช่น เสด็จกีตาร์
เสด็จ +กริ ยาธรรมดา = เสด็จไป เสด็จออก เสด็จขึ้น เสด็จลง ฯลฯ
เสด็จ + นามราชาศัพท์ = เสด็จพระราชสมภพ เสด็จพระราชดา เนิน ฯลฯ

๔๖. เสด็จพระราชดา เนิน + V.หลัก (เพื่อบอกวัตถุประสงค์


เสด็จพระราชดา เนินไปเรี ยนต่อต่างประเทศ
เสด็จพระราชดา เนินตรวจพลสวนสนาม
เสด็จพระราชดา เนินกลับประเทศไทย

๔๗. พระบรมฉายาสาทิสลักษณ์ : รู ปวาด


พระบรมฉายาลักษณ์ : รู ปถ่าย
พระบรมรู ป : รู ปปั้ น

๔๘. พระปฺรมาภิไธย : ชื่อราชการทูลเกล้าฯ ถวาย


พระบรมนามาภิไธย : ชื่อตัว (ภูมิพล)
พระราชสมัญญา : ชื่อทีประชาชนทูลเกล้าฯ ถวาย เช่น พระปิ ยมหาราช, พระมหาธรราชเจ้า

๔๙. วันพระบรมราชสมภพ : วันเกิด (๕ ธันวาคม ๒๔๗๐)


วันคล้ายวันพระบรมราชสมภพ : วันคล้ายวันเกิด (๕ ธันวาคม ของทุกปี )

๕๐. อาคันตุกะ : ใช้เรี ยก สามัญชน, K ไปเป็ นแขกของสามัญชน


ราชอาคันตุกะ : ใช้เรี ยก สามัญชน ไปเป็ นแขกของ K
พระราชอาคันตุกะ : ใช้เรี ยก K, ประธานาธิบดี ไปเป็ นแขกของ K
ถ้า กษัตริ ย ์ ไปเป็ นแขกของประธานาธิบดี จะใช้ อาคันตุกะ
ถ้า ประธานาธิบดี ไปเป็ นแขกของกษัตริ ย ์ จะใช้ พระราชอาคันตุกะ
* จา เจ้าบ้านเป็ นหลัก

๕๑. ความหมายของคา ในภาษาไทยมี ๒ Version


๑. แปลตรงตัวตามพจนานุกรม = ความหมายนัยตรง
๒. แปลไม่ตรงตัวตามพจนานุกรม= ความหมายโดยนัย ความหมายโดยอุปมา ความหมายใน
ประหวัด

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 343
ความหมายนัยตรง ความหมายโดยนัย
ดาว = stars
ฟัน = teeth
ดาว = คนสวย คนเด่น คนดัง
ฟัน = นะ

๕๒. ความหมายแบ่งตามลักษณะความหมาย มี ๕ Version


๑. ความหมายเหมือนกัน = ไวพจน์ (synonym)
๒. ความหมายใกล้เคียงกัน = (คล้ายๆ กัน แต่ไม่เหมือนกัน)
๓. ความหมายตรงข้ามกัน = (antonym)
๔. พ้องรู ป พ้องเสี ยง พ้องทั้งรู ปพ้องทั้งเสี ยง (พ้อง แปลว่า เหมือน คา จะพ้องกันได้ตอ้ งมี ๒ คา
ขึ้นไป
๕. ความหมายแคบ กว้าง

๕๓. ไวพจน์ เวลาข้อสอบถาม คือ หลากคา


พระเจ้าแผ่นดิน = ไท ไท้ บพิตร ขัตติยะ นฤบาล นฤบดี ฯลฯ
ท้องฟ้า = เวหา หาว นภา โพยม ฯลฯ
ทอง = กนก สุ วรรณ สุ พรรณ กาญจนา เหม ฯลฯ
พระจันทร์ = แข แถง บุหลัน โสม รัชนีกร ศศิธร ฯลฯ
พระอาทิตย์ = ไถง รพี รวี ทิพากร อาภากร ฯลฯ
แผ่นดิน = ด้าว ธาษตรี เมทินี หล้า ปฐพี ฯลฯ

๕๔. ความหมายใกล้เคียงกัน
ภาพพจน์ = เปรี ยบเทียบ ปรบมือ = ยกย่อง
ภาพลักษณ์ = Image ตบมือ = ทัว่ ๆไป
สมรรถภาพ = คน จักรวรรดิ = Kingdom (ดินแดน)
สมรรถนะ = เครื่ องยนต์ จักรพรรดิ = King (คน)

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 344
๕๕. ความหมายตรงข้ามกัน
มงคล ≠ อวมงคล นางฟ้า ≠ เทวดา
ทักษิณาวรรต ≠ อุตตราวรรต สวรรค์ ≠ นรก
โลกียธรรม ≠ โลกุตตรธรรม สริ ยนั ≠ จันทรา (ห้าม พระจันทร์ เพราะคนละระดับ)

๕๖. พ้องรู ป = หวงแหน จอกแหน


พ้องเสี ยง = ทาร ทาน ธาน
พ้องทั้งรู ปพ้องทั้งเสี ยง = "อย่าลืมฉันนะพี่" "อย่าลืมฉันนะหลวงพี่"
* ความหมายที่มาพ้องจะไม่เหมือนกัน

๕๗. ความหมายแคบกว้าง = สับเซต


ความหมายกว้าง สี ภาชนะ มนุษย์ กีฬา ผลไม้
ความหมายแคบ สี แดง หม้อ ผูช้ าย ว่าว strawberry

๕๘. ประโยคบกพร่ อง มี ๑๐ Version


๑. การใช้คา ขัดแย้งกัน : ความหมายขัดกัน ไปด้วยกันไม่ได้
* คุณแม่สับหมูทีละชิ้น แก้เป็ น หัน่
* แม้วา่ ลูลูจะสวย แต่เธอก็มีแฟนหล่อ แก้เป็ น ขี้เหร่
ถ้าจะออก Ent หัวข้อนี้ ระวัง! คา เชื่อม (บุพบท สันธาน ประพันธสรรพนาม ขัดแย้งกัน)
๒.ใช้คา ผิดความหมาย ระวังเรื่ องคา ที่มีความหมายใกล้เคียงกัน Ent จะเอาเข้ามาหลอก ทาให้
สับสน เวลาอ่านข้อสอบให้สังเกตว่า อ่านแล้วสะดุดตาตรงไหน แปลกๆ ตรงไหน ไม่เคยได้ยนิ แปลกๆ
ระวังตรงนั้น
* พอกลับมาเหนื่อยๆ คุณพ่อก็อาบน้ าชา ระล้างสังขารให้สะอาด ล้าก็เข้านอน
* ที่ประชุมในสภาโต้เถียงกันอย่างอิสระเสรี
๓. ใช้สานวนเปรี ยบเทียบไม่เหมาะสม ระวังใช้สานวนไทยให้ถูกต้อง จะออกประมาณ ๑ ข้อ
* คุณครู กบั อาจารย์ใหญ่สุมหัวเรื่ องกาหนดวันสอบปลายภาค แก้เป็ น ประชุม
* คุณยายตักบาตรเสร็ จก็เลยกรวดน้ าคว่าขัน แก้เป็ น กรวดน้ า

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 345
๔. ใช้คาฟุ่ มเฟื อย ลักษณะภาษาไทยต้องกะทัดรัด ชัดเจน ห้ามเยิน่ เย้อ คาไหนแปลเหมือนกันให้
ตัดทิง้ มันเกินเข้ามาโดยไม่จาเป็ นก็ตดั เสี ย แต่ตอ้ งไม่ให้เสี ยความหมาย
ระวัง! มีในให้ทา + การ, ความ = ๙๙% จะฟุ่ มเฟื่ อย
คุณประเทืองมีความยินดีที่จะประกวดนางฟ้าจาแลง
แต่ ๑% ก็อาจจะไม่ฟุ่มเฟื่ อยก็ได้
คุณประเทืองมีความรักให้เด็กๆผูช้ าย
*ในอดีตที่ผา่ นมาชีวิตฉันขมขื่นเมื่ออยูก่ บั เขา (ตัด ที่ผา่ นมา ทิ้ง)
* โตขึ้นฉันอยากอยูก่ บั เอิน จะได้เป็ นเกษตรกรชาวนาตัวอย่างกับเขาบ้าง (ตัด ชาวนา ทิ้ง)
๕. ใช้สานวนภาษาต่างประเทศ ห้ามใช้สานวนภาษาต่างประเทศเด็ดขาด ในการสอบ Ent วิชา
ภาษาไทย
๑. หลักไวยากรณ์ไทย ต้องเรี ยง ประธาน + กริ ยา + กรรม (Active) ห้ามใช้.....โดย =
สานวนต่างประเทศ (Passive)
* ภาพยนต์เรื่ อง "The beach" นาแสดงโดย ลีโอ พุฒ (ต.ป.ท.)
แก้เป็ น * ลีโอ พุฒ แสดงภาพยนต์เรื่ อง "The beach" (ไทย)
๒. ถูก..........+ ความหมายไม่ดี = ไวยากรณ์ไทย
ถูก.........+ ความดี = สานวนต่างประเทศ
* คุณลอร่ าถูกลวนลามเมื่อวานตอนกลับบ้าน (ไวยากรณ์ไทย)
* คุณลูลูถูกเชิญให้มางานเลี้ยงสมาคมแม่บา้ นทหารบก (สานวนต่างประเทศ)
แก้เป็ น *สมาคมแม่กกบ้านทหารบกเชิญคุณลูลูให้มางานเลี้ยง
(ไวยากรณ์ไทย)(S+V+O)
๓. มัน ถ้าแปลว่า It's จะเป็ นสานวนต่างประเทศ
* มันเป็ นความลาบากของฉันที่จะเข็นครกขึ้นภูเขา (สานวนต่างประเทศ)
แก้เป็ น *ฉันเข็นครกขึ้นภูเขาลาบาก (ไวยากรณ์ไทย)(S+V+O)
* มันฝรั่งใส่ แกงใช่ไหม (สานวนภาษาไทย)
๔. ไวยากรณ์ไทยต้องมีลกั ษณนามตามหลังตัวเลข
* ๓ พรรคการเมืองประชุมอย่างเคร่ งเครี ยด (สานวนต่างประเทศ)
แก้เป็ น *พรรคการเมือง ๓ พรรค ประชุมอย่างเคร่ งเครี ยด
(ไวยากรณ์ไทย)(S+V+O)

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 346
๕. การวางส่ วนขยายต้องวางไว้ขา้ งหลัง ถึงจะเป็ นไวยากรณ์ไทย
* ไม่เป็ นการง่ายเลยที่ตารวจจะตามจับนักโทษแหกคุก (สานวนต่างประเทศ)
แก้เป็ น *ตารวจจะตามจับนักโทษแหกคุกไม่ง่าย
(ไวยากรณ์ไทย)(S+V+O)
จาไว้หลักๆ คือ ไวยากรณ์ไทยจะต้องเรี ยง V+S+O เป็ นพื้นฐาน
๖. ตีความได้ ๒ อย่าง : ภาษาไทยบางครั้งกากวม แปลได้ ๒ ความหมาย เวลาเจอ
ข้อสอบให้แปลตรงตัวตามคานั้นก่อน แล้วค่อยๆ นึกอีกความหมายหนึ่งที่ซ่อนอยู่
* อาการชักแบบนี้สงสัยจะโดนของ ๑. Something
๒. คุณไสย
* ดูนน่ั สิ ! ชมพูก่ าลังกิน ๑. Eating
๒. กาลังพอเหมาะที่จะกิน
๗. วางส่ วนขยายผิดที่ ภาษาไทยส่ วนขยายต้องงวางข้างหลังคาหลัก แต่ไม่จาเป็ นต้อง
ติดกัน
*พระราชินีแห่งอังกฤษต้อนรับอย่างสมเกียรติคณะทูตไทย
แก้เป็ น * พระราชินีแห่งอังกฤษต้อนรับคณะทูตไทยอย่างสมเกียรติ
* พวกเราก่อเจดียท์ รายในวันสงกรานต์อย่างสนุกสนาน
แก้เป็ น * พวกเราก่อเจดียท์ รายอย่างสนุกสนานในวันสงกรานต์
๘. ประโยคไม่สมบูรณ์ อาจขาดประธาน กริ ยา กรรม บุพบท สันธาน หรื อขาดอีก
๑ ประโยค
* คณะแม่บา้ นสหกรณ์อาเภอภูเขียวที่พ่ งึ จะเข้าเฝ้าฯ สมเด็จพระนางเจ้า
พระบรมราชินีนาถ ขาด กริ ยา (แล้วทาไมต่อล่ะ)
* แม้วา่ เขาจะเป็ นผูบ้ ุกเบิกการคิดค้นยาสมุนไพรสาหรับแก้โรคมะเร็ งได้สาเร็ จ
เป็ นคนแรก ขาด 1 ประโยค
๙. ภาษาผิดระดับไวยากรณ์ไทยใน ๑ ประโยค ต้องใช้ภาษาระดับเดียวกันห้าใช้
๒ ระดับ ในประโยคเดียวกัน
* คณะมนตรี ความมัน่ คงแห่งสหประชาชาติอภิปรายเรื่ องวิกฤตการณ์ในอิรัก
อย่างเมามัน
* คุณแม่จะบอกคุณพ่อตอนไหนคะ ว่าหนูสาเร็ จการศึกษาปริ ญญาขั้นนิเทศ
ศาสตร์มหาบัณฑิต

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 347
๑๐. เว้นวรรคตอนผิด : ระวัง! คาประสมในภาษาไทยจะถูกฉี กให้อ่าน ๒ แบบ แล้วถ้า
อ่านเว้นวรรคตอนผิดความหมายจะกากวม
*พี่วลิ ลี่คะขอจานรองแก้วหน่อยสิ
* จดหมายลงทะเบียนเสร็ จหรื อยัง

๕๙. ภาพพจน์ มี ๘ Version (ภาพพจน์ตอ้ งมีการเปรี ยบเทียบ)


๑. อุปมา เปรี ยบ เหมือน มีคาที่แปลว่า เหมือน = ดุจ ประดุจ ดัง ดัง่ ปูน เพียง ราว เสมอ
ประหนึ่งกล ละม้าย คล้าย ครุ วนา เช่น เทียบ เล่ห์ พ่าง ฉัน แม้น เฉก ยิง่ ปาน ฯลฯ
" เจ้างามพักตร์ ผอ่ งเพียงบุหลันฉาย"
ระวัง! มีคาตระกูล "เหมือน" แต่ไม่อุปมา เพราะไม่ได้เปรี ยบเทียบ โดยเฉพาะคาว่า เหมือน ดัง
เช่น
๒. อุปลักษณ์ เปรี ยบ เป็ น คือ หรื อ ละคา ไม่ตอ้ งใส่ เป็ น, คือ ก็ได้
" ฉันเป็ นตะเกียงส่ องทางให้เธอเดิน" = อุปลักษณ์
ข้อสอบชอบออก ระวัง! "ฉันเป็ นผูห้ ญิงคนหนึ่ง" (เจิน เจิน) = ไม่ใช่อุปลักษณ์ เพราะไม่ได้
เปรี ยบเทียบ
" พี่จะเป็ นบังลังก์ตระการ แม้นอ้ งคือนางพญา = อุปลักษณ์
แก้วกิริยาตัดพ้อขุนแผนว่าตัวเองสู ้นางวันทองไม่ได้ จึงพูดว่า
" หิ่ งห้อยหรื อจะแข่งแสงพระจันทร์ อย่าปั้ นน้ าให้หลงตะลึงเงา"
หิ่ งห้อย = แก้วกกิริยา
แสงพระจันทร์ = วันทอง
* อุปลักษณ์แบบละคา (ชอบออก)
แต่ประโยคนี้ "ฉันเป็ นดัง่ พฤกษาในวนาลึก" จะยกให้เป็ นอุปมาหรื ออุปลักษณ์
* จาเลยนะ เป็ นดัง่ เป็ นดุจ เป็ นเฉก เป็ นเช่น เป็ นเพียง เป็ นเหมือน = v6x,k
๓. สัญลักษณ์, นามนัย = ตระกูลเดียวกัน "พูดปุ๊ บรู ้ป๊ั บ" แต่คนละตัว
สัญลักษณ์ = ศัพท์ที่จะเป็ นวัญลักษณ์ได้ตอ้ งมีความเหมือน จุดเอนร่ วมกับหรื อ (Intersection) กับ
คาแปลเช่น
อีกา แปลว่า คนชั้นต่า พายุ แปลว่า อุปสรรค
ต่าต้อย วุน่ วาย
หงส์ แปลว่า คนชั้นสู ง ดอกมะเขือ แปลว่า ความอ่อนน้อม
ผูด้ ี น้อมลง

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 348
นามนัย = ศัพท์ที่จะเป็ นนามนัย ศัพท์ตวั นั้นต้องเป็ น จุดสาคัญ เป็ นส่ วนหนึ่งหรื อเป็ นแค่ สับเซต
ของคาแปล เช่น
ทีมโสม หมายถึง ประเทศเกาหลี นวม หมายถึง นักมวย
เป็ นจุดเด่น เป็ นจุดเด่น
เมืองน้ าหอม หมายถึง ประเทศฝรั่งเศส ปากกา หมายถึง นักเขียน
เป็ นจุดเด่น เป็ นจุดเด่น
จาไว้วา่ : เป็ นสัญลักษณ์แล้วจะเป็ นนามนัยไม่ได้ เป็ นนามนัยแล้ว เป็ นสัญลักษณ์ไม่ได้
จาไว้วา่ : สัญลักษณ์, นามนัย = พูดปุ๊ บรู ้ปั๊บ สังคมเขากาหนดไว้แล้ว
: อุปลักษณ์ละคา = แล้วแต่กวีจะเปรี ยบเทียบเป็ นอะไรก็ได้
ระวัง! สัตว์ในนิทานอิสปถือว่าเป็ นสัญลักษณ์ เช่น
ราชสี ห์ = ผูม้ ีอานาจ
ลา = คนโง่
งูเห่า = คนทรยศ
สุ นขั จิง้ จอก = พวกเจ้าเล่ห์
๔. บุคลาธิ ษฐาน : อธิ ษฐานโดยทาสิ่ งที่ไม่ใช่คน ให้ทากริ ยาเหมือนคน ท่องสู ตรว่า "เจ้าประคูณ
ขอให้เป็ นคนดีเถอะ" (บุคคลวัต, บุคคลสมมุติ)
"ดอกหญ้าส่ ายระบาขาเจ้าลมแล้ง"
"น้ าพริ กกะปิ มัวยัว่ ให้ฉนั เกิดกิเลส"
หลักการบุคลาธิษฐานให้ดูที่ V. + adj.
๕. อธิพจน์ ≠ อวพจน์ (อ อ่าง โอเวอร์ )
อธิ พจน์ = คนกล่าว OVER มากกว่าความจริ ง FACT อธิพจน์
อวพจน์ = คนกล่าว OVER น้อยกว่าความจริ ง อวพจน์
" เรื่ องนี้สบายมาก เรื่ องขี้ผง" = อวพจน์
" พี่คิถึงน้องทุกนาที = อธิพจน์
อธิพจน์, อวพจน์ = OVER คนทาเอง
บุคลาธิษฐาน = OVER แบบสิ่ งที่ไม่ใช่คนทา

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 349
6. สัทพจน์ = เลียนเสี ยงธรรมชาติ (ส.เสื อ Sound of Music)
" ไก่ขนั " = ไม่ใช่สัทพจน์ "เอกอี้เอ้กเอ้ก" = สัทพจน์
" ฟ้าร้อง" = ไม่ใช่สัทพจน์ " เปรี้ ยงเปรี้ ยง" = สัทพจน์
๗. ปฏิพากย์ = การกล่าวขัดแย้ง
" ผูห้ ญิงสวยเป็ นบ้า"
" คุณป้าใจดีฉิบ lose"
๘. อุปมานิทศั น์ : เป็ นการเปรี ยบเทียบโดยยกประโยคยาวๆ มาเปรี ยบ แต่อุปมายกแค่คา
" นักเรี ยนก็เหมือนเพชรที่จะต้องถูกเจียระไน ให้เพชรเงางาม ส่ องประกาย บางมุม
เหลี่ยมอาจจะไม่คมต้องเจียให้คม เพื่อจะให้สมเป็ นเพชรน้ าหนึ่งประดับแหวน โดยครู คนนี้และจะ
ตั้งใจเจียเพชรเม็ดนี้ให้ประณี ต

๖๐. คาประพันธ์ในวรรณคดีไทย

คาประพันธ์ จานวนคาใน ๑ บท แบ่งวรรคละ สู ตรสัมผัส


กลอนแปด ๓๒ x 3 = ๖๔ ๘–๘–๘–๘ ๘ – ๑๑ ๑๖ – ๒๔ – ๒๗
กาพย์ฉบัง ๑๖ ๑๖ x ๒ = ๓๒ ๖–๔–๖ ๖ – ๑๐ (๑๖ – ๒๒)
กาพย์สุรางคนางค์ ๒๘ ๒๘ x 3 = ๕๖ ๔–๔–๔–๔–๔–๔–๔ " เมื่อคนฉันฝัน"
กาพย์ยานี ๑๑ ๒๒ x ๒ = ๔๔ ๕–๖–๕–๖ ๕ – ๘ ๑๑ – ๑๖
อินทรวิเชียรฉันท์ ๑๑ ๒๒ x ๒ = ๔๔ ๕–๖–๕–๖ ๖ – ๘ ๑๑ – ๑๖
โคลงสี่ สุภาพ ๓๐ ± ๒, ๔ = ๓๒, ๓๔ 5–๒๕–๒๕–๒๕–๔ พระลอ, พระราม
โคลงสามสุ ภาพ ๑๙ + ๒ = ๒๑ ๕–๕–๕–๖ เครื่ องบินร่ อนลง
ร่ ายยาว ไม่แน่นอน ไม่แน่นอน ตรงไหนก็ได้

ข้อสอบ จะให้ประโยคยาวๆ มาแล้วให้เราแบ่งวรรค แล้วถามว่าเป็ นคาประพันธ์ชนิดใด


สู ตร ๑. นับคา
๒. สงสัยว่าเป็ นอะไรให้ลองแบ่งวรรค แล้วเอาสัมผัสแทนคาว่าลงจังหวะไหม
ระวัง! ตัวหลอก
คู่แรก ฉบัง ๑๖ ๒ บท = กลอนแปด ๑ บท
คู่สอง กาพย์ยานี ๑๑ กับ อินทรวิเชียรฉันท์ ๑๑ แตกต่างตรงฉันท์ ๓ – ๖ – ๗ – ๙ = ลหุ
คู่สาม กาพย์ยานี ๑๑ กับ โคลงสามสุ ภาพ จานวนใกล้เคียงกัน
คู่สี่ กลอนแปด กับ โคลงสี่ สุภาพ จานวนคาใกล้เคียงกัน แต่โคลงมีเอก ๗ โท ๔
เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม
วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 350
ท่องสู ตรสัมผัสของสุ รางคนางค์ : "เมื่อคืนฉันฝัน ว่าเธอกับฉัน ชวนกันขี่ควาย ควายไล่ขวิด
หวุดหวิดเจียนตาย ฝันดีหรื อร้าย ทานายให้ที "
โคลงสามสุ ภาพ :

* ข้อสอบ แบบคาประพันธ์แนวใหม่ จะให้วรรคแบ่งมาเรี ยบเรี ยงแล้ว แต่สลับวรรคมัว่ กัน ให้


เรี ยงลาดับให้ถูกต้อง ก็ใช้สูตรเดียวกับข้างบน " พระสมุทรสุ ดลึกล้นคณนาสายดิ่งทิ้งทอดมาหยัง่ ได้เขา
สู งอาจวัดวากาหนดจิตมนุษย์น้ นั ไซร้ยากแท้หยัง่ ถึง" เป็ นคาประพันธ์ โคลงสี่ สุภาพ

61. ความงามวรรคศิลป์ มี ๘ Version


๑. สัมผัสสระ : สระกับตัวสะกดเสี ยงเดียวกัน แต่เสี ยงพยัญชนะต้นห้ามเหมือนกัน
" เป็ นแถวท่องล่องตามกัน "
" เจริ ญกรุ ง บารุ งเมือง เฟื่ องนคร "
" จันทร์ จวง ดวงจันทร์ "
" อาภาพร นครสวรรค์ " พร
พร
คร
๒. สัมผัสอักษร : (สัมผัสพยัญชนะ) ให้ดูที่เสี ยงพยัญชนะต้นเสี ยงเดียวกัน
" ยุย้ ญาติเยอะ " เสี ยงพยัญชนะต้น /ย/
" พี่จา ใจจา จากเจ้าพรากมา "
" ต้องจา จา ใจจากเจ้าคืนคอย "
๓. สัมผัสวรรณยุกต์ : สัมผัสวรรณยุกต์แทนที่จะเหมือนกันมาเจอกัน แต่กลับเรี ยงวรรณยุกต์จาก
น้อย มาก
มาก น้อย (๒ ตัว หรื อ ๓ ตัวก็ได้)
" บึงบัวตูมตุ่มตุม้ กลางตม "
" แมลงเม้าเม่าเมาฉม ซมซราบ "
แต่ " แม้นแม่มาจักวอน พี่ช้ ี "
" ดลยังเวียงด่านด้าว โดยมี "
* ไม่ใช่สัมผัสวรรณยุกต์ เพราะตัวสะกดไม่เหมือนกัน"

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 351
๔. จินตภาพ : ภาพที่เกิดในสมองจินตนาการ มี ๓ Version
๑. จินตภาพด้าน ภาพ (แสง + สี ) " ใบระกาหน้าบันบนชั้นมุข สุ วรรณสุ กเลื่อมแก้ว
ประภัสสร "
๒. จินตภาพด้าน เคลื่อนไหว (นาฏการ) " เรื อสิ งห์วงิ่ เผ่นโผน โจนตามคลื่นฝื นฝ่ าฟอง "
๓. จินตภาพด้าน เสี ยง = สัทพจน์ " สายธารไหลจ๊อกจ๊อกเซาะซอกหิน "
หลักการทา ให้สังเกต V.+adj
๕. การใช้คาที่มีเสี ยงและจังหวะดุจดนตรี (ต้องแยกออกเป็ น ๒ ตัว คือ เสี ยงและจังหวะ)
๑. เสี ยงดุจดนตรี : มีวรรณยุกต์หลายๆ เสี ยงใน ๑ วรรค แต่ไม่จาเป็ นต้องเรี ยงวรรณยุกต์
เหมือนสัมผัสวรรณยุกต์ " ตะลึงเหลียวเปลี่ยวเปล่าให้เหงาหงิม "
๒. จังหวะดุจดนตรี : ใน ๑ วรรค แบ่งจังหวะการอ่านได้เท่าๆ กัน (ถ่วง..................)
" เช้าทาเป็ นหน่ายบ่ายบอกเหนื่อยเย็นเมื่อยล้า "
" ถือหัตถ์ง่าท่าเห็นงาม ตามทานองต้องธรรมเนียม เตรี ยมทุกหมวดตรวจทุกหมู่ "
๖. การเล่นคา : ใช้คาๆ เดียวกันวางทัว่ ๆ ไป แล้วความหมายไม่เหมือนกัน เช่น
" นวลจันทร์ เป็ นนวลจริ ง เจ้างามพริ้ งยิง่ นวลปลา " เล่นคาว่า นวล
๗. การซ้ าคา : ใช้คาๆ เดียวกันวางทัว่ ๆ ไป แล้วความหมายต้องแปลเหมือนกันทุกตัว เช่น
" งามทรงวงดัง่ วาด งามมารยาทนาดกรกราย
งามพริ้ มยิม้ แย้มพราย งามคา หวานลานใจถวิล "
ซ้ าคาว่า งาม เพราะทุกตัวแปลว่า Beautiful
๘. ดุลเสี ยงและดุลความหมาย : ๒ วรรค มีคาเท่ากันและตาแหน่งเดียวกันมีคาเหมือนกัน จึงให้
เสี ยงและความหมายเหมือนกัน เช่น
" มีเพื่อนเล่นก็ไม่เหมือนกับเพื่อนตาย มีเพื่อนชายก็ไม่เหมือนมีเพื่อชม "
" ยิง่ ว่ายิง่ ยุ " (วรรคเดียวแบบนี้อนุ โลม)
" รู ้หลบเป็ นปี ก รู ้หลีกเป็ นหาง "

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 352
๖๒. ประโยคความเดียว ความรวม ความซ้อน
ความเดียว = S๑ + V๑ ส่ วนขยายยาวได้แต่ตอ้ งเป็ นวลีของแท้มีเลข ๑ (S., V.)
ความรวม = ๒ ความเดียว = ๑ ความหมาย โดยเอาสันธานเชื่อม ของแท้ตอ้ งมีเลข ๒ (S., V.)
ความซ้อน = ซ้อน แปลว่า ขยาย จาอย่างนี้ก่อน โดยส่ วนขยายเป็ นประโยค แสดงว่าก็ตอ้ งมี ๒
ประโยครวมกัน แต่ให้ดูเอาว่า " ที่ ซึ่ ง อัน ผูท้ ี่ ผูซ้ ่ ึ ง ว่าให้ " เชื่อม โดย ๒ ประโยคนั้นน้ าหนักไม่เท่ากัน
โดยมีประโยคหนึ่งเป็ นตัวตั้งแล้วมีอีกประโยคมาขยาย
(ความเดียว) เขาปลูกข้าวนาปรังทุกปี ริ มแปลมเกษตรสาธิต
(ความรวม) เขาปลูกข้าวนาปรังทุกปี และเขาขายข้าวนาปรังทุกปี = " เขาปลูกและขายข้าวนาปรัง
ทุกปี "
(ความซ้อน) เขาปลูกข้าวนาปรังที่กานันเสนอแนะ
ระวัง! ๑. ความรวมกับความซ้อน สามารถละตัวเชื่อมได้ แต่ก็มีวิธีดูที่น้ าหนักประโยค
๒. หลัง ที่ ซึ่ง อัน...............จะเป็ นประโยคขยาย
สรุ ปความแตกต่างระหว่าง ความเดียว ความรวม ความซ้อน
๑. เดียว กับ รวม ให้ดูที่ เลข ๑ + ๒
๒. รวม กับ ซ้อน ให้ดูที่ เอาอะไรเชื่ อม
๓. ซ้อน กับ เดียว ให้ดูที่ เอาอะไรขยาย
ลองทาดูวา่ เป็ นประโยคอะไร
(ซ้อน) ๑. นายกรัฐมนตรี ให้คาสัญญาแก่ชาวไทยว่า จะแก้ปัญหาเศรษฐกิจให้ได้
(ซ้อน) ๒. คนที่ลอบยิงท่านประธานาธิบดีตอ้ งเป็ นคนวงใน
(รวม) ๓. แต่ฉนั ก็ทาสุ ดความสามารถแล้วก็ยงั ไม่ประสบความสาเร็ จ
(เดียว) ๔. ตัวอย่างที่ดีตอ้ งเป็ นที่โรงเรี ยนนายร้อย
(เดียว) ๕. คุณธรรมของผูใ้ หญ่ คือ เมตตาธรรมต่อเพื่อนมนุษย์และสัตว์โลก
(ซ้อน) ๖. เจ้าหน้าที่ของสหรัฐพบว่า ทหารอิรักสะสมขีปนาวุธในโกดังสิ นค้าใกล้กรุ ง
แบกแดด
(รวม) ๗. สถาบันวิจยั จุฬาภรณ์ร่วมกับมูลนิธิสายใจไทยจัดงานครั้งนี้
(เดียว) ๘. งานฤดูหนาวของจังหวัดชี ยงใหม่สาเร็ จไปได้ดว้ ยความร่ วมมือของ
ประชาชนชาวเชียงใหม่
(ซ้อน) ๙. บุคคลใดที่ไม่เคยพบกับความทุกข์เลย คือ บุคคลที่ไม่เคยพบกับ
ประสบการณ์ชีวติ

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 353
(รวม) ๑๐. เจ้าหมูนอ้ ยหัวใจเทวดาวิ่งงับอนาคอนดาอย่างเมามัน
(ซ้อน) ๑๑. ชาวลอนดอนชินกับสภาพอากาศที่เปลี่ยนแปลงเสมอๆ
(ซ้อน) ๑๒. พนักงานขององค์การโทรศัพท์กาลังปี นเสาอยูใ่ กล้หอประชุมของโรงเรี ยน
(ซ้อน) ๑๓. คุณครู Lilly ไม่ชอบนักเรี ยนลอกข้อสอบ
(ซ้อน) ๑๔. ชาวไทยต้องทนกับสภาพเศรษฐกิจอย่างนี้จนเสี ยขวัญหมดแล้ว
(เดียว) ๑๕. การไม่พูดระหว่างรับประทานอาหารเป็ นนิสัยที่ดีของลูกผูห้ ญิง
(ซ้อน) ๑๖. ภาพที่เธอส่ งเข้าประกวดและเพื่อนๆ ช่วยกันวาดนั้น ได้รับรางวัลชนะเลิศ
(รวม) ๑๗. ชาวประมงทาลายปะการังที่ทางรัฐบาลสงวนแต่ ส.ส. บางคนเห็นดีดว้ ยกับ
ชาวประมง
(ซ้อน) ๑๘. ภาพวาดนางบุษบาเสี่ ยงเทียนที่คุณจักรพันธู วาดนั้น ได้รับรางวัล
พระราชทาน
(รวม) ๑๙. การว่ายน้ าเป็ นกิจกรรมที่มีประโยชน์ต่อร่ างกายทุกส่ วนและการพักผ่อนซึ่ ง
เป็ นกิจกรรมของคนเรามีความสาคัญไม่แพ้กนั
(รวม) ๒๐. หากเราสามารถเก็บเศษใบไม้และกระป๋ องน้ าอัดลมตามชายหาดได้แล้วก็
จะทาให้ชายหาดพัทยาสวยขึ้น
(ซ้อน) ๒๑. การที่คุณแม่หกั เงินค่าขนมพวกเธอเป็ นการลงโทษอย่างเบาๆ
(รวม) ๒๒. หมาของฉันไล่กดั นักเรี ยนกลุ่มนั้น
(รวม) ๒๓. ครู ใช้ปากกาหมึกซึมตรวจการบ้านนักเรี ยน
(ซ้อน) ๒๔. เขาตบหน้าเพื่อนยืนหลังโต๊ะ
(ซ้อน) ๒๕. ผลิตภัณฑ์ที่สร้างจากภูมิปัญญาของชาวบ้านเป็ นงานที่น่ายกย่องอย่างหนึ่ง

๖๓. การอ่านจับใจความ (ออกสอบเยอะมาก) หลักการ คือ


๑. ยังสรุ ปใจความ (Main Idea) ไม่ได้ อย่าอ่าน choice ๔ ข้อ
๒. หา ๓ W (Who, What, Why)
๓. ไล่ผี คือ เอา choice ที่ผดิ แน่ๆ ออกไปก่อน
ระวัง! จุดหลอกของการอ่านจับใจความ
๑. การเปรี ยบเทียบ อันไหนเกิดจริ ง อันไหนเปรี ยบเทียบ ต้องจับให้ได้
๒. ศัพท์ที่แปลไม่ตรงตัว (เราก็อาศัย บริ บท ในการตีความ)
๓. การตอบดูให้ดี มี ๒ แง่ จะตอบคลุมหรื อตอบเจาะ (choice ๒ ข้อ สุ ดท้ายจะบอกเราเอง)
๔. ระวัง Error ภาษาที่เขียน choice ตีความดีๆ มันจะหลอก

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 354
๖๔. โวหาร ทางร้อยแก้ว มี ๗ Version
๑. บรรยายโวหาร ได้เรื่ องราว ข้อมูล
๒. พรรณนาโวหาร ได้ภาพรายละเอียด
๓. อธิบายโวหาร ทาให้เข้าใจ
๔. สาธกโวหาร ยกตัวอย่าง
๕. เทศนาโวหาร สั่งสอน
๖. อุปมาโวหาร เปรี ยบเทียบ (คลุมทั้งหมด ๘ ภาพพจน์)
๗. อภิปรายโวหาร โน้มน้าวใจ (persuade)
บรรยายโวหาร (เนื้ อๆ) = ได้ Information ใคร ทา อะไร ที่ไหน เมื่อไร
พรรณนาโวหาร (น้ าๆ) = ได้ Detail ให้ภาพรายละเอียด บุคคล วัตถุ สถานที่ เหตุการณ์ มี ๒ ลักษณะ
คือ แยกส่ วนประกอบ : ชี้ลกั ษณะเด่น
สู ตรการดูพรรณนาโวหาร คือ ตระกูล ว. + แซมเปรี ยบเทียบ
วิเศษณ์ วิลิศ วิจิตร เวอร์ + แซมเปรี ยบเทียบ

๖๕. อธิบายโวหาร มี ๖ Version เรี ยกว่า กลวิธีอธิ บาย


๑. การอธิ บายตามลาดับขั้น : ใช้กบั เรื่ องๆ นั้นต้องเป็ น ขั้นตอน กรรมวิธี
๒. การใช้ตวั อย่าง : เพื่อให้ เห็นภาพชัดเจน
๓.การเปรี ยบเทียบความเหมือน/ต่าง: ใช้เปรี ยบเทียบของ ๒ สิ่ งไม่ใช่ภาพพจน์
๔. การชี้สาเหตุผลลัพธ์สัมพันธ์กนั : ใช้ให้เหตุผลอธิบาย
๕. การนิยม : ใช้กบั คา ศัพท์ แต่ไม่จาเป็ นต้องมี หมายถึง, คือ เสมอไป
๖. การกล่าวซ้ าด้วยถ้อยคาที่แปลกออกไป : อธิ บายใหม่เป็ นรอบที่ ๒ แต่จะใช้คา ง่ายขึ้น มักจะ
มีคาว่า กล่าวคือ แต่ไม่ตอ้ งมี กล่าวคือ เสมอไปก็ได้ ถ้าไม่กล่าวคือ เขาจะเว้นวรรคเอา (ข้อความหน้าและ
หลัง กล่าวคือ ต้องมีความหมายเหมือนกัน)

๖๖. ทรรศนะ คือ ความคิดเห็น (Opinion) อาจถูกหรื อผิดก็ได้ เพราะไม่ใช่ FACT


คาที่แสดงทรรศนะ คือ คง คงจะ น่า น่าจะ ควร ควรจะ พึง พึงจะ อาจ อาจจะ หรื อ ผมเห็นว่า,
เข้าใจว่า, สรุ ปว่า, มีมติวา่ , เสนอว่า หรื ออาจไม่มีคาพวกนี้เลยก็ได้ ทรรศนะ มี ๓ Version
๑. ทรรศนะเชิงข้อเท็จจริ ง (Guess) : เดา, สันนิษฐาน ไม่ใช่ บอก ข้อเท็จจริ ง
๒. ทรรศนะเชิงคุณค่า/ค่านิยม (Evaluate) : ประเมินค่า, ตัดสิ นใจสิ่ งใดสิ่ งหนึ่ง
๓. ทรรศนะเชิงนโยบาย (Suggest) : แนะนา

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 355
* พี่ชายเธอดูเท่ห์ระเบิดเลย หุ่นดี หน้าตาก็ใช้ได้ (ทรรศนะเชิงคุณค่า)
* ฉันว่าเธอเอาเรื่ องแสงสี กบั กินดีอยูด่ ีสอบดีกว่า เหมาะกับเธอดี (ทรรศนะเชิงนโยบาย)
* คงไม่ใช่นกั โทษแหกคุก ๔ คนนี่หรอก ฉันว่าคงต้องเป็ นผูค้ ุม้ ต่างหาก (ทรรศนะเชิง
ข้อเท็จจริ ง)

๖๗. ระเบียบวิธีคิด มี ๓ Version


๑. วิเคราะห์ : หาสาเหตุ ทาไมเกิด = ทรรศนะเชิงข้อเท็จจริ ง
๒. ประเมินค่า : ให้ความเห็นประเมิน = ทรรศนะเชิงคุณค่า/ค่านิยม
๓. สังเคราะห์ : คิดวิธีการ Idea ใหญ่ๆ = ทรรศนะเชิงนโยบาย

๖๘. โครงสร้างเหตุผล มี ๒ องค์ประกอบ คือ


(เกิดก่อน) ๑. เหตุ สาเหตุ ข้อสนับสนุน
(เกิดหลัง) ๒. ผล ผลลัพธ์ ข้อสรุ ป
ระวัง! สันธานเหล่านี้ จะเจอเสมอเรื่ องโครงสร้างเหตุผล เพราะ, เนื่องจาก, ด้วย, ก็เลย, จึง, ดังนั้น,
เมื่อ...จึง,เพราะ...จึง
เวลาออก ข้อสอบ เรื่ องนี้ให้ดู โครงสร้างดีๆ ว่าเขาเอา สาเหตุหรื อผลลัพธ์ข้ ึนต้นลงท้าย

๖๙. อุปนัย = เกือบและ!


นิรนัย = แน่แน่!
นัย ท่องว่า จริ ง อุป ท่องว่า เกือบ นิร ท่องว่า แน่ๆ
อุปนัย : ไม่แน่นอน ไม่จาเป็ น โอกาสเกิดไม่ถึง๑๐๐%
นิรนัย : ต้อง Sure เกิดแน่ๆ เป็ นอย่างนั้นแน่ๆ ๑๐๐%
* "ดูผชู ้ ายคนนี้สิ แต่งตัวดี ทองหยองเต็มตัว ใส่ สูทด้วย เป็ นลูกเจ้าสัวแหงๆ"
ประโยคนี้เป็ น อุปนัย นิรนัย
* ทุกปี ช่วงต้นเดือนธันวาคม นกนางแอ่น จะมาเกาะตามเสาไฟฟ้า ถนนสี ลมเต็มไปหมด เดี๋ยว
ธันวาคมปี นี้ก็ตอ้ งมาอีกมาก"
ประโยคนี้เป็ น อุปนัย นิรนัย
วิธีการดูอุปนัยและนิ รนัย คือ ดูวา่ เกิดแน่หรื อไม่แน่ไม่จาเป็ น

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 356
๗๐. อนุมาน ๓ Version แบบสัมพันธ์เป็ นเหตุเป็ นผลกัน
๑. การอนุมานจาก สาเหตุ ไปหา ผลลัพธ์ (เดา อนาคต)
๒. การอนุมานจาก ผลลัพธ์ ไปหา สาเหตุ (เดา อดีต)
๓. การอนุมานมาจาก ผลลัพธ์ ไปหา ผลลัพธ์ (เดา อนาคต)
(ไม่มี! การอนุมานจาก สาเหตุ ไปหา สาเหตุ)
สู ตรการทา ๑. หาท่อน ที่เกิดขึ้นกับท่อนเดาให้เจอ
๒. ดูวา่ เดา อดีต เดาอนาคต
* "ปลาลอบเป็ นแพอย่างนี้ ใครช่างใจร้ายปล่อยน้ าเสี ยลงแม่น้ าอีกแล้ว" อนุมานจาก ผลลัพธ์ ไป
หา สาเหตุ
* "รี บๆ หน่อยคุณพี่ เราคงต้องทันแน่ๆ รถไฟเที่ยวสุ ดท้าย" อนุมานจาก สาเหตุ ไปหา ผลลัพธ์
* "ยาหม่องยีห่ อ้ นี้ขายดีเป็ นอันดับ ๑ ที่อเมริ กา รับรองถ้ามาขายในเมืองโดยก็ตอ้ งอันดับหนึ่ง
แน่ๆ" อนุมานจาก ผลลัพธ์ ไปหา ผลลัพธ์

๗๑. การโน้มน้าวใจ = อภิปราย โวหาร การทาให้ใครคนหนึ่งเปลี่ยนความคิด ความเชื่อ แล้วมาทาตามเรา


มีกลวิธีการโน้มน้าวใจ ๖ Version
๑. ใช้ความน่าเชื่อถือของผูโ้ น้มน้าวใจ
๒. ใช้เหตุผลหนักแน่น
๓. ความรู ้สึกร่ วมหรื ออารมณ์ร่วม พวกเดียวกัน ชอบเหมือนกัน
๔. ชี้ให้เห็นทางเลือกทั้งดีและเสี ย
๕. สร้างความบันเทิง
๖. เร้าให้เกิดอารมณ์แรงกล้า ภาษารุ นแรง OVER
*ระวัง! การโน้มน้าวใจต้องใช้หลัก สุ ภาพ นุ่มนวล ห้ามขู่ บีบบังคับ น้ าเสี ยงอ้อนวอน วิงวอน
หรื อขอร้องปี นี้ระวัง! จะออกคาขวัญกับลักษณะภาษาโน้มน้าวใจ

๗๒. การโต้แย้ง : ใช้เหตุผลสู ้กนั ถ้าใช้อารมณ์ เรี ยกว่า โต้เถียง


เรื่ องนี้จะถามว่า "อะไรคือประเด็นการโต้แย้ง" ประเด็นการโต้แย้ง คือ หัวข้อ Topic ที่กาลังเห็น
ไม่ลงรอยกัน มักอยูใ่ นรู ปประโยคคาถาม ข้อสาคัญของการโต้แย้ง คือ
๑. ไม่ใช่อารมณ์, สุ ภาพ
๒. มีมารยาทให้เกียรติ
๓. เลือกประเด็นโต้แย้งที่สร้างสรรค์

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 357
๗๓. ระดับภาษา มี ๕ Level แบ่งตาม Hi กับ Low ดังนี้
Level ๑-๒-๓ = Hi Level ๔-๕ = Low
พิธีการ ทางการ กึ่งทางการ ไม่เป็ นทางการ กันเอง
กาลเทศะ นานๆ ครั้ง Serious ไม่ Serious ทัว่ ๆ ไป สนิท/ส่ วนตัว
(การลงท้าย)
คนที่ใช้ บุคคล VIP นักธุ รกิจ/วิชาการ ความสัมพันธ์/ ทุติยภูมิ ปฐมภูมิ
ใกล้กว่า ๒
วิธีส่งสาร อ่าน พูด/เขียน พูด/เขียน พูด/เขียน พูด
ลักษณะภาษา จริ งจัง ไพเราะ ตรงไปตรงมา ลด Serious ไม่ส่วนตัว ส่ วนตัว/สนิท
สละสลวย Serious
ปั ญหาเรื่ องระดับภาษา คือ ระดับใกล้กนั จะตัดสิ นลาบาก (๒:๓)(๔:๕)

๗๔. โทรเลข : สู ตรมีอยูว่ า่ สั้น กะทัดรัด ชัดเจน (วัน เวลา สถานที่) สั้น ไม่จาเป็ นต้องสั้นมาก ต้องได้
ใจความด้วย

๗๕. โทรศัพท์ ระวัง!


๑. ห้ามพูดโทรศัพท์วา่ "ฮัลโหล"
๒. ห้ามพูด "ขอสาย" "เรี ยนสาย" ให้ใช้ ขอพูด เรี ยนถาม
๓. คนโทรไปต้องพูดว่า "ขอพูดกับ..............จาก.............................." อย่าพูด "นัน่ ที่ไหน"
๔. คนรับโทรศัพท์ ต้องบอกว่าที่นี่ "สถานที่" ห้ามบอกเป็ นเบอร์ โทรศัพท์

๗๖. การประกาศ ไม่ใช่โฆษณา ดังนั้นประกาศก็บอกแค่ Who What When Where สู ตรการทาประกาศ


๑. บอก Who What When Where ให้ชดั เจน
๒. บอกที่อยู/่ เบอร์ โทรศัพท์ให้ติดต่อกลับ เพื่อสื่ อสาร ๒ ทาง
๓. การเรี ยง When + Where ต้องเรี ยงจาก วัน เวลา สถานที่
๔. รายละเอียดพอเหมาะอย่าพรรณนามาก เดี๋ยวกลายเป็ นโฆษณา

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 358
๗๗. การลาดับความ : ข้อสอบจะให้ Passage มาแล้วสลับท่อน แล้วให้เราเรี ยงใหม่ หลักการทา
๑. ห้ามเรี ยงตาม choice ที่เขาให้มา ๔ ข้อ จะโดนหลอก
๒. ตัดท่อนที่ข้ ึนต้นด้วย Verb สันธาน บุพบท ออกไปก่อน
๓. จับท่อน ๒ ท่อนที่คิดว่าอยูต่ ิดกันแน่ๆ มาเป็ นเสาเอก เสาหลัก สัมพันธ์เชิง ประธาน + กริ ยา,
สาเหตุ+ ผลลัพธ์
๔. เนื้ อๆ หลักๆ กว้างๆ ต้องขึ้น Passage ก่อน อย่าเอาน้ า, ส่ วนขยายอื่นขึ้น

๗๘. การเว้นวรรคตอน : การแบ่งจังหวะการเขียนให้ถูกต้อง หลักการทา


๑. ยังไม่จบความห้ามเว้นวรรค
๒. ที่ ซึ่ ง อัน ผูท้ ี่ ผูซ้ ่ ึ ง ว่า ให้ ต้องอยูต่ ิดกับคานามข้างหน้า
๓. ได้แก่ อาทิ เช่น ต้องเว้นวรรคหน้าหลังของคาแหล่านี้
๔. มียกตัวอย่างของหลายสิ่ ง สิ่ งสุ ดท้ายใช้ และ เชื่อม

๗๙. การพูด : จะออกข้อสอบแนวว่าให้สถานการณ์มาแล้วให้เราเลือกข้อที่การพูดเหมาะสมที่สุด ต้องยึด


หลักใจเขาใจเรา ระวัง! มารยาทต่อไปนี้
๑. เวลาเห็นขัดแย้งกับใคร หรื อปฏิเสธใคร ต้องบอกเหตุผล และต้องสุ ภาพให้เกียรติ
๒. อย่าประชดประชัน

๘๐. การประชุม : จะออก ๒ ลักษณะ คือ ศัพท์ในการประชุมและการพูดจาในการประชุม


๑. ประชุมตามข้อบังคับ กาหนดปกติ = ประชุมสามัญ
๒. ประชุมพิเศษเร่ งด่วน = ประชุมวิสามัญ
๓. ผูร้ ิ เริ่ มจัดประชุม กาหนดเรื่ อง วางแผนงาน = ผูจ้ ดั ประชุม
๔. จานวนเต็มของผูป้ ระชุม (Fix) = องค์ประชุม
๕. คนที่มาประชุมในวันนั้น (ไม่ Fix) = ที่ประชุม
๖. ผูค้ วบคุมการประชุม = ประธาน
๗. ผูจ้ ดั ระเบียบวาระ บันทึกรายงาน = เลขานุการ
๘. เรื่ องที่จะประชุม = ระเบียบวาระ
เรื่ องที่จะประชุมลาดับที่ ๑ = วาระที่ ๑
วาระที่ ๑ รับรองการประชุมครั้งก่อน (เรื่ องที่ประธานแจ้งให้ทราบ ต้องพูดก่อนวาระที่ ๑)
วาระที่ ๒ สะสางเรื่ องเก่า
วาระที่ ๓ Mouth เรื่ องใหม่
เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม
วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 359
๙. ข้อเสนอ = ญัตติ
๑๐. เห็นด้วยกับข้อเสนอ = สนับสนุน
๑๑. ไม่เห็นด้วยกับข้อเสนอ = คัดค้าน
๑๒. ทั้งเห็นด้วยกับไม่เห็นด้วยรวมเรี ยกว่า = อภิปราย
๑๓. ข้อสรุ ปของที่ประชุม = มติ
ทุกคน ๑๐๐% เห็นด้วย = มติเอกฉันท์
ไม่ถึง ๑๐๐% เห็นด้วย = มติเสี ยงข้างมา
๑๔. ที่ประชุมยอมรับข้อเสนอ = ผ่าน
๑๕. ที่ประชุมไม่ยอมรับข้อเสนอ = ตก
การพูดจาในที่ประชุม : จาหลักสาคัญต่อไปนี้
๑. ใช้ภาษาให้สอดคล้องกับระดับการประชุม (ถ้าประชุมใหญ่ๆ ใช้ภาษาระดับทางการ)
๒. ประธานต้องให้เกียรติผเู ้ ข้าประชุม อย่าทาให้เขาอาย, โกรธ ต้องสุ ภาพ
๓. ประธานต้องคอยประนีประนอม
๔. ประธานพูดขบขันได้นิดหน่อยเพื่อคลายเครี ยด
๕. ผูเ้ ขาประชุมจะพูดอะไรต้องขึ้นต้นด้วยคาว่า "ขอ"
๖. ผูเ้ ขาประชุมต้องพูดจาสุ ภาพ มีมารยาท ให้เกียรติ เวลาแสดงความเห็นขัดแย้งกัน

๘๑. การเขียนรายงาน + เรี ยงความ


จะใช้หลักเดียวกัน เพราะ ๒ เรื่ องนี้ เวลาออกสอบจะให้แต่งหรื อเขียนเรี ยงความรายงานไม่ได้จึง
ออกสอบในลักษณะให้หวั ข้อมา แล้วให้เราวางโครงเรื่ อง ดังนั้นจึงใช้หลักเดียวกัน คือ ต้องวาง
คานาม + เนื้อเรื่ อง + สรุ ป สามารถนาหลักการลาดับความข้อ ๗๗ มาประยุกต์ได้
* หมายเหตุ การเขียนรายงานนั้น ต้องใช้ภาษาระดับทางการ (Level ๒)

๘๒. จดหมาย จาหลักไว้วา่


๑. ใช้ภาษาให้เหมาะสมกับระดับบุคคลที่เราสื่ อสารด้วย
๒. อย่าใช้คา OVER มากไป ระวังให้ดี (สู งไป ต่าไป)
๓. ถ้อยคา กระชับ ชัดเจน ไม่ฟุ่มเฟื อย (เรี ยนมาแล้วข้อ ๕๘)

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 360
๘๓. ย่อความ
ใช้หลักเดียวกับข้อ ๖๓. (การอ่านจับใจความ) ข้อสอบมักจะให้เป็ น Passage แล้วถามว่าท่อนใด
เป็ น Main Idea นี่แหละลักษณะการออกสอบย่อความ ต้องดึง Main Idea มาให้ได้

คาในภาษาไทยที่มกั เขียนผิด
ต่อไปนี้ เป็ น รายชื่อคาในภาษาไทยที่มกั เขียนผิด เรี ยงลาดับตามตัวอักษรของ คาที่เขียนถูก ตามที่
ปรากฏในพจนานุกรมภาษาไทยหรื อตามประกาศของหน่วยงานราชการไทย
หมายเหตุ: การเขียนสะกดคาในนี้เป็ นกรณี ทวั่ ไป แต่ในกรณี เฉพาะ เช่น เป็ น วิสามานยนาม อาทิ เป็ นชื่อ
บุคคล ชื่อสถานที่ หรื อในทางร้อยกรอง สามารถเขียนสะกดคาแตกต่างได้
ก.
คาทีเ่ ขียนถูก มักเขียนผิดเป็ น หมายเหตุ
ก็ ก้อ
กงเกวียนกาเกวียน กงกากงเกวียน กง และ กา เป็ นส่ วนประกอบของล้อเกวียน
กงสุ ล กงศุล "กงสุ ล" มาจากคาในภาษาฝรั่งเศสว่า "consul"
กฎ ทุกอย่าง ใช้ ฎ ชฎา ยกเว้น ปรากฏ ใช้ ฏ ปฏัก ส่ วน
กฎ กฏ
กรกฎ/กรกฏ สะกดได้ท้ งั สองแบบ
กฐิน กฐิณ
กบฏ
- "กบฏ" ใช้ ฏ ปฏัก
- ในสมัยโบราณ เคยสะกดด้วย ฎ ชฎา (ดู พจนานุกรม
กบฎ, กบถ
กฎหมาย ของ ขุนสมาหารหิ ตะคดี)
- ถ้าออกเสี ยง "ขะ-บด" เขียน "ขบถ"

กบาล, กระบาล กะบาล, -บาน ใช้เรี ยกศีรษะ แต่ไม่สุภาพ


- "กรรมกร" = คนงาน, ลูกจ้างที่ใช้แรงงาน
- "กรรมกรณ์" = อาญา, เครื่ องสาหรับลงอาญา ฯลฯ มัก
กรรมกร กรรมกรณ์
สลับกัน

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 361

คาทีเ่ ขียนถูก มักเขียนผิดเป็ น หมายเหตุ


- "กรรมกร" = คนงาน, ลูกจ้างที่ใช้แรงงาน
กรรมกรณ์ กรรมกร - "กรรมกรณ์" = อาญา, เครื่ องสาหรับลงอาญา ฯลฯ มัก
สลับกัน
กระเชอ กระเฌอ, กะเชอ, กะเฌอ
กระเพาะ กะเพาะ, กะเพราะ, กระเพราะ ระวังสับสนกับ กะเพรา
(พระ)กระยาหาร (พระ)กายาหาร
"กริ ยา" (กฺริ-) คือ คาชนิดหนึ่ง บอกอาการ การกระทา
กริ ยา กิริยา
เช่น เดิน วิง่ เขียน เหล่านี้ คือ คากริ ยา
กรี ฑา กรี ธา, กรี ทา กีฬาอย่างหนึ่ง มักสลับกัน
เคลื่อน ยก เดินเป็ นหมู่หรื อเป็ นกระบวน เช่น กรี ธาทัพ
กรี ธา กรี ฑา
มักสลับกัน
กลยุทธ์ กลยุทธ, กลยุทธิ, กลยุทธิ์
กลางคัน กลางครัน
กลิ่นอาย กลิ่นไอ
กสิ ณ กสิ น
กเฬวราก กเลวราก
กอปร กอป, กอปร์ อ่านว่า "กอบ"
กลอฟ, กอลฟ์ , ก็อลฟ์ , ก็อล์ฟ,
กอล์ฟ
ก๊อลฟ์ , ก๊อล์ฟ
กะทันหัน กระทันหัน
กะเทย กระเทย
กะเทาะ กระเทาะ
กะบังลม กระบังลม

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 362

คาทีเ่ ขียนถูก มักเขียนผิดเป็ น หมายเหตุ


กะปิ กระปิ
กะพง กระพง
กะพริ บ กระพริ บ
กะพรุ น กระพรุ น
กะเพรา กะเพา, กระเพา, กระเพรา ระวังสับสนกับ กระเพาะ
กะล่อน กระล่อน
กะละมัง กาละมัง
กะลาสี กลาสี
กะละแม กาละแม, กาลาแม, กาละแมร์
กะหรี่ กระหรี่
กะเหรี่ ยง กระเหรี่ ยง
กะหล่า กระหล่า
กะโหลก กระโหลก จาไว้วา่ กะโหลก กะลา
กังวาน กังวาล
กันทรลักษ์ กันทรลักษณ์, กัณ-
ทรงกันแสง, ทรงพระกันแสง = ร้องไห้; กรรแสง แผลง
กันแสง กรรแสง, กรรณแสง
มาจาก กระแสง = ส่ งเสี ยงร้อง, ผ้าสไบ
กาลเทศะ กาละเทศะ
กาลเวลา กาฬเวลา กาล หมายถึง เวลา , กาฬ แปลว่า รอยดา หรื อ แดง
กาฬสิ นธุ์ กาฬสิ นธ์, กาล-
กาเหน็จ กาเน็จ, กาเหน็ด
กิจจะลักษณะ กิจลักษณะ, กิจจลักษณะ
กิตติมศักดิ์ กิติมศักดิ์, เกียรติมศักดิ์

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 363

คาทีเ่ ขียนถูก มักเขียนผิดเป็ น หมายเหตุ


กินรี กินนรี แต่ "กิน-นอน" เขียน 'กินนร'
กิริยา กริ ยา "กิริยา" คือ อาการ การกระทา เช่น ปฏิกิริยา
"กุฏิ" อ่านว่า "กุด" หรื อ "กุด-ติ", ถ้าต้องการอ่าน "กุ-ดี"
กุฎี, กุฏิ กุฎ, กุฎิ
ต้องเขียน "กุฎี" (ใช้คาไหนก็ได้)
กู กรู คาสรรพนามบุรุษที่หนึ่ง
ในภาษาไทยสาหรับกรณี ทวั่ ไปจะไม่มีการเปลี่ยน
รู ปแบบคาใด ๆ ทั้งสิ้ น ไม่วา่ สื่ อความหมายถึงเอกพจน์
เกม เกมส์ หรื อพหูพจน์
เว้นแต่เป็ นการทับศัพท์วสิ ามานยนาม เช่น "SEA
Games" ว่า ซีเกมส์
เกล็ดเลือด เกร็ ดเลือด
เกษียณ = สิ้ นไป เช่นเกษียณอายุ; เกษียน = เขียน;
เกษียณ เกษียน, เกษียร
เกษียร = น้ านม
เกสร เกษร ส่ วนในของดอกไม้
เกาต์ เก๊าท์
อ่านว่า "เกียด", ถ้าเขียน "เกียรติ์" อ่านว่า "เกียน" เช่น
เกียรติ เกียตร, เกียรต, เกียรต์, เกียรติ์
รามเกียรติ์
"แก๊ง" มาจากภาษาอังกฤษว่า "gang" ในภาษาไทยเป็ น
แก๊ง แก๊งค์, แก๊งก์ ภาษาปาก หมายความว่า "กลุ่มคนที่ต้ งั เป็ นก๊กเป็ นเหล่า
(มักใช้ในความหมายไม่ดี) เช่น แก๊งโจร แก๊งอันธพาล"
ไม่เจริ ญเติบโตตามปรกติ (ใช้แก่คน สัตว์ และพืช), เช่น
แกร็ น แกน, แกรน
แคระแกร็ น

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 364

ข.
คาทีเ่ ขียนถูก มักเขียนผิดเป็ น หมายเหตุ
ขบถ ขบฏ ดู กบฏ
ขโมย โขมย
ขวาน ขวาญ
ขะมักเขม้น ขมักเขม้น
ขัณฑสกร ขัณท-, ขันท-, ขันฑ-
ขาดดุล ขาดดุลย์ ดู "ดุล", "สมดุล"
ข้าวเหนียวมูน ข้าวเหนียวมูล มูน = เอากะทิเคล้ากับข้าวเหนียวเพื่อให้มนั
ขี้เกียจ ขี้เกลียด, ขี้เกียด
ขึ้นฉ่าย คึ่น-, -ช่าย, -ไฉ่, -ไช่
เขยก ขเยก, ขะเหยก
ไข่มุก ไข่มุกข์, ไข่มุกด์, ไข่มุข

ค.
คาทีเ่ ขียนถูก มักเขียนผิดเป็ น หมายเหตุ
คณบดี คณะบดี
คทา คฑา, คธา
คน ฅน ฅ ไม่เคยใช้เขียนคาว่า ฅน
ครรไล ครรลัย
ครองแครง คลองแคลง
คาว่า "ราชย์" หมายถึง ความเป็ นราชา, "ครองราชย์" จึง
หมายถึง ครองความเป็ นราชา ทั้งนี้ คาว่า "ครองราช
ครองราชย์ ครองราช สมบัติ" หมายความว่า ครองสมบัติของพระราชา ก็คือ
ครองความเป็ นราชา (มิใช่ "ครองราชยสมบัติ" อัน
แปลว่า ครองสมบัติแห่งความเป็ นพระราชา)

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 365

คาทีเ่ ขียนถูก มักเขียนผิดเป็ น หมายเหตุ


ครอบคลุม คลอบคลุม, -ครุ ม, -คุม
คริ สตกาล คริ สต์กาล ใช้ตามโบราณ
คริ สตจักร คริ สต์จกั ร ใช้ตามโบราณ
คริ สต์ทศวรรษ คริ สตทศวรรษ ไม่นิยมสมาสข้ามภาษา
คริ สต์ศตวรรษ คริ สตศตวรรษ ไม่นิยมสมาสข้ามภาษา
คริ สต์ศกั ราช คริ สตศักราช
คริ สต์ศาสนา คริ สตศาสนา ไม่นิยมสมาสข้ามภาษา
คริ สต์ศาสนิกชน คริ สตศาสนิกชน
คริ สต์มาส คริ สตมาส
ครุ ฑ ครุ ท
ครุ ภณั ฑ์ คุรุภณั ฑ์
ครุ ศาสตร์ คุรุศาสตร์
คฤหาสน์ คฤหาสถ์ คฤห + อาสน
คลิก คลิ้ก, คลิ๊ก
คลินิก คลีนิก, คลินิค
ค้อน ฆ้อน
คะ ค๊ะ
คะนอง คนอง
คัดสรร คัดสรรค์
คาร์ป คาร์ฟ, คราฟ, คาร์พ, คราพ ชื่อปลา ทับศัพท์มาจาก carp
คารวะ เคารวะ, คาราวะ, คราวะ
คานวณ คานวน

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 366

คาทีเ่ ขียนถูก มักเขียนผิดเป็ น หมายเหตุ


คาสดุดี คาดุษฎี
คุกกี้ คุก้ กี้, คุก๊ กี้ ออกเสี ยง คุก โดยไม่ตอ้ งใส่ วรรณยุกต์
คุรุศึกษา ครุ ศึกษา
เค้ก เค็ก, เค๊ก
เครี ยด เคลียด
เครื่ องราง เครื่ องลาง
แค็ตตาล็อก แคตตาล็อก, แคตาล็อก
แคบหมู แค็บ-, แคป-, แค็ป-
แคะแกน, แคะแกรน, แคระ แกร็ น = ไม่เจริ ญเติบโตตามปรกติ (ใช้แก่คน สัตว์ และ
แคระแกร็ น
แกน, แคระแกรน, แคระเกร็ น พืช)
แครง เป็ นชื่อหอยทะเลและชื่อเห็ดชนิดหนึ่ง; แคลง
แครง แคลง
แปลว่า กินแหนง, สงสัย
โค่ง โข่ง โข่ง = เปิ่ น ไม่เข้าท่า / โค่ง = โตกว่าเพื่อน
โคตร โครต, โคต, โคด
โครงการ โครงการณ์, โคลงการ การ คือ งาน
ออกเสี ยง คว ควบกล้ า และออกเสี ยง ต้า โดยไม่ตอ้ งใส่
โควตา โควต้า
วรรณยุกต์
คอลัมน์ คอลัมม์

ฆ.
คาทีเ่ ขียนถูก มักเขียนผิดเป็ น หมายเหตุ
ฆราวาส ฆรวาส, ฆารวาส, -วาท
ฆาตกร ฆาตรกร ฆาต แปลว่า ฆ่า, ทาลาย หรื อ ตี
ฆาตกรรม ฆาตรกรรม ฆาต แปลว่า ฆ่า, ทาลาย หรื อ ตี

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 367

คาทีเ่ ขียนถูก มักเขียนผิดเป็ น หมายเหตุ


- "เฆี่ยน" = ตีดว้ ยหวายหรื อไม้เรี ยวเป็ นต้นเป็ นการ
เฆี่ยน เคี่ยน ลงโทษ เป็ นต้น
- "เคี่ยน" ไม่มีความหมาย

ง.
คาทีเ่ ขียนถูก มักเขียนผิดเป็ น หมายเหตุ
งบดุล งบดุลย์ ไม่ใช่ ดุลย์
งูสวัด งูสวัส, งูสวัสดิ์

จ.
คาทีเ่ ขียนถูก มักเขียนผิดเป็ น หมายเหตุ
จงกรม จงกลม การฝึ กสมาธิ
เครื่ องดนตรี ไทย เรี ยก จะเข้; ชื่อสถานที่บางแห่งยัง
จระเข้ จรเข้ สะกดว่า จรเข้ อยูเ่ ช่น คลองจรเข้บวั ตาบลจรเข้สามพัน
ตาบลจรเข้ร้อง
จลนศาสตร์ จลศาสตร์
จลาจล จราจล มาจากคา จล + อจล
จะงอย จงอย
จะจะ จะ ๆ คามูลสองพยางค์
จาละเม็ด, จาระเม็ด, จรเม็ด,
จะละเม็ด
จระเม็ด
จักจัน่ จัก๊ จัน่
จักร จักร์
จักรพรรดิ จักรพรรดิ์ อ่านว่า "จัก-กฺระ-พัด"
จักรวรรดิ จักรวรรดิ์ อ่านว่า "จัก-กฺระ-หวัด"
จักสาน จักรสาน เครื่ องใช้ที่ทาด้วยมือ

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 368

คาทีเ่ ขียนถูก มักเขียนผิดเป็ น หมายเหตุ


จัตุรัส จตุรัส
จาระไน จารไน
จาระบี จารบี
จานง จานงค์ แผลงจาก "จง"
จินตนาการ จินตะนาการ, จินตรนาการ
จุฬาลงกรณ์ ปัจจุบนั ใช้แบบมีทณั ฑฆาตตามที่ได้รับพระราชทาน
จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย
มหาวิทยาลัย (ขัดหลักคาสมาส)
เจ๊ง เจ็ง, เจ้ง, เจ๋ ง เจ๊ง (ไม้ตรี ) = ล้มเลิกกิจการ หมดสภาพ ใช้การไม่ได้
เจ๋ ง เจ๊ง เจ๋ ง (ไม้จตั วา) = ดีเลิศ ยอดเยี่ยม
เจตจานง เจตจานงค์ จานง แผลงจาก จง
เจตนารมณ์ เจตนารมย์
เจียระไน เจียรไน
โจทก์ หมายถึง ผูฟ้ ้องร้องในศาลกล่าวหาจาเลย โจทย์
โจทก์ โจทย์
หมายถึง ปัญหา เช่น โจทย์เลข
ใจ จัย

ฉ.
คาทีเ่ ขียนถูก มักเขียนผิดเป็ น หมายเหตุ
ฉบับ ฉะบับ
ฉะนั้น ฉนั้น
ฉะนี้ ฉนี้
เสมือน เช่น ฉันญาติ ฉันมิตร; รับประทาน ใช้แก่
ฉัน ฉันท์
พระสงฆ์
ฉันท์ ฉัน ความพอใจ หรื อร้อยกรองประเภทหนึ่งมีบงั คับครุ ลหุ
เฉพาะ ฉะเพาะ, ฉเพาะ

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 369

คาทีเ่ ขียนถูก มักเขียนผิดเป็ น หมายเหตุ


ไฉน ฉไน

ช.
คาทีเ่ ขียนถูก มักเขียนผิดเป็ น หมายเหตุ
(พระ)ชนมพรรษา (พระ)ชนม์พรรษา อ่านว่า ชน-มะ-พัน-สา
(พระ)ชนมายุ (พระ)ชนม์มายุ มาจาก ชนฺ ม(นฺ ) + อายุ
ชมพู ชมภู
ชมพู่ ชมภู่
หมายถึง ทางน้ า เช่น กระบวนเสด็จพระราชดาเนินโดย
ชลมารค ชลมาค, ชลมาคร, ชลมาร์ค
ทางชลมารค
ช๊อกโกแลต, ช็อกโกแล็ต,
ช็อกโกเลต,
ชอคโกแลต, ช๊อคโกแลต, ตามพจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554
ช็อกโกแลต
ช็อคโกแลต ฯลฯ
ชอุ่ม ชะอุ่ม
ชะนี ชนี
ชะมด ชมด
ชัชวาล ชัชวาลย์
"ชาลา" แปลว่า ชาน "ชานชาลา" เป็ นคาซ้อน (ทานอง
ชานชาลา ชานชะลา
เดียวกับ กักขัง, ใหญ่โต ฯลฯ)
ชีพิตกั ษัย ชีพตักษัย
ชีวประวัติ ชีวะประวัติ สมาสแล้วลบวิสรรชนีย ์
พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554 ให้
ไชเท้า, ไช้เท้า ใชเท้า
สะกดได้ท้ งั ไชเท้า และ ไช้เท้า
ผักกาดหัวที่ดองเค็มหรื อหวาน แล้วนาไปตากแห้ง;
ไชโป๊ , ไช้โป๊ ไชโป๊ ว, ไช้โป๊ ว, ไชโป้ว
ระบบเสี ยงภาษาไทยไม่มีเสี ยงสระโอว

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 370

ซ.
คาทีเ่ ขียนถูก มักเขียนผิดเป็ น หมายเหตุ
ซวดเซ ทรวดเซ
ซ่องเสพ ส้องเสพ
ซาบซ่าน ทราบซ่าน, -ส้าน
ซาบซึ้ ง ทราบซึ้ ง
ซาลาเปา ซาละเปา, ซะละเปา
ซาวด์เสี ยง,
แปลว่า หยัง่ เสี ยงเพื่อฟังความคิดเห็น และไม่ได้มาจาก
ซาวเสี ยง ซาวน์เสี ยง,
คาภาษาอังกฤษว่า "sound"
ซาวนด์เสี ยง
ซีเม็นต์, ซีเมนท์, ซีเม็นท์, ซี
ซีเมนต์
เม็น
ซีรีส์ ซีรีย,์ ซีรี่ย ์
ซุ่ม = ซ่อน, แอบซ่อนคอยทีอยู่ / สุ่ ม = เครื่ องมือจับ
ซุ่ม สุ่ ม, สุ ้ม
ปลา, เครื่ องสานครอบขังไก่, ไม่เฉพาะเจาะจง
ซุม้ สุ ้ม สิ่ งที่เป็ นพุม่ มีทางลอดได้, ส่ วนบนของประตูหน้าต่าง
เซ็นชื่อ เซ็นต์ชื่อ จากคาอังกฤษ sign, ไม่มี ต การันต์
เซนติเมตร เซ็นติเมตร
ตามพจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554;
แซ่บ แซบ ใส่ รูปวรรณยุกต์เอกเพื่อบ่งว่าเป็ นเสี ยงวรรณยุกต์โท
และออกเสี ยงสั้น (อย่างคาว่า แน่บ)
ตามพจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554;
แซ็ว แซว
ใส่ ไม้ไต่คูเ้ พราะออกเสี ยงสั้น
ไซ้ = กิริยาที่นกหรื อเป็ ดเอาปากย้า ๆ ขนหรื อหาอาหาร
ฯลฯ, เช่น เป็ ดไซ้ขน
ไซ้ ไซร้
ไซร้ = คาสาหรับเน้นความหมายของคาหน้า, เช่น
ลูกหนี้ยงั ไม่ชาระหนี้ไซร้ ลูกหนี้ได้ชื่อว่าผิดนัด

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 371

คาทีเ่ ขียนถูก มักเขียนผิดเป็ น หมายเหตุ


โซม = เปี ยกทัว่ , เช่น เหงื่อโซมตัว
โซม โทรม โทรม = เสื่ อมสภาพ, ระดมฟันแทง, ร่ วมกันข่มขืน
กระทาชาเราหญิง ฯลฯ

ฌ.
คาทีเ่ ขียนถูก มักเขียนผิดเป็ น หมายเหตุ
ฌาน ฌาณ
ฌาปนกิจ ฌาปณกิจ
เฌอ กระเฌอ, กะเฌอ

ญ.
คาทีเ่ ขียนถูก มักเขียนผิดเป็ น หมายเหตุ
ญวน ญวณ
ญัตติ ญัติ
ญาณ ญาน
ญาติ ญาต

ฎ.
คาทีเ่ ขียนถูก มักเขียนผิดเป็ น หมายเหตุ
ฎีกา ฏีกา ใช้ ฎ ชฎา ตัวอักษรที่คล้ายกันทาให้เกิดความสับสน

ฐ.
คาทีเ่ ขียนถูก มักเขียนผิดเป็ น หมายเหตุ
ฐาน ฐาณ

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 372

ณ.
คาทีเ่ ขียนถูก มักเขียนผิดเป็ น หมายเหตุ
อ่านว่า "นะ" มีความหมายว่า ที่
ในการเขียน ไม่มีจุดข้างหลังเพราะมิใช่คาย่อ แต่ "ณ"
ณ ณ.
แผลงรู ปมาจาก "ใน" และมักเว้นวรรคหน้าวรรคหลัง
"ณ" ด้วย เช่น "อยู่ ณ ที่น้ ี"

ด.
คาทีเ่ ขียนถูก มักเขียนผิดเป็ น หมายเหตุ
ดอกจันท์, ดอกจันทน์, ดอก
ดอกจัน เครื่ องหมาย *, ดอกของต้นจัน
จันทร์
ดอกจัน, ดอกจันท์, ดอก
ดอกจันทน์ รกหุม้ เมล็ดจันทน์เทศ
จันทร์
ดอกไม้จนั , ดอกไม้จนั ท์,
ดอกไม้จนั ทน์ ดอกไม้ประดิษฐ์สาหรับงานเผาศพ
ดอกไม้จนั ทร์
ดัตช์ ดัชต์, ดัชท์, ดัทช์
ดาดตะกัว่ ดาษตะกัว่
ดาดฟ้า ดาษฟ้า
ดาวน์ ดาว์น, ดาว คาทับศัพท์ down ตัวสะกดหลักคือ ว
ดาษดื่น ดาดดื่น
ดารง ดารงค์
ดาริ ดาหริ , ดาริ ห์ อ่านว่า "ดา-หริ ", โบราณเขียน "ดาริ ห์"
"ดุล" เป็ นคานามแปลว่า ความเท่ากัน หรื อความเสมอ
ดุล ดุลย์ กัน, ส่ วน "ดุลย์" เป็ นคาวิเศษณ์แปลว่า เท่ากัน หรื อ
เสมอกัน
ดุษณี หมายถึง นิ่ง
ดุษณี โดยดุษฎี ดุษฎี หมายถึง ยินดี
มักใช้สลับกัน เช่น ในถ้อยคาว่า "ยอมรับโดยดุษณี "

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 373

คาทีเ่ ขียนถูก มักเขียนผิดเป็ น หมายเหตุ


เดินเหิน เดินเหิร โบราณเขียน "เหิร"
เป็ นภาษาปาก หมายถึง กิน หรื อ พูดกระทบให้โกรธ
แดก แดรก, แด่ก, แดร่ ก, แด๊ก
ฯลฯ
ไดรฟ์ ไดร์ฟ คาทับศัพท์ drive ดร ควบกล้ า

ต.
คาทีเ่ ขียนถูก มักเขียนผิดเป็ น หมายเหตุ
ตรรกศาสตร์ ตรรกะศาสตร์
ตรรกะ, ตรรก- ตรรกกะ
ตระเวน ตระเวณ
ตราสัง ตราสังข์
ตรึ งตรา ตรึ งตา หมายถึง ติดแน่น
ตะกร้า ตระกร้า
ตะราง ตาราง ที่คุมขัง
ตานขโมย ตาลขโมย
ตาราง ตะราง ช่องสี่ เหลี่ยม
ตารับ ตาหรับ
ติดสัด ติดสัตว์
โต๊ะ โต้ะ
ใต้ ไต้ ใช้แสดงตาแหน่ง เช่น ใต้โต๊ะ ภาคใต้ แสงใต้ (ออโรรา)
เปรี ยบเหมือนเราอยูข่ า้ งใต้ เท้าของผูม้ ีอานาจบารมี
ใต้เท้า ไต้เท้า
ทานองเดียวกับ ใต้ฝ่าพระบาท ฯลฯ
หมายถึงคบเพลิง เช่น ขี้ไต้ จุดไต้ตาตอ น้ าตาแสงไต้
ไต้ ใต้
หรื อใช้ทบั ศัพท์ภาษาอื่น
ไต้ก๋ง ใต้ก๋ง นายท้ายเรื อสาเภาหรื อเรื อประมง ทับศัพท์จากภาษาจีน

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 374

คาทีเ่ ขียนถูก มักเขียนผิดเป็ น หมายเหตุ


ไต้ฝนุ่ ใต้ฝนุ่ ทับศัพท์มาจาก typhoon
ไตรยางศ์ ไตรยางค์
ไต้หวัน ใต้หวัน ทับศัพท์จากภาษาจีน

ถ.
คาทีเ่ ขียนถูก มักเขียนผิดเป็ น หมายเหตุ
ถนนลาดยาง ถนนราดยาง ลาด หมายถึง ปู
ถ่วงดุล ถ่วงดุลย์
ถัว่ พู ถัว่ พลู ถัว่ ที่ดา้ นข้างมีรอยเป็ นพู
เถา เถาว์
ไถ่ตวั ถ่ายตัว เรี ยกค่าไถ่ ก็ใช้คานี้

ท.
คาทีเ่ ขียนถูก มักเขียนผิดเป็ น หมายเหตุ
ทโมน ทะโมน, โทมน
ทยอย ทะยอย
ทแยง ทะแยง, แทยง
ทรงกลด ทรงกรด
ทรมาทรกรรม ทรมานทรกรรม
- ทรราช = ผูป้ กครองบ้านเมืองที่ใช้อานาจสร้างความ
เดือดร้อน, ตามรากศัพท์หมายถึง ราชาชัว่ แต่สามารถ
ทรราช ทรราชย์ ใช้ได้กบั ทั้งที่เป็ นราชาและไม่เป็ นราชา
- ทรราชย์ = รู ปแบบ ระบบ หรื อลัทธิการปกครองแบบ
ทรราช
ทระนง, ทะนง ทรนง, ทนง

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 375

คาทีเ่ ขียนถูก มักเขียนผิดเป็ น หมายเหตุ


ทลาย ทะลาย พังทลาย ถล่มทลาย
ทศกัณฐ์ ทศกัณฑ์ กัณฑ์ แปลว่า คาเทศน์ตอนหนึ่ง; กัณฐ์ แปลว่า คอ
ทอนซิล ทอมซิน
ทะนุถนอม ทนุถนอม
ทะนุบารุ ง, ทานุ
ทนุบารุ ง
บารุ ง
ทะลาย ทลาย ช่อผลของมะพร้าว
ทะเลสาบ ทะเลสาป
ทัณฑ์ ฑัณฑ์
ทายาด ทายาท ทายาด = ยิง่ ยวด เช่น ทนทายาด
ทายาท ทายาด, ทาญาติ ทายาท = ผูส้ ื บสกุล
ทารุ ณ ทารุ น
ทีฆายุโก ฑีฆายุโก ทีฆายุ หมายถึง อายุยนื ยาว
ทุกรกิริยา ทุกขกิริยา, ทุกขรกิริยา หมายถึง กิจที่ทาได้ยาก
ทุคติ ทุกข์คติ
ทุพพลภาพ ทุพลภาพ
ทุพภิกขภัย ทุภิกขภัย ทุส + ภิกขภัย, เปลี่ยน ส เป็ น พ ตามหลักการสมาส
ทุศีล ทุจศีล
ทูต ทูต ทูตทุกอย่าง ใช้ ท ทหาร
ทูนหัว ทูนหัว พ่อทูนหัว แม่ทูนหัว
ทูลกระหม่อม ทูนกระหม่อม
เท่ เท่ห์
เทพนม เทพพนม เทว + นม ไม่ใช่ เทพ + พนม
เทเวศร์ เทเวศ, เทเวศน์ เทว + อิศร

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 376

คาทีเ่ ขียนถูก มักเขียนผิดเป็ น หมายเหตุ


เทโวโรหณะ เทโวโรหนะ ใช้ ณ เณร มาจาก เทว + โอโรหณ
เทอญ เทิญ
เทอม เทิม, เทิร์ม
เท้าความ ท้าวความ เขียนเหมือน "เท้า"
ยกเว้นเมื่อเป็ นส่ วนหนึ่งของวิสามานยนาม เช่น ถนน
เทิด เทิด
เทอดไท ทางแยกเทอดดาริ
เทิดทูน เทิดทูล
แท็กซี่ แท็กซี่
แทรกแซง แซกแซง
โทรทรรศน์ โทรทัศน์ กล้องส่ องทางไกล
โทรทัศน์ โทรทรรศน์ เครื่ องใช้ไฟฟ้าชนิดหนึ่ง
โทรม = เสื่ อมสภาพ, ระดมฟันแทง, ร่ วมกันข่มขืน
โทรม โซม กระทาชาเราหญิง ฯลฯ
โซม = เปี ยกทัว่ , เช่น เหงื่อโซมตัว
โทรศัพท์ โทรศัพย์

ธ.
คาทีเ่ ขียนถูก มักเขียนผิดเป็ น หมายเหตุ
ธนบัตร ธนาบัตร
ธนาณัติ ธนานัติ, ธนาณัต
ในหนังสื อเก่า ๆ เขียน "ทาเนี ยม" ก็มี, แต่ปัจจุบนั ใช้
ธรรมเนียม ทาเนียม
"ธรรมเนียม" (มาจาก ธรรม + นิยม)
ธัญพืช ธัญญพืช
ธามรงค์ ธามรง, ทามะรงค์ แปลว่า "แหวน"
ธารง ธารง

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 377

คาทีเ่ ขียนถูก มักเขียนผิดเป็ น หมายเหตุ


ธุ รกิจ ธุ รกิจ คาสมาส หรื อใช้ กิจธุ ระ

น.
คาทีเ่ ขียนถูก มักเขียนผิดเป็ น หมายเหตุ
นพปฎล นพปดล แปลว่า เก้าชั้น
นภดล นภดล เว้นแต่ "นพดล" ที่เป็ นชื่อเฉพาะ
นวัตกรรม นวตกรรม
นอต น็อต, น๊อต ทับศัพท์จาก nut ในภาษาอังกฤษที่หมายถึงอุปกรณ์ช่าง
นะ น๊ะ ออกเสี ยงวรรณยุกต์ตรี โดยไม่ปรากฏรู ป
คะ เป็ นเสี ยงตรี ไม่ตอ้ งใช้ไม้ตรี ในขณะที่ ค่ะ เป็ นเสี ยง
นะคะ นะค่ะ, นะค๊ะ
โท
นันทนาการ สันทนาการ
นัย นัยยะ อ่านได้ท้ งั ไน และ ไน-ยะ
นัยน์ตา นัยน์ตา
คาประกอบหน้ากริ ยา หมายความว่า ควร เช่น น่าจะทา
น่า หน้า อย่างนั้น น่าจะเป็ นอย่างนี้ ; ชวนให้, ทาให้อยากจะ, เช่น
น่ากิน น่ารัก
นาฏกรรม นาฎกรรม ใช้ ฏ ปฏัก
นาฑี เป็ นภาษาสันสกฤต พบบ้างในหนังสื อเก่า
นาที นาที
ปั จจุบนั พจนานุกรมให้สะกดแบบเดียวเท่านั้น
นานัปการ นานับประการ
ไม่ใช่คาซ้ า แต่เป็ นคามูลสองพยางค์ที่รับมาจากภาษา
นานา นา ๆ
บาลี แปลว่า "ต่าง ๆ"
น้ าจัณฑ์ น้ าจัน, -จัณท์, -จันท์
น้ ามันก๊าด น้ ามันก๊าซ, -ก๊าส

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 378

คาทีเ่ ขียนถูก มักเขียนผิดเป็ น หมายเหตุ


หมายถึงการนาน้ าแข็งไปไสบนกบ จนได้เกล็ดน้ าแข็ง
น้ าแข็งไส น้ าแข็งใส
เป็ นวิธีทาแบบดั้งเดิม
นิจศีล นิจสิ น
นิตยสาร นิตยาสาร
นิเทศ นิเทศน์, นิเทส
นิมิต นิมิตร, นิรมิตร
นิวตั นิวตั ิ
นิเวศวิทยา นิเวศน์วทิ ยา
เนรมิต เนรมิตร
เนืองนิตย์ เนืองนิจ
- "แน่นหนา" ว่า มัน่ คง เช่น ใส่ กุญแจแน่นหนา มี
หลักฐานมัดตัวแน่นหนา, แข็งแรง เช่น ประตูหน้าต่าง
แน่นหนา, บางทีก็ใช้เข้าคู่กบั ปึ กแผ่น เป็ น เป็ นปึ กแผ่น
แน่นหนา หนาแน่น
แน่นหนา.
- "หนาแน่น" ว่า คับคัง่ , แออัด, เช่น กรุ งเทพฯ มี
ประชากรหนาแน่นมาก.
โน้ต โน๊ต, โน้ท, โน๊ท อักษรต่า ไม่ใส่ ไม้ตรี

บ.
คาทีเ่ ขียนถูก มักเขียนผิดเป็ น หมายเหตุ
บรรทัด บรรทัด
บรรทุก บรรทุก
บรรลุ บรรลุ
บรรเลง บันเลง
บรั่นดี บะหรั่นดี

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 379

คาทีเ่ ขียนถูก มักเขียนผิดเป็ น หมายเหตุ


บริ สุทธิ์ บริ สุทธ, บริ สุทธิ
บล็อก บล็อค, บล๊อก หลักการทับศัพท์
บ่วงบาศก์, บ่วงบาต,
บ่วงบาศ
บ่วงบาท
บอระเพ็ด บรเพ็ด, บอระเพชร
บังสุ กุล บังสกุล
บังเอิญ บังเอิญ
บัญญัติไตรยางศ์ บัญญัติไตรยางค์ เหมือน ไตรยางศ์
บัตรสนเท่ห์ บัตรสนเท่
บันดาล บรรดาล
บันได บรรได
บันเทิง บรรเทิง
บันลือ บรรลือ
บางลาพู บางลาภู
บาดทะยัก บาททะยัก, บาดทยัก
บาตร บาตร เครื่ องใช้อย่างหนึ่งของพระสงฆ์
บาทบงสุ์ บาทบงส์ อ่านว่า บาด-ทะ-บง
บาทหลวง บาดหลวง
บาเหน็จ บาเน็จ
"บาต" ไม่ได้มาจากคาที่แปลว่า บาตร แต่รับมาจากคา
ภาษาบาลีวา่ ปาต [ปา-ตะ] แปลว่า ตก, การตก
บิณฑบาต บิณฑบาตร, บิณฑบาท เช่น ปิ ณฺ ฑปาต = การตกของก้อนข้าว (บิณฑบาต), อุกฺ
กาปาต แปลว่า การตกของคบเพลิง (อุกกาบาต), อสนิ
ปาต = การตกของสายฟ้า (อสุ นีบาต)
บิดพลิ้ว บิดพริ้ ว

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 380

คาทีเ่ ขียนถูก มักเขียนผิดเป็ น หมายเหตุ


บุคคล บุคล
บุคลากร บุคคลากร
มาจากคาภาษาบาลีวา่ ปุคฺคลิก [ปุก-คะ-ลิ-กะ] เมื่อ
บุคลิก บุคคลิก, บุคลิค, บุคคลิค รับมาใช้ในภาษาไทย สะกดด้วย ค ตัวเดียว แต่อ่านว่า
บุก-คะ-ลิก
บุคคลิกภาพ, บุคลิคภาพ,
บุคลิกภาพ
บุคคลิคภาพ
บุปผชาติ บุปผาชาติ
บุษราคัม บุษราคา, บุศ-
บูชายัญ บูชายัน, บูชายันต์
คาสมาส ไม่ตอ้ งประวิสรรชนียร์ ะหว่างคา แต่ยงั คงออก
บูรณปฏิสังขรณ์ บูรณะปฏิสังขรณ์
เสี ยง อะ
เพส มาจากคาว่า วีสะ แปลว่า 20; เบญจ แปลว่า 5
เบญจเพส เบญจเพศ
ดังนั้น เบญจเพส = 25
เบนซิน เบ็นซิน, เบนซิล
เบรก เบรก ศัพท์บญั ญัติ หรื อใช้คาว่า ห้ามล้อ
ตามหลักเกณฑ์การทับศัพท์ภาษาอังกฤษและ
พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554
แบ๊งก์, แบ็งก์, แบงค์, แบ๊งค์,
แบงก์ (เฉพาะกรณี ที่ใช้เป็ นภาษาปากหมายถึงธนาคารหรื อ
แบ็งค์
ธนบัตร หากเป็ นวิสามานยนามอาจสะกดแตกต่าง
ออกไปได้)
โบราณ โบราน, โบราญ

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 381

ป.
คาทีเ่ ขียนถูก มักเขียนผิดเป็ น หมายเหตุ
ปฏิกิริยา ปฏิกริ ยา
ปฏิสันถาร ปฏิสัณฐาน, ปฏิสันถาน
ปฏิทิน ปติทิน
ปฏิพทั ธ์ ประติพทั ธ์
ปฏิสังขรณ์ ปฏิสังขร
ปฐมนิเทศ ปฐมนิเทศก์, ปฐมนิเทศน์
ปณิ ธาน,
ปนิธาน, ประนิธาน ตั้งใจไว้
ประณิ ธาน
ปรนนิบตั ิ ปรณนิบตั ิ
ปรมาณู ปรมณู ปรม + อณู
ปรองดอง ปองดอง
ประกายพรึ ก ประกายพฤกษ์
ประกาศนียบัตร ประกาศณี ยบัตร
ประกาศิต ประกาษิต
ประจัญ ประจัน
• ประจัญ = ปะทะต่อสู ้ (เช่น ประจัญบาน = รบอย่าง
ประจันบาน, ประจันบาล,
ประจัญบาน ตะลุมบอน), แผลงมาจากคาเขมรว่า "ผจัญ" (ผฺ จาญ่)
ประจัญบาล
• ประจัน = กั้นเป็ นส่ วนสัด (เช่น ฝาประจันห้อง = ฝา
ประจันหน้า ประจัญหน้า
กั้นห้อง), เผชิญ (เช่น ประจันหน้ากัน), ฯลฯ
ประจันห้อง ประจัญห้อง
ประจาการ ประจาการณ์
ประณต ประนต (กริ ยา) น้อมไหว้
ประณม ประนม (อาการนาม) การน้อมไหว้
ประณาม ประนาม

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 382

คาทีเ่ ขียนถูก มักเขียนผิดเป็ น หมายเหตุ


ประณี ต ปราณี ต, ประนีต
ประดิดประดอย ประดิษฐ์ประดอย
ประณี -, ปรานี -, ปราณี -,
ประนีประนอม -ประณอม, -ปรานอม, -ปราณ
อม
ประมาณ ประมาน
ประเมิน ประเมิณ
ประโยชน์โพธิผล,
ประโยชน์โพดผล
[1]
ประโยชน์โภชผล,
ประโยชน์โภชน์ผล
ประสบการณ์ ประสพการณ์, ประสบการ • "ประสบ" เป็ นคากริ ยาแปลว่าพบหรื อพบปะ
• ส่ วน "ประสพ" เป็ นคานามมีความหมายว่าการเกิดผล
ประสบผลสาเร็ จ,
ประสพผลสาเร็ จ, ประสพ • ในภาษาไทยจึงใช้ "ประสบ" เพียงรู ปเดียว เช่น
ประสบ
ความสาเร็ จ ประสบความสาเร็ จ ประสบการณ์ ประสบอุทกภัย
ความสาเร็ จ
ประสบโชค
ประสู ติ ประสู ต, ประสู ตร
ประสู ติการ ประสู ติกาล การคลอด เช่น มีพระประสู ติการ
เวลาคลอด เช่น พระประสู ติกาลตก ณ วัน ๔ ขึ้น ๑
ประสู ติกาล ประสู ติการ
เดือน ๖ ย่ารุ่ ง ๒ นาฬิกา เศษสังขยา ๕ บาท
ประหลาด ปะหลาด, ปลาด
ประหัดประหาร, ประหัตถ์
ประหัตประหาร
ประหาร
ประหาณ, ปหาน ประหาร • ประหาณ, ปหาน = ละทิ้ง เช่น สมุจเฉทประหาณ
(การตัดขาดและการละทิ้ง), ปหานกิเลส (ละทิ้งกิเลส)
ประหาร, ปหาร ประหาณ, -หาน, ปะ-
• ประหาร = ตี ฟัน ทาลาย หรื อ ฆ่า เช่น ประหารชีวติ
ปรัมปรา ปราปรา, ปะราปะรา อ่านว่า ปะ-รา-ปะ-รา

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 383

คาทีเ่ ขียนถูก มักเขียนผิดเป็ น หมายเหตุ


ปรัศนี ปรัศนีย ์
ปรากฏ ปรากฎ ใช้ ฏ ปฏัก, คานี้ไม่เกี่ยวข้องกับคาว่า กฎ
ปราณี ปรานี • ปราณี = ผูม้ ีลมปราณ หมายความว่า ผูม้ ีชีวติ หรื อ
สิ่ งมีชีวติ เช่น สัตว์ และคน
ปรานี ปราณี
• ปรานี = เอ็นดูดว้ ยความสงสาร
ปรานีปราศรัย ปราณี ปราศัย
ปรารถนา ปราถนา อ่านว่า "ปราด-ถะ-หนา"
ปราศจาก ปราศจาค
ปราศรัย ปราศัย
• สะดม = รมยาให้หลับ
ปล้นสะดม ปล้นสดมภ์
• สดมภ์ = เสาหรื อช่องตามแนวตั้ง
ปวารณา ปวารนา
ปะทะ ประทะ
ปะแล่ม ปแล่ม, แปล่ม
ปักษิน ปักษิณ
ปั๊ ม ปั้ ม
ปาฏิหาริ ย ์ ปาฏิหาร, ปาฏิหารย์
ปาติโมกข์ ปาฏิโมกข์
ปาริ ชาต ปาริ ชาติ ชื่อบุคคลจานวนมากยังใช้ ปาริ ชาติ อยู่
ปิ กนิก ปิ กนิก คาทับศัพท์
• ปิ ดปาก = ไม่พูด หรื อไม่ให้พูด
ปิ ดปากเงียบ ปริ ปากเงียบ
• ปริ ปาก = แย้มปากพูดออกมา
ปี ติ = ความปลาบปลื้มใจ, ความอิ่มใจ; ปิ ติ ไม่มี
ปี ติยนิ ดี ปิ ติยนิ ดี
ความหมาย
ปุโรหิ ต ปุโลหิต

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 384

คาทีเ่ ขียนถูก มักเขียนผิดเป็ น หมายเหตุ


เปล่า ปล่าว, ป่ าว
เปอร์เซ็นต์ เปอร์เซนต์ คาทับศัพท์
เป๋ อเหลอ เป๋ อเล๋ อ อักษรต่า ไม่ใช้วรรณยุกต์จตั วา

ผ.
คาทีเ่ ขียนถูก มักเขียนผิดเป็ น หมายเหตุ
ผดุง ผะดุง
ผรุ สวาท ผรุ สวาส
ผลลัพธ์ ผลลัพท์
ผล็อย ผลอย
"ผลัด" แปลว่า เปลี่ยน เช่น ผลัดเปลี่ยน ผลัดผ้า ผลัดเวร
ผลัด ผัด ส่ วน "ผัด" แปลว่า เลื่อน หรื อย้าย เช่น ผัดผ่อน ผัดฟ้อง
ผัดวัน ผัดหนี้
ผลานิสงส์ ผลานิสงฆ์
ผอบ ผะอบ
ผัดไทย ผัดไท
ผัดผ่อน ผลัดผ่อน
"ผลัด" แปลว่า เปลี่ยน เช่น ผลัดเปลี่ยน ผลัดผ้า ผลัดเวร
ผัด ผลัด ส่ วน "ผัด" แปลว่า เลื่อน หรื อย้าย เช่น ผัดผ่อน ผัดฟ้อง
ผัดวัน ผัดหนี้
มาจากคาบาลีวา่ ผาสุก [ผา-สุ -กะ] แปลว่า ความสาราญ
ผาสุ ก ผาสุ ก , ความสบาย (ไม่ได้มาจาก ผา + สุ ข); แต่ชื่อบุคคลและ
สถานที่จานวนมากยังใช้ ผาสุ ข อยู่
ผีซ้ าด้ าพลอย ผีซ้ าด้ามพลอย ด้ า เป็ นภาษาเหนื อ แปลว่า ผีเรื อน
เปรี ยบว่าเป็ นผีที่พงุ่ ออกมาเป็ นแสงเหมือนแสงไต้ หรื อ
ผีพงุ่ ไต้ ผีพงุ่ ใต้
เปรี ยบเหมือนไต้ที่ผซี ดั ออกมา

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 385

คาทีเ่ ขียนถูก มักเขียนผิดเป็ น หมายเหตุ


ผุดลุกผุดนัง่ ผลุดลุกผลุดนัง่
ผูกพัน ผูกพันธ์
ผูเ้ ยาว์ ผูเ้ ยา
เผชิญ ผเชิญ, ผะเชิญ
เผลอไผล เผอไผ
เผอเรอ เผลอเรอ
เผอิญ ผเอิญ, ผะเอิญ
เผ่าพันธุ์ เผ่าพัน
แผ่ซ่าน แผ่ส้าน, แผ่ซา้ น
แผนการ แผนการณ์
แผลงฤทธิ์ แผงฤทธิ์
ไผท ผไท, ผะไท

ฝ.
คาทีเ่ ขียนถูก มักเขียนผิดเป็ น หมายเหตุ
ฝรั่งเศส ฝรั่งเศษ
ฝักฝ่ าย ฝักใฝ่ , ฝักไฝ่ พวก, ข้าง
ฝักใฝ่ ฝักฝ่ าย, ฝักไฝ่ เอาใจใส่ , ผูกพัน
ฝากครรภ์ ฝากครร
ฝี ดาษ ฝี ดาษ ไข้ทรพิษ
ฝึ กปรื อ ฝึ กปื อ, ฝึ กปลือ
ไฝ ใฝ คานอกกฎการใช้ไม้มว้ น

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 386

พ.
คาทีเ่ ขียนถูก มักเขียนผิดเป็ น หมายเหตุ
พงศ์พนั ธุ์ พงพันธุ์, พงษ์พนั ธุ์
พจนานุกรม พจณานุกรม พจน + อนุกรม
พณ, พณฯ, ฯพณ, ฯพณฯ เขียน "ฯพณฯ" อ่านว่า "พะ-นะ-ท่าน" ย่อมาจาก พณหัว
ฯพณฯ
ท่าน, พณ.ท่าน, พณะท่าน เจ้าท่าน (พระ ณ หัวเจ้าท่าน)
พยัก พะยัก
พยักพเยิด พะยักพะเยิด, พยักเพยิด
พยัคฆ์ พยัค, พยัคร, พยัฆ เสื อ
พยาน พญาณ, พยาณ, พะยาน
พยาบาท พญาบาท, พยาบาตร
พยุง พะยุง
พเยีย พะเยีย, เพยีย พวงดอกไม้
พรรณนา พรรณา อ่านว่า พัน-นะ-นา
พรหมจรรย์ พรมจรรย์
พระวงศ์ พระวงค์ รวมทั้ง เชื้ อพระวงศ์
พราหมณ์ พราห์มณ์, พรามณ์ อ่านว่า พฺ ราม
พร่ าพลอด พร่ าพรอด
พฤศจิกายน พฤษจิกายน
พฤษภาคม พฤศภาคม
พลการ พละการ คาสมาส
พลศึกษา พละศึกษา คาสมาส
พละกาลัง พลกาลัง
พลาสติก พลาสติค
พหูสูต พหูสูตร

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 387

คาทีเ่ ขียนถูก มักเขียนผิดเป็ น หมายเหตุ


พะแนง พแนง, แพนง
พะยอม พยอม ชื่อต้นไม้ มีดอกสี ขาว
พะยูน พยูน
พะวักพะวน พวักพวน
พังทลาย พังทะลาย
พันทาง พันธุ์ทาง ลูกผสมต่างสายพันธุ์
พันธกิจ พันธะกิจ คาสมาส
พันธสัญญา พันธะสัญญา คาสมาส
พัศดี พัศดี
พัสดุ พัสดุ
พากย์ พากษ์ พากย์หนัง
ใช้ ณ เสมอ รวมถึงรู ปศัพท์เดิมก่อนแผลง ว เป็ น พ เช่น
วาณิ ชย์ วาณิ ชกะ วณิ ชย์ วณิ ชยา วาณิ ช วณิ ช
พาณิ ชย์, พาณิ ชย พาณิ ชย์ พาณิ ชย หรื อ พณิ ชย์ แปลว่าการค้า พาณิ ชหรื อ
พานิชย์, พานิชย, พนิชย์
,พณิ ชย์ พณิ ชหมายถึงพ่อค้า
พานิช, พนิช
พาณิ ช, พณิ ช ยกเว้นวิสามานยนามบางคา เช่น ไทยวัฒนาพานิช,
กรุ งไทยพานิชประกันภัย, ศุภชัย พานิชภักดิ์, วิจารณ์
พานิช และ ชิน โสภณพนิช
พานจะเป็ นลม พาลจะเป็ นลม
พาหุรัด พาหุรัต, พาหุรัตน์
พิณพาทย์ พิณภาทย์
พิธีรีตอง พิธีรีตรอง
พิบูล พิบูลย์
พิพิธภัณฑ์ พิพิทธภัณฑ์
พิราบ พิราป นกชนิดหนึ่ง

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 388

คาทีเ่ ขียนถูก มักเขียนผิดเป็ น หมายเหตุ


พิลาป พิราป คร่ าครวญ, ร้องไห้ เช่น ราพันพิลาป
พิลิปดา ฟิ ลิปดา
พิศวง พิสวง
พิศวาส พิสวาส, พิสวาท
พิสดาร พิศดาร
พิสมัย พิศมัย
พิสูจน์ พิสูตร
พึมพา พึมพัม
พุดตาน พุดตาล ดอกไม้ชนิดหนึ่ง
พุทธชาด พุทธชาติ ดอกไม้ชนิดหนึ่ง
พูก่ นั พูก่ นั
พูร่ ะหง ภู่ระหง
เพชฌฆาต เพชรฆาต, เพ็ชรฆาต
เพชร เพ็ชร
เพศสัมพันธ์ เพศสัมพันธุ์
เพนียด พเนียด, พะเนียด
เพริ ศพริ้ ง เพริ ดพริ้ ง
เพิ่มพูน เพิ่มพูล
เพียบพร้อม เพรี ยบพร้อม
แพทยศาสตร์ แพทย์ศาสตร์
โพชฌงค์ โพชงค์, โภ-
โพดา โพธิ์ ดา
โพแดง โพธิ์ แดง
โพทะเล โพธิ์ ทะเล

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 389

คาทีเ่ ขียนถูก มักเขียนผิดเป็ น หมายเหตุ


โพนทะนา โพนทนา
โพระดก โพรดก, โภ-
โพสพ โพศพ, โภ-
ไพฑูรย์ ไพทูรย์

ฟ.
คาทีเ่ ขียนถูก มักเขียนผิดเป็ น หมายเหตุ
ฟังก์ชนั ฟังก์ชนั่ ไม่มีไม้เอก
ฟั่น ฟั่น เช่น ฟั่นเชื อก ฟั่นเทียน
คุด หมายถึง งอกงออยูภ่ ายในไม่โผล่ออกมาตาม
ฟันคุด ฟันครุ ฑ, ฟันครุ ท
ปรกติ ครุ ฑเป็ นสัตว์ในตานานอินเดีย
ฟาทอม ฟาธอม, แฟทอม, แฟธอม หน่วยวัดระยะทาง
ฟิ ล์ม ฟิ ลม์, ฟลิม, ฟิ มล์, ฟิ ม์ล
ฟิ วส์ ฟิ ว
ฟุลสแก๊ป ฟูลสแกป หน้ากระดาษที่มีเส้นบรรทัด
เฟิ น เฟิ ร์น ถ้านาไปเขียนคาทับศัพท์อาจอนุโลมใช้ เฟิ ร์น ได้
ไฟแช็ก ไฟแชค, ไฟแช็ค

ภ.
คาทีเ่ ขียนถูก มักเขียนผิดเป็ น หมายเหตุ
ภคินี ภคิณี
ภวังค์ พวังศ์
"ภววิสัย" ตรงกับภาษาอังกฤษว่า "objective" บางทีใช้
"ปรนัย" (ปะระไน), "ปรวิสัย" (ปะระวิสัย) หรื อ "วัตถุ
ภววิสัย ภาววิสัย, ภาวะวิสัย
วิสัย" หมายความว่า "ที่เกี่ยวข้องกับวัตถุ โดยไม่
เกี่ยวกับความคิดหรื อความรู ้สึก"

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 390

คาทีเ่ ขียนถูก มักเขียนผิดเป็ น หมายเหตุ


ภัณฑารักษ์ พันธารักษ์
ภาคทัณฑ์ ภาคฑัณฑ์
ภาคภูมิ ภาคภูม
ภาพยนตร์ ภาพยนต์
ภารกิจ ภาระกิจ คาสมาส
ภาวการณ์ ภาวะการณ์, ภาวะการ คาสมาส
ภุชงค์ พุชงค์
ภูตผี ภูตผี ภูต แปลว่า ผี; ภูติ แปลว่า ความรุ่ งเรื อง
ภูมิใจ ภูมใจ
ภูมิลาเนา ภูมลาเนา อ่านว่า พูม-ลา-เนา หรื อ พู-มิ-ลา-เนา ก็ได้
เภตรา เพตรา
เภทภัย เพทภัย, เพศภัย

ม.
คาทีเ่ ขียนถูก มักเขียนผิดเป็ น หมายเหตุ
ใช้ ฎ ชฎา เช่น มกุฎราชกุมาร มกุฎราชกุมารี ยกเว้น
มกุฎ มกุฏ มหามกุฏราชวิทยาลัย และ มกุฏกษัตริ ยาราม ที่ใช้ ฏ
ปฏัก
มงกุฎ มงกุฎ ใช้ ฎ ชฎา
มณฑป มนฑป, มณทป อ่านว่า มน-ดบ
มนเทียร มนเฑียร, มณเฑียร
มนุษยสัมพันธ์ มนุษย์สัมพันธ์ คาสมาส
มรณภาพ มรณะภาพ
มฤตยู มฤตญู
มลทิน มลทิน

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 391

คาทีเ่ ขียนถูก มักเขียนผิดเป็ น หมายเหตุ


มลังเมลือง มะลังมะเลือง
มหรรณพ มหรรนพ, มหันนพ
มหรสพ มหรศพ อ่านว่า มะ-หอ-ระ-สบ
มหัศจรรย์ มหรรศจรรย์
มหาหิงคุ์ มหาหิงค์
มเหสักข์ มเหศักดิ์
มเหสี มเหศรี , มเหศี, มเหษี, เมหสี
มไหศวรรย์ มไหสวรรค์
มอเตอร์ไซด์, -ไซต์, -ไซท์, ทับศัพท์จาก motorcycle = มอเตอร์ไซเคิล จึงใช้ ค
มอเตอร์ไซค์
ไซ การันต์
ม่อห้อม, ม่อฮ่อม,
หม้อฮ่อม
หม้อห้อม
มะหะหมัด มหะหมัด, มะหะมัด
มัคคุเทศก์ มัคคุเทศ, มัคคุเทศน์
(บาลี) มคฺ ค + นายก (สันสกฤต) มารฺ ค + นายก
มัคนายก, หมายถึง ผูน้ าทาง ได้แก่ ผูจ้ ดั การทางกุศล หรื อผูช้ ้ ี แจง
มัคทายก, มรรคทายก
มรรคนายก ทางบุญทางกุศลและป่ าวประกาศให้ประชาชนมา
ทาบุญทากุศลในวัด
มัณฑนศิลป์ มันทนศิลป์ , มันฑณศิลป์
มัธยัสถ์ มัธยัสต์
มัศยา, มัตสยา มัสยา ปลา
มัสตาร์ด มัสตาด
มัสมัน่ มัสหมัน่ อ่านว่า มัด-สะ-หมัน่
มาตรการ มาตราการ ระวังการใช้ในบริ บท มาตรา-การ
มาตรฐาน มาตราฐาน ระวังการใช้ในบริ บท มาตรา-ฐาน

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 392

คาทีเ่ ขียนถูก มักเขียนผิดเป็ น หมายเหตุ


มานุษยวิทยา มนุษยวิทยา มานุษย = ที่เกี่ยวกับมนุษย์
ม่าเหมี่ยว มะเหมี่ยว ด้วงปี กแข็งชนิดหนึ่ง, ชมพูผ่ ลสี แดงเข้ม
มึง เมิง
มืดมน มืดมนต์, มืดมล
ราชบัณฑิตยสถานสะกดว่า มุก ในขณะที่พจนานุกรม
มุกตลก มุขตลก
ฉบับมติชนสะกดว่า มุข
เม.ย. เม.ษ. เมษายน
แมงมุม แมลงมุม
เฉพาะแมลง (มี ๖ ขา) ส่ วนแมงดาจะใช้กบั แมงดาทะเล
แมลงดา แมงดา
(มี ๑๒ ขา)
แมลงภู่ แมลงพู,่ แมงภู่ ทั้งชื่อแมลงและหอย
แมลงวัน แมงวัน
แมลงสาป, แมงสาบ, แมง
แมลงสาบ
สาป
ไมยราบ ไมยราพ ชื่อพืชชนิดหนึ่ง
ไมยราพณ์, มัย
ไมยราพ ตัวละครในรามเกียรติ์
ราพณ์
ไมล์ ไมร์ , ไมค์ หน่วยวัดระยะทาง

ย.
คาทีเ่ ขียนถูก มักเขียนผิดเป็ น หมายเหตุ
ยศถาบรรดาศักดิ์ ยศฐาบรรดาศักดิ์
ย่อมเยา ย่อมเยาว์ ราคาย่อมเยา
ยาเกร็ ด ยาเกล็ด หมายถึง ตารา
ยานัตถุ์ ยานัตถ์, ยานัด นัตถุ์ แปลว่า จมูก

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 393

คาทีเ่ ขียนถูก มักเขียนผิดเป็ น หมายเหตุ


ยีราฟ จีราฟ
เยอรมนี , เยอรมัน เยอรมันนี
เยาว์วยั เยาว์วยั
เยือ่ ใย เยือ่ ไย คาซ้อน เยือ่ + ใย
ใยแมงมุม ไยแมงมุม
ไย ใย หมายถึงไฉน, อะไร, ทาไม
ไยดี ใยดี
ไยไพ ใยไพ หมายถึงเยาะเย้ย, พูดให้อาย
โยธวาทิต โยธวาฑิต

ร.
คาทีเ่ ขียนถูก มักเขียนผิดเป็ น หมายเหตุ
รกชัฏ รกชัฏ ใช้ ฏ ปฏัก
รณรงค์ รนรงค์
รถเมล์ รถเมย์
รถยนต์ รถยนตร์ อาจพบหนังสื อเก่าเขียนเป็ น รถยนตร์ บ้าง
รมณี ย ์ รมนีย,์ รมณี
รสชาติ รสชาติ อาจพบหนังสื อเก่าเขียนเป็ น รสชาด บ้าง
ร้องไห้ ร้องให้
ระบบนิเวศ ระบบนิเวศน์
ระเบงเซ็งแซ่ ระเบ็งเซ็งแซ่
ระเห็จ รเห็จ, เรห็จ
รักษาการ รักษาการณ์ ปฏิบตั ิหน้าที่แทน เช่น รักษาการในตาแหน่ง...
รักษาการณ์ รักษาการ เฝ้าดูแลเหตุการณ์ เช่น ยามรักษาการณ์

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 394

คาทีเ่ ขียนถูก มักเขียนผิดเป็ น หมายเหตุ


รังเกียจ รังเกลียด, รังเกียด
รังควาน รังควาญ
รังสี รังษี, รังศี ยกเว้นชื่อเฉพาะ
คาสนธิ รชต (เงิน) + อภิเษก (แต่งตั้ง); รัชฎาภิเษกเป็ น
รัชดาภิเษก รัชฎาภิเษก
รู ปคาโบราณ
รัญจวน รัญจวญ, รัญจวณ
รัฐวิสาหกิจ รัฐวิสาหะกิจ
รัศมี รัสมี, รัษมี
รากเหง้า รากเหง้า เง่า หมายถึงโง่เง่า
ราชภัฏ ราชภัฎ ใช้ ฏ ปฏัก
"ราชัน" หมายถึง พระเจ้าแผ่นดิน, "ราชันย์" หมายถึง
ราชัน ราชันย์
เชื้อสายของพระเจ้าแผ่นดิน
ใช้กบั พระราชสาส์นที่ออกมาจากสานักพระราชวัง
ราชสาส์น ราชสาสน์
เท่านั้น สาส์นอย่างอื่นให้ใช้วา่ สาสน์
ราชวงศ์ ราชวงค์ รวมทั้ง พระราชวงศ์ หม่อมราชวงศ์
ราดหน้า ลาดหน้า
ราพณาสู ร ราพนาสู ร
ราศี ราศี รากศัพท์ต่างกัน ราศี มาจาก ราสิ , ศรี มาจาก สิ ริ
ราคาญ ราคาน, ลาคาณ
ริ บบิ้น ริ้ บบิ้น ออกเสี ยง ริ บ โดยไม่มีรูปวรรณยุกต์
รื่ นรมย์ รื่ นรมย์
เรี่ ยไร เรี่ ยราย เรี่ ยราย = เกลื่อนกลาด
โรงธารคานัล โรงธารกานัล หมายถึง ท้องพระโรง
โรมันคาทอลิก โรมันคาธอลิค

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 395

ฤ.
คาทีเ่ ขียนถูก มักเขียนผิดเป็ น หมายเหตุ
ฤกษ์พานาที ฤกษ์ผานาที สองคาที่สับสน คือ "ฤกษ์พานาที" กับ "เลขผานาที"
ฤทธิ์ ฤทธ, ฤทธ์

ล.
คาทีเ่ ขียนถูก มักเขียนผิดเป็ น หมายเหตุ
ลดาวัลย์ ลัดดาวัลย์, ลดาวัณย์ ชื่อไม้เถาชนิดหนึ่ง ยกเว้นชื่อเฉพาะ
ลมปราณ ลมปราน
ลมหวน ลมหวน
ล่มหัวจมท้าย ร่ วมหัวจมท้าย ดูคาอธิบายของราชบัณฑิตยสถาน
ล็อกเกต ล็อกเก็ต
ลองไน ลองใน ชื่อจักจัน่ ขนาดใหญ่ชนิดหนึ่ ง
"ละคอน" เป็ นคาไทยโบราณ ใช้เมื่อต้องการรักษา
ละคร ละคร ความดั้งเดิมไว้ เช่น สาขาศิลปะและการละคอน ดู
คาอธิบายของราชบัณฑิตยสถานที่ ละครหรื อละคอน
ละเมียดละไม ลเมียดลไม
ละโมบ ลโมบ, ละโมภ
ละเอียดลออ ลเอียดลออ, ละเอียดละออ
ลักเพศ ลักเพท, ลักเพส
ลังถึง ลังถึง
ลาดตระเวน ลาดตระเวณ มักสับสนกับ "บริ เวณ"
เรี ยกถนนที่ปูผวิ จราจรด้วยยางมะตอยผสมกับหิ นหรื อ
ลาดยาง ราดยาง
ทรายเป็ นต้นว่า "ถนนลาดยาง"
ลายเซ็น ลายเซ็นต์
ลาวัณย์ ลาวัลย์ หมายถึง ความงาม ความน่ารัก

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 396

คาทีเ่ ขียนถูก มักเขียนผิดเป็ น หมายเหตุ


ลาไย ลาไย คานอกกฎการใช้ไม้มว้ น
ลาไส้ ลาไส้ คานอกกฎการใช้ไม้มว้ น
ลิงก์ = คาภาษาอังกฤษ link; ลิงค์ = เครื่ องหมายเพศ,
ลิงก์ ลิงค์ ประเภทคาในไวยากรณ์ที่บอกให้รู้วา่ คานั้น เป็ นเพศ
อะไร
ลิดรอน ริ ดรอน
ลิปสติก ลิปสติค
ลิฟต์ ลิปต์, ลิฟ, ลิฟท์ มาจากคาภาษาอังกฤษ lift
ลือชา ฦๅชา ฦ ฦๅ ไม่มีที่ใช้ในปั จจุบนั
ลุกลี้ลุกลน ลุกลี้ลุกรน
ลูกเกด ลูกเกตุ
ลูกนิมิต ลูกนิมิตร
ลูกบาศก์ ลูกบาศก์
เล่นพิเรนทร์ เล่นพิเรนท์
เลย เรย
เล่ห์กระเท่ห์ เล่กระเท่
เลือกสรร เลือกสรรค์
เลือดกบปาก เลือดกลบปาก
โล่ โล่ มิได้แผลงมาจาก "โลหะ"
โลกาภิวตั น์ โลกาภิวฒั น์
ไล่เลียง ไล่เรี ยง, ไร่ เรี ยง, ไร่ เลียง ซักไซ้ ไต่ถาม มักใช้วา่ ซักไซ้ไล่เลียง

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 397

ว.
คาทีเ่ ขียนถูก มักเขียนผิดเป็ น หมายเหตุ
วงศ์, วงษ์ วงค์ วงษ์ เป็ นการสะกดแบบโบราณ
วงศ์วาน วงษ์วาน เช่น ชื่อถนน งามวงศ์วาน
วัคซีน วักซีน
วัณโรค วันโรค, วรรณโรค
วันทยหัตถ์ วันทยาหัตถ์
วันทยาวุธ วันทยวุธ
วางก้าม วางกล้าม วางโต
วาทกรรม วาทะกรรม สมาสแล้วไม่มีสระอะ
วาทิต วาฑิต วาทิต หมายความว่า ดนตรี หรื อผูบ้ รรเลงดนตรี
วายชนม์ วายชน
วารดิถี วาระดิถี สมาสแล้วไม่มีสระอะ
วาฬ วาล
วิง่ เปี้ ยว วิง่ เปรี้ ยว
วิง่ ผลัด วิง่ ผลัด
วิจาร, วิจารณ พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถานกาหนดไว้ท้ งั สาม
วิจารย์
, วิจารณ์ คา
วิญญาณ วิญญาน
วิดีโอ วีดีโอ, วีดิโอ ทับศัพท์จาก video หรื อใช้คาว่า วีดิทศั น์
วิตถาร วิตถาน, วิตถาล
วิตามิน วิตตามิน, วิตะมิน
วินาที วินาที

วินาศกรรม วินาศะกรรม

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 398

คาทีเ่ ขียนถูก มักเขียนผิดเป็ น หมายเหตุ


• วิพากษ์ = พิจารณาตัดสิ น
วิพากษ์ วิพากย์ • พากย์ = ให้เสี ยงแทนผูแ้ สดง, บรรยายถ่ายทอดในการ
แข่งขันกีฬา
วิพากย์วจิ ารณ์, วิพากษ์วจิ ารย์ พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถานกาหนดไว้เพียงว่า
วิพากษ์วจิ ารณ์
, วิพากย์วจิ ารย์ "วิพากษ์วจิ ารณ์" หมายถึง วิจารณ์ , ติชม
วิศวกร วิศวะกร
วิศวกรรม วิศวะกรรม
วิหารคด วิหารคต
วีดิทศั น์ วีดีทศั น์, วิดีทศั น์ มาจากภาษาสันสกฤต วีติ + ทศฺน
"เวท" เป็ นคานาม แปลว่า ถ้อยคาศักดิ์สิทธิ์ สาหรับเสก
เวท เวทย์ เป่ า ฯลฯ
"เวทย์" เป็ นคาวิเศษณ์ แปลว่า ควรรู ้
เวทย์มนตร์ , เวทมนต์, เวทย์
เวทมนตร์
มนต์
เวนคืน เวรคืน
เวียดนาม เวียตนาม
ไวยากรณ์ ไวยกรณ์

ศ.
คาทีเ่ ขียนถูก มักเขียนผิดเป็ น หมายเหตุ
ศรัทธา, สัทธา ศัทธา นิยมใช้ "ศรัทธา" มากกว่า
ศรี สะเกษ ศีรษะ-, ศรี ษะ-, -เกศ เฉพาะชื่อจังหวัด
ศศิธร สสิ ธร, ศศิทร ศศิธร หมายถึง ดวงจันทร์
ศักย์ ที่หมายถึง ศักย์ไฟฟ้า ศักยภาพ ใช้ ย แต่ ศักดิ์ที่
ศักย์ ศักดิ์
กล่าวถึง ศักดินา ใช้ ด
ศัตรู สัตรู , ศตรู

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 399

คาทีเ่ ขียนถูก มักเขียนผิดเป็ น หมายเหตุ


ศัพท์ ศัพท์
ศัสตราวุธ ศาสตราวุธ ศสฺ ตฺร แปลว่า เครื่ องฟั นแทง
-ศาสตรดุษฎี
-ศาสตร์ดุษฎีบณั ฑิต ปริ ญญาเอก เช่น รัฐศาสตรดุษฎีบณั ฑิต
บัณฑิต
-ศาสตรบัณฑิต -ศาสตร์บณั ฑิต ปริ ญญาตรี เช่น เศรษฐศาสตรบัณฑิต
-ศาสตรมหา
-ศาสตร์มหาบัณฑิต ปริ ญญาโท เช่น นิ ติศาสตรมหาบัณฑิต
บัณฑิต
ศิลป์ , ศิลปะ ศิลปะ ใช้เป็ นศัพท์โดด
ศิลปกรรม ศิลปะกรรม คาสมาส
ศิลปวัฒนธรรม ศิลปะวัฒนธรรม หากต้องการแยกคาควรใช้ "ศิลปะและวัฒนธรรม"
ศิลปวัตถุ ศิลปะวัตถุ คาสมาส
ศีรษะ ศรี ษะ
ศึกษานิเทศก์ ศึกษานิเทศ, ศึกษานิเทศน์
เศรษฐินี เศรษฐีนี
"เศวต" แปลว่า สี ขาว เช่น เศวตฉัตร, "เศวตร" แปลว่า
เศวต เศวตร โรคเรื้ อน
แต่โบราณเคยใช้ "เศวตร" ในความหมาย สี ขาว
โศกะนาฏกรรม, โศก
โศกนาฏกรรม ใช้ ฏ ปฏัก
นาฎกรรม
โศกศัลย์ โสกศัลย์, โศกสันต์
โศกเศร้า โสกเศร้า
ไศล ไสล, ศไล หมายถึง เขาหิน

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 400

ส.
คาทีเ่ ขียนถูก มักเขียนผิดเป็ น หมายเหตุ
สกัด สะกัด
สกาว สะกาว
สแกน แสกน
สดับ สะดับ
สถานการณ์ สถานการ, สถาณการณ์
สถิต สถิตย์ ยกเว้น "สถิตยศาสตร์"
"สนนราคา" หมายถึง ราคา ; "สงวนราคา" หมายถึง
สนนราคา สงวนราคา
รักษาระดับราคาไว้
สบง สะบง
สบาย สะบาย
สบู่ สบู่
สไบ สะไบ, ไสบ
สเปน เสปน, สเปญ
สภาวการณ์,
สภาวะการณ์
สภาพการณ์
สมดุล สมดุลย์
สมเพช สมเพท, สมเพศ, สมเพส
สรรเพชญ สรรเพชร
สรรแสร้ง สรรค์แสร้ง
สรรหา สรรค์หา สรรค์ หมายถึง สร้าง, ทาให้เกิดขึ้น
สรวงสวรรค์ สวงสวรรค์
สร้างสรรค์ สร้างสรร
สวรรคต สวรรณคต, สวรรค์คต

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 401

คาทีเ่ ขียนถูก มักเขียนผิดเป็ น หมายเหตุ


สอบเชาวน์ สอบเชาว์
สะกด สะกด
สะกิด สะกิด
สะคราญ สคราญ
สะดวก สดวก
สะพรึ งกลัว สะพึงกลัว
สะพาน สพาน
สะเหล่อ สะเหร่ อ, เสร่ อ, เสล่อ
สะอาด สอาด
สักการบูชา สักการะบูชา คาสมาส
สังเกต สังเกตุ
สังเขป สังเขบ
สังคายนา,
สังคยานา, สังคยนา
สังคายนาย
สังฆทาน สังขทาน, สังคทาน
สังวร สังวรณ์
สังวาล สังวาลย์ ยกเว้นชื่อเฉพาะ "สังวาลย์"
สังสรรค์ สังสรร
สัญชาต = ที่เกิดเอง; สัญชาติ = ความเป็ นพลเมืองของ
สัญชาตญาณ สัญชาติญาณ
ประเทศ
สัญลักษณ์ สัญลักษ์, สัญญลักษณ์
สัณฐาน สันฐาน, สันฐาณ, สัณฐาณ รู ปพรรณสัณฐาน
สันโดษ สัญโดษ
สันนิษฐาน สันนิฐาน, -ฐาณ

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 402

คาทีเ่ ขียนถูก มักเขียนผิดเป็ น หมายเหตุ


สับปลับ สัปลับ
สับปะรด สัปรด, สัปปะรด, สับปะรส มิได้แผลงมาจาก สรรพรส
สัปเหร่ อ สัพเหร่ อ, สัปปะเหร่ อ
สัพยอก สรรพยอก
สัมภาษณ์ สัมภาษ, สัมภาสน์
สัมมนา สัมนา, สามะนา
ชื่อถนนสายหนึ่ง และเขตการปกครองใน
สาทร สาธร
กรุ งเทพมหานคร
สาธารณชน สาธารณะชน คาสมาส ระวังการใช้ในบริ บท สาธารณะ-ชน
สาธารณประโยชน์ สาธารณะประโยชน์ คาสมาส
สาธารณสถาน สาธารณะสถาน คาสมาส
สาธารณสมบัติ สาธารณะสมบัติ คาสมาส
สาธารณสุ ข สาธารณะสุ ข คาสมาส
สาบสู ญ สาปสู ญ
สาบาน สาบาญ
สาปแช่ง สาบแช่ง
สาปสรร สาบสรร
เส้า หมายถึง ไม้หลักหรื อวัตถุที่ต้ งั หรื อปั กเป็ นสามมุม
สามเส้า สามเศร้า
สาหรับรองรับ
สายสิ ญจน์ สายสิ ญจ์
สารประโยชน์ สาระประโยชน์ คาสมาส
ชื่อไม้ตน้ ชนิดหนึ่ง ดอกสี ขาวกลิ่นหอม, มิได้หมายถึง
สารภี สาระพี, สารพี
เครื่ องครัว
สาระสาคัญ สารสาคัญ มิใช่คาสมาส

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 403

คาทีเ่ ขียนถูก มักเขียนผิดเป็ น หมายเหตุ


สารัตถประโยชน์ สารัตถะประโยชน์ คาสมาส
สารัตถะสาคัญ สารัตถสาคัญ มิใช่คาสมาส
สาอาง สาอางค์ เครื่ องสาอาง
สิ งโต สิ งห์โต หรื อใช้เพียงคาว่า สิ งห์
สิ ทธิ, สิ ทธิ์ สิ ทธ, สิ ทธ์
สี สวาด สี สวาท, สี สวาส แมวสี สวาด
สี สัน สี สรร, สี สรรค์
สุ กียากี้ สุ ก้ ียากี้ สามารถเรี ยกสั้น ๆ ว่า สุ ก้ ี
สุ ข ศุข ศุข พบบ้างในหนังสื อเก่า
สุ คติ สุ ขติ, สุ ขคติ
สุ ญญากาศ สู ญญากาศ ใช้สระ "อุ"
สู จิบตั ร สู ติบตั ร ใบแจ้งกาหนดการ
สู ติบตั ร สู จิบตั ร เอกสารหลักฐานการเกิด
เสกสรร เสกสรรค์
เสบียง สะเบียง, สเบียง
ปั จจุบนั พจนานุกรมให้สะกดแบบเดียวเท่านั้น เช่น เสพ
เสพ เสพย์ สุ รา เสพยา เสพเมถุน เสพสม เสพติด (สารเสพติด สิ่ ง
เสพติด ยาเสพติด)
เสิ ร์ฟ เสริ ฟ, เสริ ฟ์ มาจาก serve ไม่ใช่อกั ษรควบกล้ า
อ่านว่า "สะ-เหฺ ลด" มาจากสันสกฤษ "เศฺ ลษฺ ม" ตรงกับ
เสลด สเลด
บาลีวา่ "เสมห" แปลว่า phlegm
เสื้ อกาวน์ เสื้ อกาว, เสื้ อกาวด์ มาจาก gown
เสื้ อเชิ้ต เสื้ อเชิ๊ต
แสตมป์ สแตมป์ คาที่ปรากฏในพจนานุกรมไทย

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 404

คาทีเ่ ขียนถูก มักเขียนผิดเป็ น หมายเหตุ


โสฬส โสรส อ่านว่า "โส-ลด"
ไส้ ใส้

ห.
คาทีเ่ ขียนถูก มักเขียนผิดเป็ น หมายเหตุ
หกคะเมน หกคเมน, หกคะเมร
หงส์ หงส์
หน็อยแน่ หนอยแน่
- "หนาแน่น" ว่า คับคัง่ , แออัด, เช่น กรุ งเทพฯ มี
ประชากรหนาแน่นมาก.
- "แน่นหนา" ว่า มัน่ คง เช่น ใส่ กุญแจแน่นหนา มี
หนาแน่น แน่นหนา
หลักฐานมัดตัวแน่นหนา, แข็งแรง เช่น ประตูหน้าต่าง
แน่นหนา, บางทีก็ใช้เข้าคู่กบั ปึ กแผ่น เป็ น เป็ นปึ กแผ่น
แน่นหนา.
หน้าปัดนาฬิกา หน้าปัทม์นาฬิกา
หม้อห้อม, ม่อห้อม
หม้อฮ่อม
,ม่อฮ่อม
หมาใน หมาไน
หมามุ่ย, หมามุย้ หมาหมุย้
ของกินทาด้วยหมูเนื้ อแดงปรุ งรส ต้มเคี่ยวให้เปื่ อยจน
งวด นาไปผัดจนแห้ง ขยี้ให้เป็ นฝอย, รวมถึงที่ทาจาก
หมูหย็อง หมูหยอง
วัตถุดิบอื่นด้วย เช่น ไก่หย็อง ฯลฯ (ใส่ ไม้ไต่คูเ้ พราะ
ออกเสี ยงสั้น)
หยากไย่, หยักไย่ หยากใย่, หยักใย่
หย่าร้าง อย่าร้าง
หยิบหย่ง หยิบย่ง, หยิบโย่ง

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 405

คาทีเ่ ขียนถูก มักเขียนผิดเป็ น หมายเหตุ


ห่วงใย ห่วงไย คาที่ใช้ไม้มว้ น
(สานวน) ไม่เข้ากัน ไม่กลมกลืนกัน (มังกุคือเรื อที่มี
หัวมังกุทา้ ยมังกร หัวมงกุฎท้ายมังกร
กระดูกงูใหญ่)
หัวหน่าว หัวเหน่า
เหม็นสาบ เหม็นสาป
เหล็กใน เหล็กไน ให้จาว่า เหล็กอยูข่ า้ งใน
เหลือบ่ากว่าแรง เหนื อบ่ากว่าแรง (สานวน) เกินความสามารถ
เหิน เหิร
แหลกลาญ แหลกราญ, แหลกราน
โหยหวน โหยหวล
โหระพา โหรพา, โหระภา
ใหลตาย ไหลตาย ใหล หมายถึงหลับใหล (ดู ราชบัณฑิตยสถาน)
อักษรต่าเติมไม้ตรี ไม่ได้ อาจอนุโลมใช้ มั้ย ตาม
ไหม มัย๊ , ไม๊
เสี ยงพูด แผลงมาจาก "หรื อไม่"
ไหหลา ใหหลา ทับศัพท์จากภาษาจีน

อ.
คาทีเ่ ขียนถูก มักเขียนผิดเป็ น หมายเหตุ
(พระ)องค์ (พระ)องศ์
องคชาต องคชาติ
องคุลี (นิ้วมือ) + มาล (สร้อยคอ, สาย หรื อ แถว) = องคุ
องคุลีมาล, องคุลีมาร, องคุลิ
องคุลิมาล ลิมาล (สร้อยคอที่ทาจากนิ้วมือ) โดยที่ ลี ใน องคุลี ลด
มาร
เป็ น ลิ เสี ยงสั้นตามหลักการสมาส
อธิษฐาน, อธิฏฐาน อธิฐาน, -ฐาณ
อนาถ อนาจ

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 406

คาทีเ่ ขียนถูก มักเขียนผิดเป็ น หมายเหตุ


อนาทร อนาธร
อนุกาชาด อนุกาชาติ
อนุญาต อนุญาติ ญาติ เขียนมีสระ อิ
อนุมตั ิ อนุมตั
อนุรักษนิยม อนุรักษ์นิยม คาสมาส
อนุสาวรี ย ์ อนุเสาวรี ย,์ อณุสาวรี ย ์
มาจาก อน+เอก ตัวอย่างเช่น อเนกประสงค์ อเนก
อเนก อเนก ประการ อเนกอนันต์ เว้นแต่วสิ ามานยนามเช่น เอนก
เหล่าธรรมทัศน์ เอนก นาวิกมูล
อเนจอนาถ อเนถอนาถ
อภิรมย์ อภิรมณ์
อภิเษก อภิเสก
อมต, อมตะ อัมตะ, อามตะ
อมริ นทร์ อัมริ นทร์ ยกเว้นชื่อเฉพาะ "อัมริ นทร์"
อมฤต, อามฤต อัมฤต
อริ ยเมตไตรย อริ ยเมตตรัย, อริ ยเมตไตร
อริ ยสัจ อริ ยสัจจ์
อลักเอลื่อ อะหลักอะเหลื่อ
อลังการ อลังการ์ อ่านว่า อะ-ลัง-กาน
อวสาน อวสาณ, อวสานต์
อสงไขย อสงขัย
อหังการ์ อหังการ อ่านว่า อะ-หัง-กา
อหิวาตกโรค อะหิวาตกโรค
ออกหาก ออกห่าง

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 407

คาทีเ่ ขียนถูก มักเขียนผิดเป็ น หมายเหตุ


คาที่ปรากฏในพจนานุกรมไทย หรื อใช้คาว่า สานักงาน
ออฟฟิ ศ อ็อฟ-, -ฟิ ซ, -ฟิ ส, -ฟิ ต
, ที่ทาการ
อะลุ่มอล่วย,
อะลุ่มอะล่วย, อลุ่มอล่วย
อะลุม้ อล่วย
อะฟลาทอกซิน อัลฟาทอกซิน ทับศัพท์จาก aflatoxin
อะไหล่ อะหลัย่ , อา-
อักขรวิธี อักขระวิธี สมาสแล้วตัดสระอะ
อักษร อักศร, อักสร
อัญชัน อัญชัญ
อัญมณี อัญมนี , อัญญมณี
อัฒจันทร์ อัธจันทร์
อัตคัด อัตคัต
"อัตนัย" ตรงกับภาษาอังกฤษว่า "subjective" บางทีใช้
อัตนัย อัตตะนัย "อัตวิสัย" หรื อ "จิตวิสัย" หมายความว่า "ที่มีอยูใ่ นจิต,
ที่เกี่ยวกับจิต; ที่จิตคิดขึ้นเองโดยไม่อาศัยวัตถุภายนอก"
อัธยาศัย อัทยาศัย, อัธยาษัย
อัมพาต อัมพาส
อัลบั้ม อัลบัม
อากาศ อากาส
อาฆาตมาดร้าย อาฆาตมาตร้าย
อาเจียน อาเจียร
อานิสงส์ อานิสงฆ์
อาเพศ อาเพส, อาเภส
อายัด อายัติ, อายัต
อารมณ์ อารมย์

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 408

คาทีเ่ ขียนถูก มักเขียนผิดเป็ น หมายเหตุ


อาวรณ์ อาวรณ์
อาสน์สงฆ์ อาสสงฆ์
อานาจบาตรใหญ่ อานาจบาทใหญ่
อามหิต อัมหิต
อินทรธนู อินธนู , อินทร์ธนู
อินทรี (นกอินทรี , อินทรี ย ์ (นกอินทรี ย,์ ปลา
ปลาอินทรี ) อินทรี ย)์
อินทรี ยวัตถุ อินทรี วตั ถุ, อินทรี ยว์ ตั ถุ
อินฟราเรด อินฟาเรด, อินฟาร์ เรด ทับศัพท์จาก infrared
อิริยาบถ อิริยาบท
อิสรภาพ อิสระภาพ คาสมาส
อิสรเสรี อิสระเสรี คาสมาส
อีเมล อีเมล์ ทับศัพท์จาก e-mail
อีสาน อิสาน, -สาณ
อุกกาบาต อุกาบาต
อุกฤษฏ์ อุกฤติ
อุดมการณ์ อุดมการ
อุทธรณ์ อุธรณ์
อุทาหรณ์ อุธาหรณ์, อุทาหร
อุบาทว์ อุบาท
อุปการคุณ อุปการะคุณ คาสมาส
อุปถัมภ์ อุปถัมธ์, อุปถัมน์
อุปโลกน์ อุปโลก
อุปัชฌาย์ อุปัชฌา, อุปัชชา

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 409

คาทีเ่ ขียนถูก มักเขียนผิดเป็ น หมายเหตุ


- อุปาทาน = การยึดมัน่ ถือมัน่ , การนึกเอาเอง
เช่น อุปาทานหมู่
อุปาทาน อุปทาน
- อุปทาน (เศรษฐศาสตร์ ) = สิ นค้าหรื อบริ การที่พร้อม
จะขายในตลาดเพื่อตอบสนองความต้องการซื้ อ
อุโมงค์ อุโมงค์
แปลว่า พญาวัว (อุสุภ แปลว่า วัว) เป็ นชื่ อโคทรงของ
พระอิศวร ในสมัยที่ยงั ไม่มีพจนานุกรมของราชการ
อุสุภราช อุศุภราช
เขียนคละกันไปทั้ง "อุสุภราช" และ "อุศุภราช" (เช่น
"อุศุภราชเป็ นโคนา ท่านใช้")
เอกเขนก เอกขเนก
เอกฉันท์ เอกฉัน, เอกะฉันท์
เอ็นดอร์ฟิน เอ็นโดรฟิ น ทับศัพท์จาก endorphine
เอาใจออกหาก เอาใจออกห่าง
โอกาส โอกาศ
ไอศกรี ม ไอศครี ม, ไอติม

ฮ.
คาทีเ่ ขียนถูก มักเขียนผิดเป็ น หมายเหตุ
ฮ่อยจ๊อ หอยจ๊อ, ห้อยจ๊อ, -จ้อ
เฮโลสาระพา, เฮโลโหระพา, เฮละโล
เฮละโลสาระพา โหระพา

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 410

การอ่ านคาให้ ถูกต้ อง


เสี ยงของคาในภาษาไทยมีหลายลักษณะที่ผอู ้ ่านออกเสี ยงควรจะทาความเข้าใจและฝึ กฝนเพื่อให้
อ่านออกเสี ยงคาได้ถูกต้อง
๑.๑ การอ่านอักษรควบกลา้ คือ มีพยัญชนะตัวหน้า ๑ ตัว และมีตวั ร,ล, หรื อ ว ร่ วมสระเดียวกัน
การอ่านอักษรควบมีขอ้ แนะนา ดังนี้
(๑) อักษรควบแท้ คือ คาที่มีพยัญชนะต้นควบกับ ร ล ว ประสมด้วยสระเสี ยงเดียวกัน
อ่านออกเสี ยงพร้อมกันทั้งสองตัว เช่น เตรี ยมพร้อม กร่ อย กลับกลาย คล่องแคล่ว ขรัว เป็ นต้น
(๒) อักษรควบไม่ แท้ คือ พยัญชนะที่มีตวั ร ควบอยู่ แต่ไม่ออกเสี ยงตัว ร หรื อเปลี่ยน
เสี ยงเป็ นเสี ยงอื่น อักษรควบ จร สร ซร ศร ทร เป็ นอักษรสองตัวที่มี จ ส ซ ศ ท ควบกับ ร เมื่อเป็ น
พยัญชนะต้น จร สร ซร ศร ให้อ่านออกเสี ยงเฉพาะพยัญชนะตัวหน้าตัวเดียวเป็ น จ ส ซ ศ ส่ วน ทร ให้
อ่านออกเสี ยงเป็ น ซ เช่น จริ ง สร้าง ไซร้ อินทรี เศร้า เป็ นต้น
๑.๒ การอ่านอักษรนา คือ มีพยัญชนะต้นสองตัวร่ วมสระเดียวกัน การอ่านอักษรนา ดังนี้
(1) กรณีอกั ษรสู ง ( ข ฃ ฉ ถ ฐ ผ ฝ ศ ษ ส ห ) เป็ นตัวนา และอักษรต่าเดี่ยว ( ง ญ น ย ณ
ร ว ม ฬ ล ) เป็ นตัวตาม เมื่ออ่านออกเสี ยงให้ออกเสี ยงที่ตวั นา ส่ วนตัวตามให้ออกเสี ยงวรรณยุกต์เสี ยง
จัตวาหรื อเสี ยงสู งตามตัวนา เช่น
สงวน อ่านว่า [สะ-หงวน]
ถนอม อ่านว่า [ถะ – หนอม]
ขนม อ่านว่า [ขะ-หนม]
ผวา อ่านว่า [ผะ-หวา]
(๒) อักษรสู งนาอักษรต่าคู่ เมื่ออ่านให้ออกเสี ยง อะ กึ่งเสี ยงที่ตวั นา ส่ วนตัวตามให้ออก
เสี ยงวรรณยุกต์ตามปกติไม่ตอ้ งออกเสี ยงสู งตามตัวนา เช่น
ไผท อ่านว่า [ผะ-ไท]
สภา อ่านว่า [สะ-พา]
สภาพ อ่านว่า [สะ-พาบ]
เผชิญ อ่านว่า [ผะ-เชิน]
(๓) อักษรกลาง (ก จ ด ต ฎ ฏ บ ป อ ) นาอักษรต่าเดี่ยว เมื่ออ่านให้ออกเสี ยงอะกึ่งเสี ยงที่
ตัวนา ส่ วนตัวตามให้ออกเสี ยงวรรณยุกต์ตามตัวนาที่เป็ นอักษรกลาง เช่น
กนก อ่านว่า [กะ-หนก]
จมูก อ่านว่า [จะ-หมูก]
ตลาด อ่านว่า [ตะ-หลาด]

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 411

(๔) อักษร อ นา ย ไม่ตอ้ งออกเสี ยง อะ ที่ตวั นา ให้ออกเสี ยงวรรณยุกต์ของตัว ย ตาม


เสี ยงตัว อ เช่น
อย่า อ่านว่า [หย่า]
อยู่ อ่านว่า [หยู]่
อย่าง อ่านว่า [หย่าง]
อยาก อ่านว่า [หยาก]
(๕) อักษร ห นาอักษรต่าเดียว ไม่ตอ้ งออกเสี ยง อะ กึ่งเสี ยง ที่ตวั นาแต่ออกเสี ยง
วรรณยุกต์ตามตัว ห เช่น
หมอ อ่านว่า [หมอ]
หลง อ่านว่า [หลง]
หนัก อ่านว่า [หนัก]
ใหญ่ อ่านว่า [ใหย่]

๑.๓ การอ่านคาสมาส การอ่านคาสมาสมีขอ้ แนะนา ดังนี้


(๑) ถ้าเป็ นคาสมาสที่พยางค์ทา้ ยของคาหน้าไม่มีรูปสระปรากฏอยูใ่ ห้อ่านออกเสี ยง อะ
ที่พยางค์ทา้ ยของคาหน้าต่อเนื่องกับพยางค์หลัง เช่น
กิจกรรม อ่านว่า [กิด-จะ-กา]
อิสรภาพ อ่านว่า [อิด-สะ-หระ-พาบ]
วรรณคดี อ่านว่า [วัน-นะ-คะ-ดี]
สังคมศาสตร์ อ่านว่า [สัง-คม-มะ-สาด]
(๒) ถ้าเป็ นคาสมาสที่พยางค์ทา้ ยของคาหน้ามีรูปสระปรากฏอยูใ่ ห้ออกเสี ยงพยางค์ทา้ ย
ประสมกับรู ปสระที่ปรากฏอยูต่ ่อเนื่ องกับพยางค์หลัง เช่น
ประวัติศาสตร์ อ่านว่า [ประ-หวัด-ติ-สาด]
อุบตั ิเหตุ อ่านว่า [อุ-บัด-ติ-เหด]
วุฒิบตั ร อ่านว่า [วุด-ทิ-บัด]
เชตุพน อ่านว่า [เช-ตุ-พน]
พันธุกรรม อ่านว่า [พัน-ทุ-กา]
เมรุ มาศ อ่านว่า [เม-รุ -มาด]
(๓) คาสมาสบางคาไม่อ่านตามข้อแนะนาข้างต้น เช่น
ชลบุรี อ่านว่า [ชน-บุ-รี ]
สุ พรรณบุรี อ่านว่า [สุ -พัน-บุ-รี ]

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 412

๑.๔ การอ่านคายืมจากภาษาบาลี ภาษาสั นสกฤต มีขอ้ แนะนาดังนี้


(๑) อ่านแบบเรี ยงพยางค์ คาที่ไม่มีรูปสระกากับให้ออกเสี ยง อะ เช่น
กรณี อ่านว่า [กะ-ระ-นี]
ปกติ อ่านว่า [ปะ-กะ-ติ]
ธนบัตร อ่านว่า [ทะ-นะ-บัด]
ปรมาจารย์ อ่านว่า [ปะ-ระ-มา-จาน]
มกราคม อ่านว่า [มะ-กะ-รา-คม]
(๒) กรณี ที่เป็ นพยัญชนะตัวสระกดไม่ตอ้ งออกเสี ยง อะ ที่ตวั สะกด เช่น
ปรมาจารย์ อ่านว่า [ปะ-ระ-มา-จาน]
สัปดาห์ อ่านว่า [สับ-ดา]
อาชญา อ่านว่า [อาด-ยา]
ปรัชญา อ่านว่า [ปรัด-ยา]
วิตถาร อ่านว่า [วิด-ถาน]
อาสาฬหบูชา อ่านว่า [อา-สาน-หะ-บู-ชา]
(๓) ถ้าพยัญชนะตัวสะกดของพยางค์หน้าเป็ นตัว ล ให้ออกเสี ยงตัว ล มีเสี ยงสระอะ กึ่ง
เสี ยงต่อเนื่องกับพยางค์หลังด้วย เช่น
กัลบก อ่านว่า [กัน-ละ-บก]
ศิลปะ อ่านว่า [สิ น-ละ-ปะ]
กัลยา อ่านว่า [กัน-ละ-ยา]
(๔) ถ้าพยัญชนะตัวสระกดของพยางค์หน้าเป็ นตัว ศ ษ ส ให้ออกเสี ยง อะ กึ่งเสี ยง
ต่อเนื่องกับพยางค์หลังด้วย เช่น
สัสดี อ่านว่า [สัด-สะ-ดี]
พัสดุ อ่านว่า [พัด-สะ-ดุ]
พิสดาร อ่านว่า [พิด-สะ-ดาน]
โฆษณา อ่านว่า [โคด-สะ-นา]
เทศนา อ่านว่า [เทด-สะ-หนา]
ยกเว้น บางคาไม่ตอ้ งออกเสี ยง อะ ที่ ศ ษ ส เช่น
สวัสดี อ่านว่า [สะ-หวัด-ดี]
อธิษฐาน อ่านว่า [อะ-ทิด-ถาน]
สันนิษฐาน อ่านว่า [สัน-นิด-ถาน]

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 413

๑.๕ การอ่านตัว ฤ (รึ มีขอ้ แนะนา ดังนี้


(๑) อ่านออกเสี ยง เออ ได้แก่ ฤกษ์ อ่านว่า [เริ ก]
(๒) อ่านออกเสี ยง [ริ ] เมื่อประสมกับพยัญชนะ ได้แก่ ก ต ท ป ศ ส เช่น
กฤษณา อ่านว่า [กริ ด-สะ-หนา]
วิกฤติ อ่านว่า [วิ-กริ ด]
ตฤณมัย อ่านว่า [ตริ น-นะ-ไม]
ศฤงคาร อ่านว่า [สริ ง-คาน]
ทฤษฎี อ่านว่า [ทริ ด-สะ-ดี]
(๓) อ่านออกเสี ยง รึ เมื่อประสมกับพยัญชนะ ค น พ ม ท เช่น
คฤหาสน์ อ่านว่า [คะ-รึ -หาด]
มฤคา อ่านว่า [มะ-รึ -คา]
พฤกษา อ่านว่า [พรึ ก-สา]
พฤหัสบดี อ่านว่า [พรึ -หัด-สะ-บอ-ดี]
หรื อตัว ฤ ที่เป็ นพยางค์หน้าของคา เช่น
ฤทัย อ่านว่า [รึ -ไท]
ฤดี อ่านว่า [รึ -ดี]
ฤดู อ่านว่า [รึ -ดู]

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 414

คาในภาษาไทยทีม่ ักอ่านผิด
คา คาอ่ านทีถ่ ูกต้ อง
กตเวทิตา กะ - ตะ - เว - ทิ - ตา
กตเวที กะ - ตะ - เว - ที
กบฏ กะ - บด
กรกฎาคม กะ - ระ - กะ - ดา - คม
กรณี กะ - ระ - นี
กรณี ยกิจ กะ - ระ - นี - ยะ - กิด
กรมขุน กฺรม - มะ- ขุน
กรมคลัง กฺรม -มะ- คฺ ลงั
กรมท่า กฺรม - มะ - ท่า
กรมธรรม์ กฺรม - มะ - ทัน
กรมนา กฺรม - มะ - นา
กรมพระ กฺรม - มะ - พฺระ
กรมวัง กฺรม -มะ-วัง
กรมเวียง กฺรม -มะ- เวียง
กรมหมื่น กฺรม - มะ - หฺ มื่น
กรมหลวง กฺรม - มะ - หฺ ลวง
กรรมวิธี กา - มะ - วิ - ที
กรรมาธิการ กา - มา - ทิ - กาน
กลวิธี กน - ละ - วิ - ที
กลอักษร กน - อัก - สอน
กาลสมัย กา - ละ - สะ - ไหฺ ม
กาฬโรค กาน - ละ - โรก
กาเนิด กา - เหฺ นิด
กุลธิดา กุน - ละ - ทิ - ดา
กุลสตรี กุน - ละ - สัด - ตฺ รี
เกษตรกรรม กะ - เสด - ตฺ ระ - กา

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 415

คา คาอ่ านทีถ่ ูกต้ อง


ขมุกขมัว ขะ - หฺ มุก - ขะ - หฺ มวั
ขวนขวาย ขฺ วน - ขฺ วาย
ขะมุกขะมอม ขะ - มุก - ขะ - มอม
ขัณฑสกร ขัน - ทด - สะ - กอน
ขัดสมาธิ ขัด - สะ - หฺ มาด
เข้าสมาธิ เข้า - สะ - มา - ทิ
ขะเย้อแขย่ง ขะ - เย้อ - ขะ - แหย่ง
ขะมักเขม้น ขะ - มัก - ขะ - เม่น หรื อ ขะ - หมัก - ขะ - เม่น
คนธรรพ์ คน - ทัน
คมนาการ คะ - มะ - นา - กาน
คมนาคม คะ - มะ - นา - คม
ครรภธาตุ คับ - พะ - ทาด
ครหา คะ - ระ - หา
คริ สต์ศตวรรษ คฺ ริด - สะ - ตะ - วัด
ครุ ภณั ฑ์ คะ - รุ - พัน
คหกรรมศาสตร์ คะ - หะ - กา - มะ - สาด
คุณโทษ คุน - โทด
คุณธรรม คุน - นะ - ทา
คุณภาพ คุน - นะ - พาบ
คุณวิเศษ คุน - นะ - วิ - เสด
คุณวุฒิ คุน - นะ - วุด - ทิ
คุณสมบัติ คุน - นะ - สม - บัด
คัมภีร์ คา - พี
โฆษณา โคด - สะ - นา
จรด จะ - หรด
จัตุสดมภ์ จัด- ตุ - สะ - ดม
จุติ จุด - ติ
จุนสี จุน - นะ – สี

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 416

คา คาอ่ านทีถ่ ูกต้ อง


ฉกษัตริ ย ์ ฉ้อ-กะ-สัด, ฉอ-กะ-สัด
ฉศก ฉอ-สก
ชนมพรรษา ชน-มะ-พัน-สา
ชนมายุ ชน-นะ-มา-ยุ
ชักเย่อ ชัก-กะ-เย่อ
ชาติพลี ชาด-พะ-ลี
ชาติภูมิ ชาด-ติ-ภูมิ
ชุกชี ชุก-กะ -ชี
ญาติวงศ์ ญาด- ติ -วง
ด้วยประการฉะนี้ ด้วย -ประ -กาน -ฉะ -นี้ , ด้วย -ประ -กาน -ระ -ฉะ - นี้
ดาษดา ดาด -สะ -ดา
ดาษดื่น ดาด- ดื่น
ดูกร ดู -กะ -ระ , ดู -กอน
เดียรดาษ เดีย -ระ -ดาด
ตนุ ( เต่า ) ตะ -หนุ
ถาวรวัตถุ ถา -วอน -วัด -ถุ , ถา -วอน -ระ - วัด -ถุ
แถง ถะ -แหง
ทัณฑกรรม ทัน -ดะ -กา
ทานบดี ทาน - นะ -บอ -ดี
ทิฐิ ทิด - ถิ
ทูลเกล้าฯ ทูน -เกล้า - ทูน -กระ -หม่อม
โทมนัส โทม -มะ -นัด
โทรมมนัส โซม - มะ -นัด
ธรรมาสน์ ทา -มาด
ธารกานัล ทา -ระ -กา -นัน
นพศูล นบ -พะ -สู น
นิคหิต นิก- คะ -หิด
บทมาลย์ บท - มะ -มาน

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 417

คา คาอ่ านทีถ่ ูกต้ อง


บรรพมูล บับ -พะ -มูน
บรรษัท บัน -สัด
บราลี บะ -รา - ลี
บัณเฑาะว์ บัน -เดาะ
บัตรพลี บัด- พะ -ลี
ปกติ ปะ - กะ -ติ , ปก -กะ -ติ
ปฐมวัย ปะ - ถม -มะ - ไว
ปรกติ ปรก -กะ - ติ
ปรมินทร์ ปะ - ระ - มิน , ปอ -ระ -มิน
ปรัก ( เงิน ) ปรัก
ปรัก ( หัก ) ปะ -หรัก
ปุณฑริ ก ปุน -ดะ -ริ ก , ปุน - ทะ -ริ ก
ผรุ สวาท สะ -รุ -สะ -วาด , ผะ -รุ ด -สะ - วาด
ผลกรรม ผน -กา
พยาธิ ( ความป่ วยไข้ ) พะ - ยา - ทิ
พยาธิ ( สัตว์ ) พะ -ยาด
พระบรมราชินี พระ - บอ - รม -มะ -รา - ชิ -นี
พลขับ พน -ละ -ขับ
พลร่ ม พน - ร่ ม
พลีชีพ พลี -ชีบ
พลียา พลี - ยา
พิษฐาน พิด - สะ -ถาน
พีชคณิ ต พี -ชะ - คะ- นิด
พุมเรี ยง ( พืช ) พุม -มะ -เรี ยง
พุมเรี ยง ( ผ้า ) พุม -เรี ยง
ภรรยา พัน - ยา , พัน -ระ -ยา
มณฑป มน -ดบ
มาติกา มาด -ติ -กา

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 418

คา คาอ่ านทีถ่ ูกต้ อง


มิคสัญญี มิก -คะ - สัน -ยี
เมรุ เมน
เมรุ มาศ เม - รุ -มาด
ยุติ ยุด - ติ
รอมร่ อ รอม -มะ ร่ อ
รังสฤษฏ์ รัง -สะ -หริ ด
รัสสระ รัด -สะ -สะ -หระ
ลลนา ลน -ละ -นา
วัยวุฒิ ไว -ยะ - วุด - ทิ , ไว -ยะ -วุด
วิตถาร วิด-ถาน
วินาศกรรม วิ -นาด -สะ -กา
วุฒิ วุด -ทิ
ศตวรรษ สะ - ตะ -วัด
เศรณี เส -นี
เศวต สะ -เหวด
สมมุติฐาน สม -มุด - ติ -ถาน
สมศักย์ สะ -มะ -สัก
สมุฏฐาน สะ -หมุด -ถาน
สรั่ง สะ -หรั่ง
สลา สะ -หลา
สวรรคต สะ -หวัน -คด
สัตบุรุษ สัด -บุ -หรุ ด
สัปปุรุษ สับ - ปุ -หรุ ด
สารท สาด
สุ จริ ต สุ ด -จะ -หริ ด
หิตประโยชน์ หิ -ตะ -ประ -โหยด
อนุสติ อะ -นุด -สะ -ติ
อรรถคดี อัด -ถะ -คะ -ดี

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 419

คา คาอ่ านทีถ่ ูกต้ อง


อรรถรส อัด -ถะ -รด
อสนีบาต อะ -สะ -นี -บาด
อหิวาตกโรค อะ -หิ -วา -ตะ -กะ - โรก
อัครชายา อัก - คระ -ชา - ยา
อัปราชัย อับ -ปะ -รา -ไช
อิสตรี อิด -สัด -ตรี
อุณหภูมิ อุน -หะ -พูม
อุตริ อุด -ตะ -หริ
โอสถกรรม โอ -สด -ถะ –กา

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 420

แนวข้ อสอบความรู้ความสามารถทั่วไปด้ านภาษาไทย ชุดที่ ๑

คาชี้แจง: จงเลือกคาตอบทีถ่ ูกทีส่ ุ ด เพียงข้ อเดียว


๑. ข้อใดอ่านผิด
ก. ภูมิประเทศ อ่านว่า พู-มิ-ประ-เทด. ข. ชลประทาน อ่านว่า ชน-ละ-ประ-ทาน.
ค. ยุคลบาท อ่านว่า ยุ-คน-บาด. ง. ภูมิภาค อ่านว่า พู-มิ-พาก
๒. คาต่อไปนี้คาใดเขียนผิด
ก. บุคลากร. ข. ศักดิ์สิทธิ์ . ค. อัฒจันทร์. ง. ไอศกรี ม
๓. ข้อใดอ่านถูกต้อง
ก. อาสาฬหบูชา อ่านว่า อา-สา-ระ-หะ-บู-ชา. ข. พิสดาร อ่านว่า พิด-ดาน.
ค. วิตถาร อ่านว่า วิด-ถาน. ง. สรรพากร อ่านว่า สับ-พา-กอน
๔. ให้เลือกคาที่สะกดผิด
ก. เหรี ยญกระษาปณ์. ข. เกษรดอกไม้. ค. เกษียณอายุ. ง. เกษียรสมุทร
๕. คาใดเขียนผิด
ก. ซักไซ้ ข. ซ่าหริ่ ม ค. เซนติเมตร ง. ดาษฟ้า
๖. คาใดเขียนผิด
ก. ก๊อก ข. กระทันหัน ค. เกินดุล ง. กะเพรา
๗. คาใดเขียนถูก
ก. ขบฏ ข. ขมีขะมัน ค. โขมย ง. ขลุกขลิก
๘. คาใดเขียนผิด
ก. ขะมักเขม้น ข. ขมุกขมอม ค. ขากรรไกร ง. ขันชะเนาะ

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 421
๙. คาใดเขียนผิด
ก. คนโท ข. คริ สตกาล ค. คลองแคลง ง. คฤหัสถ์
๑๐. คาใดเขียนผิด
ก. คาภีร์ ข. คอนเสิ ร์ต ค. เค้ก ง. คุกกี้
๑๑. คาใดเขียนผิด
ก. โง่เง่า ข. งูสวัด ค. จะละเม็ด ง. จลาจล
๑๒. คาใดเขียนผิด
ก. จัก๊ กจัน่ ข. จัดสรร ค. จตุสดมภ์ ง. จานง
๑๓. คาใดเขียนผิด
ก. เจดียท์ ิศ ข. เจดียสถาน ค. เจียระไน ง. จันทร์ เทศ
๑๔. คาใดเขียนผิด
ก. จุดไต้ตาตอ ข. ฉะอ้อน ค. ฉันญาติ ง. ชะนวน
๑๕. ข้อใดเขียนผิดอักขรวิธี
ก. พุทธชาด ข. พนัน ค. หัสดา ง. พัสถาร
๑๖. ข้อใดเขียนผิดอักขรวิธี
ก. เพ็ชร ข. เพชฌฆาต ค. พยักพเยิด ง. บิดพลิ้ว
๑๗. ข้อใดเขียนผิดอักขรวิธี
ก. อะลุม้ อล่วย ข. อเนดอนาถ ค. อาเพศ ง. อาศัย
๑๘. ข้อใดเขียนผิดอักขรวิธี
ก. ฉบัง ข. ฉบับ ค. ฉเพาะ ง. ฉะนั้น
๑๙. ข้อใดเขียนผิดอักขรวิธี
ก. โจทย์เลข ข. โจทข์จนั ค. โจทก์จาเลย ง. จัตุรงค์

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 422
๒๐. ข้อใดเขียนถูกอักขรวิธี
ก. นกพิราพ ข. นกพิราบ ค. นกพิลาบ ง. นกพิลาป
๒๑. ข้อใดเขียนถูกอักขรวิธี
ก. พิสดาร ข. พัสดุ ค. พิศดู ง. พิสมัย
๒๒. ข้อใดเขียนถูกอักขรวิธี
ก. สังสรรค์ ข. เสกสรร ค. สรรค์แสร้ง ง. สร้างสรรค์
๒๓. ข้อใดเขียนถูกอักขรวิธี
ก. โอกาส ข. เบญจเพส ค. อาเพศ ง. เภทภัย
๒๔. ข้อใดเขียนถูกอักขรวิธี
ก. ดารงค์ ข. เบญจรงค์ ค. ประมงค์ ง. ธารง
๒๕. ข้อใดเขียนผิดอักขรวิธี
ก. ขะมักเขม้น ข. ขะมุกขมอม ค. ขมุกขมัว ง. ขมุบขมิบ
๒๖. ข้อใดเขียนผิดอักขรวิธี
ก. สารอินทรี ย ์ ข. นกอินทรี ค. ปลาอินทรี ง. ปุ๋ ยอินทรี
๒๗. ข้อใดเขียนผิดอักขรวิธี
ก. บ่วงบาศ ข. ลูกบาศก์ ค. บาทหลวง ง. บาตรใหญ่
๒๘. ข้อใดเขียนผิดอักขรวิธี
ก. ละออง ข. ละออ ค. ละเมียด ง. ละอาย
๒๙. ข้อใดเขียนผิดอักขรวิธี
ก. ชะนี ข. ชะมด ค. ชะอุ่ม ง. ชะเอม
๓๐. ข้อใดเขียนผิดอักขรวิธี
ก. จักรพรรดิ ข. รามเกียรติ์ ค. ตัวพยาธิ์ ง. ขัดสมาธิ

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 423
๓๑. ข้อใดเขียนผิดอักขรวิธี
ก. อายุเยาว์ ข. ย่อมเยา ว์ ค. วัยเยาว์ ง. นงเยาว์
๓๒. ข้อใดเขียนถูกอักขรวิธี
ก. แมลงสาป ข. ทะเลสาบ ค. เหม็นสาบ ง. สาปแช่ง
๓๓. ข้อใดเขียนถูกอักขรวิธี
ก. เบ็นซิน ข. เบนซีน ค. เบนซิน ง. เบ็นซีน
๓๔. ข้อใดเขียนถูกอักขรวิธี
ก. เหล้าสระแหน่ ข. เหล้าสรแหน่ ค. เหล้าสะระแหน่ ง. เหล้าสาระแหน่
๓๖. ข้อใดมีคาที่เขียนผิดอักขรวิธีปนอยูด่ ว้ ย
ก. จาระไน เจียระไน ข. อะไหล่ กะไล่ ค. ผาสุ ก สุ ขสันต์ ง. กินนร กินนรี
๓๗. ข้อต่อไปนี้ เขียนถูกอักขรวิธีท้ งั สองคา
ก. อากาศ โอกาส ข. กัลปพฤกษ์ ดาวประกายพฤกษ์
ค. บุคลิก บุคคล ง. เกสร เกษเกล้า
๓๘. ข้อใดเขียนถูกอักขรวิธี
ก. ตานขโมย ข. ตาลขโมย ค. ตานขโมย ง. ตานขโมย
๓๙. ข้อใดเขียนถูกอักขรวิธี
ก. กากบาด ข. กากบาท ค. กากะบาด ง. กากบาท
๔๐. ข้อใดเขียนถูกอักขรวิธี
ก. กบฏ ข. กฎหมาย ค. มงกุฎ ง. ปรากฏ
๔๑. ข้อใดเขียนถูกอักขรวิธี
ก. พิศมร ข. พิสดาร ค. พัสดุ ง. พิษณุโลก

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 424
๔๒. ข้อใดเขียนถูกอักขรวิธี
ก. มันสัมปหลัง ข. มันสาปะหลัง ค. มัสสาปหลัง ง. มันสาปะหลัง
๔๓. ข้อต่อไปนี้ เขียนผิดอักขรวิธีท้ งั สองคา
ก. ช้อนส้อม ซ่อมแซม ข. คอยท่า ท่าน้ า
ค. เคลือบคลุม คลุมเครื อ ง. ทุรกันดาร จักรวาล
๔๔. ข้อใดเขียนถูกอักขรวิธีท้ งั ๓ คา
ก. ไชยชนะ เจริ ญไชย เวนัยชน ข. ไยดี ไยไพ ลาใย
ค. หมาไน เหล็กไน เครื่ องใน ง. ใฝ่ ฝัน ฝักใฝ่ ใฝ่ ใจ
๔๕. ข้อใดมีคาที่เขียนถูกอักขรวิธีเพียงคาเดียว
ก. จานงค์ ประมงค์ ดารง ข. พูร่ ะหง นวลหง หางหงส์
ค. สังวาลย์ สาอางค์ สิ งโต ง. ปล้นสะดม จตุสดม จัตุรงค์
๔๖. ข้อใด สะกดถูกทุกคา
ก. กาสรวล คารน เข็ญใจ กังวาน ข. เคี่ยวเข็ญ เจตจานงค์ กล้วยบวชชี กาลเทศะ
ค. จัดสรร ไม้จนั ทร์ เจตนารมณ์ กากบาด ง. กฎเกณฑ์ กิจลักษณะ กักขฬะ กันแสง
๔๗. ข้อใดเขียนถูกต้องตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน
ก. ภาคพูม ข. ภาพพูม ค. ภาคภูมิ ง. ภาคภูมิ
๔๘. ข้อใดเขียนถูกต้องตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน
ก. จัดสรร ข. จัดสัน ค. จัดสรรค์ ง. จัดสรรพ์
๔๙. ข้อใดเขียนถูกต้องตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน
ก. สัปรส ข. สับปะรด ค. สับปะรด ง. สัปปะรส
๕๐. ข้อใดเขียนถูกต้องตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน
ก. ประนีประนอม ข. ประนีประนอม ค. ประนีประนอม ง. ประณี ประนอ

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 425
๕๑. ข้อใดเขียนถูกต้องตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน
ก. ศีรษะ ข. ศรี ษะ ค. ศีร์ษะ ง. ศีระษะ
๕๒. ข้อใดเขียนถูกต้องตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน
ก. สันโดษ ข. สันโดส ค. สันโดษ ง. สันโดท
๕๓. ข้อใดเขียนถูกต้องตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน
ก. สายสิ น ข. สายสิ ญจน์ ค. สายสิ ญจน์ ง. สายสิ ญจณ์
๕๔. ข้อใดเขียนถูกต้องตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน
ก. รื่ นรมย์ ข. รื่ นรม ค. รื่ นรมย์ ง. รื่ นรมน์ จ. รื่ นรมติ์
๕๕. ข้อใดเขียนถูกต้องตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน
ก. อวศานต์ ข. อวสาน ค. อวสาน ง. อวสานว์
๕๖. ข้อใดเขียนถูกต้องตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน
ก. สังวร ข. สังวรน์ ค. สังวอน ง. สังวร
๕๗. ข้อใดเขียนผิดอักขรวิธี
ก. เก่งกาด ข. ประกาศ ค. โอกาส ง. อากาศ
๕๘. ข้อใดเขียนผิดอักขรวิธี
ก. บันทุก ข. บรรทัด ค. บรรเลง ง. บันทึก
๕๙. ข้อใดเขียนผิดอักขรวิธี
ก. สะดุง้ ข. สะบาย ค. สะพาน ง. สะกิด
๖๐. ข้อใดเขียนผิดอักขรวิธี
ก. ความสุ ข ข. ผาสุ ก ค. วันศุกร์ ง. ข้าวสุ ก
๖๑. ข้อใดเขียนผิดอักขรวิธี
ก. ดาริ ข. ดารง ค. พะอง ง. ธามะรง

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 426
๖๒. ข้อใดเขียนผิดอักขรวิธี
ก. ทะนง ข. ทะนาน ค. ทยอย ง. ทะแยง
๖๓. ข้อใดเขียนผิดอักขรวิธี
ก. ทรุ ดโซม ข. ซาบซ่าน ค. ซอกแซก ง. ทรวดทรง
๖๔. ข้อใดเขียนผิดอักขรวิธี
ก. จาระไน ข. เจียระนัย ค. จานง ง. จัตุรัส
๖๕. ข้อใดเขียนผิดอักขรวิธี
ก. บาดทะพิษ ข. บาดทะยัก ค. บ่วงบาศ ง. บาดหลวง
๖๖. ข้อใดเขียนผิดอักขรวิธี
ก. พิสมัย ข. พรรณนา ค. พิศวาท ง. พัสดุ
๖๗. ข้อใด อ่าน ผิด อักขรวิธี
ก. รู ปพรรณ อ่านว่า รู ป – พัน ข. พรรณนา อ่านว่า พัน – นะ – นา
ค. สรรพคุณ อ่านว่า สับ – พะ – คุน ง. กรรมาธิการ อ่านว่า กา -มา - ทิ – กาน
๖๘. ข้อใด อ่าน ผิด อักขรวิธี
ก. อดิเรกลาภ อ่านว่า อะ – ดิ – เหรก – กะ – ลาบ ข. กากบาท อ่านว่า กา – กะ – บาด
ค. อมตะ อ่านว่า อา – มะ – ตะ ง. สรณะ อ่านว่า สะ – ระ – นะ
๖๙. ข้อใด อ่าน ผิด อักขรวิธี
ก. การาบ อ่านว่า กา – หราบ ข. บาราศ อ่านว่า บา - หราด
ค. บาราบ อ่านว่า บา - หราบ ง. ดาริ อ่านว่า ดา - หร
๗๐. คาที่อ่านว่า “ปลา – อิน- ซี ” เขียนอย่างไร
ก. ปลาอินทรี ข. ปลาอินทรี ย ์ ค. ปลาอินซี ง. ปลาอินทร์ซี

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 427
๗๑. คาที่อ่านว่า “จอ – ระ- เข้” เขียนอย่างไร
ก. จรเข้ ข. จอระเข้ ค. จระเข้ ง. จรเข่
๗๒. คาที่อ่านว่า “จัก – กะ- จัน่ ” เขียนอย่างไร
ก. จักจัน่ ข. จักกะจัน่ ค. จัก๊ กะจัน่ ง. จักจัน่
๗๓. คาที่อ่านว่า “ทด – สะ- กัน” เขียนอย่างไร
ก. ทศกรรณ ข. ทศกัณฑ์ ค. ทศกัณห์ ง. ทศกัณฐ์
๗๔. คาที่อ่านว่า “บิน – ทะ- บาด” เขียนอย่างไร
ก. บิณทบาตร ข. บิณฑบาต ค. บิณฑบาต ง. บินฑบาตร์
๗๕. ข้อใด อ่านผิดอักขรวิธี
ก. ประวัติศาสตร์ อ่านว่า ประ – หวัด – สาด ข. อุบตั ิเหตุ อ่านว่า อุ – บัด – เหตุ
ค. สมานฉันท์ อ่านว่า สะ – หมาน – น – ฉัน ง. ภูมิศาสตร์ อ่านว่า พูม – มิ สาด
๗๖. ข้อใด อ่านผิดอักขรวิธี
ก. ชัยภูมิ อ่านว่า ชัย – ยะ พูม – มิ ข. กรณี อ่านว่า กะ - ระ – นี
ค. เพชรบุรี อ่านว่า เพ็ด – ชะ – บุ – รี ง. ชลบุรี อ่านว่า ชน – ละ - บุ – รี
๗๗. ข้อใด อ่านถูกอักขรวิธี
ก. ผลิตผล อ่านว่า ผลิด – ผน ข. ภูมิลาเนา อ่านว่า พูม – ลา – เนา
ค. คมนาคม อ่านว่า คม – นา – คม ง. นามธรรม อ่านว่า นาม – ทา
๗๘. ข้อใด อ่านถูกอักขรวิธี
ก. ปรัชญา อ่านว่า ปรัด – ยา ข. ปริ ญญา อ่านว่า ปริ น – ยา
ค. คุณธรรม อ่านว่า คุน – ทา ง. คุณภาพ อ่านว่า คุน – ภาพ

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 428
๗๙. ข้อใด อ่านถูกอักขรวิธี
ก. กรรมาธิการ อ่านว่า กา – มา – ทิ – กาน ข. ทุพภิกขภัย อ่านว่า ทุ – พะ – พิก – ขะ – ไพ
ค. เทศบาล อ่านว่า เท – สะ – บาน ง. คุณภาพ อ่านว่า คุณ – พาบ
๘๐. ข้อใด อ่านถูกอักขรวิธี
ก. ประกาศนียบัตร อ่านว่า ประ – กาด – สะ – นี – บัด ข. ตุก๊ ตา อ่านว่า ตุก๊ – ตา
ค. ชลประทาน อ่านว่า ชน – ละ – ประ – ทาน ง. คุณวุฒิ อ่านว่า คุน – วุด
๘๑. ข้อใด อ่านผิดอักขรวิธี
ก. ธนบัตร อ่านว่า ทน – นะ – บัด ข. ปรโลก อ่านว่า ปอ – ระ – โลก
ค. อภัยโทษ อ่านว่า อะ – พัย – ยะ – โทด ง. อรหันต์ อ่านว่า ออ – ระ – หัน
๘๓. ข้อใด อ่านถูกอักขรวิธี
ก. รสนิยม อ่านว่า รด – สะ – นิ – ยม ข. รู ปธรรม อ่านว่า รู ป – ปะ – ทา – มะ
ค. รู ปพรรณ อ่านว่า รู บ – พัน ง. ถาวรวัตถุ อ่านว่า ถา – วะ – ระ – วัด – ถุ
๘๔. ข้อใด อ่านถูกอักขรวิธี
ก. มาตรฐาน อ่านว่า มาด – ตระ – ถาน
ข. ภูมิภาค อ่านว่า พูม – พาก
ค. กรกฎาคม อ่านว่า กอ – รัก – กะ – ดา – คม
ง. ประกาศนียบัตร อ่านว่า ประ – กาด – นี – บัด
๘๕. ข้อใด อ่านถูกอักขรวิธี
ก. กิจการ อ่านว่า กิด – กาน ข. อาชญากร อ่านว่า อาด – ยา – กอน
ค. อุณหภูมิ อ่านว่า อุน – นะ – หะ – พูม ง. พลความ อ่านว่า พน – ความ
๘๖. ข้อใด อ่านถูกอักขรวิธี
ก. ลักเพศ อ่านว่า ลัก – เพด ข. จันทรเกษม อ่านว่า จัน–ทะ – กะ – เสม
ค. สัมปทานบัตร อ่านว่า สา – ปะ – ทาน – นะ – บัด ง. เสวก อ่านว่า เส – วะ – กะ

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 429
๘๗. ข้อใด อ่าน ผิด อักขรวิธี
ก. จักจัน่ อ่านว่า จัก – กะ – จัน่ ข. ตัก๊ แตน อ่านว่า ตัก๊ – กะ – แตน
ค. ชุกชี อ่านว่า ชุก – กะ – ชี ง. วิตถาร อ่านว่า วิด – ตะ – ถาน
๘๘. ข้อใด อ่านถูกอักขรวิธี
ก. ปราชัย อ่านว่า ปะ – รา – ชัย ข. สัปดน อ่านว่า สับ – ปะ – ดน
ค. สัพยอก อ่านว่า สับ – พะ – ยอก ง. ถูกทุกข้อ
๘๙. ข้อใด อ่าน ผิด อักขรวิธี
ก. มณฑป อ่านว่า มน – ทบ ข. บัณฑิต อ่านว่า บัน – ดิด
ค. มณฑก อ่านว่า มน – ทก ง. มณฑล อ่านว่า มน – ทน
๙๐. ข้อใด อ่าน ผิด อักขรวิธี
ก. สมรรถภาพ อ่านว่า สะ – มัด – ถะ – พาบ ข. มรรยาท อ่านว่า มัน – ระ – ยาด
ค. พรรษา อ่านว่า พัน – สา ง. พรรดึก อ่านว่า พัน – ระ – ดึก
๙๑. คาว่า “วชิรญาณ” ข้อใดอ่านถูกต้อง
ก. วะ – ชิ – ระ – ยาน ข. วะ -- ชิน – ระ – ยาน
ค. วะ – ชิน – ยาน ง. วะ – ชิ –ระ – ยา –นะ
๙๒. เปลือกหอยเคยเป็ น...............ประดับชายหาดหายไปหมดแล้ว คาในข้อใดเขียนถูกต้อง
ก. อัณญมณี ข. อัญมะณี ค. อัญมนี ง. อัญมณี
๙๓. ข้อใดอ่านถูกต้อง
ก. มลาย อ่านว่า มะ – หลาย ข. ขยุม้ อ่านว่า ขะ - หยุม่
ค. เสน่ง อ่านว่า สะ – เหน่ง ง. ชฎา อ่านว่า ชะ - ตา
๙๔. ข้อใดอ่านผิด
ก. บุคคล อ่านว่า บุก – คน ข. รกชัฏ อ่านว่า รก - ชัก
ค. โทรเลข อ่านว่า โท - ระ – เลก ง. จักรเย็บผ้า อ่านว่า จัก - เย็บ - ผ้า

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 430
๙๕. ยักษ์มีหน้าตา.....................มาตั้งแต่เกิด ควรเติมคาใดในช่องว่าง
ก. อับปลักษณ์ ข.อัปลักณษ์ ค. อัปลักษณ์ ง.อัปรักษณ์
๙๖. คาว่า “วี - ระ - บุ - หรุ ด” เขียนอย่างไร
ก. วีระบุรุษ ข. วีรบุรุษ ค. วีรบุหรุ ษ ง.วีระบุหรุ ษ
๙๗. คาว่า “เดียรัจฉาน” อ่านอย่างไร
ก. เดีย - ระ - ฉาน ข. เดีย - รัด - จะ – ฉาน
ค. เดีย - รัด – ฉาน ง. เดีย - รัด - ชาน

๙๘. ข้อใดเขียนถูกต้องทุกคา
ก. ภูวนาถ เทศกาล ข. สุ ภาษิต อิษเรศ
ค. อัสดร สังเกต ง. จารี ตร สารพัด
๙๙. พระมหากษัตริ ยไ์ ทยได้..................พระนครในช่องว่างควรเติมคาใด
ก. เสด็จนิวตั ิ ข. เสด็จนิวตั ร ค. เสด็จนิวตั ง. สเด็จนิวตั ิ

๑๐๐. คาว่า “ขะ - เม่น” ข้อใดเขียนถูกต้อง


ก. เขม่น ข. เขม้น ค. ขเม้น ง. ขะเม้น

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 431

เฉลยแนวข้ อสอบความรู้ความสามารถทั่วไปด้ านภาษาไทย ชุดที่ ๑

๑. เฉลย ตอบข้ อ ค. ยุคลบาท อ่านว่า ยุ-คน-บาด.


อธิ บาย คาอ่านที่ถูกคือ ยุ – คน – ละ – บาด
๒. เฉลย ตอบข้ อ ก. บุคลากร.
อธิบาย คาที่ถูกต้องคือ บุคลากร
๓. เฉลย ตอบข้ อ ค. วิตถาร อ่านว่า วิด-ถาน.
๔. เฉลย ตอบข้ อ ข. เกสรดอกไม้.
อธิบาย คาเขียนที่ถูกต้องคือ เกสรดอกไม้
๕. เฉลย ตอบข้ อ ง. ดาดฟ้า
อธิบาย คาเขียนที่ถูกต้องคือ ดาดฟ้า
๖. เฉลย ตอบข้ อ ข. กะทันหัน
อธิบาย คาเขียนที่ถูกต้องคือ กะทันหัน
๗. เฉลย ตอบข้ อ ง. ขลุกขลิก
อธิบาย ข้อ ก. = ขบถ , ข้อ ข. = ขมีขมัน , ข้อ ค. = ขโมย
๘. เฉลย ตอบข้ อ ข. ขะมุกขะมอม
อธิบาย คาที่ถูกต้องคือ ขะมุกขะมอม
๙. เฉลย ตอบข้ อ ค. ครองแครง
อธิบาย คาเขียนที่ถูกต้องคือ ครองแครง
๑๐. เฉลย ตอบข้ อ ก. คัมภีร์
อธิบาย คาเขียนที่ถูกต้องคือ คัมภีร์
๑๑. เฉลย ตอบข้ อ ง. จลาจล
อธิบาย คาที่ถูกต้องคือ จลาจล
๑๒. เฉลย ตอบข้ อ ก. จัก๊ กจัน่
อธิ บาย คาเขียนที่ถูกต้องคือ จักจัน่
๑๓. เฉลย ตอบข้ อ ง. จันทร์เทศ
๑๔. เฉลย ตอบข้ อ ง. ชนวน
อธิบาย คาที่เขียนถูกต้องคือ ชนวน

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 432

๑๕. เฉลย ตอบข้ อ ง. พัสถาร


อธิบาย คาที่ถูกต้องตามพจนานุกรมเขียนดังนี้พสั ถาน น. หลักฐาน, มักใช้เข้าคู่กบั คา สมบัติเป็ น
สมบัติพสั ถาน.
๑๖. เฉลย ตอบข้ อ ก. เพ็ชร
อธิ บาย คาที่ถูกต้องตามพจนานุกรมเขียนดังนี้ เพชร, เพชร น. ชื่อแก้วที่แข็งที่สุดและมีน้ าแวว
วาวมากกว่าพลอยอื่น ๆ ใช้ทาเครื่ องประดับหรื อใช้ประโยชน์ในทางอุตสาหกรรม; โดยปริ ยาย
หมายความว่า แข็งที่สุด เช่น เหล็กเพชร ใจเพชร.(ส. วชฺ ร; ป. วชิร).
๑๗. เฉลย ตอบข้ อ ข. อเนดอนาถ
อธิบาย คาที่ถูกต้องตามพจนานุกรมเขียนดังนี้ อเนจอนาถ ก. สลดใจเป็ นอย่างยิง่ . (ป. อนิ จฺจ ว่า ไม่
เที่ยง +อนาถ ว่า ไม่มีที่พ่ งึ ).
๑๘. เฉลย ตอบข้ อ ค. ฉเพาะ
อธิ บาย คาที่ถูกต้องตามพจนานุกรมเขียนดังนี้ เฉพาะ ว. โดยเจาะจง, เพ่งตรง, ตรงตัว; เผอิญ; แต่;
จากัด, เท่านี้ , เท่านั้น. (ข. เฉฺ พาะ).
๑๙. เฉลย ตอบข้ อ ข. โจทข์จนั
อธิบาย คาที่ออกเสี ยง “โจด” ซึ่งเป็ นคาพ้องเสี ยง และชอบออกข้อสอบมี 3 คา พจนานุกรมเขียนไว้
ดังนี้โจทก์ น. (กฎ) บุคคลผูฟ้ ้องคดีต่อศาล; ผูก้ ล่าวหา. (เดิมเขียนเป็ นโจทย์).(ป., ส.).
โจทย์ น. คาถามในวิชาคณิ ตศาสตร์ , โดยปริ ยายใช้หมายถึงสิ่ งที่คล้ายคลึงเช่นนั้น เช่น ปั ญหานี้ เป็ นโจทย์
ที่รัฐบาลแก้ไม่ตก.
โจษ, โจษจัน ก. พูดอึง, พูดกันเซ็งแซ่, เล่าลือกันอื้ออึง, จรรโจษหรื อ จันโจษ ก็ใช้.
๒๐. เฉลย ตอบข้ อ ข. นกพิราบ
๒๑. เฉลย ตอบข้ อ ค. พิศดู
อธิ บาย คาว่า “พิศดู” พจนากรมเขียนไว้ ดังนี้ พิศดู ก. พิจารณาดูให้รอบคอบ, พิจารณาดูให้ถี่
ถ้วน.คาในตัวเลือกอื่น พจนากรมเขียนไว้ ดังนี้
พิสดาร กว้างขวาง, ละเอียดลออ (ใช้แก่เนื้อความ) เช่น ประวัติศาสตร์ ฉบับพิสดาร มีความพิสดารดังนี้ ;
(ปาก) แปลกพิลึก เช่น เล่นพิสดาร. (ส. วิสฺตาร; ป. วิตฺถาร).
พัสดุ น. สิ่ งของต่าง ๆ, เครื่ องใช้ไม้สอย, ที่ดิน, บ้านเรื อน. (ส. วสฺ ตุ; ป. วตฺ ถุ).
พิสมัย น. ความรัก, ความปลื้มใจ, ความชื่นชม. ก. รักใคร่ หลงใหล เช่น ฉันไม่เห็นจะพิสมัยเธอเลย. ว.
ควรชม. (ส. วิสฺมย; ป. วิมฺหย ว่า ความแปลกใจ).

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 433
๒๒. เฉลย ตอบข้ อ ง. สร้างสรรค์
อธิ บาย สร้างสรรค์ ก. สร้างให้มีให้เป็ นขึ้น (มักใช้ทางนามธรรม) เช่น สร้างสรรค์ความสุ ขความเจริ ญ
ให้แก่สังคม. ว. มีลกั ษณะริ เริ่ มในทางดี เช่น ความคิดสร้างสรรค์ ศิลปะสร้างสรรค์.
สรรค์ ก. สร้างให้มีให้เป็ นขึ้น, มักใช้เข้าคู่กบั คา สร้าง เป็ นสรรค์สร้าง หรื อ สร้างสรรค์. (ส. สรฺ ค ว่า สร้างอย่าง
พระพรหมสร้างโลก).คาในตัวเลือกอื่น พจนากรมเขียนไว้ ดังนี้สงั สรรค์ ก. พบปะวิสาสะกันเป็ นครั้งคราวด้วย
ความสนิทสนม เช่น จัดงานสังสรรค์กนั ในหมู่พนักงาน เพื่อน ๆ ได้พบปะสังสรรค์กนั
ในงานชุมนุมศิษย์เก่า. ว. ที่พบปะวิสาสะกันเป็ นครั้งคราวด้วยความสนิทสนม เช่น งานสังสรรค์. (ส. สสรฺ ค).
เสกสรร ก. เลือกทาหรื อพูดเอาเอง เช่น เขามีเงินมีทอง จะเสกสรรอะไรก็ทาได้.สรรแสร้ง ก. เลือกว่า, แกล้ง
เลือก
๒๓. เฉลย ตอบข้ อ ค. อาเพศ
อธิ บาย พจนานุกรมเขียนดังนี้ อาเพศ น. เหตุที่เกิดขึ้นอย่างผิดปรกติวิสยั ถือว่าเป็ นลางไม่ดี. (อาจมาจาก
ส. อาเวศ).คาในตัวเลือกอื่น พจนากรมเขียนไว้ ดังนี้โอกาส น. ช่อง, ทาง; เวลาที่เหมาะ, จังหวะ. (ป.; ส.
อวกาศ).เบญจเพส ว. ยี่สิบห้า เช่น อายุถึงเบญจเพส. (ป. ปญฺ จวีส).เภทภัย [เพดไพ] น. ภัยต่าง ๆ.
๒๔. เฉลย ตอบข้ อ ข. เบญจรงค์
อธิ บาย พจนานุกรมเขียนดังนี้
เบญจรงค์ น. แม่สีท้ งั ๕ คือ ดา แดง ขาว เขียว (คราม) เหลือง, เรี ยกเครื่ องถ้วยชามที่เขียนลวดลายด้วยแม่สีท้ งั ๕
ว่า ถ้วยเบญจรงค์ ชามเบญจรงค์.คาในตัวเลือกอื่น พจนากรมเขียนไว้ ดังนี้
ดารง ก. ทรงไว้, ชูไว้, ทาให้คงอยู,่ เช่น ดารงวงศ์ตระกูล. ว. ตรง, เที่ยง. (แผลงมาจากตรง). (ข. ฎรง่, ตมฺ รง่).
ประมง น. การจับสัตว์น้ า เช่น ทาประมง; คนเลี้ยงชีพในทางจับสัตว์น้ า เรี ยกว่า ชาวประมง พวกประมง;
ประโมง ก็ใช้. ก. ดาน้ าหาปลา เช่น กาน้ าดาน้ าคือประมง, ตระบัดประมงลงทัน. (สมุทรโฆษ).
ธารง ก. ทรงไว้, ชูไว้.
๒๕. เฉลย ตอบข้ อ ข. ขะมุกขมอม
อธิ บาย จากพจนานุกรมเขียนให้ถูกต้อง คือ “ขมุกขมอม”
๒๖. เฉลย ตอบข้ อ ง. ปุ๋ ยอินทรี
อธิ บาย พจนานุกรมให้ความหมายไว้ ดังนี้ ปุ๋ ยอินทรี ย ์ น. ปุ๋ ยที่ได้จากพืชและซากสัตว์.
คาว่า “อินทรี ” กับ “อินทรี ย”์ พจนานุกรมเขียนไว้ดงั นี้
อินทรี ๑ น. ชื่อนกในวงศ์ Accipitridae ซึ่ งเป็ นวงศ์เดียวกับเหยี่ยวขามีขนปกคลุม กรงเล็บแข็งแรง
อินทรี ๒ น. ชื่อปลาทะเลขนาดใหญ่หลายชนิดในหลายวงศ์ ลาตัวแบนข้างเรี ยวยาว คอดหางกิ่ว ปลายหางเป็ น
แฉกลึก อยูเ่ ป็ นฝูงใกล้ผิวน้ า
อินทรี ย, อินทรี ย ์ น. ร่ างกายและจิตใจ เช่น สารวมอินทรี ย;์ สติปัญญา เช่น อินทรี ยแ์ ก่กล้า; สิ่ งมีชีวิต. (ป., ส.
อินฺทฺริย).
ข้อสังเกต ชื่อนก ชื่อปลาไม่มี “ย” การันต์ เกี่ยวกับร่ างกาย มี “ย” การันต์

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 434

๒๗. เฉลย ตอบข้ อ ข. ลูกบาศก์


อธิ บาย พจนานุกรมให้ความหมายไว้ ดังนี้ ลูกบาศก์ น. ลูกเหลี่ยมมี ๖ หน้า แต่ละหน้าเป็ นสี่ เหลี่ยม
จัตุรัส, เรี ยกลูกเต๋ าที่ใช้ทอดในการเล่นสกา.
๒๘. เฉลย ตอบข้ อ ข. ละออ
อธิ บาย พจนานุกรมให้ความหมายไว้ ดังนี้ ลออ ว. งาม เช่น นวลลออ เอี่ยมลออ. (ข.).
๒๙. เฉลย ตอบข้ อ ค. ชะอุ่ม
อธิ บาย พจนานุกรมให้ความหมายไว้ ดังนี้ ชอุ่ม ว. ชุ่ม, สดชื่น, เช่น เขียวชอุ่ม;ชุ่มด้วยละอองน้ า
จนเห็นเป็ นมืดคลุม้ หรื อมืดมัว เช่น ท้องฟ้าชอุ่ม..
๓๐. เฉลย ตอบข้ อ ค. ตัวพยาธิ์
อธิ บาย คาว่า “พยาธิ ” พจนานุกรมให้ความหมายไว้ ดังนี้
พยาธิ ๑ [พะยาทิ] น. ความเจ็บไข้ เช่น โรคาพยาธิ ชาติชราพยาธิ. (ป. พฺยาธิ, วฺยาธิ; ส. วฺยาธิ).
พยาธิ ๒ [พะยาด] น. ชื่อสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังซึ่ งอย่างน้อยในระยะหนึ่งของชีวติ จะเป็ นปรสิ ตอยูใ่ น
มนุษย์และสัตว์ ชนิดตัวแบน เช่น พยาธิ ใบไม้ พยาธิ ตวั ตืด ชนิดตัวกลมหรื อหนอนพยาธิ เช่น พยาธิ
ไส้เดือน พยาธิเส้นด้าย พยาธิ แส้มา้ .
๓๑. เฉลย ตอบข้ อ ข. ย่อมเยา ว์
อธิ บาย พจนานุกรมให้ความหมายไว้ ดังนี้ ย่อมเยา ว. มีราคาถูก, มีราคาพอสมควร...
๓๒. เฉลย ตอบข้ อ ง. สาปแช่ง
อธิ บาย คาว่า “สาปแช่ง” พจนานุกรม เขียนไว้ ดังนี้สาปแช่ง ก. กล่าวมุ่งร้ายให้ผอู ้ ื่นเป็ นอันตราย
อย่างร้ายแรง เช่น สาปแช่ง ไม่ให้ผดุ ให้เกิด.คาที่เขียนถูกต้องของข้ออื่นๆ ก็คือ แมลงสาบ ทะเลสาบ
เหม็นสาบ
๓๓. เฉลย ตอบข้ อ ค. เบนซิน
อธิ บาย คาว่า “เบนซิ น” พจนานุกรมเขียนไว้ดงั นี้
เบนซิ น น. น้ ามันเชื้ อเพลิงชนิดหนึ่ง ซึ่ งนาไปใช้โดยทาให้ไอของน้ ามันผสมกับอากาศเข้าไปจุดระเบิด
ด้วยประกายไฟฟ้าจากหัวเทียนในเครื่ องยนต์ชนิดเผาไหม้ภายใน.
๓๔. เฉลย ตอบข้ อ ค. เหล้าสะระแหน่
อธิ บาย สิ่ งที่น่ารู ้สาหรับเหล้าสะระแหน่ ก็คือ เหล้าสะระแหน่ไม่ใช่เป็ นเหล้า หรื อเป็ นสุ รา แต่
เหล้าสะระแหน่ เป็ นยาน้ าที่มีอลั กอฮอล์ผสมอยู่ ใช้แก้อาการปวดท้อง ท้องขึ้น ท้องเฟ้อจุกเสี ยด ผูใ้ หญ่
รับประทานครั้งละ 5-30 หยด เจือน้ าพอควรวันละ 3 ครั้ง ในเด็กให้ลดลงตามส่ วน

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 435

๓๖. เฉลย ตอบข้ อ ข. อะไหล่ กะไล่


อธิ บาย คาว่า “กะไหล่” พจนานุกรมเขียนไว้ ดังนี้
กะไหล่ น. กรรมวิธีเคลือบสิ่ งที่เป็ นโลหะด้วยเงินหรื อทองเป็ นต้น โดยใช้ปรอทละลายเงินหรื อทองให้
เป็ นของเหลว แล้วทาลงบนโลหะที่ตอ้ งการเคลือบ จากนั้นไล่ปรอทออกโดยใช้ความร้อน, กาไหล่ ก็วา่ .
ว. เรี ยกของเช่นพานเป็ นต้นที่เคลือบเงินหรื อทองด้วยกรรมวิธีเช่นนั้นว่า พานกะไหล่เงิน พานกะไหล่
ทอง.(เทียบทมิฬ กะลายิ).
๓๗. เฉลย ตอบข้ อ ค. บุคลิก บุคคล
อธิ บาย คาผิดของข้ออื่นๆ ถ้าจะเขียนให้ถูกต้อง ก็เขียน ดังนี้โอกาส น. ช่อง, ทาง; เวลาที่เหมาะ,
จังหวะ. (ป.; ส. อวกาศ).ประกายพรึ ก น. ดาวรุ่ ง คือ ดาวพระศุกร์ ที่เห็นในเวลาเช้ามืด, ถ้าเห็นในเวลา
หัวค่า เรี ยกว่า ดาวประจาเมือง. (ข. ผกาย ว่าดาว + พรึ ก ว่า รุ่ ง).เกศ, เกศ- [เกด, เกดสะ-] (แบบ) น. ผม, ใน
บทกลอนใช้หมายถึง หัว ก็มีเช่น ก้มเกศ.เกล้า [เกฺลา้ ] น. หัว (ใช้เฉพาะในโวหารแสดงความเคารพอย่าง
สู ง) เช่น มารดาบังเกิดเกล้า. ก. มุ่นผมให้เรี ยบร้อย เช่น เกล้าจุก เกล้ามวย.
๓๘. เฉลย ตอบข้ อ ค. ตานขโมย
อธิ บาย คาว่า “ตานขโมย” พจนานุกรมเขียนไว้ดงั นี้ ตานขโมย ๑ น. ชื่อโรคพยาธิ ลาไส้อย่างหนึ่ง
มักเป็ นแก่เด็กอายุประมาณ ๕ ขวบขึ้นไป มีลกั ษณะผอม ท้องป่ อง ก้นปอด แต่กินอาหารได้มาก มีอาการ
ปวดท้องและซึม.ตานขโมย ๒ น. (๑) ชื่อไม้พมุ่ รอเลื้อยชนิด Tournefortia intonsa Kerr ในวงศ์
Boraginaceae เป็ นไม้มีพิษ. (๒) ชื่อไม้ตน้ ชนิด Vatica philastreana Pierre ในวงศ์ Dipterocarpaceae ต้นสี
ดา ผลใช้ทายาได้.
๓๙. เฉลย ตอบข้ อ ข. กากบาท
อธิ บาย คาว่า “กากบาท” พจนานุกรมเขียนไว้ดงั นี้
กากบาท น. ชื่อเครื่ องหมายอย่างตีนกา มีรูป + หรื อ x ; ใช้ + เป็ นเครื่ องหมายวรรณยุกต์บอกเสี ยงจัตวา.
๔๐. เฉลย ตอบข้ อ ข. กฎหมาย
อธิ บาย คาว่า “กฎ” ด ชฎา กับ “กฎ” ต ปฏัก นั้น ศ.จานงค์ ทองประเสริ ฐ ราชบัณฑิต เขียนไว้
ดังนี้ กฎ-กฎ คาที่เป็ นปั ญหาในการเขียนของเราอีกคาหนึ่ง ซึ่ งก็เป็ นคาที่มาจากภาษาบาลีและ
สันสกฤตเช่นกัน นัน่ คือคาว่า “กฎ” กับ “กฏ” ว่าเมื่อใดจะใช้ ฎ สะกด เมื่อใดจะใช้ ฏ สะกด
คาว่า “กฎ” นั้น ในภาษาบาลีใช้วา่ “กต” (กะ-ตะ) ต เต่า ไม่ใช้ ฏ ปฏัก แปลว่า “กระทาแล้ว” หรื อ “อันเขา
กระทาแล้ว” แต่ ต เต่า กับ ฏ ปฎักนั้น ในภาษาบาลี บางทีก็ใช้แทนกันได้ เช่น “ธัมมปทัฏฐกถา” กับ
“ธัมมปทัตถกถา” ที่ “-ทัฏฐ-“ จะใช้ ฏ ซ้อน ฐ หรื อ ต ซ้อน ถ ก็ได้ แต่ที่เรานามาใช้ในภาษาไทยนั้น เรามัก
ใช้ ฎ แทน ฏ เป็ นส่ วนมาก พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๒๕ ได้ให้ความหมายไว้ดงั นี้

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 436
“(โบ) ก. จดไว้เป็ นหลักฐาน เช่น ให้นายยกกระบัตรกฎปากหลากคาไว้. (กฎหมายอายัดทาส); ตรา เช่น
ตรัสแก่ขนุ ศรี ภูริปรี ชาให้กฎเป็ นตาราไว้. (อัยการเบ็ดเสร็ จ), “พระมหาธรรมราชาก็ตรัสให้กฎลงมาให้เอา
พระยารามเป็ นพระยาพิชยั ”. (พงศ. ๑๑๓๖). (เทียบ ข. กฎตรา = ก. จดหมายเหตุ; จด เช่น กฎบัญชี). น. คา
บังคับ เช่น จึ่งสมเด็จพระมหิ นทราธิ ราชเจ้าแผ่นดินก็ตรัสให้ทาตามกฎให้ลงมานั้นทุกประการ. (พงศ.
๑๑๓๖); ข้อกาหนด, ข้อบัญญัติ, เช่น กฎให้ไว้...; (วิทยาศาสตร์ ) ข้อกาหนดในเรื่ องธรรมชาติตามที่
ค้นคว้าได้. (อ. law).” นอกจากนั้นก็มีลูกคาอีก ๑๖ คา คือ “กฎกระทรวง, กฎเกณฑ์, กฎข้อบังคับ, กฎ
ทบวง, กฎธรรมชาติ, กฎธรรมดา, กฎบัตร, กฎบัตรกฎหมาย, กฎบัตรสหประชาชาติ, กฎมนเทียรบาล, กฎ
ยุทธวินยั , กฎศีลธรรม, กฎเสนาบดี, กฎหมู่, กฎแห่งกรรม, และ กฎอัยการศึก”ส่ วน “กฎหมาย” ซึ่งความ
จริ งเดิมนั้นคาว่า “กฎ” กับ “หมาย” ต่างก็เป็ นคากริ ยา มีความหมายอย่างเดียวกัน “กฎไว้” กับ “หมายไว้”
ก็มีความหมายเท่ากัน ต่อมาเราเอามารวมกันเป็ น “กฎหมาย” และใช้เป็ นคานาม แต่เดิมใช้เป็ นกริ ยาก็ได้
คาว่า “กฎหมาย” ท่านเก็บเป็ นตัวตั้งไว้ต่างหากจากคาว่า “กฎ” และมีลูกคาอยู่ ๗ คา คือ “กฎหมายนานา
ประเทศ, กฎหมายปิ ดปาก, กฎหมายพาณิ ชย์, กฎหมายแพ่ง, กฎหมายระหว่างประเทศ, กฎหมายเหตุ, และ
“กฎหมายอาญา” ความหมายของคาต่าง ๆ ดังกล่าวนั้น โปรดดูรายละเอียดได้ในพจนานุกรม ฉบับ
ราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๒๕ คาว่า “กฎ” หรื อจะมีคาอะไรต่อท้าย “กฎ” อีกก็ตาม ใช้ ฎ สะกดทั้งสิ้ น
ไม่วา่ จะเป็ น กฎศีลธรรม กฎเกณฑ์ กฎกระทรวง กฎบัตรกฎหมาย หรื อกฎอะไรก็ตาม คาว่า “กฎ” ใน
ลักษณะเช่นนี้ ถ้าหากเขียนใช้ ฏ สะกด ก็ถือว่าผิดส่ วนคาว่า “กฏ” ที่ใช้ ฏ สะกด นั้นไม่มี มีเฉพาะคาว่า
“ปรากฏ” เท่านั้น ที่ “กฏ” ต้องใช้ ฏ สะกด ถ้าใช้ ฎ สะกด ถือว่าผิด
ที่มา : ภาษาไทยไขขาน. กรุ งเทพฯ : สานักพิมพ์แพร่ พิทยา. ๒๕๒๘. หน้า ๒๐๙.
๔๑. เฉลย ตอบข้ อ ง. พิษณุโลก
อธิ บาย คาอื่นๆ พจนานุกรมเขียนไว้ดงั นี้
พิสมร น. เครื่ องรางชนิดหนึ่ง รู ปสามเหลี่ยมหรื อสี่ เหลี่ยมร้อยสาย สาหรับป้ องกันอันตราย.
พิสดาร ว. กว้างขวาง, ละเอียดลออ (ใช้แก่เนื้ อความ) เช่น ประวัติศาสตร์ ฉบับพิสดาร มีความพิสดารดังนี้ ;
(ปาก) แปลกพิลึก เช่น เล่นพิสดาร. (ส. วิสฺตาร; ป. วิตฺถาร).
พัสดุ น. สิ่ งของต่าง ๆ, เครื่ องใช้ไม้สอย, ที่ดิน, บ้านเรื อน. (ส. วสฺ ตุ; ป. วตฺ ถุ).
๔๒. เฉลย ตอบข้ อ ง. มันสาปะหลัง
อธิ บาย คาว่า “มันสาปะหลัง” พจนานุกรมเขียนไว้ดงั นี้
สาปะหลัง น. ชื่อมันชนิด Manihot esculenta Crantz ในวงศ์ Euphorbiaceae หัวดิบเป็ นพิษ, สาโรง ก็
เรี ยก.

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 437

๔๓. เฉลย ตอบข้ อ ง. ทุรกันดาร จักรวาล


อธิ บาย คาว่า “ทุรกันดาล จักรวาฬ” ที่ถูกต้องพจนานุกรม เขียนไว้ ดังนี้
ทุรกันดาร ว. ที่ไปมาลาบากมาก, ที่ห่างไกลความเจริ ญ.
จักรวาล น. ปริ มณฑล; ประชุม, หมู่; เทือกเขาในนิยาย เป็ นกาแพงล้อมรอบโลกและเป็ นเขตกั้นแสงสว่าง
กับความมืด, บริ เวณโดยรอบของโลก, ทัว่ โลก. (ส.; ป. จกฺกวาล).
คาในข้ออื่นที่ผดิ พจนานุกรมเขียนไว้ ดังนี้
ส้อม น. เหล็ก ๒ ง่าม ปลายแหลม ใช้แทงปลาเป็ นต้น; เครื่ องใช้จิ้มอาหารกิน, คู่กบั ช้อน; ไม้ไผ่ที่จกั ให้
เป็ นซี่ ๆ ทาปลายซี่ ให้แหลมสาหรับเสี ยบอ้อยที่ควัน่ เป็ นข้อๆ, เรี ยกอ้อยควัน่ ที่เสี ยบซี่ ไม้ไผ่ปลายแหลม
ดังกล่าวว่า อ้อยส้อม. ก. ปาด เหลา หรื อเจียน เช่น ส้อมงวงมะพร้าว.
คลุมเครื อ ว. ลักษณะที่ก้ ากึ่งเอาแน่นอนทางใดทางหนึ่งไม่ได้ เช่น อากาศที่จะมืดก็ไม่มืด จะสว่างก็ไม่
สว่าง เรี ยกว่า อากาศคลุมเครื อ, อาการไข้ที่จะหายก็ไม่หาย จะหนักก็ไม่หนัก เรี ยกว่า ไข้คลุมเครื อ, พูดไม่
บ่งชัดไปทางใดให้จะแจ้ง เรี ยกว่า พูดคลุมเครื อ.
๔๔. เฉลย ตอบข้ อ ง. ใฝ่ ฝัน ฝักใฝ่ ใฝ่ ใจ
อธิ บาย คาในข้ออื่นที่ผดิ พจนานุกรมเขียนไว้ ดังนี้
ชัย น. การชนะ, ความชนะ. (ป., ส.).
เวไนย น. ผูค้ วรแนะนาสั่งสอน, ผูพ้ ึงดัดได้สอนได้, ใช้วา่ เวนย ก็มี เช่น จะให้เวนยชาติท้ งั ปวงได้. (นัน
โท). (ป. เวเนยฺย).
ลาไย น. (๑) ชื่อไม้ตน้ ชนิด Dimocarpus longan Lour. ในวงศ์ Sapindaceae ผลกลม รสหวาน, พันธุ์ที่เป็ น
ไม้เถาเรี ยก ลาไยเครื อ (D. longan Lour. var. obtusus Leenh.). (๒) (ถิ่น–ปั กษ์ใต้) ชื่อไม้ตน้ ขนาดใหญ่
ชนิด Mangifera caesia Jack ในวงศ์ Anacardiaceae ดอกสี ม่วงอ่อน, บินยา หรื อ ลายา ก็เรี ยก.
หมาใน น. ชื่อหมาชนิด Cuon alpinus ในวงศ์ Canidae ขนสี น้ าตาลแดง หรื อน้ าตาลเทา หางสี คล้ ายาวเป็ น
พวง อาศัยอยูต่ ามป่ าทึบ ออกหากินเป็ นฝูงเวลาเช้ามืดและพลบค่า ล่าสัตว์อื่นกิน เช่น เก้ง กวาง หมูป่า
สัตว์เล็ก ๆ.
เหล็กใน น. เดือยแหลมที่มีในก้นหรื อปลายหางสัตว์บางชนิด มีผ้ งึ แมงป่ อง เป็ นต้น.
๔๕. เฉลย ตอบข้ อ ค. สังวาลย์ สาอางค์ สิ งโต
อธิบาย สังวาล น. สร้อยเครื่ องประดับชนิ ดหนึ่งใช้คล้องเฉวียงบ่า. (ป. เสวาล; ส. เศวาล, ไศวาล
ว่าาหร่ าย).สาอาง น. เครื่ องแป้ งเครื่ องหอม เรี ยกว่า เครื่ องสาอาง, ปั จจุบนั หมายถึง สิ่ งเสริ มแต่งหรื อบารุ ง
ใบหน้า ผิวพรรณ ผมเป็ นต้นให้ดูงาม เช่น แป้ ง ลิปสติก ดินสอเขียนคิ้ว, ราชาศัพท์ใช้วา่ เครื่ องพระ
สาอาง. ว. ที่ทาให้งามสะอาดหมดจด, งามสะอาดหมดจด, งามกรี ดกรายหยิบหย่ง เช่น เขาเป็ นหนุ่ม
สาอางท่าทางกรี ดกราย.

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 438
คาในข้ออื่นที่ผดิ พจนานุกรมเขียนไว้ ดังนี้
จานง ก. ประสงค์, มุ่งหวัง, ตั้งใจ. (แผลงมาจาก จง).
ประมง น. การจับสัตว์น้ า เช่น ทาประมง; คนเลี้ยงชีพในทางจับสัตว์น้ า เรี ยกว่า ชาวประมง พวกประมง;
ประโมง ก็ใช้. ก. ดาน้ าหาปลา เช่น กาน้ าดาน้ า คือ ประมง, ตระบัดประมงลงทัน. (สมุทรโฆษ).
ดารง ก. ทรงไว้, ชูไว้, ทาให้คงอยู,่ เช่น ดารงวงศ์ตระกูล. ว. ตรง, เที่ยง. (แผลงมาจากตรง). (ข. ฎรง่,
ตมฺ รง่).จตุสดมภ์ น. วิธีจดั ระเบียบราชการบริ หารส่ วนกลางในสมัยโบราณโดยตั้งกรมหรื อกระทรวง
ใหญ่ข้ ึน ๔ กรม คือ กรมเมือง กรมวัง กรมคลัง กรมนา มีเสนาบดีเจ้ากระทรวงว่าการในแต่ละกรมนั้น
รวมเรี ยกว่า จตุสดมภ์ซ่ ึ งแปลว่าหลัก ๔. (ป. จตุ = สี่ + ส. สฺ ตมฺ ภ = หลัก หมายความว่า หลัก ๔).
๔๖. เฉลย ตอบข้ อ ง. กฎเกณฑ์ กิจลักษณะ กักขฬะ กันแสง
อธิ บาย คาในข้ออื่นที่ผดิ พจนานุกรมเขียนไว้ ดังนี้
กังวาน ว. ก้องอยูไ่ ด้นาน เช่น เสี ยงระฆังกังวาน, มีกระแสเสี ยงก้องและแจ่มใส. เจตจานง น. ความ
ตั้งใจมุ่งหมาย, ความจงใจ. กากบาท น. ชื่อเครื่ องหมายอย่างตีนกา มีรูป + หรื อ x ; ใช้ + เป็ นเครื่ องหมาย
วรรณยุกต์บอกเสี ยงจัตวา.
๔๗. เฉลย ตอบข้ อ ง. ภาคภูมิ
อธิ บาย คาว่า “ภาคภูมิ” พจนานุกรม เขียนไว้ ดังนี้ ภาคภูมิ ว. มีสง่า, ผึ่งผาย, เช่น เขาแต่งตัว
ภาคภูมิ ท่าทางเขาภาคภูมิ.
๔๘. เฉลย ตอบข้ อ ก. จัดสรร
อธิ บาย คาว่า “จัดสรร” ที่ถูกต้องพจนานุกรม เขียนไว้ ดังนี้จดั สรร ก. แบ่งส่ วนไว้โดยเฉพาะ, ปัน
ไว้ใช้เพื่อประโยชน์โดยเจาะจง.
๔๙. เฉลย ตอบข้ อ ค. สับปะรด
อธิ บาย คาว่า “สับปะรด” ที่ถูกต้องพจนานุกรม เขียนไว้ ดังนี้
สับปะรด น. ชื่อไม้ลม้ ลุกชนิด Ananas comosus Merr. ในวงศ์ Bromeliaceae ไม่มีลาต้นปรากฏบน
พื้นดิน ใบเป็ นกาบยาวให้ใยใช้ทาสิ่ งทอ ขอบใบมีหนาม ผลมีตาโดยรอบ กินได้รสเปรี้ ยว ๆ หวาน ๆ;
เรี ยกใยของพรรณไม้บางชนิ ดที่มีลกั ษณะอย่างใยสับปะรด ใช้ทาหมวกเป็ นต้นว่า ไหมสับปะรด.
๕๐. เฉลย ตอบข้ อ ข. ประนีประนอม
อธิ บาย คาว่า “ประนีประนอม” ที่ถูกต้องพจนานุกรม เขียนไว้ ดังนี้ประนีประนอม ก. ผ่อนหนัก
ผ่อนเบาให้แก่กนั , ปรองดองกัน, อะลุม้ อล่วยกัน.
๕๑. เฉลย ตอบข้ อ ก. ศีรษะ
อธิ บาย คาว่า “ศีรษะ” ที่ถูกต้องพจนานุกรม เขียนไว้ ดังนี้ศีรษะ น. หัว (เป็ นคาสุ ภาพที่ใช้แก่คน).
(ส.; ป. สี ส).

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 439

๕๒. เฉลย ตอบข้ อ ค. สันโดษ


คาว่า “สันโดษ” พจนานุกรม เขียนไว้ ดังนี้สันโดษ [โดด] น. ความยินดีหรื อพอใจเท่าที่ตนมีอยูห่ รื อ
เป็ นอยู่ เช่น เขาถือสันโดษ. (ปาก) ก. มักน้อย เช่น เขาเป็ นคนสันโดษ. (ส. สโตษ; ป. สนฺ โตส).
๕๓. เฉลย ตอบข้ อ ค. สายสิ ญจน์
อธิบาย สายสิ ญจน์ น. ด้ายดิบสี ขาวที่นามาจับทบเป็ น ๓ เส้น หรื อ ๙ เส้น ใช้ในพิธีทางศาสนา เช่น
สาหรับพระถือในเวลาสวดมนต์ หรื อพราหมณ์ใช้ในพระราชพิธีบางอย่าง.
๕๔. เฉลย ตอบข้ อ ก. รื่ นรมย์
อธิ บาย คาว่า “รื่ นรมย์” พจนานุกรม เขียนไว้ ดังนี้ รื่ นรมย์ ว. สบายใจ, บันเทิง, เช่น
สวนสาธารณะปลูกต้นไม้ไว้สวยงามน่ารื่ นรมย์.
๕๕. เฉลย ตอบข้ อ ข. อวสาน
อธิ บาย คาว่า “อวสาน” พจนานุกรม เขียนไว้ ดังนี้ อวสาน ก. จบ, สิ้ นสุ ด. น. การสิ้ นสุ ด, ที่สุด.
๕๖. เฉลย ตอบข้ อ ง. สังวร
อธิ บาย คาว่า “สังวร” พจนานุกรม เขียนไว้ ดังนี้ สังวร น. ความระวัง, ความเหนี่ยวรั้ง, ความ
ป้ องกัน. ก. สารวม, เหนี่ยวรั้ง, เช่น สังวรศีล สังวรธรรม, ถ้าใช้เป็ นส่ วนท้ายของสมาสหมายความว่า
ความสารวม, ความระวัง, เช่น อินทรี ยสังวร จักษุสังวรญาณสังวร ศีลสังวร, (ปาก) ให้ระวังจงดี (ผูใ้ หญ่
สั่งสอนเตือนสติผนู ้ อ้ ย) เช่น เรื่ องนี้พึงสังวร ไว้อย่าให้ผิดอีกเป็ นครั้งที่ ๒. (ป., ส. สวร).
๕๗. เฉลย ตอบข้ อ ก. เก่งกาด
อธิ บาย คาที่ถูกต้องตามพจนานุกรมเขียนดังนี้ เก่งกาจ ก. กล้าหาญไม่กลัวอะไร.
๕๘. เฉลย ตอบข้ อ ก. บันทุก
อธิบาย บรรทุก ก. วางไว้ ใส่ ลง หรื อบรรจุลงบนยานพาหนะเป็ นต้นเพื่อขนย้ายไปทีละมาก ๆ,
ประทุก ก็ใช้ โดยปริ ยายหมายความว่า รับภาระ เช่น บรรทุกงานไว้มาก, (ปาก) กินเกินอัตรา เช่น บรรทุก
เข้าไปจนท้องแทบแตก.คาที่มี “บัน” นาหน้า มีผแู ้ ต่งเป็ นกาพย์ยานี 11 สาหรับท่อง ไว้ดงั นี้
บันดาลลงบันได บันทึกให้ดูจงดี
รื่ นเริ งบันเทิงมี เสี ยงบันลือสนัน่ ดัง
บันโดยบันโหยไห้ บันเหิ นไปจากรวงรัง
บันทึกถึงความหลัง บันเดินนัง่ นอนบันดล
บันกวดเอาลวดรัด บันจวบจัดตกแต่งตน
คาบันนั้นฉงน ระวังปนกับรอหัน

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 440

๕๙. เฉลย ตอบข้ อ ข. สะบาย


อธิบาย คาตอบที่ถูกต้องคือ ข้อ ข. คาที่ถูกต้องตามพจนานุกรมเขียนดังนี้
สบาย ว. อยูด่ ีกินดี เช่น เดี๋ยวนี้เขาสบายขึ้น ลูกๆ ทางานหมดแล้ว, เป็ นสุ ขกายสุ ขใจ เช่น เวลานี้เขาสบาย
แล้ว เพราะมีฐานะดีข้ ึน ไม่มีวติ กกังวลใด ๆ;สะดวก เช่น ทาตามสบายไม่ตอ้ งเกรงใจ มีรถส่ วนตัวสบาย
กว่าไปรถประจาทาง, มักใช้เข้าคู่กบั คา สุ ข หรื อ สะดวก เป็ น สุ ขสบาย หรื อ สะดวกสบาย;พอเหมาะพอดี
เช่น เก้าอี้ตวั นี้ นงั่ สบาย;ไม่ลาบากกาย เช่น เขาทางานสบายขึ้น ไม่ตอ้ งแบกหามเหมือนเมื่อก่อน;ไม่เจ็บไม่
ไข้เช่น เวลานี้ เขาสบายดี ไม่ป่วยไข้;มีความพอใจเมื่อได้สัมผัส เช่น สบายหู สบายตา สบายกาย. (ป. สปฺ
ปาย).ในการจาคาว่า “สบาย” ให้นึกว่า เมื่อไหร่ เขียนคานี้ สบายดีเพราะไม่ตอ้ งเขียนสระอะ
๖๐. เฉลย ตอบข้ อ ข. ผาสุ ก
อธิบาย คาตอบที่ถูกต้องคือ ข้อ ข. คาที่ถูกต้องตามพจนานุกรมเขียนดังนี้ ผาสุ ก น. ความสาราญ,
ความสบาย.
๖๑. เฉลย ตอบข้ อ ง. ธามะรง
อธิบาย คาตอบที่ถูกต้องคือ ข้อ ง. คาที่ถูกต้องตามพจนานุกรมเขียนดังนี้ธามรงค์ (ราชา) น.
แหวน. (เทียบ ข. ทรง่).
๖๒. เฉลย ตอบข้ อ ง. ทะแยง
อธิ บาย คาที่ถูกต้องตามพจนานุกรมเขียนดังนี้ทแยง [ทะ-] ว. เฉียง, เฉลียง.
๖๓. เฉลย ตอบข้ อ ก. ทรุ ดโซม
อธิ บาย คาที่ถูกต้องตามพจนานุกรมเขียนดังนี้ทรุ ดโทรม ว. เสื่ อมไปเพราะร่ วงโรย คร่ าคร่ า หรื อ
ตรากตราเกินไป.
๖๔. เฉลย ตอบข้ อ ข. เจียระนัย
อธิ บาย คาที่ถูกต้องตามพจนานุกรมเขียนดังนี้ เจียระไน ก. ทาเพชรพลอยหรื อแก้วให้เป็ นเหลี่ยม
หรื อรู ปตามต้องการแล้วขัดเงา. (เทียบทมิฬ จาไณ).
๖๕. เฉลย ตอบข้ อ ง. บาดหลวง
อธิ บาย คาที่ถูกต้องตามพจนานุกรมเขียนดังนี้บาทหลวง น. นักบวชในศาสนาคริ สต์นิกาย
โรมันคาทอลิก.
๖๖. เฉลย ตอบข้ อ ค. พิศวาท
อธิ บาย คาที่ถูกต้องตามพจนานุกรมเขียนดังนี้พิศวาส ว. รักใคร่ , สิ เนหา, เช่น ไม่น่าพิศวาส. (ส.
วิศฺวาส; ป. วิสฺสาส ว่า ความคุน้ เคย).
๖๗. เฉลย ตอบข้อ ก. รู ปพรรณ อ่านว่า รู ป – พัน
อธิบาย รู ปพรรณ [รู บปะพัน] น. ลักษณะ, รู ปร่ างและสี , เช่น รู ปพรรณวัวรู ปพรรณควาย; เงิน
ทองที่ทาเป็ นเครื่ องประดับ เช่น เงินรู ปพรรณทองรู ปพรรณ.

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 441
พรรณนา [พันนะ] ก. กล่าวเป็ นเรื่ องเป็ นราวอย่างละเอียดให้ผฟู ้ ังนึกเห็นเป็ นภาพ. (ส. วรฺ ณนา; ป. วณฺ ณ
นา).สรรพคุณ น. คุณสมบัติของสิ่ งที่เป็ นยา, โดยปริ ยายหมายถึงคุณสมบัติเช่น เขามีสรรพคุณเชื่ อถือได้.
(ส. สรฺ ว + คุณ).กรรมาธิการ [กา-] น. บุคคลที่สภาผูแ้ ทนราษฎรหรื อวุฒิสภาเลือกและตั้งเป็ น
คณะกรรมาธิ การ เพื่อกระทากิจการ พิจารณาสอบสวน หรื อศึกษาเรื่ องใด ๆ อันอยูใ่ นอานาจหน้าที่ของ
แต่ละสภา แล้วรายงานต่อสภาคณะกรรมาธิ การมี ๒ ประเภท คือ คณะกรรมาธิการสามัญและ
คณะกรรมาธิการวิสามัญ คณะกรรมาธิการสามัญประกอบด้วยบุคคลซึ่งเป็ นสมาชิกของสภาล้วนๆ
คณะกรรมาธิการวิสามัญประกอบด้วยบุคคลผูเ้ ป็ นสมาชิกและบุคคลที่มิได้เป็ นสมาชิกของสภารวมกัน
หรื อบุคคลที่มิได้เป็ นสมาชิกของสภาทั้งหมดที่สภาเลือกและตั้งเป็ นคณะกรรมาธิ การวิสามัญ.
๖๘. เฉลย ตอบข้ อ ค. อมตะ อ่านว่า อา – มะ – ตะ
อธิบาย คาในคาตอบดังกล่าว พจนานุกรมเขียนไว้ ดังนี้
อดิเรกลาภ [อะดิเหฺ รกกะลาบ] น. อติเรกลาภ, ลาภพิเศษ. (ป., ส. อติเรกลาภ).
กากบาท [กากะบาด] น. ชื่อเครื่ องหมายอย่างตีนกา มีรูป + หรื อ x ; ใช้ + เป็ นเครื่ องหมายวรรณยุกต์บอก
เสี ยงจัตวา.อมต, อมตะ [อะมะตะ, อะมะตะ] ว. ไม่ตาย เช่น อมตธรรม, เป็ นที่นิยมยัง่ ยืน เช่น เพลงอมตะ.
น. พระนิพพาน. (ป.; ส. อมฺ ฤต).สรณ, สรณะ [สะระนะ] น. ที่พ่ ึง, ที่ระลึก; ความระลึก. (ป.; ส. ศรณ).
๖๙. เฉลย ตอบข้ อ ข. บาราศ อ่านว่า บา - หราด
อธิ บาย คาในคาตอบดังกล่าว พจนานุกรมเขียนไว้ ดังนี้
การาบ [-หฺ ราบ] ก. ทาให้เข็ดหลาบ, ทาให้กลัว, ทาให้สิ้นพยศ, ทาให้สิ้นฤทธิ์ .
บาราศ [บาราด] ก. หายไป, จากไป, พรากไป, ปราศจาก.
บาราบ [บาหฺ ราบ] ก. ปราบ, ทาให้ราบ, ทาให้กลัว.
ดาริ [-หฺ ริ] ก. คิด, ไตร่ ตรอง. (แผลงมาจาก ตริ ).
๗๐. เฉลย ตอบข้ อ ก. ปลาอินทรี
อธิ บาย คาที่อ่านว่า “อิน – ซี ” ในพจนานุกรม ที่เกี่ยวข้องกับข้อสอบ มีดงั นี้
อินทรี ๑ [ซี] น. ชื่อนกในวงศ์ Accipitridae ซึ่ งเป็ นวงศ์เดียวกับเหยีย่ วขามีขนปกคลุม กรงเล็บแข็งแรง ใน
ประเทศไทยมีหลายชนิดเช่น อินทรี หวั นวล (Haliaeetus leucoryphus) อินทรี ดา (Ictinaetus malayensis)
อินทรี ปีกลาย (Aquila clanga).
อินทรี ๒ [ซี ] น. ชื่อปลาทะเลขนาดใหญ่หลายชนิดในหลายวงศ์ ลาตัวแบนข้างเรี ยวยาว คอดหางกิ่ว
ปลายหางเป็ นแฉกลึก อยูเ่ ป็ นฝูงใกล้ผวิ น้ า เช่น อินทรี บ้ งั (Scomberomorus commersoni) อินทรี จุด (S.
guttatus) ในวงศ์ Scombridae.
อินทรี ย, อินทรี ย ์ [ซียะ, ซี ] น. ร่ างกายและจิตใจ เช่น สารวมอินทรี ย;์ สติปัญญาเช่น อินทรี ยแ์ ก่กล้า;
สิ่ งมีชีวติ . (ป., ส. อินฺทฺริย).
ข้อสังเกต “อินทรี ” ไม่มี ย การันต์จะเป็ นชื่ อนก ชื่อปลา ถ้ามี ย การันต์จะเกี่ยวกับคน

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 442
๗๑. เฉลย ตอบข้ อ ค. จระเข้
๗๒. เฉลย ตอบข้ อ ก. จักจัน่
๗๓. เฉลย ตอบข้ อ ง. ทศกัณฐ์
อธิ บาย คาว่า “ทศกัณฐ์” พจนานุกรมเขียนไว้ ดังนี้ทศกัณฐ์ น. “ผูม้ ีสิบคอ” คือ ท้าวราพณ์ในเรื่ อง
รามเกียรติ์.เรามักจะจากันได้วา่ ทศกัณฐุ์มี 10 หน้า โดยไม่รู้วา่ คาในภาษาบาลีแปลว่า “ผูม้ ีสิบคอ”
๗๔. เฉลย ตอบข้ อ ข. บิณฑบาต
อธิ บาย คาว่า “บิณฑบาต” พจนานุกรมเขียนไว้ ดังนี้
บิณฑบาต น. อาหาร (ใช้แก่พระภิกษุสามเณร) เช่น รับบิณฑบาต. ก. กิริยาที่พระภิกษุสามเณรรับของที่เขานามา
ใส่ บาตร, โดยปริ ยายหมายถึงกิริยาที่พระภิกษุสามเณรขอหรื อขอร้อง เช่น เรื่ องนี้ขอบิณฑบาตให้เลิกแล้วต่อกัน.
(ป. ปิ ณฺ ฑปาต ว่า ก้อนข้าวที่ตก).
๗๕. เฉลย ตอบข้ อ ง. ภูมิศาสตร์ อ่านว่า พูม – มิ สาด
อธิ บาย ภูมิศาสตร์ [พูมิ–] น. วิชาที่ศึกษาถึงความสัมพันธ์ระหว่างสิ่ งแวดล้อมทางธรรมชาติกบั สังคมที่
ปรากฏในดินแดนต่าง ๆ ของโลก. คาอ่านที่ถูกต้องคือ “พู – มิ – สาด
ประวัติศาสตร์ [ปฺระหฺ วดั ติสาด, ปฺระหฺ วดั สาด] น. วิชาว่าด้วยเหตุการณ์ที่เป็ นมาหรื อเรื่ องราวของประเทศชาติ
เป็ นต้นตามที่บนั ทึกไว้เป็ นหลักฐาน.
อุบตั ิ, อุบตั ิ [อุบดั , อุบดั ติ] น. การเกิดขึ้น, กาเนิด, การบังเกิด; รากเหง้า, เหตุ. ก. เกิด, เกิดขึ้น. (ป. อุปฺปตฺ ติ; ส.
อุตฺปตฺ ติ).
สมานฉันท์ [สะมานะ, สะหฺ มานนะ] น. ความพอใจร่ วมกัน, ความเห็น พ้องกัน, เช่น มีความเห็นเป็ นสมานฉันท์.
(ป. สมาน + ฉนฺ ท).
๗๖. เฉลย ตอบข้ อ ง. ชลบุรี อ่านว่า ชน – ละ - บุ – รี
อธิ บาย ชื่อจังหวัดในประเทศไทยที่ลงท้ายด้วยคาว่า บุรี ไม่ตอ้ งอ่านเชื่อมแบบคาสมาส มี ๓ จังหวัด
ได้แก่ ชลบุรี (อ่านว่า ชน-บุ-รี )
ลพบุรี (อ่านว่า ลบ-บุ-รี ) และ
สุ พรรณบุรี (อ่านว่า สุ-พัน-บุ-รี )
๗๗. เฉลย ตอบข้ อ ข. ภูมิลาเนา อ่านว่า พูม – ลา – เนา
อธิ บาย ภูมิลาเนา [พูม–, พูมิ–] (กฎ) น. ถิ่นที่อยูอ่ นั เป็ นแหล่งสาคัญ.
ผลิต, ผลิต [ผะหฺ ลิด, ผะหฺ ลิดตะ] ก. ทาให้เกิดมีข้ ึนตามที่ตอ้ งการด้วยอาศัยแรงงานหรื อเครื่ องจักรเป็ นต้น เช่น
ผลิตข้าว ผลิตรถยนต์ ผลิตครู ผลิตบัณฑิต. (ป.).
คมนาคม [คะมะนาคม, คมมะนาคม] น. การติดต่อไปมาถึงกัน, การสื่ อสาร; ชื่อกระทรวงที่มีอานาจหน้าที่
เกี่ยวกับการคมนาคม การขนส่ งการพาณิ ชยนาวีการสื่ อสาร และการอุอุตุนิยมวิทยา. (ป. มน +อาคม).
นามธรรม [นามมะทา] น. สิ่ งที่ไม่มีรูป คือ รู ้ไม่ได้ทางตา หู จมูก ลิ้น กาย รู ้ได้เฉพาะทางใจเท่านั้น, คู่กบั
รู ปธรรม. (ส.; ป. นามธมฺ ม).

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 443

๗๘. เฉลย ตอบข้ อ ก. ปรัชญา อ่านว่า ปรัด – ยา


อธิบาย ปรัชญา [ปฺรัดยา, ปฺรัดชะยา] น. วิชาว่าด้วยหลักแห่งความรู ้และความจริ ง. (ส.).
ปริ ญญา [ปะริ นยา] น. ความกาหนดรู ้, ความหยัง่ รู ้, ความรู ้รอบ; ชั้นความรู ้ข้ นั มหาวิทยาลัยซึ่ งประสาท
ให้แก่ผทู ้ ี่สอบไล่ได้ตามที่กาหนดไว้, ถ้าประสาทแก่ผทู ้ รงวิทยาคุณหรื อผูม้ ีเกียรติตามที่เห็นสมควร
เรี ยกว่าปริ ญญากิตติมศักดิ์. (ป.; ส. ปริ ชฺ?า). คุณธรรม [คุนนะ-] น. สภาพคุณงามความดี.
คุณภาพ [คุนนะ-] น. ลักษณะที่ดีเด่นของบุคคลหรื อสิ่ งของ.
๗๙. เฉลย ตอบข้ อ ก. กรรมาธิการ อ่านว่า กา – มา – ทิ – กาน
อธิ บาย คาอ่านที่ถูกต้องของข้ออื่นๆ เป็ นดังนี้
ข. ทุพภิกขภัย อ่านว่า ทุบ – พิก – ขะ – ไพ
ค. เทศบาล อ่านว่า เทด – สะ – บาน
ง. คุณภาพ อ่านว่า คุน – นะ – พาบ
๘๐. เฉลย ตอบข้ อ ค. ชลประทาน อ่านว่า ชน – ละ – ประ – ทาน
อธิ บาย คาที่อ่านถูกของข้ออื่นๆมีดงั นี้
ก. ประกาศนียบัตร อ่านว่า ประ – กา – สะ – นียะ – บัด หรื อ ประ – กาด – สะ – นี – ยะ – บัด
ข. ตุก๊ ตา อ่านว่า ตุก๊ – กะ – ตา
ง. คุณวุฒิ อ่านว่า คุน – นะ – วุด – ทิ หรื อ คุน – นะ – วุด
๘๑. เฉลย ตอบข้ อ ก. ธนบัตร อ่านว่า ทน – นะ – บัด
อธิบาย ธนบัตร [ทะนะบัด] (กฎ) น. บัตรที่ออกใช้เป็ นเงินตรา ซึ่ งใช้ชาระหนี้ ได้ตามกฎหมาย
โดยไม่จากัดจานวน. (ส. ธน + ปตฺ ร).
๘๓. เฉลย ตอบข้ อ ก. รสนิยม อ่านว่า รด – สะ – นิ – ยม
อธิบาย รสนิยม [รดสะนิยม, รดนิยม] น. ความนิยมชมชอบ, ความพอใจ, เช่น เขามีรสนิยมในการ
แต่งตัวดี. คาอ่านที่ถูกต้องของข้ออื่นๆ เป็ นดังนี้
ข. รู ปธรรม อ่านว่า รู บ – ปะ – ทา
ค. รู ปพรรณ อ่านว่า รู บ – ปะ – พัน
ง. ถาวรวัตถุ อ่านว่า ถา – วอ – ระ – วัด – ถุ หรื อ ถา – วอน – วัด – ถุ

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 444

๘๔. เฉลย ตอบข้ อ ก. มาตรฐาน อ่านว่า มาด – ตระ – ถาน


อธิบาย มาตรฐาน [มาดตฺ ระ-] น. สิ่ งที่ถือเอาเป็ นเกณฑ์ที่รับรองกันทัว่ ไปเช่น เวลามาตรฐาน
กรี นิช, สิ่ งที่ถือเอาเป็ นเกณฑ์สาหรับเทียบกาหนดทั้งในด้านปริ มาณและคุณภาพ เช่น มาตรฐาน
อุตสาหกรรม หนังสื อนี้ยงั ไม่เข้ามาตรฐาน.
คาอ่านที่ถูกต้องของข้ออื่นๆ เป็ นดังนี้
ข. ภูมิภาค อ่านว่า พูม – มิ – พาก หรื อ พู – มิ – ภาค
ค. กรกฎาคม อ่านว่า กะ – ระ – กะ – ดา – คม หรื อ กะ – รัก – กะ – ดา – คม
ง. ประกาศนียบัตร อ่านว่า ประ – กา – สะ – นี – ยะ – บัด หรื อ ประ – กาด – สะ – นี – ยะ – บัด
๘๕. เฉลย ตอบข้ อ ข. อาชญากร อ่านว่า อาด – ยา – กอน
อธิ บาย คาอ่านที่ถูกต้องของข้ออื่นๆมีดงั นี้
อาชญากร [อาดยากอน, อาดชะยากอน] น. ผูก้ ่ออาชญากรรม, ผูก้ ระทาความผิดที่เป็ นคดีอาญา.
กิจ, กิจ - [กิด, กิดจะ-] น. ธุระ, งาน. (ป. กิจฺจ).กิจการ น. การงานที่ประกอบ, ธุระ
กิจการ อ่านว่า กิด – จะ – กาน
อุณหภูมิ [อุนหะพูม] น. ระดับความสู งต่าของความร้อน นิยมวัดได้ดว้ ยเครื่ องมือที่เรี ยกว่า
เทอร์โมมิเตอร์. พลความ [พนละ] น. ข้อความที่ไม่ใช่ส่วนสาคัญของเรื่ อง, ตรงข้ามกับ ใจความ.
๘๖. เฉลย ตอบข้ อ ค. สัมปทานบัตร อ่านว่า สา – ปะ – ทาน – นะ – บัด
อธิ บาย ลักเพศ [ลักกะเพด] ก. ทาหรื อแต่งตัวปลอมแปลงให้ผดิ ไปจากเพศของตน เช่นคฤหัสถ์
แต่งตัวปลอมเพศเป็ นสมณะ ผูช้ ายแต่งตัวเป็ นผูห้ ญิง; (ปาก) ทานอกลู่นอกทาง เช่นดื่มน้ าทางหู ถว้ ย.
จันทร-, จันทร์ [จันทฺระ- ในกลอนบางทีอ่านเป็ น จันทอน, จัน] น. ดวงเดือน, เรี ยกเทวดาองค์หนึ่งใน
นิยายว่า พระจันทร์ , ในตาราโหราศาสตร์ เป็ นชื่อดาวพระเคราะห์ที่ ๒; ชื่อวันที่ ๒ ของสัปดาห์. (ส.).
สัมปทาน [สาปะทาน] (กฎ) น. การที่รัฐอนุญาตให้เอกชนจัดทาบริ การสาธารณะหรื อจัดทาประโยชน์
เกี่ยวกับทรัพยากรธรรมชาติ ภายในระยะเวลาและตามเงื่อนไขที่รัฐกาหนด เช่น สัมปทานการเดินรถ
ประจาทาง สัมปทานทาไม้ในป่ าสัมปทาน. (ป.).เสวก [–วก] น. ข้าราชการในราชสานัก. (ป.; ส. เสวก =
คนใช้).สาหรับคาว่า “เสวก” บทวิทยุรายการ "รู ้ รัก ภาษาไทย" ออกอากาศทางสถานีวิทยุกระจายเสี ยง
แห่งประเทศไทย เมื่อวันที่ ๑๓ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๕๐ เวลา ๗.๐๐-๗.๓๐ น. กล่าวไว้ ดังนี้
เสวก (อ่านว่า เส-วก) หมายถึง ข้าราชการในราชสานัก เช่น คุณพ่อเขาเป็ นเสวกโท.

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 445
เมื่อคานาว่า เสวก มาเข้าสมาสกับคาว่า อมาตย์ (อ่านว่า อะ-หฺ มาด) มีการสนธิ เสี ยงสระของคาหน้ากับคา
หลัง เป็ น เสวกามาตย์ (อ่านว่า เส-วะ-กา-มาด) หมายถึง เสวก และ อามาตย์คาว่า เสวก มาจากคากริ ยา
ภาษาบาลีวา่ เสว (อ่านว่า เส-วะ) แปลว่า เสพ คบหา. เสวก เป็ นคานาม แปลตามรู ปศัพท์วา่ ผูเ้ สพ หรื อ ผู ้
คบหา ถ้าใช้เป็ นกริ ยา จะใช้รูป เสวนา แปลว่า คบ คบหา เช่นคนแบบนี้ฉนั ไม่อยากจะเสวนาด้วย.
นอกจากนี้ เสวนา ยังมีความหมายใหม่วา่ การสนทนาแลกเปลี่ยนความคิดเห็น เช่น สมาคมข้าราชการพล
เรื อนจัดเสวนาเรื่ องศักดิ์ศรี ขา้ ราชการไทย.
คาอ่ านทีถ่ ูกต้ องของข้ ออื่นๆ เป็ นดังนี้
ก. ลักเพศ อ่านว่า ลัก – กะ – เพด
ข. จันทรเกษม อ่านว่า จัน – ทระ – กะ – เสม
ง. เสวก อ่านว่า เส – วก
๘๗. เฉลย ตอบข้ อ ง. วิตถาร อ่านว่า วิด – ตะ – ถาน
อธิ บาย คาในคาตอบดังกล่าว พจนานุกรมเขียนไว้ ดังนี้
จักจัน่ [จักกะ-] ดู กระพี้นางนวล.
ตัก๊ แตน [ตัก๊ กะ-] น. ชื่อแมลงหลายชนิดในหลายวงศ์ ลาตัวยาว มีขนาดต่างๆ กันอาจมีปีกหรื อไม่มีก็ได้
ชุกชี [ชุกกะ] น. ฐานปูนสาหรับประดิษฐานพระประธานเป็ นต้น, จุกชี ก็วา่ .
วิตถาร [วิดถาน] ว. กว้างขวาง, มากเกินไป, พิสดาร. (ป.; ส. วิสฺตาร); นอกแบบ, นอกทาง, (เกินวิสัย
ปรกติ) เช่น พวกเด็ก ๆ ชอบเล่นวิตถาร เอาน้ าสกปรกผสมแป้ งสาดเข้าไปในรถประจาทางในวัน
สงกรานต์.
๘๘. เฉลย ตอบข้ อ ง. ถูกทุกข้อ
คาในคาตอบดังกล่าว พจนานุกรมเขียนไว้ ดังนี้ปราชัย [ปะราไช] น. ความพ่ายแพ้. ก. พ่ายแพ้. (ป.).
ผลิต, ผลิต [ผะหฺ ลิด, ผะหฺ ลิดตะ] ก. ทาให้เกิดมีข้ ึนตามที่ตอ้ งการด้วยอาศัยแรงงานหรื อเครื่ องจักรเป็ นต้น
เช่น ผลิตข้าว ผลิตรถยนต์ ผลิตครู ผลิตบัณฑิต. (ป.).สัพยอก [สับพะยอก] ก. หยอกเย้า เช่น ผูใ้ หญ่สัพยอก
เด็กว่าเป็ นแม่สายบัวแต่งตัวเก้อ. ว. ที่พูดหยอกเย้า เช่น อย่าโกรธเลย เขาพูดจาสัพยอกเท่านั้น, มักใช้เข้าคู่
กันเป็ น สัพยอกหยอกเย้า เช่น พูดจาสัพยอกหยอกเย้า. สัปดน [สับปะดน] ว. หยาบโลน เช่น พูดสัปดน
สองแง่สองง่าม, อุตริ นอกแบบนอกแผน เช่น เด็กคนนี้ชอบเล่นสัปดน เอาประทัดผูกหางหมาแล้วจุด,
(ปาก) ใช้วา่ สัปโดกสัปดน.

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 446

๘๙. เฉลย ตอบข้ อ ก. มณฑป อ่านว่า มน – ทบ


อธิบาย มณฑป [มนดบ] น. เรื อนยอดขนาดใหญ่มีรูปสี่ เหลี่ยมจัตุรัส หรื อเป็ นรู ปตัด มุมหรื อย่อ
ไม้แปด ย่อไม้สิบสอง ยอดหลังคาเป็ นทรงจอมแห, ใช้วา่ มรฑป ก็มี.(ป., ส.);ขันน้ าเย็นของพระเจ้า
แผ่นดินที่มีฝาเป็ นรู ปอย่างมณฑป เรี ยกว่าพระมณฑป.
บัณฑิต [บันดิด] น. ผูท้ รงความรู ้ , ผูม้ ีปัญญา, นักปราชญ์, ผูส้ าเร็ จการศึกษาขั้นปริ ญญาซึ่ งมี ๓ ขั้น คือ
ปริ ญญาตรี ปริ ญญาโท ปริ ญญาเอก เรี ยกว่า บัณฑิต มหาบัณฑิต ดุษฎีบณั ฑิต, ผูม้ ีความสามารถเป็ นพิเศษ
โดยกาเนิ ด เช่น คนนี้เป็ นบัณฑิตในทางเล่นดนตรี . (ป., ส. ปณฺ ฑิต).
มณฑก ๑ [-ทก] น. กบ (สัตว์), ใช้วา่ มัณฑุก หรื อ มณฑุก ก็มี. (ป., ส. มณฺ ฑูก).
มณฑก ๒ [-ทก] (โบ) น. เรี ยกปื นเล็กยาวชนิดหนึ่งว่า ปื นมณฑก. (อ. bundook).
มณฑล [มนทน] น. วง เช่น สุ ริยมณฑล คือ วงรอบดวงอาทิตย์ จันทรมณฑล คือ วงรอบดวงจันทร์ ,
บริ เวณ เช่น มณฑลพิธี, เขตปกครองที่แบ่งออกเป็ นส่ วนใหญ่ๆ; พระแท่นที่วงด้ายสายสิ ญจน์ เรี ยกว่า
พระแท่นมณฑล. (ป., ส.).
๙๐. เฉลย ตอบข้ อ ข. มรรยาท อ่านว่า มัน – ระ – ยาด
อธิบาย คาในคาตอบดังกล่าว พจนานุกรมเขียนไว้ ดังนี้
สมรรถภาพ [สะมัดถะ, สะหฺ มดั ถะ] น. ความสามารถ เช่น เขาเป็ นคนมีสมรรถภาพในการทางานสู ง
สมควรได้เลื่อนตาแหน่ง.
มรรยาท [มันยาด] น. กิริยาวาจาที่ถือว่าสุ ภาพเรี ยบร้อยถูกกาลเทศะ, มารยาท ก็วา่ . (ส. มรฺ ยาทา;ป.
มริ ยาท).
พรรษา [พันสา] น. ช่วงระยะเวลา ๓ เดือนในฤดูฝน เช่น เข้าพรรษาจาพรรษา; ปี เช่น บวช ๓ พรรษา,
(ราชา) มีพระชนมายุ ๒๕ พรรษา. (ส. วรฺ ษ; ป. วสฺ ส, วสฺ สาน).
พรรดึก [พันระ] น. อุจจาระที่เป็ นก้อนแข็งกลม.
๙๑. เฉลย ตอบข้ อ ก. วะ – ชิ – ระ – ยาน
๙๒. เฉลย ตอบข้ อ ง. อัญมณี
๙๓. เฉลย ตอบข้ อ ค. เสน่ง อ่านว่า สะ – เหน่ง
๙๔. เฉลย ตอบข้ อ ข. รกชัฏ อ่านว่า รก – ชัก
๙๕. เฉลย ตอบข้ อ ค. อัปลักษณ์
๙๖. เฉลย ตอบข้ อ ข. วีรบุรุษ

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 447

๙๗. เฉลย ตอบข้ อ ค. เดีย - รัด – ฉาน


๙๘. เฉลย ตอบข้ อ ก. ภูวนาถ เทศกาล
๙๙. เฉลย ตอบข้ อ ก. เสด็จนิวตั ิ
๑๐๐. เฉลย ตอบข้ อ ข. เขม้น

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 448

แนวข้ อสอบความรู้ความสามารถทั่วไปด้ านภาษาไทย ชุดที่ ๒

คาชี้แจง ตั้งแต่ขอ้ ที่ ๑-๒๐ ให้หาคาที่เขียนผิด


๑. ก. กงสุ ล ข. ก้นป่ อง ค. กะเพรา ง. กินรี
๒. ก.โขยกเขยก ข. ขมุกขมัว ค. ขู่เข็ญ ง. ไข่มุข
๓. ก. จัก๊ จัน่ ข. จาระไน ค. จาระบี ง. โจษจัน
๔. ก. ชะอุ่ม ข. ชะลอ ค. ชักเย่อ ง. ชันสู ตร
๕. ก. ตระเวน ข. ตะเกียกตะกาย ค. ตักษัย ง. ตาลปัต
๖. ก. ทรนง ข. ทแยงมุม ค. ทะเลสาบ ง. ทัพพี
๗. ก. นงเยาว์ ข. นัยน์ตา ค. นวลละออ ง. โน้ตเพลง
๘. ก. บอระเพ็ด ข. บังกะโล ค. บังลังค์ ง. เบนซิน
๙. ก. ปรมาณู ข. ปรสิ ต ค. ประณี ต ง. ปรากฎ
๑๐. ก. พรหมจรรย์ ข. พหูสูตร ค. พิศวาส ง. พิโรธ
๑๑. ก.ภาพพจน์ ข. ภาพยนต์ ค. ภารกิจ ง. ภูวไนย
๑๒. ก. มงกุฏ ข. มัคคุเทศก์ ค. มัสมัน่ ง. มนเทียรบาล
๑๓. ก. ยโส ข. ย่อมเยาว์ ค. เยือ่ ใย ง. ยากเข็ญ
๑๔. ก. รณรงค์ ข. รื่ นรมณ์ ค. รัญจวน ง. ระเห็จ
๑๕. ก. ล็อตเตอรี่ ข. ลาไย ค. ลิดรอน ง. เลือกสรร
๑๖. ก. วอลเลย์บอล ข. วานปราณ ค. วิตถาร ง. วิปโยก
๑๗. ก. สถิต ข. สไบ ค. สันโดษ ง. เสกสรรค์
๑๘. ก. หงษ์ ข. หยักศก ค. หลงใหล ง. หอมหวน
๑๙. ก. อนุญาต ข. อนุมตั ิ ค. อเนก ง. อัญมนี
๒๐. ก. อัศจรรย์ ข. อามหิต ค. อุดมการณ์ ง. อุโมง
คาชี้แจง ตั้งแต่ ข้อที่ ๒๑-๓๐ ให้ หาคาทีอ่ ่ านไม่ ถูกต้ อง
๒๑. ก. กรกฎ อ่านว่า กอ-ระ-กด
ข. กรมวัง อ่านว่า กรม-วัง
ค. กลวิธี อ่านว่า กน-ละ-วิ-ที
ง. กาเนิด อ่านว่า กา-เหนิด

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 449
๒๒. ก. ขัดสมาธิ อ่านว่า ขัด-สะ-หมาด
ข. คนธรรม์ อ่านว่า คน-ทัน
ค. จุติ อ่านว่า จุ-ติ
ง. ฉศก อ่านว่า ฉอ-สก
๒๓. ก. ชนมายุ อ่านว่า ชน-มา-ยุ
ข. ชักเย่อ อ่านว่า ชัก-กะ-เย่อ
ค. ชาติพลี อ่านว่า ชาด-พะ-ลี
ง. ชาติภูมิ อ่านว่า ชาด-ติ-พูม
๒๔. ก. ญาติวงศ์ อ่านว่า ยาด-ติ-วง
ข. ดาษดา อ่านว่า ดาด-ดา
ค. ดาษดื่น อ่านว่า ดาษดื่น
ง. ตนุ อ่านว่า ตะ-หนุ
๒๕. ก. โทมนัส อ่านว่า โทม-มะ-นัด
ข. ธรรมาสน์ อ่านว่า ทัน-มาด
ค. ธารกานัล อ่านว่า ทา-ระ-กา-นัน
ง. นิคหิต อ่านว่า นิก-คะ-หิด
๒๖. ก. บรรษัท อ่านว่า บัน-สัด
ข. บราลี อ่านว่า บะ-รา-ลี
ค. ปฐมวัย อ่านว่า ปะ-ถม-มะ-ไว
ง. ปรกติ อ่านว่า ปก-กะ-ติ
๒๗. ก. พลขับ อ่านว่า พน-ละ-ขับ
ข. พนร่ ม อ่านว่า พน-ร่ ม
ค. พลีชีพ อ่านว่า พะ-ลี-ชีบ
ง. พิษฐาน อ่านว่า พิด-สะ-ถาน
๒๘. ก. ลลนา อ่านว่า ละ-ละ-นา
ข. วิตถาร อ่านว่า วิด-ถาน
ค. ศตวรรษ อ่านว่า สะ-ตะ-วัด
ง. เมรุ อ่านว่า เม-รุ

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 450
๒๙. ก. สลา อ่านว่า สะ-หลา
ข. สมุฏฐาน อ่านว่า สะ-หมุด-ถาน
ค. สวรรคต อ่านว่า สะ-หวัน-คด
ง. สัปปุรุษ อ่านว่า สับ-ปะ-ปุ-หรุ ด
๓๐. ก. อนุสติ อ่านว่า อะ-นุด-สะ-ติ
ข. อรรถรส อ่านว่า อัด-ถะ-รด
ค. อัปราชัย อ่านว่า อับ-ปรา-ไช
ง. อุณหภูมิ อ่านว่า อุน-หะ-พูม
๓๑.ข้อใดคือความหมายของคาว่า “กระดี่ได้ นา้ ”
ก. คนที่แสดงอาการดีอกดีใจตื่นเต้นจนตัวสั่น เกินงาม
ข. คนที่สนุกสนานร่ าเริ ง
ค. คนที่แสดงอาการตกใจเกินความเป็ นจริ ง
ง. คนที่ไม่เห็นคุณค่าของสิ่ งที่ได้มา
๓๒. ข้อใดคือความหมายของคาว่า “ถวายหัว”
ก. ทาดีเพื่อให้เจ้านายรัก
ข. เอาชีวิตเป็ นประกัน ทาจนสุ ดความสามารถ ยอมสู ้ตาย
ค. ให้ผอู ้ ื่นจนตัวเองเดือดร้อน
ง. ยอมให้ผอู ้ ื่นรังแกโดยไม่ตอบโต้
๓๓. ข้อใดคือความหมายของคาว่า “ทุบหม้ อข้ าว”
ก. ทาให้คนที่รักเสี ยใจ
ข. คนที่แสดงอาการโมโหรุ นแรง
ค. ตัดอาชีพ ทาลายหนทางทามาหากิน
ง. ทาลายข้าวของเสี ยหาย
๓๔. ข้อใดคือความหมายของคาว่า “ไขสื อ”
ก. ไม่รู้เรื่ องอะไรเลย ข. รู ้ไม่จริ งแล้วเอาไปพูด
ค. รู ้แล้วทาเป็ นไม่รู้ ง. ไม่รับรู ้เรื่ องราวรอบข้าง
๓๕. “กินเปล่า” หมายความว่าอย่างไร
ก. กินโดยไม่ตอ้ งจ่ายเงิน ข. เอาเปรี ยบคนอื่น
ค. ฉวยโอกาส ง. ได้ประโยชน์โดยไม่ตอ้ งตอบแทน

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 451

๓๖. “เสี้ยมเขาควายให้ ชนกัน” มีความหมายใกล้เคียงกับข้อใด


ก. ศรศิลป์ ไม่กินกัน ข. ยุให้ราตาให้รั่ว
ค. ขิงก็ร่าข่าก็แรง ง. ไก่เห็นตีนงู งูเห็นนมไก่
๓๗. “มะนาวไม่ มีนา้ ” เป็ นลักษณะของข้อใด
ก. จิตใจ ข. น้ าเสี ยง
ค. ท่าทาง ง. อารมณ์
๓๘. คาใดมีความหมายต่างจากคาอื่น
ก. อืดอาด ข. ยืดยาด
ค. ยืดเยื้อ ง. เยิน่ เย้อ
๓๙. “สุ นทรียภาพ” หมายความว่าอย่างไร
ก. ความมีระเบียบ ข. ความงาม
ค. ความสงบ ง. ความสุ ข
๔๐. “คอตก” เป็ นลักษณะของข้อใด
ก. โศกเศร้า ข. น้อยใจ
ค. ผิดหวัง ง. เสี ยใจ
๔๑. ข้อความใดอยูล่ าดับที่ ๑
ก. ที่สาคัญก็มีดินและทราย ซึ่ งกลายเป็ นขี้เถ้าหลังจากถ่านหิ นเผาไหม้
ข. ซึ่งจะนาไปเจือปนอยูใ่ นโลหะที่ถลุง
ค. ในเนื้อของถ่านหิ น ยังมีสารอนิ นทรี ยเ์ จือปนอีกหลายอย่าง
ง. และยังมีสารประกอบของกามะถันและฟอสฟอรัส
๔๒. ข้อความใดอยูล่ าดับที่ 4
ก. ซึ่ งสามารถยังยั้งการเจริ ญเติบโตของจุลชีพอีกกลุ่มหนึ่ง
ข. เช่น ยากลุ่มเพนนิซิลลิน เดตราซัยคลีน เป็ นต้น
ค. ยาปฏิชีวนะเป็ นสารประกอบทางเคมีใดๆ ที่ผลิตหรื อสร้างขึ้นโดยจุลชีพ
ง. หรื อไปขัดขวาง หรื อไปทาลายจุลชีพกลุ่มนั้นๆ
๔๓. พิธีการสมโภชกรุ งรัตนโกสิ นทร์ 250 ปี ในเดือนเมษายน ศกนี้ จะมีการ ....... ให้ประชาชนได้เห็น
ทัว่ ประเทศ
ก. ถ่ายเทป ข. ถ่ายทอด
ค. ส่ งทอด ง. ถอดถ่าย

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 452
๔๔. เราควรจะ ...........ได้วา่ เรามีขมุ ความคิดที่ประมาณค่ามิได้ ............ อยูใ่ นพระไตรปิ ฎก
ก. ดีใจ – ซ่อน ข. ดีใจ - บรรจุ
ค. ภูมิใจ – ซ่อน ง. ภูมิใจ - บรรจุ
๔๕. ตาของเขาแดง.......เพราพิษไข้
ก. ก่า ข. กรา
ค. กร่ า ง. กล่า
๔๖. ธรรมชาติที่ดอยสุ เทพสามารถ........นักท่องเที่ยวให้ไปเยือนปี ละหลายแสนคน
ก. เชิญชวน ข. ชักจูง
ค. เรี ยกร้อง ง. ดึงดูด
๔๗. ชาวประมงคนนี้มีอวนหลาย......
ก. ปาก ข. ผืน
ค. หลัง ง. อัน
๔๘. งาช้างทั้งสอง.......นี้งดงามมาก
ก. อัน ข. คู่
ค. กิ่ง ง. ชิ้น
๔๙. คนสวมเสื้ อผ้าเพื่อป้ องกันความอายหรื อ.......ตา
ก. อนาถ ข. ทุเรศ
ค. อุจาด ง. ระคาย
๕๐. คอยไปเถิด..........เขาจะต้องกลับมา
ก. ในไม่ชา้ ข. ไม่นานนัก
ค. สักวันหนึ่ง ง. ไม่กี่วนั
๕๑. ข้อความในข้อใดไม่ถูกต้อง
ก. ภาษาไทยมาตรฐานคือภาษาราชการ
ข. ภาษาไทยมีการออกเสี ยงหนักเสี ยงเบา
ค. ภาษาไทยรับคาจากภาษอื่นในรู ปศัพท์เดิมเป็ นส่ วนใหญ่
ง. คนไทยบางคนออกเสี ยงพยัญชนะบางเสี ยงตามเสี ยงภาษาอังกฤษ
๕๒. เสี ยงควบกล้ าในข้อใดไม่ปรากฏในระบบเสี ยงภาษาไทย
ก. บรั่นดี ข. นิวเคลียส
ค. อิเควเตอร์ ง. เพนกวิน

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 453
๕๓. ข้อความต่อไปนี้มีพยางค์ที่ปรากฏเสี ยงพยัญชนะท้ายกี่พยางค์ “มัวแต่พูดว่า จะ จะ อยูน่ นั่ เอง ทาไม
ไม่ลงมือเสี ยที”
ก. ๗ พยางค์ ข. ๘ พยางค์
ค. ๙ พยางค์ ง. ๑๐ พยางค์
๕๔. ข้อใดมีเสี ยงวรรณยุกต์ครบทั้ง 5 เสี ยง
ก. ประหยัดวันนี้สบายวันหน้า
ข. สมบัติเมาเซถลาหัวทิ่ม
ค. หมึกแดงแผลงฤทธิ์ ให้รสอร่ อย
ง. จะพูดจาจงพิเคราะห์ให้เหมาะความ
๕๕. ข้อใดไม่มีคาสมาส
ก. ทหารเป็ นผูม้ ีหน้าที่รบเพื่อปกป้ องมาตุภูมิของตนไม่ให้ขา้ ศึกรุ กราน
ข. ประชาชนส่ งไปรษณี ยบัตรทางผลฟุตบอลยูโร 2000 เป็ นจานวนมาก
ค. ประธานในพิธีกล่าวคาถาเชิญเทวดามาชุมนุมเพื่อเป็ นมงคล
ง. ชีวเคมีเป็ นวิชาวิทยาศาสตร์ สาขาหนึ่งที่ศึกษาเกี่ยวกับองค์ประกอบทางเคมีของสิ่ งมีชีวติ
๕๖. ข้อใดมีคาซ้อนมากที่สุด
ก. แต่หนาวใจยากแค้นนี้แสนเข็ญ
ข. ออกแออัดผูค้ นอยูล่ น้ หลาม
ค. ในแหล่งหล้าใครไม่มีเสมอเหมือน
ง. ไม่สมประกอบทรัพย์สินก็ขดั สน
๕๗. ข้อใดไม่มีคาพ้องความหมาย
ก. ไอยรา ราชสี ห์ กุญชร ข. ลาธาร ชลาสิ นธุ์ มัจฉา
ค. เทเวศร์ อัจฉรา สุ รารักษ์ ง. สิ งขร เวหาสน์ วนาดร
๕๘. ข้อใดไม่มีคาประสม
ก. เห็นกิ่งกีดมีดพร้าเข้ารารัน
ข. หลังคาใหญ่พ้นื เล็กเป็ นโรงผี
ค. ดูเหย้าเรื อนหาเหมือนอย่างไทยไม่
ง. ถึงหนามกรานก็ไม่เจ็บเหมือนเหน็บแนม

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 454
๕๙. ข้อใดมีคาซ้ าที่แสดงความหมายต่างจากข้ออื่น
ก. แน่นวดแป้ งแล้วปั้ นเป็ นลูกกลมๆ
ข. แยกๆกันไปกินอาหารจะได้ออกรถเร็ วขึ้น
ค. สมพรอยากย้ายบ้านไปอยูใ่ กล้ๆที่ทางาน
ง. อายุเกิน 80 แล้วยังชอบใส่ เสื้ อผ้าสี สดๆ
๖๐. ข้อใดไม่ใช่สานวนต่างประเทศ
ก. ประชากรโลกกาลังเผชิญโศกนาฏกรรมเงียบจากโรคร้าย ทั้งเอดส์ มาลาเรี ย และวัณโรค
ข. ต่อข้อซักถามของผูส้ ื่ อข่าว ตัวแทนสภากาชาดสากลแถลงว่าสถานการณ์โรคร้ายในปั จจุบนั
กาลังน่าวิตก
ค. สภากาชาดสากลพร้อมด้วยผูน้ าจากประเทศในเอเชียแถลงว่าประเทศในทวีปแอฟริ กาเป็ น
พื้นที่ที่มีโรคเอดส์ระบาดมากที่สุด
ง. รัฐบาลแต่ละประเทศควรสนในปั ญหาโรคเอดส์ เพราะปั จจุบนั โรคเอดส์เป็ นมหันตภัยที่
ทาลายเศรษฐกิจและสังคม
๖๑.ข้อใดใช้คาภาษาต่างประเทศโดยไม่จาเป็ น
ก. เมื่อไฟดับควรตรวจดูวา่ เป็ นเพราะฟิ วส์ขาดหรื อปลัก๊ หลุด
ข. เด็กๆชอบรับประทานไอศกรี มช็อคโกแลตมากกว่าไอศกรี มกะทิสด
ค. ก่อนเข้าแบงค์ผขู ้ บั ขี่รถจักรยานยนต์ตอ้ งถอดหมวกกันน็อกและแว่นตาดาออก
ง. นักกอล์ฟหลายคนอยากเปลี่ยนวงสวิงให้คล้ายกับไทเกอร์ วูดส์เพื่อให้ตีลูกได้แม่นและไกล
๖๒. ข้อใดไม่มีคาที่มาจากภาษาเขมร
ก. จึงเรี ยนมาเพื่อโปรดพิจารณาให้ความเห็นชอบ
ข. คุณปู่ ทากนกแก้วลายไทยงามไพจิตร
ค. ให้รื่นเริ งสุ ขสาราญเหมือนดอกไม้บานยามเช้า
ง. เพลงลาวดาเนินทรายมีทานองไพเราะอ่อนหวาน
๖๓. ข้อใดมีคาที่ใช้ผดิ ความหมาย
ก. เมื่อประตูเปิ ดผูท้ ี่รออยูก่ ็วง่ิ กรู เข้าไปแย่งซื่ อบัตรชมฟุตบอลรอบชิงชนะเลิศ
ข. เยอรมันคิดค้นเทคโนโลยีการใช้แม่เหล็กลอยตัวสาหรับรถไฟความเร็ วสู งได้สาเร็ จ
ค. ไทยเตรี ยมโยกย้ายทหารออกไปจากติมอร์ตะวันออกภายในเดือนมีนาคม
ง. ตารวจพยายามสื บสวนหาตัวคนร้ายอยูห่ ลายสัปดาห์ แต่ก็ไม่ได้ร่องรอยอะไรเลย

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 455
๖๔. ข้อใดมีคาที่ไม่ได้ใช้ความหมายเชิงอุปมา
ก. หมดตัว ยกเครื่ อง ขนแมว ข. ลอบกัด ตาบอด เปิ ดท้าย
ค. ไข่ดาว ขมขื่น ลายแทง ง. ปลากรอบ หวานเย็น เด็กดอง
๖๕. ข้อใดสื่ อความหมายไม่ชดั เจน
ก. พรุ่ งนี้หวั หน้าจะเรี ยกประชุมตอนบ่ายๆ
ข. คุณย่าชอบดูละครโทรทัศน์หลังข่าวภาคค่า
ค. สมสิ ริมาหาครู ตอนเช้าก่อนเข้าห้องเรี ยน
ง. เมื่อวานนี้แม่แวะมหาหาตอนกินข้าวเย็น
๖๖. ข้อใดมีความหมายกากวม
ก. ผูไ้ ด้รับรางวัลเป็ นกวีที่มีชื่อเสี ยงชาวญี่ปุ่น
ข. ตารวจจับผูค้ า้ ยาเสพติดจานวนมากที่กลางกรุ ง
ค. แม่คา้ หยิบเหรี ยญบาทออกมาทอน 4 เหรี ยญ
ง. แผ่นดินไหวทาให้บา้ นเมืองพังพินาศและผูค้ นล้มตายมาก
๖๗. ข้อใดใช้สานวนได้ถูกต้อง
ก. ลูกทากิจการขาดทุนหลายครั้ง แต่แม่ก็ฆ่าไม่ตายขายไม่ขาด ให้เงินช่วยทุกครั้ง
ข. ตอนนี้เขาร่ ารวย แต่เมื่อหนุ่มๆ ยากจนแทบไม่มีจะกิน เข้าทานองตีนถีบปากกัด
ค. เธอบอกว่าไม่ชอบสมศักดิ์ แต่พอเขาชวนไปเที่ยวก็ไป เข้าตาราปากว่าตาขยิบ
ง. คุณปู่ เล่าว่าแต่ก่อนเรามีฐานะดีมากขนาดที่เรี ยกว่าข้าวเหลือเกลืออิ่ม
๖๘. ข้อใดใช้คาได้ถูกต้อง
ก. เช้านี้อากาศปลอดโปร่ ง นักท่องเที่ยวต่างชื่นชมกับพระอาทิตย์ยามเช้า
ข. ก่อนไปสอบเป็ นผูป้ ระกาศข่าว ข้าพเจ้าฝึ กอ่านข่าวกับคุณศันสนียจ์ นคล่อง
ค. นักเรี ยนที่ลงทะเบียนเรี ยนช้ากว่ากาหนด ต้องยืน่ คาร้องกับเจ้าหน้าที่
ง. ในอนาคตข้าพเจ้าอยากทางานกับกระทรวงศึกษาธิ การ
๖๙. ข้อความต่อไปนี้ ตรงกับสานวนใด “ข่าวความเคลื่อนไหว เกี่ยวกับการปรับเปลี่ยนตัวบุคคลที่จะมา
ดารงตาแหน่งรัฐมนตรี แทนนายเชี่ยวชาญนั้น น่าจะเป็ นการปล่อยข่าว เพื่อต้องการทราบว่าจะมีปฏิกิริยา
อย่างไร”
ก. กวนน้ าให้ข่นุ ข. โยนหินถามทาง
ค. หว่านพืชหวังผล ง. ปากคนยาวกว่าปากกา

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 456
๗๐. ข้อใดใช้ถอ้ ยคาได้ถูกต้องเหมาะสม
ก. การสร้างงานศิลปะมีต้ งั แต่ระดับการประดิดประดอยไปจนถึงระดับอุตสาหกรรมศิลป์
ข. การค้นคว้าวิจยั เป็ นกระบวนการเชิงวิทยาศาสตร์ที่ใช้เหตุผลและตรรกะ..วันนรัตน์
ค. ในสังคมไทยอาจารย์จานวนมากเป็ นผูบ้ ริ โภควิชาการมากกว่าสร้างสรรค์
ง. สถาบันต่างๆ ควรสอนให้นกั ศึกษาประยุกต์ความลุ่มลึกในวิชาชีพไปพัฒนาการสังคม
๗๑. ข้อใดใช้คาเชื่ อมไม่ถูกต้อง
ก. แม่ทากับข้าวแปลกๆให้เรากินเสมอ
ข. เราเห็นกับตาว่าเธอหยิบของใสกระเป๋ า
ค. แม่เห็นแก่ลูกเพราะมาอยูก่ บั ลูกตอนสอบ
ง. เขารี บกลับจากต่างประเทศเพื่อจัดงานวันเกิดให้แม่
๗๒. ข้อใดเป็ นประโยคที่สมบูรณ์
ก. หนึ่งในบรรดาสารพิษหรื อสารเคมีที่นามาใช้ในอุตสาหกรรมเพื่อการผลิตภาชนะบรรจุอาหาร
ข. เมื่อท่านทราบแล้วว่าอันตรายจากการบริ โภคอาหารที่ใส่ ถุงประดาษหนังสื อพิมพ์มีมาก
เพียงใด
ค. องค์การอนามัยโลกซึ่ งชี้ปัญหาการขาดแคลนธาตุไอโอดีนว่ามักจะมีในประชากรที่อาศัยอยู่
บริ เวณเทือกเขา
ง. การที่จะขจัดโรคขาดสารอาหารในเด็กให้หมดไปจาเป็ นต้องรณรงค์ให้เฝ้าระวังโภชนาการ
ของเด็กเป็ นประจา
๗๓. ข้อใดมีโครงสร้างเช่นเดียวกับประโยค “ดอกบัวตองบานสะพรั่งชูไสวทัว่ ท้องทุ่ง”
ก. พวกเด็กๆวิง่ เล่นกันเต็มสนามกีฬา
ข. ฟ้าคะนองผ่าเปรี้ ยงลงที่ตกหลังสู ง
ค. เจ้าด่างครางหงิงๆไปมาตามถนน
ง. แม่ครัวนอนเหยียดยาวกลางห้องครัว
๗๔. ข้อใดเป็ นประโยคความรวม
ก. เจ้าหมาน้อยไม่สบายร้องครางทั้งวัน
ข. หลานสาวตัวน้อยเดินไปโรงเรี ยนใกล้บา้ น
ค. คนไทยแทบทุกคนรู ้จกั นักชกเหรี ยญทองคนนั้น
ง. สมบัติดูหนังสื ออย่างเอาเป็ นเอาตายมาหลายเดือน

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 457
๗๕. ข้อใดเป็ นประโยคความซ้อน
ก. ฉันพบอาจารย์ของลูกที่ตลาดเสมอ
ข. เราไปซื้ อผลไม้ที่ร้านเจ้าประจา
ค. มะม่วงต้นที่อยูห่ ลังครัวมีลูกหลายใบ
ง. กล้วยไม้ที่คาคบออกดอกแล้ว
๗๖. ข้อใดเป็ นประโยคกรรม
ก. ประโยชน์ที่เกิดจากโครงการนี้มีผลดีต่อสังคมในระยะยาว
ข. เพราะแม่สูบบุหรี่ จดั ลูกที่คลอดออกมาจึงมีขนาดเล็กกว่าปกติ
ค. คนที่เป็ นเบาหวานมีโอกาสติดเชื้อทางกรวยไตมากกว่าคนทัว่ ไป
ง. อาคารผูป้ ่ วยนอกหลังนี้สร้างเสร็ จภายใน 5 เดือนด้วยเงินบริ จาคของประชาชน
๗๗. ข้อใดมีเนื้ อหาไม่เป็ นไปเพื่อความจรรโลงใจ
ก. มนุษย์ตอ้ งต่อสู ้ทุกวิถีทางเพื่อชีวติ ที่ดีกว่า
ข. การให้จะนาความสุ ขมาให้ท้ งั แก้ผใู ้ ห้และผูร้ ับ
ค. เราเกิดในแผ่นดินนี้ จึงควรตอบแทนคุณของแผ่นดิน
ง. การกระทาความดีจะส่ งผลดีต่อผูก้ ระทาในวันใดวันหนึ่ ง แอ๊ค
๗๘. ข้อความต่อไปนี้ใช้ภาษาระดับใด “คุณเกษมเป็ นผูท้ ี่มีมนุษยสัมพันธ์ดีมีความรู ้ความสามารถและ
ช่วยสร้างความเจริ ญแก่หน่วยงานนี้มาไม่นอ้ ย จนเป็ นที่รักใคร่ ของพวกเราทุกคน เราเสี ยดายที่คุณเกษม
จะไม่ได้ร่วมงานกับเราอีก แต่ก็ยนิ ดีที่ท่านได้เลื่อนตาแหน่งมีความก้าวหน้าในอาชีพ เชื่อว่าคุณเกษมจะ
สร้างความเจริ ญให้แก่หน่วยงานแห่งใหม่ ในโอกาสนี้ ขอมอบของที่ระลึกแก่ท่านเพื่อแสดงน้ าใจของ
พวกเราทุกคน”
ก. ระดับกันเอง ข. ระดับทางการ
ค. ระดับกึ่งทางการ ง. ระดับไม่เป็ นทางการ
๗๙. ข้อความตอนใดใช้ราชาศัพท์ไม่ถูกต้อง
(๑) พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ทรงพระกรุ ณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้/ (๒) สมเด็จพระ
บรมโอรสาธิราช ฯสยามมกุฎราชกุมาร เสด็จออกแทนพระองค์ ณ พระที่นง่ั อัมพรสถาน/ (๓)
พระราชทานพระบรมราชวโรกาสให้ประทานวุฒิสภา/(๔) เข้าเฝ้าทูลละอองพระบาทเพื่อทูลเกล้า
ทูลกระหม่อม ถวายเงินโดยเสด็จพระราชกุศล
ก. ตอนที่ (๑) ข. ตอนที่ (๒)
ค. ตอนที่ (๓) ง. ตอนที่ (๔)

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 458
๘๐. จากข้อความต่อไปนี้ขอ้ ใดเป็ นเหตุผลสาคัญที่สุดที่ทาให้เกิดการตีความต่างกัน “นักเรี ยนชายกับ
นักเรี ยนหญิงเถียงกันเรื่ องความหมายของข้อความ สามวันจากนารี เป็ นอื่น นักเรี ยนหญิงเชื่ อว่าผูช้ าย
เป็ นฝ่ าย เป็ นอื่น ในขณะที่นกั เรี ยนชายเชื่ อว่าผูห้ ญิง เป็ นอื่น”
ก. ภาษากากวมทาให้เข้าใจต่างกัน
ข. วิจารณญาณต่างกันทาให้คิดไม่ตรงกัน
ค. อคติส่วนตนอันเกิดจากความเป็ นชายเป็ นหญิง
ง. การเปลี่ยนแปลงของวัฒนธรรมตามยุคสมัย
๘๑. ข้อใดเป็ นข้อความที่ใช้ภาษาได้เหมาะสมที่สุดในแบบสอบถามเกี่ยวกับการจัดกิจกรรมของชมรม
ภาษาไทย
ก. - นิทรรสการทางภาษาและวรรณคดี
- ฝึ กอ่านทานองเสนาะ
ข. - ประกวดแต่งโคลงทุกประเภท
- ร้องเพลงประกวดทั้งลุกทุ่งและลูกกรุ ง
ค. - การนานักเรี ยนไปทัศนศึกษานอกสถานที่
- นักเรี ยนเสนอกิจกรรมความคิดสร้างสรรค์
ง. - การบรรยายของนักเขียนที่มีชื่อเสี ยง
- การแข่งขันตอบปั ญหาภาษาไทย
๘๒. ข้อใดเป็ นการเขียนแบบพรรณนา
ก. ชายทะเลทอดเป็ นแนวยาวสุ ดลูกหู ลูกตา ทรายสี ขาวตัดกับน้ าทะเลสี เขียว
ข. แนวปะการังด้านหน้าเป็ นที่อาศัยของฝูงปลาเล็กๆหลากสี
ค. นักปะดาน้ าต่างว่ายวนไปมาเพื่อชื่นชมความงามของปะการังและปลา
ง. นักท่องเที่ยวขนาดกลางจอดรออยูเ่ หนือน้ า โคลงไปมาตามแรงกระทบของคลื่น
๘๓. ข้อใดมีลกั ษณะเป็ นการเขียนแบบบรรยาย
ก. ฝนฟ้ากระหน่ าพายุซ้ ากรรโชก
ข. แสนวิปโยคอนิจจาน้ าตาเอ๋ ย
ค. ทุกสิ่ งล้วนไม่เป็ นเหมือนเช่นเคย
ง. ตัวเราเอยแสนอาภัพอับปั ญญา

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 459
๘๔. ข้อใดเป็ นหัวข้อประกาศที่ถูกต้อง
ก. ประกาศเรื่ องระเบียบการแต่งกายของนักเรี ยนของกระทรวงศึกษาธิ การ
ข. ประกาศกรมวิชาการ กระทรวงสาธารณสุ ข
เรื่ อง การตรวจสอบสาปนเปื้ อนในเครื่ องบริ โภค
ค. ประกาสกระทรวงมหาดไทย
เกี่ยวกับคุณสมบัติของผูม้ ีสิทธ์ลงคะแนนเสี ยงเลือกตั้ง
ง. ประกาศของสานักงานกรุ งเทพมหานคร
เรื่ องการซ่อมแซมบาทวิถีในกรุ งเทพมหานคร
๘๕. ข้อใดใช้เป็ นคานาได้เหมาะสมที่สุด
ก. ปั จจุบนั มนุษย์เข้าสู่ ยคุ ข้อมูลข่าวสาร ไม่ใช่ยคุ อุตสาหกรรม
ข. อาการของไข้หวัดที่เป็ นกันมากขณะนี้เกิดจากเชื้อไวรัสสายพันธุ์ใหม่
ค. ผูใ้ หญ่ตอ้ งรี บหาทางแก้ไขพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสมของเยาวชนก่อนที่จะสายเกินแก้
ง. นักวิจยั ในปั จจุบนั หาสาเหตุของโรคต่างๆโดยศึกษาจากพืชกันมากขึ้น
๘๖. ข้อความต่อไปนี้เรี ยงลาดับได้เหมาะสมที่สุดตามข้อใด
๑. แต่ที่รุนแรงที่สุด คือที่จงั หวัดชุมพร
๒. เมื่อสองเอนก่อนมีน้ าท่วมในหลายจังหวัด
๓. จึงก่อให้เกิดความเสี ยหายอย่างมหาศาล
๔. ทั้งๆที่ยงั มุถึงเวลาที่จะมีพายุไต้ฝนและพายุ
ุ่ โซนร้อน
๕. ฝนตกนักติดต่อกันหลายวัน
ก. ๒ ๑ ๕ ๔ ๓ ข. ๕ ๒ ๓ ๑ ๔
ค. ๒ ๕ ๓ ๑ ๔ ง. ๕ ๔ ๓ ๒ ๑
๘๗. ข้อความต่อไปนี้ไม่ใช้วิธีเขียนแบบใด
บางคนเข้าใจว่าผลไม้บงชนิดเช่น ลาไย ลิ้นจี่ ถ้ากินมาก๐จะทาให้เกิดอาการเจ็บคอ แต่ความจริ ง
อาการเจ็บคอเกิดจากเชื้ อโรค หลายชนิดที่ติดอยูต่ ามเปลือก เมื่อใช้ปากกัด เชื้อโรคเหล่านั้นอาจเข้าสู่ ปาก
หากกินผลไม้แล้วไม่ดื่มน้ าตาม ความหวานของผลไม้ซ่ ึ งเคลือบทีผนังคอจะทาให้เกิดเชื้อโรคเจริ ญมาก
ขึ้นจนเกิดอาการเจ็บคอได้
ก. โต้แย้ง ข. เสนอแนะ
ค. แสดงข้อสรุ ป ง. แสดงความคิดเห็น

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 460
๘๘. ข้อใดใช้วธิ ี การเขียนแตกต่างจากข้ออื่น
ก. พอเดินทางมาถึง พวกเราก็พากันเอาของไปเก็บและลงเล่นน้ าทะเลทันที
ข. อากาศเริ่ มเย็นลง เมฆตั้งเค้า ต่อมาไม่นานนักฝนก็เริ่ มตกลงมา
ค. พายุเริ่ มพัดกระหน่ า คลื่นม้วนตัวเป็ นเกลียวถาโถมเข้าฝั่งอย่างไม่หยุดยั้ง
ง. ผูห้ ญิงกลัวเป็ นหวัด เลยรี บวิง่ มาหยิบร่ มทั้งๆที่ตวั ก็เปี ยกน้ าทะเลอยูแ่ ล้ว
๘๙. ข้อความตอนใดใช้ภาษาไม่เหมาะสม
(๑) ด้วยทบวงมหาวิทยาลัยเห็นว่า หลักสู ตรการฝึ กอบรมเรื่ องการดาเนินการทางวินยั ที่ใช้อยูใ่ น
ขณะนี้ / (๒) ได้จดั ทาขึ้นหลายรู ปแบบและสิ้ นเปลืองเวลา ไม่ได้มาตรฐานเดียวกัน / (๓)
ทบวงมหาวิทยาลัยจึงได้จดั ทาหลักสู ตร มาตรฐานขึ้น / (๔) เพื่อให้มหาวิทยาลัยต่างๆใช่ในการฝึ กอบรม
เรื่ องการดาเนินการทางวินยั ให้เป็ นแนวเดียวกัน
ก. ตอนที่ (๑) ข. ตอนที่ (๒)
ค. ตอนที่ (๓) ง. ตอนที่ (๔)
๙๐. ข้อใดเป็ นสถานการณ์ที่แสดงว่าการฟังไม่เกิดประสิ ทธิ ภาพ
ก. วิชยั สรุ ปเนื้อหาได้หลายตอน
ข. วิสุทธิ์ บนั ทึกแนวคิดที่ได้จากการฟัง
ค. วิชิตอ่านน้ าเสี ยงของผูพ้ ูดและตีความได้
ง. วิรัชขบคิดวิธีแก้ปัญหาของเรื่ องที่กาลังฟัง
๙๑.ข้อใดตีความคาพูดต่อไปนี้ไม่ถูกต้อง
ผูพ้ ูด “ ผมเคยมีแฟนเป็ นคนทรงเจ้า เจ้าทรงทีไรมาตามผมไปกินเหล้าทุกที คุยกันสนุกมาก ระยะหลัง
มานี้ผมสมาทานศีล เลิกกินเหล้าแล้ว เจ้าก็ชกั อายๆและห่างเหิ นไป”
ก. ผูพ้ ูดสนิทสนมกับคนทรงเจ้า
ข. ผูพ้ ูดกับคนทรงเจ้าไม่ได้พบปะกันบ่อยๆอีกแล้ว
ค. ผูพ้ ูดเชื่อว่าการทรงเจ้าเป็ นเรื่ องที่ผดิ ร้ายแรง
ง. ผูพ้ ูดกับคนทรงเจ้าเคยมีแนวประพฤติปฏิบตั ิเหมือนกัน

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 461
๙๒. นายแพทย์สุรชัยได้พูดสรุ ปการบรรยายเรื่ องมะเร็ งปอดว่า “สาเหตุส่วนใหญ่ของมะเร็ งปอดเกิดจาก
การสู บบุหรี่ ดังนั้นจึงควรเลิกสู บบุหรี่ เพราะจะมีผลในการลดอัตราเสี่ ยงต่อการเกิดมะเร็ งปอดได้อย่าง
มาก นอกจากนี้ยงั ไม่เป็ นอันตรายต่อคนใกล้เคียงและเป็ นประโยชน์ต่อเศรษฐกิจทั้งส่ วนตัวและส่ วนรวม
อีกด้วย” จุดมุ่งหมายของผูพ้ ูดตรงกับข้อใด
ก. พูดให้กาลังใจ ข. ชี้แจงเข้าใจ
ค. อธิบายให้เห็นจริ ง ง. ชักชวนให้ทาตาม
๙๓. ข้อใดใช้ภาษาได้เหมาะสมที่สุดเมื่อเกิดความขัดแย้งกันในที่ประชุม
ก. ท่านประธานครับ กระผมคิดว่าเราเสี ยวเวลามากพอแล้วสาหรับการอภิปรายเรื่ องนี้
ข. ผมขอให้ยตุ ิเรื่ องนี้ไว้ก่อนจนกว่าจะมีขอ้ มูลเพิ่มเติมแล้วจึงพิจารณาอีกครั้ง
ค. เรื่ องสาคัญอย่างนี้ควรโต้เถียงกันด้วยเหตุผลมากกว่าการใช้อารมณ์เป็ นที่ต้ งั
ง. ขอให้ทุกท่านใจเย็นๆเรายังมีเวลาสนทนาเรื่ องนี้ได้อีกก่อนที่จะลงมติร่วมกัน
๙๔. ข้อใดเป็ นคาพูดที่เหมาะสมที่สุดในการให้ขอ้ คิดแก่คนที่สิ้นหวัง
ก. ทุกอย่างล้วนเป็ นอนิจจัง คิดเสี ยว่าแพ้เป็ นพระ ชนะเป็ นมาร
ข. ความพลาดหวังเป็ นเรื่ องปกติที่ทุกคนต้องประสบ เวลาเท่านั้นจะช่วยรักษาใจได้
ค. ผูป้ ระสบความสาเร็ จหลายคนได้แปรความล้มเหลวให้เป็ นพลังในการต่อสู ้ต่อไป
ง. ความทุกข์ความสุ ขเป็ นของคู่กนั ขณะที่เรามีทุกข์ ความสุ ขก็กาลังรอเราอยูข่ า้ งหน้า

อ่านข้ อความต่ อไปนีแ้ ล้วตอบคาถามข้ อ ๙๕- ๙๗


ความคิดที่วา่ ผูห้ ญิงเป็ นเพศที่ละเอียดอ่อนกว่าผูช้ าย รักสวยรักงาม ไม่ค่อยใช้เหตุผล แต่มีญาณ
หยัง่ รู ้อะไรบางอย่างดีกว่า ผูช้ าย ฯลฯ ล้วนเป็ นความคิดที่ได้มาจากบทบาททางสังคมและเศรษฐกิจของ
ผูห้ ญิงในสมัยก่อนเสี ยเป็ นส่ วนใหญ่ ฉะนั้น ธาตุแท้ ของผูห้ ญิงตามความเข้าใจของคนทัว่ ไปนั้นเอาเข้า
จริ งแล้วก็เป็ นวัฒนธรรม นัน่ ก็คือเป็ นสิ่ งที่มนุษย์สร้างขึ้นมาเอง จะมีในธรรมชาติความเป็ นผูห้ ญิงจริ งๆ
หรื อเปล่าก็ไม่ทราบได้
๙๕. ข้อใดอนุมานได้วา่ เป็ นความคิดของผูเ้ ขียน
ก. ผูห้ ญิงแตกต่างจากผูช้ ายเพราะมีหน้าที่และบทบาทต่างกัน
ข. โดยแท้จริ งแล้วผูห้ ญิงก็เป็ นวัฒนธรรมที่มนุษย์สร้างขึ้นนัน่ เอง
ค. หญิงชายมีความรู ้สึกและพฤติกรรมต่างกันเนื่ องจากสภาพแวดล้อม
ง. หญิงชายเกิดมาเหมือนกัน แต่แตกต่างกันเพราะมีเพศเป็ นตัวกาหนด

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 462
๙๖. ข้อความข้างต้นเสนอประเด็นถกเถียงในเรื่ องใด
ก. ความคิดของผูห้ ญิง ข. บทบาทของผูห้ ญิง
ค. ธรรมชาติของผูห้ ญิง ง. วัฒนธรรมของผูห้ ญิง
๙๗. ข้อความข้างต้นใช้ภาษาระดับใด
ก. ระดับกันเอง ข. ระดับไม่เป็ นทางการ
ค. ระดับกึ่งทางการ ง. ระดับทางการ

อ่านข้ อความต่ อไปนีแ้ ล้วตอบคาถามข้ อ ๙๘- ๙๙


ระบบการศึกษาต้องการความหลากหลาย และต้องการพลังที่จะเติบโตอย่างไม่มีที่สิ้นสุ ด
เหมือนกับป่ าไม้ ที่มีตน้ ไม้นานาขึ้นตามธรรมชาติอย่างที่ควรจะเป็ น แต่ทีน้ ีเราอาจไปจากัดให้มนั
เหมือนกันหมด ขณะนี้ปัญหาคือการเปลี่ยนแปลงโลกทั้ง โลกให้มี อารยธรรมเดียวกัน
๙๘. ข้อใดเป็ นสาระสาคัญของข้อความข้างต้น
ก. การศึกษาปั จจุบนั เหมือนป่ าไม้ซ่ ึ งมีการเติบโตอย่างเป็ นธรรมชาติ
ข. การศึกษาปั จจุบนั ถูกจากัดมาก ควรมีการปรับปรุ งระบบการศึกษาใหม่
ค. การศึกษาปั จจุบนั เป็ นระบบเดียวเหมือนกันหมด ทาให้ไม่มีโอกาสพัฒนาได้ดี
ง. ระบบการศึกษามีความแตกต่างกันไปตามอารยธรรมที่หลากหลาย
๙๙. ข้อใดเป็ นกลวิธีทีผเู ้ ขียนใช้แสดงความคิด
ก. บรรยายให้ผอู ้ ่านเห็นภาพชัดเจน
ข. พรรณนาให้ผอู ้ ่านรู ้สึกคล้อยตาม
ค. ใช้ความเปรี ยบเพื่อให้เข้าใจชัดเจน
ง. ใช้อุปมาเพื่อให้สมจริ ง
๑๐๐. จากข้อความต่อไปนี้ ข้อใดอนุมานได้วา่ เป็ นจุดประสงค์ของผูเ้ ขียน
คนเราจงใจใช้เวลามากมายเหลือเกินเพียงเพื่อจะหลอกตัวเองด้วยการสร้างข้อแก้ตวั ขึ้นมาอา
พรางความอ่อนแอของตัวเอง ถ้าเอาเวลาดังกล่าวไปใช้ในทางอื่น เวลานั้นจะมากพอที่จะขจัดความ
อ่อนแอโดยไม่จาเป็ นต้องสร้างข้อแก้ตวั เลย?
ก. เตือนว่าอย่าแก้ตวั ว่าไม่มีเวลา
ข. ชี้ให้เห็นผลเสี ยของการแก้ตวั
ค. เน้นว่าเรามีเวลามากพอที่จะทาอะไรได้มากมาย
ง. แนะให้ใช้เวลาในการสร้างความแข็งแกร่ งให้แก่ตนเอง

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 463
อ่ านข้ อความต่ อไปนีแ้ ล้ วตอบคาถามข้ อ ๑๐๑-๑๐๒
“ในอดีตพระสงฆ์เป็ นแบบอย่างการดารงชีวิตอันประเสริ ฐและเป็ นผูน้ าสติปัญญาของชุมชน ปัจจุบนั
พระสงฆ์จานวนมากไม่มีบทบาทอื่นใดนอกเหนือจากเรื่ องพิธีกรรม สร้างวัดวาอารามใหญ่โต มุ่งโภคทรัพย์
มากกว่าเจริ ญไตรสิ กขาฆราวาสเองก็ไม่เกื้อหนุนค้ าจุนให้พระสงฆ์ประพฤติพรหมจรรย์ กลับไปส่ งเสริ มในทาง
วัตถุเพื่อยัว่ ยุกิเลส”
๑๐๑. ข้อความข้างต้นกล่าวเป็ นสานวนได้ตามข้อใด
ก. สมน้ าสมเนื้ อ ข. เป็ นปี่ เป็ นขลุ่ย
ค. ขนมพอสมน้ ายา ง. น้ าพึ่งเรื อ เสื อพึ่งป่ า
๑๐๒. ข้อใดเป็ นสาระสาคัญของข้อความข้างต้น
ก. ทุกวันนี้สงั คมกาลังเสื่ อมลงเพราะพระสงฆ์และฆราวาส
ข. ปัจจุบนั นี้พระสงฆ์ไม่เป็ นที่พ่ ึงทางใจและไม่ให้ความรู ้แก่สังคม
ค. พระสงฆ์หนั ไปสร้างวัดใหญ่โตกันมากกว่าการเจริ ญไตรสิ กขา
ง. ชุมชนเสื่ อมลงเพราะพระสงฆ์ไม่เป็ นแบบอย่างการดารงชีวิตที่เหมาะสม
๑๐๓. ข้อความต่อไปนี้ไม่ใช้กลวิธีในการเขียนตามข้อใด
“คนไทยทุกคนควรภูมิใจที่พอเกิดมาก็ได้เป็ นเจ้าของทรัพย์อนั มหัศจรรย์ ก็ทรัพย์อะไรเล่าจะล้ าค่าน่า
หวงแหนไปกว่าความสวยสดตระการตาของธรรมชาติที่อุดมสมบูรณ์ ทั้งภูเขาขจี น้ าตกใส สายธารใหญ่นอ้ ย
และทะเลสี มรกต รวมทั้งศิลปวัฒนธรรมที่ ประณี ต ละเอียดอ่อน..... ขอเชิญชวนคนไทยเที่ยวเมืองไทย”
ก. การพรรณนา ข. การยกตัวอย่าง
ค. การใช้ความเปรี ยบ ง. การอธิ บายตามลาดับ

อ่ านข้ อความต่ อไปนีแ้ ล้ วตอบคาถามข้ อ ๑๐๔-๑๐๕


“ผูม้ ีตาแหน่งสู งต้องมีแผลให้นอ้ ยที่สุด ไม่มีเลยยิ่งดี และต้องมีศตั รู ให้นอ้ ยที่สุดแต่ยอ่ มเป็ นไปไม่ได้
เพราะกว่าจะขึ้นมาถึงที่สุดอาจสร้างศัตรู โดยไม่รู้ตวั ศัตรู ที่น่ากลัวมากคือคนใกล้ชิด ดังมีคากล่าว่า คนที่ไว้ใจ
ไม่ได้มากที่สุดคือคนที่ใกล้ตวั เรามากที่สุด มหาบุรุษที่แท้จริ งนอกจากจะรู ้จกั ใช้คนแล้ว ยังต้องรู ้จกั เลือกไว้ใจคน
อีกด้วย”
๑๐๔. ข้อเตือนใจในข้อความข้างต้นใกล้เคียงกับข้อใดมากที่สุด
ก. ยิ่งสู ง ยิ่งหนาว
ข. ชีวิตคือการต่อสู ้ ศัตรู คือยากาลัง
ค. อย่าไว้ใจทาง อย่าวางใจคน จะจนใจเอง
ง. ช้างสาร งูเห่า ข้าเก่า เมียรัก สี่ สิ่งนี้ไม่ควรไว้ใจ

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 464
๑๐๕. จากข้อความข้างต้นอนุ มานได้วา่ ผูเ้ ขียนเป็ นคนอย่างไร
ก. รอบคอบ ข. วิตกกังวล
ค. หวาดระแวง ง. รู ้เท่าทันชี วติ

อ่านข้ อความต่ อไปนีแ้ ล้วตอบคาถามข้ อ ๑๐๖-๑๐๗


(๑) รัฐบาลได้พยายามจนสุ ดความสามารถที่จะตรึ งราคาไฟฟ้าและน้ าประปาไว้จนไม่อาจฝื นต่อ
ภาวะกดดันและจาเป็ นต่อไปได้อีก / (๒) จึงจาเป็ นต้องขึ้นราคาไฟฟ้าและน้ าประปา / (๓) เพราะรัฐบาล
ไม่มีเงินทุนที่จะนามาจ่ายชดเชย อีกทั้งยังไม่เป็ นธรรมต่อประชาชนส่ วนใหญ่ของประเทศ/ (๔)
นอกจากนี้ยงั ทาให้การพัฒนาประเทศเพื่อสร้างความเจริ ญให้แก่ชาวชนบทต้องหยุดชะงักไปด้วย ซึ่งขัด
กับนโยบายสาคัญของรัฐบาล
๑๐๖. ข้อใดเป็ นสาระสาคัญของข้อความข้างต้น
ก. ตอนที่ (๑) ข. ตอนที่ (๒)
ค. ตอนที่ (๓) ง. ตอนที่ (๔)
๑๐๗. ข้อใดเป็ นนโยบายสาคัญของรัฐบาล
ก. พัฒนาชนบทให้มีความเจริ ญ
ข. ให้ประชาชนได้ใช้ไฟฟ้าและน้ าประปาราคาถูก
ค. ผลักดันให้มีการพัฒนาประเทศอย่างต่อเนื่ อง
ง. ให้ความเป็ นธรรมแก่ประชาชนส่ วนใหญ่ของประเทศ
๑๐๘. ข้อใดใช้ภาษากะทัดรัด
ก. เราควรอนุรักษ์ส่ิ งแวดล้อมของโลกเรานี้
ข. การอ่านมากและฟังมากนาไปสู่ ความเป็ นพหู สูต
ค. ชั้นบรรยากาศถูกทาลายเสี ยหายเพราะมลพิษจากโลกนี้เอง
ง. เพื่อให้ได้ทุกสิ่ งสมปองดังปรารถนา ต้องยึดคาขวัญว่าอุปสรรคคือบทเรี ยนของชีวิต
๑๐๙. ข้อใดใช้คาไม่ถูกความหมาย
ก. ผูอ้ ่านหาซื้ อหนังสื อใหม่ๆที่นกั อ่านเสนอแนะไว้
ข. นักร้องกาลังให้คะแนนผูร้ ้องที่เข้าประกวดแต่ละคน
ค. นักพูดไม่ประหม่าเวทีเพราะผูพ้ ูดกลุ่มนี้มีประสบการณ์สูง
ง. ผูเ้ ขียนเรื่ องสั้นให้สัมภาษณ์วา่ การเป็ นนักเขียนต้องอ่านมาก

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 465
๑๑๐. ข้อใดใช้ภาษาเพื่อแสดงทรรศนะ
ก. รัฐบาลแถลงว่าภาวะเศรษฐกิจของไทยในปั จจุบนั เริ่ มดีข้ ึนเป็ นลาดับ
ข. คุณภาพชีวติ ที่ดียอ่ มเกิดขึ้นได้หากประชาชนร่ วมใจกันพัฒนาสิ่ งแวดล้อม
ค. ราคาผลผลิตตกต่าและน้ ามันขึ้นราคาเป็ นผลกระทบมาจากปั จจัยภายนก
ง. เราเรี ยนรู ้จากอดีตว่าการกินดีอยูด่ ีของประชาชนขึ้นอยูก่ บั เสถียรภาพของรัฐบาล
๑๑๑. ข้อความต่อไปนี้สามารถประเมินได้ตรงตามข้อใด
“ข้าพเจ้าเคยเตือนคนรุ่ นหนุ่มสาวเสมอว่าอย่าทอดทิ้งของเก่าๆ ของไทยเราเสี ยอย่างไม่อาลัยไยดี
เพราะของเก่าเป็ นเครื่ องชี้อายุของชาติ เป็ นเครื่ องแสดงวัฒนธรรมของชาติ ทั้งนี้มิได้หมายความว่า
ข้าพเจ้าไม่นิยมของใหม่เลย”
ก. สมเหตุสมผล ข. มีลกั ษณะสร้างสรรค์
ค. เหมาะแก่กาละและบุคคล ง. ใช้ภาษากระชับและเข้าใจง่าย

ใช้ ข้อความต่ อไปนีต้ อบคาถามข้ อ ๑๑๒-๑๑๓


“รัฐบาลได้พยายามประคับประคองภาวะเศรษฐกิจและค่าครองชีพให้ทรงตัวอยูไ่ ด้ดีพอควร
แม้วา่ จะมีภาวะฝนแล้งตลอดปี และเกิดอุทกภัยที่สร้างความเดือดร้อนอย่างแสนสาหัสแก่ประชาชนเกือบ
ทั้งประเทศ รัฐบาลก็ได้นามาตรการต่างๆมาช่วยบรรเทาความเดือดร้อนของพี่นอ้ งประชาชนให้ผา่ นพ้น
วิกฤตไปได้ รัฐบาลจึงรู ้สึกโล่งใจเป็ นอันมากที่สามารถลดภาวะอันหนักอึ้งนี้ลงไปๆได้”
๑๑๒. ข้อใดคือเจตนาสาคัญของผูพ้ ูด
ก. ชี้ให้เห็นความสามารถของรัฐบาล
ข. ชี้ให้เห็นภาวะอันหนักของรัฐบาล
ค. ชี้ให้เห็นวิกฤตการณ์ที่ไทยได้เผชิญ
ง. ชี้ให้เห็นความเดือดร้อนแสนสาหัสของประชาชน
๑๑๓. ผูพ้ ูดใช้ภาษาลักษณะใด
ก. ใช้คาที่เร้าอารมณ์ ข. กล่าวในเชิงเยินยอ
ค. กล่าวในเชิงราพึงราพัน ง. ใช้คาง่ายตรงไปตรงมา
๑๑๔. ข้อใดใช้โครงสร้างของการแสดงเหตุผลต่างจากข้ออื่น
ก. ต้นไม่บริ เวณนี้ เขียวขจีเพราะดินอุดมสมบูรณ์
ข. อากาศร้อนอบอ้าวมากแสดงว่าฝนอาจจะตกในไม่ชา้ นี้
ค. อุบตั ิเหตุยอ่ มลดลงหากผูข้ บั ขี่ยวดยานพาหนะไม่ขบั เร็ ว
ง. พวกเราชอบไปเที่ยวสุ โขทัยและอยุธยาเนื่องจากมีโบราณสถานที่สาคัญหลายแห่ง
เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม
วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 466

ใช้ คาประพันธ์ ต่อไปนีต้ อบคาถามข้ อ ๑๑๕-๑๑๖


๑. โฉมงามทรามสุ ดสวาทพี่ ดาลฤดีจ่อจิตพิศวง
ขอแต่เยงได้พิงอิงองค์ แนบอนงค์ขวัญฟ้ายาใจ
๒. หอมหวนชวนสู ดอย่าพูดล่อ ฉันจะพอใจเชื่ อนั้นหาไม่
เป็ นความจริ งหลอกหญิงง่ายกระไร พี่มิได้หลอกเจ้าเยาวมาลย์
๓. อันชายพูดคล่องคล่องเหมือนล่องน้ า ถ้อยคาว่าวอนล้วนอ่อนหวาน
พอเบื่อหน่ายวายหลงนงคราญ ก็ทิ้งไปได้ปานผกาโรย
๔. แม้รักจริ งหวานยิง่ บุหงาสวรรค์ ยิง่ กว่าแก่นจันทร์ อนั หอมโหย
รักร่ วมชี วาไม่ราโรย จะช่วยโชยกลิ่นสวาทไม่ขาดเอย
๑๑๕. ข้อใดใช้คาไวพจน์มากที่สุด
ก. ข้อ ๑ ข. ข้อ ๒
ค. ข้อ ๓ ง. ข้อ ๔
๑๑๖. ข้อใดไม่ใช้ภาพพจน์
ก. ข้อ ๑ ข. ข้อ ๒
ค. ข้อ ๓ ง. ข้อ ๔
๑๑๗. ลักษณะการประพันธ์ที่เด่นที่สุดของข้อความต่อไปนี้คือข้อใด
“จากความวุน่ วูว่ ามสู่ ความว่าง จากความมืดมาสว่างอย่างเฉิ ดฉัน
จากความร้อนระอุเป็ นเย็นนิรันดร์ ไม่รู้พลันพลิกเห็นเป็ นความรู ้”
ก. การเล่นเสี ยงสัมผัส ข. การซ้ าคาเพิ่มความหมาย
ค. การเล่นคาหลากความหมาย ง. การใช้คาที่มีความหมายขัดแย้งกัน
๑๑๘. ข้อใดเป็ นข้อกาหนดคุณค่าทางวรรณศิลป์ ของบทประพันธ์
ก. การใช้หลักเกณฑ์การแต่งอย่างถูกต้อง
ข. การเลือกใช้รูปแบบคาประพันธ์ที่หลากหลาย
ค. การสื่ ออารมณ์และความคิดสร้างสรรค์ที่ประสานกัน
ง. การปรับใช้หรื อการสร้างสรรค์ขนบการประพันธ์ใหม่ๆ

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 467

ใช้ คาประพันธ์ ต่อไปนีต้ อบคาถามข้ อ ๑๑๙


๑.สองเนตรคือดา ระกะในนภาศรี
๒.งามเนตรพินิจปาน สุ มณี มะโนหะรา
๓.สองเนตรงามกว่ามฤคิน นางนี้เป็ นปิ่ นโลกา
๔.งามเนตรดัง่ เนตรมฤคมาศ งามขนงวงวาดดังคันศิลป์
๑๑๙. คาประพันธ์ขา้ งต้นนี้มีความเปรี ยบรวมกี่แห่ง
ก. ๔ แห่ง ข. ๕ แห่ง
ค. ๖ แห่ง ง. ๗ แห่ง
๑๒๐. ข้อใดใช้ภาษาโน้มน้าวใจได้ดีที่สุด
ก. การทางานให้เกิดผลดีได้น้ นั จาเป็ นต้องได้รับความร่ วมมือจากทุกฝ่ าย
ข. ประเทศไทยก้าวหน้าเป็ นผลจากการส่ งสิ นค้าออกขายต่างประเทศ
ค. การประหยัดน้ ามันกันคนละเล็กละน้อยจะช่วยกูเ้ ศรษฐกิจของชาติได้
ง. การอุดหนุนหัตกรรมพื้นบ้านเป็ นการอนุ รักษ์ศิลปวัฒนธรรมไทย

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 468

เฉลยแนวข้ อสอบความรู้ความสามารถทั่วไปด้ านภาษาไทย ชุดที่ ๒

๑. เฉลยข้อ ข. ก้นป่ อง คาเขียนที่ถูกต้องคือ ก้นปล่อง


๒. เฉลยข้อ ง. ไข่มุข คาเขียนที่ถูกต้องคือ ไข่มุก
๓. เฉลยข้อ ก. จัก๊ จัน่ คาเขียนที่ถูกต้องคือ จักจัน่
๔. เฉลยข้อ ก. ชะอุ่ม คาเขียนที่ถูกต้องคือ ชอุ่ม
๕. เฉลยข้อ ง. ตาลปัต คาเขียนที่ถูกต้องคือ ตาลปัตร
๖. เฉลยข้อ ก. ทรนง คาเขียนที่ถูกต้องคือ ทระนง
๗. เฉลยข้อ ค. นวลละออ คาเขียนที่ถูกต้องคือ นวลลออ
๘. เฉลยข้อ ค. บังลังค์ คาเขียนที่ถูกต้องคือ บังลังก์
๙. เฉลยข้อ ง. ปรากฎ คาเขียนที่ถูกต้องคือ ปรากฏ
๑๐. เฉลยข้อ ข. พหูสูตร คาเขียนที่ถูกต้องคือ พหูสูต
๑๑. เฉลยข้อ ข. ภาพยนต์ คาเขียนที่ถูกต้องคือ ภาพยนตร์
๑๒. เฉลยข้อ ก. มงกุฏ คาเขียนที่ถูกต้องคือ มงกุฎ
๑๓. เฉลยข้อ ข. ย่อมเยาว์ คาเขียนที่ถูกต้องคือ ย่อมเยา
๑๔. เฉลยข้อ ข. รื่ นรมณ์ คาเขียนที่ถูกต้องคือ รื่ นรมย์
๑๕. เฉลยข้อ ก. ล็อตเตอรี่ คาเขียนที่ถูกต้องคือ ลอตเตอรี่
๑๖. เฉลยข้อ ง. วิปโยก คาเขียนที่ถูกต้องคือ วิปโยค
๑๗. เฉลยข้อ ง. เสกสรรค์ คาเขียนที่ถูกต้องคือ เสกสรร
๑๘. เฉลยข้อ ก. หงษ์ คาเขียนที่ถูกต้องคือ หงส์
๑๙. เฉลยข้อ ง. อัญมนี คาเขียนที่ถูกต้องคือ อัญมณี
๒๐. เฉลยข้อ ง. อุโมง คาเขียนที่ถูกต้องคือ อุโมงค์
๒๑. เฉลยข้อ ข. กรมวัง คาอ่านที่ถูกต้องคือ กรม-มะ-วัง
๒๒. เฉลยข้อ ค. จุติ คาอ่านที่ถูกต้องคือ จุด-ติ
๒๓. เฉลยข้อ ก. ชนมายุ คาอ่านที่ถูกต้องคือ ชน-นะ-มา-ยุ
๒๔. เฉลยข้อ ข. ดาษดา คาอ่านที่ถูกต้องคือ ดาด-สะ-ดา
๒๕. เฉลยข้อ ข. ธรรมาสน์ คาอ่านที่ถูกต้องคือ ทา-มาด
เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม
วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 469
๒๖. เฉลยข้อ ง. ปรกติ คาอ่านที่ถูกต้องคือ ปรก-กะ-ติ
๒๗. เฉลยข้อ ค. พลีชีพ คาอ่านที่ถูกต้องคือ พลี-ชีบ
๒๘. เฉลยข้อ ง. เมรุ คาอ่านที่ถูกต้องคือ เมน
๒๙. เฉลยข้อ ง. สัปปุรุษ คาอ่านที่ถูกต้องคือ สับ-ปุ-หรุ ด
๓๐. เฉลยข้อ ค. อัปราชัย คาอ่านที่ถูกต้องคือ อับ-ปะ-รา-ไช
๓๑. เฉลยข้อ ก. กระดี่ได้น้ า ความหมาย ใช้เปรี ยบเทียบคนที่แสดงอาการดีอกดีใจตื่นเต้นจนตัวสั่น
เกินงาม
๓๒. เฉลยข้อ ข. ถวายหัว หมายถึง เอาชีวติ เป็ นประกัน ทาจนสุ ดความสามารถ ยอมสู ้ตาย
๓๓. เฉลยข้อ ค. ทุบหม้อข้าว หมายถึง ตัดอาชีพ ทาลายหนทางทามาหากิน
๓๔. เฉลยข้อ ค. ไขสื อ หมายถึง รู ้แล้วทาเป็ นไม่รู้
๓๕. เฉลยข้อ ง. กินเปล่า หมายถึง ได้ประโยชน์เปล่าๆ โดยไม่ตอ้ งตอบแทน
๓๖. เฉลยข้อ ข. คาว่าเสี้ ยมเขาควายให้ชนกันเป็ นคาพังเพย ความหมายเข้าลักษณะ ยุให้ราตาให้ร่ัว
๓๗. เฉลยข้อ ข. มะนาวไม่มีน้ า หมายถึง พูดห้วนๆ
๓๘. เฉลยข้อ ค. ยืดเยื้อ แปลว่า ยาวนาน อีก 3 คาที่เหลือมีความหมายใกล้เคียงกับยืดยาด
๓๙. เฉลยข้อ ข. สุ นทรี ยภาพ แปลว่า ความงามในธรรมชาติและศิลปะ ความรู ้สึกถึงคุณค่าของสิ่ งที่
งดงาม
๔๐. เฉลยข้อ ค. คอตก แปลว่า อาการที่หวั หงุบลงมาแสดงอาการผิดหวัง
๔๑. เฉลยข้อ ค. ข้อนี้ โจทย์ให้ตอ้ งการหาข้อความที่อยูต่ น้ ประโยคเลย พิจารณาตัวเลือก คาว่า “ที่” “ซึ่ง”
“และ” นั้น ไม่สามารถเป็ นคาแรกของประโยคได้ เพราะเป็ นสันธาน ที่มีหน้าที่เชื่ อมคา
หรื อข้อความ หรื อประโยค ดังนั้น จะต้องมีคาหรื อข้อความ หรื อประโยคมาก่อน
ดังนั้น ในข้อนี้ เราสามารถชี้ ชดั ได้เลยว่า คือคาตอบที่ถูกต้อง ข้อ ค.
๔๒. เฉลยข้อ ข. โจทย์ตอ้ งการหาข้อความที่อยูใ่ นลาดับที่ 4 ดังนั้น เราจึงจาเป็ นต้องเรี ยงประโยคให้ได้
ความหมายครบถ้วนเสี ยก่อน ในตัวเลือกทั้ง 4 ตัวเลือกนั้น คาว่า “ซึ่ง” “เช่น” และ
“หรื อ” ไม่สามารถเป็ นคาแรกของของประโยคได้
คาว่า “ซึ่ง” เป็ นคาเชื่ อม ที่ตอ้ งมีขอ้ ความอยูข่ า้ งหน้า
คาว่า “เช่น” เป็ นคาที่จะยกตัวอย่าง ดังนั้น จะต้องมีขอ้ ความอยูก่ ่อนหน้านี้
คาว่า “หรื อ” เป็ นเชื่ อม ซึ่ งต้องมีขอ้ ความมาก่อนหน้านี้
ดังนี้ ข้อ ค. จึงจะต้องเป็ นข้อความแรก และประโยคนี้ ควรเรี ยง ดังนี้

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 470
ค. ยาปฏิชีวนะเป็ นสารประกอบทางเคมีใดๆ ที่ผลิตหรื อสร้างขึ้นโดยจุลชีพ ก. ซึ่ ง
สามารถยังยั้งการเจริ ญเติบโตของจุลชีพอีกกลุ่มหนึ่ง ง. หรื อไปขัดขวาง หรื อไปทาลาย
จุลชีพกลุ่มนั้นๆ ข. เช่น ยากลุ่มเพนนิซิลลิน เดตราซัยคลีน เป็ นต้น ดังนั้น ข้อนี้คาตอบที่
ถูกต้องคือ ข้อ ข.
๔๓. เฉลยข้อ ข. ข้อนี้ ง่ายมาก เพราะ ทุกคนก็น่าจะได้ยนิ ได้ฟังอยูเ่ ป็ นประจาอยูแ่ ล้ว สานวนที่วา่
“ถ่ายทอดสด” หรื อ “ถ่ายทอดโทรทัศน์” ดังนั้น คาตอบที่ถูกต้องคือ ข้อ ข.
๔๔. เฉลยข้อ ง. เมื่อพิจารณาตัวเลือกแล้ว ตัวเลือกสาหรับช่องว่างแรก มี ๒ คา คือ “ดีใจ” กับ “ภูมิใจ”
ตัวเลือกสาหรับช่องว่างที่สอง มี ๒ คา คือ “ซ่อน” กับ “บรรจุ” ดูตวั เลือกสาหรับช่องว่าง
ที่สองก่อน คาที่ถูกต้องคือ “บรรจุ” ส่ วนตัวเลือกสาหรับช่องว่างแรก คาที่ถูกต้องก็คือ
“ภูมิใจ” ดังนั้น คาตอบที่ถูกต้องคือ ข้อ ง.
๔๕. เฉลยข้อ ก. ก่า แปลว่า สุ กใส เข้มจัดมักใช้กบั สี แดง
๔๖. เฉลยข้อ ง. ธรรมชาติดึงดูดใจได้ ส่ วนข้อ ก. ข. และ ค. เป็ นกริ ยาที่ใช้กบั คน
๔๗. เฉลยข้อ ก. ปาก เป็ นลักษณะนามของอวน
๔๘. เฉลยข้อ ค. กิ่ง เป็ นลักษณะนามของ งาช้าง
๔๙. เฉลยข้อ ค. อุจาด แปลว่า น่าเกลียด, น่าอาย, อย่างที่ไม่ควรทา
๕๐. เฉลยข้อ ค. คาเชื่อมเติมในช่องว่างใช้ขอ้ ความ “สักวันหนึ่ง” จึงจะได้ความสมบูรณ์
๕๑. เฉลยข้อ ค. ภาษาไทยรับคาจากภาษาอื่นในรู ปศัพท์เดิมเป็ นส่ วนใหญ่
- ข้อ ก ถูกต้อง เพราะประเทศไทยใช้ภาษไทยมาตรฐานเป็ นภาษาราชการ
- ข้อ ข จริ งที่การออกเสี ยงภาษาไทยใช้เสี ยงหนักเบา
- ข้อ ง จริ งที่คนไทยบางคนออกเสี ยงพยัญชนะบางเสี ยงตามเสี ยงอังกฤษ เช่น chocolate
คนไทยทัว่ ไปออกเสี ยงว่า ช็อกกาแลต บางคนอาจจะออกตามฝรั่งว่า ช็อคโคแลต ( เสี ยง
c บางคนออกเสี ยง ค ตามฝรั่ง)
- ข้อ ค ไม่จริ ง เพราะเวลารับคาจากภาษาอื่น ภาษาไทยจะมีการแปลงรู ปศัพท์มาด้วย
เช่น - ทิฏฐิ เวลามาใช้ในภาษาไทยใช้วา่ ทิฐิ
- วุฑฒิ เวลามาใช้ในภาษาไทยใช้วา่ วุฒิ
- อัฑฒ เวลามาใช้ในภาษาไทยใช้วา่ อัฒ
- สคม เวลามาใช้ในภาษาไทยใช้วา่ สังคม

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 471
๕๒. เฉลยข้อ ก บรั่นดี เพราะเสี ยงควบกล้ าของไทยมี 11 เสี ยง คือ /กร / /กล / / กว / /คร / / คล / /คว / /
ปร / /ปล/ / พร / /พล / /ตร/
ข้อ ก เสี ยง / บร/ ไม่มีในเสี ยงควบกล้ าของไทย
๕๓. เฉลยข้อ ค ๙ พยางค์
- มีพยางค์ที่มีพยัญชนะท้ายทั้งหมด ๙ พยางค์ คือ
พูด มี ด เป็ นเสี ยงพยัญชนะท้าย
จะ มี อ เป็ นเสี ยงพยัญชนะท้าย} ทั้งนี้เพราะพยางค์ที่ไม่มีตวั สะกดประสมสระสั้นเน้น
เสี ยง อ เป็ นตัวสะกด
จะ มี อ เป็ นเสี ยงพยัญชนะท้าย} ทั้งนี้เพราะพยางค์ที่ไม่มีตวั สะกดประสมสระสั้นเน้น
เสี ยง อ เป็ นตัวสะกด
นัน่ มี น เป็ นเสี ยงพยัญชนะท้าย
เอง มี ง เป็ นเสี ยงพยัญชนะท้าย
ทา มี ม เป็ นเสี ยงพยัญชนะท้าย
ไม มี ย เป็ นเสี ยงพยัญชนะท้าย
ไม่ มี ย เป็ นเสี ยงพยัญชนะท้าย
ลง มี ง เป็ นเสี ยงพยัญชนะท้าย
- พยางค์ มัว ไม่มีเสี ยงพยัญชนะท้าย ว เป็ นรู ปสระ
มือ ไม่มีเสี ยงพยัญชนะท้าย อ เป็ นรู ปสระ
เสี ย ไม่มีเสี ยงพยัญชนะท้าย ย เป็ นรู ปสระ
๕๔. เฉลยข้อ ค. หมึกแดงแผลงฤทธิ์ ให้รสอร่ อย
- ข้อ ก ขาดเสี ยงวรรณยุกต์จตั วา
- ข้อ ข ขาดเสี ยงวรรณยุกต์ตรี
- ข้อ ง ขาดเสี ยงวรรณยุกต์จตั วา
๕๕. เฉลยข้อ ค. ประธานในพิธีกล่าวคาถาอัญเชิญเทวดามาชุมนุมเพื่อเป็ นมงคล
คาว่า ชีวเคมี ในข้อ ๔ ไม่ใช่ คาสมาส เพราะ เคมี เป็ นภาษาอังกฤษ นามาสมาสคา
ไม่ได้

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 472
๕๖. เฉลยข้อ ข ออกแออัดผูค้ นอยูล่ น้ หลาม
- ข้อ ก มีคาซ้อน ๑ คา คือ ยากแค้น
- ข้อ ค มีคาซ้อน ๒ คา คือ แหล่งหล้า,เสมอเหมือน
- ข้อ ง มีคาซ้อน ๒ คา คือ ทรัพย์สิน,ขัดสน
- ข้อ ข มีคาซ้อน ๓ คา คือ แออัด,ผูค้ น, ล้นหลาม
ตัวเลือกข้อ ข เป็ นข้อที่มีคาซ้อนมากที่สุด
๕๗. เฉลยข้อ ง สิ งขร เวหาสน์ วนาดร
- คาพ้องความหมาย คือ คาที่มีความหมายเหมือนกัน หรื อ ที่เราเรี ยกกันว่า คาไวพจน์
ข้อ ก มี ไอยรา กับ กุญชร ที่แปลเหมือนกัน คือ ช้าง
ข้อ ข มี ลาธาร กับ ชลาสิ นธุ์ ที่แปลเหมือนกัน คือ แม่น้ า (ถึง มัจฉา จะแปลว่า ปลา)
ข้อ ค มี เทเวศร์ กับ สุ รารักษ์ ที่แปลเหมือนกัน คือ เทวดา (ถึง อัจฉราจะแปลว่า นางฟ้า?)
ข้อ ง สิ งขร แปลว่า ภูเขา เวหาสน์ แปลว่า ท้องฟ้า วนาดร แปลว่า ป่ าสู ง
๕๘. เฉลยข้อ ข. หลังคาใหญ่พ้นื เล็กเป็ นโลงผี
- ข้อ ข มีคาประสม ๒ คา คือ หลังคา กับ โลงผี (โลงศพ)
- ข้อ ก มีดพร้า กับ ระราน เป็ นคาซ้อน
- ข้อ ค เหย้าเรื อน เป็ นคาซ้อน
- ข้อ ง เหน็บแนม เป็ นคาซ้อน
๕๙. เฉลยข้อ ข แยกๆกันไปกินอาหารจะได้ออกรถเร็ วขึ้น
- ข้อ ก,ค,ง เป็ นคาซ้ าปะเภทขยายความ
- ข้อ ข เป็ นคาซ้ าที่มีความหมายในเชิง แบ่ง หรื อ แยก ในที่น้ ี แยกๆกันกิน คือ
แยกกันไปกิน ข้อ ข จึงต่างกับข้ออื่น
๖๐. เฉลยข้อ ง. รัฐบาลแต่ละประเทศควรสนใจปั ญหาโรคเอดส์ เพราะปั จจุบนั โรคเอดส์เป็ นมหันตภัยที่
ทาลายเศรษฐกิจและสังคม
- ข้อ ก มีสานวนต่างประเทศตรงที่ เผชิญโศกนาฏกรรมเงียบจาก ควรแก้เป็ น เผชิ ญ
โศกนาฏกรรมเงียบของ...
- ข้อ ข เป็ นสานวนต่างประเทศ ตรงที่ ต่อข้อซักถามของผูส้ ื่ อข่าว
- ข้อ ค เป็ นสานวนต่างประเทศ ตรงที่ สภากาชาดสากลพร้อมด้วยผูน้ า......
ควรแก้เป็ น สภากาชาดสากลร่ วมกับผูน้ า

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 473
๖๑. เฉลยข้อ ค. ก่อนเข้าแบงก์ผขู ้ บั ขี่รถจักยายยนต์ตอ้ งถอดหมวกกันน็อกและแว่นตาดาออก
ข้อ ค. คาภาษาต่างประเทศ คือ แบงก์ สามารถเปลี่ยนเป็ นคาไทยว่า ธนาคาร ได้
๖๒. เฉลยข้อ ข. คุณปู่ ทากนกแล้วลายไทยงามไพจิตร
- ข้อ ก มีคาเขมร คือ ?โปรด?
- ข้อ ค มีคาเขมร คือ ?สาราญ?
- ข้อ ง มีคาเขมร คือ ?ดาเนิน? ?ไพเราะ?
๖๓. เฉลยข้อ ค. ไทยเตรี ยมโยกย้ายทหารออกไปจากติมอร์ ตะวันออกภายในเดือน มีนาคม
ทั้งนี้เพราะ โยกย้าย ใช้กบั ตาแหน่งงาน แต่ในที่น้ ี เป็ นเรื่ องเกี่ยวกับการย้ายกองทหาร
ควรเปลี่ยนเป็ น เคลื่อนย้าย ( เพราะ เคลื่อนย้าย ใช้กบั กาลังพล )
๖๔. เฉลยข้อ ง. ปลากรอบ หวานเย็น เด็กดอง
๖๕. เฉลยข้อ ก. พรุ่ งนี้หวั หน้าจะเรี ยกประชุมตอนบ่ายๆ
- ข้อ ก เวลา คือ ตอนบ่ายๆ ไม่เจาะจง
- ข้อ ข มีการขยายให้ชดั เจนว่า ละครโทรทัศน์ หลังข่าวภาคค่า
- ข้อ ค มีการขยายให้ชดั เจนว่า ตอนเช้าก่อนเข้าห้องเรี ยน
- ข้อ ง มีการขยายให้ชดั เจนว่า เมื่อวานนี้ตอนกินข้าวเย็น
๖๖. เฉลยข้อ ข. ตารวจจับผูค้ า้ ยาเสพติดจานวนมากที่กลางกรุ ง
- ทั้งนี้เราะ จานวนมาก ในข้อ ข อาจจะขยาย ผูค้ า้ หรื อ ยาเสพติด ทาให้ได้ ๒
ความหมายคือ - ตารวจจับคนขายเฮโรอีน ได้คนขายจานวนมาก
- ตารวจจับคนขายที่ขายเฮโรอีนจานวนมาก
๖๗. เฉลยข้อ ค. เธอบอกว่าไม่ชอบสมศักดิ์ แต่พอเขาชวนไปเที่ยวก็ไป เข้าตาราปากว่าตาขยิบ
เพราะปากว่าตาขยิบ คือ พูดไปอย่าง แต่กลับทาอีกอย่าง (ปากกับการกระทาไม่ตรงกัน )
ในที่น้ ีปากว่าไม่ชอบ แต่ก็ไปเที่ยวกับเขา
๖๘. เฉลยข้อ ข. ก่อนไปสอบเป็ นผูป้ ระกาศข่าว ข้าพเจ้าฝึ กอ่านข่าวกับคุณศันสนียจ์ นคล่อง
๖๙. เฉลยข้อ ข. โยนหินถามทาง ทั้งนี้เพราะการกระทาเพื่อลองดูปฏิกิริยา เขาใช้สานวนว่า โยนหิ น
ถามทาง
๗๐. เฉลยข้อ ค. ในสังคมไทยอาจารย์จานวนมากเป็ นผูบ้ ริ โภควิชาการมากกว่าสร้างสรรค์
๗๑. เฉลยข้อ ค. แม่เห็นแก่ลูกเพราะมาอยูก่ บั ลูกตอนสอบควรแก้ เพราะ เป็ น จึง

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 474
๗๒. เฉลยข้อ ง. การที่จะขจัดโรคขาดสารอาหารในเด็กให้หมดไปจาเป็ นต้องรณรงค์ให้เฝ้าระวังโถชนา
การของเด็กเป็ นประจา เป็ นประโยคสมบูรณ์ เพราะมี
ประธาน = การที่จะขจัดโรคขาดสารอาหารในเด็กให้หมดไป
กริ ยา = จาเป็ นต้องรณรงค์
๗๓. เฉลยข้อ ค. เจ้าด่างครางหงิงๆวิง่ ไปมาตามถนน
๗๔. เฉลยข้อ ก. เจ้าหมาน้อยไม่สบายร้องครางทั้งวัน เป็ นประโยคความรวม เพราะ มีกริ ยา ๒ ตัว คือ
ไม่สบาย และ ร้อง
๗๕. เฉลยข้อ ค. มะม่วงต้นที่อยูห่ ลังครัวมีลูกหลายใบ
เป็ นประโยคความซ้อน เพราะมีกริ ยา ๒ ตัว คือ อยู่ + มี และ
มีคาเชื่อม ที่ ( = that ) เข้าลักษณะของประโยคความซ้อน
๗๖. เฉลยข้อ ง. อาคารผูป้ ่ วยหลังนี้สร้างเสร็ จภายในห้าเดือนด้วยเงินบริ จาคของประชาชน
ประโยคกรรม คือ ประโยคที่เอา “กรรม” ขึ้นต้นประโยค
ข้อ ง. ขึ้นต้นด้วย “อาคารผูป้ ่ วยนอกหลังนี้” ซึ่งเป็ นกรรม ( ของกริ ยา “สร้าง” ) จึง
เป็ นประโยคกรรม
๗๗. เฉลยข้อ ก. มนุษย์ตอ้ งต่อสู ้ทุกวิถีทางเพื่อชีวิตที่ดีกว่า
- จรรโลงใจ หมายถึง การยกระดับจิตใจให้สูงขึ้น ดีข้ ึน หรื อทาให้เกิดความสบายใจ
- ข้อ ข,ค,ง ฟังแล้วเกิดความรู ้สึกที่ดีและสบายใจ
- แต่ขอ้ ก “มนุษย์ตอ้ งต่อสู ้ทุกวิถีทาง.....” ไม่รู้วา่ ต้องใช้วิธีการอะไรดีหรื อเลวจึงเป็ นข้อ
ที่ไม่จรรโลงใจที่สุดใน 4 ข้อ
๗๘. เฉลยข้อ ค. ระดับกึ่งทางการ
- ที่เขายกมานี้มีบางตอนเป็ นภาษาพูด (ไม่เป็ นทางการ) เช่น “เราเสี ยดายที่คุณเกษมจะ
ไม่ได้ร่วมงานกับเราอีก” แต่บางตอนก็เป็ นภาษาเขียน (ภาษาทางการ)
เช่น “จะสร้างความเจริ ญแก่หน่วยงานแห่งใหม่” เมื่อมีลกั ษณะ 2 อย่างรวมกัน
ถือว่าใช้ภาษาระดับ “กึ่งทางการ”
๗๙. เฉลยข้อ ค. ตอนที่ (๓)
- ข้อ ๓ ผิด เพราะผูพ้ ระราชทาน คือ สมเด็จพระบรมโอรสาธิ ราชฯ จึงควรแก้
“พระบรมราชวโรกาส” เป็ น “พระราชวโรกาส” เพราะ พระบรมราชวโรกาส
ต้องเป็ นของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั เท่านั้น

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 475
๘๐. เฉลยข้อ ค. อคติส่วนตนอันเกิดจากความเป็ นชายเป็ นหญิง
- ทั้งนี้เพราะจริ งอยู่ “สามวันจากนารี เป็ นอื่น” เว้นวรรคแล้วทาให้กากวม เพราะแปลได้
๒ อย่าง คือ “สามวันจากนารี ..... เป็ นอื่น” (ผูช้ ายเป็ นอื่น) หรื อ “สามวันจาก.....นารี เป็ น
อื่น” (ผูห้ ญิงเป็ นอื่น) แต่ในโจทย์เขาถาม “จากข้อความที่ยกมา” ซึ่ ง ฝ่ ายหญิงก็ตีความ
“ว่าฝ่ ายชาย” ส่ วนฝ่ ายชายก็ตีความ “ว่าฝ่ ายหญิง” จึงน่าจะเป็ นข้อ ค มากกว่าข้อ ก
๘๑. เฉลยข้อ ง. การบรรยายของนักเขียนที่มีชื่อเสี ยง
การแข่งขันตอบปั ญหาภาษาไทย
- ข้อนี้ นบั เป็ นข้อสอบภาษาไทยแนวใหม่สาหรับปี นี้ทีเดียว วิธีการเขียนแบบสอบถาม
โดยเรี ยบเรี ยงภาษาไทยให้ดูเป็ นระเบียบแบบแผนเดียวกัน เช่น ถ้าขึ้นด้วยนามก็ข้ ึน
ด้วยนามทั้งหมด ถ้าขึ้นด้วยกริ ยาก็ข้ ึนด้วยกริ ยาทั้งหมด
ข้อ ง ทั้ง ๒ บรรทัดขึ้นด้วย “การ” ซึ่งดูเป็ นระเบียบและสละสลวยมากที่สุดแล้ว
๘๒. เฉลยข้อ ก. ชายทะเลทอดเป็ นแนวยาวสุ ดลูกหู ลูกตา ทรายสี ขาวตัดกับน้ าทะเลสี เขียว
- การเขียนพรรณนา คือ การเขียนเพื่อให้เกิดภาพ จึงมีการพูดถึงรายละเอียด
ค่อนข้างมาก ข้อ ก เป็ นการเขียนพรรณนา “ชายทะเล” จนเกิดภาพชัดเจน
๘๓. เฉลยข้อ ค. ทุกสิ่ งล้วนไม่เป็ นเหมือนเช่นเคย
- ก่อนอื่นเราต้องเข้าใจการบรรยายก่อนว่า คือ การเล่าเรื่ องหรื อพูดไปเรื่ อยๆ
- ตัวเลือกที่ให้มาเป็ นกลอนต่อเนื่ องกันมาทั้ง ๔ วรรคว่า
ฝนฟ้ากระหน่ าพายุซ้ ากรรโชก แสนวิปโยคอนิจจาน้ าตาเอ๋ ย
ทุกสิ่ งล้วนไม่เป็ นเหมือนเช่นเคย ตัวเราเอยแสนอาภัพอับปัญญา
จะเห็นว่าเป็ นการพร่ าพรรณนาถึงความเศร้าของตนเอง แต่เมื่อโจทย์ถามว่าวรรคไหน
บรรยาย ก็น่าจะ เป็ นวรรค (ข้อ ค) เพราะไม่ได้พูดซ้ าถึงความเศร้าของตน แต่พูดว่า
“ทุกอย่างเปลี่ยนแปลงไป” ซึ่งจัดเป็ นการบรรยาย
๘๔. เฉลยข้อ ข. ประกาศกรมวิชาการ การทรวงสาธารณสุ ข
เรื่ อง การตรวจสอบสารปนเปื้ อนในเครื่ องบริ โภค
- หัวข้อประกาศทางการ คือ ประกาศ + ชื่อหน่วยงาน (ไม่ตอ้ งมีคาว่า “ของ”) + เรื่ อง...
- ข้อ ก ผิด เพราะต้องเอาชื่อหน่วยงานขึ้นก่อน
- ข้อ ง ผิด เพราะประกาศสานักกรุ งเทพมหานคร ไม่ตอ้ งมีคาว่า “ของ”
- ข้อ ค ที่ถูกต้องเปลี่ยนคาว่า “เกี่ยวกับ” เป็ น “เรื่ อง”

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 476
๘๕. เฉลยข้อ ก. ปั จจุบนั มนุ ษย์เข้าสู่ ยคุ ข้อมูลข่าวสาร ไม่ใช่ยคุ อุตสาหกรรม
โจทย์ถามส่ วนที่เป็ นคานา ข้อ ๑ จึงน่าจะดีที่สุด ข้อ ๒,๓,๔ ดูเหมือนเป็ นต้องที่พูดๆ
มาแล้วมากกว่าไม่น่าจะเป็ นคานาจ๊ะ
๘๖. เฉลยข้อ ก. ๒ ๑ ๕ ๔ ๓
- เริ่ มจากบอกว่าเกิดอะไรขึ้น ( ๒ – ๑) ตามด้วยสถานการณ์ที่เกิดขึ้นเป็ นยังไง(๕-๔-๓)
๘๗. เฉลยข้อ ข. เสนอแนะ
- ประโยคที่วา่ “แต่ความจริ งการเจ็บคอเกิดจากเชื้อโรคหลายชนิดที่ติดอยูต่ ามเปลือก”
แสดงถึง
- ข้อ ก การโต้แย้ง “แต่ความจริ ง”
- ข้อ ค แสดงข้อสรุ ป “การเจ็บคอเกิดจาก........”
- ข้อ ง แสดงความคิดเห็น (แบบโต้แย้ง) “แต่ความจริ ง.......”
- ข้อความนี้ไม่มีการเสนอแนะ
๘๘. เฉลยข้อ ค. พายุเริ่ มพัดกระหน่ า คลื่นม้วนตัวเป็ นเกลียวถาโถมเข้าฝั่งอย่างไม่หยุดยั้ง
- ทั้ง 4 ข้อ เมื่อเอามาเรี ยงๆกันจะเป็ นการเล่าเรื่ องไปเที่ยวทะเลกัน
- ทั้ง ก,ข,ง เป็ นการเล่าเรื่ องธรรมดา ถือว่าเป็ นการบรรยาย
- ข้อ ค เป็ นการพูดให้เกิดภาพ จัดว่าเป็ นการพรรณนา
ข้อ ค จึงต่างกับข้ออื่นๆ
๘๙. เฉลยข้อ ข. ตอนที่ (๒)
- เพราะคาเชื่อม “และ” ควรวางเชื่อมไว้ที่ขอ้ ความที่เชื่ อมอันสุ ดท้าย ไม่ใช่ไปวาง
ข้อความตรงกลาง ข้อ ข จึงไม่เหมาะสม ควรแก้ไขเป็ น “ได้จดั ขึ้นหลายรู ปแบบ
สิ้ นเปลืองเวลา และไม่ได้มาตรฐาน” (ควรเอา “และ”มาวางหลังข้อความ “สิ้ นเปลืองสิ้ น
เวลา”)
๙๐. เฉลยข้อ ง. วิรัชขบคิดวิธีแก้ปัญหาของเรื่ องที่กาลังฟัง
- ข้อ ก,ข,ค จัดเป็ นการฟังที่เกิดประสิ ทธิ ภาพ
- ข้อ ก ฟังแล้วสรุ ปเนื้อหาไม่ได้
- ข้อ ข บันทึกแนวคิดที่ได้จากการฟัง (แสดงว่า จับประเด็นและประเมินค่าได้)
- ข้อ ค ตีความได้
ส่ วนข้อ ง เรามองจุดบกพร่ องในการฟังได้หลายข้อ เช่น
- ถ้าเราคิดตาม (ในเรื่ องที่ในที่น้ ีก็ไม่รู้วา่ เขาจะให้เราช่วยคิดหรื อให้เราฟังเฉยๆ)

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 477
เราก็อาจไม่ได้ฟังเรื่ องที่เขาจะพูดต่อ
- เรื่ องที่เราคิดไม่รู้วา่ เขาต้องการพูดให้เราฟังเฉยๆหรื อให้เราไปช่วยเขาคิดด้วย
ข้อ ง จึงเป็ นการฟังที่บกพร่ อง ไม่เกิดประสิ ทธิ ภาพ
๙๑. เฉลยข้อ ค. ผูพ้ ูดเชื่อว่าการทรงเจ้าเป็ นเรื่ องที่ผดิ ร้ายแรง
- ข้อ ก จริ ง เห็นได้จาก “ผมมีแฟนเป็ นคนทรงเจ้า”
- ข้อ ข จริ ง เห็นได้จาก “ระยะหลังมานี้.....เหิ นห่างกัน”
- ข้อ ง จริ ง เห็นได้จาก “ตามผมไปกินเหล้าทุกที คุยกันสนุกมาก”
- ข้อ ค ไม่มีกล่าวในเรื่ องที่ยกมา
๙๒. เฉลยข้อ ง. ชักชวนให้ทาตาม
- หมอสุ รชัยพูดเพื่อให้คนฟังนาไปปฏิบตั ิตามไม่ใช่แค่ “ให้เข้าใจ” หรื อ “ให้เห็นจริ ง”
ข้อ ง จึงถูกต้อง
๙๓. เฉลยข้อ ข. ผมขอให้ยุติเรื่ องนี้ไว้ก่อนจนกว่าจะมีขอ้ มูลเพิ่มเติมแล้ว จึงพิจารณาอีกครั้ง
- ข้อ ก ดูไม่สุภาพใช้อารมณ์แรง “เราเสี ยเวลามากพอแล้วสาหรับการอภิปรายเรื่ องนี้”
- ข้อ ค ดูเป็ นการตาหนิคนอื่นในที่ประชุม (ที่มีคนเยอะ) “ควรโต้เถียงด้วยเหตุผล
มากกว่าใช้อารมณ์เป็ นที่ต้ งั ”
- ข้อ ง ดูเหมือนเป็ นมุข แต่คนละอารมณ์กบั คนที่กาลังโต้เถียงกันอยู่ คือเขากาลังมี
อารมณ์กนั อยูเ่ รากลับพูดว่า “ใจเย็นๆเรายังมีเวลาสนทนาเรื่ องนี้ ” ข้อนี้ เลยดูแปลกๆ
- ข้อ ข ดูเป็ นการพูดยุติการขัดแย้งในช่วงนั้นได้ดีที่สุดแล้ว
๙๔. เฉลยข้อ ค. ผูป้ ระสบความสาเร็ จหลายคนได้แปรความล้มเหลวให้เป็ นพลังในการต่อสู ้ต่อไป
- โจทย์ถามคาพูดที่เป็ น “ข้อคิด”แก่คนที่สิ้นหวัง
- ข้อ ค ฟังแล้วรู ้สึกดีวา่ แล้วเกิดกาลังใจต่อสู ้ต่อไป
๙๕. เฉลยข้อ ก. ผูห้ ญิงแตกต่างจากผูช้ ายเพราะมีหน้าที่และบทบาทต่างกัน
- สังเกตจากบรรทัดที่ ๒ “- - ล้วนเป็ นความคิดที่ได้มาจากบทบาททางสังคมและ
เศรษฐกิจของผูห้ ญิงในสมัยก่อน”
- ข้อ ข ผิด เพราะ เค้าบอกว่า “ธาตุแท้” (นิสัย) ของผูห้ ญิง คือ วัฒนธรรม ไม่ได้บอกว่า
“ผูห้ ญิงคือ วัฒนธรรม”
- ข้อ ค กับข้อ ง ก็ผิด เพราะเค้าบอกว่าตัวกาหนด คือ “วัฒนธรรม” ไม่ใช่
สภาพแวดล้อมหรื อเพศเป็ นตัวกาหนด

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 478
๙๖. เฉลยข้อ ค. ธรรมชาติของผูห้ ญิง
- ดูได้จากวรรคสุ ดท้าย ที่เค้าพูดว่า ?จะมีในธรรมชาติความเป็ นผูห้ ญิงจริ งๆหรื อเปล่าก็
ไม่ทราบได้ ทั้งหมดนี้เค้ากาลังพูดบอกเราว่า ธรรมชาติของผูห้ ญิงเกิดจากสังคมกาหนด
ไม่ได้เป็ นธรรมชาติจริ งๆ
๙๗. เฉลยข้อ ค. ระดับกึ่งทางการ
- ข้อความส่ วนใหญ่จะใช้ภาษาเขียน (ทางการ) แต่ก็มีบางตอนใช้ภาษาพูด (ไม่เป็ น
ทางการ) เช่น เอาเข้าจริ งแล้ว จึงเป็ นภาษากึ่งทางการ
๙๘. เฉลยข้อ ค. การศึกษาปั จจุบนั เป็ นระบบเดียวเหมือนกันหมด ทาให้มีโอกาสพัฒนาได้ดี
- เพราะเค้าย้ามาตั้งแต่ประโยคแรกแล้วว่า ระบบการศึกษาต้องการความหลากหลาย
แล้วมาเปรี ยบว่าเหมือนกับป่ าไม้ที่มีตน้ ไม้นานาพันธุ์ข้ ึนตามธรรมชาติที่ควรจะเป็ น
แล้วยังมาย้าตอนท้ายอีกว่า ปั ญหาคือการเปลี่ยนโลกทั้งโลกให้มีอารยธรรมเดียวกัน
เพราะฉะนั้นสาระสาคัญคือ การศึกษาปั จจุบนั เป็ นระบบเดียวกันหมด ซึ่ งไม่ดีนน่ั เอง
ข้อ ค จึงถูกต้องที่สุด
๙๙. เฉลยข้อ ค. ใช้ความเปรี ยบเพื่อให้เข้าใจชัดเจน
- คนเขียนเปรี ยบระบบการศึกษาเหมือนป่ าไม้ทาให้เราเข้าใจได้ชดั เจนขึ้น ข้อ ค จึง
ถูกต้อง
๑๐๐. เฉลยข้อ ง. แนะให้ใช้เวลาในการสร้างความแข็งแกร่ งให้แก่ตนเอง
- รวมๆข้อนี้เหมือนกับจะบอกเราว่า อย่าเอาเวลาไปหาข้อแก้ตวั เลย สู ้เอาเวลามาแก้ไข
ข้อบกพร่ องตัวเองดีกว่า (เพื่อทาให้เราเข้มแข็งมากขึ้น)
- ข้อ ก กับ ข้อ ค ผิดเลย
- ข้อ ข เขาไม่ได้บอก ?ผลเสี ย? ของการแก้ตวั มาเลย
- ข้อ ง ตรงกับจุดประสงค์คนเขียนที่สุดแล้ว
๑๐๑. เฉลยข้อ ค. ขนมพอสมน้ ายา
- ทั้งนี้เพราะโจทย์ตอ้ งการจะว่าทั้ง พระ และ ฆราวาส ว่าพากันไปทางในทาง
ผิดทั้งคู่ = ขนมพอสมยา (พอๆกัน ใช้ในความหมายไม่ดี)
- ข้อ ก สมน้ าสมเนื้ อ หมายถึง เหมาะสมกับ
- ข้อ ข เป็ นปี่ เป็ นขลุ่ย หมายถึง เข้ากันได้ดี
- ข้อ ง น้ าพึ่งเรื อ เสื อพึ่งป่ า หมายถึง การพึ่งพาอาศัยกัน

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 479
๑๐๒. เฉลยข้อ ก. ทุกวันนี้ กาลังเสื่ อมลงเพราะพระสงฆ์และฆราวาส
- ตามโจทย์ผเู ้ ขียนกาลังพูดว่าทั้ง ?พระ? และ ?ฆราวาส?ข้อ 1 จึงครบถ้วนที่สุด

๑๐๓. เฉลยข้อ ก. การพรรณนา


- เค้าถามว่า ข้อใดไม่มีในข้อความที่ยกมา
- ข้อ ข ตอนที่เค้าพูดถึง ธรรมชาติที่อุดมสมบูรณ์ แล้วตามด้วยตัวอย่าง ทั้งภูเขาขจี
น้ าตกใส สายธารใหญ่นอ้ ยและทะเลสี มรกต
- ข้อ ค เค้าเปรี ยบ ธรรมชาติที่อุดมสมบูรณ์ กับ ศิลปวัฒนธรรม ของคนไทยกับ
ทรัพย์อนั มหัศจรรย์ ตรงบรรทัด 1
- ข้อ ง มีการอธิ บายตามลาดับ เริ่ มจากพูดถึง ทรัพย์แรก คือ ธรรมชาติ (พูดในบรรทัดที่
๑ ตอนท้าย ถึง บรรทัดที่ ๓) แล้วค่อยพูดถึง ทรัพย์ที่สองคือ ศิลปวัฒนธรรม (บรรทัด
สุ ดท้าย) ในข้อความที่ยกมายังไม่มีตอนใดเป็ นการพรรณนาอย่างชัดเจน
๑๐๔. เฉลยข้อ ง. ช้างสาร งูเห่า ข้าเก่า เมียรัก สี่ สิ่งนี้ไม่ควรไว้ใจ
ข้อความที่เค้ายกมา เหมือนจะเตือนใจเราว่าให้รอบคอบ รู ้จกั เลือกคนใกล้ชิดเรามาก
ที่สุด ข้อ ง "ช้างสาร งูเห่า ข้าเก่า เมียรัก " เป็ นสานวนไทยที่เตือนใจว่าให้ระวังสิ่ งมี
ภัยที่อยูใ่ กล้ชิดกับเรา จึงตรงกับข้อความที่เค้ายกมาที่สุดแล้ว
๑๐๕. เฉลยข้อ ง. รอบคอบ
- คนเขียนเป็ นคนรอบคอบ สังเกตจากวรรคสุ ดท้ายว่า "ต้องรู ้จกั เลือกไว้ใจคน"
๑๐๖. เฉลยข้อ ข. ตอนที่ (๒)
- เพราะข้อความทั้งหมดนี้พูดขึ้นมาเพื่อจะบอกว่ารัฐบาลจะขึ้นค่าไฟฟ้าและประปา
๑๐๗. เฉลยข้อ ก. พัฒนาชนบทให้มีความเจริ ญ
- สังเกตจากตอนที่ 4 " - - การพัฒนาประเทศเพื่อสร้างความเจริ ญให้แก่ชาวชนบทต้อง
หยุดชะงักไปด้วย ซึ่ งขัดกับนโยบายสาคัญของรัฐบาล" เท่ากับ นโยบายสาคัญของ
รัฐบาล คือ สร้างความเจริ ญแก่ชนบท ข้อ ก จึงถูกต้อง
๑๐๘. เฉลยข้อ ก. เราควรอนุรักษ์ส่ิ งแวดล้อมของโลกเรานี้
- ข้อ ข ฟุ่ มเฟื อยตรง "นาไปสู่ ความ" น่าจะแก้เป็ น "ทาให้" มากกว่า
- ข้อ ค ฟุ่ มเฟื อยตรง "ถูกทาลายเสี ยหาย" เพราะ "เสี ยหาย" ตัดออกได้
- ข้อ ง ฟุ่ มเฟื อยตรง "สมปองดังปรารถนา" เพราะ "ดังปรารถนา" ตัดออกได้

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 480
๑๐๙. เฉลยข้อ ค. นักพูดไม่ประหม่าเวทีเพราะผูพ้ ูดกลุ่มนี้มีประสบการณ์สูง
- เพราะข้อนี้เล่นคาว่า "นัก" กับ "ผู"้ นัก แสดงว่า คนนั้นทาจนชานาญแล้ว
ผู ้ แสดงว่า คนนั้นมีกิจกรรมนั้นๆ เพราะฉะนั้น ข้อ ๓ น่าจะสลับนักพูดกับผูพ้ ูด
เป็ นผูพ้ ูดไม่ประหม่าเวทีเพราะนักพูดกลุ่มนี้มีประสบการณ์สูง
๑๑๐. เฉลยข้อ ข. คุณภาพชี วติ ที่ดียอ่ มเกิดขึ้นได้หากประชาชนร่ วมใจกันพัฒนาสิ่ งแวดล้อม
- ทรรศนะ หมายถึง ความคิดเห็น ข้อ ๒ เป็ นทรรศนะ สังเกตจากคาว่า "ย่อม"
๑๑๑. เฉลยข้อ ก. สมเหตุสมผล
- ข้อความนี้ คนเขียนเขียนเตือนว่า ถ้าจะรับของใหม่ แต่อย่าลืมของเก่า
- ข้อ ก ถูกต้องเพราะเค้ามีการให้เหตุผลมาด้วยสังเกตบรรทัดที่ 2" - - เพราะของเก่า - - "
๑๑๒. เฉลยข้อ ก. ชี้ให้เห็นความสามารถของรัฐบาล
- สังเกตจาก "รัฐบาลก็ประคับประคองเศรษฐกิจไปได้" และ "นามาตรการต่างๆมา
บรรเทาความเดือดร้อนของประชาชนให้ผา่ นวิกฤต " ไปได้
๑๑๓. เฉลยข้อ ก. ใช้คาที่เร้าอารมณ์
- ภาษาในเรื่ องถึงจะตรงไปตรงมา แต่ลกั ษณะคาที่ใช้มีหลายตอนเร้าอารมณ์ให้เห็นใจ
ในปั ญหาของรัฐบาล เช่น ประคับประคอง - - แสนสาหัส - - บรรเทา - - ผ่านพ้นวิกฤต
- ภาระอันหนักอึ้ง
๑๑๔. เฉลยข้อ ข. อากาศร้อนอบอ้าวมาก แสดงว่าฝนอาจจะตกในไม่ชา้ นี้
- โครงสร้างการแสดงเหตุผล หมายถึง การวางตัว "เหตุ" กับ "ตัวผล" ข้อ ๑,๓,๔ วางตัว
ผลแล้วตามด้วยเหตุ
ข้อ ข อากาศร้อนอบอ้าวมาก = เหตุ
ฝนอาจจะตกในไม่ชา้ นี้ = ผล
- ข้อ ข วางเหตุแล้วตามด้วยผล ข้อ ข จึงวางโครงสร้างเหตุผลต่างจากข้ออื่น
๑๑๕. เฉลยข้อ ก. ไวพจน์ คือ คาที่มีความหมายเหมือนกัน
- ข้อ ก. มีคาไวพจน์ของผูห้ ญิง ๕ คา คือ โฉมงาม,ทรามสุ ดสวาท, อนงค์,ขวัญฟ้า,ยาใจ
และมีคาไวพจน์ของใจ ๒ คา คือ ฤดี,จิต
- ข้อ ข มีคาไวพจน์ของผูห้ ญิง ๒ คา คือ หญิง,เยาวมาลย์
ข้อ ค + ง ไม่มีคาไวพจน์ ข้อ ก จึงมีไวพจน์มากที่สุด

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 481
๑๑๖. เฉลยข้อ ข - ภาพพจน์ คือ การเขียนแบบเปรี ยบเทียบ
ข้อ ก มีภาพพจน์ คือ
๑. โฉมงาม เป็ น นามนัย
๒. ขวัญฟ้า ยาใจ เป็ น อุปลักษณ์
- ข้อ ค มีภาพพจน์ อุปมา ตรง ?เหมือน?
- ข้อ ง มีภาพพจน์ อุปมา ตรง ?ยิง่ ?
- ข้อ ข ไม่มีการใช้ภาพพจน์
๑๑๗. เฉลยข้อ ง. การใช้คาที่มีความหมายขัดแย้งกัน
- จุดเด่นที่สุดของข้อความนี้ คือ การใช้คาที่มีความหมายขัดแย้ง ซึ่ งมีทุกวรรค สังเกต
จากวรรคที่ ๑ วุน่ วูว่ าม กับ ความว่าง
วรรคที่ ๒ ความมืด กับ ความสว่าง
วรรคที่ ๓ ความร้อน กับ เย็น
วรรคที่ ๔ ไม่รู้ กับ ความรู ้
๑๑๘. เฉลยข้อ ค. การสื่ ออารมณ์และความคิดสร้างสรรค์ที่ประสานกัน
- คุณค่าทางวรรณศิลป์ พิจารณาจากการแต่งที่ก่อให้เกิดศิลปะการแต่งที่ไพเราะเกิด
อารมณ์คล้อยตาม
- ข้อ ก การใช้หลักการแต่งที่ถูกต้อง ยังบอกไม่ได้วา่ มีวรรณศิลป์ หรื อไม่ เพราะ
วรรณศิลป์ ต้องเกิดความไพเราะด้วย
- ข้อ ข ไม่ถูกต้อง เพราะ ไม่จาเป็ นต้อง ?หลากหลาย?
- ข้อ ง ไม่ถูกต้อง เพราะ ไม่จาเป็ นต้อง สร้างสรรค์ขนบธรรมเนียมการประพันธ์ใหม่ๆ
- ข้อ ค ดีที่สุดเพราะถ้าสื่ อให้ได้อารมณ์ (คล้อยตาม) บวกกับความคิดสร้างสรรค์ (idea
ใหม่ๆ) ที่เข้ากันได้ดี ถือว่ามีวรรณศิลป์ มากๆ
๑๑๙. เฉลยข้อ ค. ๖ แห่ง
- มีความเปรี ยบ 6 แห่ง คือ
ข้อ ๑ มีเปรี ยบตรง คือ
ข้อ ๒ มีเปรี ยบตรง ปาน
ข้อ ๓ มีเปรี ยบตรง กว่า กับ เป็ น
ข้อ ๔ มีเปรี ยบตรง ดัง กับ ดัง

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 482
๑๒๐. เฉลยข้อ ค การประหยัดน้ ามันกันคนละเล็กละน้อยจะช่วยกูเ้ ศรษฐกิจของชาติได้
- ภาษาโน้มน้าวใจ ต้องเป็ นภาษาชักชวนหรื อจูงใจให้คนทาตาม
- ข้อ ข กับ ง ภาษาไม่โน้มน้าวใจ
- ข้อ ก โน้มน้าวใจ (ชักชวน) ว่า ช่วยประหยัด "คนละเล็กละน้อย" รู ้สึกถึงความอยาก
ร่ วมมือกับเค้าได้ดีที่สุด แล้วเค้าก็บอกมาชัดเจนว่า "ช่วยกันประหยัด" ไม่เหมือนข้อ ๑ ที่
ไม่ได้บอกว่า "ให้ร่วมมือทาอะไร" ข้อ ค จึงดีที่สุด

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 483

แนวข้ อสอบความรู้ความสามารถทั่วไปด้ านภาษาไทย ชุดที่ ๓

๑. ข้อใดอ่านผิด
ก. วิตถาร (วิด-ถาน) ข. วุฒิ (วุด-ทิ)
ค. วัยวุฒิ (ไว-วุด) ง. วณิ พก (วะ-นิบ-พก)
๒. ข้อใดอ่านผิด
ก. สตรี (สะ-ตรี )
ข. สัตบุรุษ (สัด-บุ-หรุ ด)
ค. สมรรถภาพ (สะ-มัด-ถะ-พาบ)
ง. สมานฉันท์ (สะ-มา-นะ-ฉัน)
๓. คาใดอ่านได้เพียงอย่างเดียว
ก. ทุนทรัพย์ ข. ภรรยา
ค. ปรกติ ง. มูลค่า
๔. คาใดไม่อ่านแบบคาสมาส
ก. รสนิยม ข. ภาพยนตร์
ค. กรรมวิบาก ง. สมณเพศ
๕. ข้อใดอ่านตามคานิยม
ก. ทรชน ข. ราชวัง
ค. วิษณุ ง. สมาธิ
๖. ข้อใดประวิสรรชนียไ์ ม่ถูกต้อง
ก. ทะวาย ทะมึน ข. ตะลึง ตะลีตะลาด
ค. ขะมุกขะมอม ขะมักขะเม้น ง. ชะลูก ชะรอย
๗. ข้อใดประวิสรรชนียถ์ ูกต้องทั้งหมด
ก. พะงา พะนอ พะแนง ข. พะหุ พะเนิน พะยอม
ค. พะยูน พะโล้ พะลี ง. พะวง พะบู พะอง
๘. ข้อใดเขียนถูกต้องทุกคา
ก. สัณฐาน หมาไน ข. บาเหน็จ สมโภชน์
ค. การ์ตูน อาเจียร ง. เกษียณอายุ เจตนารมณ์

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 484
๙. ข้อใดเขียนผิดทุกคา
ก. จะละเม็ด ซีเมนต์ ข. ขันที ขัณฑสกร
ค. ประทะ ปักษิณ ง. ลาไย ลิขสิ ทธิ์
๑๐. ข้อใดเขียนผิดทุกคา
ก. เกาทัณฑ์ ไกรลาส ข. ประนีต ประทักษิน
ค. บัลลังก์ บาทหลวง ง. อานิสงส์ อามหิต
๑๑. ศัพท์ใดแปลว่าการพูด
ก. วัตร ข. วัทน์
ค. วัสตร์ ง. วัสน์
๑๒. ศัพท์ขอ้ ใดแปลว่าแสงสว่าง
ก. วิภาช ข. วิภาษ
ค. วิภาส ง. วิภาค
๑๓. ข้อใดมีความหมายไม่เหมือนกันทุกคา
ก. กนก กาญจนา สุ พรรณ
ข. วิจิตร พิสาส สุ ทศั น์
ค. สุ นทรี ยุพดี นนตรา
ง. ยิหวา หทัย กมล
๑๔. ศัพท์ในข้อใดไม่เข้าพวก
ก. วาสุ กรี ข. วานริ นทร์
ค. วายุภกั ษ์ ง. วาลุกา
๑๕. ข้อใดเรี ยงลาดับคาได้ถูกต้องตามหลักพจนานุกรม
ก. เขฬะ ทรัพย์ ฉิมพลี ปรนนิบตั ิ
ข. เขฬะ ฉิมพลี ทรัพย์ ปรนนิบตั ิ
ค. ทรัพย์ ฉิมพลี เขฬะ ปรนนิบตั ิ
ง. ฉิมพลี เขฬะ ทรัพย์ ปรนนิบตั ิ
๑๖. คาใดควรเรี ยงไว้เป็ นลาดับแรกตามพจนานุกรม
ก. สังวาส ข. สังเวียน
ค. สังเวย ง. สังเวช

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 485
๑๗. ข้อใดไม่มีคาประสม
ก. น้ าขุ่นไว้ใน น้ าใสไว้นอก
ข. ใครใครก็ชอบน้ าแข็ง
ค. อย่าลืมใส่ น้ าส้มด้วยนะ
ง. น้ าค้างกลิ้งอยูบ่ นใบบอน
๑๘. ข้อใดเป็ นคาประสมทั้งหมด
ก. ปลาเค็ม สามล้อ มดแดง ซ่อนตัว
ข. เผาขน หน้าม้า ใจเย็น ไก่ป่า
ค. ไม้เท้า ตูเ้ ย็น ชาวนา ทอดไข่
ง. นักเลง เตารี ด เงินเดือน ลิ้นไก่
๑๙. ข้อใดใช้ไม้ยมกผิด
ก. ในวันหนึ่ง ๆ เราต้องใช้จ่ายมาก
ข. ฉันซื้ อนม 2 กระป๋ อง ๆ ละ 10 บาท
ค. โตแล้วนะ อย่าลืมตัวเป็ นเด็กเล็ก ๆ
ง. ทันใดนั้น เราก็ได้ยนิ เสี ยง “ไฟไหม้ ๆ”
๒๐. ข้อใดเป็ นภาษาบาลีสันสกฤตทุกคน
ก. บังคม เผอิญ กงสี
ข. กระโถน ฉบับ ประจาน
ค. เขนย บายศรี กุญแจ
ง. เรี ยม แสวง วิทยา
๒๑. ข้อใดเป็ นภาษาบาลีสันสกฤตทุกคน
ก. เกษตร ปัญญา นีออน
ข. สตรี นิตยา เข้มขาบ
ค. กุมาร อาจารย์ ประกายพรึ ก
ง. ไมตรี นารายณ์ ศูนย์

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 486
ให้พิจารณาเติมคาให้ถูกต้อง
ภาษาไทยนับว่าเป็ นเอกลักษณ์ที่สาคัญที่สุด …..๒๒… แสดงให้เห็นความเป็ นไทยของเรา
ภาษาไทยมีภาษาพูด ..๒๓…ภาษาเขียน…๒๔…ภาษาเขียนนั้นได้มีภาษาต่างประเทศเข้ามาปะปนอยู่
มากมาย …๒๕…ภาษาบาลีสันสกฤต มอญ เขมร จีน อาหรับ …๒๕… ภาษาฝรั่ง ฯลฯ บางคาเราออก
เสี ยงตามสาเนียงเดิมของเขา บางคาเขา …๒๖…นามาปรับให้เข้า …๒๖…ลิ้นของเรา
๒๒. ก. จึง ข. กับ ค. ซึ่ง ง. ก็
๒๓. ก. อีก ข. ทั้ง ค. ด้วย ง. และ
๒๔. ก. เพราะฉะนั้น ข. อีกทั้ง ค. ตลอดจน ง. โดยเฉพาะ
๒๕. ก. ทั้ง.....กับ ข. ทั้ง....และ ค. ทั้ง....อีก ง. ทั้ง.....ด้วย
๒๖. ก. ก็....ด้วย ข. ก็....กับ ค. ก็....โดย ง. ก็.....แต่
๒๗. ร้านขายอาหารบางแห่ ง.........ขายอาหารบางชนิดที่ตอ้ งเก็บไว้นาน ๆ ...........หมู่ยอ แหนม พริ ก
ดอง..........อาหารหมักดองต่าง ๆ
ก. จะ....ได้แก่....ซึ่ ง ข. ต้อง...ได้แก่...คือ
ค. จึง....เช่น.....ด้วย ง. อาจ....เช่น....หรื อ
๒๘. .........ให้ผใู ้ ช้สามารถใช้เครื่ องหมายวรรคตอนได้อย่างถูกต้องตรงกัน.......มีระเบียบแบบแผน จึง
ควรศึกษาวิธีการใช้เครื่ องหมายวรรคตอนให้เข้าใจ
ก. ทั้ง.....ก็....ดังนั้น ข. กับ....จึง.....เพราะฉะนั้น
ค. และ....จึง.....เพราะ ง. ตลอดจน....ต้อง.....เพื่อ
๒๙. พระที่นง่ั วิมานเมฆ ได้จดั แสดงเครื่ องเงิน ถมปั ด ธารพระกร เครื่ องกระเบื้อง ตลอดจน งาช้าง คา
ที่ขีดเส้นใต้หมายถึงอะไร
ก. กาไลมือ ข. ไม้เท้า
ค. ไม้เกาลัง ง. พานหมาก
๓๐. เครื่ องดนตรี มี ฉิ่ ง กรับ โทน รามะนา คาที่ขีดเส้นใต้ หมายถึงอะไร
ก. กลองยาวสองหน้า
ข. กลองรู ปกลมแบบสองหน้า
ค. กลองคล้ายกลองยาวหน้าเดียว
ง. กลองรู ปกลมแบบตื้นหน้าเดียว

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 487
๓๑. คาที่ขีดเส้นใต้ ข้อใดใช้คาผิดความหมาย
ก. จงอย่าทาอะไรลบรอยผูอ้ ื่น
ข. ตัวหนังสื อลบเลือนไปหมดแล้ว
ค. ไม่ควรแสดงอาการลบเหลี่ยมผูม้ ีพระคุณ
ง. เขาพยายามทาดีเพื่อลบล้างความผิดที่ได้ทาไว้
๓๒. สานวนใด ไม่เข้าพวก
ก. แพ้เป็ นพระ ชนะเป็ นมาร
ข. รักยาวให้บนั่ รักสั้นให้ต่อ
ค. สาเนียงส่ อภาษา กิริยาส่ อสกุล
ง. บัวไม่ให้ช้ า น้ าไม่ให้ข่นุ
๓๓. ข้อใด ไม่สัมพันธ์กนั
ก. กฎแห่งกรรม - กงเกวียนกาเกวียน
ข. วานรได้แก้ว - ไก่ได้พลอย
ค. ตัดไฟต้นลม - กันไว้ดีกว่าแก้
ง. ขี่ชา้ งจับตัก๊ แตน - เข็นครกขึ้นภูเขา
๓๔. “พลอยฟ้า พลอยฝน” เข้ากับสานวนใด
ก. ต้นร้ายปลายดี ข. หนีเสื อปะจระเข้
ค. ปลาติดหลังแห ง. พระศุกร์เข้าพระเสาร์แทรก
๓๕. สานวนใดมีความหมายต่างจากข้ออื่น
ก. ลิ้นตวัดถึงใบหู ข. ลิ้นตะกวด
ค. ลิ้นลังกา ง. ลิ้นลม
๓๖. จงเรี ยงประโยคต่อไปนี้ให้ถูกต้อง
๑. ยังเป็ นศิลปะอย่างหนึ่งอีกด้วย
๒. การปรุ งอาหารนอกจากจะเป็ นศาสตร์ อย่างหนึ่งแล้ว
๓. ดังที่เราเห็นกันอยูท่ ุกวันนี้
๔. สิ่ งเหล่านี้สะท้อนออกมาในรู ปแบบของการบริ โภคที่แตกต่างกัน
ก. ๑ ๒ ๓ ๔ ข. ๒ ๓ ๔ ๑
ค. ๒ ๑ ๔ ๒ ง. ๓ ๒ ๔ ๑

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 488
๓๗. ข้อความใดควรเรี ยงไว้เป็ นลาดับแรก
1. มันก็จะผละออกจากกันโดยตัวเมียมีสิทธิ์ จะถ่ายไข่ให้มา้ น้ าหนุ่มตัวอื่นต่อไป
2. ม้าน้ าผูเ้ มียจะเอาท้องชนกันอยูจ่ นกระทัง่ แม่มา้ น้ าจะถ่ายไข่ออกหมด
3. เพราะคาว่า ชู ้ ไม่ได้มีบญั ญัติไว้ในภาษาของพวกมันแต่อย่างใด
4. ในกรณี ที่ไข่ครอกนั้นมีจานวนมาก จนถุงหน้าท้องม้าน้ าตัวผูร้ ับไม่หมด
ก. ข้อ 1 ข. ข้อ 2
ค. ข้อ 3 ง. ข้อ 4
๓๘. ข้อความใดควรเรี ยงลาดับไว้เป็ นลาดับสุ ดท้าย
1. มีผลเป็ นควันตลบอยู่
2. การจะแลเห็นความบริ สุทธิ์ แห่งจิต ย่อมเป็ นไปไม่ได้
3. ควันนั้นจักบดบังความประภัสสรแห่งจิต
4. ริ ษยาเป็ นไฟทาให้ใจร้อนใจไหม้
ก. ข้อ 4 ข. ข้อ 3
ค. ข้อ 2 ง. ข้อ 1
๓๙. ประโยคใดมีความหมายกากวมที่สุด
ก. ราไม่ดีโทษปี่ โทษกลอง ข. เรื่ องนี้ยงั ตกลงกันไม่ได้
ค. เขาเห็นกงจักรเป็ นดอกบัว ง. ที่นี่รับแก้เสื้ อสตรี
๔๐. ประโยคใดมีความหมายชัดเจน
ก. ดิฉนั ขอกราบเรี ยนเชิ ญค่ะ
ข. ข้าพเจ้าจึงนามาแสดงให้ชมกัน
ค. ความหมายของคาย่อมผันแปรอยูเ่ นืองนิจ
ง. วิทยาชอบมากที่สุดในโลก
๔๑. ประโยคใดเมื่อเน้นเสี ยงที่คาต่างกัน จะให้ความหมายเปลี่ยนแปลงไป
ก. เรื อนรกไม่น่าดู ข. ฉันชอบกินขนม
ค. เขาไปไม่ได้จริ ง ๆ ง. ป้าสายหยุดหายใจ
๔๒. ประโยคใดเมื่อเน้นเสี ยงที่คาต่างกัน จะให้ความหมายเปลี่ยนแปลงไป
ก. สวัสดีเธอจ๋ า ข. ไปไหนกันมา
ค. หน้าตาเศร้าหมอง ง. เขามองคุณครู

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 489
๔๓. ประโยคใดผิดหลักไวยกรณ์
ก. วิทยาวิง่ พรวดพราดอย่างรี บร้อนไปขึ้นรถ
ข. วิทยาวิง่ พรวดพราดไปขึ้นรถอย่างรี บร้อน
ค. วิทยาวิง่ อย่างรี บร้อนไปขึ้นรถพรวดพาด
ง. ถูกหมดทุกข้อ
ใช้ คาประพันธ์ ต่อไปนีต้ อบคาถามข้ อ ๔๔-๔๕
เป็ นชายความรู ้ยง่ิ เป็ นทรัพย์
ทุกประเทศมีผนู ้ บั อ่านอ้าง
สตรี รูปงามสรรพ เป็ นทรัพย์ ตนนา
แม้ตกยากไร้ร่าง ห่อนไร้สามี
๔๔. คาประพันธ์น้ ีกล่าวถึงเรื่ องใด
ก. ความรู ้ ข. ทรัพย์สินเงินทอง
ค. สามีภรรยา ง. ชายและหญิง
๔๕. โคลงบทสุ ดท้ายหมายความว่าอย่างไร
ก. แม้มีความยากจนอย่างไร ก็ยอ่ มหาสามีคุม้ ครองได้
ข. ถ้าหาสามีคุม้ ครองไม่ได้ ย่อมมีความทุกข์ยาก
ค. แม้มีความทุกข์ยากเพียงใด ก็ควรมีสามี
ง. หญิงไร้สามียอ่ มมีความทุกข์ยาก
๔๖. ข้อความต่อไปนี้ถา้ เขียนแยกวรรคให้ถูกต้องจะเป็ นประพันธ์ตรงตามข้อใด
“พิเศษสารเสกสร้างรังสรรค์สารประจงจารฉันทภาคพริ้ งพรายฉายเฉกเพชรพรรณเพราเฉิ ดเลิศ
แลลายระยับสายสะอิ้งส่ องสร้อยกรองทรวง”
ก. โคลงสี่ สุภาพและกลอนสุ ภาพ
ข. กาพย์ยานี 11 และโคลงสี่ สุภาพ
ค. กาพย์ฉบัง 16 และกลอนสุ ภาพ
ง. กาพย์ยานี 11 และกาพย์ฉบัง 16

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 490
๔๗. คาประพันธ์ต่อนี้ขอ้ ใดมีวธิ ี การพรรณนาต่างจากข้ออื่น
ก. พื้นผนังหลังบัวที่ฐานปั ทม์ เป็ นครุ ฑอันยืนเหยียบภุชงค์ขยา
ข. หยิกขยุม้ กุมวาสุ กรี กรา กินนรราร่ ายเทพประนมกร
ค. ใบระกาหน้าบันบนชั้นมุข สุ วรรณสุ กเลื่อมแก้วประภัสสร
ง. ดูยอดเยีย่ มเทียมยอดยุคุนธร กระจังซ้อนแซมใบระกาบัง
๔๘. คาประพันธ์ต่อไปนี้ใช้ภาพพจน์ตามข้อใด
“ฉันมองคลื่นรื่ นเร่ เข้าเห่ฝ่ัง พร่ าฝากฝังภักดีไม่มีสอง
มองดาวเฟี้ ยมเยีย่ มพักตร์ลกั ษณ์ลายอง จากคันฉ่องชลาลัยใสสะอาง”
ก. บุคคลวัตและอุปลักษณ์ ข. สัญลักษณ์และอติพจน์
ค. บุคคลวัตและสัญลักษณ์ ง. อุปลักษณ์และอติพจน์
๔๙. พรรณนาเสี ยงในข้อใดให้อารมณ์ต่างจากข้ออื่น
ก. เสี ยงสกุณาร้องก้องกึกให้หวัน่ หวาด
ข. เสี ยงชะนีร้องอยูโ่ หวยโวยโว่ยวิเวกวะหวามอก
ค. ทั้งพญาคชสารชาติฉทั ทันต์ทะลึ่งถลันร้องวะแหวๆ
ง. ทั้งพญาพาฬมฤคราชเสื อโคร่ งคะครางครึ้ มกระหึ มเสี ยง

ใช้ คาประพันธ์ ต่อไปนีต้ อบคาถาม ๕๐-๕๑


๑.แรงรักแรงราคร้อน รนสมร
ยยิง่ เปลวไฟฟอน หมื่นไหม้
๒.พี่หวังพบบมิพบและพบทุกขคือไฟ
ตัวตายดีกว่าไกล อนุช
๓.เจ้ามาหรื อมิ่งวิมลสมร อย่าซ่อนองค์อยูเ่ ลยยอดสงสาร
ฟังไปใช่เสี ยงเยาวมาลย์ อุราร้อนปิ้ มปานเพลิงกัลป์
๔. รู ปนวยเชิญช่วยชีวิตไว้ จงดับไฟร้อนรุ มสุ มขอน
ซึ่งไหม้จิตต์เป็ นนิจนิรันดร ให้พี่คลายร้อนราคาญ
๕๐. ความเปรี ยบในข้อใดแสดงอารมณ์รุนแรงน้อยที่สุด
ก. ข้อ ๑. ข. ข้อ ๒.
ค. ข้อ ๓. ง. ข้อ ๔.

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 491
๕๑. ข้อใดใช้ภาพพจน์ตรงกับคาประพันธ์ต่อไปนี้
“น้องท้าวสดับสารภูธร เพียงพิศม์ไฟฟอน มารุ มระงมกลางใจ”
ก. ข้อ ๑. ข. ข้อ ๒.
ค. ข้อ ๓. ง. ข้อ ๔.
๕๒. ข้อความในวรรณนากาลามสู ตรที่วา่ “อโลภะ อโทสะ อโมหะ เกิดขึ้นเพื่อประโยชน์แท้” นั้นไม่
ก่อให้เกิดผลตามข้อใด
ก. ได้รับการสรรเสริ ญจากวิญญูชน
ข. สกัดกั้นผลชัว่ ที่สร้างทุกข์ทางใจ
ค. ลดผลของกรรมที่ทามาในอดีต
ง. ได้รับประโยชน์และความสุ ขความเจริ ญ
๕๓. ข้อใดเป็ นปฏิบตั ิตามหลักกาลามสู ตร
ก. แดงงดการเดินทางในวันที่เกิดจันทรคราส
ข. แดงไม่เลือกผูส้ มัครที่มีใบปลิวโจมตีวา่ ทุจริ ต
ค. แดงเปลี่ยนศาสนาตามคาชักชวนของเพื่อนสนิท
ง. แดงศึกษาหลักฐานทางประวัติศาสตร์ในการทารายงาน

ใช้ คาประพันธ์ ต่อไปนีต้ อบคาถามข้ อ ๕๔ – ๕๕


๑. ถึงสามโคกโศกถวิลถึงปิ่ นเกล้า พระพุทธเจ้าหลวงบารุ งซึ่งกรุ งศรี
ประธานนามสามโคกเป็ นเมืองตรี ชื่อประทุมธานีเพราะมีบวั
๒. พฤกษาสวนล้วนได้ฤดูดอก ตระหง่านงอกริ มกระแสแลสล้าง
กล้วยระกาอัมภาพฤกษาปราง ต้องน้ าค้างช่อชุ่มเป็ นพุม่ พวง
๓. ที่ทา้ ยบ้านศาลเจ้าของชาวบ้าน บวงสรวงศาลเจ้าผีบายศรี ต้ งั
เห็นคนทรงปลงจิตนิจจัง ให้คนทั้งปวงหลงลงอบาย
๔. ถึงบ้านงิ้วเห็นแต่งิ้วละลิ่วสู ง ไม่มีฝงู สัตว์สิงกิ่งพฤกษา
ด้วยหนามดกรกดาษระดะตา นึกก็หน้ากลัวหนามขามขามใจ
๕๔. คาประพันธ์ในข้อใดไม่เป็ น “กระจกส่ องภาพทางวรรณธรรม”
ก. ข้อ ๑. ข. ข้อ ๒.
ค. ข้อ ๓. ง. ข้อ ๔.

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 492
๕๕. ข้อใดไม่แสดงอารมณ์ของผูป้ ระพันธ์
ก. ข้อ ๑. ข. ข้อ ๒.
ค. ข้อ ๓. ง. ข้อ ๔.
๕๖. สาระสาคัญของคาประพันธ์ต่อไปนี้ใกล้เคียงกับข้อใดมากที่สุด
“ขณะผูม้ ีบุญท่านขุ่นเคือง ไปหาเรื่ องเท่ากับว่าไปหาหวาย”
ก. กล้านักมักบิ่น ข. เอามือไปซุกหีบ
ค. จระเข้ขวางคลอง ง. น้ าเชี่ยวอย่าขวางเรื อ
๕๗. ข้อใดไม่ใช่สารจากเรื่ องอัวรานางสิ งห์
ก. คุณค่าของชีวติ แม้แต่ชีวติ ของสัตว์เดรัจฉาน
ข. ความน่าเกรงขามของเคราะห์กรรมหรื อโชคชะตา
ค. ความเห็นแก่ตวั และความรู ้เท่าไม่ถึงการณ์ของมนุษย์
ง. ความน่าสลดใจของการกระทาที่สวนทางกับธรรมชาติ
๕๘. ข้อใดเป็ นสาระสาคัญที่สุดของข้อความต่อไปนี้
“ฝูงมนุษย์ไม่เข้าใจการเรี ยกร้องของอัวรา พวกเขาพากันหัวเราะและบางคราวทาหน้าล้อเย้ยหยัน
อย่างน่าบัดสี ฝูงมนุษย์ยอ่ มจะขลาด ดังนั้นจึงชมเชยรัฐบาลของตัวในข้อที่จดั สิ่ งที่ตวั กลัวแต่อยากเห็นไว้
ให้ตวั ดูได้โดยปลอดภัย”
ก. มนุษย์ทาให้อวั ราสู ญเสี ยสัญชาตญาณสัตว์ป่าอย่างสิ้ นเชิง
ข. ความเห็นแก่ตวั ของมนุษย์เป็ นต้นเหตุให้สัตว์เกิดความทุกข์ทรมาน
ค. ความกลัวและความอยากรู ้อยากเห็นของมนุษย์ทาให้เกิดสวนสัตว์ข้ ึน
ง. มนุษย์หวั เราะเยาะความเดียวดายอันน่าเวทนาของอัวราแทนที่จะเห็นใจ
๕๙. ข้อใดสะท้อนแนวคิดหลักของพุทธศาสนาชัดเจนที่สุด
ก. อันว่าความกรุ ณาปราณี จะมีใครบังคับก็หาไม่
ข. นรชาติวางวาย มลายสิ้ นทั้งอินทรี ย ์
ค. ยามบวชบ่มบุญไป น้ าตาไหลเพราะอิ่มบุญ
ง. ไม่มีพรเทพพรมนุษย์ เปรี ยบประดุจความดีที่ทาเอง

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 493
๖๐. “ภูมิปัญญา” ในข้อความต่อไปนี้ ตรงกับข้อใด
“ในวรรณคดีนกั เขียนและกวียอ่ มแสดงภูมิปัญญาของตนออกมา เราจึงสามารถมองเห็นชีวติ
ความเป็ นอยู่ ค่านิยมและจริ ยธรรมของคนในสังคมที่ผปู ้ ระพันธ์จาลองไว้ให้ประจักษ์”
ก. ลักษณะของสังคมที่เสนออย่างตรงไปตรงมา
ข. การแดสงภาพของชี วติ ที่สัมพันธ์กบั วัฒนธรรม
ค. ภาพจาลองของชี วติ และการส่ งเสริ มจริ ยธรรมของสังคม
ง. ความรู ้ขนบธรรมเนียมประเพณี ที่สืบทอดมาอย่างยาวนาน
๖๑. ข้อใดมีเนื้ อความต่างจากกลุ่ม
ก. จึ่งว่าเจ้าเหล่านี้นี่บ่าวใคร ฤาว่าไพร่ หลวงเลกสักข้อมือ
ข. ถึงกริ้ วกราดด่าว่าก็จะรับ อย่าให้ยบั ต้องประสงค์ตอ้ งลงหวาย
ค. นายจะถอดให้เป็ นยายนายประตู กินปลาทูกบั ข้าวแดงอดแกงเอย
ง. ส่ งกระดาษให้พระราชวริ นทร์ ชาระ ใครเกะกะเฆี่ยนให้หนักแล้วสักหน้า
๖๒. คาประพันธ์ต่อไปนี้แสดงแนวคิดในด้านใด
“ทั้งองค์ฐานรานร้าวถึงเก้าแฉก เผยอแยกยอดทรุ ดก็หลุดหัก
โอ้เจดียท์ ี่สร้างยังร้างรัก เสี ยดายนักนึกน่าน้ าตากระเด็น
กระนี้หรื อชื่อเสี ยงเกียรติยศ จะมิหมดล่วงหน้าทันตาเห็น
เป็ นผูด้ ีมีมากแล้วยากเย็น คิดก็เป็ นอนิจจังเสี ยทั้งนั้น”
ก. การก่อสร้างพุทธสถาน
ข. คาสอนทางพระพุทธศาสนา
ค. การอนุรักษ์สถาปัตยกรรมไทย
ง. สถานภาพของคนในสังคม
๖๓. ข้อใดไม่ปรากฏอยูใ่ นคาประพันธ์ต่อไปนี้
“ขาวสุ ดพุดจีบจีน เจ้ามีสินพี่มีศกั ดิ์
ทั้งวังเขาชังนัก แต่พี่รักเจ้าคนเดียว”
ก. ค่านิยมของสังคม
ข. อานุภาพของความรัก
ค. สถานภาพของสตรี
ง. ความสาคัญของชาติตระกูล

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 494
๖๔. ข้อใดเป็ นเหตุผลที่ทาให้เพราะเจ้ากรุ งสญชัยพระราชทานค่าสิ นไถ่โดยไม่เอาผิดชูชกและยังเลี้ยงดู
เป็ นอย่างดี
ก. เชื่ออานาจของกฎแห่งกรรม
ข. เคารพในการบาเพ็ญทานของพระโอรส
ค. ให้เกียรติพราหมณ์เพราะเป็ นผูอ้ ยูใ่ นวรรณะสู ง
ง. รู ้ธรรมชาติของชูชกว่าเป็ นคนโลภที่ไม่รู้จกั ขอบเขต
๖๕. การที่ขนุ แผนพาวันทองเข้าขอลุแก่โทษแสดงธรรมชาติของมนุษย์ที่น่านิยมตามข้อใด
ก. แม้ในภาวะคับขันก็ยงั ยึดมัน่ ในความจงรักภักดี
ข. การร่ วมทุกข์ร่วมสุ ขสร้างความเข้มแข็งไม่ขลาดกลัว
ค. ความรักลูกทาให้กล้าเผชิญปัญหาแม้ร้ายแรงถึงชีวติ
ง. ความอนุ เคราะห์ของมิตรแท้ยอ่ มเป็ นหลักประกันความปลอดภัย
๖๖. ข้อใดไม่มีนยั ความหมายบ่งบอกเวลา
ก. จักยาตราทัพขันธ์ กันเอารุ่ งไว้หน้า
ข. เจียนจวบรวิรรณ รางเรื่ อ แลฤา
ค. นับดฤษถีน้ ีโน้น แน่น้ นั วันเมือ
ง. ว่านครรามินทร์ ผลัดแผ่นดินเปลี่ยนราช
๖๗. ข้อใดเป็ นสาระสาคัญของคาประพันธ์ต่อไปนี้
“เห็นแจ้ง ณ สี่ องค์ พระอริ ยสัจอัน
อาจนามนุษย์ผนั ติระข้ามทะเลวน”
ก. การสร้างสมบุญบารมีดว้ ยการศึกษาอริ ยสัจสี่
ข. อานิสงส์ที่ส่งผลให้ไปเกิดในภพภูมิที่สูงขึ้น
ค. ความหลุดพ้นจากสังสารวัฏด้วยปัญญา
ง. กุศลจากการเคารพบูชาพระอริ ยสาวก

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 495
๖๘. ข้อใดเป็ นสาระสาคัญของคาประพันธ์ต่อไปนี้
“เวรามาทันแล้ว จึงจาแคล้วแก้วโกมล
ให้แค้นแสนสุ ดทน ทุกข์ถึงเจ้าเศร้าเสี ยดาย”
ก. ความอาลัยรักที่ระงับได้ดว้ ยกฎแห่งกรรมและอุเบกขา
ข. ความขัดแย้งกับโชคชะตาที่ทาให้ทุกข์ทรมานใจอย่างสาหัส
ค. ความขัดแย้งที่ตอ้ งยอมรับความจริ งกับความอัดอั้นและทุกข์ใจ
ง. ความเด็ดเดี่ยวเพราะอาศัยหลักศาสนาช่วยหักห้ามใจให้คลายทุกข์
๖๙. คาว่า “เพ็ญ” ในข้อใดมีความหมายต่างจากข้ออื่น
ก. อ้าจอมจักรพรรดิผู ้ เพ็ญยศ
ข. กาหนดพรุ กเพ็ญแท้ พันธนาไว้แล
ค. พูนเพิ่มพระสมการ เพ็ญภพ พระนา
ง. สรรเป็ นรู ปอุรเคนทร์ เพ็ญพะพานแผ่เศียร
๗๐. ข้อใดไม่ใช่คุณสมบัติของกวีตามคาประพันธ์ต่อไปนี้
“เธอคือกวี เธอต้องมีความงามความประสาน
ความประสมกลมกลืนความชื่นบาน มีวญ ิ ญาณหยัง่ รู ้มธุ รทัศน์
เธอต้องเขียนชีวิตจากชีวติ นฤมิตถ้อยคาด้วยสัมผัส
สัมผัสใจสู่ ใจให้แจ่มชัด ไม่จากัดกวีไว้แต่ในคา”
ก. กวีตอ้ งชี้นาแนวทางการดาเนิน
ข. กวีตอ้ งสามารถสร้างงานอย่างสมจริ ง
ค. กวีตอ้ งไม่ติดอยูก่ บั กรอบแห่งฉันทลักษณ์
ง. กวีตอ้ งประจักษ์ในความงามอันประณี ตลึกซึ้ ง
๗๑. ข้อใดให้ภาพเด่นชัดที่สุด
ก. ค้อนเคืองชาเลืองหางตา บ่นบ้าเบื่อใจไม่ไกลกัน
ข. ยังต้องจิตติดใจที่ไว้วาง ไม่จืดจางคิดเรื้ อเบื่อกระบวน
ค. กลอนกังวานหวานฉ่ าสิ้ นสาเนียง จะเหลือเพียงภาพฝันของวันนี้
ง. ให้ไร้ทุกข์ไร้โศกไร้โรคภัย ร้ายข้างนอกร้อนข้างในให้หน่ายหนี

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 496
๗๒. ข้อใดพรรณนาเนื้ อความต่างจากกลุ่ม
ก. เห็นละหานธารน้ าไหลหลัง่ ร่ มไทรใบบังสุ ริยศ์ รี
ข. พิศไท้ไท้วา่ ไท้ ทินกร พิศอ่อนคือศศิธร แจ่มฟ้า
ค. วายุวเิ วกพัดมาเฉื่ อยฉิว ใบพฤกษาปลิวร่ วงระรุ บเย็นทุกเส้นหญ้า
ง. กะลิงกะลางนางนวลนอนเรี ยง พระยาลอคลอเคียง แอ่นเอี้ยงอีโก้งโทงเทง
๗๓. สานวนในข้อใดมีความหมายใกล้เคียงกับคาประพันธ์ต่อไปนี้มากที่สุด
“พักตร์จิตผิดประมาณ ยากรู ้”
ก. ปาปราศรัย ใจเชือดคอ
ข. ต่อหน้ามะพลับ ลับหลังตะโก
ค. คบคนให้ดูหน้า ซื้ อผ้าให้ดูเนื้ อ
ง. ข้างนอกสุ กใส ข้างในเป็ นโพลง
๗๔. ข้อใดไม่ใช่การพรรณนาฉาก
ก. หล่อนจะต้องอยูท่ ี่นี่และตายบนธรณี ผนื นี้
ข. ร่ างทะมึนบึกบึนของเขาตัดเด่นกับขอบฟ้าอันเวิง้ ว้าง
ค. เสี ยงหวีดของรถไฟก้องกรี ดขึ้นในความสงัดของราตรี
ง. ที่นี่คือนรก เต็มด้วยความร้อนแห้งผากและฝุ่ นบ้าๆ
๗๕. ข้อใดเป็ นประโยค
ก. นกปากห่าง ข. หิ นสี ขาว
ค. ลมมรสุ ม ง. กระดาษปลิว

ใช้ ประโยคต่ อไปนีต้ อบคาถามตั้งแต่ ข้อ ๗๖-๗๘


๑. เขาคนเดียว ๒. ใครที่มากับเขา
๓. ใครคนหนึ่งล้มลง ๔. เราไม่ชอบอาหารรสเผ็ด
๗๖. ข้อใดเป็ นประโยคปฏิเสธ
ก. ข้อ ๑ ข. ข้อ ๒
ค. ข้อ ๓ ง. ข้อ ๔
๗๗. ข้อใดไม่เป็ นประโยค
ก. ข้อ ๑ ข. ข้อ ๒
ค. ข้อ ๓ ง. ข้อ ๔

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 497
๗๘. ข้อใดเป็ นประโยคบอกเล่า
ก. ข้อ ๑ ข. ข้อ ๒
ค. ข้อ ๓ ง. ข้อ ๔
๗๙. จะลาบากยากเย็นอย่างไรเราก็ตอ้ ง........
ก. มีมานะ ข. อดทน
ค. อดออม ง. ทนทาน
๘๐. ถนน......นี้เป็ นถนนส่ วนบุคคล
ก. สาย ข. เส้น
ค. อัน ง. ทาง
๘๑. ข้อใดใช้คาลักษณนามไม่ถูกต้อง
ก. ข้าวหลามกระบอกไหนอร่ อยที่สุด
ข. พระองค์ภาฯ มีสุนขั ทรงเลี้ยง 5 ตัว
ค. วัดแสวงบุญนิมิตมีแม่ชีจานวน 5 คน
ง. ช่วยหยิบแคนเต้านั้นให้หน่อยคับ
๘๒. ข้อใดใช้คาลักษณนามไม่ถูกต้อง
ก. หนังสื อพิมพ์เล่มนี้มีเจ้าของหรื อยัง
ข. กระสวยอวกาศ 3 ลาถึงยังพื้นโลกแล้ว
ค. สมเด็จพระสังฆราชองค์น้ ี คนไทยรักและศรัทธายิง่ นัก
ง. หลังคาจากตับนี้มดั พร้อมขายได้
๘๓. ข้อใดใช้คาลักษณนามไม่ถูกต้อง
ก. เจดียท์ ุกองค์มีไว้เป็ นพุทธานุสติ
ข. ลิเกวงนี้มีชื่อเสี ยงมานาน
ค. พญานาคองค์น้ ีมีฤทธิ์ มากนัก
ง. ฉันท์ทุกบทมีการเน้นเสี ยงหนักเบา
๘๔. ข้อใดคือคาไวพจน์ของคาว่า “ดวงจันทร์ ”
ก. ทิชากร ข. ดุษฎี
ค. บริ มาส ง. ภาณุพงศ์

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 498
๘๕. ข้อใดมีคาลหุมากที่สุด
ก. สายัณห์ขายใจ
ข. รักจางที่บางปะกง
ค. คาสัญญาหนุ่มเชียงใหม่ถึงสาวพังงา
ง. ลารักจากสวนแตง
๘๖. ประโยคใดควรอยูล่ าดับที่ ๔
ก. โดยไม่ตอ้ งใช้เงิน ข. บางอย่าง
ค. บางอย่างได้มา ง. ใช้เงินก็ไม่ได้มา
๘๗. ประโยคใดอยูล่ าดับที่ ๓
ก. ยากแท้ ข. คนล้านคนมีลา้ นใจ
ค. เข้าใจคนหนึ่งคน ง. หาหนึ่งใจ
๘๘. ประโยคใดอยูล่ าดับที่ ๓
ก. กรุ ณาอย่าสาคัญตัวเองผิด ข. เพราะ “ผูห้ ญิง”
ค. ที่กู “รัก” มากที่สุด ง. นั้นคือ “แม่”
๘๙. ประโยคใดอยูล่ าดับที่ ๒
ก. ของรัก คือ ข. รับ
ค. หน้าที่แรก ง. ฟัง
๙๐. ประโยคใดอยูล่ าดับที่ ๔
ก. เราจะเห็นคุณค่าตัวเอง ข. คุณค่าเรา
ค. เมื่อมีคนเห็น ง. มากกว่าเดิม
๙๑. นี่คือ “กติกา” การแข่งขัน คาในข้อใดมีความหมายเช่นเดียวกับคาที่เน้นตัวหนา
ก. ข้อแนะนา ข. ข้อตกลง
ค. ข้อห้าม ง. ข้อเสนอ
๙๒. เชิญไปรับของ “สมนาคุณ” ได้ที่บริ ษทั คาในข้อใดมีความหมายเช่นเดียวกับคาที่เน้นตัวหนา
ก. รางวัล ข. ของที่ระลึก
ค. ของตอบแทน ง. ช่วยเหลือ
๙๓. รัฐบาล “ยับยั้ง” การเดินขบวน คาในข้อใดมีความหมายเช่นเดียวกับคาที่เน้นตัวหนา
ก. ระวัง ข. หยุดไว้
ค. รอคอย ง. เปลี่ยนแปลง

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 499

๙๔. เธอทาท่า “ยโส” เหลือเกิน คาในข้อใดมีความหมายเช่นเดียวกับคาที่เน้นตัวหนา


ก. ดื้อ ข. เด่น
ค. หยิง่ ง. สวย
๙๕. “มีแถลงการณ์ ” ของรัฐบาล คาในข้อใดมีความหมายเช่นเดียวกับคาที่เน้นตัวหนา
ก. คาสั่ง ข. คาอธิบาย
ค. คาแนะนา ง. คาตักเตือน
๙๖. เวลาจวนจะ “โพล้เพล้ ” คาในข้อใดมีความหมายเช่นเดียวกับคาที่เน้นตัวหนา
ก. ใกล้รุ่ง ข. ใกล้เที่ยง
ค. ใกล้ค่า ง. คาแล้ว
๙๗. กอดจูบลูบเนตรเกศ “กรรณ” คาในข้อใดมีความหมายเช่นเดียวกับคาที่เน้นตัวหนา
ก. ปาก ข. จมูก
ค. คอ ง. หู
๙๘. ข้อใดไม่ใช่ชื่อขนมชนิ ดหนึ่ง
ก. ข้าวแขก ข. ข้าวหมาก
ค. ข้าวบุหรี่ ง. ข้าวตู
๙๙. ข้าวเปลือกที่คว่ั จนแตกเป็ นดอกบานเรี ยกว่าอะไร
ก. ข้าวตาก ข. ข้าวตอก
ค. ข้าวตัง ง. ข้าวเม่า
๑๐๐. คาใดหมายถึงการเย็บหุม้ ริ มผ้าและของอื่นเพื่อให้สวยงาม
ก. ขลิบ ข. ขริ บ
ค. เนา ง. สอย
๑๐๑. ข้อใดไม่ใช่ความหมายของ “พระจันทร์ ”
ก. นิศากร ข. ทิวากร
ค. รัชนีกร ง. ศศิธร
๑๐๒. ข้อใดไม่ใช่ความหมายของ “ดอกไม้”
ก. บุษบง ข. บุษบา
ค. บุษบัน ง. บุษบก

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 500
๑๐๓. ข้อใดมีความหมายว่า พูดโต้เถียงไม่หยุดปาก
ก. ปากมาก ข. ปากตลาด
ค. ปากไม่ตกฟาก ง. ปากกล้า
๑๐๔. ผูร้ ้ายที่ปล้นบ้านตารวจ กล่าวเป็ นคาอุปมาว่าอย่างไร
ก. จุดไต้ตาตอ ข. ล้วงคองูเง่า
ค. ตีงูให้กากิน ง. เกลือจิ้มเกลือ
๑๐๕. คน “เจ้ากี้เจ้าการ” เป็ นคนอย่างไร
ก. ทาธุ ระให้คนอื่นโดยเขาไม่ตอ้ งขอร้อง
ข. วุน่ วายไม่สุดสิ้ น
ค. รับผิดชอบแทนผูอ้ ื่น
ง. ยุง่ ในเรื่ องส่ วนตัวของผูอ้ ื่น
๑๐๖. “กระโถนท้องพระโรง” หมายความว่าอย่างไร
ก. กระโถนใบใหญ่ มีราคาแพง
ข. ต้องรับภาระมากเกินกาลัง
ค. ต้องรับผิดชอบแทนผูอ้ ื่น
ง. ต้องถูกกล่าวร้ายหรื อรับบาปอยูเ่ สมอ
๑๐๗. สานวนในข้อใด มีความหมายว่า เป็ นไปโดยไม่ได้ต้ งั ใจ
ก. จับพลัดจับพลู ข. จับปู่ ใส่ กระด้ง
ค. จับดาถลาแดง ง. ตกกระไดพลอยโจน
๑๐๘. ศัพท์บญั ญัติ “ระเบียน” หมายถึงอะไร
ก. รายชื่อหนังสื อ ข. แบบสอบถาม
ค. บันทึกประวัติ ง. รายงานผลการค้นคว้า
๑๐๙. “ซื้ อควายหน้านา ซื้ อผ้าหน้าหนาว” หมายความว่าอย่างไร
ก. ซื้ อของได้ราคาถูก
ข. ซื้ อของถูกต้องตามฤดูกาล
ค. ซื้ อของได้ในราคาแพง
ง. ซื้ อของไม่ถูกต้องตามกาลเวลา

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 501
๑๑๐. การทาตัวเย่อหยิง่ เมื่อมีฐานะดีข้ ึน ตรงกับสานวนในข้อใด
ก. กิ้งก่าได้ทอง ข. วานรได้แก้ว
ค. หัวล้านได้หวี ง. มันเทศขึ้นโต๊ะ
๑๑๑. ข้อใดมีความหมายว่า “พลาดไปเพราะรู ้ไม่ทนั เล่ห์เหลี่ยม”
ก. เสี ยคน ข. เสี ยผี
ค. เสี ยจริ ต ง. เสี ยกล
๑๑๒. คาว่า “ประมาณ” มีความหมายตรงกับข้อใดมากที่สุด
ก. ประเมินค่า ข. ตีราคา
ค. พิจารณา ง. คาดคะเน

จงอ่านข้ อความต่ อไปนี้ แล้วตอบคาถามข้ อที่ ๑๑๓-๑๑๗


ช่วยชายรุ กรบราบาญ
แผ่คุณโอฬาร
อันเลิศบรรเจิดสมญา
๑๑๓. คาประพันธ์ดงั กล่าว เป็ นคาประพันธ์ประเภทใด
ก. กาพย์ ข. กลอน
ค. ฉันท์ ง. ร่ าย
๑๑๔. คาว่า “ราบาญ” หมายถึงความหมายในข้อใด
ก. กล้าหาญ ข. เก่ง
ค. รบ ง. ชานาญ
๑๑๕. คาว่า “สมญา” หมายถึงความหมายในข้อใด
ก. ชื่อ ข. ชื่อเสี ยง
ค. ยศศักดิ์ ง. แกล้วกล้า
๑๑๖. ข้อใด มีความหมายเกี่ยวกับคาว่า “โอฬาร”
ก. พันลึก ข. มหึมา
ค. รโหฐาน ง. ไพศาล
๑๑๗. ความหมายของคาประพันธ์ดงั กล่าว อยูใ่ นประเภทใด
ก. เปรี ยบเทียบ ข. พรรณนา
ค. ยอเกียรติ ง. ราพัน

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 502
๑๑๘. ในกาแฟมีสารเคมีชื่อคาเฟอีน ซึ่ งมีคุณสมบัติกระตุน้ ทั้งด้านจิตใจ ทางประสาท และทางกายทาให้
เกิดการกระปรี้ กระเปร่ า คล่องแคล่วว่องไว ไม่ซึมไม่ง่วง แต่เป็ นสภาพชัว่ คราว บางคนดื่มกาแฟแล้วถึง
นอนไม่หลับ คาเฟอีนช่วยขยายหลอดเลือดเล็กน้อยทาให้เลือดไหลเข้าสู่ หวั ใจและสมองได้ดีข้ ึน บางคน
ไม่ถูกกับกาแฟ ดื่มกาแฟแล้วเกิดการปวดศีรษะและระบบย่อยอาหารไม่ดี
ข้ อความข้ างต้ นกล่าวถึงเรื่ องใด
ก. ความรู ้เรื่ องกาแฟ
ข. คุณและโทษของการดื่มกาแฟ
ค. ข้อควรระวังในการดื่มกาแฟ
ง. ส่ วนประกอบของกาแฟที่สาคัญ
๑๑๙. ระบบชลประทาน เขื่อนกันน้ า และอ่างเก็บน้ า กรมชลประทานคิดแต่เพียงปริ มาณน้ าฝนในรอบปี
ซึ่งได้อิทธิพลจากพายุโซนร้อน แต่หลงลืมไปว่า ถ้าขาดป่ าและภูเขาซึ่ งเป็ นผูใ้ ห้กาเนิ ดอย่างแท้จริ ง ความ
ชุ่มชื่นที่พดั ผ่านมาก็ผา่ นเลยไป และถ้าเปลี่ยนเป็ นห่าฝนก็จะสาดกระหน่ าเรี ยกสวนไร่ นาก่อนจะแห้ง
เหื อดไปอย่างรวดเร็ ว ดังนั้น ระบบชลประทานในทศวรรษใหม่ตอ้ งคานึงถึงระบบนิเวศ ซึ่ งสอดคล้องกับ
แผนฟื้ นฟูการเกษตร นัน่ คือ การสร้างป่ าสวนครัวที่กินได้ และไม้ใช้สอยโดยเก็บกักน้ าไว้ในต้นพืชและ
ไร่ นาของเกษตรกรเอง
สาระสาคัญของข้ อความข้ างต้ นคือ
ก. กรมชลประทานควรให้ความสาคัญต่อแผนฟื้ นฟูการเกษตร
ข. กรมชลประทานควรคานึงถึงผลเสี ยในการสร้างเขื่อน
ค. การสร้างเขื่อนก่อให้เกิดผลเสี ยมากกว่าผลดี
ง. การสร้างเขื่อนต้องคานึงถึงระบบนิเวศ
๑๒๐. คนส่ วนมากมักลืมนึกไปว่า เมื่อเราพบสิ่ งที่เรี ยกว่า ขยะหรื อสิ่ งของเหลือใช้ ความเสี ยหายได้
เกิดขึ้นแล้ว และจะกลับไปเป็ นอย่างเดิมไม่ได้ เมื่อต้นไม้ถูกตัดมาทากระดาษโดยกระบวนการต่าง ๆ เรา
จะใช้ทรัพยากรนั้น มาแปรรู ปให้กลับมาเป็ นอย่างเดิมย่อมทาไม่ได้ ในแง่ของการคานึ งถึงทรัพยากรแล้ว
เราจาเป็ นต้องลดปริ มาณการบริ โภคหรื อใช้สิ่งของต่างๆ ที่ใช้ทรัพยากรเป็ นวัตถุดิบในการผลิตให้นอ้ ยลง
บทความนีค้ วรตั้งชื่ อเรื่ องว่าอย่างไร
ก. ปริ มาณการเพิ่มขึ้นของขยะ
ข. การตัดต้นไม้ก่อให้เกิดขยะ
ค. การใช้ทรัพยากรอย่างคุม้ ค่า
ง. ขยะมาจากวัตถุดิบแหลือใช้

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 503

เฉลยแนวข้ อสอบความรู้ความสามารถทั่วไปด้ านภาษาไทย ชุดที่ ๓


๑. เฉลยข้อ ค. วัยวุฒิ ถูกต้องคือ (ไว-ยะ-วุด-ทิ)
๒. เฉลยข้อ ก. สตรี อ่านถูกต้องคือ สัด-ตรี
๓. เฉลยข้อ ค. ปรกติ อ่านว่า ปรก – กะ – ติ
ทุนทรัพย์ อ่านว่า ทุน – ซับ หรื อ ทุน – นะ – ซับ
ภรรยา อ่านว่า พัน – ยา หรื อ พัน – ระ- ยา
มูลค่า อ่านว่า มูน – ค่า หรื อ มูน – ละ - ค่า
๔. เฉลยข้อ ก. รสนิยม อ่านว่า รด-นิ-ยม ส่ วนคาอื่น ๆ อ่านมีเสี ยงพยัญชนะและสระในพยางค์แรก
ต่อเนื่อง กับพยางค์หลัง
๕. เฉลยข้อ ข. ราชวัง ที่จริ งคานี้ ตอ้ งอ่านว่า ราด – วัง เพราะมิใช่คาสมาส แต่เป็ นคาที่นิยมอ่านหรื อ
คาสมาส
๖. เฉลยข้อ ค. ผิด ที่ถูกต้องคือ (ขะมักเขม้น)
๗. เฉลยข้อ ก. ถูกต้องถูกคา ส่ วนข้ออื่นๆ คาที่ผดิ คือ (พะหุ ถูกต้องคือ พหุ) (พะลี ถูกต้องคือ พลี) (พะบู
ถูกต้องคือ พบู)
๘. เฉลยข้อ ง. เขียนถูกต้องทุกคา ส่ วนข้ออื่นๆ มีคาผิดคือ (หมาไน ถูกต้องคือ หมาใน ) (สมโภชน์
ถูกต้องคือ สมโภช)
(อาเจียร ถูกต้องคือ อาเจียน)
๙. เฉลยข้อ ค. ประทะ ปักษิณ ที่ถูกต้องคือ ปะทะ ปักษิน
๑๐. เฉลยข้อ ข. ประนีต ประทักษิน ที่ถูกต้องคือ ประณี ต ประทักษิณ
๑๑. เฉลยข้อ ข. วัทน์ แปลว่า การพูด
๑๒. เฉลยข้อ ค. วิภาส แปลว่า ส่ องสว่าง, มีแสงสว่าง
๑๓. เฉลยข้อ ค. สุ นทรี , ยุพดี หมายถึง ผูห้ ญิง นนตรา หมายถึง ต้นกระถิน
ก. หมายถึง ทองทุกคา ข. หมายถึง งดงามทุกคา ค. หมายถึง ใจทุกคา
๑๔. เฉลยข้อ ง. วาลุกา แปลว่า กรวด ทราย ข้ออื่นเกี่ยวกับสัตว์ท้ งั หมด
วาสุ กรี แปลว่า พญานาค
วานริ นทร์ แปลว่า ลิง
วายุภกั ษ์ แปลว่า นกในวรรณคดี

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 504
๑๕. เฉลยข้อ ข. เขฬะ ฉิมพลี ทรัพย์ ปรนนิบตั ิ
๑๖. เฉลยข้อ ก. สังวาส
๑๗. เฉลยข้อ ก. ข้ออื่นคาประสมคือ น้ าแข็ง น้ าส้ม น้ าค้าง
๑๘. เฉลยข้อ ง. ส่ วนข้ออื่นๆ คาที่ไม่ใช่คาประสม คือ ซ่อนตัว ไก่ป่า ทอดไข่
๑๙. เฉลยข้อ ข. ต้องเขียนว่า ฉันซื้ อนม ๒ กระป๋ อง กระป๋ องละ ๑๐ บาท เพราะไม่ใช้ไม้ยมกข้าม
ประโยค
๒๐. เฉลยข้อ ข. กระโถน ฉบับ ประจาน
ก. ที่ไม่ใช่ คือ กงสี ค. ที่ไม่ใช่ คือ กุญแจ ง. ที่ไม่ใช่ คือ วิทยา
๒๑. เฉลยข้อ ง. ข้ออื่น ๆ ที่ไม่ใช่ คือ นีออน เข้มขาบ ประกายพรึ ก
๒๒. เฉลยข้อ ค. ซึ่ง เป็ นคาที่เหมาะสมที่สุด
๒๓. เฉลยข้อ ง. และ เป็ นคาที่เหมาะสมที่สุด
๒๔. เฉลยข้อ ง. โดยเฉพาะ แสดงความเจาะจง
๒๕. เฉลยข้อ ข. ทั้ง....และ เชื่อมความเข้าด้วยกัน
๒๖. เฉลยข้อ ข. ก็....กับ คาเชื่อมที่เกี่ยวข้องกัน
๒๗. เฉลยข้อ ง. อาจ....เช่น....หรื อ เป็ นคาที่เหมาะสมที่สุด
๒๘. เฉลยข้อ ค. และ....จึง.....เพราะ ข้อความเป็ นเหตุผลแก่กนั
๒๙. เฉลยข้อ ข. ธารพระกร หมายถึง ไม้เท้า
กาไลมือ หมายถึง ทองพระกร
ไม้เกาหลัง หมายถึง นารายณ์หตั ถ์
พานหมาก หมายถึง พานหมากเสวย
๓๐. เฉลยข้อ ง. รามะนา หมายถึง น. กลองรู ปกลมแบนตื้นหน้าเดียว
๓๑. เฉลยข้อ ค. ควรใช้ ลบหลู่
๓๒. เฉลยข้อ ค. ส่ วนข้ออื่นๆ มีความหมายเกี่ยวข้องกับการไม่ทะเลาะวิวาทไม่ให้กระทบกระเทือนใจกัน
๓๓. เฉลยข้อ ง. ขี่ชา้ งจับตัก๊ แตน - เข็นครกขึ้นภูเขา
๓๔. เฉลยข้อ ค. หมายถึง ได้เคราะห์ร่วมกับผูอ้ ื่นทั้งที่ไม่ได้มีส่วนพัวพัน
๓๕. เฉลยข้อ ง. หมายถึง ถ้อยคาที่คมคาย ข้ออื่น ๆ หมายถึง คาพูที่เชื่อไม่ได้ ไม่น่าเชื่อถือ
๓๖. เฉลยข้อ ค. การปรุ งอาหารนอกจากจะเป็ นศาสตร์ อย่างหนึ่งแล้วยังเป็ นศิลปะอย่างหนึ่งอีกด้วยสิ่ ง
เหล่านี้สะท้อนออกมาในรู ปแบบของการบริ โภคที่แตกต่างกันดังที่เราเห็นกันอยูท่ ุกวันนี้
๓๗. เฉลยข้อ ข. ม้าน้ าผูเ้ มียจะเอาท้องชนกันอยูจ่ นกระทัง่ แม่มา้ น้ าจะถ่ายไข่ออกหมด

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 505
๓๘. เฉลยข้อ ค. ควันนั้นจักบดบังความประภัสสรแห่งจิต
๓๙. เฉลยข้อ ง. แก้เสื้ อ อาจหมายถึง ซ่อมให้ดี หรื ออาจหมายถึง ถอดก็ได้
๔๐. เฉลยข้อ ค. มีความหมายชัดเจนที่สุด
ก. ไม่ทราบว่าเชิญใคร
ข. ไม่ทราบว่านาอะไรมาแสดง
ง. ไม่ทราบว่าชอบอะไร
๔๑. เฉลยข้อ ง. ป้าสาย/หยุดหายใจ หรื อ ป้าสายหยุด/หายใจ
๔๒. เฉลยข้อ ค. อาจหมายถึง หน้าตา/เศร้าหมอง หน้าตา คือใบหน้า หรื อ หน้า/ตาเศร้าหมอง หน้าตา คือ
หน้าของคุณตา
๔๓. เฉลยข้อ ค. คาขยายจะอยูห่ ่างจากคาที่ถูกขยายไม่ได้ จะทาให้เสี ยความหมาย “พรวดพราด” ขยาย
“วิง่ ”
๔๔. เฉลยข้อ ง. ชายและหญิง
๔๕. เฉลยข้อ ก. แม้มีความยากจนอย่างไร ก็ยอ่ มหาสามีคุม้ ครองได้
๔๖. เฉลยข้อ ก. โคลงสี่ สุภาพและกลอนสุ ภาพ
- เราแยกข้อความที่เค้ายกมาเป็ นคาประพันธ์ได้ ๒ ชนิด ดังนี้
1. โคลง 4 สุ ภาพ
พิเศษสารเสกสร้าง รังสรรค์
สารประจงจารฉัน- ทภาคพริ้ ง
พรายฉายเฉกเพชรพรรณ เพราเฉิ ด เลิศแล
ลายระยับสายสะอิง้ ส่ องสร้อยกรองทรวง
2. กลอนสุ ภาพ (กลอนแปด)
เศษสารเสกสร้างรังสรรค์สาร ประจงจารฉันทภาคพริ้ งพรายฉาย
แกเพชรพรรณเพราเฉิ ดเลิศแลลาย ระยับสายสะอิ้งส่ องสร้อยกรองทรวง
๔๗. เฉลยข้อ ง. ดูยอดเยีย่ มเทียมยอดยุคุนธร กระจังซ้อมแซมใบระกาบัง
- ทั้งนี้เพราะข้อ ก,ข,ค เป็ นการพรรณนาแบบตรงๆไม่มีการเปรี ยบเทียบ
ข้อ ง ต่างกับข้ออื่น เพราะเขียนแบบเปรี ยบเทียบ(ใช้ภาพพจน์) สังเกตจากคาว่า เทียม
(เหมือน)

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 506
๔๘. เฉลยข้อ ง. บุคคลวัตและอุปลักษณ์
- บุคคลวัต สังเกตจาก คลื่นรื่ นเร่ , เห่ , พร่ าฝากฝัง กับ ดาวเยีย่ มพักตร์ (เยีย่ มหน้า)
- อุปลักษณ์ เห็นจาก คันฉ่องชลาลัย คือ เปรี ยบชลาลัย (สายน้ า) กับ คันฉ่อง
(กระจก) โดยละคาเปรี ยบไว้ ซึ่งเป็ นการเปรี ยบแบบอุปลักษณ์
๔๙. เฉลยข้อ ค. ทั้งพญาคชสารชาติฉทั ทันต์ทะลึ่งถลันร้องวะแหวๆ
- ข้อ ก,ข,ง ให้อารมณ์เศร้า ๆ เหงา ๆ
- ข้อ ก สังเกตจาก ให้หวัน่ หวาด
- ข้อ ข สังเกตจาก วิเวก
- ข้อ ง สังเกตจาก คราง
ข้อ ค ให้อารมณ์ตกกะใจ สังเกตจาก ?ร้องวะแหวๆ? จึงต่างกับข้ออื่น
๕๐. เฉลยข้อ ข ข้อ ๒.
- ข้อ ๑ เปรี ยบความรักว่าร้อนเหมือน ไฟฟอน หมื่นไหม้
- ข้อ ๒ เปรี ยบการจากแล้วไม่พบว่า คือ ไฟ
- ข้อ ๓ เปรี ยบใจว่าปาน เพลิงกัลป์ (ไฟล้างโลก)
- ข้อ ๔ เปรี ยบใจว่า โดนไฟสุ ม ไหม้นิจนิรันดร์
จะเห็นว่าข้อ 1,3,4 เปรี ยบด้วยถ้อยคารุ นแรง ส่ วนข้อ 2 ถ้อยคาดูไม่รุนแรงเท่าข้ออื่นๆ
๕๑. เฉลยข้อ ค ข้อ 4.
- คาประพันธ์ที่ยกมาใช้ภาพพจน์(เปรี ยบเทียบ) แบบ อุปมา สังเกตจาก เพียง
- ข้อ 1 เปรี ยบแบบอุปมา สังเกตจาก ยิง่
- ข้อ 2 เปรี ยบแบบอุปลักษณ์ สังเกตจาก คือ
- ข้อ 3 เปรี ยบแบบอุปมา สังเกตจาก ปาน
- ข้อ 4 เปรี ยบแบบอติพจน์ สังเกตจาก ไหม้จิตต์เป็ นนิรันดร์
จึงมีอยู่ 2 ข้อ ที่เข้าข่าย คือ 1 กับ 3
แต่ขอ้ 1 ยิง่ เป็ น การเปรี ยบมากกว่า ไม่เหมือนข้อ 3 ปาน ซึ่ งเปรี ยบเท่ากันจึงตรงกับ
โจทย์ที่ให้มา (เพียง = เปรี ยบเทียบ ) ข้อ 3 จึงดีที่สุด

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 507
๕๒. เฉลยข้อ ค. ลดผลของกรรมที่ทามาในอดีต
- โจทย์ถาม ข้อใด ไม่ใช่ ผลจากอโลภะ อโทสะ อโมหะ คือไม่โลภ ไม่โกรธ และไม่
หลง นัน่ คือ การตัดหรื อละกิเลศ
ข้อ ก วิญญูชน (ผูร้ ู ้) สรรเสริ ญ (เป็ นประโยชน์จากการตัดกิเลศ)
ข้อ ข สกัดกั้นความชัว่ ที่จะเกิดขึ้น (เป็ นประโยชน์จากการตัดกิเลศ)
ข้อ ง สร้างประโยชน์และความสุ ข (เป็ นประโยชน์จากการตัดกิเลศ)
การตัดกิเลศ มุ่งตัดอกุศลกรรมที่จะเกิด ไม่ใช่ไปลดกรรม ในอดีต เพราะใน
ศาสนาพุทธถือว่า สิ่ งที่เกิดขึ้นแล้ว ถือว่าเกิดขึ้นจะแก้ไขไม่ได้แล้ว
๕๓. เฉลยข้อ ง. แดงศึกษาหลักฐานทางประวัติศาสตร์ในการทารายงาน
- หลักกาลามสู ตร สอนว่าก่อนเชื่อให้ใช้วิจารณญาณก่อนพูดง่ายๆควรเชื่ออย่างมีเหตุผล
- ข้อ ก เชื่ อตามคติโบราณ (ยังไม่ได้แสดงการใช้วจิ ารณญาณ)
- ข้อ ข เชื่ อตามใบปลิว (ยังไม่ได้แสดงการใช้วจิ ารณญาณ)
- ข้อ ค เชื่ อตามคาชักชวนของเพื่อน (ยังไม่ได้แสดงการใช้วจิ ารณญาณ)
ส่ วนข้อ ง การทารายงานโดยศึกษาจากหลักฐาน ถือว่ามีการใช้เหตุผลก่อน จึงถือว่า
ปฏิบตั ิตามหลักกาลาสู ตรที่สุดแล้ว
๕๔. เฉลยข้อ ข. ข้อ 2.
- วัฒนธรรม หมายถึง สิ่ งที่คนสร้างขึ้น
- ข้อ 1 มีวฒั นธรรม คือ สามโคกเป็ นเมืองตรี
- ข้อ 3 มีวฒั นธรรม คือ ศาลเจ้า, บายศรี
- ข้อ 4 มีวฒั นธรรม คือ บ้านงิ้ว
- ข้อ 2 เป็ นบรรยายถึงธรรมชาติไม่มีการกล่าวถึงวัฒนธรรม (สิ่ งที่คนสร้างขึ้น)
๕๕. เฉลยข้อ ข ข้อ 2.
- ข้อ 1 มีการแสดงอารมณ์ สังเกตจาก โศกถวิล
- ข้อ 3 มีการแสดงอารมณ์ สังเกตจาก ปลงจิต
- ข้อ 4 มีการแสดงอารมณ์ สังเกตจาก ขามขามใจ
๕๖. เฉลยข้อ ง. น้ าเชี่ยวอย่าขวางเรื อ
- ตามคาประพันธ์ที่ยกมา เค้าพูดว่า อย่าไปมีเรื่ องกับคนที่มีอานาจ ตรงกับสานวนว่า
น้ าเชี่ยวอย่าขวางเรื อ ซึ่ งเป็ นสานวนที่ไว้เตือนสติวา่ อย่าไปขวางคนที่มีอานาจ

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 508
๕๗. เฉลยข้อ ข. ความน่าเกรงขามของเคราะห์กรรมหรื อโชคชะตา
- ข้อ ข. ไม่มีปรากฏในเรื่ อง อัวรานางสิ งห์
๕๘. เฉลยข้อ ข. ความเห็นแก่ตวั ของมนุษย์เป็ นต้นเหตุให้สัตว์เกิดความทุกข์ทรมาน
- ข้อความนี้พูดถึงการที่คนเราจับอัวราไปขังไว้ในกรง โดยที่ตวั เองปลอดภัยแต่อวั รา
สู ญเสี ยอิสรภาพ
- ข้อ ก ผิดที่ อัวราสู ญเสี ยสัญชาตญาณสัตว์ป่า ที่ถูกคือ สู ญเสี ยอิสรภาพ
- ข้อ ค ผิดที่ ความกลัว....ทาให้เกิดสวนสัตว์ จริ งๆเฉพาะ ความอยากรู ้อยากเห็นทาให้
เกิดสวนสัตว์ แต่ ความกลัวทาให้เกิดกรงสัตว์ มากกว่า
- ข้อ ง ไม่จริ ง ที่วา่ มนุษย์หวั เราะความเดียวดายที่น่าเวทนาของอัวรา
- ข้อ ข ตรงตามแนวคิดของคนเขียนที่ตอ้ งการบอกว่า ความเห็นแก่ตวั (กลัวแต่อยาก
เห็น) ของมนุษย์ทาให้อวั ราโดนจับมาขังและได้รับความทุกข์ทรมาน
๕๙. เฉลยข้อ ง. ไม่มีพรเทพพรมนุษย์ เปรี ยบประดุจความดีที่ทาเอง
- แนวคิดหลักของพุทธศาสนา คือ เรื่ องของกรรมที่เป็ นผลจากการกระทาของตัวเราเอง
จึงตรงกับข้อ ง ที่สุด (ข้อ ง เขาย้าว่า ไม่มีพรอะไรเทียบความดีที่เราทาเอง)
๖๐. เฉลยข้อ ข. การแสดงภาพของชีวติ ที่สัมพันธ์กบั วัฒนธรรม
- ข้อความที่ยกมา บอกว่า กวีแสดง ชีวิตความเป็ นอยู่ ค่านิยม และจริ ยธรรมของคนใน
สังคมไว้ ข้อ ข จึงใกล้เคียงและดีที่สุดแล้ว
๖๑. เฉลยข้อ ก. จึ่งว่าเจ้าเหล่านี้นี่บ่าวใคร ฤาว่าไพร่ หลวงเลกสักข้อมือ
- ข้อ ข,ค,ง พูดถึงการใช้อานาจของนาย
- ข้อ ข สังเกตจาก กริ้ วกราด ด่าว่า ต้องลงหวาย
- ข้อ ค สังเกตจาก นายจะถอดให้เป็ นยายนายประตู
- ข้อ ง สังเกตจาก เฆี่ยนให้หนักแล้วสักหน้า
- ส่ วนข้อ ก เป็ นการถามไถ่ธรรมดาว่า เจ้าเป็ นบ่าวใคร หรื อเป็ นไพร่ หลวงหล่ะ
ข้อ ก จึงต่างจากข้ออื่นๆ
๖๒. เฉลยข้อ ข คาสอนทางพระพุทธศาสนา
- กลอนที่ยกมาถอดความไดประมาณว่า เจดียย์ งั ร้าวและทรุ ดโทรม เหมือนชื่อเสี ยง
เกียรติยศที่มีได้ก็หมดลงได้ ช่างอนิจจังจริ งจริ ง คือเหมือนๆกับเค้าต้องการบอกว่าทุก
อย่างมันอนิ จจังนะ จึงตรงกับข้อ ข ที่สุด เพราะพูดถึงอนิจจัง ซึ่งเป็ นคาสอนในศาสนา
พุทธ เรื่ องกฎไตรลักษณ์ (อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา)

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 509
๖๓. เฉลยข้อ ค. สถานภาพของสตรี
บทที่ตดั มานี้เป็ นพระราชนิพนธ์ของรัชกาลที่ ๒ ที่กล่าวถึงเจ้าจอมคนนึงของพระองค์ที่
เป็ นหญิงจีน แต่คนในวังไม่ชอบนัก (เพราะว่าเป็ นคนจีน)
๖๔. เฉลยข้อ ข เคารพในการบาเพ็ญทานของพระโอรส
- พูดง่ายๆ คือ พระเจ้ากรุ งสญชัยยอมทาตามที่พระเวสสันดรตกลงกับชูชกโดยไถ่ตวั ๒
กุมารตามที่พระเวสสันดรกาหนดค้าไถ่ตวั ไว้ ถือว่าทรงยอมรับ (เคารพ) ในการบาเพ็ญ
ทานของพระเวสสันดรนัน่ เอง
๖๕. เฉลยข้อ ก. แม้ในภาวะคับขันก็ยงั ยึดมัน่ ในความจงรักภักดี
- การที่ขนุ แผนเข้าลุแก่โทษ เป็ นเพราะเหตุผล ๒ ข้อ คือ
1) จงรักภักดีต่อพระพันวษา
2) กตัญญู กลัวพระพิจิตรจะเดือดร้อน
๖๖. เฉลยข้อ ง. ว่านครามินทร์ ผลัดแผ่นดินเปลี่ยนราช
- ข้อ ก มีเวลาตรง กันเอาไว้รุ่งไว้หน้า คือ เป็ นตอนกลางคืน (จะไปเจอรุ่ งเช้า
ข้างหน้า)
- ข้อ ข มีเวลาตรง รวิวรรณ รางเรื่ อ คือ พระอาทิตย์สีรางๆ = ตอนเย็น
- ข้อ ค มีเวลาตรง ดฤษถี...แน่ วันเมือ คือ มีการกาหนดวันไปที่แน่นอน
- ข้อ ง ไม่มีการบอกเวลาที่ชดั เจนเท่าข้ออื่น
๖๗. เฉลยข้อ ค. ความหลุดพ้นจากสังสารวัฏด้วยปัญญา
- บทประพันธ์น้ ี ถอดความได้ประมาณว่า
รู ้แจ้งในอริ ยสัจ ๔ (ใช้ปัญญา) จะทาให้คนเราพ้นจากห้วงสังสารวัฏ (สังสารวัฏใน
ที่น้ ีใช้แทนด้วย ทะเลวน)
ข้อ ค จึงถูกต้อง
ข้อ ง ผิดที่ ด้วยการศึกษาอริ ยสัจ ๔ จริ งๆต้อง รู ้แจ้งอริ ยสัจ 4 จึงจะถูกต้อง
๖๘. เฉลยข้อ ค. ความขัดแย้งที่ตอ้ งยอมรับความจริ งกับความอัดอั้นและทุกข์ใจ
- กาพย์บทนี้ ถอดความได้วา่ คงเป็ นเวรกรรม ทาให้ตอ้ งจากน้อง เศร้าจังเลย
ข้อ ค จึงดีที่สุด
๖๙. เฉลยข้อ ข. กาหนดพรุ กเพ็ญแท้ พันธนาไว้แล้
- เพ็ญ ในข้อ ก,ค,ง แปลว่า เต็ม
- เพ็ญ ในข้อ ข หมายถึง วันขึ้น ๑๕ ค่า หรื อวันที่พระจันทร์ เต็มดวง

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 510
๗๐. เฉลยข้อ ก. กวีตอ้ งชี้ นาแนวทางการดาเนิ นชีวติ
- มีคาศัพท์ที่ตอ้ งตีความคือ มธุ รทัศน์ คือ มองโลกด้วยในแง่ที่สวยงาม
(มธุ ร หมายถึง น้ าหวาน)
- ข้อ ข มีกล่าวในกลอนวรรคที่ ๕ เธอต้องเขียนชีวติ จากชีวติ
- ข้อ ค มีกล่าวในกลอนวรรคที่ ๘ ไม่จากัดกวีไว้แต่ในคา
- ข้อ ง มีกล่าวในกลอนวรรคที่ ๔ มีวญ ิ ญาณหยัง่ รู ้มธุ รทัศน์
มีเฉพาะข้อ ก ที่ไม่ได้กล่าวถึงในข้อความนี้
๗๑. เฉลยข้อ ก. ค้อนเคืองชาเลืองหางตา บ่นบ้าเบื่อใจไม่ไกลกัน
- ข้อ ก พรรณนาภาพได้ชดั เจนที่สุด สังเกตจาก ค้อน เคือง ชาเลืองหางตา
บ่นบ้าเบื่อใจ....
๗๒. เฉลยข้อ ข. พิศไท้ไท้วา่ ไท้ ทินกร พิศอ่อนคือศศิธร แจ่มฟ้า
- ข้อ ก,ค,ง พูดถึง ธรรมชาติที่มีการเคลื่อนไหว
- ข้อ ข พูดว่า เวลามองกษัตริ ยท์ ่านเหมือนดวงอาทิตย์ เวลามองนาง
นางเหมือนดวงจันทร์ ข้อนี้ค่อนข้างต่างจากข้ออื่นมากที่สุด
๗๓. เฉลยข้อ ก. ปากปราศรัย ใจเชือดคอ
- คาประพันธ์ที่ยกมา ถอดความได้วา่ หน้ากับใจไม่ตรงกันเลย จึงตรงกับข้อ ก มากที่สุด
(ปากปราศรัย น้ าใจเชือดคอ)
๗๔. เฉลยข้อ ก. หล่อนจะต้องอยูท่ ี่นี่และตายบนธรณี ผนื นี้
- ฉาก คือ สิ่ งแวดล้อม เช่น สถานที่และเวลา
- ข้อ ข มีฉากคือ ขอบฟ้าอันเวิง้ ว้าง
- ข้อ ค มีฉากคือ เสี ยงหวีดของรถไฟ
- ข้อ ง มีฉากคือ ที่นี่คือนรก เต็มไปด้วยความร้อนแห้งผากและฝุ่ นบ้าๆ
๗๕. เฉลยข้อ ง. เป็ นประโยคเพราะมีกริ ยารับ ซึ่ งมีคานาม คือ กระดาษ ปลิวเป็ นกริ ยาซึ่ งรับกับคานาม
รวมเป็ นประโยค
๗๖. เฉลยข้อ ง. ประโยคปฏิเสธมีคาว่า “ไม่” เราไม่ชอบอาหารรสเผ็ด
๗๗. เฉลยข้อ ก. เขาคนเดียว ไม่เป็ นประโยคเพราะไม่มีภาคแสดง
๗๘. เฉลยข้อ ค. ใครคนหนึ่งล้มลงเป็ นประโยคบอกเล่าเพราะมีประธานและกริ ยา คาว่าใครไม่แสดง
ความหมายเป็ นคาถาม แต่เป็ นสรรพนามบอกความไม่ช้ ีเฉพาะ (อนิยมสรรพนาม)
๗๙. เฉลยข้อ ข. เมื่อลาบากยากเข็ญก็ตอ้ งอดทน

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 511
๘๐. เฉลยข้อ ก. ถนนสายนี้เป็ นถนนส่ วนบุคคล ลักษณนามที่ถูกต้องของถนนคือสาย
๘๑. เฉลยข้อ ข. สุ นขั ทรงเลี้ยงใช้ “สุ นขั ” ต้องแก้เป็ น พระองค์ภาฯ มีสุนขั ทรงเลี้ยง ๕ สุ นขั
๘๒. เฉลยข้อ ก. ต้องใช้ “หนังสื อพิมพ์ฉบับนี้ มีเจ้าของหรื อยัง”
๘๓. เฉลยข้อ ค. พญานาคเป็ นอมนุษย์ตอ้ งใช้ “ตน”
๘๔. เฉลยข้อ ค. คาไวพจน์จาง่ายๆ ว่า “เขียนอย่างไรความหมายเหมือนเดิม” ซึ่ง บริ มาส หมายถึง
ดวงจันทร์
๘๕. เฉลยข้อ ข. คาลหุ จาง่ายๆ ว่า มีแต่สระเท่านั้น
๘๖. เฉลยข้อ ง. จัดเรี ยงได้ดงั นี้ ค, ก, ข, ง มีคาว่า “บางอย่าง” ซ้ ากัน ๒ จุด ให้สังเกตว่าอันใดใช้ก่อนให้
อยูล่ าดับก่อน
๘๗. เฉลยข้อ ง. จัดเรี ยงใหม่ได้ดงั นี้ ข, ก, ง, ค ความกระชับ เฉียบคมของข้อความเมื่อเรี ยงแล้วจะได้
“คนล้านคนมีลา้ นใจยากแท้หาหนึ่งใจเข้าใจคนหนึ่งคน”
๘๘. เฉลยข้อ ค. จัดเรี ยงได้ดงั นี้ ก, ข, ค, ง
๘๙. เฉลยข้อ ก. จัดเรี ยงได้ดงั นี้ ค, ก, ข, ง มีความเหมาะสมเมื่อจัดเรี ยงแสดงความเป็ นเหตุผลต่อกัน
๙๐. เฉลยข้อ ง. จัดเรี ยงได้ดงั นี้ ค, ข, ก, ง คาว่า “เมื่อ” ขึ้นต้นประโยคได้ตามด้วยประโยคที่สอดคล้อง
กัน
๙๑. เฉลยข้อ ข. คาว่า “กติกา” พจนานุกรมเขียนไว้ ดังนี้ กติกา น. กฎเกณฑ์หรื อข้อตกลงที่บุคคลตั้งแต่
2 ฝ่ ายขึ้นไปกาหนดขึ้นเป็ นหลักปฏิบตั ิ เช่น กติกาชกมวย กติกาฟุตบอล; (กฎ) หนังสื อ
สัญญา; ข้อตกลง. (ป.; อ. covenant). ดังนั้น ข้อ ข. จึงเป็ นคาตอบที่ถูกต้อง
๙๒. เฉลยข้อ ค. คาว่า “สมนาคุณ” พจนานุกรมเขียนไว้ ดังนี้ สมนาคุณ ก. ตอบแทนบุญคุณด้วยทรัพย์
สิ่ งของหรื อแรงงานเป็ นต้นแล้วแต่กรณี เช่น ร้านค้ามีของสมนาคุณผูซ้ ้ื อธนาคารให้ของ
สมนาคุณแก่ลูกค้า, เรี ยกทรัพย์หรื อสิ่ งของเป็ นต้นที่ให้ในลักษณะเช่นนั้นว่า เงิน
สมนาคุณ ของสมนาคุณ. ดังนั้น ข้อ ค. จึงเป็ นคาตอบที่ถูกต้อง
๙๓. เฉลยข้อ ข. คาว่า “ยับยั้ง” พจนานุกรมเขียนไว้ ดังนี้ ยับยั้ง ก. หยุดไว้, รั้งรอไว้, เช่น ยับยั้งใบลาไว้;
พักอยู.่ ดังนั้น ข้อ ข. จึงเป็ นคาตอบที่ถูกต้อง
๙๔. เฉลยข้อ ค. คาว่า “ยโส” พจนานุกรมเขียนไว้ ดังนี้ ยโส ก. เย่อหยิง่ เพราะถือตัวว่ามียศ มีปัญญา
มีความรู ้ มีกาลัง มีทรัพย์ ฯลฯ. ดังนั้น ข้อ ค. จึงเป็ นคาตอบที่ถูกต้อง

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 512
๙๕. เฉลยข้อ ข. คาว่า “แถลงการณ์” พจนานุกรมเขียนไว้ ดังนี้
แถลงการณ์ (กฎ) น. บรรดาข้อความที่ทางราชการแถลงเพื่อทาความเข้าใจในกิจการของ
ทางราชการหรื อเหตุการณ์หรื อกรณี ใดๆ ให้ทราบชัดเจนโดยทัว่ กัน. ก. อธิ บาย
เหตุการณ์เป็ นทางการ. ดังนั้น ข้อ ข. จึงเป็ นคาตอบที่ถูกต้อง
๙๖. เฉลยข้อ ค. คาว่า “โพล้เพล้” พจนานุกรมเขียนไว้ ดังนี้
โพล้เพล้ น. เวลาพลบค่า, เวลาจวนค่า, เวลาเข้าไต้เข้าไฟ, เพล้โพล้ ก็วา่ , ใช้วา่ พี้โพ้ ก็มี.
ดังนั้น ข้อ ค. จึงเป็ นคาตอบที่ถูกต้อง
๙๗. เฉลยข้อ ง. คาว่า “กรรณ” พจนานุกรมเขียนไว้ ดังนี้
กรรณ, กรรณ- น. หู, ใบหู , กลอน ใช้เป็ น กรรณา ก็มี เช่น กรรณาคือ
กลีบกาญจนปัทม์. (สมุทรโฆษ), ราชาศัพท์ใช้วา่ พระกรรณ.(ส. กรฺ ณ).
ดังนั้น ข้อ ง. จึงเป็ นคาตอบที่ถูกต้อง
๙๘. เฉลยข้อ ค. เป็ นคาตอบที่ถูกต้อง คาว่า “ข้าวบุหรี่ ” พจนานุกรมเขียนไว้ ดังนี้
ข้าวบุหรี่ น. ข้าวหุ งอย่างวิธีของแขกมีเครื่ องปรุ งและเนื้ ออยูใ่ นตัว. (กะบุลี แปลว่า ข้าว
ปรุ งอย่างแบบชาวกรุ งกาบุล). ข้าวแขก น. ชื่อขนมชนิดหนึ่งทาด้วยข้าวเปี ยก มีหน้า
คล้ายตะโก้ แต่สีเหลือง มีรสเค็ม ๆ มัน ๆ.
๙๙. เฉลยข้อ ข. เป็ นคาตอบที่ถูกต้อง คาว่า “ข้าวตอก” พจนานุกรมเขียนไว้ ดังนี้
ข้าวตอก น. ข้าวเปลือกข้าวเจ้าที่เอามาคัว่ ให้แตกบานเป็ นดอก.
๑๐๐. เฉลยข้อ ก. เป็ นคาตอบที่ถูกต้อง คาว่า “ขลิบ” พจนานุกรมเขียนไว้ ดังนี้
ขลิบ ก. เย็บหุ ม้ ริ มผ้าและของอื่น ๆ เพื่อกันลุ่ยหรื อเพื่อให้งามเป็ นต้น; (ถิ่น-ปักษ์ใต้)
ขยิบ เช่น ขลิบตา ว่า ขยิบตา.
บางคนอาจจะสงสัยว่า “ขริ บ” ถูก ก็ดูความหมายเลย ดังนี้
ขริ บ ก. ตัดเล็มด้วยตะไกรเป็ นต้น.
๑๐๑. เฉลยข้อ ข. เป็ นคาตอบที่ถูกต้อง คาว่า “ทิวากร” พจนานุกรมเขียนไว้ ดังนี้
ทิวากร น. พระอาทิตย์; (กลอน) กลางวัน เช่น ราตรี ปักษีเข้าแนบนอนทิวากรเราแนบ
ประจานาง. (กากี). (ป.).
๑๐๒. เฉลยข้อ ง. เป็ นคาตอบที่ถูกต้อง คาว่า “บุษบก” พจนานุกรมเขียนไว้ ดังนี้
บุษบก [บุดสะบก] น. มณฑปขนาดเล็กแต่ดา้ นข้างโปร่ ง เป็ นที่ประทับของ
พระมหากษัตริ ยใ์ นพระราชพิธี หรื อประดิษฐานปูชนียวัตถุเช่นพระพุทธรู ปเป็ นต้น.

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 513
๑๐๓. เฉลยข้อ ค. เป็ นคาตอบที่ถูกต้อง คาว่า “ตกฟาก” พจนานุกรมเขียนไว้ ดังนี้
ตกฟาก ก. เกิด, เรี ยกเวลาที่เด็กออกพ้นครรภ์มารดาว่า เวลาตกฟาก (พื้นเรื อนโบราณ
โดยมากเป็ นฟาก); โดยปริ ยายใช้ในลักษณะที่พูดคาเถียงคาไม่หยุดปากว่า เถียงคาไม่ตก
ฟาก.
๑๐๔. เฉลยข้อ ข. เป็ นคาตอบที่ถูกต้อง คาว่า “ล้วงคอ, ล้วงคองูเห่า” พจนานุกรมเขียนไว้ ดังนี้
ล้วงคอ, ล้วงคองูเห่า (ปาก) ก. บังอาจลักขโมยหรื อล่อลวงเอาทรัพย์สินเป็ นต้น จากผูท้ ี่
น่าเกรงขาม.
๑๐๕. เฉลยข้อ ข. เป็ นคาตอบที่ถูกต้อง คาว่า “เจ้ากี้เจ้าการ” พจนานุกรมเขียนไว้ ดังนี้
เจ้ากี้เจ้าการ น. ผูท้ ี่ชอบเข้าไปวุน่ ในธุ ระของคนอื่นซึ่ งมิใช่หน้าที่ของตนจนน่าราคาญ.
๑๐๖. เฉลยข้อ ข. เป็ นคาตอบที่ถูกต้อง คาว่า “กระโถนท้องพระโรง” พจนานุกรมเขียนไว้ ดังนี้
กระโถนท้องพระโรง น. กระโถนใหญ่ที่ต้ งั ไว้ที่ทอ้ งพระโรงในศาลาลูกขุนในสาหรับที่
ใคร ๆ บ้วนน้ าหมากหรื อทิ้งชานหมากได้; (สา) ผูท้ ี่ใคร ๆ ก็ใช้ได้หรื อผูท้ ี่ใคร ๆ ก็รุมใช้
อยูค่ นเดียว.
๑๐๗. เฉลยข้อ ก. เป็ นคาตอบที่ถูกต้อง คาว่า “จับพลัดจับพลู” พจนานุกรมเขียนไว้ ดังนี้
จับพลัดจับผลู ก. จับผิด ๆ ถูก ๆ; บังเอิญเป็ นไปโดยไม่ต้ งั ใจ.
๑๐๘. เฉลยข้อ ค.คาว่า “ระเบียน” พจนานุกรมเขียนไว้ ดังนี้
ระเบียน น. ทะเบียน, แบบ, เช่น ระเบียนประจาตัวนักเรี ยน. คาตอบที่ถูกต้องคือ ข้อ ค.
๑๐๙. เฉลยข้อ ง. คาว่า “ซื้ อควายหน้านา ซื้ อผ้าหน้าตรุ ษ, ซื้ องัวหน้านา ซื้ อผ้าหน้าหนาว” พจนานุกรม
เขียนไว้ ดังนี้
ซื้ อควายหน้านา ซื้ อผ้าหน้าตรุ ษ, ซื้ องัวหน้านา ซื้ อผ้าหน้าหนาว (สา) ก. ซื้ อของไม่
คานึงถึงกาลเวลา ย่อมได้ของแพง, ทาอะไรไม่เหมาะกับกาลเวลา ย่อมได้รับความ
เดือดร้อน. ตัวเลือกของข้อ ค. ซื้ อของได้ในราคาแพง กับ ข้อ ง. ซื้ อของไม่ถูกต้องตาม
กาลเวลา จะเห็นว่า ข้อ ง. ให้ความหมายได้ถูกต้องมากกว่า
๑๑๐. เฉลยข้อ ก. ความหมายของตัวเลือกดังกล่าว มีดงั นี้
- กิ้งก่าได้ทอง หมายถึง คนที่ไม่มีความสาคัญ ไม่เคยมีสมบัติและไม่มีความคิดด้วย
เมื่อได้รับลาภยศแม้เพียงเล็กน้อย ก็คิดว่าตนมีความสาคัญเหนื อผูอ้ ื่น เกิดความเห่ อ
เหิ มลืมตัวแสดงความเย่อหยิง่ จองหองวางท่าใหญ่โต คนเช่นนี้ ย่อมเป็ นที่รังเกียจ
ของคนเป็ นอันมาก
- ลิงได้แก้ว (สา) น. ผูท้ ี่ไม่รู้คุณค่าของสิ่ งมีค่าที่ได้มาหรื อที่มีอยู่ วานรได้แก้ว ก็วา่ .

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 514
- หัวล้านได้หวี (สา) น. ผูท้ ี่ได้สิ่งซึ่ งไม่เป็ นประโยชน์แก่ตน มักพูดเข้าคู่กบั ตาบอด
ได้แว่น เป็ น หัวล้านได้หวี ตาบอดได้แว่น.
- มันเทศขึ้นโต๊ะ ของเลวแต่เอาไปไว้ในที่สูงเกินไป
คาตอบที่ถูกต้องคือ ข้อ ก.
๑๑๑. เฉลยข้อ ง. คาในตัวเลือกดังกล่าว พจนานุกรมเขียนไว้ ดังนี้
- เสี ยคน ก. กลายเป็ นคนเสื่ อมเสี ยเพราะประพฤติไม่ดีเป็ นต้น เช่น เขาติดการพนัน
จนเสี ยคน.
- เสี ยผี ก. ทาพิธีเซ่นผีเพื่อขอขมาในความผิดเชิงชูส้ าวตามประเพณี ทอ้ งถิ่น.
- เสี ยจริ ต ว. เป็ นบ้า, มีสติวปิ ลาส, วิกลจริ ต.
- เสี ยกล ก. พลาดไปเพราะรู ้ไม่ทนั เล่ห์กลของเขา เช่น บัดนี้สุครี พฤทธิ รณ เสี ยกล
กุมภัณฑ์ยกั ษา. (รามเกียรติ์).
คาตอบที่ถูกต้องคือ ข้อ ง.
๑๑๒. เฉลยข้อ ง. คาว่า “ประมาณ” พจนานุกรมเขียนไว้ ดังนี้
- ประมาณ ก. กะหรื อคะเนให้ใกล้เคียงจานวนจริ งหรื อให้พอเหมาะพอควรเช่น
ประมาณราคาไม่ถูก. ว. ราว ๆ เช่น ประมาณ ๓-๔ เดือน.(ส. ปฺรมาณ; ป. ปมาณ).
คาตอบที่ถูกต้องคือ ข้อ ง.
๑๑๓. เฉลยข้อ ก. เป็ นคาตอบที่ถูกต้อง กาพย์มีหลายชนิด โจทย์ เป็ นกาพย์ฉบัง 16
๑๑๔. เฉลยข้อ ค. คาว่า “ราบาญ” พจนานุกรมเขียนไว้ ดังนี้
ราบาญ ก. รบศึก, รบ. (แผลงมาจาก ราญ). ดังนั้น ข้อ ค. จึงเป็ นคาตอบที่ถูกต้อง
๑๑๕. เฉลยข้อ ก. คาว่า “สมญา” พจนานุกรมเขียนไว้ ดังนี้
สมญา น. ชื่อที่ต้ งั ให้ กร่ อนมาจากคาว่า สมัญญา. ดังนั้น ข้อ ก. จึงเป็ นคาตอบที่ถูกต้อง
๑๑๖. เฉลยข้อ ข. คาว่า “โอฬาร” พจนานุกรมเขียนไว้ ดังนี้
- โอฬาร ว. ใหญ่โต, โอ่โถง, กว้างขวาง; ยิง่ ใหญ่, เลิศล้น; ประเสริ ฐ, ดี, เอาฬาร ก็ใช้.
(แผลงมาจาก อุฬาร). (ป.).
เรามาดูความหมายของคาในตัวเลือกกันก่อน ดังนี้
- พันลึก ว. พิลึก, พึงกลัว, แปลก, ลึกซึ้ ง, ใช้เข้าคู่กบั คา พันลือ เป็ นพันลึกพันลือ ก็มี.
มหึ มา ว. ใหญ่, โต, ใช้วา่ มหิ มา ก็มี.
- รโหฐาน น. ที่เฉพาะส่ วนตัว.
- ไพศาล ว. กว้างใหญ่. (ส. วิศาล; ป. วิสาล). ดังนั้น ข้อ ข. จึงเป็ นคาตอบที่ถูกต้อง

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 515
๑๑๗. เฉลยข้อ ค. เป็ นคาตอบที่ถูกต้อง ความหมายออกมาในทางยอเกียรติหญิงที่ไปช่วยฝ่ ายชายรบ
๑๑๘. เฉลยข้อ ค. ข้อควรระวังในการดื่มกาแฟ
- ข้อ ก. ความรู ้เรื่ องกาแฟ ผิด เพราะ บทความเน้นเรื่ องคาเฟอีนมากกว่ากาแฟ
- ข้อ ข. คุณและโทษของการดื่มกาแฟ ผิด เพราะ เนื้อหาของบทความไม่ได้เน้นที่ไป
คุณและโทษของกาแฟ
- ข้อ ง. ส่ วนประกอบของกาแฟที่สาคัญ ผิด เพราะ บทความไม่ได้กล่าวถึง
ส่ วนประกอบของกาแฟทั้งหมด แต่เน้นเรื่ องคุณสมบัติชว่ั คราวของคาเฟอีน และ
ผลกระทบของคาเฟอีนกับคนบางกลุ่ม
๑๑๙. เฉลยข้อ ก. จากข้อความของบทความที่กล่าวว่า “ดังนั้น ระบบชลประทานในทศวรรษใหม่ ต้อง
คานึงถึงระบบนิเวศ ซึ่ งสอดคล้องกับแผนฟื้ นฟูการเกษตร”
- ข้อ ข. กรมชลประทานควรคานึงถึงผลเสี ยในการสร้างเขื่อน ผิด เพราะ บทความ
ไม่ได้กล่าวไว้อย่างนั้น
- ข้อ ค. การสร้างเขื่อนก่อให้เกิดผลเสี ยมากกว่าผลดี ผิด เพราะ บทความไม่ได้กล่าว
ไว้อย่างนั้น
- ข้อ ง. การสร้างเขื่อนต้องคานึงถึงระบบนิเวศ ผิด เพราะ ในบทความกล่าวว่า “ระบบ
ชลประทานในทศวรรษใหม่ตอ้ งคานึงถึงระบบนิเวศ” ไม่ใช่การสร้างเขื่อนแต่เพียง
อย่างเดียว
๑๒๐. เฉลยข้อ ค. จากข้อความของบทความที่กล่าวว่า “ในแง่ของการคานึงถึงทรัพยากรแล้ว เรา
จาเป็ นต้องลดปริ มาณการบริ โภคหรื อใช้ส่ิ งของต่างๆ ที่ใช้ทรัพยากรเป็ นวัตถุดิบในการ
ผลิตให้นอ้ ยลง”
- ข้อ ก. ปริ มาณการเพิ่มขึ้นของขยะ ผิด เพราะ บทความไม่ได้กล่าวถึงการเพิ่มของ
ขยะเลย
- ข้อ ข. การตัดต้นไม้ก่อให้เกิดขยะ ผิด เพราะ บทความไม่ได้กล่าวไว้อย่างนั้น
- ข้อ ง. ขยะมาจากวัตถุดิบแหลือใช้ ผิด เพราะ บทความไม่ได้กล่าวไว้อย่างนั้น

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 516

แนวข้ อสอบความรู้ความสามารถทั่วไปด้ านภาษาไทย ชุดที่ ๔

จงอ่านข้ อความต่ อไปนีแ้ ล้วตอบคาถามข้ อที่ ๑- ๔


“...นักประพันธ์เป็ นผูห้ มุนโลก เป็ นผูบ้ นั ดาลชีวติ มนุษย์ ปากกาของนักประพันธ์มีอานาจมากในการ
จูงใจคนจะโดยรู ้ตวั หรื อไม่รู้ตวั ก็ตาม แต่นกั ประพันธ์ทาหน้าที่จูงใจคนอยูท่ ุกๆวัน....เมื่อปากกาของเรา
จะต้องจูงใจคนอ่านอยูโ่ ดยสภาพเช่นนี้แล้ว ก็ขอให้เราช่วยกันให้ผอู ้ ่านในทางที่ดี ช่วยจูงผูอ้ ่านไปในทาง
ฝ่ ายสู ง อย่าเขียนเรื่ องที่จะให้ผอู ้ ่านเคลิบเคลิ้มมัวเมาไปในทางต่า ถ้ายิง่ สามารถจะใช้ปากกาทาให้ผอู ้ ่าน
สามารถเข้าใจโลกและชีวติ ในทางที่ถูกต้องตามหลักพุทธธรรมแล้วก็เท่ากับนักประพันธ์ได้ช่วยกันทาบุญ
ทีเดียว...”
(ชีวติ และงานของพุทธทาสภิกขุ,ท่านพุทธทาสภิกขุ.)
๑. ตัวเลือกในข้อใดกล่าวไม่ถูกต้องจากข้อความข้างต้น
ก. นักประพันธ์สอนแง่มุมการใช้ชีวติ แก่มนุษย์
ข. ปากกาคือสัญลักษณ์ของนักประพันธ์
ค. คนอ่านจะดีหรื อชัว่ ส่ วนหนึ่งขึ้นอยูก่ บั ปากกาของนักประพันธ์
ง. นักประพันธ์เป็ นผูก้ าหนดชีวติ มนุษย์ต้ งั แต่เกิดจนตาย
๒. ข้อความตอนใดเป็ นใจความสาคัญของข้อความข้างต้น
ก. นักประพันธ์เป็ นผูห้ มุนโลก
ข. ปากกาของนักประพันธ์มีอานาจมากในการจูงใจคน
ค. นักประพันธ์ทาหน้าที่จูงใจคนอยูท่ ุกๆวัน
ง. ปากกาของนักประพันธ์ทาให้ผอู ้ ่านสามารถเข้าใจโลกและชีวติ ในทางที่ถูกต้อง
๓. ข้อใดเป็ นความรู ้สึกที่เด่นชัดที่สุดของท่านพุทธทาส
ก. ชื่นชมนักประพันธ์
ข. ต้องการเตือนสตินกั ประพันธ์
ค. ให้แนวทางการเลือกอ่านหนังสื อแก่ผอู ้ ่านทัว่ ไป
ง. เรี ยกร้องให้นกั ประพันธ์เขียนในสิ่ งที่ถูกต้อง
๔. “...นักประพันธ์ได้ทาบุญทีเดียว...” จากข้อความนี้ขอ้ ใดกล่าวได้ถูกต้องชัดเจนที่สุด
ก. เมื่อนักประพันธ์เขียนงานออกมาทาให้มีรายได้นามาทาบุญ
ข. การเขียนงานของนักประพันธ์ถือเป็ นการทาบุญอย่างหนึ่ง
ค. การถ่ายทอดความรู ้สึกของนักประพันธ์ลงในหนังสื อเล่มใดเล่มหนึ่งเป็ นการแสดงความดีที่ถือว่า
ได้บุญ

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 517
ง. การทาให้ผอู ้ ่านรู ้ในสิ่ งดี - สิ่ งชัว่ อย่างถูกต้อง
๕. ผูเ้ ขียนใช้โวหารการเขียนใดตามลาดับ
“ คาว่า สดุดี มาจากคาภาษาสันสกฤตว่า สฺ ดุดิ แปลว่า คายกย่อง คาสรรเสริ ญ คาสดุดี เป็ น
คากล่าวในพิธีเพื่อสรรเสริ ญบุคคล หรื อการกระทาของบุคคลที่ควรยกย่องสรรเสริ ญ เช่น คาสดุดีวีรชน
ผูเ้ สี ยสละชีวติ ปกป้ องแผ่นดินไทย คาสดุดีวรี กรรมของทหารกล้าทั้งหลาย คาสดุดีพลเมืองคนกล้าที่ต่อสู ้
กับนายทุนที่เข้ามากวาดซื้ อที่ดิน คาสดุดีจะกล่าวถึงคุณลักษณะคุณภาพ การกระทาที่มีประโยชน์ คุณค่า
และความดีที่ควรแก่การสรรเสริ ญ เป็ นต้น”
(สกุลไทย,กาญจนา นาคสกุล.)
ก. บรรยายโวหาร พรรณนาโวหาร ข. สาธกโวหาร บรรยายโวหาร
ค. บรรยายโวหาร อุปมาโวหาร ง. บรรยายโวหาร สาธกโวหาร
๖. บทความนี้ไม่ปรากฏการใช้โวหารการเขียนแบบใด
ก. บรรยายโวหาร ข. พรรณนาโวหาร ค. สาธกโวหาร ง. เทศนาโวหาร
๗. จากบทความข้างต้นควรตั้งชื่อเรื่ องอย่างไรจึงจะเหมาะสมที่สุด
ก. ความสาคัญของทรัพยากรดิน ข. สิ่ งมีชีวติ ในดินกับหัวใจของมนุษย์
ค. ประโยชน์ของดิน ง. ดินกับมนุษย์
จงอ่านข้ อความต่ อไปนีแ้ ล้วตอบคาถามข้ อที่ ๘ – ๑๒
“หมากเป็ นพืชพวกปาล์มลาต้นสู งเรี ยว มีใบที่ยอด ผลมีลกั ษณะเป็ นทะลายสี เขียวแก่ เมื่อสุ กมีสี
แดงปนแสดเรี ยกชื่อสี ชนิ ดนี้ วา่ สี หมากสุ ก เมล็ดหมากมีประโยชน์ใช้ยอ้ มแหและอวน ทาให้มีความ
คงทนไม่เปื่ อยเร็ ว เนื้อหมากดิบฝานให้ทาแผลน้ ากัดตามง่ามเท้า และหมากใช้เป็ นยาถ่ายให้สุนขั และ
แกะได้ จัน่ หมากใช้ดอกเป็ นอาหารจิม้ น้ าพริ ก กาบปูเลใช้ทาพัดและทาเป็ นเส้นเชื อกผูกสิ่ งของได้”
(สมาคมสมุนไพรแห่งประเทศไทย)
๘. บทความข้างต้นใช้โวหารชนิดใดในการเขียน
ก. บรรยายโวหาร ข. พรรณนาโวหาร ค. สาธกโวหาร ง. อุปมาโวหาร
๙. ผูเ้ ขียนมีวตั ถุประสงค์อย่างไรในการเขียนบทความข้างต้นนี้
ก. ให้ความสนุกสนาน ข. ให้ความรู ้เชิงสารคดี ค. ให้ความจรรโลงใจ ง. ให้ขอ้ คิด
๑๐. ข้อใดบรรยายลักษณะของหมากได้ชดั เจนที่สุด
ก. เมล็ดหมากมีประโยชน์ใช้ยอ้ มแหและอวนทาให้มีความคงทนไม่เปื่ อยเร็ ว
ข. หมากใช้เป็ นยาถ่ายให้สุนขั และแกะได้
ค. ลาต้นเรี ยวสู ง มีใบที่ยอดลาต้น ผลเป็ นทะลาย
ง. เนื้อหมากดิบใช้ทาแผลน้ ากัดง่ามมือง่ามเท้า

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 518

๑๑. ข้อใดไม่ ใช่ ประโยชน์ของหมาก


ก. ใช้เป็ นยาถ่ายให้สุนขั และแกะ ข. ใช้ทาแผลน้ ากัดตามง่ามมือง่ามเท้า
ค. เป็ นอาหารจิ้มน้ าพริ ก ง. ป้ องกันปากและเท้าเปื่ อย
๑๒. ส่ วนใดของหมากใช้ทาเส้นเชือกผูกสิ่ งของได้
ก. จัน่ หมาก ข. เมล็ดหมาก ค. ทะลาย ง. กาบปูเล
จากข้ อความต่ อไปนีใ้ ช้ ตอบคาถามข้ อที่ ๑๓ – ๑๔
“ ชาวบ้านที่มีอาชีพเพาะปลูกและเลี้ยงสัตว์ตอ้ งอาศัยน้ าเป็ นปั จจัยในการผลิต เขาจึงสร้างบ้านเรื อน
เป็ นหมู่รวมตัวกันตามริ มแม่น้ าลาคลองและขยายไปตามความยาวของลาน้ านั้น ชาวบ้านในภาคกลาง
ชอบเรี ยกหมู่บา้ นเช่นนี้วา่ ”บาง” และใช้เป็ นคาขึ้นต้นของหมู่บา้ นเหล่านี้ เช่น บางกอกน้อย บางหญ้า
แพรก บางขุนนนท์ บางปลาสร้อย ฯลฯ “
๑๓. ข้อสรุ ปใดกล่าวไม่ ถูกต้องจากข้อความข้างต้นนี้
ก. เหตุที่ชาวบ้านสร้างบ้านเรื อนตามริ มแม่น้ าเพราะความสะดวกในการเดินทางค้าขาย
ข. การเพาะปลูกต้องอาศัยน้ าเพื่อช่วยในการเจริ ญเติบโต
ค. น้ าเป็ นปั จจัยสาคัญในการประกอบอาชีพของชาวบ้าน
ง. บ้านเรื อนที่อยูต่ ิดเขาชาวบ้านจะไม่เรี ยกว่าบาง
๑๔. ข้อความข้างต้นประกอบด้วยคาสันธานกี่คา(นับคาซ้ า)
ก. ๒ คา ข. ๓ คา ค. ๔ คา ง. ๕ คา
๑๕. ข้อใดกล่าวไม่ ถูกต้ องเกี่ยวกับการทรงตัวท่านัง่ การอ่านในที่สาธารณะ
ก. ไม่เอนหลังพิงพนัก ข. วางแขนไว้บนโต๊ะ
ค. เคลื่อนไหวได้บา้ งตามธรรมชาติ ง. สามารถเปลี่ยนอิริยาบถท่านัง่ ได้ตามใจชอบ
๑๖. “...................ผูพ้ ูดมักมีกลวิธีการพูดที่น่าสนใจชวนติดตาม จึงใช้ถอ้ ยคาสานวนโวหารประกอบการ
พูด หรื อยกตัวอย่างต่างๆ มากมายเพื่อขยายเรื่ อง หรื อแนวคิดให้ชดั เจน ผูฟ้ ังต้อง..............ว่าผูพ้ ูดแฝง
ความหมายอะไรไว้”
ก. ฟังแล้วสามารถวิเคราะห์ได้ ข. ฟังแล้วตีความได้
ค. ฟังแล้วประเมินคุณค่าได้ ง. ฟังแล้วจับประเด็นได้
๑๗. บทประพันธ์ต่อไปนี้กล่าวถึงการพูดในด้านใด
“อันโซ่ตรวนพวนพันมันไม่อยู่ คนหนีสู้ซ่อนหมุนในฝุ่ นผง
แม้นผูกไว้ดว้ ยปากไม่จากองค์ อุตส่ าห์ทรงทราบแบบที่แยบคาย”
(เพลงยาวถวายโอวาท,สุ นทรภู่)
ก. การพูดมีอิทธิพลในการสร้างความสัมพันธ์ ข. การพูดมีผลต่อการประกอบอาชีพ

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 519
ค. การพูดมีอานุภาพยิง่ ใหญ่ ง. การพูดสะท้อนบุคลิกภาพของผูพ้ ูด
๑๘. ข้อความต่อไปนี้เป็ นการพูดแบบใด
“.....................เป็ นการพูดในลักษณะของการประเมินผล เพื่อให้ความรู ้ในเรื่ องใดเรื่ องหนึ่ง
โดยเฉพาะ โดยที่ผพู ้ ูดต้องคานึงอยูเ่ สมอว่า.................ของตนมีคุณค่าและมีผลที่จะก่อให้เกิดความรู ้แก่
ผูฟ้ ังเป็ นสาคัญ”
ก. การสอน ข. การวิพากษ์วจิ ารณ์ ค. การอธิบาย ง. การรายงาน
จงอ่านข้ อความต่ อไปนีแ้ ล้วตอบคาถามข้ อที่ ๑๙ – ๒๐
“การให้ทานพระภิกษุสงฆ์ หรื อให้ของแก่ใคร ไม่วา่ จะให้ของแก่พอ่ แม่ พี่นอ้ ง ญาติมิตรหรื อ
แม้แต่การเอาอาหารให้สัตว์ได้กิน ขณะนั้นจะเกิดกระแสบุญเป็ นแสงเรื องรองแผ่ออกจากตัวผูใ้ ห้ทนั ที
และเพียงไม่กี่วนิ าทีแสงนี้จะพุง่ หายไปเบื้องบน แล้วสะสมเป็ นกองบุญของผูใ้ ห้อยูบ่ นเทวโลก ดังนั้นจึง
ขอเน้นย้าหลักสาคัญที่สุดว่า ขณะของหลุดจากมือเมื่อใส่ บาตรหรื อถวายของแด่พระสงฆ์หรื อให้ของแก่
ใครก็ตาม เราต้องรี บอธิ ษฐานจิตแผ่บุญทันที”
(หนังสื ออินตก - เทพทานาย)
๑๙. ผูเ้ ขียนใช้โวหารการเขียนแบบใด
ก. บรรยายโวหาร ข. พรรณนาโวหาร ค. สาธกโวหาร ง. อุปมาโวหาร
๒๐. จุดมุ่งหมายของผูเ้ ขียนคือข้อใด
ก. สั่งสอน ข. ท้วงติง ค. แนะนา ง. ตักเตือน
จากข้ อความต่ อไปนีใ้ ช้ ตอบคาถามข้ อ ๒๑ – ๒๒
“ปั จจุบนั คุณวาณิ ชเป็ นนักเขียนอิสระเต็มตัว ซึ่ งน่าจะเป็ นไปได้วา่ คุณวาณิ ชค้นพบตัวเองว่า สิ่ งที่
เธอเป็ นได้ดีที่สุด...อย่างน้อยก็ขณะนี้...คือเป็ นนักเขียน เพราะเธอเขียนด้วยใจทาให้เรามีเพชรประดับ
วงการอีกเม็ดหนึ่ง และเป็ นเพชรล้ าค่าที่น่าภูมิใจยิง่ เพราะคุณวาณิ ชเธอพิสูจน์ตวั ของเธอให้เราเห็นด้วย
ผลงานหลายแบบหลายรส และในปี นี้ผลงานส่ วนหนึ่งของเธอก็ได้รับการคัดเลือกให้ได้รับรางวัลซี ไรต์
....รางวัลที่เปรี ยบกันว่าประดุจรางวัลโนเบลทางวรรณกรรมของไทย”
(วรรณกรรมปัจจุบนั )
๒๑. สิ่ งใดที่คุณวาณิ ชพิสูจน์ให้ผเู ้ ขียนเห็นว่า “เธอคือเพชรลา้ ค่ าทีน่ ่ าภูมิใจ” ตามที่ผเู ้ ขียนกล่าวถึง
ก. การเขียนงานด้วยความรู ้สึกที่เป็ นกลาง ข. การสร้างผลงานหลายแบบหลายรส
ค. ผลงานได้รับรางวัลซีไรต์ ง. ข้อ ข และ ค ถูกต้อง
๒๒. จากข้อความที่วา่ “ทาให้เรามีเพชรประดับวงวรรณกรรมอีกเม็ดหนึ่ง” ข้อสรุ ปใดกล่าวไม่ ถูกต้อง
ก. เพชรคือคุณวาณิ ช
ข. วงวรรณกรรมคือวงการเกี่ยวกับการสร้างงานเขียน
ค. นอกจากคุณวาณิ ชแล้วก็จะมีนกั เขียนคนอื่นอีกที่ได้รับการยกย่องเช่นนี้

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 520
ง. เพชรประดับวงวรรณกรรมเป็ นการใช้ภาพพจน์เปรี ยบเทียบ

บทประพันธ์ ต่อไปนีใ้ ช้ ตอบคาถามข้ อ ๒๓ – ๒๕


“ผืนนาทุกวันนี้ หลากหลายที่เป็ นสี เหลือง
ขาดปุ๋ ยจะประเทือง อกชาวนาจึงจาบัลย์
ผืนนาทุกวันนี้ หลายหลายที่เขาจัดสรร
ปลูกบ้านชื่นบานกัน ชาวนาไห้ในใจตัว
ชาวนาทุกวันนี้ ล้วนแต่มีที่พนั พัว
อกใจสั่นระรัว สุ ดจักทนก้มหน้าฝื น
ชาวนาทุกวันนี้ ละถิ่นที่เคยชุ่มชื่น
สู ้งานไม่ยงั่ ยืน กรรมกรในโรงงาน”
(เสี ยงเงียบจากชนบท,ศรี สัจจา.)
๒๓. ข้อใดกล่าวไม่ ถูกต้องจากบทประพันธ์ขา้ งต้น
ก. ปัญหาของชาวนา ข. ชาวนาออกมาหางานทาเป็ นกรรมกร
ค. ผืนนากลายเป็ นอาคารบ้านเรื อน ง. ชาวนาปลูกบ้านในผืนนาของตนเอง
๒๔. “ผืนนาทุกวันนี้ หลายหลายที่เขาจัดสรร” คาที่พิมพ์ตวั หนาหมายถึงกลุ่มบุคคลใดน้ อยทีส่ ุ ด
ก. นายทุน ข. ผูป้ ระกอบการ ค. สถาปนิก ง. พ่อค้าคนกลาง
๒๕. เหตุใดชาวนาต้องจากถิ่นฐานบ้านเกิดของตัวเอง
ก. ชาวนาอยากสุ ขสบาย ข. ชาวนาเบื่อที่อยูอ่ าศัยของตนเอง
ค. ชาวนาไม่อยากประกอบอาชีพทานา ง. ชาวนาไม่มีที่ทากินเป็ นของตนเอง

ข้ อความต่ อไปนีใ้ ช้ ตอบคาถามข้ อที่ ๒๖ – ๒๘


“ในวัฒนธรรมไทยแต่ด้ งั เดิมนั้น ความรู ้เฉพาะทาง เช่น การแพทย์ ดาราศาสตร์ งานช่างฯลฯ
ส่ วนใหญ่เป็ นความรู ้เฉพาะบุคคล ความรู ้เหล่านี้สูญหายได้ง่ายเนื่องจากขาดการบันทึกและ”หวงวิชา”
การถ่ายทอดมักกระทาภายในครอบครัวหรื อแก่ผฝู ้ ากตัวเป็ นศิษย์ เช่น การเรี ยนรู ้ผา่ นทางพระสงฆ์ การ
ได้รับความรู ้ในบางกรณี มีลกั ษณะ “ครู พกั ลักจา”
(ไทยศึกษา,มศท.)
๒๖. จากข้อความข้างต้นควรตั้งชื่ อเรื่ องใดเหมาะสมที่สุด
ก. ครู พกั ลักจา ข. หวงวิชา ค. วัฒนธรรมดั้งเดิม
ง. ความรู ้เฉพาะทาง: วิชาที่หายไปเพราะขากการบันทึก
๒๗. เหตุผลในข้อใดกล่าวไม่ ถูกต้องเกี่ยวกับการสู ญหายของวิชาการแพทย์ ดาราศาสตร์ และงานช่าง
ก. เป็ นความรู ้เฉพาะทาง ข. เป็ นความรู ้เฉพาะบุคคล

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 521
ค. ขาดการบันทึก ง. ผูถ้ ่ายทอดไม่มีความเชี่ยวชาญ

๒๘. คาว่า “ครู พกั ลักจา” น่าจะมีความหมายอย่างไร


ก. การศึกษาโดยตรงจากครู ผสู ้ อน ข. การมีเงื่อนไขของครู ผสู ้ อนกับศิษย์
ค. การปกปิ ดเทคนิคการเรี ยนรู ้บางอย่างเกี่ยวกับศิษย์ ง. การแอบศึกษาเรี ยนรู ้ดว้ ยตนเอง
๒๙. “สิ บปากว่าไม่ เท่าตาเห็น สิ บตาเห็นไม่ เท่ามือคลา สิ บมือคลาไม่ เท่าชานาญ” ข้อความนี้ใช้กลวิธี
เรี ยบเรี ยงคาอย่างไร
ก. เนื้อหาเข้มข้นขึ้นไปตามลาดับจนถึงขั้นสาคัญที่สุด
ข. ความสาคัญเท่าๆ กัน เคียงขนานกันไป
ค. คลายความเข้มข้นลงในประโยคสุ ดท้ายอย่างฉับพลันลง
ง. เรี ยงร้อยถ้อยคาให้เป็ นคาถามเชิงวาทศิลป์
ข้ อความต่ อไปนีใ้ ช้ ตอบคาถามข้ อที่ ๓๐ – ๓๒
“ การปลูกเรื อนไทยจะต้องใช้ไม้และช่างฝี มือประณี ตเป็ นปั จจัยหลักในการสร้างบ้านเรื อน ใน
ปั จจุบนั ไม้เป็ นวัสดุที่หายาก ราคาแพง ประกอบกับช่างปลูกบ้านเรื อนไทยมีจานวนน้อยไม่สะดวกใน
การจัดจ้าง แต่การปลูกเรื อนแบบตะวันตกให้ความสะดวกในด้านประโยชน์ใช้สอยและสามารถกาหนด
เงินค่าสร้างได้อย่างแน่นอน ประกอบกับมีสถาปนิกออกแบบได้สวยงาม ทันสมัย จึงจูงใจให้คนไทย
หันมานิยมการปลูกเรื อนไทยแบบตะวันตกมากกว่าเรื อนไทยเดิม”
(วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของไทย,มศท.)
๓๐. ข้อใดกล่าวถูกต้องเกี่ยวกับการสร้างบ้านเรื อนไทย
ก. การปลูกเรื อนไทยเป็ นที่นิยมของคนไทยสมัยนี้
ข. การปลูกเรื อนไทยมีจานวนมาก สะดวกแก่การจัดจ้าง
ค. การปลูกเรื อนไทยให้ความสะดวกในด้านประโยชน์ใช้สอย
ง. การปลูกเรื อนไทยจะต้องใช้ไม้และช่างฝี มือประณี ต
๓๑. สิ่ งจูงใจที่ทาให้คนไทยหันมานิยมปลูกเรื อนไทยแบบตะวันตกมากกว่าเรื อนไทยเดิมคือข้อใด
ก. ประโยชน์ใช้สอย ข. กาหนดค่าใช้จ่ายในการสร้างได้อย่างแน่นอน
ค. สถาปนิกมีจานวนมาก ง. ถูกทุกข้อที่กล่าวมา
๓๒. จากข้อความที่อ่านให้ประโยชน์ดา้ นใดแก่ผอู ้ ่านมากที่สุด
ก. ทราบถึงวัสดุในการสร้างบ้านแต่ละแบบ
ข. ทราบความแตกต่างของราคาที่นามาใช้ในการสร้างบ้าน
ค. ทราบประโยชน์ของการสร้างบ้านทั้งสอบแบบ
ง. เป็ นข้อมูลในการตัดสิ นใจสาหรับการเลือกสร้างบ้าน

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 522

ตัวเลือกต่ อไปนีใ้ ช้ ตอบคาถามข้ อ ๓๓ – ๓๔


“มีนกั รบชายมากมายถูกจารึ กชื่อไว้ในประวัติศาสตร์ ของจีน ว่าเป็ นผูก้ ล้าที่ยอมสละเพื่อชาติ แต่
แทบไม่มีใครรู ้เลยว่าเบื้องหลังยังมีขนุ ศึกหญิงที่ทาหน้าที่เป็ นสายลมใต้ ปีก ช่วยให้พวกเขาชนะศึกอีก
หลายหน วีรกรรมเปลก็ไกวดาบก็แกว่งของขุนศึกเหล่านี้ ไม่ได้มาจากความต้องการในลาภยศ แต่พวก
เธอก็ออกรบเพราะรักผูช้ ายของเธอเท่านั้น”
๓๓. ข้อใดไม่ ได้กล่าวถึงบทความข้างต้นนี้
ก. นักรบชายมากมายถูกจารึ กชื่อไว้ในประวัติศาสตร์ของจีน
ข. นักรบชายคือผูก้ ล้าที่ยอมสละเพื่อชาติ
ค. ขุนศึกหญิงเป็ นส่ วนหนึ่งที่ทาให้นกั รบชายชนะข้าศึก
ง. ขุนศึกหญิงออกรบเพื่อต้องการลาภยศ
๓๔. ข้อใดอธิบายความหมายของคาที่พิมพ์ตวั หนาได้ชดั เจนที่สุด
ก. ไม่เปิ ดเผย ข. ผูช้ ่วยรบ ค. ผูม้ ีจิตใจอ่อนโยน ง. ผูร้ ักสวยรักงาม
ข้ อความต่ อไปนีใ้ ช้ ตอบคาถามข้ อที่ ๓๕ – ๓๖
“ภาคใต้อยูใ่ กล้ทะเลจึงนิยมใช้ปลาโดยเฉพาะปลาทะเลทาเป็ นอาหาร ส่ วนประกอบของปลาที่
นามาบริ โภคและเป็ นที่ข้ ึนชื่ อของภาคใต้ คือ พุงปลา ซึ่ งได้จากการหมักเครื่ องในปลาทูหรื อปลาลัง เช่น
ตับ หัวใจ และกระเพาะที่รีดเอาสิ่ งสกปรกออกแล้วหมักกับเกลือประมาณ ๑ เดือน ภาษากลางเรี ยก
พุงปลาว่า ไตปลา ไตปลาจัดเป็ นอาหารของภาคใต้ชนิดหนึ่งนามาแกงกับเครื่ องน้ าพริ กและเครื่ องเทศกับ
ผักหลายชนิด ส่ วนเนื้ อหมู เนื้อวัว คนใต้ชอบน้อยกว่าปลา และรวมทั้งคนนับถือศาสนาอิสลามที่มีอยู่
จานวนมากในภาคใต้จะไม่บริ โภคเนื้ อหมู”
(วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของไทย,มศท.)
๓๕. ข้อใดไม่ ได้ กล่าวถึงจากข้อความข้างต้น
ก. สาเหตุที่คนอิสลามไม่บริ โภคเนื้อหมู
ข. ลักษณะภูมิประเทศที่ส่งผลต่อการเลือกบริ โภคอาหาร
ค. ชนิดของเครื่ องในปลาที่นามาทาเป็ นพุงปลา
ง. รายการอาหารของคนใต้
๓๖. ผูเ้ ขียนใช้โวหารการเขียนตามข้อใด
ก. บรรยายโวหาร, พรรณนาโวหาร ข. พรรณนาโวหาร,สาธกโวหาร
ค. บรรยายโวหาร,เทศนาโวหาร ง. บรรยายโวหาร,สาธกโวหาร

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 523

๓๗. ข้อความต่อไปนี้ผเู ้ ขียนกล่าวด้วยความรู ้สึกอย่างไรเด่นชัดที่สุด


“หากวันนี้ โลกกาลังถูกเปลี่ยนแปลง ธรรมชาติกาลังเสื่ อมสลาย ความร่ มเย็นเป็ นสุ ขของ
ชีวติ กาลังเสื่ อมสู ญ ชีวิตมิอาจอยูไ่ ด้ท่ามกลางการแตกสลายของพิภพ ในวันนี้ จึงมีเพียงมนุษย์เท่านั้นที่จะ
สามารถฟื้ นฟูความสมดุลของธรรมชาติให้แก่พ้นื พิภพ ขอได้โปรดพิทกั ษ์ธรรมชาติไว้เพื่อชีวิตอันยัง่ ยืน
นานบนผืนพิภพนี้”
(วรรณสารวิจกั ษณ์ ม.๔ เล่ม ๑ -๒)
ก. ขอความเห็นใจ ข. คับแค้นใจ ค. เสี ยใจ ง. วิงวอน

ข้ อความต่ อไปนีใ้ ช้ ตอบคาถามข้ อ ๓๘ – ๔๒


ก. การจัดลาดับความคิดตามเวลาหรื อเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น
ข. การจัดลาดับความคิดตามสถานที่ ค. การจัดลาดับความคิดตามทิศทาง
ง. การจัดลาดับความคิดตามความสาคัญ จ. การจัดลาดับความคิดตามความสัมพันธ์
๓๘. ข้อความต่อไปนี้ตรงกับการจัดลาดับความคิดเห็นของผูเ้ ขียนในข้อใด
“น้ าจะเกิดได้เพราะมีความชุ่มชื้นของป่ าไม้แห่งขุนเขาให้กาเนิดต้นน้ าลาธาร และป่ าไม้
สามารถสร้างระบบความสัมพันธ์อนั ซับซ้อน ตั้งแต่ไม้เล็กจนถึงไม้ใหญ่ได้ ด้วยมีผืนดินสร้างธาตุ
อาหารไว้ให้”
ก. ข้อ ก ข. ข้อ ข ค. ข้อ ง ง. ข้อ จ
๓๙. ข้อความต่อไปนี้ ตรงกับการจัดลาดับความคิดเห็นของผูเ้ ขียนในข้อใด
“ผูโ้ ดยสารรอโดยสารรถไฟตั้งแต่เมื่อวานเย็น กระทัง่ เช้านี้ก็ยงั ไม่ได้เดินทาง หลายคนจึงหา
อาหารประทังความคิดหิ วที่มาเยือน ทุกคนต้องนัง่ รอนอนรอ จนบ่ายวันนั้นนัน่ เองจึงได้ฤกษ์ออก
เดินทางเสี ยที”
ก. ข้อ ก ข. ข้อ ข ค. ข้อ ค ง. ข้อ ง
๔๐. ข้อความต่อไปนี้ตรงกับการจัดลาดับความคิดเห็นของผูเ้ ขียนในข้อใด
“ร้อยเอ็ดมีภูมิประเทศเป็ นที่ราบสู ง ทางตอนเหนือสุ ดมีภูสิงห์ก้ นั ระหว่างอาเภอกุฉินารายณ์
จังหวัด กาฬสิ นธุ์ ส่ วนทางตอนใต้มีทุ่งกว้างใหญ่ที่สุดในประเทศไทย คือ ทุ่งกุลาร้องไห้ ป่ าไม้ส่วนมาก
เป็ นป่ าไม้เบญจพรรณ”
ก. ข้อ ก ข. ข้อ ข ค. ข้อ ค ง. ข้อ ง
๔๑. ข้อความต่อไปนี้ ตรงกับการจัดลาดับความคิดเห็นของผูเ้ ขียนในข้อใด
“อาคารของโรงเรี ยนที่อยูต่ ิดกับสนามหญ้าเป็ นอาคารสาหรับผูบ้ ริ หารโรงเรี ยนอาคารที่สองมี
๓ ชั้น เป็ นอาคารเรี ยนของนักเรี ยน ส่ วนอาคารที่สามเป็ นเรื อนเพาะชาพืชผักสวนครัว”
ก. ข้อ ก ข. ข้อ ข ค. ข้อ ค ง. ข้อ ง

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 524

๔๒. ข้อความต่อไปนี้ ตรงกับการจัดลาดับความคิดเห็นของผูเ้ ขียนในข้อใด


“ปุ๋ ยที่เหมาะสม ได้แก่ มูลสัตว์ที่หาได้ในท้องถิ่น ใส่ ในอัตราเดือนละ ๕๐ – ๘๐ กิโลกรัม
ต่อไร่ โดยการหว่านในร่ องนา หรื อกองไว้ที่มุมแปลงนาด้านใดด้านหนึ่งแล้วแต่ความสะดวกหรื อผสม
ใช้ทาเป็ นปุ๋ ยหมักก็ได้ ส่ วนการใส่ ปุ๋ยวิทยาศาสตร์ น้ นั อาจใส่ ได้ตามที่กรมส่ งเสริ มการเกษตรแนะนา”
ก. ข้อ ก ข. ข้อ ข ค. ข้อ ค ง. ข้อ ง

ข้ อความต่ อไปนีใ้ ช้ ตอบคาถามข้ อ ๔๓ – ๔๕


“เชื่อกันว่าความสัมพันธ์ของคนกับสุ นขั นั้นเกิดจากการที่คนจาเป็ นต้องให้สุนขั เฝ้าที่อยูอ่ าศัย
และต่อมากคนก็สอนให้สุนขั ช่วยเหลืองานต่างๆ เช่น จับสัตว์ สุ นขั ที่นิยมเลี้ยงกัน ได้แก่ สุ นขั ไทย
สุ นขั พันธุ์อลั เซเซียน สุ นขั ไทยนั้นจะซื่ อสัตย์จงรักภักดีต่อเจ้าของมาก ฉลาดชอบอิสระ ทาอะไรตามใจ
ตนเอง มีท้ งั ที่หลังอานและไม่อาน สุ นขั ไทยจะมีอกกว้าง เอวเล็ก ใบหู ต้ งั ตรง หางเรี ยวยาว มีสีน้ าตาล
ดาขาว สี สวาด ขนสั้น สุ นขั พันธุ์อลั เซเซี ยลหรื อพันธุ์เยอรมัน เชฟเฟิ ร์ ด นิยมเลี้ยงกันเพราะเป็ นสุ นขั ที่
ฉลาด ซื่ อสัตย์ ดมกลิ่นเก่ง ตัวใหญ่ อกกว้าง แข็งแรง ขนยาว หางเป็ นพวง”
(นิตยสารรายปักษ์ live)
๔๓. ข้อใดไม่ ใช่ ลกั ษณะของสุ นขั พันธุ์ไทย
ก. ซื่อสัตย์ ฉลาด ข. ทาอะไรตามใจตนเอง เอวเล็ก
ค. ชอบอิสระ หางเรี ยวยาว ง. อกกว้าง ขนยาว
๔๔. ความสัมพันธ์ของคนกับสุ นขั เกิดจากอะไรเป็ นอันดับแรก
ก. เกิดจากคนต้องให้สุนขั เฝ้าที่อยูอ่ าศัย ข. เกิดจากคนให้สุนขั ชอบช่วยเหลืองาน
ค. เกิดจากความนิยมที่ชอบเลี้ยงสุ นขั ง. เกิดจากสุ นขั เป็ นสัตว์ที่ซื่อตรง และ ฉลาด
๔๕. สุ นขั พันธุ์อลั เซเซี ยนเรี ยกอีกอย่างหนึ่งว่าอะไร
ก. พันธุ์เยอรมัน บลูเบยอร์ ข. พันธุ์เยอรมัน เชฟเฟิ ร์ด
ค. พันธุ์อเมริ กา เซฟเวอร์ ง. พันธุ์อเมริ กา ร็ อกเลอร์
๔๖. ปวีณาต้องไปพูดที่จงั หวัดสุ ราษฎร์ ธานี ปวีณาควรกล่าวข้อความที่มีลกั ษณะพิเศษของสถานที่น้ นั ๆ
ตามข้อใดจึงจะเป็ นคาพูดที่เหมาะสมที่สุด
ก. เมืองร้อยเกาะ เงาะอร่ อย หอยใหญ่ ไข่แดง แหล่งธรรมะ
ข. เปิ ดประตูสู่ภาคใต้ ไหว้เสด็จในกรม ชมไร่ กาแฟ แลหาดทรายรี ดีกล้วยเล็บมือ ขึ้นชื่อรังนก
ค. นกน้ าเพลินตา สมิหลาเพลินใจ เมืองใหญ่สองทะเล เสน่ห์สะพานติณ ถิ่นธุ รกิจแดนใต้
ง. กรุ พระเครื่ อง เมืองคนแกร่ ง แหล่งศิลาแลงใหญ่ กล้วยไข่หวาน น้ ามันลานกระบือ

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 525

๔๗. บทประพันธ์ต่อไปนี้ เกี่ยวข้องกับการพูดในแง่มุมใด


“ก้านบัวบอกลึกตื้น ชลธาร
มรรยาทส่ อสันดาน ชาติเชื้อ
โฉดฉลาดเพราะคาขาน ควรทราบ
หย่อมหญ้าเหี่ ยวแห้งเรื้ อ บอกร้าย แสลงดิน”
(ประชุมโคลงโลกนิติ,สมเด็จกรมพระยาเดชาดิศร.)
ก. การพูดมีผลกระทบต่อผูพ้ ูดโดยตรง ข. การพูดสะท้อนบุคลิกภาพของผูพ้ ูด
ค. การพูดเป็ นการสร้างเสน่ห์ตรึ งใจ ง. การพูดมีอานุภาพที่ยงิ่ ใหญ่

๔๘. “สามีไม่กล้าบอกภรรยาว่าฝี มือทากับข้าวของภรรยาด้อยลง ไม่อร่ อยเหมือนแต่ก่อนเพราะกลัว


ภรรยาเสี ยใจ.....................” คาพูดของสามีในข้อใด เมื่อภรรยาฟังแล้วรู ้สึกดีที่สุด
ก. หมู่น้ ีไม่รู้เป็ นอะไร ผมทานข้าวได้นอ้ ย ข. หมู่น้ ีไม่รู้เป็ นอะไร เบื่ออาหารไปหมด
ค. คุณช่วยทาอาหารอร่ อยๆ กว่านี้ได้อีกไหม ง. ผมว่ารสชาติอาหารจืดชืดไปนะ คุณรู ้สึกไหม
ข้ อความต่ อไปนีใ้ ช้ ตอบคาถามข้ อ ๔๙ – ๕๐
“.........วิถีทางดาเนิ นของบ้านเมืองและประชาชนโดยทัว่ ไปมีความเปลี่ยนแปลงมาตลอด
เนื่องจากความวิปริ ตผันแปรของวิถีทางเศรษฐกิจ สังคม การเมือง และอื่นๆ ของโลก ยากยิง่ ที่เราจะ
หลีกเลี่ยงให้พน้ ได้ จึงต้องระมัดระวังประคับประคองตัวเรามากขึ้น โดยเฉพาะในเรื่ องการเป็ นอยูอ่ ย่าง
ประหยัด เพื่อที่จะอยูร่ อดและก้าวหน้าต่อไปได้โดยสวัสดี......”
(พระราชดารัสเนื่ องในโอกาสวันขึ้นปี ใหม่ ๓๑ ธ.ค. ๒๕๒๑ :วารสารในพระราชดาริ )
๔๙. พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ทรงห่วงใยประชาชนในเรื่ องใดมากที่สุด
ก. การว่างงาน ข. การประหยัด
ค. ความขัดแย้งทางการเมือง ง. การปรับตัวให้เข้ากับธรรมชาติ
๕๐. ข้อความข้างต้นใช้คาซ้อนกี่คา
ก. ๔ คา ข. ๕ คา ค. ๖ คา ง. ๗ คา
๕๑. “ น้ าหวานพูดกับหมูแฮมซึ่ งเป็ นเพื่อนรักว่า ฉันหวังว่าหมูแฮมคงจะตั้งใจเรี ยนหนังสื ออย่างเอาจริ ง
เอาจัง ไม่เที่ยวเตร่ หลงใหลอบายมุข หมูแฮมต้องคิดเอาไว้เสมอว่า เยาวชนเป็ นอนาคตของชาติ จึงควร
ประพฤติตวั ให้เหมาะสม” ข้อใดวิเคราะห์ขอ้ ความนี้ถูกต้องที่สุด
ก. ใช้ถอ้ ยคาสานวนยากเกินความจาเป็ น
ข. ใช้น้ าเสี ยงของภาษาไม่เหมาะสมกับความสัมพันธ์ของบุคคล
ค. ถูกต้องเหมาะสมและมีประโยชน์ต่อผูร้ ับสาร
ง. เลือกรู ปแบบเนื้ อหาได้เหมาะสม

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 526

ข้ อความต่ อไปนีใ้ ช้ ตอบคาถามข้ อที่ ๕๒ – ๕๓


“ปั จจุบนั ฉันอยูก่ บั ยาย ซึ่ งพ่อแม่ได้แยกทางกันตั้งแต่ฉนั อยูอ่ นุบาล ฉันเสี ยใจที่พอ่ แม่แยก
ทางกัน แต่ฉนั ก็ไม่เอาเรื่ องนี้ มาเป็ นปมด้อยของชีวิต ฉันตั้งใจเรี ยนเพื่ออนาคตของตัวเอง ฉันไม่มี
ความสุ ขสักเท่าไรที่เป็ นเช่นนี้ แต่เวลาที่พอ่ แม่โทร.มาหาฉันหรื อมาหาฉันที่บา้ นและนอนกับฉัน วันนั้น
ฉันมีความสุ ขมากที่สุดและอยากเป็ นเช่นนี้ ตลอดไป...........”
(สกุลไทย,เด็กหญิงภณิ ดา สิ ริสุวฒั น์ตระกูล)
๕๒. ข้อใดแสดงให้เห็นว่าผูเ้ ขียนยอมรับปั ญหาที่เกิดขึ้นได้
ก. ปั จจุบนั ฉันอยูก่ บั ยาย ข. พ่อแม่ได้แยกทางกันตั้งแต่ฉนั อยูอ่ นุบาล
ค. ฉันเสี ยใจที่พอ่ แม่แยกทางกัน ง. แต่ฉนั ก็ไม่เอาเรื่ องนี้มาเป็ นปมด้อยของชีวิต
๕๓. ความสุ ขของผูเ้ ขียนคือข้อใด
ก. การได้อยูก่ บั ยาย ข. การตั้งใจเรี ยนเพื่ออนาคตของตัวเอง
ค. สามารถเข้าใจปัญหาที่เกิดขึ้นได้อย่างเข้มแข็ง ง. มีความหวังว่าจะได้อยูก่ บั พ่อแม่
ข้ อความต่ อไปนีใ้ ช้ ตอบคาถามข้ อ ๕๔ – ๕๖
“เมื่อธรรมชาติอุดมสมบูรณ์ ทุกชีวติ ก็ยอ่ มอยูอ่ ย่างร่ มเย็นเป็ นสุ ข ถ้าความสัมพันธ์ทาง
ธรรมชาติแตกสลายทุกชีวติ ก็ไม่อาจดารงอยูไ่ ด้ การแตกสลายของธรรมชาติน้ นั เกิดขึ้นจากธรรมชาติถูก
รุ กราน เช่น ป่ าถูกทาลายก็จะทาให้แหล่งต้นน้ าลาธารสู ญสิ้ นไปด้วย การพัฒนา การดารงชีวติ ของ
มนุษย์มีผลกระทบถึงระบบความสัมพันธ์ของธรรมชาติ ในการพัฒนาด้านการเกษตรกรรมนั้นทาให้มี
การเปลี่ยนแปลงป่ าเป็ นแหล่งเพาะปลูกพืชพรรณธัญญาหาร พื้นที่ป่าก็ลดลงเรื่ อยๆ เมื่อป่ าไม้ลดลงความ
ชุ่มชื้นก็นอ้ ยลง ความแห้งแล้งก็มากขึ้น ส่ วนในการพัฒนาด้านอุตสาหกรรม ก๊าซพิษจากยานพาหนะและ
โรงงานทาให้อากาศเสี ย เกิดฝนกรด โอโซนในบรรยากาศถูกทาลาย ความร้อนไม่สามารถกระจายไปสู่
บรรยากาศได้”
(เอกสารของกรมส่ งเสริ มคุณภาพสิ่ งแวดล้อม กระทรวงวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและสิ่ งแวดล้อม)
๕๔. ข้อใดไม่ ใช่ สาเหตุทาให้เกิดฝนกรด
ก. การเผาพลาสติก ข. ก๊าซพิษจากยานพาหนะ
ค. ทิ้งขยะลงแม่น้ าลาคลอง ง. ควันจากโรงงานอุตสาหกรรม
๕๕. ข้อใดไม่ ได้ กล่าวในบทความข้างต้น
ก. เมื่อใบไม้ร่วงลงสู่ พ้ืนดินก็จะผุพงั เน่าเปื่ อย
ข. ถ้าป่ าถูกทาลายจะทาให้ตน้ น้ าลาธารสู ญสิ้ นไปด้วย
ค. การแตกสลายของธรรมชาติน้ นั เกิดขึ้นจากธรรมชาติถูกรุ กราน
ง. ถ้าความสัมพันธ์ทางธรรมชาติแตกสลายทุกชีวติ ก็ไม่อาจดารงอยูไ่ ด้

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 527

๕๖. การพัฒนาด้านเกษตรกรรมทาให้มีการเปลี่ยนแปลงอย่างไร
ก. เปลี่ยนแปลงป่ าเป็ นที่สะสมธาตุอาหารในดิน
ข. เปลี่ยนแปลงป่ าให้เป็ นแหล่งต้นกาเนิดแม่น้ าลาธาร
ค. เปลี่ยนแปลงป่ าเป็ นแหล่งเพาะปลูกพืชพันธุ์ธญ ั ญาหาร
ง. เปลี่ยนแปลงป่ าให้มีที่เจริ ญเติบโตของต้นไม้และพันธุ์พืช
ข้ อความต่ อไปนีใ้ ช้ ตอบคาถามข้ อ ๕๗ – ๕๘
(๑) นกนางแอ่นที่พบในลุ่มน้ าทะเลสาบสงขลา (๒) ส่ วนมากจะอาศัยอยูใ่ นบริ เวณเกาะสี่ เกาะ
ห้า(๓)ซึ่ งตั้งอยูใ่ นทะเลสาบตอนกลางในจังหวัดพัทลุง (๔)มีลกั ษณะทางภูมิอากาศพื้นที่ราบ
เป็ นพื้นดิน มีหินโผล่โดยทัว่ ไป (๕)ส่ วนที่เป็ นหิ นจะเป็ นภูเขาหิ นปูน รายรอบด้วยผาชัน
ภายในภูเขาหิ นปูนมีโพรงถ้ าใหญ่นอ้ ยมากมาย
(ทะเลสาบสามน้ า มหัศจรรย์แห่งลุ่มน้ าทะเลสาบ)
๕๗. ข้อความตอนใดใช้คาผิดความหมาย
ก. ตอนที่ ๑ ข. ตอนที่ ๒ ค. ตอนที่ ๓ง. ตอนที่ ๔
๕๘. ข้อความตอนใดเป็ นการแสดงความคิดเห็นของผูเ้ ขียน
ก. ตอนที่ ๑ ข. ตอนที่ ๒ ค. ตอนที่ ๓ ง. ตอนที่ ๔

ข้ อความต่ อไปนีใ้ ช้ ตอบคาถามข้ อ ๕๙ – ๖๐

มุนินทร์ กบั ลูกศร คนหนึ่งสวยมากๆ กับอีกคนน่ารักมากๆ แต่ตามเนื้อเรื่ อง ทั้งคู่ไม่มีคนมาจีบ


เข้าหลักการที่วา่ คนสวยมากๆ น่ารักมากๆ มักจะไม่มีคนจีบ เพราะคนอื่นคิดว่าต้อง มีแฟนแล้ว หรื อคง
จีบไม่ติดหรอก (อาจเรี ยกได้วา่ “ตลาดบน”) ทาให้คนสวย น่ารัก ระดับกลางๆ คนแย่งกันจีบเยอะมาก
เพราะคนส่ วนใหญ่คิดว่า ตัวเองมีโอกาสจีบติดมากกว่า ทาให้เกิดการแข่งขันที่สูงมาก(ตลาดระดับกลาง)
แต่ตลาดบนสุ ด แม้คู่แข่งจะน้อยแต่จะเจอคู่ แข่งที่แข็งแกร่ งมาก(อาจจะดารา หรื อหนุ่มไฮโซ รวยๆ
หล่อๆ ประวัติดี ในระดับที่เราไม่มีปัญญาไปแข่งได้) การรุ ก ตลาดระดับบน แม้คู่แข่งน้อย แต่คู่แข่งเก่ง
โอกาสชนะของเราคือ คุณค่าที่สาคัญสาหรับกลุ่มเป้ าหมาย และความต้องการของลูกค้า ที่อาจจะตรงกับ
คุณค่าที่เราส่ งมอบ กลุ่มเป้ าหมายที่เป็ นตลาดบน อาจจะไม่ได้ชอบคนหล่อ รวยเสมอไป แต่เราดันมี
คุณสมบัติอื่นที่น่าสนใจกว่าสาหรับเค้า เช่น เก่งกว่า ฉลาดกว่า เล่นดนตรี เก่งเล่นกีฬาเก่ง เป็ น คนตลก
ดูแลดี เป็ นต้น (ตลาดบน ชอบหล่อ รวย ประวัติดี เป็ นค่านิยมร่ วมที่เกิดจากทัศนคติการใช้ชีวติ
สิ่ งแวดล้อม เพื่อนฝูง คนใกล้ตวั ปลูกฝัง แต่อาจจะไม่เป็ นอย่างนั้นเสมอไป)ดอกฟ้ากับหมาวัด จึงไม่ใช่
สิ่ งเพ้อฝันที่มีแค่ในละคร แต่ก็มีเกิดขึ้นจริ งๆ เช่นกัน

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 528
๕๙. หลักการและทฤษฎีที่ใช้ในข้อความดังกล่าวมีอะไรบ้าง
ก. หลักการตลาดและทฤษฎีเกม ข. หลักการตลาดและทฤษฎีกลไกตลาด
ค. หลักการตลาดและทฤษฎีกา้ วกระโดด ง. หลักการตลาดและทฤษฎีการพัฒนาตนเอง
๖๐. หลักการอ่าน OK3R กับ SQ3R มีหลักที่เหมือนกันอยูก่ ี่ขอ้ อะไรบ้าง
ก. ๑ ข้อ การอ่าน ( Read)
ข. ๑ ข้อ การจดจา (Recite)
ค. ๒ ข้อ การระลึก ( Recall) กับการจดจา (Recite)
ง. ๒ ข้อ การระลึก (Recall) กับการทบทวน ( Review)

บทประพันธ์ ต่อไปนีใ้ ช้ ตอบคาถามข้ อ ๖๑

ฝ่ ายครัวประชานครราช คณะชาติทหารชาญ
สัตรี และส่ าบุรุษมานาน มนร่ วมสมานฉันท์
(วสันตดิลกฉันท์ ๑๔ )

๖๑. ข้อใดเป็ นคาลหุ


ก. นคร บุรุษ มน ข. ชาติ คณะ มาน
ค. สัตรี ทหารชาญ มน ง. บุรุษ สมานฉันท์ ชาติ

ตัวเลือกต่ อไปนีใ้ ช้ ตอบคาถามข้ อ ๖๒ – ๖๖

๑) กลอนดอกสร้อย ๒) กลอนเสภา ๓) กลอนนิทาน


๔) กลอนบทละคร ๕) กลอนสักวา

๖๒. คาประพันธ์ต่อไปนี้มีลกั ษณะการแต่งตรงกับข้อใด


“เมื่อนั้น พระยาไมยราพยักษา
เห็นกระบี่นอนทอดกายา ก็ปรี ดาเงือดเงื้อกระบองตาล
กวัดแกว่งสาแดงแผลงฤทธิ์ เสี ยงสนัน่ ครรชิตทุกทิศาน
สองเท้ากระเหย่งเผ่นทะยาน ขุนมารก็ตีลงไป ฯ”
(รามเกียรติ์: พระราชนิพนธ์ใน ร.๑)
ก. ข้อ ๑ ข. ข้อ ๒ ค. ข้อ ๓ ง. ข้อ ๔

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 529

๖๓. คาประพันธ์ต่อไปนี้มีลกั ษณะการแต่งตรงกับข้อใด


“ความเอ๋ ยความรู ้ทุกอย่างอาจเป็ นครู หากศึกษา
เห็นสิ่ งใดใช้สมองลองปั ญญา ใคร่ ครวญหาเหตุผลจนแจ้งใจ
อันความรู ้เรี ยนเท่าไหร่ ก็ไม่จบ ยิง่ ค้นพบก็ยงิ่ มีที่สงสัย
ใช้ความรู ้ผดิ ทางสร้างทุกข์ภยั รู ้จกั ใช้ทาประโยชน์สุขโสตถ์เอย”
(ฐาปะนีย ์ นาครทรรพ)
ก. ข้อ ๑ ข. ข้อ ๒ ค. ข้อ ๓ ง. ข้อ ๔

๖๔. คาประพันธ์ต่อไปนี้มีลกั ษณะการแต่งตรงกับข้อใด


“สักวาดาวจระเข้ก็เหหก ศีรษะตกหันหางขึ้นกลางหาว
เป็ นวันแรมแจ่มแจ้งด้วยแสงดาว น้ าค้างพราวปรายโปรยโรย
ละอองลมเรื่ อยเรื่ อยเฉื่อยฉิวต้องผิวเนื้ อ ความหนาวเหลือทานทนกระมลหมอง
สกุณากาดุเหว่าก็เร่ าร้อง ดูแสงทองจับฟ้าขอลาเอย”
(ของเก่า)
ก. ข้อ ๑ ข. ข้อ ๒ ค. ข้อ ๓ ง. ข้อ ๕
๖๕. คาประพันธ์ต่อไปนี้มีลกั ษณะการแต่งตรงกับข้อใด
“เจ้าพลายงามความแสนสงสารแม่ ชาเลืองแลดูหน้าน้ าตาไหล
แล้วกราบกรานมารดาด้วยอาลัย ลูกเติบใหญ่คงจะมาหาแม่คุณ
แต่ครั้งนี้มีกรรมจะจาจาก ต้องพลัดพรากแม่ไปเพราะอ้ายขุน
เที่ยวหาพ่อขอให้ปะเดชะบุญ ไม่ลืมคุณมารดาจะมาเยือน
แม่รักลูกลูกก็รู้อยูว่ า่ รัก คนอื่นสักหมื่นแสนไม่แม้นเหมือน
จะกินนอนวอนว่าเมตตาเตือน จะจากเรื อนร้างแม่ไปแต่ตวั ”
(ขุนช้างขุนแผน)
ก. ข้อ ๑ ข. ข้อ ๒ ค. ข้อ ๓ ง. ข้อ ๕
๖๖. คาประพันธ์ต่อไปนี้มีลกั ษณะการแต่งตรงกับข้อใด
“จะกล่าวถึงอสุ รีผเี สื้ อน้ า อยูถ่ ้ าวังวนชลสาย
ได้เป็ นใหญ่ในพวกปี ศาจพราย สกนธ์กายโตใหญ่เท่าไอยรา
ตะวันเย็นขึ้นมาเล่นทะเลกว้าง เที่ยวอยูก่ ลางวาริ นกินมัจฉา
ฉวยฉนากลากฟัดกัดกุมภา เป็ นภักษานางมารสาราญใจ”
(พระอภัยมณี )
ก. ข้อ ๑ ข. ข้อ ๒ ค. ข้อ ๓ ง. ข้อ ๕

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 530
๖๗. วรรณคดีเรื่ องใดที่ได้รับการยกย่องว่าเป็ นยอดของกลอนสุ ภาพ
ก. หัวใจนักรบ ข. ขุนช้างขุนแผน ค. สาวเครื อฟ้า ง. มัทนะพาธา
๖๘. ลักษณะคาประพันธ์ต่อไปนี้จดั เป็ นโคลงประเภทใด
“นานาอเนกน้าวเดิมกัลป์ จักร่ าจักราพาฬเมื่อไหม้กล่าวถึงตระวันเจ็ดอันพลุ่งน้ าแล้งไข้ขอดหายฯ”
ก. โคลงสองสุ ภาพ ข. โคลงสาม ค. โคลงสี่ สุภาพ ง. โคลงห้า
๖๙. ลักษณะคาประพันธ์ต่อไปนี้จดั เป็ นโคลงประเภทใด
“จากมามาลิ่วล้ า ลาบาง
บางยีเ่ รื อราพราง พี่พร้อง
เรื อแผงช่างพานาง เมียงม่าน มานา
บางบ่รับคาคล้อง คล่าวน้ าตาคลอ”
ก. โคลงสองสุ ภาพ ข. โคลงสาม ค. โคลงสี่ สุภาพ ง. โคลงห้า
๗๐. วาทะท่านพุทธทาสในข้อใดต่อไปนี้มีใจความชัดเจนและครอบคลุมมากที่สุด
ก. ครู ลูกจ้างคือครู ที่ไม่มีอุดมคติ ข. ครู ที่ดีตอ้ งไม่รับค่าจ้างหรื อเงินเดือน
ค. ครู ที่เห็นแก่ตวั เพราะขาดปัญญาและเมตตา ง. หัวใจของครู ที่มีอุดมคติคือมีปัญญากับเมตตา

ตัวเลือกต่ อไปนีใ้ ช้ ตอบคาถามข้ อ ๗๑ – ๗๓

๑.ร่ ายคาหลวง ๒. ร่ ายสุ ภาพ ๓. ร่ ายโบราณ ๔. ร่ ายดั้น ๕.ร่ ายยาว

๗๑. คาประพันธ์ต่อไปนี้มีลกั ษณะการแต่งตรงกับข้อใด


“สรวมสวัสดิวชิ ยั เกริ กกรุ งไกรเกรี ยงยศ เกียรติปรากฏขจรขจาย สบายทัว่ แหล่งหล้า ฝนฟ้าฉ่ า
ชุมชล ไพศรพณ์ผลพูนเพิ่ม เหิ มใจราษฏร์ บาเทิง...ประเทศสยามชื่นช้อย ทุกข์ขกุ เข็ญใหญ่นอ้ ย นาศไร้
แรง เกษม โสตเทอญ”
(ลิลิตนิทราชาคริ ต)
ก. ข้อ ๑ ข. ข้อ ๒ ค. ข้อ ๔ ง. ข้อ ๕
๗๒. คาประพันธ์ต่อไปนี้มีลกั ษณะการแต่งตรงกับข้อใด
“ชมข่าวสองพี่นอ้ ง ต้องหฤทัยจอมราช พระบาทให้รางวัล ปั นเสื้ อผ้าสนอบ ขอบใจสู
เอาข่าวมากล่าวต้องติดใจ บารนี”
ก. ข้อ ๑ ข. ข้อ ๒ ค. ข้อ ๓ ง. ข้อ ๔
๗๓. คาประพันธ์ต่อไปนี้มีลกั ษณะการแต่งตรงกับข้อใด
“ศรี สุนทรประฌาม งามด้วยเบญจพิธ องค์ประดิษฐ์อุตดม อัญขยมประจงถวาย
พร้อมด้วยกายวาจาจิต...มวลมารพ่ายแพ้สูญ สิ้ นเสร็ จ ทรงพระคุณล้ าล้น เลิศครู ”

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 531
(พระยาอุปกิตศิลปสาร)
ก. ข้อ ๑ ข. ข้อ ๒ ค. ข้อ ๓ ง. ข้อ ๔

บทประพันธ์ ต่อไปนีใ้ ช้ ตอบคาถามข้ อ ๗๔

“ ปี สองห้าห้าสี่ ประชาชีอว่ มอรทัย บ้านไพรยันเมืองหลวง ซ้ าทรวงเหตุคงคา มิปรานี


ข้าน้อยแม้ถอยมิมีทนั เขื่อนขันธ์มิอาจต้าน ฟ้าประทานเหตุโศก วิโยคเหตุระทม ขื่นขมทั้งแดนดิน
เหมือน ทมิฬดินนี้ ไม่มีหลักประกัน เปลี่ยนผันตลอดกาล.....”

๗๔. ปั ญหาที่เกิดขึ้นคือเรื่ องในข้อใดต่อไปนี้


ก. หนี้สิน ข. ภัยแล้ง ค. อุทกภัย ง. การเมือง
๗๕. บทประพันธ์ต่อไปนี้กล่าวถึงสิ่ งใดเป็ นสาคัญ
“บุญเจ้าจอมโลกเลี้ยง โลกา
ระเรื่ อยเกษมสุ ขพูล ใช่นอ้ ย
แสนสนุกศรี อโยธยา ฤาร่ า ถึงเลย
ทุกประเทศชมค้อยค้อย กล่าวอ้างเยินยอ ฯ”
ก. ความสุ ขของประชาราษฎร์ ข. การสรรเสริ ญคุณของพระเจ้าแผ่นดิน
ค. การกล่าวชื่นชมจากประเทศเพื่อนบ้าน ง. ความสนุกสนานของประชาชนในสมัยกรุ งศรี อยุธยา
๗๖. ข้อใดเลือกลักษณะของฉันท์ในการแต่งไม่ ถูกต้อง
ก. บทเล่าเรื่ อง บทชม และบทคร่ าครวญ นิยมใช้อินทรวิเชียรฉันท์หรื อวสันตดิลกฉันท์
ข. บทพรรณนาโวหารหรื อบรรยายข้อความที่น่าตื่นเต้นหรื อเป็ นที่ประทับใจ นิยมใช้
ภุชงคประยาตฉันท์
ค. บทนมัสการสิ่ งศักดิ์สิทธิ์ บทไหว้ครู บทสรรเสริ ญพระเกียรติ ความขลัง นิยมใช้สัท
ทุลวิกกีฬิตฉันท์หรื อสัทธราฉันท์ หรื อสาลินีฉนั ท์
จ. บทสนุกสนานขบขัน หรื อคึกคักสับสน ใช้กบั เหตุการณ์การบรรยายไปอย่างรวดเร็ ว นิยมใช้
โตฏกฉันท์หรื อมาณวกฉันท์ หรื อจิตรปทาฉันท์
๗๗. คาประพันธ์ต่อไปนี้มีลกั ษณะการแต่งตรงกับข้อใด
“พราหมณ์ครู รู้สังเกต ตระหนักเหตุถนัดครัน
ราชาวัชชีสรร พจักสู่ พินาศสม
ยินดีบดั นี้กิจ จะสัมฤทธิ์ มนารมณ์
เริ่ มมาด้วยปรากรม และอุตสาหแห่งตน”
ก. อิทิสังฉันท์ ข. สาลินีฉนั ท์ ค. มาณวกฉันท์ ง. ภุชงคประยาตฉันท์

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 532

๗๘. คาประพันธ์ต่อไปนี้มีลกั ษณะการแต่งตรงกับข้อใด


“พฤษภกาสร อีกกุญชรอันปลดปลง
โททนต์เสน่งคง สาคัญหมายในกายมี
นรชาติวางวาย มลายสิ้ นทั้งอินทรี ย ์
สถิตทัว่ แต่ชวั่ ดี ประดับไว้ในโลกา”
ก. กาพย์เห่เรื อ ข. กาพย์ฉบัง ๑๖ ค. กาพย์ยานี ๑๑ ง. กาพย์ห่อโคลง

ข้ อความต่ อไปนีใ้ ช้ ตอบคาถามข้ อ ๗๙

“คาว่า ตาหนัก คือ พระตาหนัก นั้นใช้ในความหมายว่า เรื อนที่อยูอ่ าศัยของเจ้านายหรื อ


กุฏิของสมเด็จพระสังฆราช ในกรณี ที่เป็ นเรื อนของเจ้านาย หรื อพระมหากษัตริ ยม์ กั จะเติมคาว่า “พระ”
เข้าข้างหน้า เพื่อเป็ นการแสดงความยกย่อง เช่น พระตาหนักทับขวัญพระตาหนักเรื อนต้น พระตาหนัก
แพ เป็ นต้น ส่ วนตาหนักหรื อกุฏิของสมเด็จพระสังฆราชนั้นเรี ยกว่า “ตาหนัก ไม่มีคาว่า”พระ” เหมือน
เรื อนพักของ พระมหากษัตริ ย ์ และเจ้านายชั้นสู ง”

๗๙. บทความข้างต้นใช้โวหารการเขียนประเภทใด
ก. บรรยายโวหาร ข. พรรณนาโวหาร ค. สาธกโวหาร ง. อุปมาโวหาร

พาดหัวข่ าวต่ อไปนีใ้ ช้ ตอบคาถามข้ อ ๘๐ – ๘๒

“รวบหนุ่มอามหิต ปาดคอฆ่ากิก๊ สาว ขอตีจากแต่ ไม่ ยอม”

๘๐. คาสแลงคือข้อใด
ก. ตี ข. กิ๊ก ค. จาก ง. ปาด
๘๑. “ขอตีจากแต่ไม่ ยอม” คาที่พิมพ์ตวั หนาหมายถึงใคร
ก. กิ๊ก ข. ผูห้ ญิง ค. ชายหนุ่ม ง. เจ้าหน้าที่ตารวจ
๘๒. คาที่ให้ความรู ้สึกสะเทือนอารมณ์มากที่สุดคือข้อใด
ก. อามหิต ข. ปาดคอ ค. ขอตีจาก ง. รวบหนุ่ม

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 533

พาดหัวข่ าวต่ อไปนีใ้ ช้ ตอบคาถามข้ อ ๘๓

รุ มตบ “ลานนา” ยับเยิน ! ควงแฟนโร่ แจ้ งความ

๘๓. พาดหัวข่าวข้างต้นคาใดแสดงภาพชัดเจนที่สุด
ก. รุ มตบ ข. ลานนา ค. ยับเยิน ง. แจ้งความ

บทประพันธ์ ต่อไปนีใ้ ช้ ตอบคาถามข้ อ ๘๔ – ๘๖

“กราบพระบาทขององค์ผทู ้ รงศักดิ์ เย็นยิง่ นักน้ าพระทัยแผ่ไพศาล


ใต้ร่มบุญอุ่นห้วงแห่งดวงมาน ดุจสายธารหลังธรรมชื่นฉ่ าเย็น
ปวงประชาอยูด่ ีมีความสุ ข ทรงกาหนดปลดทุกข์ที่ขกุ เข็ญ
ลบรอยหมองผองชนพ้นลาเค็ญ ทรงบาเพ็ญบุญญาบารมี
วันที่ ๕ ธันวามหาราช ประชาชาติชื่นชมสมศักดิ์ศรี
ทัว่ เขตแดนแผ่นดินต่างยินดี สดุดีขอพระองค์ทรงพระเจริ ญ”

๘๔. รู ปแบบงานเขียนข้างต้นเรี ยกว่าอะไร


ก. โอวาท ข. เทศนา ค. ปาฐกถา ง. บทอาเศียรวาท
๘๕. ผูเ้ ขียนใช้ภาพพจน์แบบใด
ก. อุปมา ข. อุปลักษณ์ ค. บุคลาธิษฐาน ง. อติพจน์
๘๖. ข้อใดกล่าวไม่ ถูกต้องเกี่ยวกับบทประพันธ์
ก. พระองค์เป็ นผูม้ ีบุญญาบารมี ข. ประชาชนรักศักดิ์ศรี กนั ทุกคน
ค. น้ าพระทัยของพระมหากษัตริ ย ์ ง. ประชาชนขอให้พระองค์ทรงพระเจริ ญ
๘๗. วิชยั เพิ่งอกหักเขาอยากฟังธรรมะเพื่อช่วยยกระดับจิตใจให้สูงขึ้น เขาควรไปที่ไหนในข้อต่อไปนี้
ก. เขาวังคู่บา้ น ขนมหวานเมืองพระ เลิศล้ าศิลปะ แดนธรรมะ ทะเลงาม
ข. เมืองทองเนื้ อเก้า มะพร้าวสับปะรด สวยสด หาด เขา ถ้ า งามล้ าน้ าใจ
ค. แคว้นโบราณ ด่านเจดีย ์ มณี เมืองกาญจน์ สะพานข้ามแม่น้ าแคว แหล่งแร่ น้ าตก
ง. ธรรมชาติน่ายล ภูมิพลเขื่อนใหญ่ พระเจ้าตากเกรี ยงไกร เมืองไม้และป่ างาม
๘๘. วัชรชัยต้องการเฟ้นหาตัวแทนของประเทศเพื่อเข้าประกวดงามอย่างไทย เขาควรไปที่ใดในข้อ
ต่อไปนี้
ก. เขาวังคู่บา้ น ขนมหวานเมืองพระ เลิศล้ าศิลปะ แดนธรรมะ ทะเลงาม
ข. เมืองทองเนื้ อเก้า มะพร้าวสับปะรด สวยสด หาด เขา ถ้ า งามล้ าน้ าใจ

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 534
ค. แคว้นโบราณ ด่านเจดีย ์ มณี เมืองกาญจน์ สะพานข้ามแม่น้ าแคว แหล่งแร่ น้ าตก
ง. คนสวยโพธาราม คนงามบ้านโป่ ง เมืองโอ่งมังกร วัดขนอนหนังใหญ่ ตื่นใจถ้ างาม ตลาดน้ า
ดาเนินฯ เพลินค้างคาวร้อยล้าน ย่านยีส่ กปลาดี
๘๙. คุณครู ศรรามต้องพานักเรี ยนไปที่ใด หากต้องการให้นกั เรี ยนทราบประวัติศาสตร์ พระมหากษัตริ ย ์
ไทยในตานาน
ก. เขาวังคู่บา้ น ขนมหวานเมืองพระ เลิศล้ าศิลปะ แดนธรรมะ ทะเลงาม
ข. เมืองทองเนื้ อเก้า มะพร้าวสับปะรด สวยสด หาด เขา ถ้ า งามล้ าน้ าใจ
ค. แคว้นโบราณ ด่านเจดีย ์ มณี เมืองกาญจน์ สะพานข้ามแม่น้ าแคว แหล่งแร่ น้ าตก
ง. ธรรมชาติน่ายล ภูมิพลเขื่อนใหญ่ พระเจ้าตากเกรี ยงไกร เมืองไม้และป่ างาม
๙๐. ตัวเลือกในข้อ ๘๙ เป็ นรู ปแบบการเขียนประเภทใด
ก. คาคม ข. โวหาร ค. คาขวัญ ง. คติพจน์
๙๑. บทประพันธ์ต่อไปนี้สอนเรื่ องใดเป็ นสาคัญ
“ถ้าคุณคิดจะเป็ นใหญ่ คุณก็จะได้เป็ นใหญ่
ถ้าคุณคิดอยากเป็ นอะไร คุณก็จะได้เป็ นใหญ่
เพราะแสวงหา มิใช่เพราะรอคอย
เพราะเชี่ยวชาญ มิใช่เพราะโอกาส
เพราะสามารถ มิใช่เพราะโชคช่วย
ดังนี้แล้ว “ลิขิตฟ้าหรื อจะสู ้มานะตน”
(ขงจื้อ)
ก. น้ าพึ่งเรื อเสื อพึ่งป่ า ข. ทาดีได้ดี ทาชัว่ ได้ชวั่
ค. ความพยายามอยูท่ ี่ไหน ความสาเร็ จอยูท่ ี่นนั่ ง. โอกาสเป็ นของทุกคนเสมอ
บทประพันธ์ ต่อไปนีใ้ ช้ ตอบคาถามข้ อ ๙๒ – ๙๓
“อยูด่ ีดีก็มีมือมัจจุราช เร่ งกวาดสรรพสิ่ งยิง่ สยอง
กระชากลูกจากอกแม่แม้ประคอง ลงทะเลลิ่วล่องไปลับตา
มือปิ ศาจ “สึ นามิ” มัจจุราช พรากญาติ – พี่ – แม่ – พ่อ – ไปต่อหน้า
สิ้ นวิกฤตโคตรคลื่นกลืนเวลา คลื่นน้ าตาก็สาดเปื้ อนสะเทือนไทย”
(ทิน ละออ)

๙๒. บทประพันธ์ขา้ งต้นนี้ควรตั้งชื่ อว่าอย่างไรจึงจะเหมาะสมที่สุด


ก. มือปิ ศาจ ข. ภัยสึ นามิ ค. คลื่นน้ าตา ง. มือมัจจุราช “สึ นามิ”

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 535

๙๓. ข้อใดกล่าวไม่ ถูกต้อง


ก. ภัยจากสึ นามิพรากชีวติ มนุษย์ ข. ภัยจากสึ นามิ ทรัพย์สินเสี ยหาย
ค. ภัยจากสึ นามิ จิตใจมนุษย์เข้มแข็งขึ้น ง. ภัยจากสึ นามิ ทิง้ ความทุกข์โศกให้แก่คนในประเทศ
ข้ อความต่ อไปนีใ้ ช้ ตอบคาถามข้ อที่ ๙๔ – ๙๗

ทาไมสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าจึงทรงละความสุ ขเสด็จออกผนวช ทาไม


พระองค์จึงสละลาภยศอันยิง่ ใหญ่ที่รอคอยอยูเ่ บื้องหน้า”...เพราะความสุ ขกายมิใช่วา่ จะทาให้พระองค์มี
ความสุ ข อย่างแท้จริ งก็หาไม่ มันเป็ นเพียงเสมือนภาพลวงตาไม่ชา้ ก็แตกดับ ไม่คงทนถาวร ความสงบ
และ ความบริ สุทธิ์ ของจิใจกลับเป็ นความสุ ขที่พระองค์แสวงหา

๙๔. ผูเ้ ขียนลาดับโครงสร้างการแสดงทรรศนะอย่างไร


ก. ที่มา ข้อสนับสนุน ข้อสรุ ป ข. ข้อสนับสนุน ข้อสนับสนุน ที่มา
ค. ข้อสรุ ป ข้อสรุ ป ที่มา ง. ข้อสรุ ป ที่มา ข้อสนับสนุน
๙๕. ธรรมะข้อใดสอดคล้องกับข้อความข้างต้น
ก. ขันธ์ ๕ ข. อิทธิบาท ๔ ค. โลกธรรม ๘ ง. พรหมวิหาร ๔
๙๖. กลวิธีการเขียนข้อใดไม่ ปรากฏในบทความ
ก. การพรรณนา ข. การใช้ภาพพจน์ ค. การใช้คาราชาศัพท์ ง. การแสดงเหตุและผล

ข้ อความต่ อไปนีใ้ ช้ ตอบคาถามข้ อ ๙๗ – ๙๘

รู ปแบบการศึกษาที่ผา่ นมานั้นเป็ นแบบ “ตัดตีนให้พอดีเกือก” ทาเด็กให้เหมาะสมกับ


โรงเรี ยน ที่พยายามบีบให้คนและชุมชนให้กา้ วไปสู่ เป้ าหมายประการเดียวกัน นัน่ คือความมัง่ คัง่ ทาง
เศรษฐกิจในภาพรวมทอดทิ้งคุณลักษณ์และเอกลักษณ์เฉพาะตัวของแต่ละชุมชนแต่ละท้องถิ่น เด็กๆ และ
ชุมชนจึงเปรี ยบเสมือน ตีนที่ตอ้ งตัดหรื อทุบให้เข้ากับ “เกือก” คือ เป้าหมายการพัฒนาอันคับแคบ

๙๗. ข้อใดเป็ นประเด็นการโต้แย้ง


ก. ตัดตีนให้พอดีเกือก เป็ นรู ปแบบการศึกษาที่ถูกต้องแล้วใช่หรื อไม่
ข. คนในชุมชนไปสู่ เป้ าหมายได้จริ งหรื อ
ค. ทิศทางการศึกษาไทยควรเป็ นแบบไหนดีกว่ากัน
ง. รู ปแบบการพัฒนาการศึกษาที่จริ งควรเป็ นอย่างไร
๙๘. “ตัดตีนให้พอดีเกือก” ความหมายว่าอย่างไร
ก. การเลือกรองเท้าที่เหมาะสมกับเท้าของตน

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 536
ข. การพัฒนาชุมชนและท้องถิ่นอย่างมีเป้ าหมาย
ค. รู ปแบบการพัฒนาการศึกษาที่ไม่ได้เน้นการพัฒนาเด็ก ท้องถิ่น ชุมชน อย่างแท้จริ ง
ง. รู ปแบบการศึกษาที่มีเป้ าหมายเพื่อพัฒนาชุมชนอย่างแท้จริ ง
ข้ อความต่ อไปนีใ้ ช้ ตอบคาถามข้ อ ๙๙ – ๑๐๐

กระแสการศึกษาแบบมัดมือชก ทาให้เข้าใจโดยรวมว่า โรงเรี ยนดี ๆ และครู ดีๆ มีอยูเ่ ฉพาะใน


เมืองใหญ่ ทาให้เกิดความเหลื่อมล้ าทางการศึกษา โอกาสทางการศึกษาเปิ ดไว้ให้เฉพาะผูม้ ีฐานะดี ลูก
คนยากคนจนในชนบทจะให้ทาอย่างไร จริ งหรื อที่โรงเรี ยนดีๆ มีอยูอ่ ย่างจากับจาเขี่ย จริ งหรื อที่ความรู ้
ดีๆ จะต้องมีอยูเ่ ฉพาะ ในเมือง เคยยอมรับบ้างไหมว่าเรายังไม่รู้จกั การศึกษาที่เหมาะสมและพิเศษ
เฉพาะตัว เฉพาะท้องถิ่นอีกมากนัก

๙๙. ข้อใดกล่าวไม่ ถูกต้อง


ก. ความรู ้ดีๆ มีเฉพาะในเมืองจริ งหรื อ
ข. คนจนมีโอกาสได้เรี ยนในเมืองใหญ่จริ งหรื อ
ค. คุณจัดการการศึกษาที่เหมาะสมแล้วหรื อยัง
ง. โอกาสทางการศึกษามีไว้เฉพาะผูม้ ีฐานะดีเท่านั้นหรื อ
๑๐๐. สานวน “มัดมือชก” หมายความว่าอย่างไร
ก. ตระหนี่ เหนียวแน่น
ข. จาต้องยอมเป็ นรองเขา
ค. ซ้ าเติมเมื่อผูอ้ ื่นเพลี่ยงพล้ า
ง. บังคับให้อีกฝ่ ายหนึ่งตกอยูใ่ นภาวะจายอมโดยไม่มีทางเลือก

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 537

เฉลยแนวข้ อสอบความรู้ความสามารถทั่วไปด้ านภาษาไทย ชุดที่ ๔

๑. เฉลย ตอบข้อ ง. นักประพันธ์เป็ นผูก้ าหนดชีวิตมนุษย์ต้ งั แต่เกิดจนตาย


อธิ บาย จากบทความไม่ได้กล่าวไว้วา่ นักประพันธ์เป็ นผูก้ าหนดชีวติ มนุษย์ต้ งั แต่เกิดจนตาย
เพียงแต่กล่าวว่าหากผูอ้ ่านอ่านงานของนักประพันธ์จะทาให้มองเห็นแนวคิดตามที่ผปู ้ ระพันธ์ได้กล่าวไว้
ซึ่ งอาจจะมีท้ งั ทางฝ่ ายสู งและฝ่ ายต่า ซึ่ งสิ่ งเหล่านี้จะเป็ นสิ่ งจูงใจของมนุษย์ให้ปฏิบตั ิตาม แสดงว่า
เมื่อไหร่ ที่มนุษย์เริ่ มอ่าน ปากกาของนักประพันธ์ก็เริ่ มมีบทบาทเมื่อนั้น
๒. เฉลย ตอบข้อ ง. ปากกาของนักประพันธ์ทาให้ผอู ้ ่านสามารถเข้าใจโลกและชีวติ ในทางที่ถูกต้อง
อธิบาย ปากกาของนักประพันธ์ทาให้ผอู ้ ่านสามารถเข้าใจโลกและชีวติ ในทางที่ถูกต้อง(นักประพันธ์เป็ น
ผูม้ ีบทบาทสาคัญต่อการเลือกปฏิบตั ิของมนุษย์)
๓. เฉลย ตอบข้อ ข. ต้องการเตือนสตินกั ประพันธ์
อธิ บาย ท่านพุทธทาสต้องการเตือนสตินกั ประพันธ์โดยการชี้ทาง ซึ่ งเป็ นสิ่ งที่สงฆ์ปฏิบตั ิได้
๔. เฉลย ตอบข้อ ง. การทาให้ผอู ้ ่านรู ้ในสิ่ งดี - สิ่ งชัว่ อย่างถูกต้อง
อธิ บาย การทาให้ผอู ้ ่านรู ้ในสิ่ งดี – สิ่ งชัว่ อย่างถูกต้องเพราะนักประพันธ์เป็ นผูม้ ีบทบาทสาคัญ
ในการจูงใจผูอ้ ่าน ซึ่ งในการเขียนงานออกมาในสิ่ งที่ถูกต้องเท่ากับว่านักประพันธ์ได้ทาบุญ คือ การช่วย
ชักจูงมนุษย์ไปในทางที่ถูกต้องนัน่ เอง
๕. เฉลย ตอบข้อ ง. บรรยายโวหาร สาธกโวหาร
อธิบาย จากบทความผูเ้ ขียนใช้บรรยายโวหารในขั้นต้นของการเขียน คือ การอธิ บายที่มาของคา
ว่าสดุดี และต่อมามีการใช้สาธกโวหารซึ่ งเป็ นการยกตัวอย่างการกล่าวสดุดีในลักษณะต่างๆ
ข้อความต่อไปนี้ใช้ตอบคาถามข้อ ๖ – ๗
“ ถ้าจะเปรี ยบดินเหมือนกับมนุษย์ตนหนึ่ง มีลาตัว มีแขน มีขา มีหวั มีหวั ใจ ดินก็มี
ส่ วนประกอบสาคัญเปรี ยบได้กบั มนุษย์มีแร่ ธาตุเปรี ยบได้กบั ลาตัว มีอากาศเปรี ยบได้กบั แขน มีน้ า
เปรี ยบได้กบั ขา มีอินทรี ยวัตถุเปรี ยบได้กบั หัว มีสิ่งมีชีวติ ในดินเปรี ยบได้กบั หัวใจที่จะทาให้ดินมีชีวติ
เช่นเดียวกับมนุษย์”
(จอมปราชญ์แห่งดิน, กปร.)
๖. เฉลย ตอบข้อ ข. พรรณนาโวหาร
อธิ บาย การพรรณนาคือ การใช้ถอ้ ยคาที่ทาให้ผอู ้ ่านมองเห็นภาพขึ้นในใจ จากบทความ
ข้างต้นปรากฏการใช้โวหารทั้งการบรรยายซึ่ งหมายถึงการชี้แจงหรื ออธิ บาย การยกตัวอย่าง(สาธก
โวหาร) การเปรี ยบเทียบ(อุปมาโวหาร) ดินกับมนุษย์

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 538
๗. เฉลย ตอบข้อ ก. ความสาคัญของทรัพยากรดิน
อธิ บาย จากบทความเป็ นการกล่าวถึงความสาคัญของทรัพยากรดิน ซึ่ งมีความสาคัญสามารถ
เปรี ยบได้กบั มนุษย์ตนหนึ่ง
๘. เฉลย ตอบข้อ ก. บรรยายโวหาร
อธิ บาย บทความเรื อง หมาก ใช้บรรยายโวหาร คือ อธิ บายเกี่ยวกับลักษณะของหมากไม่วา่ จะเป็ น
ลาต้น ใบ ผล และ ประโยชน์ เป็ นต้น
๙. เฉลย ตอบข้อ ข. ให้ความรู ้เชิงสารคดี
อธิ บาย จากบทความนี้ให้ความรู ้เชิงสารคดี ซึ่ งสารคดีเป็ นเรื่ องที่เรี ยบเรี ยงขึ้นจากความจริ ง
ไม่ใช่จินตนาการ
๑๐. เฉลย ตอบข้อ ค. ลาต้นเรี ยวสู ง มีใบที่ยอดลาต้น ผลเป็ นทะลาย
อธิ บาย สังเกตจากบรรทัดแรกที่กล่าวว่า “หมากเป็ นพืชพวกปาล์ม ลาต้นสู งเรี ยว มีใบที่ยอด ผลเป็ น
ทะลาย ..........”
๑๑. เฉลย ตอบข้อ ง. ป้ องกันปากและเท้าเปื่ อย
อธิบาย ประโยชน์ของหมากมีดงั นี้
- ใช้เป็ นยาถ่ายให้สุนขั และแกะ (ผลหมาก)
- ใช้ทาแผลน้ ากัดตามง่ามมือง่ามเท้า (เนื้ อหมากดิบฝาน)
- เป็ นอาหารจิ้มน้ าพริ ก (จัน่ หมาก)
๑๒. เฉลย ตอบข้อ ง. กาบปูเล
อธิ บาย กาบปูเลใช้ทาพัดและทาเป็ นเส้นเชื อกผูกสิ่ งของได้ สังเกตจากบรรทัดสุ ดท้ายของ
บทความ
๑๓. เฉลย ตอบข้อ ก. เหตุที่ชาวบ้านสร้างบ้านเรื อนตามริ มแม่น้ าเพราะความสะดวกในการเดินทาง
ค้าขาย
อธิ บาย ตัวเลือกในข้อ ก. กล่าวไม่ถูกต้อง เหตุผลที่ชาวบ้านสร้างบ้านเรื อนตามริ มแม่น้ าลาคลอง
นั้นเพราะต้องอาศัยน้ าในการเพาะปลูกและเลี้ยงสัตว์
๑๔. เฉลย ตอบข้อ ค. ๔ คา
อธิบายมีคาสันธาน ๔ คา ได้แก่ และ จึง และ และ
๑๕. เฉลย ตอบข้อ ง. สามารถเปลี่ยนอิริยาบถท่านัง่ ได้ตามใจชอบ
อธิ บายการทรงตัวท่านัง่ ในการอ่านถือเป็ นสิ่ งสาคัญ เพราะการนัง่ ที่ถูกต้องจะทาให้ผอู ้ ่านรู ้สึกผ่อน
คลายและมีสมาธิ ในการก่อน แต่การเปลี่ยนอิริยาบถในการอ่านควรมีความเหมาะสม ไม่แสดงให้ผอู ้ ื่น
เห็นว่าการทรงตัวของเราแสดงถึงความเบื่อหน่าย หรื อเกียจคร้านในการอ่าน

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 539
๑๖. เฉลย ตอบข้อ ข. ฟังแล้วตีความได้
อธิ บายการฟังแล้วตีความได้ ผูพ้ ูดมักมีกลวิธีการพูดที่น่าสนใจ ชวนติดตาม จึงใช้ถอ้ ยคา
สานวนโวหารประกอบการพูดหรื อยกตัวอย่างต่างๆ มากมายเพื่อขยายเรื่ อง หรื อแนวคิดให้ชดั เจน ผูฟ้ ัง
ต้องตีความว่าผูพ้ ูดแฝงความหมายอะไรไว้
ข้อ ก. ฟังแล้วสามารถวิเคราะห์ได้ คือ สรุ ปได้วา่ อะไรเป็ นข้อเท็จจริ ง อะไรเป็ นความคิดเห็น
ของผูพ้ ูด
ข้อ ค. ฟังแล้วประเมินคุณค่าได้ คือ ประเมินได้วา่ อะไรเป็ นความรู ้ อะไรเป็ นข้อคิดที่มี
ประโยชน์ และอะไรเป็ นข้อที่ไม่ควรปฏิบตั ิ
ข้อ ง. ฟังแล้วจับประเด็นได้ คือ รู ้จกั จับประเด็นหลักของเรื่ องที่ฟังได้โดยพิจารณาจากบริ บท
ซึ่ งขยายประเด็นหลักนั้นๆ แล้วจดเรี ยบเรี ยงเป็ นเรื่ องราวอื่น ๆ ได้
๑๗. เฉลย ตอบข้อ ก. การพูดมีอิทธิพลในการสร้างความสัมพันธ์
อธิ บาย การพูดมีอิทธิ พลในการสร้างความสัมพันธ์ กวีกล่าวเปรี ยบเทียบโซ่ตรวนที่ผูกคนเอาไว้ก็ยงั หลุด
ไปได้ แต่คาพูดที่พูดดี สามารถสร้างความสัมพันธ์ได้ตลอดไปไม่หลุดหรื อขาดเหมือนโซ่ตรวน
๑๘. เฉลย ตอบข้อ ข. การวิพากษ์วจิ ารณ์
อธิบาย การวิพากษ์วจิ ารณ์เป็ นการพูดในลักษณะของการประเมินผล เพื่อให้ความรู ้ในเรื่ องใด
เรื่ องหนึ่งโดยเฉพาะ โดยที่ผพู ้ ูดต้องคานึงอยูเ่ สมอว่าการวิพากษ์วจิ ารณ์ของตนมีคุณค่าและมีผลที่จะ
ก่อให้เกิดความรู ้แก่ผฟู ้ ังเป็ นสาคัญ
๑๙. เฉลย ตอบข้อ ก. บรรยายโวหาร
อธิบาย บรรยายโวหาร ผูเ้ ขียนอธิบายวิธีการให้ทานที่ถูกต้อง
๒๐. เฉลย ตอบข้อ ค. แนะนา
อธิบาย เป็ นการแนะนาวิธีการทาบุญที่ได้ผล
๒๑. เฉลย ตอบข้อ ง. ข้อ ข และ ค ถูกต้อง
อธิบาย การสร้างผลงานหลากหลายอรรถรสและการได้รับรางวัลซีไรต์คือเหตุผลที่ทาให้คุณวาณิ ช
ได้รับรางวัลซีไรต์
๒๒. เฉลย ตอบข้อ ค. นอกจากคุณวาณิ ชแล้วก็จะมีนกั เขียนคนอื่นอีกที่ได้รับการยกย่องเช่นนี้
อธิ บาย จากข้อความกล่าวถึงคุณวาณิ ชเพียงคนเดียว
๒๓. เฉลย ตอบข้อ ง. ชาวนาปลูกบ้านในผืนนาของตนเอง
อธิ บาย ชาวนาไม่ได้ปลูกบ้านในผืนนาของตนเอง แต่ผืนนาถูกสร้างเป็ นบ้านเรื อน
๒๔. เฉลย ตอบข้อ ค. สถาปนิก
อธิ บาย สถาปนิกทาหน้าที่รับออกแบบบ้าน น่าจะมีส่วนเกี่ยวข้องน้อยที่สุด

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 540
๒๕. เฉลย ตอบข้อ ง. ชาวนาไม่มีที่ทากินเป็ นของตนเอง
อธิ บาย ชาวนาไม่มีที่ทากินเป็ นของตนเองคือเหตุผลที่ชาวนาต้องจากถิ่นฐานไปจากบ้านเกิดของ
ตัวเอง
๒๖. เฉลย ตอบข้อ ง. ความรู ้เฉพาะทาง: วิชาที่หายไปเพราะขากการบันทึก
อธิบาย เป็ นชื่อเรื่ องที่มีความครอบคลุมและชัดเจนที่สุด ส่ วนข้ออื่นๆ ยังไม่ครอบคลุมเนื้อเรื่ อง
๒๗. เฉลย ตอบข้อ ง. ผูถ้ ่ายทอดไม่มีความเชี่ยวชาญ
อธิ บาย ข้อนี้กล่าวไม่ถูกต้องเพราะผูถ้ ่ายทอดมีความเชี่ยวชาญแต่ขาดการบันทึกและหวงแหน
วิชามากกว่า
๒๘. เฉลย ตอบข้อ ง. การแอบศึกษาเรี ยนรู ้ดว้ ยตนเอง
อธิบาย ครู พกั ลักจา หมายถึง การแอบศึกษาเรี ยนรู ้ดว้ ยตนเอง
๒๙. เฉลย ตอบข้อ ก. เนื้ อหาเข้มข้นขึ้นไปตามลาดับจนถึงขั้นสาคัญที่สุด
อธิบาย “สิ บปากว่าไม่เท่าตาเห็น สิ บตาเห็นไม่เท่ามือคลา สิ บมือคลาไม่เท่าชานาญ” คาที่พิมพ์ตวั หนามี
ความเข้มข้นขึ้นไปตามลาดับ
๓๐. เฉลย ตอบข้อ ง. การปลูกเรื อนไทยจะต้องใช้ไม้และช่างฝี มือประณี ต
อธิบาย การปลูกเรื อนไทยจะต้องใช้ไม้ และช่างฝี มือประณี ต(สังเกตจากข้อความบรรทัดที่ ๑
ส่ วนข้ออื่นๆ กล่าวถึงลักษณะของการปลูกเรื อนไทยแบบตะวันตก)
๓๑. เฉลย ตอบข้อ ง. ถูกทุกข้อที่กล่าวมา
อธิ บาย สิ่ งจูงใจที่ทาให้คนไทยนิยมปลูกเรื อนไทยแบบตะวันตกมากกว่าเรื อนไทยเดิมคือประโยชน์ใน
การใช้สอย ค่าใช้จ่ายในการสร้างและจานวนสถาปนิกมีมาก
๓๒. เฉลย ตอบข้อ ง. เป็ นข้อมูลในการตัดสิ นใจสาหรับการเลือกสร้างบ้าน
อธิ บาย เป็ นข้อมูลในการตัดสิ นใจในการเลือกสร้างบ้าน เพราะผูเ้ ขียนได้ให้รายละเอียดเกี่ยวกับข้อมูล
ของบ้านทั้งสองรู ปแบบไว้
๓๓. เฉลย ตอบข้อ ง. ขุนศึกหญิงออกรบเพื่อต้องการลาภยศ
อธิบาย ขุนศึกหญิงออกรบเพื่อต้องการลาภยศ(ไม่ได้กล่าวไว้ในบทความ กล่าวเพียงว่าขุนศึก
หญิงต้องการแสดงความรักต่อผูช้ ายของเขาเท่านั้น)
๓๔. เฉลย ตอบข้อ ก. ไม่เปิ ดเผย
อธิ บาย สายลมใต้ปีก หมายถึง ไม่เปิ ดเผยตัวตนที่แท้จริ ง
๓๕. เฉลย ตอบข้อ ก. สาเหตุที่คนอิสลามไม่บริ โภคเนื้อหมู
อธิ บาย สาเหตุที่คนอิสลามไม่บริ โภคเนื้อหมูไม่ได้กล่าวถึง กล่าวเพียงว่าในภาคใต้มีคนนับถือ
ศาสนาอิสลามจานวนมาก ซึ่ งคนอิสลามจะไม่รับประทานเนื้ อหมู
ข้อ ข. ลักษณะภูมิประเทศที่ส่งผลต่อการเลือกบริ โภคอาหาร (อยูใ่ กล้ทะเล)

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 541
ข้อ ค. ชนิดของเครื่ องในปลาที่นามาทาเป็ นพุงปลา (ปลาทูหรื อปลาลัง)
ข้อ ง. รายการอาหารของคนใต้ (แกงพุงปลา)
๓๖. เฉลย ตอบข้อ ง. บรรยายโวหาร,สาธกโวหาร
อธิบาย ผูเ้ ขียนใช้การเขียนแบบบรรยายโวหาร คือ อธิ บายถึงลักษณะภูมิประเทศของภาคใต้ที่อยู่
ติดทะเลและกล่าวถึงอาหารของคนใต้ พร้อมทั้งยกตัวอย่างเครื่ องในปลาที่นามาทาเป็ นพุงปลา
๓๗. เฉลย ตอบข้อ ก. ขอความเห็นใจ
อธิ บาย สังเกตจากคาว่า “ขอได้โปรด” ผูเ้ ขียนวิงวอนผูอ้ ่านให้ช่วยกันดูแลโลกและธรรมชาติ
๓๘. เฉลย ตอบข้อ ง. ข้อ จ
อธิบาย การจัดลาดับความคิดในการพูดหรื อการเขียนเป็ นเรื่ องที่สาคัญ เพราะจะทาให้การ
ถ่ายทอดเรื่ องราวมีความราบรื่ น ผุฟ้ ังหรื อผูอ้ ่านสามารถติดตามเรื่ องราวและเข้าใจความคิดของผูพ้ ูดหรื อ
ผูเ้ ขียนได้เป็ นอย่างดี ดังนั้นจึงต้องเรี ยบเรี ยงและจัดลาดับความคิดให้เป็ นระบบก่อนที่จะปรากฏเป็ น
ภาษา จากตัวเลือกข้อ จ. เป็ นการจัดลาดับความคิดตามความสัมพันธ์ คือ ความสัมพันธ์ของน้ ากับป่ าไม้
๓๙. เฉลย ตอบข้อ เฉลย ตอบข้อ ก.
อธิ บาย การจัดลาดับความคิดตามเวลาหรื อเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น (เล่าเหตุการณ์ของผูค้ นที่รอ
เวลาโดยสารรถไฟกลับบ้าน)
๔๐. เฉลย ตอบข้อ ค. ข้อ ค
อธิบายการจัดลาดับความคิดตามทิศทาง (ทิศทางของจังหวัดร้อยเอ็ด
๔๑. เฉลย ตอบข้อ ข. ข้อ ข
อธิ บาย การจัดลาดับความคิดตามสถานที่ (สถานที่ในที่น้ ีคือที่ต้ งั ของอาคารโรงเรี ยน
๔๒. เฉลย ตอบข้อง. ข้อ ง
๔๓. เฉลย ตอบข้อ ง. อกกว้าง ขนยาว
อธิ บาย อกกว้าง ขนยาว ไม่ใช่ลกั ษณะของสุ นขั พันธุ์ไทย
๔๔. เฉลย ตอบข้อ ก. เกิดจากคนต้องให้สุนขั เฝ้าที่อยูอ่ าศัย
อธิบาย ความสัมพันธ์ของคนกับสุ นขั เกิดจากคนต้องให้สุนขั เฝ้าที่อยูอ่ าศัย(สังเกตจากบรรทัดที่ ๑ ใน
บทความ)
๔๕. เฉลย ตอบข้อ ข. พันธุ์เยอรมัน เชฟเฟิ ร์ด
อธิ บาย สุ นขั พันธุ์อลั เซเซี ยน เรี ยกอีกชื่ อหนึ่ งว่า พันธุ์เยอรมัน เชฟเฟิ ร์ ด
๔๖. เฉลย ตอบข้อ ก. เมืองร้อยเกาะ เงาะอร่ อย หอยใหญ่ ไข่แดง แหล่งธรรมะ
อธิบาย เพราะเป็ นคาขวัญของจังหวัดสุ ราษฎร์ธานี
ข้อ ข. เป็ นคาขวัญของจังหวัดชุมพร
ข้อ ค. เป็ นคาขวัญของจังหวัดสงขลา

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 542
ข้อ ง. เป็ นคาขวัญของจังหวัดกาแพงเพชร
๔๗. เฉลย ตอบข้อ ข. การพูดสะท้อนบุคลิกภาพของผูพ้ ูด
อธิ บาย การพูดของคนเราสามารถสะท้อนถึงบุคลิกภาพในการพูดได้ โดยกวีเปรี ยบเทียบกับธรรมชาติ
คือ ก้านบัวบ่งบอกความลึกของน้ า,หญ้าบ่งบอกสภาพดิน,หรื อคาพูดบ่งบอกนิสัยมนุษย์ เป็ นต้น
๔๘. เฉลย ตอบข้อ ก. หมู่น้ ี ไม่รู้เป็ นอะไร ผมทานข้าวได้นอ้ ย
อธิบาย เป็ นคาพูดที่ทาให้ผฟู ้ ังรู ้สึกดีที่สุด
ข้อ ข. หมู่น้ ี ไม่รู้เป็ นอะไร เบื่ออาหารไปหมด (การเบื่ออาหารเป็ นคาพูดที่ทาให้ผฟู ้ ังรู ้สึก
เสี ยใจได้)
ข้อ ค. คุณช่ วยทาอาหารอร่ อยๆ กว่านี้ได้อีกไหม (เหมือนเป็ นการตาหนิวา่ อาหารที่ทา
ตอนนี้ไม่อร่ อย)
ข้อ ง. ผมว่ารสชาติอาหารจืดชื ดไปนะ คุณรู ้สึกไหม (เป็ นการกล่าวถึงรสชาติอาหารที่
เปลี่ยนไป จืดชืดแสดงถึงความไม่อร่ อยเหมือนเคย)
๔๙. เฉลย ตอบข้อ ข. การประหยัด
อธิ บาย สังเกตจากประโยคที่ ว่า “โดยเฉพาะในเรื่ องการเป็ นอยูอ่ ย่างประหยัดเพื่อที่จะอยูร่ อดและ
ก้าวหน้าต่อไปโดยสวัสดี...”
๕๐. เฉลย ตอบข้อ ง. ๗ คา
อธิ บาย คาซ้อนที่ปรากฏได้แก่ วิถีทาง,บ้านเมือง,เปลี่ยนแปลง,ผันแปล,หลีกเลี่ยง,ระมัดระวังและ
ประคับประคอง
๕๑. เฉลย ตอบข้อ ใช้น้ าเสี ยงของภาษาไม่เหมาะสมกับความสัมพันธ์ของบุคคล
อธิ บาย ใช้น้ าเสี ยงของภาษาไม่เหมาะสมกับความสัมพันธ์ของบุคคล(ข้อความที่เขียนน่าจะเป็ น
ผูใ้ หญ่เขียนตักเตือนเด็กไม่ให้กระทาผิดมากกว่าที่จะเป็ นการตักเตือนระหว่างเพื่อน)
๕๒. เฉลย ตอบข้อ ง. แต่ฉนั ก็ไม่เอาเรื่ องนี้มาเป็ นปมด้อยของชีวติ
อธิบาย จากบทความที่กล่าวว่า”แต่ฉนั ก็ไม่เอาเรื่ องนี้มาเป็ นปมด้อยของชีวติ ”แสดงให้เห็นว่าผูเ้ ขียน
ยอมรับปั ญหาที่เกิดขึ้น และสามารถใช้ชีวติ ต่อไปได้แม้ไม่ได้อยูก่ บั พ่อและแม่
๕๓. เฉลย ตอบข้อ ง. มีความหวังว่าจะได้อยูก่ บั พ่อแม่
อธิบาย ความสุ ขของผูเ้ ขียนคือมีความหวังว่าจะได้อยูก่ บั พ่อแม่ ซึ่ งสังเกตจากวรรคสุ ดท้ายของ
บทความที่วา่ “วันนั้นฉันมีความสุ ขมากทีส่ ุ ดและอยากเป็ นเช่ นนีต้ ลอดไป...” ความสุ ขที่วา่ คือ เวลาที่พ่อ
แม่โทร หรื อมาหาและนอนกับผูเ้ ขียนที่บา้ น
๕๔. เฉลย ตอบข้อ ค. ทิ้งขยะลงแม่น้ าลาคลอง
อธิบาย การทิ้งขยะลงแม่น้ าลาคลองทาให้เกิดความเน่าเสี ยของแม่น้ าลาคลองไม่เกี่ยวข้องกับการเกิดฝน
กรด

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 543
๕๕. เฉลย ตอบข้อ ก. เมื่อใบไม้ร่วงลงสู่ พ้นื ดินก็จะผุพงั เน่าเปื่ อย
อธิ บาย ผูเ้ ขียนไม่ได้กล่าวถึงไว้เลยในบทความ
๕๖. เฉลย ตอบข้อ ค. เปลี่ยนแปลงป่ าเป็ นแหล่งเพาะปลูกพืชพันธุ์ธญ ั ญาหาร
อธิ บาย ในการพัฒนาด้านเกษตรกรรมทาให้ป่าเกิดการเปลี่ยนแปลงเป็ นแหล่งเพาะปลูกพืชพันธุ์
ธัญญาหาร
๕๗. เฉลย ตอบข้อ ง. ตอนที่ ๔
อธิ บาย ข้อความตอนนี้ควรเปลี่ยนจากคาว่า ภูมิอากาศ เป็ น ภูมิประเทศ
“มีลกั ษณะทางภูมิอากาศพื้นที่ราบเป็ นพื้นดิน มิหินโผล่โดยทัว่ ไป” เปลี่ยนเป็ น
“มีลกั ษณะทางภูมิประเทศพื้นที่ราบเป็ นพื้นดิน มีหินโผล่โดยทัว่ ไป”
ภูมิประเทศ หมายถึง ลักษณกายภาพทางธรรมชาติของแผ่นดินรวมถึงความสู งต่าของผิวโลก ทะเลสาบ
ถนนหนทางและเมืองต่างๆ
ภูมิอากาศ หมายถึง อากาศประจาถิ่น;ลักษณะอากาศเฉลี่ยของภูมิภาคแห่งใดแห่งหนึ่งในช่วงระยะเวลา
หนึ่งอาจเป็ นเดือน ปี หรื อศตวรรษก็ได้
๕๘. เฉลย ตอบข้อ ข. ตอนที่ ๒
อธิบาย ตอนที่ ๒ เป็ นการแสดงความคิดเห็นของผูเ้ ขียน โดยสังเกตจากคาว่า “ส่ วนมากจะ
อาศัยอยูใ่ นบริ เวณเกาะสี่ เกาะห้า”
๕๙. เฉลย ตอบข้อ ก. หลักการตลาดและทฤษฎีเกม
อธิ บาย แนวคิดเกี่ยวกับการตลาด (The Marketing Concept) เพื่อให้การดาเนินการทาง
การตลาดบรรลุเป้ าหมายของธุ รกิจอย่างมีประสิ ทธิ ภาพเหนือคู่แข่งขัน ดังนั้นธุ รกิจต้องใช้แนวคิดทาง
การตลาดโดยรวม (Integrated Marketing) เพื่อการตอบสนองความต้องการของลูกค้า ตามแนวความคิด
ที่วา่ ลูกค้าคือพระราชา (The Customeris King) เมื่อบทบาทธุ รกิจบริ การลูกค้าอย่างเป็ นที่พอใจหรื อ
เหนื อกว่าความคาดหมายแล้วจะทาให้ลูกค้ามีความจงรักภักดี(Loyalty) ต่อธุ รกิจนานเท่านาน
ทฤษฎีเกม (Game Theory)
ทฤษฎีเกม (Game Theory) เป็ นแนวทางหรื อทฤษฎีที่ใช้ในการเจรจาต่อรองที่มี
การศึกษาและนาไปใช้กนั ในวงกว้าง ความจริ งนั้นทฤษฏีเกม (Game Theory) นั้นเป็ นทฤษฎีที่มีการใช้
กันในวงการต่างๆ ไม่วา่ จะเป็ นในทางรัฐศาสตร์ ตลอดจนเป็ นเครื่ องมือที่ใช้ในการเจรจาต่อรอง ทฤษฎี
เกมสามารถที่จะใช้ในการวิเคราะห์และพยากรณ์พฤติกรรมของคู่เจรจาหรื อในกรณี ที่เป็ นการเจรจา
ทางการทูตนั้นก็สามารถที่จะพยากรณ์ถึงผลการเจรจาที่จะเกิดขึ้น ในทางวิชารัฐศาสตร์ น้ นั ทฤษฎีเกมก็
เคยถูกหยิบยกมาอธิ บายในเรื่ องเกี่ยวกับพฤติกรรมของประเทศต่างๆ ในโลกยุคสงครามเย็นอันเป็ นโลก
ซึ่ งมีการแบ่งระบบการเมืองออกเป็ น ๒ ขั้ว หรื อทางวิชาเศรษฐศาสตร์ ทฤษฎีเกมได้ถูกนาไปใช้เป็ น
เครื่ องมือในการศึกษาพฤติกรรมกลยุทธ์

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 544
๖๐. เฉลย ตอบข้อ ก. ๑ ข้อ การอ่าน ( Read)
อธิบาย หลัก OK3R มีดงั นี้
๑. การอ่านอย่างคร่ าว ๆ (Overview)
๒. การเก็บความคิดขนาดอ่าน (KEY Ideas)
๓. การอ่าน (Reading)
๔. การระลึก (Recall)
๕. การนึกคิดดู (Reflect)
หลัก SQ3R มีดังนี้
๑. การสารวจ ( Survey)
๒. การตั้งคาถาม (Question)
๓. การอ่าน ( Read) ๔. การจดจา (Recite) ๕. การทบทวน ( Re
view )
๖๑. เฉลย ตอบข้อ ก. นคร บุรุษ มน
อธิ บาย ครุ (อ่านว่า คะ – รุ ) หมายถึง หนัก ในที่น้ ีหมายถึงเสี ยงหนัก ได้แก่คาหรื อพยางค์ที่
ประสมด้วยสระเสี ยงยาว ไม่มีตวั สะกดก็ได้ หรื อคาหรื อพยางค์ที่มีเสี ยงตัวสะกดทุกมาตรา(กก กด กบ
กง กน กม เกย และ เกอว) เช่น ฟ้า นัง่ พริ ก ไหม พรม นนท์ เชษฐ์
ลหุ (อ่านว่า ละ – หุ ) หมายถึง เบา ในที่น้ ีหมายถึงเสี ยงเบา ได้แก่คาหรื อพยางค์ที่ประสมด้วย
สระเสี ยงสั้นและไม่มีตวั สะกด หรื อคาหรื อพยางค์ที่มีเสี ยงสระเสี ยงสั้นและไม่มีเสี ยงตัวสะกด เช่น ณ
ธ บ่ ก็ พิ ผิ ลุเจาะ เหาะ ทะ เละ แพะ และ เลอะ เป็ นต้น
๖๒. เฉลย ตอบข้อ ง. ข้อ ๔
อธิบาย ลักษณะกลอนบทละคร มีดงั นี้
๑. คา วรรคหนึ่งมีคาตั้งแต่ ๖ - ๙ คา แต่ที่นิยมกันมักเป็ น ๖ หรื อ ๗ คา เพราะเข้า
จังหวะและทานองร้องที่ดีกว่า
๒. สัมผัส หลักเกณฑ์เหมือนกลอนสุ ภาพ เพราะกลอนบทละครเป็ นกลอนผสมบทหนึ่ง
อาจใช้
กลอน ๖.๗,๘,หรื อ ๙ รวมกันก็ได้ ถ้าวรรคไหนใช้กลอนอะไรก็ใช้ใช้สัมผัสตามหลักของกลอนนั้น
๓. เสี ยงวรรณยุกต์ นิยมท้ายวรรคของกลอนสุ ภาพดังได้กล่าวมาแล้วนั้นไม่เคร่ งครัด
ตามระเบียบนัก เพราะต้องอาศัยทานองร้องและปี่ พาทย์เป็ นสาคัญ
๔. วรรคแรกหรื อวรรคสดับของกลอนบทละคร นิยมใช้คานาหรื อคาขึ้นต้นเพื่อขึ้น
ความใหม่หรื อเปลี่ยนทานองร้องใหม่ คานานี้บางครั้งอาจใช้ ๒ พยางค์ หรื อ ๓

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 545
พยางค์ หรื อ ๔ พยางค์ แต่ตอ้ งนับเป็ นหนึ่งวรรคเต็ม เพราะเวลาร้องต้องเอื้อน
เสี ยงให้ยาวมีจงั หวะเท่ากับวรรคธรรมดา
คาว่า “เมื่อนั้น” ใช้ข้ ึนต้นเมื่อกล่าวถึงตัวสาคัญของเรื่ องหรื อของตอน
คาว่า “บัดนั้น” ใช้ข้ ึนต้นเมื่อกล่าวถึงตัวไม่สาคัญ
คาว่า “มาจะกล่าวบทไป” ใช้สาหรับขั้นตอนใหม่
๕. ความยาวของกลอนบทละคร แต่ละตอนไม่จากัดขึ้นอยูก่ บั เนื้อความ มีต้ งั แต่ ๒
บาท หรื อ ๒คากลอน หรื อ ๒ คา เป็ นต้นไป เมื่อจบแต่ละตอน ผูแ้ ต่งก็จะบอก
จานวนบาทไว้ขา้ งท้าย และกากับด้วยทานองเพลงหน้าพาทย์ ส่ วนทานองเพลงร้อง
จะกากับไว้ตอนต้น
๖๓. เฉลย ตอบข้อ ก. ข้อ ๑
อธิบาย ลักษณะกลอนดอกสร้อย มีดงั นี้
๑. กลอนดอกสร้อยบทหนึ่งมี ๔ คากลอนหรื อ ๘ วรรค วรรคหนึ่งใช้คา ๖ – ๘
คา
๒. วรรคแรกที่ข้ ึนต้นโดยมากมี ๔ คา หรื ออาจมี ๕ คา ก็ได้ คาที่ ๑ กับคาที่ ๓
ต้องซ้ าคา
เดียวกับคาที่ ๒ เป็ นคาว่า “เอ๋ ย” ส่ วนคาที่ ๔ เป็ นคาอื่นที่รับกัน เช่น นักเอ๋ ยนักเรี ยน ความเอ๋ ยความรู ้
๓. กลอนดอกสร้อยในบทละครจะต้องลงท้ายด้วยคาว่า “เอย” เสมอ แต่ถา้ เป็ น
ดอกสร้อยในบทละครจะไม่ลงท้ายด้วยคาว่า “เอย”
๔. สัมผัสและลักษณะไพเราะอื่นๆ เหมือนกลอนสุ ภาพ

๖๔. เฉลย ตอบข้อ ง. ข้อ ๕


อธิบาย กลอนสักวาเป็ นชื่อของร้อยกรองประเภทกลอนลานาชนิดหนึ่ง บทหนึ่งมี ๔ คากลอน
ขึ้นต้นด้วยคา “สักวา” และลงท้ายด้วยคา “เอย”
กลอนสักวาถูกนามาใช้ท้ งั แบบที่เป็ นบทประพันธ์ธรรมดาของผูท้ ี่มีความสามารถ
ทางด้านการประพันธ์และนามาใช้เป็ นการละเล่นโต้ตอบกันระหว่างผูเ้ ล่นหลายคน ซึ่ งต้องอาศัยความรู ้
ทางด้านร้อยกรองและยังต้องอาศัยไหวพริ บปฏิภาณของผูเ้ ล่นที่จะสามารถโต้ตอบกันได้อย่างถูกต้องและ
ทันท่วงทีการเล่นสักวานี้ เป็ นที่นิยมกันมากในสมัยโบราณ เพราะเป็ นการแสดงออกถึงความสามารถ
ทางก้านกวีนิพนธ์ที่โดดเด่นและสนุกสนานทั้งผูเ้ ล่นและผูฟ้ ัง
ฉันทลักษณ์ : กลอนสักวา ๑ บท มี ๔ คากลอนหรื อ ๔ วรรค วรรคแรกขึ้นต้นบท
ด้วยคาว่า“สักวา” วรรคสุ ดท้ายหรื อวรรคส่ งจะต้องลงท้ายด้วยคาว่า “เอย” ส่ วนวรรคที่ ๒ – ๓ คือวรรค
รับและวรรครองนั้นไม่บงั คับตัวอักษร แต่ตอ้ งมีสัมผัสระหว่างวรรคตามลักษณะของกลอนทัว่ ไป

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 546
๖๕. เฉลย ตอบข้อ ข. ข้อ ๒
อธิบาย กลอนเสภาเป็ นกลอนขับร้องเช่นเดียวกับกลอนดอกสร้อยและกลอนสักวาแต่มิได้ขบั ร้อง
ประกอบดนตรี หรื อประกอบทานองเพลงไทย กลอนเสภาน่าจะพัฒนามาจากการอ่านกลอน โดยอ่าน
เป็ นทานองพิเศษขึ้นกว่าทานองเสนาะของกลอนปกติ แล้วใช้กรับเป็ นเครื่ องประกอบจังหวะเพื่อให้การ
อ่านนั้นไพเราะน่าฟังยิง่ ขึ้น เรี ยกว่า “ขับเสภา” และโดยที่เป็ นกลอนขับร้องเพื่อฟังเรื่ องราว จานวนคา
ในวรรคของกลอนเสภาจึงค่อนข้างมากมักมีต้ งั แต่ ๗ – ๙ คา ลักษณะพิเศษอีกประการหนึ่งก็คือ ในแต่
ละตอนมักนิยมขึ้นต้นด้วยคาว่า “ครานั้น” “จะกล่าวถึง”กลอนเสภาใช้คาวรรคละ ๗ – ๙ คา เพราะ
เสภาเป็ นกลอนเล่าเรื่ องอย่างเล่านิทาน สัมผัสเหมือนกลอนบทละครคือคาสุ ดท้ายของวรรคต้นส่ งสัมผัส
ไปยังคาใดคาหนึ่งใน ๕ คาของวรรคหลัง และไม่มีบงั คับห้ามเสี ยงสู งต่า กฎนอกนั้นเหมือนกลอน
สุ ภาพ
๖๖. เฉลย ตอบข้อ ค. ข้อ ๓
อธิ บาย กลอนนิทานมีลกั ษณะเหมือนกลอนนิ ราศ ขึ้นต้นด้วยสรรครับ แล้วแต่งเรื่ องยาวๆทานอง
นิทานหรื อนิยายมีพระเอกนางเอก มีตวั ผูร้ ้ายหรื อตัวอิจฉา อิงหลักธรรมในศาสนาอาจจะมีการรบทัพจับ
ศึก กระบวนการสงครามหรื อมีความลึกลับมหัศจรรย์ การแสดงอภินิหารหรื อความสามารถของตัวเอก
ในเรื่ องอาจจะแฝงด้วยลัทธิไสยศาสตร์ มักจะลงเอยด้วยฝ่ ายดีหรื อฝ่ ายธรรมะชนะฝ่ ายอธรรม นิยาย
ทานองนี้มกั จะเป็ นเรื่ องเกี่ยวกับกษัตริ ยห์ รื อเรื่ องจักรๆ วงศ์ๆ เป็ นนิยายประโลมโลกที่อ่านเพื่อความ
บันเทิงแต่ก็ได้คติขอ้ คิดจากเรื่ องเหล่านี้
ลักษณะของกลอนนิทาน มีดงั นี้
๑. ขึ้นต้นด้วยวรรครับของบาทเอก ส่ วนวรรคสดับปล่อยเว้นว่างไว้
๒. วรรคหนึ่งกาหนดคาตั้งแต่ ๗ – ๙ คา
๓. สัมผัสและความไพเราะอื่นๆ เหมือนกลอนแปด
๔. กลอนนิทานจะแต่งสั้นยาวอย่างไรก็ตามจะต้องจบด้วยบาทโท
๖๗. เฉลย ตอบข้อ ข. ขุนช้างขุนแผน
อธิบาย ข้อ ก. หัวใจนักรบ เป็ นยอดของบทละครพูด
ข้อ ค. สาวเครื อฟ้า เป็ นยอดบทละครร้อง
ข้อ ง. มัทนะพาธา เป็ นยอดบทละครพูดคาฉันท์
๖๘. เฉลย ตอบข้อ ง. โคลงห้า
อธิบาย โคลงห้า (โคลงมณฑกคติ) เป็ นคาประพันธ์ที่ปรากฏอยูใ่ นวรรณกรรมไทย เพียงเรื่ อง
เดียวคือลิลิตโองการแช่งน้ า พระโหราธิ บดีได้กล่าวถึงลักษณะของชนิดโคลงนี้ไว้ในหนังสื อจินดามณี วา่
โคลงห้ามีจานวนคาในแต่วรรคหรื อแต่ละบาท ๕ คา บังคับเอกโทเช่นเดียวกับโคลงทัว่ ไป แต่ไม่อาจ

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 547
กาหนดจานวนได้ และบอกไม่ได้วา่ มีการวางรู ปแบบอย่างไร คาประพันธ์ที่ยกมาสามารถแบ่งวรรคได้
ดังนี้
นานาอเนกน้าว เดิมกัลป์
จักร่ าจักราพาฬ เมื่อไหม้
กล่าวถึงตระวันเจ็ด อันพลุ่ง
น้ าแล้งไข้ขอดหายฯ
๖๙. เฉลย ตอบข้อ ค. โคลงสี่ สุภาพ
อธิบาย โคลงสี่ สุภาพมีลกั ษณะบังคับคือ หนึ่งบทมี ๓๐ คา แบ่งเป็ น ๔ บาท บาทที่ ๑,๒และ
๓ มี ๗ คาส่ วนบาทที่ ๔ มี ๙ คา แต่ละบาทแบ่งเป็ น ๒ วรรค วรรคหน้ามี ๕ คา วรรคหลังมี ๒ คา
ยกเว้นบาทสุ ดท้ายวรรคหลังมี ๔ คา มีคาสร้อยได้ในวรรคหลังของบาทแรกและบาทที่ ๓ บังคับ
วรรณยุกต์ เอก ๗ แห่ง วรรณยุกต์โท ๔ แห่ง
๗๐. เฉลย ตอบข้อ ง. หัวใจของครู ที่มีอุดมคติคือมีปัญญากับเมตตา
อธิ บาย หัวใจของครู ที่มีอุดมคติคือมีปัญญากับเมตตาจะทาให้การทางานอย่างมีอุดมคติ
๗๑. เฉลย ตอบข้อ ง. ข้อ ๕
อธิ บาย ร่ ายยาวมีลกั ษณะบังคับคือ บทหนึ่งจะมีกี่วรรคก็ได้ มักจะมีต้ งั แต่ ๕ วรรคขึ้นไปไม่
กาหนดตายตัวแน่นอน จะมีกี่คาก็ได้แล้วแต่จะเห็นเหมาะ มักอยูร่ ะหว่าง ๘ – ๑๓ คา สัมผัสมีดงั นี้ คา
สุ ดท้ายของวรรคต้นจะส่ งสัมผัสไปยังคาใดก็ได้ในวรรคต่อไป ยกเว้นคาแรกและคาสุ ดท้ายไม่นิยมรับ
สัมผัส ส่ วนการส่ งและการรับด้วยเอกโท อย่างร่ ายที่กล่าวมาแล้วนั้นไม่ถือเป็ นระเบียบเคร่ งครัดนักการ
แต่งร่ ายยาวผูแ้ ต่งจะต้องรู ้จกั เลือกใช้ถอ้ ยคาและสัมผัสในให้มีจงั หวะรับกันอย่างสละสลวย และจานวน
คาที่ใช้ในวรรคหนึ่งๆ ก็ไม่ควรยาวเกินกว่าช่วงระยะหายใจครั้งหนึ่งๆ
๗๒. เฉลย ตอบข้อ ค. ข้อ ๓
อธิบาย ร่ ายโบราณ มีปรากฏอยูใ่ นวรรคดีโบราณคล้ายกับร่ ายสุ ภาพ คือ บทหนึ่งไม่จากัดจานวน
วรรค แต่ไม่ต่ากว่า ๕ วรรค ๑ วรรคมี ๕ – ๘ คา มีสัมผัสส่ งจากวรรคหน้าไปยังคาที่ ๑ – ๒ – ๓ ของ
วรรคต่อไป แต่ไม่ตอ้ งลงท้ายด้วยโคลงสองเหมือนร่ ายสุ ภาพ คือ จบโดยไม่มีวธิ ี ลงท้ายใดๆอาจมีคา
สร้อย ๒ คาตอนสุ ดท้ายหรื อสลับวรรคก็ได้
๗๓. เฉลย ตอบข้อ ง. ข้อ ๔
อธิบาย ร่ ายดั้นจะมีการแต่งเหมือนร่ ายโบราณคือในบทหนึ่งๆ จะมีกี่วรรคก็ได้ มักจะมีต้ งั แต่ ๕
วรรคขึ้นไป
วรรคหนึ่งใช้คาตั้งแต่ ๓ - ๘ คา แต่ไม่เคร่ งเรื่ องการรับสัมผัสระหว่างชนิดคาส่ วนการ
จบบท บังคับเอก โท ตามบาทที่ ๓ และ๔ ของโคลงดั้นวิวธิ มาลี ถ้าคาที่ส่งสัมผัสเป็ นคาเป็ น คาที่รับ
สัมผัสจะต้องเป็ นคาเป็ น แต่หากคาที่ส่งสัมผัสเป็ นคาตาย คาที่รับสัมผัสจะต้องเป็ นคาตายด้วยและคา

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 548
สุ ดท้ายของบทห้ามใช้คาตาย สามารถเติมคาสร้อยในตอนสุ ดท้ายของบทได้ ๒ คาหรื อ จะเติมสร้อย
ระหว่างวรรคก็ได้
๗๔. เฉลย ตอบข้อ ค. อุทกภัย
อธิบาย ในปี พ.ศ. ๒๕๕๔ เกิดเหตุการณ์อุทกภัยครั้งใหญ่ ทาให้เกิดความเดือดร้อนและเสี ยหาย
เป็ นอย่างมาก
๗๕. เฉลย ตอบข้อ ข. การสรรเสริ ญคุณของพระเจ้าแผ่นดิน
อธิ บาย คาประพันธ์กล่าวถึงการสรรเสริ ญคุณของพระเจ้าแผ่นดิน ว่าด้วยพระมหากรุ ณาธิ คุณของ
พระมหากษัตริ ยท์ ี่เลี้ยงประเทศ มีพระประสงค์ให้ประชาราษฎร์ มีความสุ ขล้นพ้นเสมอไป กรุ งศรี อยุธยา
จึงแสนสนุกสนาน เป็ นที่ล่าลือทัว่ ไป ทุกประเทศต่างก็พากันชมและยกย่องสรรเสริ ญ
๗๖. เฉลย ตอบข้อ ค. บทนมัสการสิ่ งศักดิ์สิทธิ์ บทไหว้ครู บทสรรเสริ ญพระเกียรติ ความขลัง นิยม
ใช้สัททุลวิกกีฬิตฉันท์หรื อสัทธราฉันท์ หรื อสาลินีฉนั ท์
อธิบาย สาลินีฉนั ท์ใช้บทบรรยายความ
๗๗. เฉลย ตอบข้อ ข. สาลินีฉนั ท์
อธิบาย สาลินีฉนั ท์ (อ่านว่า สา-ลิ-นี-ฉัน) ตามความหมายในพจนานุกรมฉบับ
ราชบัณฑิตยสถาน กล่าวถึง ชื่อฉันท์อย่างหนึ่ง บาทหนึ่งมี ๑๑ คา วรรคหน้ามี ๕ คา เป็ นครุ ลว้ น วรรค
หลังมี ๖ คา คาที่ ๑ และคาที่ ๔ เป็ นลหุ นอกนั้นเป็ นครุ คณะและพยางค์ สาลินีฉนั ท์ ๑ บท
ประกอบด้วยคณะและพยางค์ ดังนี้มี ๒ บาท วรรคหน้ามีจานวน ๕ คา/พยางค์ และวรรคหลังมี
จานวน ๖ คา/พยางค์ เช่นเดียวกัน
๑ บาท นับจานวนคาได้ ๑๑ คา/พยางค์ ดังนั้น จึงเขียนเลข ๑๑ หลังชื่อ สาลินีฉนั ท์ นี่เองครับ (แต่
ต้องสังเกตที่ครุ -ลหุ ใน ๑ บาท จะปรากฏคาลหุเพียง ๒ แห่ง คือคาที่ ๑ และคาที่ ๔ ในวรรคหลัง)
ทั้งบทมีจานวนคาทั้งสิ้ น ๒๒ คา/พยางค์สัมผัสพบว่า สาลีนีฉนั ท์ มีสัมผัสนอก (ที่เป็ นสัมผัสภายใน
บท) จานวน ๒ แห่ง ได้แก่
๑. คาสุ ดท้ายของวรรคหน้าในบาทที่ ๑ ส่ งสัมผัสกับคาที่ ๓ ของ วรรคหลังในบาทเดียวกัน
๒. คาสุ ดท้ายของวรรคหลังในบาทที่ ๑ ส่ งสัมผัสกับคาสุ ดท้ายของวรรคหน้าในบาทที่ ๒
สัมผัสระหว่างบท พบว่า คาสุ ดท้ายของบท ส่ งสัมผัสกับคาสุ ดท้ายของวรรคหลังในบาทที่ ๑ ของบท
ต่อไป
คาครุ ลหุ สาลีนีฉนั ท์ ๑ บท มีคาครุ ท้ งั หมด ๑๘ คา/พยางค์ และมีคาลหุ ท้ งั หมด ๔ คา/
พยางค์ ให้นกั เรี ยนสังเกตสัมผัสบังคับ (สัมผัสนอก) และบังคับครุ -ลหุ สาลินีฉนั ท์ ๑๑
๗๘. เฉลย ตอบข้อ ค. กาพย์ยานี ๑๑
อธิบาย “พฤษภกาสร อีกกุญชรอันปลดปลง
โททนต์เสน่งคง สาคัญหมายในกายมี

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 549
นรชาติวางวาย มลายสิ้ นทั้งอินทรี ย ์
สถิตทัว่ แต่ชวั่ ดี ประดับไว้ในโลกา”
ใช้รูปแบบการแต่งแบบร่ ายสุ ภาพ มีความหมายโดยรวมว่า วัวควายนั้นเมืองตายก็ยงั มีเขามี
เขี้ยวมีฟันให้เอาไว้ใช้ทาประโยชน์ต่อไปได้ ส่ วนคนเรานั้นเมื่อตาย สิ่ งที่คงเหลืออยูก่ ็มีแต่ความชัว่ ความ
ดีประดับโลก(ที่เคยทาเมื่อครั้งยังมีชีวติ )
๗๙. เฉลย ตอบข้อ ก. บรรยายโวหาร
อธิ บาย ผูเ้ ขียนบรรยายความรู ้เกี่ยวกับความหมายของ “ตาหนัก” และที่มาในการใช้ที่แตกต่างกัน
๘๐. เฉลย ตอบข้อ ข. กิ๊ก
อธิบาย คาสแลง (อังกฤษ : slang) คือถ้อยคาหรื อสานวนที่ใช้เข้าใจกันเฉพาะกลุ่มหรื อชัว่
ระยะเวลาหนึ่งไม่ใช่ภาษาที่ยอมรับกันว่าถูกต้อง
กิ๊ก หมายถึง หญิงชายที่มีความสัมพันธ์กนั มากกว่าเพื่อนแต่ไม่ใช่แฟน
๘๑. เฉลย ตอบข้อ ค. ชายหนุ่ม
อธิบาย “รวบหนุ่มอามหิ ต ปาดคอฆ่ากิ๊กสาว ขอตีจากแต่ไม่ยอม” ข้อความพาดหัวข่าวนี้ขยาย
ความได้วา่ ตารวจจับหนุ่มอามหิ ตที่ปาดคอกิ๊กสาว เนื่องจากกี๊กสาวขอเลิกคบ แต่ตนนั้นไม่ยอม
๘๒. เฉลย ตอบข้อ ค. ขอตีจาก
อธิบาย ขอตีจาก หมายถึง การที่คน ๒ คนคบกัน แล้วอีกฝ่ ายหนึ่งต้องการขอเลิกคบ ซึ่ งอาจจะ
ทาให้อีกฝ่ ายรู ้สึกเสี ยใจ สะเทือนใจ หรื อโกรธแค้น เป็ นต้น
๘๓. เฉลย ตอบข้อ ก. รุ มตบ
อธิบาย รุ มตบ เป็ นคากริ ยาแสดงภาพอาการเคลื่อนไหวของบุคคล ๒ ฝ่ าย ที่ใช้มือในการ
แสดงออกถึงการทาร้ายกัน รุ ม หมายถึง อาการที่คนหลายคนหรื อสัตว์หลายตัวรวมกันเข้ามาทาอย่างใด
อย่างหนึ่งแก่ผหู ้ นึ่งหรื อสิ่ งหนึ่งอย่างไม่มีระเบียบ เช่น รุ มตี รุ มด่า
๘๔. เฉลย ตอบข้อ ง. บทอาเศียรวาท
อธิบาย อาเศียรวาทหรื อ อาศิรวาท ประกอบด้วยคาภาษาสันสกฤต ๒ คา คือ อาศิร (อ่านว่า อา-
สิ -ระ) กับ วาท (อ่านว่า วา-ทะ) อาศิร แปลว่า การสรรเสริ ญ. วาท แปลว่า ถ้อยคา. อาศิรวาท จึงแปลว่า คา
สรรเสริ ญ, คาอานวยพร ในภาษาไทยใช้คาว่า อาศิรวาท เรี ยกถ้อยคาที่ประพันธ์ข้ ึนเพื่อถวายพระพรชัย
มงคลแด่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั สมเด็จพระบรมราชินีนาถ สมเด็จพระบรมโอรสาธิ ราช และ
สมเด็จพระเทพรัตนราชสุ ดาฯ สยามบรมราชกุมารี .
คาว่า อาศิรวาท แผลงเป็ นคาว่า อาเศียรวาท ก็ได้. อาศิรวาท หรื อ อาเศียรวาท นิยมแต่งเป็ นบทร้อย
กรอง และที่ใช้มากที่สุดคือฉันท์ เช่น สัททุลวิกกีฬิตฉันท์ (อ่านว่า สัด-ทุน-วิก-กี-ลิด-ตะ-ฉัน) วสันตดิลก
ฉันท์ (อ่านว่า วะ -สัน-ตะ-ดิ -หฺ ลก-ฉัน) อินทรวิเชียรฉันท์ (อ่านว่า อิน-ทฺระ-วิ -เชียน-ฉัน). ที่แต่งเป็ น
กาพย์ โคลง หรื อ กลอน ก็มีบา้ ง. คาถวายพระพรที่เรี ยกว่า อาศิรวาท นั้น มักจะมีคากล่าวสรรเสริ ญพระ

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 550
บารมีหรื อพระมหากรุ ณาธิ คุณเป็ นการสดุดีดว้ ย จึงมีคาว่า อาศิรวาทราชสดุดี (อ่านว่า อา-สิ -ระ-วาด-ราด-
ชะ-สะ -ดุ-ดี).
๘๕. เฉลย ตอบข้อ ก. อุปมา
อธิบาย อุปมา คือ การเปรี ยบเทียบว่าสิ่ งหนึ่งเหมือนกับสิ่ งหนึ่งโดยใช้คาเชื่อมที่มี
ความหมายเช่นเดียวกับ คาว่า " เหมือน " เช่น ดุุจ ดัง่ ราว ราว
กับ เปรี ยบ ประดุจ เฉก เล่ห์ ปาน ประหนึ่ง เพียง เพี้ยง พ่าง ปูน ฯลฯ
อุปลักษณ์ คือ การเปรี ยบเทียบของสิ่ งหนึ่งว่าเป็ นหรื อคืออีกสิ่ งหนึ่ งโดยตรง โดยใช้
กริ ยา อาศัยส่ วนเติมเต็ม เป็ น คือ ใช่ เท่า ต่าง ( เป็ นคาเปรี ยบเทียบ) บางทีโวหารอุปลักษณ์กล่าวถึง
สิ่ งที่นามาเปรี ยบทันทีโดยปริ ยายไม่มีคากริ ยาดังกล่าว
บุคลาธิษฐาน หรื อ บุคคลวัต คือการกล่าวถึงสิ่ งต่างๆ ที่ไม่มีชีวติ ไม่มีความคิด ไม่มี
วิญญาณ เช่น โต๊ะ เก้าอี้ อิฐ ปูน หรื อสิ่ งมีชีวติ ที่ไม่ใช่มนุ ษย์ เช่น ต้นไม้ สัตว์ โดยให้สิ่งต่างๆเหล่านี้
แสดงกิริยาอาการและความรู ้สึกได้เหมือนมนุษย์ ( บุคลาธิษฐาน มาจากคาว่า บุคคล + อธิษฐาน
หมายถึง อธิษฐานให้กลายเป็ นบุคคล )
อติพจน์ หรื อ อธิพจน์ คือโวหารที่กล่าวเกินความจริ ง เพื่อเน้นความรู ้สึก
ทาให้ผฟู ้ ังเกิดความรู ้สึกที่ลึกซึ้ ง ภาพพจน์ชนิดนี้ นิยมใช้กนั มากแม้ในภาษาพูด เพราะเป็ นการกล่าวที่ทา
ให้เห็นภาพได้ง่ายและแสดงความรู ้สึกของกวีได้อย่างชัดเจน
๘๖. เฉลย ตอบข้อ ข. ประชาชนรักศักดิ์ศรี กนั ทุกคน
อธิบาย “ประชาชนรักศักดิ์ศรี กนั ทุกคน” ไม่ปรากฏในบทความ
๘๗. เฉลย ตอบข้อ ก. เขาวังคู่บา้ น ขนมหวานเมืองพระ เลิศล้ าศิลปะ แดนธรรมะ ทะเลงาม
อธิบาย วิชยั เพิ่งอกหักเขาอยากฟังธรรมะเพื่อช่วยยกระดับจิตใจให้สูงขึ้น เขาควรไปแดนธรรมะ
ซึ่ งอยูท่ ี่จงั หวัดเพชรบุรี
๘๘. เฉลย ตอบข้อ ง. คนสวยโพธาราม คนงามบ้านโป่ ง เมืองโอ่งมังกร วัดขนอนหนังใหญ่ ตื่นใจถ้ า
งาม ตลาดน้ าดาเนินฯเพลินค้างคาวร้อยล้าน ย่านยีส่ กปลาดี
อธิบาย วัชรชัยต้องการเฟ้นหาตัวแทนของประเทศเพื่อเข้าประกวดงามอย่างไทย เขาควรไปที่โพ
ธาราม ซึ่งเป็ นอาเภอหนึ่งของจังหวัดราชบุรี
๘๙. เฉลย ตอบข้อ ง. ธรรมชาติน่ายล ภูมิพลเขื่อนใหญ่ พระเจ้าตากเกรี ยงไกร เมืองไม้และป่ างาม
อธิบาย คุณครู ศรรามต้องพานักเรี ยนไปที่จงั หวัดกาญจนบุรี หากต้องการให้นกั เรี ยนทราบ
ประวัติศาสตร์พระมหากษัตริ ยไ์ ทยในตานาน
๙๐. เฉลย ตอบข้อ ค. คาขวัญ
อธิบาย คาขวัญ หมายถึง ถ้อยคา ข้อความ คาคล้องจอง หรื อบทกลอนสั้นๆ เพื่อให้จาได้ง่าย โดย
อาจแบ่งได้เป็ น 2 ประเภทดังนี้ถอ้ ยคาหรื อข้อความ ที่แต่งขึ้นเพื่อเป็ นเครื่ องเตือนใจ แสดงอุดมคติ หรื อ

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 551
เป้ าหมายของกลุ่มหรื อองค์กรนั้นๆ เช่น คาขวัญวันเด็ก คาขวัญประจาโรงเรี ยน เป็ นต้นถ้อยคาหรื อ
ข้อความ ที่แต่งขึ้นมาเพื่อบ่งบอกถึงเอกลักษณ์ คุณสมบัติ ความโดดเด่น เช่น คาขวัญประจาจังหวัด
ข้อ ก. เขาวังคู่บา้ น ขนมหวานเมืองพระ เลิศล้ าศิลปะ แดนธรรมะ ทะเลงาม
(เป็ นคาขวัญจังหวัดเพชรบุรี)
ข้อ ข. เมืองทองเนื้อเก้า มะพร้าวสับปะรด สวยสด หาด เขา ถ้ า งามล้ าน้ าใจ
(เป็ นคาขวัญจังหวัดประจวบคีรีขนั ธ์)
ข้อ ค. แคว้นโบราณ ด่านเจดีย ์ มณี เมืองกาญจน์ สะพานข้ามแม่น้ าแคว แหล่งแร่
น้ าตก (เป็ นคาขวัญจังหวัดกาญจนบุรี)
ข้อ ง. ธรรมชาติน่ายล ภูมิพลเขื่อนใหญ่ พระเจ้าตากเกรี ยงไกร เมืองไม้และป่ า
งาม (เป็ นคาขวัญจังหวัดตาก)
๙๑. เฉลย ตอบข้อ ค. ความพยายามอยูท่ ี่ไหน ความสาเร็ จอยูท่ ี่นนั่
อธิ บาย หากคนเรามีความพยายาม ในวันหนึ่งความสาเร็ จก็จะเกิดขึ้น หากเรานัง่ รอคอยโอกาส
หรื อโชคช่วยความเป็ นใหญ่ก็จะไม่เกิดขึ้นกับตัวเรา ทุกอย่างจะสาเร็ จได้หากเราได้ลงมือกระทา
๙๒. เฉลย ตอบข้อ ง. มือมัจจุราช “สึ นามิ”
อธิบาย มือมัจจุราช “สึ นามิ” เป็ นชื่อที่มีความเหมาะสมมากที่สุด เพราะมัจจุราชหมายถึงเจ้าแห่ง
ความตายซึ่ งเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น เรี ยกว่า “สึ นามิ” สร้างความสะเทือนใจให้กบั ผูค้ น พ่อ แม่ ลูก ญาติพี่
น้อง ถูกพลัดพรากตายจากกัน
๙๓. เฉลย ตอบข้อ ค. ภัยจากสึ นามิ จิตใจมนุษย์เข้มแข็งขึ้น
อธิ บาย ภัยสึ นามิไม่ได้ทาให้มนุษย์เข้มแข็งขึ้น แต่ตรงกันข้ามกลับสร้างความกลัวและ
สะเทือนใจอย่างมิรู้ลืม
๙๔. เฉลย ตอบข้อ ก. ที่มา ข้อสนับสนุน ข้อสรุ ป
อธิบาย (ทีม่ า) ทาไมสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าจึงทรงละความสุ ขเสด็จออกผนวช ทาไม
พระองค์จึงสละลาภยศอันยิง่ ใหญ่ที่รอคอยอยูเ่ บื้องหน้า “(ข้ อสนับสนุน)...เพราความสุ ขกายมิใช่วา่ จะทา
ให้พระองค์มีความสุ ขอย่างแท้จริ งก็หาไป่ มันเป็ นเพียงเสมือนภาพลวงตาไม่ชา้ ก็แตกดับ ไม่คงทนถาวร
(ข้ อสรุ ป) ความสงบและความบริ สุทธิ์ ของจิตใจกลับเป็ นความสุ ขที่พระองค์แสวงหา”
๙๕. เฉลย ตอบข้อ ค. โลกธรรม ๘
อธิบาย โลกธรรม 8 หมายถึง ธรรมดาของโลก เรื่ องของโลก ธรรมชาติของโลกที่ครอบงาสัตว์โลกและ
สัตว์โลกต้องเป็ นไปตามธรรมดานี้ 8 ประการอันประกอบด้วยโลกธรรมฝ่ ายอิฏฐารมณ์ คือ พอใจของ
มนุษย์ เป็ นที่รักเป็ นที่ปรารถนา
1.ลาภ หมายความว่า ได้ผลประโยชน์ ได้มาซึ่ งทรัพย์
2.ยศ หมายความว่า ได้รับฐานันดรสู งขึ้น ได้อานาจเป็ นใหญ่เป็ นโต

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 552
3.สรรเสริ ญ คือ ได้ยนิ ได้ฟัง คาสรรเสริ ญคาชมเชย คายกยอ เป็ นที่น่าพอใจ
4.สุ ข คือ ได้ความสบายกาย สบายใจ ความเบิกบาน บันเทิงใจเริ งใจ
โลกธรรมฝ่ ายอนิฏฐารมณ์ คือ ความไม่พอใจของมนุษย์ ไม่เป็ นที่ปรารถนา
1.เสื่ อมลาภ หมายความว่า เสี ยลาภไป ไม่อาจดารงอยูไ่ ด้
2.เสื่ อมยศ หมายถึง ถูกลดอานาจความเป็ นใหญ่
3.นินทาว่าร้าย หมายถึง ถูกตาหนิติเตียนว่าไม่ดี ถูกติฉินนิ นทา หรื อถูกกล่าวร้ายให้เสี ยหาย
4.ทุกข์ คือ ได้รับความทุกขเวทนา ทรมานกาย ทรมานใจ
๙๖. เฉลย ตอบข้อ ก. การพรรณนา
อธิ บาย เนื้อหาของบทความไม่ปรากฏการพรรณนา
ข้อ ก. ผูเ้ ขียนใช้ประโยคคาถาม คือ ทาไมสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าจึงทรงละ
ความสุ ขเสด็จออกผนวช,ทาไมพระองค์จึงสละลาภยศอันยิง่ ใหญ่ที่รอคอยอยูเ่ บื้องหน้า
ข้อ ข. ผูเ้ ขียนใช้ภาพพจน์ คือ เปรี ยบความสุ ขกายเสมือนภาพลวงตา
ข้อ ค. ผูเ้ ขียนใช้คาราชาศัพท์ คือ ออกผนวช (ออกบวช)
ข้อ ง. ผูเ้ ขียนแสดงเหตุและผล คือ การที่พระองค์ทรงออกผนวชเพราะทรงค้นพบว่า
ความสุ ขกายไม่ใช่ความสุ ขที่แท้จริ ง ความสุ ขที่แท้จริ งคือความสงบและความบริ สุทธิ์ ของจิตใจ
๙๗. เฉลย ตอบข้อ ง. รู ปแบบการพัฒนาการศึกษาที่จริ งควรเป็ นอย่างไร
อธิบาย ประเด็นการโต้แย้ง คือ รู ปแบบการพัฒนาการศึกษาที่แท้จริ งควรเป็ นอย่างไรเพราะ
เป้ าหมายการพัฒนาที่เกิดขึ้นคือความมัง่ คัง่ ทางเศรษฐกิจไม่ใช่การพัฒนาตัวเด็กหรื อชุมชนแต่อย่างใด
๙๘. เฉลย ตอบข้อ ค. รู ปแบบการพัฒนาการศึกษาที่ไม่ได้เน้นการพัฒนาเด็ก ท้องถิ่น ชุมชน อย่าง
แท้จริ ง
อธิ บาย รู ปแบบการพัฒนาการศึกษาที่ไม่ได้เน้นการพัฒนาเด็ก ท้องถิ่น ชุมชนอย่างแท้จริ ง จึง
เปรี ยบเด็กเหมือน “ตีน” ที่ตอ้ งตัดเปลี่ยนแปลง รู ปทรงเพื่อให้เข้าหรื อพอดีกบั “เกือก” ซึ่งหมายถึง
เป้ าหมายการพัฒนาที่คบั แคบนัน่ เอง
๙๙. เฉลย ตอบข้อ ข. คนจนมีโอกาสได้เรี ยนในเมืองใหญ่จริ งหรื อ
อธิ บาย บทความไม่ได้กล่าวว่าคนจนจะมีโอกาสได้เรี ยนในเมืองใหญ่จริ งหรื อไม่ แต่กล่าวโดย
มัน่ ใจว่า ลูกคนยากคนจนในชนบทไม่มีโอกาสได้เรี ยนในเมืองใหญ่ โอกาสทางการศึกษาเปิ ดไว้เฉพาะ
ลูกคนมีฐานะเท่านั้น
๑๐๐. เฉลย ตอบข้อ ง. บังคับให้อีกฝ่ ายหนึ่งตกอยูใ่ นภาวะจายอมโดยไม่มีทางเลือก
อธิบาย สานวน “มัดมือชก” หมายถึง บังคับให้อีกฝ่ ายหนึ่งตกอยูใ่ นภาวะจายมโดยไม่มีทางเลือก

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 553

แนวข้ อสอบความรู้ความสามารถทั่วไปด้ านภาษาไทย ชุดที่ ๕

จากนิทานพืน้ บ้ านต่ อไปนีใ้ ช้ ในการตอบคาถามข้ อที่ ๑ – ๓

นิทานเรื่ อง นายดั้น เขียนบันทึกลงสมุดข่อย ต้นฉบับเป็ นของวัดท่าเสริ ม อาเภอหัวไทร


จังหวัดนครศรี ธรรมราช ระยะเวลาที่แต่งนิทานคงอยูใ่ นระยะรัชกาลที่ ๑ ถึงรัชกาลที่ ๓ ด้วยกาพย์ ๓
ชนิด คือ กาพย์ยานี ๑๑ ,กาพย์ฉบัง ๑๖ , และกาพย์สุรางคนางค์ ๒๘ โดยมีวตั ถุประสงค์เพื่อความ
บันเทิง สวดอ่านนิทานในยามว่าง โดยนิทานเรื่ อง นายดั้น มีเนื้ อเรื่ องดังนี้
นายดั้น เป็ นคนตาบอดใส อยากได้นางริ้ งไรเป็ นภรรยา จึงส่ งคนไปสู่ ขอและนัดวันแต่ง
โดยฝ่ ายนางริ้ งไรไม่รู้วา่ ตาบอด เมื่อถึงวันแต่งงานนายดั้นพยายามกลบเกลื่อนความพิการของตน โดยใช้
สติปัญญาและไหวพริ บต่างๆแก้ปัญหา เมื่อขบวนขันหมากมาถึงบ้านเจ้าสาว เจ้าภาพ ขึ้นบนบ้าน นาย
ดั้นกลับนัง่ ตรงนอกชาน เมื่อคนทัก นายดั้นจึงแก้ตวั ว่า “ขอน้ าสักน้อย ล้างตีนเรี ยบร้อย จึงค่อยคลาไคล
ทาดมทาเช็ด เสร็ จแล้วด้วยไว แล้วจึงขึ้นไป ยอไหว้ซา้ ยขวา”
ขณะอยูก่ ินกับนางริ้ งไร วันหนึ่งนางริ้ งไรจัดสารับไว้ให้แล้วลงไปทอผ้าใต้ถุนบ้าน นาย
ดั้น เข้าครัวหาข้าวกินเองทาหกเรี่ ยราดลงใต้ถุนครัว นางริ้ งไรร้องทักว่าเทข้าวทาไม นายดั้น จึงแก้ตวั ว่า
“เป็ นไก่เล็กน้อยบ้างง่อยบ้างเพลีย ตัวผูต้ วั เมีย ผอมไปสิ้ นที่อกเหมือนคมพร้า แต่เพียงเรามา มีข้ ึนดิบดี
หว่านลงทุกวัน ชิงกันอึ่งมี่ กลับว่าเรานี้ ขึ้งโกรธโกรธา”
วันหนึ่งนางริ้ งไรให้นายดั้นไปไถนา นายดั้นบังคับวัวไม่ได้ วัวหักแอกหักไถหนีเตลิดไป
นายดั้งจึงเที่ยวตามวัว ได้ยนิ เสี ยงลมพัดใบไม้แห้งชายป่ า เข้าใจว่าเป็ นวัว จึงวิดน้ าเข้าใส่ เพื่อให้ววั เชื่ อง
นางริ้ งไรมาเห็นเข้าจึงถามว่าทาอะไร นายดั้นได้แก้ตวั ว่า . “พี่เดินไปตาวัว ปะรับแตนแล่นไม่ทนั จะเอา
ไฟหาไม่ไฟ วิดน้ าใส่ ตายเหมือนกัน ครั้นแม่บินออกพลันเอารังมันจมน้ าเสี ย”
อยูม่ าวันหนึ่ งนายดั้นจะกินหมาก แต่ในเชี่ยนหมากไม่มีปูน จึงร้องถามนางริ้ งไร นาง
บอก ที่วางปูนให้ แต่นายดั้นหาไม่พบ ได้ร้องถามอีกหลายครั้งแต่ก็ยงั หาไม่พบ นายดั้นจึงร้องท้าให้นาง
ริ้ งไรขึ้นบ้านมาดู หากปูนมีตามที่บอก จะยอมให้นางริ้ งไรเอาปูนมาทาขยี้ตา นางริ้ งไรจึง เอาปูนมาทา
ขยี้ตานายดั้น นายดั้นถือโอกาสจึงร้องบอกว่าตาบอดเพราะปูนทา นางริ้ งไรจึงต้องหายามารักษาจนตา
หายบอดได้บวชเรี ยน
นิทานพื้นบ้านภาคใต้ เรื่ อง นายดั้น (จ.นครศรี ธรรมราช)

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 554
๑. “ตาบอดใส” มีความหมายว่าอย่างไร
ก. ตามองไม่เห็น ข. ลักษณะที่ตาเหลือกขึ้นจนไม่เห็นตาดา
ค. ตาบอดอย่างที่ตาดูเหมือนเป็ นปรกติแต่มองไม่เห็น
ง. ตาที่มีจุดขาวมัวๆ อยูก่ ลางตาดา ทาให้มองไม่ค่อยเห็น
๒. นางริ้ งไรมีลกั ษณะนิสัยอย่างไร
ก. ชอบจับผิดสามี ข. เอาแต่ใจตนเอง
ค. ฉลาดรู ้เท่าทันสามี ง. ซื่ อ ตามสามีไม่ทนั
๓. นายดั้นหายตาบอดได้อย่างไร
ก. ไปหาหมอรักษา ข. นางริ้ งไรหายามารักษาให้
ค. นางริ้ งไรพาหมอมารักษาที่บา้ น ง. นางริ้ งไรเอาปูนมาขยี้ตานายดั้น

จงใช้ ข้อมูลตอบคาถามทีก่ าหนดให้ ต่อไปนีต้ อบคาถามข้ อ ๔-๘


นอกจากการไหว้ครู ตามวาระดังกล่าวแล้ว บรรดาช่างและนักดนตรี หรื อศิลปิ นมักจะไหว้
ราลึกคุณครู เสมอ ๆ ประจาวัน คือ ช่างจะไหว้เครื่ องมือราลึกถึงคุณครู ก่อนเริ่ มงาน นักดนตรี ก็จะยกมือ
ไหว้เครื่ องดนตรี ก่อนการบรรเลงตามนัยเดียวกัน การแสดงพื้นบ้านและการแสดงอื่นอีกหลายประเภท
ล้วนมีบทไหว้ครู ก่อนการแสดงจริ ง ดังนั้นอาจสรุ ปได้วา่ การไหว้ครู ของไทยเป็ นการกระทาเพื่อสร้างสิ ริ
มงคลแก่ผกู ้ ระทา และเพื่อให้ผนู ้ ้ นั มีสติมีสมาธิ มนั่ คงในการประกอบกิจการของตนให้สาเร็ จลุล่วงด้วยดี
การไหว้ครู ในระยะแรกอาจมุ่งหมายไหว้ครู เพื่อสอนหนังสื อหรื อสอนวิชาเพียงอย่างเดียว ต่อมา
ได้ขยายกว้างออกไปเป็ นไหว้บูชาพระรัตนตรัย ไหว้ระลึกคุณบิดามารดาและไหว้ครู ผปู ้ ระสิ ทธิ์ ประสาท
วิชาความรู ้ดงั เช่นที่ปรากฏในบทไหว้ครู ต่างๆ ในปัจจุบนั
ในการศึกษานั้นชาวไทยจะได้รับคาสอนว่า เมื่อได้เล่าเรี ยนวิชามาและมีความรู ้เพิม่ เติมมากขึ้น
อย่าลบหลู่ครู บาอาจารย์ หรื อคิดอ่านต่อสู ้ดว้ ยสาคัญว่าตนมีความรู ้มาก นอกจากนี้ครู และผูใ้ หญ่สมัยก่อน
ยังสอนเด็กให้เคารพต่ออุปกรณ์เครื่ องเขียน ได้แก่ กระดานชนวน และหนังสื อ ให้จดั เก็บไว้ในสถานที่อนั
สมควร ไม่กา้ วข้ามไปมาเมื่อเวลาจะใช้หรื อใช้แล้วต้องกราบไหว้ทุกครั้ง
พิธีกรรมที่สาคัญเนื่ องในการศึกษาเล่าเรี ยนของไทย เป็ นคตินิยมที่ไม่อาจละเลยได้ ทั้งในอดีต
และปัจจุบนั คือ พิธีไหว้ครู พิธีไหว้ครู เป็ นเรื่ องของการแสดงความเคารพต่อผูม้ ีพระคุณด้วยความกตัญญู
รู ้คุณ และเป็ นเครื่ องบารุ งกาลังใจให้มีสติเกิดความเชื่ อมัน่ ในการดาเนินกิจกรรมที่ครู ประสิ ทธิ์ ประสาท
ให้ ตลอดจนเป็ นการสร้างสิ ริมงคลให้บงั เกิดแก่ผปู ้ ระกอบพิธี การไหว้ครู มีหลายวาระ ได้แก่
ไหว้เมื่อเริ่ มเรี ยน ในการศึกษาตามระบบเดิม เมื่อผูป้ กครองนาเด็กมาฝากให้เรี ยนกับครู ผใู ้ ด ก็
มักจะเลือกพาไปในวันฤกษ์ดี หรื อนิยมพาไปวันพฤหัสบดีซ่ ึ งถือว่าเป็ นวันครู จะประกอบกิจใดก็สาเร็ จ
และจัดพานใส่ ดอกไม้ ธูปเทียน ให้เด็กกราบครู เป็ นการบูชาครู ก่อนเริ่ มเรี ยน
ไหว้ขณะเรี ยน หมายถึง การกราบไหว้ประจาวันและพิธีไหว้ครู ที่จดั ขึ้นเพื่อสักการะราลึกถึง

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 555
พระคุณครู จัดเป็ นพิธีใหญ่ประจาปี ปี ละครั้ง พิธีไหว้ครู ประจาปี นี้หากเป็ นการศึกษาเกี่ยวกับช่าง หรื อ
นาฏศิลป์ ดนตรี ก็จะมีพธิ ีครอบครู สาหรับผูฝ้ ึ กใหม่ดว้ ย
ไหว้เมื่อประกอบการงานเสร็ จแล้วพิธีไหว้ครู ซ่ ึ งจัดขึ้นในช่วงนี้ ส่ วนใหญ่จะเป็ นเรื่ องของ ผูม้ ี
อาชีพเกี่ยวกับการช่างและนาฏศิลป์ ดนตรี นิยมจัดเป็ นพิธีใหญ่ประจาปี หรื อจัดขึ้นในโอกาสที่เห็นว่า
เหมาะสม
๔. ข้อความที่คดั มาให้อ่านข้างต้นมีจุดประสงค์ใด
ก. ต้องการให้รายละเอียดเกี่ยวกับพิธีไหว้ครู ข. ต้องการบอกความสาคัญของพิธีไหว้ครู
ค. ต้องการเชิญชวนให้ระลึกถึงพระคุณครู ง. ต้องการจาแนกรู ปแบบของการไหว้ครู
๕. ข้อความข้างต้นใช้โวหารชนิดใด
ก. บรรยายโวหาร ข. พรรณนาโวหาร
ค. สาธกโวหาร ง. อุปมาโวหาร
๖. บุคคลใดต่อไปนี้ “ไหว้ ครู ” ตามบริ บทที่ขอ้ ความข้างต้นระบุไว้
ก. ไทยคม ไปเจอครู สอนวิชาคณิ ตศาสตร์ที่ตลาดจึงยกมือไหว้
ข. ปารุ สก์ ยกมือไหว้ครู ที่ประตูโรงเรี ยนทุกครั้งก่อนเข้าโรงเรี ยน
ค. ภัทรพล นาเพื่อน ๆ ยกมือไหว้ครู ตามหน้าที่ของหัวหน้าชั้นเรี ยน
ง. อวกาศ นาดอกไม้ธูปเทียนไปไหว้ครู เพื่อขออโหสิ กรรมก่อนบวช
๗. คาว่า “พิธีครอบครู ” ในย่อหน้าที่ ๓ มีความสาคัญอย่างไร
ก. เพื่อให้ผเู ้ ข้าร่ วมพิธีราลึกถึงพระคุณของครู ข. เพื่อสร้างความศักดิ์สิทธิ์ ให้กบั วิชาความรู ้
ค. เพื่อแสดงตนว่าเป็ นศิษย์ต่อครู ผใู ้ ห้ความรู ้ ง. เพื่อยกระดับวิชาความรู ้ให้เป็ นความรู ้ช้ นั สู ง
๘. จากข้อมูลข้างต้นข้อความใดต่อไปนี้กล่าวสรุ ปได้ถูกต้อง
ก. จุดประสงค์สาคัญของการไหว้ครู คือการเน้นให้เห็นความสาคัญของเทพเจ้าและ สิ่ ง
ศักดิ์สิทธิ์
ข. พิธีไหว้ครู จดั ขึ้นเพื่อไม่ให้ผเู ้ รี ยนหลงระเริ งในวิชาความรู ้ และอวดอ้างความรู ้ของตน
ค. อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ต่างๆ ไม่ถือว่าเป็ นอุปกรณ์เครื่ องเขียนจึงไม่จาเป็ นต้องให้ความ
เคารพ
ง. ความเชื่อว่าเมื่อเดินข้ามหนังสื อแล้วไหว้หนังสื อเป็ นความเชื่ อที่ งมงายไม่ทนั สมัย ไม่
ควรทาตาม

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 556

จงอ่านบทความต่ อไปนีแ้ ล้วตอบคาถามข้ อที่ ๙ – ๑๒

“คาว่า รัก เป็ นคาที่ยงิ่ ใหญ่ ทุกคนเคยสั่งสอนให้เชื่อเช่นนั้น แต่จะมีใครบ้างที่เข้าใจคาว่ารัก


ที่แท้จริ ง จนกว่าจะค้นพบมันด้วยตัวเอง ความรักมีหลายรู ปแบบ รับแบบคนรัก แต่ที่แน่ๆ
สัญชาตญาณของมนุษย์เราก็คือ การรักตัวเอง แล้วจึงเผื่อแผ่ความรักแก่ผอู ้ ื่น ในชี วติ คนเรา มีความรัก
เกิดขึ้นมาหลายครั้ง จนตัวเราก็ไม่อาจจะจามันได้ ทั้งคนที่รัก ของที่รัก แต่การที่เราจะรักสิ่ งใดสิ่ งหนึ่งก็
ควรจะตั้งตนให้อยูใ่ นความพอดี รู ้จกั ความพอดีพอควร ไม่ใช่ทุ่มเทให้กบั สิ่ งนั้นหมดทั้งชีวติ เพราะที่
แน่ๆ ทุกสิ่ งพบกันก็ตอ้ งมีพรากจาก ไม่มีสิ่งใดที่จะอยูก่ บั เราตลอดไป ความรักถือว่าเป็ นสิ่ งบริ สุทธิ์
เป็ นความรู ้สึกดีๆ ที่เกิดขึ้นมาในชีวติ การที่เราเกิดมาได้มอบความรักให้แก่ใครหรื อสิ่ งใด ก็เป็ น
ความสุ ขในชีวติ ของเรา อย่างเช่นการที่ขา้ พเจ้าเกิดมาได้รู้จกั กับ “วัชพืช” ที่เป็ นแรงบันดาลใจในชีวติ
ของข้าพเจ้า แล้วข้าพเจ้าก็ได้มอบความรักให้แก่มนั ซึ่ งนี่ ก็เป็ นความสุ ขของการได้รัก การที่เราจะรัก
ใครไม่จาเป็ นต้องมีเหตุผล แต่ข้ ึนอยูก่ บั ความจริ งใจที่เรามีให้ไป และไม่เดือดร้อนแก่ผอู ้ ื่น แต่ในโลกนี้
สุ ดท้ายแล้ว คงไม่มีความรักใดที่จะมัน่ คงและยิง่ ใหญ่เท่ากับความรักที่พอ่ แม่มีต่อลูก ฉะนั้นเราต้องรัก
ท่านและตอบแทนท่านให้สมกับความรักที่ท่านมอบให้เรา คาว่ารัก จึงจะเป็ นคาที่ยงิ่ ใหญ่อย่างแท้จริ ง”

๙. คนเราจะเข้าใจคาว่ารักแท้ได้อย่างไร
ก. อ่านจากนวนิยาย ข. ค้นพบด้วยตนเอง
ค. ขอพรจากเทพเจ้า ง. สังเกตบุคคลใกล้ชิด
๑๐. สัญชาตญาณของมนุษย์ที่ผเู ้ ขียนกล่าวถึงคือข้อใด
ก. การรักแฟน ข. การรักเพื่อน ค. การรักตัวเอง ง. การรักพ่อแม่
๑๑. ข้อใดกล่าวไม่ ถูกต้องจากบทความ
ก. ความรักเป็ นสิ่ งบริ สุทธิ์ ข. ไม่มีสิ่งใดที่อยูก่ บั เราตลอดไป
ค. การที่เราจะรักใครไม่จาเป็ นต้องมีเหตุผล
ง. ความรักที่ยงิ่ ใหญ่ที่สุดคือความรักที่ลูกมีต่อพ่อแม่
๑๒. บทความนี้ควรตั้งชื่อว่าอย่างไร
ก. ความรัก ข. ที่สุดของคาว่า”รัก”
ค. รักตัวเองสาคัญที่สุด ง. นิยามของคาว่า “ความรัก”

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 557

บทความต่ อไปนีใ้ ช้ ตอบคาถามข้ อที่ ๑๓ – ๑๕

ตานานดาวลูกไก่เป็ นวรรณกรรมพื้นบ้านที่ใช้เป็ นนิทานอธิ บายเหตุที่มาของชื่อดาวลูกไก่


และจานวนดาวลูกไก่ที่มี ๗ ดวง ตานานดาวลูกไก่เป็ นเรื่ องเล่าที่สอนเรื่ องของความกตัญญู เพราะ
เนื้อหาเป็ นเรื่ องของแม่ไก่กบั ลูก ๗ ตัว ที่เสี ยสละชีวติ โดยการกระโดดเข้ากองไฟ เพื่อให้ตายายผู ้
เลี้ยงดูแม่ไก่และลูกไก่มา ได้นาไปทาอาหารถวายพระธุ ดงค์ดว้ ยกุศลกรรมนี้ จึงทาให้วญ ิ ญาณของ
แม่ไก่และลูกไก่ไปเกิดเป็ นกลุ่มดาวฤกษ์ ๗ ดวง ชื่อ “กัตติกา” บนท้องฟ้า
ตานานดาวลูกไก่เป็ นเรื่ องที่นิยมเล่ากันอย่างแพร่ หลายในภาคกลาง ภาคเหนื อ และ ภาค
อีสาน ปั จจัยที่ทาให้การแพร่ กระจายของนิทานเรื่ องดาวลูกไก่ เป็ นที่รู้จกั กันโดยกว้างขวางและสื บ
ทอดมาถึงปั จจุบนั คือ การนาสาระจากนิทานมาประพันธ์เป็ นเนื้ อเพลงในภาคเหนือ ช่างซอนิยม
ขับค่าวซอเรื่ องดาววีไก่นอ้ ยในงานชุมนุมหรื องานฉลองงานประเพณี รวมทั้งงานบุญต่างๆ หรื อขับ
ร้องเพื่อสอนลูกหลานให้ประพฤติดี ไม่ทาชัว่ สอนเรื่ องบาปบุญคุณโทษโดยเฉพาะอย่างยิง่ เพลง
แหล่ดาวลูกไก่ของ พร ภิรมย์ เป็ นเพลงที่ทาให้ตานานดาวลูกไก่แพร่ หลายไปสู่ วงกว้าง
น่าสงสารแม่ไก่ น้ าตาไหลสอนลูก
เช้าก็ถูกตาเชือด ต้องหลัง่ เลือดนองเล้า
ส่ วนลูกไก่ท้ งั เจ็ด เหมือนถูกเด็ดดวงใจ
พากันโดดเข้ากองไฟ ตายตามแม่ไก่ดงั กล่าว
ด้วยอานิสงส์ใจประเสริ ฐ ลูกไก่ไปเกิดเป็ นดาว

๑๓. คุณธรรมในนิทานเรื่ องดาวลูกไก่น้ ีสอบอะไรเป็ นสาคัญ


ก. ความกตัญญู ข. ความซื่ อสัตย์ ค. ความรับผิดชอบ ง. ความมัน่ คงเด็ดเดี่ยว
๑๔. นิทานดาวลูกไก่เป็ นที่รู้จกั กันแพร่ หลายโดยดัดแปลงเป็ นวรรณกรรมประเภทใด
ก. บทเพลง ข. ปาฐกถา ค. บทกลอน ง. บทละครพูด
๑๕. ข้อใดกล่าวไม่ ถูกต้องเกี่ยวกับตานาน “ดาวลูกไก่”
ก. กัตติยาคือดาวลูกไก่ ข. เนื้อหามีความเกี่ยวข้องกับการเสี ยสละ
ค. เนื้อหาเป็ นเรื่ องของแม่ไก่กบั ลูกไก่ ๗ ตัว
ง. เหตุที่ลูกไก่กระโดดเข้ากองไฟเพราะต้องการเป็ นอาหารให้ตายาย

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 558

จงอ่านบทความต่ อไปนีแ้ ล้วใช้ ตอบคาถามข้ อ ๑๖ – ๒๕

ฝากชีวติ ไว้ ในมือครู


ในเดือนมกรานี้ นอกจากจะมีวนั สาคัญคือ วันเด็ก แล้วยังมีวนั ครู จึงอยากจะเขียน
เรื่ องเกี่ยวกับครู สักวัน
มีคาเปรี ยบเปรยอาชีพครู วา่ เป็ นเสมือน “เรื อจ้าง” ที่คอยพาเด็กข้ามฟาก ซึ่ งฝั่งที่ส่งขึ้น
จะเป็ นป่ าเขาลาเนาไพร หรื อท้องทุ่ง หรื อถนนไฮเวย์ ก็เป็ นอีกเรื่ องหนึ่ง
แต่ที่แน่ๆ คือ ครู เปรี ยบเสมือนพ่อแม่คนที่สองของเด็ก เป็ นบุคคลที่มีส่วนในการวางราก
ฐานอนาคตให้แก่เด็กทั้งในแง่วชิ าความรู ้ การปลูกฝังคุณธรรม และจริ ยธรรม เพื่อให้เด็กเติบโต
เป็ นผูใ้ หญ่ที่ดีต่อไป
ดังนั้น นอกจากพ่อแม่แล้ว ครู จึงเป็ นตัวแบบสาคัญสาหรับเด็ก ไม่วา่ จะเป็ นพฤติกรรม
การแสดงออก ตลอดจนรู ปแบบการดาเนินชีวิต เพราะในแวดวงชี วติ ของเด็ก ผูใ้ หญ่ที่อยูร่ าย
รอบใกล้ชิดก็มีเพียงพ่อ แม่ ผูป้ กครอง และครู ที่มีอิทธิ พลอย่างมากต่อพัฒนาการ ทั้งทางด้าน
สติปัญญา สังคม จิตใจ และจริ ยธรรมของเด็ก
ยิง่ เด็กที่มาจากครอบครัวแตกแยก หรื อมีปัญหา ครู จะเป็ นคนสาคัญที่เขาหวังพึ่งพิง
หวังที่จะได้รับคาปรึ กษาปลอบโยน
ดังนั้น ครู ทุกคนไม่เฉพาะแต่ครู แนะแนวเท่านั้นจึงจาเป็ นต้องมีหน้าที่ความรับผิดชอบ
ที่มากไปกว่าการสอนหนังสื อหรื อให้เพียงอาหารทางปั ญญา แต่ตอ้ งให้อาหารใจแก่เด็ก ด้วย
เพื่อช่วยไม่ให้เด็กรู ้สึกเคว้งคว้างไร้ที่ยดึ เหนี่ยวจนเดินออกนอกลู่นอกทาง กลายเป็ นปั ญหา
สังคมต่อไป
สองมือครู คงจะต้องช่วยกันประคับประคองเด็กในกลุ่มนี้ให้มาก
เราต่างก็ยอมรับว่า ครู เป็ นอาชีพที่ตอ้ งเสี ยสละอย่างมาก ต่างก็คาดหวังในตัวครู ไว้สูง
ว่า จะต้องสอนและสร้างเด็กให้เป็ นคนเก่ง เป็ นคนดี แต่ก็ตอ้ งอย่าลืมมองด้วยว่า ทุกวันนี้
........ครู มีคุณภาพชีวติ ที่ดีหรื อยัง
........ ครู แต่ละคนมีความภาคภูมิใจในวิชาชีพหรื อไม่
..........ครู ได้รับความร่ วมมือจากพ่อแม่ ผูป้ กครองของเด็กแค่ไหน ไม่ใช่วา่ ครู จะต้อง
รับผิดชอบชีวติ ของเด็กอย่างโดดเดี่ยว แต่พอ่ แม่จะต้องให้ความร่ วมมือด้วย
สิ่ งเหล่านี้จะช่วยเสริ มสร้างให้ครู มีสุขภาพจิตที่ดีและมีกาลังใจที่จะทางานอย่างทุ่ม
เทเพื่อพัฒนาเด็กให้มีคุณภาพ
ท้ายที่สุด อยากจะเสนอวาทะของท่านพุทธทาสที่วา่

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 559

“ในหัวใจของครู ที่มีอุดมคติน้ นั จะต้องมีปัญญากับเมตตาเต็มแน่นอนอยู่ ส่ วน


ครู ที่ละเลยซึ่ งอุดมคติอนั นี้แล้วก็กลายเป็ นลูกจ้าง ในหัวใจไม่มีอะไรนอกจากต้องการจะรับ
ค่าจ้างหรื อเงินเดือน และหนักเข้าก็คดโกงเวลาเอาเปรี ยบในหน้าที่การงานของตน เพราะความ
เห็นแก่ตน เพราะปราศจากปั ญญา เมตตา “
(อมรากุล อินโอชานนท์ คณะทางานสุ ขภาพจิต กรมการแพทย์และสถาบันสุ ขภาพจิต)

๑๖. บทความข้างต้นนี้ จดั เป็ นสารประเภทใด


ก. สารจรรโลงใจ ข. สารให้ความรู ้
ค. สารโน้มน้าวใจ ง. สารให้ความรู ้และจรรโลงใจ
๑๗. “ฝากชีวติ ไว้ในมือครู ” ข้อใดไม่สามารถอนุมานได้จากคาที่พิมพ์ตัวหนา
ก. เด็กโข่ง ข. ผูป้ กครอง ค. เด็กนักเรี ยน ง. นิสิต – นักศึกษา
๑๘. ที่มาของผูเ้ ขียนซึ่ งอยากจะเขียนบทความชิ้นนี้คือข้อใด
ก. ใกล้ถึงวันครู ข. อยูใ่ นช่วงเดือนมกรา
ค. ผูเ้ ขียนประกอบอาชีพครู ง. ต้องการเตือนสติครู บางคน
๑๙. ผูเ้ ขียนไม่ ได้ เปรี ยบครู เหมือนสิ่ งใด
ก. เรื อจ้าง,ธนาคาร ข. พ่อแม่คนที่สอง,เรื อจ้าง
ค. ผูป้ กครอง,แบบอย่างที่ดี ง. อาชีพผูเ้ สี ยสละ,แม่คนที่สอง
๒๐. ข้อใดเป็ นเหตุผลที่ไม่ ถูกต้องเกี่ยวกับการเปรี ยบครู เหมือนพ่อแม่คนที่สองของผูเ้ ขียน
ก. เป็ นผูใ้ ห้วชิ าความรู ้ ข. เป็ นผูว้ างรากฐานอนาคตให้แก่เด็ก
ค. เป็ นผูป้ ลูกฝังคุณธรรมและจริ ยธรรม ง. เป็ นผูใ้ ห้ความช่วยเหลือทรัพย์สินเงินทอง
๒๑. คาในข้อใดกล่าวไม่ ถูกต้อง
ก. หัวใจของครู ที่มีอุดมคติ คือการมีปัญญากับเมตตา
ข. ครู แนะแนวเท่านั้นที่ทาหน้าที่ให้คาปรึ กษากับเด็ก
ค. พ่อแม่ควรให้ความร่ วมมือกับครู ดว้ ยในการดูแลเด็กนักเรี ยน
ง. สองมือครู ตอ้ งช่วยประคับประคองเด็กที่มีปัญหาครอบครัวแตกแยก
๒๒. การอ่านข้อความส่ วนใดผูเ้ ขียนต้องอาศัยทักษะการตีความมากที่สุด
ก. มีคาเปรี ยบเปรยอาชีพครู วา่ เป็ นเสมือน “เรื อจ้าง” ที่คอยพาเด็กข้ามฟาก ซึ่ งฝั่งที่ส่งขึ้นจะเป็ นป่ า
เขาลาเนาไพร หรื อท้องทุ่ง หรื อถนนไฮเวย์ ก็เป็ นอีกเรื่ องหนึ่ง
ข. ครู เปรี ยบเสมือนพ่อแม่คนที่สองของเด็ก เป็ นบุคคลที่มีส่วนในการวางรากฐานอนาคตให้แก่เด็ก
ทั้งในแง่วชิ าความรู ้ การปลูกฝังคุณธรรม และจริ ยธรรม เพื่อให้เด็กเติบโตเป็ นผูใ้ หญ่ที่ดี

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 560
ต่อไป
ค. สองมือครู ตอ้ งช่วยกันประคับประคองเด็กในกลุ่มนี้ให้มาก
ง. นอกจากพ่อแม่แล้ว ครู จึงเป็ นตัวแบบสาคัญสาหรับเด็ก ไม่วา่ จะเป็ นพฤติกรรมการแสดงออก
ตลอดจนรู ปแบบการดาเนินชี วิต
๒๓. ข้อใดไม่ ปรากฏในบทความ
ก. ใช้คาที่มีความหมายกากวม ข. เขียนเรื่ องจริ งที่เกิดขึ้นในปั จจุบนั
ค. มีการยกตัวอย่างของท่านพุทธทาส ง. เลือกเขียนบทความได้เหมาะสมกับช่วงเวลา
๒๔. ปั จจัยที่จะช่วยเสริ มสร้างให้ครู มีสุขภาพจิตที่ดี และมีกาลังใจที่จะทางานอย่างทุ่มเทคือข้อใด
ก. เวลา ข. ค่าตอบแทน ค. เงินสนับสนุน ง. พ่อแม่หรื อผูป้ กครองเด็ก
๒๕. วาทะท่านพุทธทาสในข้อใดมีใจความชัดเจนและครอบคลุมมากที่สุด
ก. ครู ลูกจ้างคือครู ที่ไม่มีอุดมคติ ข. ครู ที่ดีตอ้ งไม่รับค่าจ้างหรื อเงินเดือน
ค. ครู ที่เห็นแก่ตวั เพราะขาดปั ญญาและเมตตา
ง. หัวใจของครู ที่มีอุดมคติคือมีปัญญากับเมตตา

จงอ่านข้ อความต่ อไปนีแ้ ล้วใช้ ตอบคาถามข้ อที่ ๒๖ – ๒๘


“นอกครู ” เป็ นสานวน หมายความว่าไม่ถือตาม หรื อไม่ทาตามคาสั่งของครู บาอาจารย์ สานวน
นี้บางทีก็มีคาว่า “หัวล้าน” ติดอยูด่ ว้ ย คือ “หัวล้านนอกครู ” มีนิทานเล่ากันมาแต่โบราณว่า มีชายคน
หนึ่ง ผมไม่ข้ ึน จึงไปหาอาจารย์ขอให้ช่วยให้ผมขึ้น อาจารย์ให้ไปดาน้ าในสระ ๓ ครั้ง ชายคนนั้นดา
ครั้งที่หนึ่งโผล่ข้ ึนมา ผมก็เริ่ มขึ้น ครั้งที่สองผมก็มากขึ้น ครั้งที่สามก็มากขึ้นอีก ชายคนนั้นอยากให้
ผมมากขึ้นอีก ก็ดาครั้งที่สี่ พอโผล่ข้ ึนมาผมก็เกลี้ยงล้านไปทั้งหัว จึงพูดกันว่า “หัวล้านนอกครู ” คือ
ไม่ทาตามคาสั่งของครู หัวจึงล้าน สานวนนอกครู จึงใช้เกี่ยวกับหัวล้านก็ได้ เช่น ในเสภาเรื่ องขุนช้าง
ขุนแผน ชุ นช้างขอให้นางเทพทองผูเ้ ป็ นแม่ไปขอนางพิมให้ นางเทพทองชี้แจงว่า นางพิมพ์เหมือน
ดวงจันทร์ ขุนช้างเหมือนเต่า ไม่คู่ควรกับเขา ให้ขอผูห้ ญิงอื่นดีกว่า พูดอย่างไรขุนช้างก็ไม่เชื่อ ดัง
คากลอนที่วา่
ฝ่ ายนางเทพทองร้องตวาด อ้ายนอกครู อุบาทว์ไม่ฟังว่า
คา “นอกครู ” ในความนี้ กินความไปถึง “หัวล้าน” ด้วย แปลว่า สานวน “นอกครู จะใช้
เกี่ยวกับหัวล้านหรื อไม่เกี่ยวก็ได้

๒๖. บทความข้างต้นใช้โวหารการเขียนประเภทใด
ก. สาธกโวหาร,อธิบายโวหาร ข. สาธกโวหาร, บรรยายโวหาร
ค. บรรยายโวหาร,เทศนาโวหาร ง. พรรณนาโวหาร,อธิบายโวหาร

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 561
๒๗. หากจะตั้งชื่อบทความควรใช้ชื่อว่าอย่างไรจึงจะชัดเจนและมีความครอบคลุมเนื้ อหาของเรื่ องมาก
ที่สุด
ก. มากไปก็ไม่ดี ข. หัวล้านนอกครู ค. ขุนช้างกับนางพิม ง. ขุนช้างกับเทพทอง
๒๘. สานวนในข้อใดแสดงถึงพฤติกรรมของชายผูห้ วั ล้าน
ก. ศิษย์คิดล้างครู ข. สิ บแปดมงกุฎ
ค. โลภมากลาภหาย ง. แพ้เป็ นพระ ชนะเป็ นมาร

จงอ่านบทเพลงต่ อไปนี้แล้วตอบคาถามข้ อที่ ๒๙ – ๓๒

รู ปที่มีทุกบ้าน
ตั้งแต่เล็กยังเคยได้ถามแม่วา่ บนข้างฝาบ้านเรานัน่ ติดรู ปใคร ที่แม่คอยบูชาประจาก่อนนอน
ทุกคืน จะต้องไหว้ แม่ตอบว่าให้กราบรู ปนั้นทุกวัน ท่านเป็ นเทวดาที่มีลมหายใจ ที่เรายังพอมีกินอย่าง
วันนี้ ท่านดูแลคนไทยมานานเหลือเกิน ให้จาไว้เป็ นรู ปที่มีทุกบ้าน จะรวยหรื อจนหรื อว่าจะใกล้ไกล
เป็ นรู ปที่มีทุกบ้าน ด้วยความรัก ด้วยภักดี ด้วยจิตใจ เติบโตมากี่สิบปี ที่ผา่ น ภาพที่เห็นคือท่านทางาน
ทุกวัน เมื่อไรเราทาอะไรที่เกิดท้อแค่มองดูรูปบนข้างฝาจะได้กาลังใจ จากรู ปนั้น เป็ นรู ปที่มีทุกบ้าน
จะรวยหรื อจนหรื อว่าจะใกล้ไกล เป็ นรู ปที่มีทุกบ้าน ด้วยความรัก ด้วยภักดี ด้วยจิตใจ จะขอตามรอย
ของพ่อท่องคาว่าเพียงและพอ จากหัวใจ เป็ นลูกที่ดีของพ่อ ด้วยความรัก ด้วยภักดี ตลอดไป

๒๙. จากบทเพลงข้างต้น “รู ปที่มีทุกบ้าน” หมายถึงข้อใด


ก. รู ปพระพุทธเจ้า ข. พระพุทธศาสนา
ค. สมเด็จพระสังฆราช ง. พระบรมฉายาลักษณ์ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั
๓๐. จากเนื้อเพลง “แม่ตอบว่าให้กราบรู ปนั้นทุกวัน ท่านเป็ นเทวดาที่มีลมหายใจ” คาที่พิมพ์ตวั หนา
ต้องการสื่ อความหมายว่าอย่างไร
ก. ตัวแทนของความดี ข. เทวดาที่อยูบ่ นสวรรค์
ค. คาโกหกของแม่ที่ตอ้ งการให้ลุกเป็ นคนดี
ง. บุคคลที่คอยดูแล และทุกคนให้ความเคารพ
๓๑. “ท่านเป็ นเทวดาทีม่ ีลมหายใจ” ผูเ้ ขียนใช้ภาพพจน์แบบใด
ก. อุปมา ข. อุปลักษณ์ ค. สัทพจน์ ง. บุคคลวัต
๓๒. ความรู ้สึกใดไม่ ปรากฏเมื่อฟังบทเพลงข้างต้นนี้
ก. ภูมิใจ ข. ศรัทธา ค. ประทับใจ ง. สะเทือนใจ

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 562

จงอ่านบทความต่ อไปนีแ้ ล้วตอบคาถามข้ อ ๓๓ – ๓๖

สาวชาวไต้หวันผูห้ นึ่ง เป็ นโรคสมองพิการแต่กาเนิด (cerwbral palsy) ไม่สามารถ


เคลื่อนไหวตามปรกติ และพูดจาไม่ได้ แต่ดว้ ยความมุ่งมัน่ และศรัทธาเธอสามารถเรี ยนจบ
ปริ ญญาเอกจากสหรัฐฯ แล้วแสดงทัศนคติของเธอในที่ต่างๆ เพื่อให้กาลังใจและช่วยเหลือ
ผูอ้ ื่น
ครั้งหนึ่ง เธอรับเชิญไปบรรยายด้วยการเขียน(เธอพูดไม่ได้ตอ้ งใช้วธิ ี เขียน) หลัง
บรรยายเสร็ จ มีนกั เรี ยนคนหนึ่งตั้งคาถามว่า “ท่านอยูใ่ นสภาพนี้โดยกาเนิ ด แล้วท่านไม่รู้สึก
น้อยใจรึ ท่านมองตัวเองอย่างไร” คาถามอันละเอียดอ่อนนี้ สร้างความตะลึงแก่ที่ประชุมไม่
น้อย ต่างเกรงว่าคาถามนี้จะทิ่มแทงจิตใจของเธอ ปรากฏว่า เธอหันหน้าไปยังแผ่นกระดาน
เขียนตัวหนังสื ออย่างไม่สะทกสะท้านว่า “ฉันมองดูตวั เองอย่างไร” เธอหันหน้ายิม้ ให้ผรู ้ ่ วม
ประชุม แล้วเขียนข้อความต่อ ๑. ฉันน่ารักมาก ๒. ขาฉันเรี ยวยาวสวยดี ๓. คุณพ่อคุณแม่
รักฉันจัง ๔. พระเจ้าประทานรักแก่ฉนั ๕. ฉันวาดภาพได้ ฉันแต่งหนังสื อได้
๖. ฉันมีแมวที่น่ารักและ................ขณะนั้นที่ประชุมเงียบกริ บ ไม่มีเสี ยงพูดจาใด ๆ เธอ
หันกลับมามองดูทุกคนแล้วเขียนคาสรุ ปบนกระดานว่า “ฉันมองแต่สิ่งที่ฉนั มี ไม่มองสิ่ งที่
ฉันขาด” หลังจากนั้นไม่กี่วนิ าที เสี ยงปรบมือดังสนัน่ ในที่ประชุมพร้อมทั้งน้ าตาที่สะเทือน
ใจจากหลายๆ คน ณ วันนั้น ทัศนคติเชิงสุ ขนิยมและบทพิสูจน์ของเธอเพิ่มกาลังใจแก่ผู ้
คนมากมาย ผูเ้ ป็ นโรคสมองพิการผูน้ ้ ีคือ น.ส. หวางเหม่ยเหลียน ศิลปะศาสตร์ ดุษฎีบณั ฑิต
จาก UCLA ผูเ้ คยจัดนิทรรศการภาพเขียนส่ วนตัวหลายครั้งในไต้หวัน
“ฉันมองแต่สิ่งที่ฉนั มี ไม่มองสิ่ งที่ฉนั ขาด” ฉันชอบทัศนคติต่อชีวิตแบบนี้ ซึ่ ง
ถูกหลักสุ ขภาพจิตและสบายใจด้วย ความสุ ขไม่ได้อยูท่ ี่คุณครอบครองสิ่ งใดมากแค่ไหน
แต่อยูท่ ี่คุณมีทศั นคติอย่างไรในการมองสิ่ งต่างๆ

๓๓. บุคคลใดต่อไปนี้นาแนวคิดที่วา่ ”ฉันมองแต่สิ่งที่ฉนั มี ไม่มองสิ่ งที่ฉนั ขาด” จากบทความข้างต้นไป


ใช้ได้ถูกต้อง
ก. แม้เมษาจะเรี ยนไม่เก่ง แต่เธอก็ไม่เคยคิดที่จะไปเรี ยนติวเตอร์
ข. มีนาเห็นเพื่อนๆ ซื้ อชุดใหม่ เธอจึงไปขอเงินจากพ่อและแม่เพื่อซื้ อชุ ดบ้าง
ค. ฐานะทางบ้านของภุมภาร่ ารวย เธอจึงนาเงินไปซื้ อของเพื่อบริ จาคเด็กยากไร้

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 563
ง. กันยาต้องกลับมาช่วยงานพ่อแม่ทุกวันหลังเลิกเรี ยนจึงทาให้เธอไม่มีเวลาเล่นสนุกสนานเหมือน
๓๔. บทความนี้ให้ประโยชน์กบั ผูฟ้ ังด้านใดน้ อยที่สุด
ก. การไม่นอ้ ยใจกับปมด้อยที่มี ข. การมองทุกอย่างในแง่บวก
ค. การฝึ กคิดเพื่อให้สมองได้พฒั นาอยูเ่ นื องๆ ง. การรู ้จกั ตนเองมากกว่าผูอ้ ื่น
๓๕. จากคาพูดที่วา่ “ท่านอยูใ่ นสภาพนี้โดยกาเนิด แล้วท่านไม่รู้สึกน้อยใจรึ ท่านมองตัวเองอย่างไร”
จากคาพูดข้างต้นผูพ้ ูดมีเจตนาอย่างไร
ก. ต้องการชี้ จุดปมด้อย ข. ต้องการสอดรู ้สอดเห็น
ค. ต้องการทราบความรู ้สึก ง. ต้องการให้หวางเหม่ยเหลียงรู ้สึกอับอาย
๓๖. บดินทร์ได้ฟังเรื่ องราวข้างต้น เขาจึงมีความคิ ดว่าในโลกนี้ไม่มีอะไรที่สมบูรณ์แบบเสมอไปเขาจึง
ไม่คิดที่จะเอาตัวเองไปเปรี ยบเทียบกับคนอื่นๆ ที่ดีกว่า ที่เด่นกว่าเหมือนเมื่อก่อนจากการที่บดินทร์
เปลี่ยนความคิดแสดงว่าบดินทร์ ใช้การฟังตามข้อใด
ก. จับใจความ ตีความ ข. วิเคราะห์ ตีความ
ค. วิเคราะห์ ประเมินค่า ง. ตีความ ประเมินค่า

จงอ่านบทความต่ อไปนีแ้ ล้วตอบคาถามข้ อที่ ๓๗ – ๔๑

มะเขือเทศ...เสน่ห์เหลือร้าย (Momypedia)
สวย อร่ อย อุดมวิตามิน สโลแกนเค้าละ
“เล่นเอาทั้งความสวยความดีประจาตัวมามัดใจ โกยคะแนนคนกินไปเสี ยหมด
อย่างนี้ แล้วจะไม่ให้บรรดาพรรณพืชด้วยกันอิจฉายายมะเขือเทศตัวแดงนี้ได้ยงั ไง”
ลองนึกเล่นๆ นะคะว่าถ้าให้เลือกพืชผักผลไม้ยอดนิยมในใจขึ้นมาสักอย่างหนึ่ง
ตัวเองก็คงยกคะแนนเทใจให้กบั “มะเขือเทศ” ตัวกลม ๆ สี แดงสวยที่หมู่เพื่อนๆ ตาร้อนใส่ นี่
แหละค่ะ
ไม่ใช่เพราะว่าทั้งหน้าทั้งหุ่นคล้ายมะเขือเทศหรอก แต่ความดีในตัวเจ้ามะเขือเทศ
นี้มีมากโขต่างหากล่ะ ที่เข้าเส้นชัยชนะใจเราขาดลอย
เรื่ องรสชาติจดั จ้านและสี สันแดงเด่นอันนี้ คงไม่ตอ้ งพูดถึง แต่คุณสมบัติในตัวซึ่ ง
ซุ กซ่อนผูท่ ี่ได้รู้มานี่สิน่าสนใจกว่ากันเยอะ เริ่ มตั้งแต่อุดมไปด้วยวิตามินตัวสาคัญไม่วา่ จะเป็ น
วิตามินเอที่บารุ งสายตา และผิวพรรณให้สวยสดใส วิตามินบีซ่ ึ งช่วยให้ระบบต่างๆ ภายในตัว
ของเราไม่เกเรยอมทางานได้เป็ นปกติ และวิตามินซี ช่วยป้ องกันต้านโรคร้ายต่างๆที่จะมารัง
แก ทาให้ไม่นอนซมเป็ นไข้ไม่สบายบ่อยๆ แถมแคลอรี ก็นอ้ ย กินได้คล่องปากสบายใจ
ไม่มีเรื่ องของไขมันและน้ าหนักตัวมาทาให้หวาดหวัน่

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 564
แต่ที่เด็ดกว่านั้นก็คือมีการค้นพบทางการแพทย์วา่ ถ้าหมัน่ ใช้บริ การกินมะเขือเทศ
บ่อยๆ เป็ นประจา จะเป็ นทางหนึ่งที่ช่วยลดความเสี่ ยงจากการถูกคุกคามของเจ้ามะเร็ งตัว
ร้ายให้ลดน้อยลงได้ เพราะมีสาร”ไลโคฟี น” ตัวแอนตี้ออกซิ แดนท์ตา้ นมะเร็ งเหมือนกับ
เบต้าแคโรทีนที่เราคุน้ ชื่อกันดี แต่ไลโคฟี นซึ่ งพบมากที่สุดในมะเขือเทศลูกแดงๆ นี้มี
ฤทธิ์ มากกว่าคุณเบต้าฯ ตั้ง ๒ เท่าเลยเชียวนะ....ว้าว !!!มีให้กินตลอดปี ราคาเป็ นมิตรกับเงิน
ในกระเป๋ า จะเอามานึ่ง – ต้ม - ตุ๋น – เมนูไหนสไตล์อะไรก็ได้ท้ งั นั้น แล้วจะไม่ให้หลงรักเลือก
มะเขือเทศเป็ นขวัญใจได้ไงกัน เสน่ห์เหลือร้ายออกอย่างนี้.........ไม่โดนใจกันบ้างก็เกินไปล่ะ

๓๗. ข้อใดไม่ใช่เหตุผลสนับสนุนที่ทาให้ผพู ้ ูด “หลงรักมะเขือเทศ”


ก. ราคาไม่แพง ข. ทาได้หลายเมนู
ค. ผลิตเป็ นซอสมะเขือเทศได้ ง. ป้ องกันโรคร้ายได้
๓๘. ผูพ้ ูดใช้ภาษาระดับใด
ก. ทางการ ข. พิธีการ ค. ไม่เป็ นทางการ ง. กึ่งทางการ
๓๙. ข้อใดไม่ใช่คาวิเศษณ์
ก. มากโข ข. โกยคะแนน ค. มะเขือเทศตัวแดง ง. จัดจ้าน
๔๐. ลักษณะการพูดดังกล่าวเป็ นการพูดเพื่อจุดประสงค์ใด
ก. โต้แย้ง ข. จรรโลงใจ ค. ให้ความรู ้ ง. เสนอแนะ
๔๑. ความน่าเชื่ อถือของการนาเสนอข้อมูลข้างต้นคือข้อใด
ก. การสัมภาษณ์ ข. การยกตัวอย่าง ค. การเปรี ยบเทียบ ง. การวิจยั ทางการแพทย์

จงอ่านบทความต่ อไปนีแ้ ล้วตอบคาถามข้ อที่ ๔๒ – ๔๖


อย. เตือนผูบ้ ริ โภค อย่าตกเป็ นเหยือ่ หลงเชื่ อโฆษณาผลิตภัณฑ์เสริ ม
อาหาร “ซันคลาร่ า” ทางแผ่นพับ วิทยุ เว็บไซต์ รวมทั้งในรู ปแบบขายตรง อวดสรรพคุณ
อ้างทาให้ผวิ สวย หน้าใส ลดน้ าหนัก ป้ องกันโรคเบาหวาน พาร์ กินสัน และอัลไซเมอร์ โดย
ไม่ได้รับอนุญาตจาก อย. ย้ า ! ผลิตภัณฑ์เสริ มอาหารไม่ใช่ยารักษาโรค ไม่ได้ช่วยลด น้ าหนัก
ไม่ได้ช่วยเสริ มเรื่ องทางเพศ ขอให้ผบู ้ ริ โภคพิจารณาถี่ถว้ นก่อนซื้ อ มิเช่นนั้นจะเสี ยเงินทองจานวน
มาก โดยไม่ได้รับประโยชน์จากการบริ โภค แถมอาจเกิดการเสี่ ยงต่อร่ างกาย หากมีสารอันตราย
เป็ นส่ วนผสม
นพ. นรังสันต์ พีรกิจ รองเลขาธิ การคณะกรรมการอาการและยา เปิ ดเผยว่า หลังจาก
อย. ได้รับเรื่ องร้องเรี ยนจากผูบ้ ริ โภคให้ตรวจสอบโฆษณาผลิตภัณฑ์เสริ มอาหาร “ซันคลาร่ า”
ที่โฆษณาอวดสรรพคุณเกินจริ งทาง วิทยุชุมชน แผ่นพับ และ เว็บไซต์ http://www.
Starsunshin.com เกรงว่าจะมีการหลอกลวงประชาชนเพราะมีขอ้ ความโฆษณา สรรพคุณป้ องกัน

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 565
โรคต่างๆ ซึ่ ง อย. ได้ตรวจสอบทันที พบว่า มีการโฆษณา ผลิตภัณฑ์เสริ มอาหาร “ซันคลาร่ า”
ทางแผ่นพับ วิทยุ และเว็บไซต์ดงั กล่าวจริ ง โดยระบุขอ้ ความโฆษณา เช่น “....ผิวสวย หน้าใส
ภายในกระชับ ช่วยให้ผนังเส้นเลือดโดยเฉพาะเส้นเลือดดา(veins) มีความแข็งแรงเพิม่ ขึ้น ต่อ
ต้านอนุมูลอิสระ ลดความเสี่ ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือด ป้ องกันเบาหวาน ช่วยให้น้ าหนัก
ลดลง ป้ องกันความผิดปกติของผิวหนัง ป้ องกันโรคพาร์ กินสันและอัลไซเมอร์ ...” เป็ นต้น
ทั้งนี้ อย. ได้ตรวจสอบข้อความโฆษณาดังกล่าว ปรากฏว่าไม่ได้รับอนุญาตโฆษณาจาก อย. แต่
อย่างใด ดังนั้น ถือว่ามีความผิดตามกฏหมยยในข้อหาโฆษณาคุณประโยชน์ คุณภาพ หรื อ
สรรพคุณของอาหารโดยไม่ได้รับอนุญาต มีโทษปรับไม่เกิน ๕.๐๐๐ บาท โดยได้ดาเนินคดี
กับบริ ษทั สตาร์ ซันไซน์ จากัด ผูจ้ ดั จาหน่ายผลิตภัณฑ์ ซึ่ งรับว่าเป็ นผูจ้ ดั ทาข้อความโฆษณา
อวดอ้างสรรพคุณ พร้อมทั้งมีหนังสื อ ไปยังบริ ษทั ฯเพื่อระงับการโฆษณาผลิตภัณฑ์เสริ มอาหาร
ดังกล่าวในทุกสื่ อแล้ว
ขอให้ผบู ้ ริ โภคใช้วจิ ารณญาณพิจารณาให้ถี่ถว้ นก่อนซื้ อผลิตภัณฑ์เสริ มอาหารที่
สาคัญ อย่าได้หลงเชื่ อสรรพคุณว่าสามารถป้ องกันหรื อรักษาโรค นอกจากเสี ยเงินโดยไม่จาเป็ น
แล้ว หากท่านมีโรคประจาตัว อาจได้รับผลข้างเคียงที่เป็ นอันตรายต่อร่ างกายโดยคาดไม่ถึง
พร้อมทั้ง ขอให้ผปู ้ ระกอบการทุกรายเห็นแก่ความปลอดภัยของผูบ้ ริ โภค ดาเนินธุ รกิจอย่างมี
คุณธรรมและจริ ยธรรม อย่าโฆษณา ด้วยวิธีต่างๆ ในลักษณะที่เกินเลยความเป็ นจริ ง มิฉะนั้น
อย. จะดาเนิ นการตามกฏหมายอย่างเข้มงวดและเด็ดขาด หากผูบ้ ริ โภคพบเห็นการอวดอ้าง
สรรพคุณผลิตภัณฑ์เสริ มอาหารเกินจริ ง เช่น รักษาได้สารพัดโรค ช่วยในการลดน้ าหนัก
ช่วยเรื่ องผิวพรรณ เป็ นต้น ผ่านทางสื่ อต่างๆ หรื อโฆษณาหลอกลวงให้ผบู ้ ริ โภคหลงเชื่อ
โดยการขายตรง ขอให้แจ้งร้องเรี ยนมายังสายด่วน อย. 1556 หรื อสานักงานสาธารณสุ ข
จังหวัดทุกจังหวัด เพื่อทางราชการจะได้ตรวจสอบและดาเนินการตามกฎหมายต่อไป

๔๒. ข้อใดไม่ใช่ประโยชน์ของซันคลาร่ า
ก. ลดน้ าหนัก ข. ผิวพรรณสดใส
ค. ป้ องกันโรคเบาหวาน ง. ป้ องกันข้อเข่าเสื่ อม
๔๓. แหล่งโฆษณาในข้อใดไม่ ได้ เป็ นแหล่งที่เผยแพร่ ผลิตภัณฑ์ซนั คลาร่ า
ก. วิทยุ ข. โทรทัศน์ ค. แผ่นพับ ง. เว็บไซต์
๔๔. ข้อใดกล่าวไม่ ถูกต้องจากบทความข้างต้น
ก. ซันคลาร่ าเป็ นผลิตภัณฑ์เสริ มอาหารไม่ใช่ยารักษาโรค
ข. ผูจ้ ดั จาหน่ายผลิตภัณฑ์ซนั คลาร่ าคือ สตาร์ ซันไซต์ จากัด
ค. สาธารณสุ ขทุกจังหวัดคือหน่วยงานแจ้งรับข้อมูลจากผูบ้ ริ โภค

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 566
ง. ผูบ้ ริ โภคที่มีโรคประจาตัวเมื่อรับประทานซันคลาร่ าจะทาให้ยบั ยั้งการเจริ ญเติบโตของ
เซลล์มะเร็ งได้
๔๕. คาเตือนสาคัญของ นพ. นรังสันต์ พีรกิจ ไม่เปิ ดเผยข้อมูลซันคลาร่ าเพราะอย. ได้รับการร้องเรี ยน
จากผูบ้ ริ โภค
ก. อย่าหลงเชื่อสรรพคุณที่กล่าวเกินความจริ ง
ข. ผลข้างเคียงที่จะเกิดขึ้นกับผูท้ ี่มีโรคประจาตัว
ค. ผูบ้ ริ โภคต้องคิดให้ถี่ถว้ นก่อนซื้ อผลิตภัณฑ์เสริ มอาหาร
ง. ซันคลาร่ าเป็ นผลิตภัณฑ์เสริ มอาหารที่มีสรรพคุณหลายประการ
๔๖. บุคคลใดฟังข้อความข้างต้นแล้วสามารถนาไปประยุกต์ใช้ในชีวติ ประจาวันได้
ก. เต็งหนึ่งซื้ อสิ นค้าที่โฆษณาทางเว็บไซต์มากกว่าการซื้ อโดยขายตรง
ข. ไก่โต้งโทรแจ้ง อย. เมื่อพบว่าสิ นค้าที่ตนซื้ อไปขายเกินราคา
ค. ตุด๊ ตู่คิดก่อนซื้ อผลิตภัณฑ์ทุกประเภทไม่เจาะจงว่าต้องเป็ นผลิตภัณฑ์เสริ มอาหารเท่านั้น
ง. ต่อเห็นว่าคุณตาเป็ นอัลไซเมอร์ จึงเลือกผลิตภัณฑ์เสริ มอาหารให้รับประทานควบคู่กบั ยาของ
ทางโรงพยาบาล

จงอ่านสารคดีต่อไปนีแ้ ล้วใช้ ตอบคาถามข้ อที่ ๔๗ – ๕๐

โตโน่ฟังและดูสารคดีชุดแมวน้ าเคปเฟอร์ ซีลจากรายการเที่ยวไทยในต่างแดนมี


ความว่า
“แมวน้ าเคปเฟอร์ ซีลเป็ นสัตว์สังคม อยูร่ วมกันเป็ นฝูงใหญ่ ชอบล่าเหยือ่ และหากิน
ตามผิวน้ าหรื อน้ าตื้นๆ หากินปลาตามเรื อของชาวประมง ในช่วงกลางเดือนตุลาคม ตัวผูจ้ ะ
ไปยังพื้นที่ผสมพันธุ์ซ่ ึ งเป็ นชายหาดที่เป็ นโขดหิ นและประกาศอาณาเขต อีกหลายสัปดาห์
ต่อมาตัวเมียจะตามเข้ามาเพื่อออกลูกจานวน ๑ ตัว ซึ่งจะมีตวั เมียหลายตัวเข้ามาในอาณาเขต
ตัวผูท้ ี่ครองอาณาเขตจะไล่ตวั ผูต้ วั อื่นออกนอกอาณาเขตหากล้ าเข้ามา จนกว่ามันจะได้ผสม
พันธุ์กบั ตัวเมียทุกตัว ตัวเมียจะเป็ นสัดหลังการออกลูก ๕ – ๖ วัน และมีระยะการตั้งท้อง
ประมาณ ๑ ปี ”

๔๗. การสรุ ปของโตโน่จากเรื่ องที่ฟังและดูในข้อใดถูกต้อง


ก. แมวน้ าเคปเฟอร์ ซีลผสมพันธุ์ในช่วงฤดูร้อน
ข. ยากนักที่ชาวประมงจะเห็นแมวน้ าเคปเฟอร์ ซีล
ค. แมวน้ าเคปเฟอร์ ซีลแยกกันอยูเ่ ป็ นกลุ่มเป็ นพวก
ง. การประกาศอาณาเขตจะเกิดขึ้นในช่วงฤดูผสมพันธุ์

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 567
๔๘. โตโน่จะได้รับประโยชน์จากการฟังและดูสารคดีขา้ งต้นมากที่สุดในเรื่ องใด
ก. พฤติกรรม การสื บพันธุ์ ข. การหาอาหาร การอยูอ่ าศัย
ค. การย้ายถิ่นฐาน การสื บพันธุ์ ง. แหล่งที่อยูอ่ าศัย การสื บพันธุ์
๔๙. โตโน่สงสัยในสิ่ งที่ฟังและดูวา่ “ตัวเมียจะเป็ นสัดหลังการออกลูก ๕ – ๖ วัน และมีระยะการตั้ง
ท้องนานประมาณ ๑ ปี “ เขาจึงถามผูร้ ู ้ คาตอบในข้อใดช่วยไขข้อข้องใจโตโน่ ได้มากที่สุด
ก. แมวน้ าเคปเฟอร์ ซีลเป็ นสัตว์สังคม
ข. ตัวเมียมีอาการเบื่ออาหารและขนร่ วงหลังคลอดลูก
ค. แมวน้ าเคปเฟอร์ ซีลตัวเมียไม่มีความต้องการผสมพันธุ์หลังคลอด
ง. ในช่วง ๕ – ๖ วัน หลังจากที่ออกลูก แมวน้ าเคปเฟอร์ซีลตัวเมียยอมรับการผสมพันธุ์จากตัวผู ้
๕๐. ข้อใดคือลักษณะนิสัยของแมวน้ าเคปเฟอร์ ซีลตัวผู ้
ก. ดุร้าย ข. ไม่มีเหตุผล ค. เห็นแก่ตวั ง. ชอบสงสาร

จงอ่านข้ อความต่ อไปนีแ้ ล้วตอบคาถามข้ อที่ ๕๑ – ๕๔


การเลือกซื้อจักรยาน
ดูความต้องการก่อนว่าซื้ อเพื่ออะไร ต้องถามใจเราเดองก่อนว่าอยากได้เพราะอะไร
แล้วจะเอาไปใช้ทาอะไร เช่น ไว้ใช้งาน ออกกาลังกาย หรื อแข่งขัน เพราะจักรยานแบ่งได้
หลายประเภท
ความถี่ในการใช้งาน เช่น เพื่อออกกาลังกาย หรื อมีไว้ขี่รวมกับเพื่อน หรื อมีไว้
ไปจ่ายตลาดซื้ อของใกล้ๆ จะได้เลือกประเภทของจักรยานได้ถูกต้อง
งบประมาณ เพราะจักรยานมีต้ งั แต่ราคาพันกว่าไปจนถึงสามแสนบาท ถ้าซื้ อไปแล้ว
ใช้สมรรถนะของจักรยานไม่หมดก็กลายเป็ นซื้ อของโดยไม่จาเป็ น เสี ยดายเงินเพราะบางคน
ซื้ อจักรยานแบบมีสปี ดเกียร์ แต่ไม่ได้ใช้เลยเพราะใช้ไปตลาดปั่ นธรรมดาก็พอ
ควรเลือกซื้ อให้เหมาะสมกับขนาดของผูข้ ี่
ควรเลือกจักรยานที่มีคุณภาพได้มาตรฐาน ยีห่ อ้ งที่ผลิตเชื่ อถือได้ รวมทั้งวัสดุแต่
ละชิ้นส่ วนที่ใช้ตอ้ งมาตรฐาน โดยจะต้องใช้วสั ดุจากผูผ้ ลิตที่น่าเชื่ อถือเช่นกัน

๕๑. ข้อความข้างต้นนี้ จดั เป็ นสารประเภทใด


ก. สารจรรโลงใจ ข. สารให้ความรู ้
ค. สารโน้มน้าวใจ ง. สารวินิจ วิเคราะห์
๕๒. ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้องเกี่ยวกับคาแนะนาในการเลือกซื้ อจักรยาน
ก. ดูจานวนครั้งการใช้งาน ข. ดูงบประมาณที่มีอยู่
ค. เลือกวัสดุที่เป็ นที่นิยม ง. ซื้ อเพื่อประโยชน์อะไร

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 568
๕๓. บุคคลใดเลือกซื้ อจักรยานได้เหมาะสมกับตนมากที่สุด
ก. คิมหันต์ขี่จกั รยานเสื อภูเขาไปตลาดใกล้บา้ น
ข. พายุเลือกซื้ อจักรยานที่ทาจากวัสดุมือสอง
ค. น้ าริ นทร์ น้ าหนัก ๙๐ กิโลกรัมเลือกจักรยานล้อเล็กเพื่อความคล่องตัวในการขับขี่
ง. วรทต้องการแข่งขันจักรยานจึงซื้ อสปี ดเกียร์
๕๔. ข้อใดใช้ภาษาโน้มน้าวใจ
ก. ผูม้ ีวฒั นธรรมเท่านั้นที่ไม่ฝ่าไฟแดง
ข. ขับรถฝ่ าไฟแดง ระวังนอนตะแคงอยูข่ า้ งทาง
ค. เห็นไฟแดงแล้วไม่หยุด อาจสะดุดคุณตารวจ
ง. ขับรถไม่ถูกกฎ ไม่เคารพกฎหมายบ้านเมือง

จงอ่านข้ อความต่ อไปนีแ้ ล้วตอบคาถามข้ อที่ ๕๕ – ๕๖

พระสถูปเจดียเ์ ป็ นสิ่ งก่อสร้างที่เป็ นแท่งทึบตันและทาหน้าที่เช่นเดียวกับปรางค์ แต่รูป


ทรงต่างไป โดยทัว่ ไปเจดียม์ ีรูปทรงแบบกรวย คือ ฐานกว้าง ยอดเรี ยวแหลม แต่มีรายละเอียด
แตกต่างกัน หลายแบบที่นิยมมากก็คือ เจดียแ์ บบองค์ระฆังกลม ซึ่งไทยเราอาจได้รับอิทธิพล
จากลังกาโดยตรงหรื อผ่านมอญก็ได้ เจดียแ์ บบนี้ส่วนสาคัญเป็ นที่สังเกตได้ง่าย คือ องค์ระฆัง
ที่อยูป่ ระมาณกึ่งกลางของความสู ง หรื อสู งขึ้นไปบนส่ วนยอดในกรณี ของเจดียภ์ าคเหนื อ เจดีย ์
แบบนี้ที่สาคัญ คือ พระมหาธาตุ นครศรี ธรรมราช พระปฐมเจดีย ์ นครปฐม พระศรี รัตนเจดีย ์
ในวัดพระศรี รัตนศาสดาราม กรุ งเทพฯ เจดียว์ ดั ช้างล้อม ศรี สัชนาลัย สุ โขทัย พระธาตุหริ ภุญไชย
ลาพูน เป็ นต้น

๕๕. ผูเ้ ขียนใช้วธิ ี การเขียนตามข้อใดต่อไปนี้


ก. บรรยายและอธิบาย ข. อธิบายและอุปมา
ค. อุปมา และบรรยาย ง. อธิบายและสาธก

๕๖. ข้อความส่ วนใดคือการอนุมานของผูเ้ ขียน


ก. เจดียแ์ บบองค์ระฆังกลมเป็ นแบบที่นิยมกันมาก
ข. พระธาตุหริ ภุญไชย คือพระสถูปเจดียข์ องจังหวัดลาพูน
ค. ฐานกว้าง ยอดเรี ยวแหลมคือลักษณะเจดียม์ ีรูปทรงแบบกรวย
ง. เจดียแ์ บบองค์ระฆังกลม ไทยเราอาจได้รับอิทธิ พลจากลังกาโดยตรงหรื อผ่านมอญก็ได้

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 569

จงอ่านบทความต่ อไปนีแ้ ล้วตอบคาถามข้ อที่ ๕๗ – ๖๐

จากการค้นคว้าของนักวิทยาศาสตร์ พบว่า เหตุที่ดอกไม้มีกลิ่นหอมนั้นก็เพราะใน


กลีบดอกไม้มีน้ ามันชนิ ดหนึ่ง เรี ยกว่า น้ ามันระเหยง่าย( essential oils) น้ ามันระเหยง่ายนี้
ประกอบด้วยสารเคมีหลายชนิด ดอกไม้แต่ละชนิดจะมีจานวนโมเลกุลและชนิดสารเคมีใน
น้ ามันดังกล่าวต่างกัน จึงมีกลิ่นหอมไม่เหมือนกัน น้ ามันระเหยง่ายนี้ผลิตไปพร้อมๆกับการ
เจริ ญเติบโตของพืช น้ ามันระเหยง่ายไม่ได้มีแต่ในดอกไม้เท่านั้น เรายังพบได้ตามส่ วนอื่นของ
พืช เช่น ใบ เปลือก ราก เมล็ด น้ ามันระเหยง่ายนี้เองที่สามารถสกัดมาทาเป็ นน้ าหอมได้

๕๗. ผูเ้ ขียนได้ใช้กลวิธีการอธิ บายตามข้อใดต่อไปนี้


ก. ให้นิยาม ใช้ตวั อย่าง ข. ชี้แจงตามลาดับขั้น ใช้ตวั อย่าง
ค. เปรี ยบเทียบความเหมือนกันและความต่างกัน
ง. ชี้สาเหตุและผลลัพธ์ที่สัมพันธ์กนั ใช้ตวั อย่าง
๕๘. ข้อใดกล่าวไม่ ถูกต้อง
ก. ในดอกไม้มีน้ ามันระเหยง่าย ข. น้ ามันระเหยง่ายมีส่วนประกอบของสารเคมีหลายชนิด
ค. น้ ามันระเหยง่ายสามารถพบได้ในพืช
ง. ดอกไม้ทุกชนิดมีจานวนโมเลกุลในปริ มาณที่เท่ากัน
๕๙. ชื่อบทความข้อใดเหมาะสมและถูกต้องที่สุด
ก. น้ ามันระเหยง่าย ข. ที่มาของกลิ่นหอมในดอกไม้
ค. สารเคมีในน้ ามันระเหยง่าย ง. แหล่งที่มาของน้ ามันระเหยง่าย
๖๐. ข้อความต่อไปนี้ใช้กลวิธีการอธิ บายตามข้อใด
“วิธีการทอดไข่เจียวให้ฟูนุ่มคือการใช้หม้อในการเจียวไข่ มีเครื่ องมือและเครื่ องปรุ ง
ได้แก่ไข่ไก่ ๒ ฟอง ซี อิ๊วขาว หม้อ และน้ ามันหอย มีข้ นั ตอนดังนี้ นาหม้อใส่ น้ ามันพืชแล้วนาไปตั้ง
ไฟ พอเริ่ มให้มีควันเล็กน้อย ค่อย ๆ เทไข่ลงไปในหม้อช้า ๆ ๓ ครั้ง หลังจากนั้นให้กลับไข่ ๑ รอบ
ทอดไปสักครู่ จนเห็นว่าผิวด้านบนของไข่เริ่ มแห้ง หลังจากนั้นให้ชอ้ นขึ้นมาวางบนตะแกรงเพื่อให้
สะเด็ดน้ ามัน”

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 570

จงอ่านข้ อความต่ อไปนีแ้ ล้วใช้ ในการตอบคาถามข้ อที่ ๖๑ – ๖๓

บิดามารดาจานวนมากติชมลุกหลานไม่เป็ น ทาให้ไม่เกิดประโยชน์ในทางสร้างสรรค์
แต่ตรงกันข้ามอาจจะเป็ นการเพาะปฏิกิริยาทางอารมณ์อนั ไม่พึงประสงค์ข้ ึนในตัวเด็กได้
ยกตัวอย่าง เด็กล้างรถไม่สะอาดเท่าที่ควร ผูใ้ หญ่ไม่ควรประณามเด็กว่าเขาเป็ นเด็กไม่ดีทางาน
ไม่เรี ยบร้อย หรื อกล่าวหาว่าเด็กพุดปด ไม่ได้ทาความสะอาดรถจริ ง คาพูดเหล่านี้จะทาให้
เด็กเกิดความรู ้สึกตามคาพูดของผูใ้ หญ่ คิดว่าตนเองเป็ นคนไม่ดีจริ ง ขาดความพอใจภูมิใจใน
ตนเอง ทางที่ดีผใู ้ หญ่ควรชี้ให้เด็กเห็นอย่างเรี ยบๆ ว่ามีส่วนใดบ้างที่ยงั ไม่สะอาด แล้วสอน
เด็กด้วยว่า ทาอย่างไรจึงจะทางานได้ดีตามที่ผใู ้ หญ่ตอ้ งการ ทั้งนี้ ต้องพิจารณาตามอายุ
และความสามารถที่เด็กจะสนองความต้องการของผูใ้ หญ่ดว้ ย

๖๑. ข้อความข้างต้นลาดับโครงสร้างการแสดงทรรศนะอย่างไร
ก. ที่มา ข้อสนับสนุน ข้อเสนอแนะ ข. ข้อสนับสนุน ที่มา ข้อสนับสนุน
ค. ที่มา ข้อเสนอแนะ ข้อสรุ ป ง. ข้อสรุ ป ข้อสนับสนุน ที่มา ข้อสรุ ป
๖๒. ข้อความข้างต้นแสดงทรรศนะประเภทใด
ก. ทรรศนะเชิงข้อเท็จจริ ง ข. ทรรศนะเชิงนโยบาย
ค. ทรรศนะเชิงคุณค่า ง. ทรรศนะเชิ งข้อเท็จจริ ง และทรรศนะเชิงนโยบาย
๖๓. ผูเ้ ขียนกล่าวถึงประเด็นสาคัญข้อใด
ก. การเปิ ดโลกทรรศน์ของผูใ้ หญ่
ข. เด็กขาดความภาคภูมิใจในตนเอง
ค. วิธีการพูดของผูใ้ หญ่เมื่อต้องการตักเตือนหรื อกล่าวชมเด็ก
ง. ผูใ้ หญ่ตอ้ งดูอายุและความสามารถของเด็กด้วยเมื่อสั่งให้เด็กทางาน

จงอ่านข้ อความต่ อไปนีแ้ ล้วตอบคาถามข้ อที่ ๖๔ – ๖๖

การสู บบุหรี่ ให้โทษมาก ถึงผูส้ ู บจะมีความพอใจแต่ควันและกลิ่นของบุหรี่ กค็ ือ


ความราคาญแก่ผอู ้ ยูใ่ กล้เคียง เวลาในการตระเตรี ยมบุหรี่ และสู บบุหรี่ แต่ละครั้งสู ญเสี ยไป
ไม่ใช่นอ้ ย ค่าใช้จ่ายในการสู บบุหรี่ วนั หนึ่งๆ พอที่จะนาไปใช้สาหรับกิจจาเป็ นอย่างอื่นได้สบาย
ประการสาคัญที่สุด คือ การสู บบุหรี่ เป็ นภัยต่อหัวใจ วัณโรคและมะเร็ ง วงการแพทย์ปัจจุบนั
สันนิษฐานว่าส่ วนหนึ่งมาจากการสู บบุหรี่ การที่นกั สู บบุหรี่ รู้สึกว่าควันบุหรี่ แต่ละครั้งที่สูด
เข้าไปช่างชุ่มคอชื่นใจยิง่ นัก ความจริ งเป็ นการสู บพิษเข้าไปประหารตนเองในภายหลัง

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 571

๖๔. ชื่อใดเหมาะสมที่สุดที่ควรตั้งให้กบั ข้อความข้างต้นนี้


ก. จิตสานึก ข. โทษของบุหรี่ ค. ประหารตนเอง ง. บุหรี่ ภยั ต่อหัวใจ
๖๕. ผูเ้ ขียนใช้กลวิธีการเขียนอย่างไร
ก. อธิบาย ข. บรรยาย ค. ยกตัวอย่าง ง. เปรี ยบเทียบ
๖๖. ใครจดบันทึกความรู ้จากบทความข้างต้นไม่ ถูกต้อง
ก. สมศักดิ์ : การสู บบุหรี่ ทาลายสุ ขภาพ
ข. สมหวัง : การสู บบุหรี่ ทาให้เสี ยเวลา
ค. จารัส : การสู บบุหรี่ ทาให้สิ้นเปลือง
ง. ปฏิวตั ิ : การสู บบุหรี่ ทาให้ชุ่มคอในระยะยาว

จงอ่านข้ อความต่ อไปนีแ้ ล้วตอบคาถามข้ อที่ ๖๗ – ๖๘

ภาษานอกจากจะเป็ นเครื่ องมือสื่ อสารแสดงความรู ้สึกนึกคิดของคนทัว่ โลกแล้ว ยัง


เป็ นเครื่ องแสดงให้เห็นวัฒนธรรม อารยธรรม และเอกลักษณ์ประจาชาติอีกด้วย ไทยเป็ น
ประเทศซึ่ งมีขนบธรรมเนียมประเพณี ศิลปกรรมและภาษาซึ่ งเจริ ญรุ่ งเรื องมาตั้งแต่อดีตกาล
เราผูเ้ ป็ นอนุชนจึงควรภูมิใจช่วยกันผดุงรักษามรดกทางวัฒนธรรมอันเป็ นทรัพย์สินทาง
ปั ญญาที่บรรพบุรุษได้อุตส่ าห์สร้างสรรค์ข้ ึนไว้ให้เจริ ญสื บไป

๖๗. ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้อง
ก. ภาษาเป็ นเครื่ องมือสื่ อสาร ข. ภาษาแสดงให้เห็นเอกลักษณ์ประจาชาติ
ค. ภาษาเป็ นเครื่ องมือแสดงให้เห็นวัฒนธรรม
ง. ภาษาเป็ นเครื่ องมือปลูกจิตสานึกความเป็ นไทย

๖๘. ผูเ้ ขียนใช้กลวิธีการเขียนอย่างไร


ก. บรรยาย ข. พรรณนา ค. อธิบาย ง. อุปมา

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 572

อ่านข้ อความต่ อไปนีแ้ ล้วตอบคาถามข้ อ ๖๙

ต้นไม้ที่เขาเอามาทาเสาเรื อน และมีพิธีทาขวัญเสาเอกหรื อเสาขวัญนั้น แต่ก่อนนี้ไม่มี


ขายถ้าต้องการเสาก็ตอ้ งไปหาและตัดเอาเองที่ในป่ า ถ้ามีกาลังน้อยและไม่มีความรู ้เรื่ องดูไม้
ก็อาศัยเพื่อนบ้านที่ชานาญช่วยเหลือกันได้ในทางสามัคคีธรรม ขณะตัดโค่นต้นไม้ที่เลือกได้
ในป่ า ลางที่ตน้ ไม้น้ นั เอนลงมากาลังจะโค่นล้มลง,ก็มีเสี ยงดังเอี๊ยด ๆ นัน่ เขาว่าเป็ นเสี ยงนางไม้
ร้องไห้ที่จะต้องถูกพรากจากถิ่นที่เคยอยูเ่ พราะด้วยความเบียดเบียนของมนุษย์ ทาไมไม่ลงไป
ตบพวกตัดไม้เสี ยบ้างเล่า เห็นจะไม่กล้าทาเพราะพวกเหล่านั้นย่อมมีเครื่ องรางของขลังไว้ป้อง
กันตัว ที่ตน้ ไม้ลนั่ เอี๊ยดว่านางไม้ร้องไห้คงเกิดจาก”จินตนาการ” ของพวกตัดไม้เองและ
“จินตนาการ” อย่างนี้แหละ ที่เกิดเป็ นจินตกวีนิพนธ์ข้ ึน ซึ่ งเราก็ชอบอ่านเพราะถูกอารมณ์ ที่
ต้องการให้เกิด “จินตนาการ” อย่างนั้นแต่อย่าให้ถึง “จินตนาการ” ขั้นเป็ นโรคจิตก็แล้วกัน
ความเชื่อเรื่ องขวัญ ของ เสถียรโกเศศ
จากหนังสื อ การศึกษา ศิลปะ และ ประเพณี

๖๙. แนวคิดในข้อใดสรุ ปได้จากเรื่ องนี้


ก. ความเชื่อควรประกอบด้วยเหตุผลและก่อให้เกิดสิ่ งที่สร้างสรรค์
ข. มนุษย์ใช้ความเชื่อที่เร้นลับปกป้องธรรมชาติ
ค. คนที่มีจินตนาการมีโอกาสที่จะเป็ นโรคจิต
ง. ป่ าเป็ นที่อยูอ่ าศัยของมนุษย์

จงอ่านนิทานต่ อไปนี้แล้วตอบคาถามข้ อที่ ๗๐


เรื่ องเสื อ (นิทานพื้นบ้านฉบับภาคตะวันออก)
เสื อไปกินหญ้าที่ชายดอย ๒ ตัวแม่ลูก ไปพบแม่ววั เสื อจะกินแม่ววั แม่ววั ก็วอนว่า ขอไป
ส่ งนมลูกหน่อยเสื อก็ยอม พอแม่ววั ไปส่ งนมลูกเสร็ จแม่ววั ก็จะไปให้เสื อกิน ลูกวัวก็วิ่งไปหาเสื อขอให้
กินตนแทน เสื อเห็นว่าลูกวัวรู ้จกั คุณแม่ก็เลยไม่กิน ตกลงไม่กินทั้งแม่ววั และลูกวัว ปล่อยไปทั้ง ๒ ตัว
จากหนังสื อ บันทึกถึงธารใส ของ กระทรวงศึกษาธิการ
๗๐. นิทานเรื่ องนี้สะท้อนให้เห็นสิ่ งใด
ก. การนาชีวติ สัตว์มาเป็ นแนวทางการปฏิบตั ิของมนุษย์
ข. คุณธรรมและจริ ยธรรมของการอยูร่ ่ วมกัน
ค. ครอบครัวที่ขาดพ่อย่อมไม่มีผปู ้ กป้ องดูแล
ง. การอธิ บายความสัมพันธ์ในโซ่อาหาร

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 573

อ่านนิทานต่ อไปนีแ้ ล้วตอบคาถามข้ อ ๗๑ -๗๓


ไก่ ต ัว ผู ้ส องตัว อยู่ใ นเล้า เดี ย วกัน ในเล้า นั้ น มี ไ ก่ ต ัว เมี ย อยู่ห ลายตัว แต่ วิ สั ย ของไก่ ต ัว ผู ้
พ่ อ เล้า ซึ่ งมัก ไม่ ย อมจะก้ม หั วให้ แ ก่ ก ัน มัน จึ ง มัก จะตี ก ัน อยู่เสมอ เพราะสาเหตุ ที่ จะแย่ง เป็ นพ่ อ เล้า
ครอบครองไก่ตวั เมียทั้งหมดแต่เพียงผูเ้ ดี ยว วันหนึ่ ง ไก่ตวั ผูท้ ้ งั คู่ก็เกิ ดปะทะกันอย่างหนัก ถึ งขนาด
แพ้ชนะ ไก่ ตวั ที่ แพ้ตอ้ งหนี ไป หลบๆ ซ่ อนๆ อยู่ในมุ มมื ด ไม่กล้าออกมาตี อีกส่ วนไก่ ตัวที่ ชนะนั้น ก็
ลิงโลดใจว่าตนเองเป็ นผูช้ นะถึงกับกระโดดขึ้นไปยืนเกาะอยูบ่ นเสารั้วเล้า แล้ว ตีปีกส่ งเสี ยงดังลัน่ บอก
ความเป็ นผูช้ นะนกอินทรี ตวั หนึ่ งบินผ่านมาเห็นเข้า ก็บินลงมาโฉบเอาไก่พ่อเล้าตัวนั้นด้วยกรงเล็บแหลม
คมของมันขึ้นไปทันที แล้วพาไปจากที่นน่ั ไก่ตวั ที่แพ้เลยได้เป็ นพ่อเล้าแทน
๗๑. พฤติกรรมของไก่ท้ งั สองตัวเปรี ยบได้กบั สานวนในข้อใด
ก. หัวเราะทีหลังดังกว่า ข. แพ้เป็ นพระ ชนะเป็ นมาร
ค. เสื อสองตัวอยูถ่ ้ าเดียวกันไม่ได้ ง. คนโง่ยอ่ มเป็ นเหยื่อของคนฉลาด
๗๒. ไก่ตวั ที่ชนะเป็ นเหยือ่ ของนกอินทรี เพราะอะไร
ก. ทะนงตน ข. หลงตัวเอง ค. ประมาท ง. เย่อหยิง่
๗๓. ข้อคิดที่ได้จากเรื่ องนี้คือข้อใด
ก. ไม่ควรรังแกผูท้ ี่อ่อนแอกว่า ข. ไม่ควรยึดติดกับอานาจวาสนา
ค. ควรผูกมิตรดีกว่าสร้างศัตรู ง. ควรมีความสามัคคีในหมู่คณะ

จงอ่านบทความต่ อไปนีแ้ ล้วตอบคาถาม ข้ อที่ ๗๔ – ๗๕


ภาวะโลกร้อน หมายถึง การที่อุณหภูมิเฉลี่ยของอากาศบนโลกสู งขึ้น ไม่วา่ จะ
เป็ นอากาศบริ เวณใกล้ผวิ โลกและน้ าในมหาสมุทร ในช่วง ๑๐๐ ปี ที่ผา่ นมาอุณหภูมิเฉลี่ย
ของโลกสู งขึ้นถึง ๐.๗๔ ถึง ๐.๑๘ องศาเซลเซียส และจากแบบจาลองการคาดคะเนภูมิอากาศ
พบว่าใน พ.ศ. ๒๕๔๔ – ๒๖๔๓ อุณหภูมิเฉลี่ยของโลกจะเพิม่ ขึ้นถึง ๑.๑ ถึง ๖.๔
องศาเซลเซียส
สาเหตุที่ทาให้เกิดภาวะโลกร้อนก็เพราะว่าเหล่าแก๊สเรื อนกระจาทั้งหลาสยที่เกิด
ขึ้นจากการทากิจกรรมต่างๆ ของมนุษย์น้ นั เพิ่มขึ้นมากอย่างรวดเร็ ว รวมถึงการที่ป่าไม้ถูกตัด
และทาลายลงไปอย่างมาก จึงทาให้ไม่มีตวั ฟอกอากาศที่มากพอ จึงทาให้แก๊สเรื อนกระจกทั้ง
หลายเหล่านี้ข้ ึนไปรวมตัวกันอยูบ่ นชั้นบรรยากาศของโลกอย่างหนาแน่น ความร้อนจากดวง
อาทิตย์ที่เคยถูกสะท้อนกลับออกไปนอกโลกก็จะถูกสะสมไว้ในโลกมากเกินไปและก็เป็ นสาเหตุ
ที่ทาให้อุณหภูมิของโลกเพิ่มขึ้นนัน่ เอง
ผลกระทบของภาวะโลกร้อนนั้นก็มีให้เราเห็นกันอยูบ่ ่อยๆ สภาพลมฟ้า

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 574
อากาศที่ผดิ แปลกไปจากเดิม ภัยธรรมชาติที่รุนแรงมากขึ้น น้ าท่วม แผ่นดินไหว พายุที่รุน
แรง อากาศที่ร้อนผิดปกติจนมีคนเสี ยชีวิต รวมไปถึง โรคระบาดชนิดใหม่ ๆ หรื อโรคระบาด
ที่เคยหายไป จากโลกนี้แล้วก็กลับมาให้เราได้เห็นใหม่และพาหะนาโรคที่มีมากขึ้น ในอนาคต
คาดว่าผลกระทบของภาวะโลกร้อนจะรุ นแรงมากขึ้น
พวกเราสามารถช่วยลดภาวะโลกร้อนได้หลายวิธี ไม่วา่ จะเป็ นการลดใช้พลังงาน
ลดใช้ถุงพลาสติก ลดใช้สิ่งของที่ไม่จาเป็ นเพื่อที่จะสร้างขยะให้นอ้ ยลง รวมไปถึงการปลูกต้น
ไม้และยังมีอีกหลายวิธีที่พวกเราสามารถทาได้ เพื่อที่จะช่วยบรรเทาภาวะโลกร้อนนี้
เรี ยบเรี ยงจาก www.greentheearth.info/

๗๔. ถ้านักเรี ยนต้องการเป็ นส่ วนหนึ่งในการช่วยลดภาวะโลกร้อน ข้อใดเป็ นแนวทางการปฏิบตั ิที่


เหมาะสมที่สุด
ก. เปลี่ยนเครื่ องใช้ไฟฟ้าใหม่ โดยเลือกที่มีสัญลักษณ์เบอร์ ๕
ข. งดใช้ผลิตภัณฑ์จากพลาสติก
ค. ปิ ดไฟทุกดวงในบ้านตั้งแต่เวลา ๒๐.๐๐ น.
ง. ปลูกต้นไม้ในบริ เวณบ้าน
๗๕. ผูเ้ ขียนบทความเรื่ องนี้ มีจุดมุ่งหมายอย่างไร
ก. ให้ผอู ้ ่านตระหนักและเห็นความสาคัญของการร่ วมกันบรรเทาปั ญหาภาวะโลกร้อน
ข. ให้ผอู ้ ่านสนใจและหาความรู ้เพิม่ เติมเกี่ยวกับภาวะโลกร้อน
ค. ให้ผอู ้ ่านทราบถึงสาเหตุของการเกิดโรคและภัยพิบตั ิต่างๆ
ง. ให้ผอู ้ ่านทราบแนวทางการปฏิบตั ิเพื่อลดภาวะโลกร้อน

จงอ่านข้ อความต่ อไปนีแ้ ล้วตอบคาถามข้ อ ๗๖


อาจารย์คนหนึ่งเริ่ มการสนทนาในชั้นเรี ยนด้วยการหยิบธนบัตรใบละ ๑,๐๐๐ บาทออกมา
ให้นกั เรี ยนดู แล้วถามว่า “มีใครอยากได้บา้ งไหม” ทุกคนรี บยกมือ
อาจารย์ขยาธนบัตรนั้นจนยับยูย่ ี่ แล้วถามอีกครั้งว่า “มีใครยังอยากได้ธนบัตรใบนี้อีกหรื อไม่”
ทุกคนยังยกมือขึ้นเหมือนเดิม
อาจารย์ถามต่ออีกว่า “ถ้าสมมุติวา่ ธนบัตรใบนี้ ถูกทิง้ อยูบ่ นพื้น แล้วมีคนมาเหยียบย่าจน
สกปรก ยังจะมีใครอยากได้อีกหรื อไม่” นักเรี ยนทุกคนก็ตอบว่ายังอยากได้
อาจารย์จึงกล่าวสรุ ปว่า นัน่ คือสิ่ งมีค่าที่พวกเธอได้เรี ยนรู ้ในวันนี้ ไม่วา่ เธอจะทาอะไรกับ
ธนบัตรใบนี้ มันก็ยงั คงจะมีราคา ๑,๐๐๐ บาทอยูเ่ สมอ ชีวติ คนเราก็เช่นเดียวกัน บางครั้งเราอาจจะถูก
ทอดทิ้ง ถูกใครต่อใครซ้ าเติม เหยียบย่า ถูกขยี้ ยับเยิน เพราะความผิดพลาดในการก้าวเดินของชีวิต
จนทาให้เกิดความรู ้สึกว่าตนเอง “ไร้ค่า”แต่รู้ไหม ไม่วา่ อะไรจะเกิดขึ้น เธอก็ยงั มี “คุณค่าของความเป็ น

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 575
คน” ไม่วา่ เธอจะสะอาดเอี่ยมหรื อว่ายับยูย่ ี่ “ตัวเราก็ยงั มีค่าที่สุดเสมอ” จาไว้

๗๖. ข้อใดเขียนสาระสาคัญของข้อความนี้ได้ถูกต้องที่สุด
ก. ชีวติ คนเราไม่ได้ราบรื่ นเสมอไป มักมีปัญหาและอุปสรรคให้แก้ไขอยูเ่ สมอ
ข. การถูกทอดทิ้ง เหยียบย่า ถูกใครต่อใครซ้ าเติม ทาให้เรามองเห็นคุณค่าของตนเอง
ค. ทุกคนต่างเคยทาผิดพลาดในชีวติ เราไม่ควรประเมินคุณค่าของผูอ้ ื่นจากความผิดพลาดเหล่านั้น
ง. คนทุกคนมีคุณค่าของความเป็ นคนเสมอ ซึ่ งความผิดพลาดในชีวติ ไม่สามารถทาลายคุณค่านั้นได้

จงอ่านข้ อความต่ อไปนีแ้ ล้วตอบคาถามข้ อ ๗๗

ในปั จจุบนั นี้คนเราดารงชีวติ แบบสะดวกสบาย ใช้เทคโนโลยีเป็ นส่ วนสาคัญในชีวติ อาจส่ ง


ผลให้คนเรามีความฟุ่ มเฟื อยมากขึ้นจนเป็ นนิสัย ไม่วา่ จะเป็ นในเรื่ องของการใช้ทรัพยากรทาง
ธรรมชาติ การประหยัดอดออมสิ่ งของ เงินทอง จนทาให้บางคนไม่รู้จกั ตนเอง ทาอะไรเกินความ
จาเป็ น ทาอะไรเกินตัว ทั้งๆที่สิ่งนั้นอาจจะไม่สาคัญเลยในชีวติ ของเรา การรู ้จกั ตนเองเป็ นอีกสิ่ งหนึ่ง
ที่สาคัญในชีวติ เพราะว่านอกจากจะทาให้เราอยูก่ ินแบบพอตัว เป็ นคนไม่ฟุ่มเฟื อย ใช้สิ่งของอย่างคุม้
ค่าแล้ว เรายังจะมีความสุ ขในการดารงชี วติ ประจาวันอีกด้วย เราไม่ตอ้ งไปวิง่ ตามใครที่เขามีหลายสิ่ ง
หลายอย่างมากกว่าเรา เราพอใจในตนเอง พอใจที่จะเดินทางสายกลาง และนี่เป็ นแนวทางในการดารง
ชีวติ ที่จะทาให้ชีวติ ของเรามีคุณค่ามากยิง่ ขึ้น

๗๗. การแสดงทรรศนะในบทความข้างต้นนี้ ตอ้ งการให้เปลี่ยนแปลงสิ่ งใด


ก. ความจริ ง ข. ค่านิยม ค. ความเชื่อ ง. ประสบการณ์

จากข้ อความต่ อไปนีใ้ ช้ ตอบคาถามข้ อที่ ๗๘


แน่นอน โลกย่อมหมุนไปข้างหน้า โลกเมื่อวานนี้กบั โลกวันนี้ และวันพรุ่ งนี้ไม่เหมือน
กันเป็ นสัจธรรมของโลก
แต่การเป็ นส่ วนหนึ่ งของความเจริ ญก้าวหน้าเป็ นคนละเรื่ องกับการเป็ นทาสของความ
เจริ ญก้าวหน้าเพราะถ้าเราใช้มนั ไม่เป็ น เทคโนโลยีก็ไม่ต่างอะไรจากยาเสพติด
คนมีปัญญาย่อมใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีให้มนั ช่วยพัฒนาปั ญญายิง่ ขึ้นไป มิใช่ตก
อยูใ่ นกรงที่เราสร้างขึ้นมากักขังตัวเอง
อิสรภาพที่มนุษย์แสวงหาอยูเ่ สมอไม่ได้อยูท่ ี่อื่นใด มันอยูใ่ นตัวเรานี่เอง
วินทร์ เลียววาริ ณ

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 576
๗๘. คากล่าวนี้ผเู ้ ขียนมีเจตนาอย่างไร
ก. ให้ความรู ้ ข. ให้ขอ้ คิด ค. ให้ความบันเทิง ง. ให้แรงบันดาลใจ

จงอ่านข้ อความต่ อไปนีแ้ ล้วตอบคาถามข้ อที่ ๗๙

แต่ความปวดร้าวขมขื่นทนทุกข์ทรมานให้คุณอะไรแก่คนเราบ้าง ตราบใดที่ลืมมันไม่
ได้ฉนั รู ้วา่ รื่ นและสุ ดใจต้องโศกเศร้าเสี ยใจเพียงใดในการที่ตอ้ งสู ญเสี ยลูกคนหัวปี ไป ฉันรู ้วา่
ทุกคนได้รับความทุกข์เพียงไหนด้วยการพลัดพรากจากผูท้ ี่ตนรักและทรัพย์สมบัติใดๆ ที่
อุตส่ าห์สะสมมาชัว่ อายุ รื่ นเองผ่านชีวติ มามาก ท่องเที่ยวมาไกล เข้าใจอะไรได้ดีกว่าใครๆ
สมัยปู่ ย่าตายายเราขึ้นไป ห่าลงกินคนตายทั้งเมือง ท่านยังสร้างใหม่ได้ สามะหาอะไรกับ
หมู่บา้ นสามะหาอะไรกับตาบล
ทุ่งมหาราช ของ เรี ยมเอง

๗๙. เมื่ออ่านข้อความตอนนี้แล้ว นักเรี ยนจะนาข้อคิดที่ได้ไปใช้ในชีวติ จริ งได้อย่างไร


ก. เปลี่ยนงานใหม่ทุกครั้งเมื่อมีปัญหา
ข. เดินทางออกจากบ้านไปดิ้นรนหาชีวติ ใหม่ดว้ ยตนเอง เพื่อให้มีชีวติ ที่ดีกว่า
ค. พลาดจากการสอบเข้ามหาวิทยาลัยแห่งหนึ่งแต่ก็ไม่ละความพยายาม
ง. ทิ้งสิ่ งของที่ไม่ใช้แล้วทุกอย่าง ถ้าจะใช้ค่อยซื้ อใหม่

จงอ่านข้ อความต่ อไปนีแ้ ล้วตอบคาถามข้ อ ๘๐


.
“สมเด็จพระศรี สวริ นทิราบรมราชเทวี พระพันวัสสาอัยยะกาเจ้า มีพระนามเดิมคือ พระเจ้า
ลูกเธอพระองค์เจ้าสว่างวัฒนาเป็ นพระธิ ดาในพระบาทสมเด็จพระเจ้าเกล้าเจ้าอยูห่ วั กับสมเด็จ
พระปิ ยมาวดี ศรี พชั ริ นทรมาตา ทรงมีพระราชสมภพเมื่อวันที่ ๑๐ กันยายน พ.ศ. ๒๔๐๕ ทรงเจริ ญ
พระชนม์ชีพในพระบรมมหาราชวังทรงได้รับการอบรมกล่อมเกลาในขนบราชประเพณี แห่งราชวงศ์
ทรงบาเพ็ญพระราชกรณี ยกิจเพื่อประโยชน์สุขของปวงชนทั้งด้านการศึกษา วิทยาศาสตร์สุขภาพ
และการอนุรักษ์พฒั นาวัฒนธรรม”

๘๐. จากข้อความข้างต้น ควรจัดให้อยูใ่ นส่ วนใดของเรี ยงความ เรื่ อง “ราชนารี แห่งราชวงศ์จกั รี ”


ก. คานา ข. เนื้อเรื่ อง ค. สรุ ป ง. คานาหรื อสรุ ป

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 577

ข้ อความต่ อไปนี้ ใช้ ตอบคาถามข้ อที่ ๘๑ – ๘๒


“เวลาปิ ดเทอม คุณป้ าจะให้แจ๊ดไปเรี ยนพิเศษเพิ่มเติมหลายวิชา เพราะแจ๊ดเต็มใจที่จะใช้เวลาว่าง
ให้เป็ นประโยชน์ ถึงแม้จะเรี ยนเต็มวัน แจ๊ดก็ไม่รู้สึกเบื่อ ซึ่ งเพื่อนคุณป้ าสนใจที่จะให้บุตรของตนเรี ยน
บ้าง
เพื่อน : เธอให้แจ๊ดไปเรี ยนพิเศษที่ไหนบ้าง
คุณป้า : หลายแห่งจ้ะ เช้า ๘ โมง ถึง ๑๐ โมง เรี ยนคณิ ตศาสตร์ที่คณิ ตเซ็นเตอร์ แล้วข้ามไป
เรี ยนฟิ สิ กส์ ๑๐ โมงครึ่ ง ถึง เที่ยง พัก ๑ ชัว่ โมง บ่ายเรี ยนอังกฤษจนถึง ๓ โมง
แล้วพาไปเรี ยนว่ายน้ า เลิก ๕ โมงครึ่ ง เธอพาลูกไปเรี ยนซิ ดีนะอาจารย์สอนดีทุก
วิชา
เพื่อน : อุย๊ ! ฉันไม่ให้ลูกฉันเรี ยนมากมายอย่างนี้ วันหนึ่ง ๒ วิชาก็พอแล้ว สมองเสี ยหมด”
๘๑. บทสนทนาข้างต้นมีลกั ษณะอย่างไร
ก. พูดดีเป็ นศรี แก่ปาก ข. พูดตรงไป ไร้ไมตรี
ค. ปากปราศรัย น้ าใจเชือดคอ ง. พูดไม่คิด เสี ยมิตรไมตรี
๘๒. สมมุติวา่ นักเรี ยนเป็ นเพื่อนคุณป้ า นักเรี ยนจะพูดอย่างไรเมื่อไม่ตอ้ งการให้ลูกเรี ยน จึงจะฟังดู
สุ ภาพและเหมาะสมที่สุด
ก. ไม่ให้เรี ยนแล้ว เดี๋ยวสมองเสื่ อม
ข. ไม่ให้เรี ยนแล้ว เดี๋ยวสอบได้ที่ ๑
ค. คงไม่ให้เรี ยนเพราะมากไปจาไม่ได้
ง. คงจะไม่ให้เรี ยนมากอย่างนี้เพราะกลัวว่าจะรับไม่ไหว

จากข้ อความด้ านล่างนี้ ใช้ ตอบคาถามข้ อ ๘๓ – ๘๔


“การที่จะทาให้ภาษาไทยคงอยูต่ ่อไปอย่างถูกต้อง มีอยูอ่ ย่างเดียวคือต้องช่วยกันรักษา อย่าไปนิยม
ภาษาไทยที่ผดิ เพี้ยน และยิง่ ปั จจุบนั เริ่ มมีภาษาอังกฤษ เข้ามาใช้แทรกในภาษาไทยมากขึ้นจึงอยากให้คน
ไทยทุกคน โดยเฉพาะเยาวชนช่วยกันรักษาสมบัติที่มีคุณค่าที่สุดของชาติ คือ ภาษาไทยเอาไว้ให้ได้ โดย
เริ่ มกันตั้งแต่เป็ นเยาวชน อย่าไปรอว่าให้เป็ นผูใ้ หญ่ก่อนแล้วจึงเริ่ มรักษาจะไม่ทนั การ ภาษาไทยเป็ น
ภาษาของเราทุกคน เราใช้ต้ งั แต่สอนพูด จนมาแก่ตายไป จะพูดไทยจากต้นตระกูล อยูบ่ า้ นเราก็พูดไทย
ไปติดต่อกับใครเราก็พูดไทยหนังสื อติดต่อส่ วนใหญ่ก็เขียนเป็ นภาษาไทย ด้วยเหตุน้ ี เราจาเป็ นต้องรักษา
ภาษาไทยเอาไว้ให้ได้และคอยระวังอย่าให้ภาษาไทยเปลี่ยนแปลงหรื อสู ญไป”
๘๓. ข้อความข้างต้นนี้เป็ นการแสดงทรรศนะประเภทใด
ก. ข้อเท็จจริ ง ข. ข้อคิดเห็น
ค. ข้อเท็จจริ งและโน้มน้าวใจ ง. ข้อคิดเห็นและโน้มน้าวใจ

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 578
๘๔. ผูแ้ สดงทรรศนะข้างต้นใช้วธิ ีเขียนประเภทใด
ก. เชิงตีความ ข. เชิงวิเคราะห์ ค. เชิงสังเคราะห์ ง. เชิงประเมินค่า
๘๕. “เมื่อใดที่ใบไม้ร่วงหล่นถึงพื้นมันก็จะผุพงั และเน่าเปื่ อยกลายเป็ นธาตุอาหาร และจุลินทรี ย ์
เล็กๆที่ช่วยกันย่อยสลายให้ใบไม้น้ ีกลายเป็ นธาตุอาหารสะสมอยูใ่ นดิน และดินก็จะสะสมธาตุอาหาร
ให้ตวั เองตลอดเวลาเท่าที่มีป่าไม้ มีน้ าเป็ นสายใยธรรมชาติเกื้อหนุนกันและกัน”
ข้อความข้างต้นนี้มีรูปแบบการเขียนตรงกับข้อใด
ก. บทความ ข. สารคดี ค. บทวิเคราะห์ ๔ ง. เอกสารอ้างอิงทางวิชาการ
๘๖. “ถึงแม้วา่ ชีวติ มนุษย์จะหนีความทุกข์ไม่พน้ เราก็ไม่ควรมีชีวติ อยูอ่ ย่างสิ้ นหวัง การดิ้นรนต่อสู ้
และเอาชนะความล้มเหลวทาให้ชีวติ มนุษย์มีคุณค่าขึ้น......ผูท้ ี่ไม่ต่อสู ้ดิ้นรนเพราะมองไม่เห็นความ
สาเร็ จอยูข่ า้ งหน้า และทาตัวเหมือนกรวดทรายที่ไหลไปตามกระแสน้ ามัน เป็ นผูท้ ี่ทาตัวไม่สมกับที่เกิด
เป็ นมนุษย์”
ข้ อใดเป็ นสาระสาคัญของข้ อความข้ างต้ นนี้
ก. การต่อสู ้ดิ้นรนเป็ นธรรมชาติของมนุษย์
ข. ชีวติ มนุษย์ยอ่ มมีท้ งั ทุกข์ สุ ข สมหวัง และสิ้ นหวัง
ค. คุณค่าของชีวิตมนุษย์อยูท่ ี่การต่อสู ้เพื่อเอาชนะอุปสรรค
ง. ความล้มเหลวช่วยให้มนุษย์ประสบความสาเร็ จในชี วติ
๘๗. “การเป็ นนักบินอวกาศจะต้องรับการฝึ กอย่างหนัก ต้องมีความพร้อมทั้งด้านร่ างกายและจิตใจ
เพราะต้องเผชิ ญกับสิ่ งแวดล้อมแปลกใหม่นอกโลก และต้องอยูใ่ นสภาพไร้น้ าหนัก สภาพไร้น้ าหนักเกิด
จากแรงสองแรง คือ แรงโน้มถ่วงของโลกกับแรงที่เปรี ยบเสมือนแรงหนีศูนย์กลางที่เกิดขึ้นจากยาน
อวกาศที่เคลื่อนที่เป็ นวิถีโค้งในวงโคจรรอบโลก โดยแรงทั้งสองมีขนาดเท่ากัน แต่มีทิศทางตรงกันข้าม
กัน จึงมีการหักล้างเป็ นศูนย์ ไม่เหลือแรงใดๆ ทาให้นกั บินและสิ่ งของทุกสิ่ งทุกอย่างในอากาศมีสภาพ
ไร้น้ าหนัก”
ข้ อสรุ ปของบทความนีค้ ือข้ อใด
ก. นักบินและทุกสิ่ งในอวกาศมีสภาพไร้น้ าหนัก
ข. นักบินอวกาศต้องมีความพร้อมเพื่อเผชิ ญกับสภาพไร้น้ าหนัก
ค. สภาพไร้น้ าหนักเป็ นสิ่ งแปลกใหม่สาหรับนักบินอวกาศ
ง. สภาพไร้น้ าหนักบนอวกาศเป็ นปรากฏการณ์ที่แรงสองแรงหักล้างกัน

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 579

จงอ่านข้ อความต่ อไปนีแ้ ล้วตอบคาถามข้ อที่ ๘๘ – ๘๙


“เมื่อเราสอบตกเราย่อมเสี ยใจบางคนเกิดความรู ้สึกว่าชีวติ นี้ไร้ค่า การสอบตกเป็ น
ความอับอายที่จะติดตัวไปจนตลอดชีวติ มองหน้าใครไม่ได้อีกแล้ว ความรู ้สึกเช่นนี้ไม่มีประ
โยชน์อะไรเพราะจะยิ่งทาให้เราจมอยูใ่ นความทุกข์มากขึ้น แท้จริ งแล้วความเป็ นคนจิตใจ
ไม่เข้มแข็งของตนเองต่างหากที่ทาลายตนเองหาใช่การสอบไม่ การสอบตก เป็ นเพียงเหตุ
เล็กน้อย แต่เรากลับทาลายตัวเองเสี ยราวกับเป็ นมหันตทุกข์”

๘๘. ข้อใดเป็ นสาเหตุสาคัญที่ทาให้เกิด “มหันตทุกข์”


ก. การสอบตก ข. ความเสี ยใจ ค. ความอับอาย ง. ความไม่เข้มแข็ง
๘๙. ข้อความข้างต้น แสดงให้เห็นว่าผูพ้ ูดมีจุดมุ่งหมายใดเป็ นสาคัญ
ก. ต้องการเตือนสติ ข. ต้องการให้กาลังใจ
ค. ต้องการปลอบโยน ง. ต้องการสั่งสอน

จงอ่านข้ อความต่ อไปนี้ แล้วตอบคาถาม ข้ อ ๙๐


“ ผมมีความรู ้สึกส่ วนตัวว่าในระดับของพวกเกษตรกรด้วยกัน ชาวนาค่อนข้างน่าสงสารกว่าใครเพราะ
รายได้ต่า ผมเคยไปสัมผัสชีวติ ชาวนาแถว ๆ ภาคกลาง พบว่าส่ วนใหญ่แล้วไม่มีพ้นื ที่ทานาเป็ นของ
ตนเองหรื อถึงมีก็มีไม่กี่ไร่ นอกนั้นเป็ นของนายทุนทั้งสิ้ น ผมจึงพยายามที่จะศึกษาว่าการป้ องกันกาจัด
และลดต้นทุนการผลิต การลงทุนของชาวนา เพื่อให้เขาได้กาไรสู งสุ ด นี่คือเป้าหมายงานวิจยั เรา
ต้องการลดต้นทุนการผลิตของชาวนาไม่วา่ จะด้านการป้ องกันกาจัดของสารฆ่าแมลง ซึ่งจะเป็ น
ประโยชน์ต่อชาวนาในด้านเศรษฐกิจรวมทั้งสุ ขภาพด้วย เพราะเราลดจานวนครั้งของการใช้สารฆ่าแมลง
ลงหรื อในด้านค้นหาพันธุ์ขา้ วที่มีความต้านทานต่อแมลงให้เขา”
๔. ข้อเขียนข้างตัน มีตอนใดเป็ นข้อความแสดงอารมณ์
ก. ผมมีความรู ้สึกส่ วนตัวว่าในระดับของพวกเกษตรกรด้วยกัน
ข. ชาวนามีรายได้ต่า ไม่มีนาเป็ นของตนเองหรื อมีก็นอ้ ย
ค. การค้นหาพันธุ์ขา้ วที่มีความต้านทานต่อแมลงให้ชาวนา จะช่วยชาวนาในด้านเศรษฐกิจและด้าน
สุ ขภาพได้
ง. นี่คือเป้าหมายงานวิจยั

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 580

จงอ่านข้ อความต่ อไปนีแ้ ล้วตอบคาถามข้ อที่ ๙๑ – ๙๓

ปรัชญาแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง เป็ นปรัชญาชี้ถึงแนวการดารงอยูแ่ ละปฏิบตั ิตนของประชาชนในทุกระดับตั้งแต่
ระดับครอบครัวระดับชุ มชน จนถึงระดับรัฐ ทั้งในการพัฒนาและบริ หารประเทศให้ดาเนิ นไป
ใน ทางสายกลาง โดยเฉพาะการพัฒนาเศรษฐกิจเพื่อให้กา้ วทันต่อโลกยุคโลกาภิวตั น์ ความพอ
เพียง หมายถึง ความพอประมาณ ความมีเหตุผล รวมถึงความจาเป็ นที่จะต้องมีระบบภูมิคุม้ กันใน
ตัวที่ดีพอสมควร ต่อการมีผลกระทบใดๆ อันเกิดจากการเปลี่ยนแปลงทั้งภายนอกและภายใน
ทั้งนี้ จะต้องอาศัยความรอบรู ้ ความรอบคอบ และความระมัดระวังอย่างยิง่ ในการนาวิชาการต่างๆมา
ใช้ในการวางแผนและการดาเนินการทุกขั้นตอน และขณะเดียวกันจะต้องเสริ มสร้างพื้นฐานจิตใจ
ของคนในชาติ โดยเฉพาะเจ้าหน้าที่ของรัฐ นักทฤษฎีและนักธุ รกิจในทุกระดับให้มีสานึกในคุณธรรม
ความซื่อสัตย์สุจริ ต และให้มีความรอบรู ้ที่เหมาะสม ดาเนินชี วิตด้วยความอดทน ความเพียร มีสติ
ปั ญญา และความรอบคอบ เพื่อให้สมดุลและพร้อมต่อการรองรับการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ วและ
กว้างขวางทั้งด้านวัตถุ สังคม สิ่ งแวดล้อม และวัฒนธรรมจากโลกภายนอกได้เป็ นอย่างดี

๙๑. บุคคลในข้อใดปฏิบตั ิตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงได้ถูกต้องที่สุด


ก. พิมพ์ชนกช่วยพ่อแม่คา้ ขายใช้จ่ายอย่างประหยัดตั้งใจเรี ยนหนังสื อเข้าวัดทาบุญเป็ นประจา
ข. หฤทัยชอบใช้ของนอกและรับประทานอาหารในภัตตาคารที่มีชื่อเสี ยงเป็ นประจา
ค. กัญญาณี เที่ยวกลางคืนดื่มของมึนเมากับเพื่อนๆทุกคืน
ง. ธนพรเปลี่ยนโทรศัพท์มือถือเป็ นประจาและซื้ อเครื่ องสาอางที่มีราคาแพง
๙๒. ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงนี้บุคคลในระดับใดต้องปฏิบตั ิ
ก. ครอบครัว ข. ชุมชน ค. ภาครัฐ ง. ถูกทุกข้อ
๙๓. ข้อใดไม่ เกี่ยวข้องในการดาเนินชีวิตก้าวทันต่อโลกยุคโลกาภิวตั น์
ก. คุณธรรมและความซื่อสัตย์สุจริ ต ข. ความอดทนและความมีสติปัญญา
ค. ความรอบคอบและความรอบรู ้ ง. ความประมาทและความขาดสติ

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 581

จงอ่านบทความต่ อไปนีแ้ ล้วตอบคาถามข้ อที่ ๙๔ – ๙๖

การเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ในชีวติ ประจาวัน
แนวคิด พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ภูมิพลอดุลยเดช ได้พฒั นาหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
เพื่อที่จะให้พสกนิกรชาวไทยได้เข้าถึงทางสายกลางของชีวติ และเพื่อคงไว้ซ่ ึงทฤษฏีของการพัฒนาที่
ยัง่ ยืน ทฤษฎีน้ ีเป็ นพื้นฐานของการดารงชีวิตซึ่ งอยูร่ ะหว่าง สังคมระดับท้องถิ่นและตลอดระดับสากล
จุดเด่นของแนวปรัชญานี้คือ แนวทางที่สมดุล โดยชาติสามารถทันสมัย และก้าวสู่ ความเป็ นสากลได้ โดย
ปราศจากการต่อต้านกระแสโลกาภิวฒั น์ และการอยูร่ วมกันของทุกคนในสังคม
คาว่า “เศรษฐกิจพอเพียง” นั้นหากแปลเป็ นอังกฤษจะได้วา่ Sufficiency Economy ซึ่งเป็ นพระราช
ดารัสที่องค์พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ได้พระราชทานแก่พสกนิกรชาวไทยไว้เมื่อประมาณ 25 ปี
มาแล้ว อาจเรี ยกว่า เป็ นทฤษฏีใหม่ก็ได้เพราะว่าเกิดจากแนวดาริ ที่พระองค์เป็ นคนคิดค้นขึ้นมา เหตุที่
เรี ยกว่า ทฤษฏีใหม่ก็เพราะว่า คาว่า“เศรษฐกิจพอเพียง”นั้น ไม่มีบญั ญัติไว้ในพจนานุกรมมาก่อน
พระองค์ทรงคิดขึ้นมาด้วยพระองค์เอง นับได้วา่ เป็ นความอัจริ ยะภาพของพระองค์อย่างยิง่ ทาให้เป็ นที่
ยอมรับกันทัว่ โลก ในฐานะ“กษัตริ ยน์ กั ปฏิรูป” หากจะกล่าวถึงคาว่า เศรษฐกิจพอเพียงนั้น เราอาจจะคิด
ว่ามันเป็ นเรื่ องไกลตัวเป็ นเรื่ องของเศรษฐกิจน้อย ใหญ่ เป็ นเรื่ องเชย เป็ นเรื่ องของชาวนา ชาวสวน แต่
ผูเ้ ขียนก็พ่ งึ จะเข้าใจนี่ เองว่า เศรษฐกิจพอเพียง ไม่ได้สอนให้เราจน หรื อว่า สอนให้เรามีเท่าไหร่ ก็พอแค่
นั้น ไม่หามาเพิ่ม ไม่ขวนขวายอีก อั้นนั้นก็ไม่ใช่สิ่งที่ตอ้ งการ ปรัชญานี้สอนให้เรา เดินอยูบ่ นความ
พอดี อย่างเช่น ถ้าหากว่าเราเป็ นคนจนมากๆ อยูม่ าวันหนึ่ ง มีคนพาเราไปกินอาหารภัตตาคารที่แพงที่สุด
ในโลก ได้กินอาหารรสเลิศ ..ถ้าเราเห็นแก่กินเกินไป คือ มีเท่าไหร่ ก็กินให้หมด เอาให้คุม้ พอกินไปกินมา
ลืมไปว่า กระเพาะเราก็มีความจุจากัดเหมือนกัน กินซะจนกระเพาะแตกและตายในที่สุด …แต่หากว่า เรา
ไม่โลภ รู ้จกั ความพอดี เราก็จะกินแต่เพียงว่าอร่ อย พออิ่มท้อง พอใจในอัตภาพที่กาลังเป็ นอยู่ เราก็จะมี
ความสุ ขได้ ต่อมาก็ตรากตราทางานหาเงินเก็บ เอาไปลงทุนในทางที่สุจริ ต ซักวันเราก็รวยได้เหมือนกัน
แต่ถา้ วันนั้นเรากินจนท้องแตกตายเสี ยก่อน เราก็ไม่มีโอกาสที่จะพัฒนาเศรษฐกิจ ไม่มีโอกาสที่จะ
ยกระดับครอบครัวอีกแล้ว

๙๔. Sufficiency Economy หมายถึงข้อใด


ก. เศรษฐกิจพอเพียง ข. โลกาภิวตั น์
ค. เศรษฐกิจฟองสบู่ ง. เศรษฐกิจรากหญ้า
๙๕. “ กษัตริ ยน์ กั ปฏิรูป” หมายถึงรัชกาลใด
ก. รัชกาลที่ ๕ ข. รัชกาลที่ ๖ ค. รัชกาลที่ ๗ ง. รัชกาลที่ ๙

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 582
๙๖. ผูเ้ ขียนมีจุดมุ่งหมายอย่างไร
ก. ให้ความรู ้ ข. แนะนา ค. สั่งสอน ง. เตือนสติ

จงอ่านข้ อความต่ อไปนีแ้ ล้วตอบคาถามข้ อที่ ๙๗ – ๙๙


“ความโกรธเกลียดปะทุข้ ึนในใจผูค้ นทุกครั้งที่มีการลอบกัด หรื อสังหารคนที่มีประโยชน์กบั
บ้านเมือง และความโกรธเกลียดนั้นก็มกั จะยิง่ ลุกลามต่อไปอย่างแค้นเคือง เมื่อมีการสังหาร แสงชัย
สุ นทรวัฒน์ เพราะคนส่ วนมากคิดว่าคดีน้ ีในที่สุดก็จบั มือใครดมไม่ได้แล้วหายไปอย่างคลื่นกระทบฝั่ง
เหมือนคดีอื่นๆ อีกมากมาย”
๙๗. ข้อความนี้มีการใช้สานวนภาษาจานวนเท่าไร
ก. ๑ สานวน ข. ๒ สานวน ค. ๓ สานวน ง. ๔ สานวน
๙๘. คลื่นกระทบฝั่ง หมายความว่าอย่างไร
ก. เรื่ องราวที่ครึ กโครมขึ้นมาแล้วก็เงียบหายไป
ข. สร้างความเสี ยหายแก่คนส่ วนใหญ่
ค. มีเสี ยงดังเพียงเล็กน้อยแล้วค่อยๆ เงียบหายไป
ง. เหตุการณ์ที่คุกรุ่ นอยูภ่ ายใน แต่ภายนอกสงบเรี ยบร้อยดี
๙๙. น้ าเสี ยงของผูเ้ ขียนข้อความนี้เป็ นอย่างไร
ก. เห็นอกเห็นใจ ข. ราบเรี ยบ เคร่ งขรึ ม
ค. ผิดหวัง ไม่พอใจ ง. โกรธแค้น ประชดประชัน
๑๐๐. “โรคเอดส์เป็ นโรคที่รักษาให้หายไม่ได้แต่เราก็สามารถป้ องกันได้ ถึงแม้ในปั จจุบนั จะมี
คนไทยจานวนมากที่เป็ นโรคเอดส์แต่หากเราทุกคนตระหนักถึงอันตรายของมันและเริ่ มป้ องกันเสี ย
ตั้งแต่วนั นี้ อาศัยความรัก ความเอาใจใส่ เป็ นแกนกลางใช้ความรู ้ความเข้าใจแทนผืนดิน ใช้หลักธรรม
ทางศาสนาแทนผืนน้ าและสร้างสรรค์เป็ นโลกใหม่ขา้ พเจ้าเชื่อแน่วา่ โลกใบนี้จะต้องสดใสและเป็ นโลกที่
เด็กไทยจะไร้เอดส์เสี ยที”
ข้ อความนีค้ วรอยู่ในส่ วนใดของเรียงความ
ก . คานา ข. สรุ ป ค. เนื้อเรื่ อง ง. ข้อ ก. และข้อ ข.

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 583

เฉลยแนวข้ อสอบความรู้ความสามารถทั่วไปด้ านภาษาไทย ชุดที่ ๕

๑. เฉลย ตอบข้อ ค. ตาบอดอย่างที่ตาดูเหมือนเป็ นปรกติแต่มองไม่เห็น


๒. เฉลย ตอบข้อ ง. ซื่ อ ตามสามีไม่ทนั
๓. เฉลย ตอบข้อ ข. นางริ้ งไรหายามารักษาให้
๔. เฉลย ตอบ ข้ อ ข. ต้องการบอกความสาคัญของพิธีไหว้ครู
๕. เฉลย ตอบ ข้อ ก. บรรยายโวหาร
อธิบาย บรรยายโวหาร คือ โวหารที่ใช้บอกกล่าว เล่าเรื่ อง อธิบา บรรยายเรื่ องราวต่าง ๆ อย่าง
ละเอียดกล่าวถึงเหตุการณ์ที่ต่อเนื่ องกัน ชี้ให้เห็นสถานที่เกิด เหตุการณ์ สภาพแวดล้อม
พรรณนาโวหาร คือ โวหารที่กล่าวถึง เรื่ องราว สถานที่ สิ่ งของ อารมณ์อย่างละเอียด สอดแทรกอารมณ์
ความรู ้สึกเพื่อโน้มน้าวใจ ผูร้ ับสารเกิดภาพพจน์ เกิดอารมณ์คล้อยตาม
สาธกโวหาร คือ โวหารที่มุ่งให้เกิดความชัดเจน โดยการยกตัวอย่างหรื อเรื่ องราวประกอบอุปมาโวหาร คือ
โวหารที่กล่าวเปรี ยบเทียบ เพื่อให้ผรู ้ ับสารเข้าใจความหมาย อารมณ์ความรู ้สึก หรื อภาพชัดเจนยิง่ ขึ้น
๖. เฉลย ตอบ ข้อ ง. อวกาศ นาดอกไม้ธูปเทียนไปไหว้ครู เพื่อขออโหสิ กรรมก่อนบวช
อธิบาย เพราะ เป็ นการไหว้ครู จากการระลึกถึงพระคุณของคุณครู ไม่ใช่บงั คับหรื อทาตามหน้าที่
๗. เฉลย ตอบ ข้อ ค. เพื่อแสดงตนว่าเป็ นศิษย์ต่อครู ผใู ้ ห้ความรู ้
อธิบาย พิธีครอบครู หมายถึง การนาศีรษะครู มาครอบ (รับเป็ นศิษย์) และครู จะคอยควบคุมรักษา
คอยช่วยเหลือให้ศิษย์มีความจาในกระบวนการรา จังหวะดนตรี หากมีสิ่งไม่งามเกิดขึ้นกับศิษย์ ครจู ะ
คอยปัดเป่ าให้พน้ จากศิษย์ (พิธีครอบครู นิยมใช้กบั วิชาการช่าง และนาฏศิลป์ ดนตรี )
๘. เฉลย ตอบ ข้อ ข. พิธีไหว้ครู จดั ขึ้นเพื่อไม่ให้ผเู ้ รี ยนหลงระเริ งในวิชาความรู ้ และอวดอ้างความรู ้ของ
ตน
๙. เฉลย ตอบข้อ ข. ค้นพบด้วยตนเอง
อธิ บาย คาว่า รัก เป็ นคาที่ยงิ่ ใหญ่ ทุกคนเคยสั่งสอนให้เชื่อเช่นนั้น แต่จะมีใครบ้างที่เข้าใจคาว่า
รักที่แท้จริ ง จนกว่าจะค้นพบมันด้วยตัวเอง
๑๐. เฉลย ตอบข้อ ค. การรักตัวเอง
อธิบาย สัญชาตญาณของมนุษย์เราก็คือ การักตัวเอง แล้วจึงเผือ่ แผ่ความรักแก่ผอู ้ ื่น
๑๑. เฉลย ตอบข้อ ง. ความรักที่ยงิ่ ใหญ่ที่สุดคือความรักที่ลูกมีต่อพ่อแม่
อธิ บาย ความรักที่ยงิ่ ใหญ่ที่สุดคือความรักที่พ่อแม่มีต่อลูกไม่ใช่ลูกมีต่อพ่อแม่

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 584
๑๒. เฉลย ตอบข้อ ก. ความรัก
อธิ บาย จากบทความผูเ้ ขียนได้กล่าวถึง “ความรัก” ในภาพกว้างๆ หากเปรี ยบเทียบกับตัวเลือก
อื่นๆ จะเป็ นการกล่าวเพียงบางประเด็นเท่านั้น ไม่ได้กล่าวรวมภาพความรักทั้งหมด
๑๓. เฉลย ตอบข้อ ก. ความกตัญญู
อธิ บาย ตานานดาวลูกไก่ สอนเรื่ องความกตัญญู เพราะเนื้อหาเป็ นเรื่ องของแม่ไก่กบั ลูกไก่ ๗ ตัว
ที่เสี ยสละชีวติ โดยการกระโดดเข้ากองไฟ เพื่อให้ตายายผูเ้ ลี้ยงดูแม่ไก่และลูกไก่มาได้นาไปทาอาหาร
ถวายพระธุดงค์
๑๔. เฉลย ตอบข้อ ก. บทเพลง
อธิ บาย นิทานเรื่ องดาวลูกไก่ เป็ นที่รู้จกั กันโดยกว้างขวางและสื บทอดมาถึงปั จจุบนั โดยการนา
สารจากนิทานมาประพันธ์เป็ นเนื้ อเพลงในภาคเหนื อ ช่างซอนิยมขับค่าวซอเรื่ องดาววีไก่นอ้ ยในงาน
ชุมนุมหรื องานฉลอง งานประเพณี รวมทั้งงานบุญต่างๆ หรื อขับร้องเพื่อสอนลูกหลานให้ประพฤติดีไม่
ทาชัว่ สอนเรื่ องบาปบุญคุณโทษ โดยเฉพาะอย่างยิง่ เพลงแหล่ดาวลูกไก่ของ พร ภิรมย์ เป็ นเพลงที่ทา
ให้ตานานดาวลูกไก่ แพร่ หลายไปสู่ วงกว้าง
๑๕. เฉลย ตอบข้อ ง. เหตุที่ลูกไก่กระโดดเข้ากองไฟเพราะต้องการเป็ นอาหารให้ตายาย
อธิ บาย เหตุที่ลูกไก่กระโดดเข้ากองไฟเพราะต้องการเป็ นอาหารให้ตายายเพื่อนาไปทาอาหารถวาย
พระธุดงค์
๑๖. เฉลย ตอบข้อ ง. สารให้ความรู ้และจรรโลงใจ
อธิ บาย สารที่ให้ความรู ้คือ การให้ความรู ้เกี่ยวกับบทบาท หน้าที่ของครู
สารที่จรรโลงใจ คือ การนาเสนอวาทะของท่านพุทธทาสที่กล่าวว่า ผูท้ าหน้าที่ครู ตอ้ ง
มีปัญญาและเมตตาเสมอ
๑๗. เฉลย ตอบข้อ ข. ผูป้ กครอง
อธิ บาย ผูป้ กครองไม่ตอ้ งให้ครู เป็ นผูด้ ูแล ผูป้ กครองเป็ นเพียงผูด้ ูแลเด็กและคอยช่วยเหลือครู ใน
การปลูกฝังจริ ยธรรมเด็ก ๆ
๑๘. เฉลย ตอบข้อ ก. ใกล้ถึงวันครู
อธิบาย สังเกตจาก “ในเดือนมกรานี้ นอกจากจะมีวนั สาคัญคือ วันเด็ก แล้วยังมีวนั ครู จึงอยาก
จะเขียนเรื่ องเกี่ยวกับครู สักวัน”
๑๙. เฉลย ตอบข้อ ก. เรื อจ้าง,ธนาคาร
อธิ บาย ธนาคาร หมายถึง พ่อแม่
๒๐. เฉลย ตอบข้อ ง. เป็ นผูใ้ ห้ความช่วยเหลือทรัพย์สินเงินทอง
อธิ บาย ผูท้ ี่ให้ความช่วยเหลือทรัพย์สินเงินทอง คือ พ่อแม่

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 585
๒๑. เฉลย ตอบข้อ ข. ครู แนะแนวเท่านั้นที่ทาหน้าที่ให้คาปรึ กษากับเด็ก
อธิ บาย ครู ทุกคนในโรงเรี ยนทาหน้าที่ให้คาปรึ กษากับเด็กได้ไม่ใช่เฉพาะครู แนะแนวเท่านั้น
๒๒.เฉลย ตอบข้อ ก. มีคาเปรี ยบเปรยอาชีพครู วา่ เป็ นเสมือน “เรื อจ้าง” ที่คอยพาเด็กข้ามฟาก ซึ่ งฝั่งที่
ส่ งขึ้นจะเป็ นป่ า เขาลาเนาไพร หรื อท้องทุ่ง หรื อถนนไฮเวย์ ก็เป็ นอีกเรื่ องหนึ่ง
อธิ บาย อาชีพครู มีคาเปรี ยบเปรยว่าเป็ นเสมือน “เรื อจ้าง” ที่คอยพาเด็กข้ามฟาก ซึ่ งฝั่งที่ส่งขึ้นจะ
เป็ นป่ าเขาลาเนาไพร หรื อท้องทุ่ง หรื อถนนไฮเวย์ ก็เป็ นอีกเรื่ องหนึ่ง
เรื อจ้าง หมายถึง ครู ผทู ้ าหน้าที่อบรมสั่งสอนให้ศิษย์ถึงฝั่งฝัน
ป่ าเขาลาเนาไพร หมายถึง เด็กนักเรี ยนที่ด้ือ หัวแข็ง หัวช้า สอนยาก เข้าใจอะไรยาก
ครู ให้เต็มที่แล้วแต่เด็กไม่รับรู ้
ท้องทุ่ง หมายถึง เด็กระดับกลาง สอนเข้าใจ
ถนนไฮเวย์ หมายถึง เด็กเก่ง หัวดี ไม่วา่ จะเจออะไรก็เข้าใจ สามารถทาได้
๒๓.เฉลย ตอบข้อ ก. ใช้คาที่มีความหมายกากวม
อธิบาย คาที่มีความหมายกากวม หมายถึง คาที่มีความหมายไม่ชดั เจน ในที่น้ ีไม่ปรากฏ ที่
ปรากฏคือการใช้คาเปรี ยบเทียบ
๒๔. เฉลย ตอบข้อ ง. พ่อแม่หรื อผูป้ กครองเด็ก
อธิ บาย พ่อแม่หรื อผูป้ กครองเด็กต้องให้ความร่ วมมือกับครู ในการดูแล อบรมสั่งสอนเด็กด้วย
๒๕. เฉลย ตอบข้อ ง. หัวใจของครู ที่มีอุดมคติคือมีปัญญากับเมตตา
อธิ บาย หัวใจของครู ที่มีปัญญาและความเมตตาจะทาให้การทางานอย่างมีอุดมคติ
๒๖. เฉลย ตอบ ข้อ ก. สาธกโวหาร,อธิบายโวหาร
อธิ บาย บทความมีการยกตัวอย่างประกอบการอธิ บายสานวน “หัวล้านนอกครู ” จากเรื่ องขุนช้าง
ขุนแผน
๒๗. เฉลย ตอบ ข้อ ข. หัวล้านนอกครู
อธิบาย หัวล้านนอกครู เป็ นชื่อที่มีความเหมาะสมที่สุด เพราะเป็ นชื่อของสานวนที่ผเู ้ ขียนได้
อธิ บายและยกตัวอย่างให้เห็นชัดเจน
๒๘. เฉลย ตอบ ข้อ ค. โลภมากลาภหาย
อธิ บาย โลภมากลาภหาย หมายถึง อยากได้หลายอย่างแต่ในที่สุดไม่ได้สักอย่างเดียว
ก. ศิษย์คิดล้างครู หมายถึง ศิษย์เนรคุณที่มุ่งจะคิดทาลายล้างครู บาอาจารย์
ข. สิ บแปดมงกุฎ หมายถึง คนที่ประพฤติตนในทางที่ไม่ดี
ง. แพ้เป็ นพระ ชนะเป็ นมาร หมายถึง การยอมคู่กรณี เพื่อไม่ให้มีเรื่ องราวใหญ่โต แต่ถา้
หากไม่ยอมแพ้ก็จะมีปัญหาและเรื่ องราวอาจจะบานปลายได้
๒๙.เฉลย ตอบข้อ ง.พระบรมฉายาลักษณ์ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 586
๓๐. เฉลย ตอบข้อ ง. บุคคลที่คอยดูแล และทุกคนให้ความเคารพ
๓๑.เฉลย ตอบข้อ ข. อุปลักษณ์
อธิ บาย อุปลักษณ์ หมายถึง การกล่าวเปรี ยบเทียบสิ่ งหนึ่งเป็ นอีกสิ่ งหนึ่ง ในที่น้ ีผเู ้ ขียนเปรี ยบ
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั เป็ นเทวดา ซึ่ งหมายถึง ผูท้ ี่คอยคุม้ ครอง ดูแล และทุกคนให้ความเคารพ
๓๒.เฉลย ตอบข้อ ง. สะเทือนใจ
๓๓.เพื่อนๆ แต่เธอก็ไม่เคยบ่นเลยสักครั้ง
เฉลย ตอบข้อ ง. กันยาต้องกลับมาช่วยงานพ่อแม่ทุกวันหลังเลิกเรี ยนจึงทาให้เธอไม่มีเวลาเล่น
สนุกสนานเหมือนเพื่อนๆ แต่เธอก็ไม่เคยบ่นเลยสักครั้ง
อธิ บายพฤติกรรมของกันยาแสดงให้เห็นว่าเขาพอใจกับสภาพความเป็ นอยูแ่ ละหน้าที่ของเขาเอง
๓๔.เฉลย ตอบข้อ ค. การฝึ กคิดเพื่อให้สมองได้พฒั นาอยูเ่ นื องๆ
อธิบาย ในบทความข้างต้นนี้การฝึ กคิดเพื่อให้สมองได้พฒั นาอยูเ่ นื องๆ ให้ประโยชน์นอ้ ยที่สุด
๓๕.เฉลย ตอบข้อ ค. ต้องการทราบความรู ้สึก
๓๖.เฉลย ตอบข้อ ค. วิเคราะห์ ประเมินค่า
อธิบาย การวิเคราะห์ของบดินทร์ คือ แยกแยะเรื่ องที่ฟังได้และสามารถประเมินค่าคือการนา
ประโยชน์จากการฟังไปปรับปรุ งตัวเองได้
๓๗.เฉลย ตอบข้อ ค. ผลิตเป็ นซอสมะเขือเทศได้
๓๘.เฉลย ตอบข้อ ง. กึ่งทางการ
อธิ บาย ภาษาระดับกึ่งทางการ หมายถึง การใช้ภาษาเขียนปนกับภาษาพูด ไม่เป็ นทางการมากนัก
๓๙. เฉลย ตอบข้อ ข. โกยคะแนน
อธิ บาย คาวิเศษณ์ หมายถึง คาขยาย ส่ วนข้อ ๒ โกย เป็ นคากริ ยา, คะแนน เป็ นคานาม
๔๐.เฉลย ตอบข้อ ค. ให้ความรู ้
อธิ บาย ผูเ้ ขียนให้ความรู ้เกี่ยวกับประโยชน์ของมะเขือเทศ
๔๑.เฉลย ตอบข้อ ง. การวิจยั ทางการแพทย์
๔๒.เฉลย ตอบข้อ ง. ป้ องกันข้อเข่าเสื่ อม
๔๓.เฉลย ตอบข้อ ข. โทรทัศน์
๔๔.เฉลย ตอบข้อ ง. ผูบ้ ริ โภคที่มีโรคประจาตัวเมื่อรับประทานซันคลาร่ าจะทาให้ยบั ยั้งการเจริ ญเติบโต
ของเซลล์มะเร็ งได้
อธิ บาย ซันคลาร่ าไม่สามารถยับยั้งเชื้อโรคใดๆได้
๔๕.เฉลย ตอบข้อ ก. อย่าหลงเชื่อสรรพคุณที่กล่าวเกินความจริ ง
อธิบาย ผูเ้ ขียนขอให้ผบู ้ ริ โภคใช้วจิ ารณญาณพิจารณาให้ถี่ถว้ นก่อนซื้ อผลิตภัณฑ์เสริ มอาหารที่
สาคัญ สังเกตจากย่อหน้าที่ ๓ ของข้อความคือ อย่าได้หลงเชื่อสรรพคุณว่าสามารถป้ องกันหรื อรักษาโรค

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 587
๔๖. เฉลย ตอบข้อ ค. ตุด๊ ตู่คิดก่อนซื้ อผลิตภัณฑ์ทุกประเภทไม่เจาะจงว่าต้องเป็ นผลิตภัณฑ์เสริ มอาหาร
เท่านั้น
อธิ บาย ข้อ ก. ต้องซื้ อจากการขายตรงมากกว่าเว็บไซต์
ข้อ ข. ปฏิบตั ิถูกต้องแต่ไม่ตรงกับคาแนะนาหรื อความรู ้ในบทความ
ข้อ ง. ไม่ควรให้รับประทานผลิตภัณฑ์เสริ มอาหารเพราะอาจเกิดอันตรายเหมือนใน
ตัวอย่างบทความได้(ปฏิบตั ิไม่สอดคล้องกับคาแนะนาของนายแพทย์)
๔๗.เฉลย ตอบข้อ ง. การประกาศอาณาเขตจะเกิดขึ้นในช่วงฤดูผสมพันธุ์
๔๘.เฉลย ตอบข้อ ก. พฤติกรรม การสื บพันธุ์
๔๙.เฉลย ตอบข้อ ง. ในช่วง ๕ – ๖ วัน หลังจากที่ออกลูก แมวน้ าเคปเฟอร์ ซีลตัวเมียยอมรับการ
ผสมพันธุ์จากตัวผู ้
อธิ บาย ในช่วง ๕ – ๖ วัน หลังจากที่ออกลูก แมวน้ าเคปเฟอร์ ซีลตัวเมียยอมรับการผสมพันธุ์
จากตัวผู(้ การเป็ นสัด หมายถึง ช่วงเวลาที่สัตว์เพศเมียยอมรับการผสมพันธุ์จากตัวผูแ้ ล้วมีการตกไข่)
โดยพฤติกรรมการเป็ นสัดอยูภ่ ายใต้อิทธิ พลของฮอร์ โมน ชนิดต่างหลายอย่างนอกจากอาการยอมรับการ
ผสมพันธุ์จากเพศผูแ้ ล้ว ยังมีการเปลี่ยนแปลงทางสรี ระวิทยาอื่นๆ เช่น อวัยวะเพศบวมแดง มีเมือกไหล
ร้องเสี ยงดัง กระวนกระวาย
๕๐.เฉลย ตอบข้อ ค. เห็นแก่ตวั
อธิ บาย แมวน้ าเคปเฟอร์ ซีลตัวผูม้ ีนิสัยเห็นแก่ตวั สังเกตจากพฤติกรรมของแมวน้ าเคปเฟอร์ ซีลตัว
ผูเ้ มื่อต้องการผสมพันธุ์จะยึดครองอาณาเขต และไล่ตวั ผูต้ วั อื่นออกจากอาณาเขตหากล้ าเข้ามาจนกว่ามัน
จะได้ผสมพันธุ์กบั ตัวเมียทุกตัว
๕๑.เฉลย ตอบข้อ ข. สารให้ความรู ้
อธิ บาย ข้อความที่ยกมาให้ความรู ้เกี่ยวกับการเลือกซื้ อจักรยาน
๕๒.เฉลย ตอบข้อ ค. เลือกวัสดุที่เป็ นที่นิยม
อธิ บาย วัสดุและชิ้นส่ วนที่ใช้ตอ้ งมาตรฐาน โดยจะต้องใช้วสั ดุจากผูผ้ ลิตที่น่าเชื่อถือเช่นกัน
ไม่ใช่เลือกวัสดุที่เป็ นที่นิยมมาใช้
๕๓.เฉลย ตอบข้อ ง. วรทต้องการแข่งขันจักรยานจึงซื้ อสปี ดเกียร์
อธิ บาย วรทต้องการแข่งขันจักรยานจึงซื้ อสปี ดเกียร์ เหมาะสมที่สุด
ข้อ ก. คิมหันต์ขี่จกั รยานเสื อภูเขาไปตลาดใกล้บา้ น (ควรใช้จกั รยานธรรมดา)
ข้อ ข. พายุเลือกซื้ อจักรยานที่ทาจากวัสดุมือสอง (วัสดุไม่ได้มาตรฐาน)
ข้อ ค. น้ าริ นทร์ น้ าหนัก ๙๐ กิโลกรัมเลือกจักรยานล้อเล็กเพื่อความคล่องตัวในการขับขี่
(จักรยานล้อเล็กไม่เหมาะสมกับคนที่มีน้ าหนักตัวมาก)
๕๔.เฉลย ตอบข้อ ก. ผูม้ ีวฒั นธรรมเท่านั้นที่ไม่ฝ่าไฟแดง

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 588
อธิบาย การใช้ภาษาโน้มน้าวใจ คือ การใช้ความพยายามที่จะเปลี่ยนความเชื่อ ทัศนคติแสดงให้
เห็นถึงความน่าเชื่อถือของบุคคลผูโ้ น้มน้าวใจ ความหนักแน่นของเหตุผล ควรเป็ นภาษาสุ ภาพ ไม่บงั คับ
หรื อแสดงอานาจ พยายามใช้น้ าเสี ยงที่นุ่มนวล น่าฟัง ดังนั้นผูม้ ีวฒั นธรรมเท่านั้นที่ไม่ฝ่าไฟแดง การใช้
คาสุ ภาพคือผูม้ ีวฒั นธรรมไม่ใช่คนไร้มารยาท
๕๕.เฉลย ตอบข้อ ง. อธิบายและสาธก
อธิบาย ผูเ้ ขียนใช้วธิ ี การอธิ บายพร้อมทั้งยกตัวอย่างลักษณะของพระสถูปเจดียท์ ี่มีรูปแบบต่างๆ
เช่นเจดียแ์ บบองค์ระฆังกลม เจดียภ์ าคเหนื อ เจดียว์ ดั ช้างล้อม
๕๖.เฉลย ตอบข้อ ง. เจดียแ์ บบองค์ระฆังกลม ไทยเราอาจได้รับอิทธิ พลจากลังกาโดยตรงหรื อผ่าน
มอญก็ได้
อธิ บาย ข้อความส่ วนอนุมานคือ “เจดียแ์ บบองค์ระฆังกลม ไทยเราอาจได้รับรับอิทธิพลจาก
ลังกาโดยตรงหรื อผ่านมอญก็ได้” (สังเกตจากคาว่า “อาจ”)
๕๗.เฉลย ตอบข้อ ง. ชี้ สาเหตุและผลลัพธ์ที่สัมพันธ์กนั ใช้ตวั อย่าง
อธิ บาย ผูเ้ ขียนชี้ให้เห็นสาเหตุและผลลัพธ์ที่สัมพันธ์กนั โดยกล่าวว่าการที่ดอกไม้มีกลิ่นหอม นัน่
ก็เพราะว่าในกลีบดอกไม้มีน้ ามันระเหยง่ายที่ประกอบด้วยสารเคมีหลายชนิด และน้ ามันระเหยง่ายจะ
ผลิตไปพร้อมๆ กับการเจริ ญเติบโตของพืช และยกตัวอย่างว่า น้ ามันระเหยง่ายไม่ได้มีแต่ในดอกไม้
เท่านั้น เรายังพบได้ตามส่ วนอื่นของพืชและมีการยกตัวอย่าง เช่น ใบ เปลือก ราก เมล็ด น้ ามัน
ระเหยง่ายนี้เองที่สามารถสกัดมาทาเป็ นน้ าหอมได้
๕๘. เฉลย ตอบข้อ ง. ดอกไม้ทุกชนิดมีจานวนโมเลกุลในปริ มาณที่เท่ากัน
อธิ บาย ดอกไม้แต่ละชนิดมีจานวนโมเลกุลและชนิดสารเคมีในน้ ามันต่างกัน จึงมีกลิ่นหอม
ไม่เหมือนกัน
๕๙.เฉลย ตอบข้อ ข. ที่มาของกลิ่นหอมในดอกไม้
อธิ บาย ที่มาของกลิ่นหอมในดอกไม้ซ่ ึ งสอดคล้องกับการเปิ ดประเด็นคาถามที่วา่ “การที่
ดอกไม้มีกลิ่นหอมเพราะ.......................”
๖๐.เฉลย ตอบข้อ ค. การชี้ แจงตามลาดับขั้น
อธิ บาย ข้อความได้อธิ บายขั้นตอนการทาไข่เจียว
๖๑.เฉลย ตอบข้อ ก. ที่มา ข้อสนับสนุน ข้อเสนอแนะ
อธิ บาย โครงสร้างการแสดงทรรศนะมีส่วนสาคัญ ๓ ส่ วน ดังนี้
๑. ที่มา คือ ส่ วนที่เป็ นเรื่ องราวต่างๆ อันทาให้เกิดการแสดงทรรศนะ ส่ วนนี้จะช่วย
ให้ผรู ้ ับสารเกิดความเข้าใจและพร้อมที่จะรับทรรศนะนั้นต่อไป
๒. ข้อสนับสนุน คือ ข้อเท็จจริ ง หลักการ รวมทั้งทรรศนะและมติของผูอ้ ื่นที่ผู ้
แสดงทรรศนะนามาใช้เพื่อประกอบกันให้เป็ นเหตุผลสนับสนุนข้อสรุ ปของตน

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 589
๓. ข้อสรุ ป คือ สารที่สาคัญที่สุดของทรรศนะ อาจเป็ นข้อเสนอแนะ ข้อวินจิฉยั
ข้อสันนิษฐาน หรื อการประเมินค่า ที่เจ้าของทรรศนะต้องการให้ผอู ้ ื่นพิจารณายอมรับหรื อนาไปปฏิบตั ิ
(ที่มา) บิดามารดาจานวนมากติชมลูกหลานไม่เป็ น ทาให้ไม่เกิดประโยชน์ในทาง
สร้างสรรค์ แต่ตรงกันข้ามอาจจะเป็ นการเพาะปฏิกิริยาทางอารมณ์อนั ไม่พึงประสงค์ข้ ึนในตัวเด็กได้
(ข้อสนับสนุน) ยกตัวอย่าง เด็กล้างรถไม่สะอาดเท่าที่ควร ผูใ้ หญ่ไม่ควรประณามเด็ก
ว่าเขาเป็ นเด็กไม่ดี ทางานไม่เรี ยบร้อย หรื อกล่าวหาว่าเด็กพูดปด ไม่ได้ทาความสะอาดรถจริ ง คาพูด
เหล่านี้จะทาให้เด็กเกิดความรู ้สึกตามคาพูดของผูใ้ หญ่ คิดว่าตนเองเป็ นคนไม่ดีจริ ง ขาดความพอใจ
ภูมิใจในตนเอง
(ข้อเสนอแนะ) ทางที่ดีผใู ้ หญ่ควรชี้ให้เด็กเห็นอย่างเรี ยบ ๆ ว่ามีส่วนใดบ้างที่ยงั ไม่
สะอาด แล้วสอนเด็กว่า ทาอย่างไรจึงจะทางานได้ดีตามที่ผใู ้ หญ่ตอ้ งการ ทั้งนี้ ต้องพิจารณาตามอายุ
และความสามารถที่เด็กจะสนองความต้องการของผูใ้ หญ่ดว้ ย
๖๒.เฉลย ตอบข้อ ง. ทรรศนะเชิงข้อเท็จจริ ง และทรรศนะเชิงนโยบาย
อธิ บาย ทรรศนะเชิงข้อเท็จจริ ง คือ ทรรศนะที่กล่าวถึงเรื่ องที่เกิดขึ้นแล้ว แต่ยงั เป็ นเรื่ อง
ที่สังคมถกเถียงกันอยูว่ า่ ข้อเท็จจริ งเป็ นอย่างไรกันแน่ การแสดงทรรศนะลักษณะนี้จึงเป็ นเพียงการ
สันนิษฐานเท่านั้น ในที่น้ ีก็คือวิธีการติชมลูกหลาน
ทรรศนะเชิงนโยบาย คือ ทรรศนะที่ช้ ีบ่งว่าควรทาอะไร อย่างไรในอนาคต หรื อควร
ปรับปรุ งแก้ไขสิ่ งใด ไปในทางใด อย่างไร และสิ่ งที่จะมาเสนอนั้นมีข้ นั ตอนอย่างไร มีเป้ าหมาย
อย่างไร ในที่น้ ีก็คือการที่ผใู ้ หญ่สอนและแนะนา พร้อมทั้งคานึงถึงอายุและความสามารถของเด็กด้วย
๖๓.เฉลย ตอบข้อ ค. วิธีการพูดของผูใ้ หญ่เมื่อต้องการตักเตือนหรื อกล่าวชมเด็ก
อธิ บาย ผูเ้ ขียนกล่าวถึงวิธีการพูดของผูใ้ หญ่เมื่อต้องการตักเตือนหรื อกล่าวชมเด็ก (ที่ไม่เกิด
ประโยชน์แถมยังเป็ นการเพาะปฏิกิริยาทางอารมณ์อนั ไม่พึงประสงค์ข้ ึนในตัวเด็กด้วย)
๖๔.เฉลยตอบข้อ ข. โทษของบุหรี่
อธิบาย บุหรี่ ให้โทษสังเกตจาก
๑. สร้างความราคาญแก่ผใู ้ กล้เคียง
๒. สิ้ นเปลืองค่าใช้จ่าย
๓. เป็ นภัยต่อร่ างกายก่อให้เกิดโรค
๖๕.เฉลยตอบข้อ ข. บรรยาย
อธิบาย ผูเ้ ขียนบรรยายให้เห็นถึงโทษของการสู บบุหรี่
๖๖.เฉลยตอบข้อ ง. ปฏิวตั ิ : การสู บบุหรี่ ทาให้ชุ่มคอในระยะยาว
อธิ บาย การจดบันทึกของปฏิวตั ิไม่ถูกต้อง เพราะการสู บบุหรี่ เป็ นการสู ดพิษเข้าสู่ ร่างกาย
ไม่ใช่ทาให้ชุ่มคอในระยะยาว

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 590
๖๗.เฉลยตอบข้อ ง. ภาษาเป็ นเครื่ องมือปลูกจิตสานึกความเป็ นไทย
๖๘.เฉลยตอบข้อ ก. บรรยาย
๖๙.เฉลย ตอบข้อ ก. ความเชื่อควรประกอบด้วยเหตุผลและก่อใด้เกิดสิ่ งที่สร้างสรรค์
อธิ บาย สิ่ งที่ผเู ้ ขียนกล่าวไว้คือ เสี ยงนางไม้ร้องไห้ที่คนตัดไม้เชื่อกันนั้น เกิดจากเสี ยงลัน่ ของ
ต้นไม้ที่กาลังโค่น ซึ่ งความเชื่อดังกล่าวนี้ เกิดจากจินตนาการและจินตนาการอย่างนี้เป็ นที่มาของจินตกวี
นิพนธ์ ดังนั้นจึงสามารถสรุ ปแนวคิดได้วา่ ความเชื่อควรประกอบด้วยเหตุผลและก่อให้เกิดสิ่ งที่
สร้างสรรค์
๗๐.เฉลย ตอบข้อ ก. การนาชีวติ สัตว์มาเป็ นแนวทางการปฏิบตั ิของมนุษย์
อธิ บาย นิทานเรื่ องนี้สะท้อนคุณธรรมและจริ ยธรรมอย่างเด่นชัด คือ การกระทาของแม่เสื อแสดง
ถึงความมีเมตตาเป็ นอกเห็นใจผูอ้ ื่น ส่ วนแม่ววั นอกจากจะทาหน้าที่ของแม่จนวาระสุ ดท้ายแล้ว ก็ยงั เป็ น
ผูร้ ักษาสัจจะและลูกวัวก็มีความกตัญญูกตเวที ซึ่ งคุณธรรมและจริ ยธรรมเหล่านี้เป็ นสิ่ งจาเป็ นในการอยู่
ร่ วมกันเพราะจะทาให้สังคมสงบสุ ข
๗๑.เฉลย ตอบข้อ ค. เสื อสองตัวอยูถ่ ้ าเดียวกันไม่ได้
อธิ บาย เสื อสองตัวอยูถ่ ้ าเดียวกันไม่ได้ หมายถึง คนมีอานาจ บารมี อิทธิ พล พอๆกันย่อมอยู่
ร่ วมกันไม่ได้
ก. หัวเราะทีหลังดังกว่า หมายถึง การยินดีอนั ยิ่งใหญ่ยอ่ มแสดงผลช้ากว่าสิ่ งอื่น
ข. แพ้เป็ นพระ ชนะเป็ นมารหมายถึงการยอมคู่กรณี เพื่อไม่ให้มีเรื่ องราวใหญ่โต แต่ถา้ หากไม่
ยอมแพ้ก็จะมีปัญหาและเรื่ องราวอาจจะบานปลาย
ง. คนโง่ยอ่ มเป็ นเหยือ่ ของคนฉลาด หมายถึงคนโง่มกั ถูกคนที่ฉลาดกว่าใช้กลอุบายหลอกล่อให้
หลงเชื่อ ยอมทาตามเสมอ
๗๒.เฉลย ตอบข้อ ค. ประมาท
อธิ บาย ไก่ตวั ที่ชนะนั้นประมาทหมายถึง ขาดความรอบคอบ, ขาดความระมัดระวังเพราะ ทะนง
ตัว, เช่น เวลาขับรถอย่าประมาท; ดูหมิ่น เช่น ประมาทฝี มือ. น. ความเลินเล่อ, การขาดความระมัดระวัง,
๗๓.เฉลย ตอบข้อ ง. ควรมีความสามัคคีในหมู่คณะ
อธิบาย ความสามัคคี หมายถึง ความพร้อมเพรี ยงกัน ความกลมเกลียวเป็ นน้ าหนึ่งใจเดียวกัน ไม่
ทะเลาะเบาะแว้ง วิวาทบาดหมางซึ่ งกันและกัน
๗๔.เฉลย ตอบข้อ ง. ปลูกต้นไม้ในบริ เวณบ้าน
อธิ บาย ต้นไม้จะช่วยบังแดดและให้ความชุ่มชื้น ทาให้อุณหภูมิโดยรอบลดลงจึงช่วยลดการเปิ ด
พัดลมหรื อเครื่ องปรับอากาศได้
ข้อ ก. เป็ นวิธีการที่ฟุ่มเฟื อย ควรลดปริ มาณการใช้จึงจะเป็ นการแก้ปัญหาที่ตน้ เหตุ

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 591
ข้อ ข. ปั จจุบนั มีผลิตภัณฑ์พลาสติกจานวนมาก วิธีน้ ีจึงเป็ นไปได้ยากแต่ควรใช้ผลิตภัณฑ์
เหล่านั้นอย่างทะนุถนอมเพื่อให้ใช้งานได้นานและคุม้ ค่าที่สุด
ข้อ ค. เป็ นการประหยัดพลังงานที่ไม่เหมาะสม เพราะทุกคนในบ้านอาจยังไม่เสร็ จภารกิจ
๗๕.เฉลย ตอบข้อ ก. ให้ผอู ้ ่านตระหนักและเห็นความสาคัญของการร่ วมกันบรรเทาปั ญหาภาวะโลก
ร้อน
อธิบาย ผูเ้ ขียนแสดงจุดมุ่งหมายไว้ในย่อหน้าสุ ดท้ายของบทความ
๗๖.เฉลย ตอบข้อ ง. คนทุกคนมีคุณค่าของความเป็ นคนเสมอ ซึ่ งความผิดพลาดในชีวติ ไม่สามารถ
ทาลายคุณค่านั้นได้
อธิ บาย อาจารย์ใช้ธนบัตรเป็ นสัญลักษณ์แทนสิ่ งที่มีค่า แทนค่าของคน และไม่วา่ ธนบัตรนั้นจะ
ยับเยินอย่างไรก็ยงั คงมีค่าเท่าเดิม เหมือนกับค่าของคนไม่วา่ จะผิดพลาดหรื อล้มเหลวอย่างไร คนๆนั้นก็
ยังมีค่าเท่าเดิมเสมอ
๗๗.เฉลย ตอบข้อ ข. ค่านิยม
อธิ บาย ค่านิยม คือ สิ่ งที่บุคคลและสังคมยึดถือเป็ นเครื่ องช่วยตัดสิ นและกาหนดการกระทาของ
ตนเอง ดังนั้น ถ้าจะเปลี่ยนแนวทางการดาเนินชี วติ ให้อยูอ่ ย่างพอเพียงเป็ นคนไม่ฟุ่มเฟื อย ใช้ทรัพยากร
อย่างคุม้ ค่า ก็ตอ้ งเปลี่ยนค่านิ ยมของตนก่อน เมื่อค่านิยมเปลี่ยนพฤติกรรมก็จะเปลี่ยนตามไปด้วย
๗๘.เฉลย ตอบข้อ ข. ให้ขอ้ คิด
อธิ บาย คากล่าวที่ยกมาต้องการเตือนสติทุกคนให้รู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลง ไม่มวั เมาไปกับ
เทคโนโลยีและความเจริ ญก้าวหน้า
๗๙.เฉลย ตอบข้อ พลาดจากการสอบเข้ามหาวิทยาลัยแห่งหนึ่งแต่ก็ไม่ละความพยายาม
อธิ บาย ข้อคิดจากข้อความตอนนี้ คือ อย่าจมอยูก่ บั อดีต อย่ากลัวที่จะเริ่ มต้นใหม่ ซึ่ งคาตอบใน
ข้อ ค. สามารถนาไปใช้ได้อย่างเหมาะสมกับชีวติ นักเรี ยนมากที่สุด
๘๐. เฉลย ตอบข้อ ข. เนื้อเรื่ อง
๘๑. เฉลย ตอบข้อ ง. พูดไม่คิด เสี ยมิตรไมตรี
๘๒ เฉลย ตอบ ข้อ ง. คงจะไม่ให้เรี ยนมากอย่างนี้ เพราะกลัวว่าจะรับไม่ไหว
๘๓. เฉลย ตอบข้อ ง. ข้อคิดเห็นและโน้มน้าวใจ
๘๔. เฉลย ตอบข้อ ง. เชิงประเมินค่า
๘๕. เฉลย ตอบข้อ ข. สารคดี
อธิ บาย สารคดี เพราะข้อความนี้มุ่งให้ความรู ้มากกว่าความบันเทิง
๘๖.เฉลย ตอบ ข้อ ค. คุณค่าของชีวิตมนุษย์อยูท่ ี่การต่อสู ้เพื่อเอาชนะอุปสรรค
อธิ บาย คาสาคัญของบทความนี้คือคาว่า “คุณค่า”

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 592
๘๗.เฉลย ตอบ ข้อ ข. นักบินอวกาศต้องมีความพร้อมเพื่อเผชิ ญกับสภาพไร้น้ าหนัก
อธิ บาย ใจความสาคัญหรื อสาระสาคัญของบทความนี้คือ การเป็ นนักบินอวกาศจะต้องรับการฝึ ก
อย่างหนัก ต้องมีความพร้อมทั้งด้านร่ างกายและจิตใจและต้องอยูใ่ นสภาพไร้น้ าหนัก
๘๘.เฉลย ตอบ ข้อ ก. การสอบตก
อธิ บาย เพราะข้อความนี้กล่าวถึงสาเหตุที่แท้จริ งของการสอบตกว่าอยูท่ ี่จิตใจของผูน้ ้ นั ที่ไม่
เข้มแข็งพอที่จะทาให้ยอมรับความผิดหวังบางคนจึงแก้ปัญหาไม่ถูกต้องคือ ทาลายตนเอง
๘๙.เฉลย ตอบ ข้อ ก. ต้องการเตือนสติ
อธิ บาย ผูพ้ ูดต้องการกล่าวเตือนสติให้ผทู ้ ี่มีความทุกข์เรื่ องสอบตกได้ไตร่ ตรองให้เข้าใจถึงสาเหตุ
ที่แท้จริ งของความทุกข์ แล้วตั้งสติเพื่อคิดหาหนทางแก้ปัญหาให้ถูกต้องต่อไป
๙๐. เฉลย ตอบข้อ ก. ผมมีความรู ้สึกส่ วนตัวว่าในระดับของพวกเกษตรกรด้วยกัน
อธิบาย ข้อความที่แสดงอารมณ์ “ผมมีความรู ้สึกส่ วนตัว”
๙๑.เฉลย ตอบ ข้อ ก. พิมพ์ชนกช่วยพ่อแม่ขายของใช้เงินอย่างประหยัดตั้งใจเรี ยนหนังสื อเข้าวัด
ทาบุญเป็ นประจา
อธิบาย ความพอ เพียง หมายถึง ความพอประมาณ ความมีเหตุผล รวมถึงความจาเป็ นที่จะต้องมี
ระบบภูมิคุม้ กันใน ตัวที่ดี
๙๒.เฉลย ตอบ ข้อ ง. ถูกทุกข้อ
อธิ บาย เศรษฐกิจพอเพียง เป็ นปรัชญาชี้ถึงแนวการดารงอยูแ่ ละปฏิบตั ิตนของประชาชนในทุก
ระดับตั้งแต่ ระดับครอบครัวระดับชุมชน จนถึงระดับรัฐ ทั้งในการพัฒนาและบริ หารประเทศให้ดาเนิน
ไปใน ทางสายกลาง
๙๓.เฉลย ตอบ ข้อ ง. ความประมาทและความขาดสติ
อธิ บาย หลักเศรษฐกิจพอเพียงต้องเสริ มสร้างให้ทุกคนมีสานึกในคุณธรรมความซื่อสัตย์สุจริ ต
และให้มีความรอบรู ้ที่เหมาะสม ดาเนินชีวิตด้วยความอดทน ความเพียร มีสติ ปั ญญา และความรอบคอบ
เพื่อให้สมดุลและพร้อมต่อการรองรับการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ ว
๙๔.เฉลย ตอบ ข้อ ก. เศรษฐกิจพอเพียง
อธิบาย คาว่า “เศรษฐกิจพอเพียง” นั้นหากแปลเป็ นอังกฤษจะได้วา่ Sufficiency Economy
๙๕.เฉลย ตอบ ข้อ ง. รัชกาลที่ ๙
อธิบาย คาว่า“เศรษฐกิจพอเพียง”นั้น ไม่มีบญั ญัติไว้ในพจนานุกรมมาก่อน พระองค์ทรงคิดขึ้นมา
ด้วยพระองค์เอง นับได้วา่ เป็ นความอัจฉริ ยะภาพของพระองค์อย่างยิง่ ทาให้เป็ นที่ยอมรับกันทัว่ โลก ใน
ฐานะ“กษัตริ ยน์ กั ปฏิรูป”

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 593
๙๖.เฉลย ตอบ ข้อ ก. ให้ความรู ้
อธิบาย ผูเ้ ขียนก็พ่ งึ จะเข้าใจนี่เองว่า เศรษฐกิจพอเพียง ไม่ได้สอนให้เราจน หรื อว่า สอนให้เรามี
เท่าไหร่ ก็พอแค่น้ นั ไม่หามาเพิม่ ไม่ขวนขวายอีก อั้นนั้นก็ไม่ใช่สิ่งที่ตอ้ งการ ปรัชญานี้ สอนให้เรา เดินอยู่
บนความพอดี อย่างเช่น ถ้าหากว่าเราเป็ นคนจนมากๆ อยูม่ าวันหนึ่ง มีคนพาเราไปกินอาหารภัตตาคารที่
แพงที่สุดในโลก ได้กินอาหารรสเลิศ ..ถ้าเราเห็นแก่กินเกินไป คือ มีเท่าไหร่ ก็กินให้หมด เอาให้คุม้ พอ
กินไปกินมาลืมไปว่า กระเพาะเราก็มีความจุจากัดเหมือนกัน กินซะจนกระเพาะแตกและตายในที่สุด …
แต่หากว่า เราไม่โลภ รู ้จกั ความพอดี เราก็จะกินแต่เพียงว่าอร่ อย พออิ่มท้อง พอใจในอัตภาพที่กาลัง
เป็ นอยู่ เราก็จะมีความสุ ขได้ ต่อมาก็ตรากตราทางานหาเงินเก็บ เอาไปลงทุนในทางที่สุจริ ต ซักวันเราก็
รวยได้เหมือนกัน ..แต่ถา้ วันนั้นเรากินจนท้องแตกตายเสี ยก่อน เราก็ไม่มีโอกาสที่จะพัฒนาเศรษฐกิจ ไม่มี
โอกาสที่จะยกระดับครอบครัวอีกแล้ว
๙๗.เฉลย ตอบ ข้อ ค. ๓ สานวน
อธิบาย มี ๓ สานวน ได้แก่ ลอบกัด จับมือใครดมไม่ได้ และ คลื่นกระทบฝั่ง
๙๘.เฉลย ตอบ ข้อ ก. เรื่ องราวที่ครึ กโครมขึ้นมาแล้วก็เงียบหายไป
อธิบาย เป็ นความหมายที่ถูกต้องของคลื่นกระทบฝั่ง
๙๙.เฉลย ตอบ ข้อ ค. ผิดหวัง ไม่พอใจ
อธิ บาย สังเกตจากส่ วนท้ายของข้อความที่วา่ “คนส่ วนมากคิดว่าคดีน้ ีในที่สุดก็จบั มือใครดมไม่ได้
แล้วหายไปอย่างคลื่นกระทบฝั่งเหมือนคดีอื่นๆ อีกมากมาย”
๑๐๐. เฉลย ตอบ ข้อ ข. สรุ ป
อธิบาย สรุ ป เพราะใจความเป็ นการเน้นและสรุ ปประเด็นของเรื่ อง-

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 594

แนวข้ อสอบความรู้ความสามารถทั่วไปด้ านภาษาไทย ชุดที่ ๖

จงอ่านบทประพันธ์ ต่อไปนีแ้ ล้วใช้ ตอบคาถามข้ อที่ ๑ – ๒


สร้างศรัทธาค่าของคนบนความชัว่
หลงเมามัวเกินสิ ทธิ์ ผดิ วิสัย
สวมหน้ากากซ่อนเร้นความเป็ นภัย
ซุ กซ่อนในความหรู ของผูด้ ี

๑. ผูเ้ ขียนต้องการสอนเรื่ องใด


ก. ค่าของคนอยูท่ ี่ผลของงาน ข. การไม่ลุ่มหลงในสังคมการเมือง
ค. การเห็นผิดเป็ นชอบ เห็นชัว่ ว่าดี ง. ซุ กซ่อนในความหรู ของผูด้ ี
๒. “สวมหน้ ากาก” มีความหมายว่าอย่างไร
ก. อุปกรณ์บดบังใบหน้า ข. ของเล่นเด็ก
ค. เสแสร้งเข้าหากัน ง. การป้ องกันอันตราย
๓. ผูเ้ ขียนข้อความต่อไปนี้มีจุดประสงค์ตรงกับข้อใด
ผิวา่ โลกนี้ไม่มีป่า โลกคงด้อยราคาหมดราศี
โลกคงร้างสัตว์นอ้ ยใหญ่คงไม่มี ปฐพีแตกระแหงทุกแห่งไป
ไม่มีน้ าก็หมดหยดชีวิต ไม่มีป่าน้ าสักนิดจะหาไหน
ผิฝนมาพาให้เกิดอุทกภัย จะหาให้พอดีไม่มีเลย
ก. ให้ช่วยกันปลูกป่ า ข. ให้ช่วยกันอนุ รักษ์ป่า
ค. ให้เห็นความสาคัญของธรรมชาติ ง. ให้เห็นการพึ่งพากันของน้ ากับป่ า
๔. ข้อใดมิได้ กล่าวถึงนางอันเป็ นที่รัก
ก. มัสมัน่ แกงแก้วตา หอมยีห่ ร่ ารสร้อนแรง
ชายใดได้กลืนแกง แรงอยากให้ใฝ่ ฝันหา
ข. ก้อยกุง้ ปรุ งประทิ่น วางถึงลิ้นดิ้นแดโดย
รสทิพย์หยิบมาโปรย ฤาจะเปรี ยบเทียบทันขวัญ
ค. ข้าวหุ งปรุ งรสอย่างเทศ รสพิเศษใส่ ลูกเอ็น
ใครหุ งปรุ งไม่เป็ น เช่นเชิงมิตรประดิษฐ์ทา
ง. ความรักยักเปลี่ยนท่า ทาน้ ายาอย่างแกงขม
กลอ่อมกล่อมเกลี้ยงกลม ชมไม่วายคลับคล้ายเห็น

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 595
๕.
นกน้อยขนน้อยแต่ พอตัว
รังแต่จุเมียผัว อยูไ่ ด้
มักใหญ่ยอ่ มคนหวัว ไพเพิด
ทาแต่พอตัวไซร้ อย่าให้คนหยัน

บทประพันธ์ ข้างต้ นนีใ้ ห้ ข้อคิดเรื่ องอะไร


ก. การสร้างบ้าน ข. มักใหญ่ใฝ่ สู ง ค. ความรักของครอบครัว ง. สันโดษ

๖.
เว้นวิจารณ์วา่ งเว้น สดับฟัง
เว้นที่ถามอันยัง ไป่ รู ้
เว้นเล่าลิขิตสัง เกดว่าง เว้นนา
เว้นดัง่ กล่าวว่าผู ้ ปราชญ์ได้ฤามี

ทุกข้ อทีก่ ล่ าวต่ อไปนีค้ ือใจความสาคัญของบทประพันธ์ ยกเว้ นข้ อใด


ก. สุ ข. จิ ค. ปุ ง. ลิ

๗.
ทั้งการบ้านการเมืองเรื่ องใหญ่นอ้ ย มิควรปล่อยอารมณ์แรงแกล้งเหยียดหยาม
ถ้าถ้อยทีโอนอ่อนค่อยผ่อนตาม ไม่ววู่ ามงานสัมฤทธิ์ สมจิตเอย

คาประพันธ์ ข้างต้ นนีต้ รงกับสานวนไทยว่าอย่างไร


ก. บัวไม่ให้ช้ า น้ าไม่ให้ข่นุ ข. น้ านิ่งไหลลึก
ค. ตัดบัวไม่เหลือใย ง. น้ าร้อนปลาเป็ น น้ าเย็นปลาตาย

๘. แจ้วแจ้วจักจัน่ จ้า จับใจ


หริ่ งหริ่ งเรื่ อยเรไร ร่ าร้อง
แซงแซวส่ งเสี ยงใส ทราบโสด
แหนงนิ่งนึกนุชน้อง นิ่มเนื้ อนวลนาง
โคลงบทข้ างต้ นนีม้ ีความไพเราะด้ านใด
ก. เล่นเสี ยง ข. เล่นคา ค. เล่นสัมผัส ง. เล่นความ

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 596

๙. ข้อใดไม่ ได้ กล่าวถึงในข้อความนี้


“ศาลาริมฝั่ง เคยนั่งพักผ่อน
เคยเอนกายนอน หลบร้ อนหลบภัย
เพื่อนรัก ซึ้งนักยามอิงอาศัย
รู้ จักเจ้ าเจนตาเจนใจ แปลกใยยามเยือนเพื่อนยา”
ก. ผูกพัน ข. เศร้าใจ ค. ระลึกถึง ง. อดีต
๑๐. คาประพันธ์ในข้อใดแตกต่างจากข้ออื่น
ก. เปิ บข้าวทุกคราวคา จงสู จาเป็ นอาจิณ
เหงื่อกูที่สูกิน จึงก่อเกิดมาเป็ นคน
ข. รอนรอนอ่อนอัสดง พระสุ ริยงเย็นยอแสง
ช่วงดังน้ าครั่งแดง แฝงเมฆเขาเงาเมรุ ธร
ค. เขาตกทะเลบก สิ ก็ตกทะเลไป
คลื่นสี ขจีใส ปะทะซ่าฉะฉ่าฉาน
ง. จาปาหนาแน่นเนื่อง คลี่กลีบเหลืองเรื องอร่ าม
คิดคะนึงถึงนงราม ผิวเหลืองกว่าจาปาทอง
๑๑. ข้อใดผูอ้ ่านควรใช้น้ าเสี ยงเพื่อถ่ายทอดอารมณ์ต่างจากข้ออื่น
ก. เห็นทหารไม่เชื่ อก็เหลือกลั้น ชักดาบไล่ฟันทั้งซ้ายขวา
ใครข่มเหงคนไทยไม่เมตตา ชีวาจะดับด้วยมือเรา
ข. พิศดูสาวน้อยนวลหงส์ รู ปทรงงามเลิศเฉิดเฉลา
อยากจะช่วยทุกข์ภยั ให้บรรเทา จึงเข้าใกล้นางแล้วพลางทัก
ค. อย่ามัวพูดเสี ยเวลาฆ่าฉันเถิด ขอให้เกิดเป็ นชายได้สักหน
จะรบสู ้กบั พม่ากล้าประจญ ไม่ยอ่ ย่นขามกลัวพวกตัวร้าย
ง. ในชาติน้ ีมิสมัครรักพม่า เชิญท่านฆ่าให้ดบั ลับชีพหาย
ไปชาติหน้าขอกาเนิดเกิดเป็ นชาย แล้วเชิญกรายมาลองฝี มือกัน
๑๒. ข้อใดไม่ สามารถอนุมานได้จากบทประพันธ์น้ ี
“แว่วเสี ยงสาเนี ยงบุหรงร้องว่า เสี ยงสามนิ่มน้องเสน่หา
พระแย้มเยีย่ มม่านทัศนา เห็นแต่ป่าพุม่ ไม้ใบบัง
เอนองค์ลงอิงพิงเขนย กรเกยก่ายพักตร์ ถวิลหวัง
รสรักร้อนรนพ้นกาลัง ชลนัยน์ไหลหลัง่ ลงพรั่งพราย”
ก.มีความเศร้าจากความรัก ข.มีความผิดหวังในความรัก
ค.มีความลุ่มหลงในความรัก ง. มีความร้อนแรงในความรัก

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 597
๑๓. ข้อใดให้จินตภาพแตกต่างจากข้ออื่น
ก.ตายระดับทับกันดังฟอนฟาง เลือดนองท้องช้างเหลวไหล
ข. ผงคลีมืดคลุม้ ชอุ่มควัน รี บร้นพลขันธ์คลาไคล
ค.ว่าแล้วสองกษัตริ ยก์ ็จดั ทัพ พร้อมสรรพพหลพลขันธ์
ง.พอได้ศุภฤกษ์ก็ลนั่ ฆ้อง ประโคมศึกกึกก้องท้องสนาม
๑๔. บทประพันธ์ในข้อใดปรากฏนาฏการ
ก. อันสุ ริยวงศ์เทวัญอสัญหยา เรื องเดชเดชาชาญสนาม
ทั้งโยธี ก็ชานาญการสงคราม ลือนามในชวาระอาฤทธิ์
ข. ต่างมีฝีมืออื้ออึง วางวิง่ เข้าถึงอาวุธสั้น
ดาบสองมือโถมทะลวงฟัน เหล่ากริ ชติดฟันประจัญรบ
ค. กรุ งกษัตริ ยข์ อขึ้นก็นบั ร้อย เราเป็ นเมืองน้อยกระจิหริ ด
ดังหิ่ งห้อยจะแข่งแสงอาทิตย์ เห็นผิดระบอบบุราณมา
ง. ใช่จะไร้ธิดาทุกธานี มีงามแต่บุตรี ทา้ วดาหา
๑๕. ข้อใดคือใจความสาคัญของบทประพันธ์น้ ี

พระองค์จงควรตรึ กตรา ไพร่ ฟ้าประชากรจะร้อนนัก


หวังเริ่ มคุณเกียรติกอ้ ง กลางรงค์
ยืนพระยศอยูย่ ง คู่หล้า
สงครามกษัตริ ยท์ รง ภพแผ่นสองฤๅ
สองราชรอนฤทธิ์ ร้า เรื่ องรู ้สรเสริ ญ

ก.การทาสงครามครั้งนี้จะเป็ นเกียรติยศแก่กษัตริ ยท์ ้ งั สอง


ข.การทาสงครามครั้งนี้ผคู ้ นจะพากันสรรเสริ ญผูท้ ี่ชนะ
ค.กษัตริ ยท์ ้ งั สองจะเป็ นที่สรรเสริ ญของฝ่ ายตรงข้าม
ง.กษัตริ ยท์ ้ งั สองจะสู ้กนั อย่างทัดเทียม
๑๖. บทประพันธ์ในข้อใดปรากฏโวหารภาพพจน์
ก. เพียนทองงามดัง่ ทอง ไม่เหมือนน้องห่มตาดพราย
ข. กระแหแหห่างชาย ดัง่ สายสวาทคลาดจากสมร
ค. แก้มช้ าช้ าใครต้อง อันแก้มน้องช้ าเพราะชม
ง . ปลาทุกทุกข์อกตรม เหมือนทุกพี่ที่จากนาง

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 598

๑๗. ข้อใดต่อไปนี้ไม่ ปรากฏในบทประพันธ์ขา้ งต้น


อุเหม่นะมึงชิช่างกระไร
ทุทาสสถุลฉะนี้ไฉน ก็มาเป็ น
ศึกบถึงและมึงก็ยงั มิเห็น
จะน้อยจะมากจะยากจะเย็น ประการใด
ก. รุ ทธรส ข.พิโรธวาทัง ค.การใช้ภาพพจน์ ง.คาถามเชิงวาทศิลป์

๑๘. ข้อใดสอดคล้องกับบทประพันธ์ต่อไปนี้

พอทรงจบแจ้งพระทัยในข้อหา ก็โกรธาเคืองขุ่นหุ นหัน


มันเคี่ยวเข็ญทาเป็ นอย่างไรกัน อีวนั ทองคนเดียวไม่รู้แล้ว

ก. อุปมา ข.นามนัย ค. อุปลักษณ์ ง. ปฏิปุจฉา

๑๙. ข้อใดเป็ นแนวคิดสาคัญของคาประพันธ์ต่อไปนี้

“ก็จริ งอยูผ่ หู ้ ญิงใช่ดอกไม้ และก็ใช่ผชู ้ ายใช่ผาหิ น


ต่างก็คือสิ่ งที่มีชีวนิ อยูบ่ นธรณิ นแผ่นดินเดียว”

ก. ผูห้ ญิงและผูช้ ายต่างก็มีชีวติ แต่มีธรรมชาติที่แตกต่างกัน


ข. ผูห้ ญิงและผูช้ ายมีความแข็งแกร่ งเท่าเทียมกันในฐานะสิ่ งมีชีวติ
ค. ผูห้ ญิงและผูช้ ายมีความเท่าเทียมกันและต้องพึ่งพาอาศัยกัน
ง. ผูห้ ญิงและผูช้ ายต่างมีศกั ดิ์ศรี ของความเป็ นมนุษย์เสมอกัน

ใช้ คาประพันธ์ ต่อไปนีต้ อบคาถามข้ อที่ ๒๐

กว่าเจ้าจะสู งใหญ่เกินไหล่แม่ ลาบากแท้เพียงไหนดวงใจเอ๋ ย


สักหายใจห่างเจ้าแม่ไม่เคย เฝ้าชมเชยลูกน้อยผูก้ ลอยใจ
ความชรามาเยือนเตือนให้รู้ แม่จะอยูก่ บั เราอีกเท่าไร
ไม้ใกล้ฝั่งทรุ ดพังลงวันใด เย็นร่ มไทรจักลับไปกับกาล

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 599
๒๐.ข้อใดเป็ นวัตถุประสงค์ของผูเ้ ขียนคาประพันธ์ขา้ งต้น
ก. พรรณนาความรักที่มีต่อแม่
ข. ระบายความโศกเศร้าที่แม่จะจากไป
ค. แสดงความรู ้สึกระลึกถึงพระคุณของแม่
ง. เตือนให้ลูกดูแลแม่เพื่อทดแทนคุณ

๒๑. คานาต่อไปนี้ควรใช้ในการเขียนเรี ยงความหัวข้อใดมากที่สุด

“เมื่อยามค่าน้ าท่าหาใส่ ขนั สิ้ นตะวันจุดไฟไว้เป็ นเพื่อน


น้ าล้างหน้าหาไว้ไม่ตอ้ งเตือน น้ าล้างเท้าวางเลื่อนข้างบาทา
ผ้านุ่งผัวตากเก็บขาดเย็บร้อย แล้วจีบห้อยวางเรี ยงไว้เคียงฝา
ผ้านุ่งตัวพับวางห่างลงมา หมากพลูหากระโถนบ้วนไว้ควรกัน”

ก. กุลสตรี ข. สิ ทธิสตรี
ค. ภรรยาที่ดี ง. ภาระของแม่บา้ น
๒๒. คาประพันธ์ใดตรงกับสานวนที่วา่ “กงเกวียนกาเกวียน”
ก. ความรู ้ผปู ้ ราชญ์น้ นั นักเรี ยน
ฝนทัง่ เท่าเข็มเพียร ผ่ายหน้า
คนเกียจเกลียดหน่ายเวียน วนจิต
กลอุทกในตะกร้า เปี่ ยมล้นฤๅมี
ข. รักกันอยูข่ อบฟ้า เขาเขียว
เสมออยูห่ อแห่งเดียว ร่ วมห้อง
ชังกันบ่แลเหลียว ตาต่อ กันนา
เหมือนขอบฟ้ามาป้ อง ป่ าไม้มาบัง
ค. เว้นวิจารณ์วา่ งเว้น สดับฟัง
เว้นที่ถามอันยัง ไป่ รู ้
เว้นเล่าลิขิตสัง- เกตว่าง เว้นนา
เว้นดัง่ กล่าวว่าผู ้ ปราชญ์ได้ฤๅมี
ง. สนิมเหล็กเกิดแต่เนื้ อ ในตน
กินกัดเนื้ อเหล็กจน กร่ อนขร้ า
บาปเกิดแต่ตนคน เป็ นบาป
บาปย่อมทาโทษซ้ า ใส่ ผบู ้ าปเอง

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 600
๒๓. คาประพันธ์ขอ้ ใดสะท้อนลักษณะของนิ ราศเด่นชัดที่สุด
ก. ถึงบางพลูคิดถึงคู่เมื่ออยูค่ รอง เคยใส่ ซองส่ งให้ลว้ นใบเหลือง
ถึงบางพลัดเหมือนพี่พลัดมาขัดเคือง ทั้งพลัดเมืองพลัดสมรมาร้อนรน
ข . ไม่เมาเหล้าแล้วแต่เรายังเมารัก สุ ดจะหักห้ามจิตคิดไฉน
ถึงเมาเหล้าเช้าสายก็หายไป แต่เมาใจนี้ประจาทุกค่าคืน
ค. ตลาดแก้วแล้วไม่เห็นตลาดตั้ง สองฟากฝั่งก็แต่ลว้ นสวนพฤกษา
โอ้รินริ นกลิ่นดอกไม้ใกล้คงคา เหมือนกลิ่นผ้าแพรดาร่ ามะเกลือ
ง. โอ้คิดมาสารพัดจะตัดขาด ตัดสวาทตัดรักมิยกั ไหว
ถวิลหวังนัง่ นึ กอนาถใจ ถึงเกาะใหญ่ราชครามพอยามเย็น
๒๔. ข้อใดให้ขอ้ คิดเช่นเดียวกับคาประพันธ์ต่อไปนี้
“งิ้วนรกสิ บหกองคุลีแหลม ดังขวากแซมเสี้ ยมแทรกแตกไสว
ใครทาชูค้ ู่ท่านครั้นบรรลัย ก็ตอ้ งไปปี นต้นน่าขนพอง”
ก. จะหยิบยกธิ บดีเป็ นที่ต้ งั ก็ใช้ถงั แทนสัดเห็นขัดขวาง
จึ่งอาลาอาวาสนิราศร้าง มาอ้างว้างวิญญาณ์ในสาคร
ข. ขอเดชะพระพุทธคุณช่วย แม้นมอดม้วยกลับชาติวาสนา
อายุยนื หมื่นเท่าเสาศิลา อยูค่ ู่ฟ้าดินได้ดงั ใจปอง
ค. จะเกิดชาติใดใดในมนุษย์ ให้บริ สุทธิ์ สมจิตที่คิดหมาย
ทั้งทุกข์โศกโรคภัยอย่าใกล้กราย แสนสบายบริ บูรณ์ประยูรวงศ์
ง. ถึงโรงเหล้าเตากลัน่ ควันโขมง มีคนั โพงผูกสายไว้ปลายเสา
โอ้บาปกรรมน้ านรกเจียวอกเรา ให้มวั เมาเหมือนหนึ่งบ้าเป็ นน่าอาย
๒๕. ข้อใดไม่ ได้ สะท้อนภาพสังคมสมัยรัตนโกสิ นทร์ ตอนต้น
ก.ไปพ้นวัดทัศนาริ มท่าน้ า แพประจาจอดรายเขาขายของ
มีแพรผ้าสารพัดสี ม่วงตอง ทิ้งสิ่ งของขาวเหลืองเครื่ องสาเภา
ข. ถึงแขวงนนท์ชลมารคตลาดขวัญ มีพว่ งแพแพรพรรณเขาค้าขาย
ทั้งของสวนล้วนเรื ออยูเ่ รี ยงราย พวกหญิงชายประชุมกันทุกวันคืน
ค. มาจอดท่าหน้าวัดพระเมรุ ขา้ ม ริ มอารามเรื อเรี ยงเคียงขนาน
บ้างขึ้นล่องร้องราเล่นสาราญ ทั้งเพลงการเกี้ยวแก้กนั แซ่เซ็ง
ง. ถึงสามโคกโศกถวิลถึงปิ่ นเกล้า พระพุทธเจ้าหลวงบารุ งซึ่งกรุ งศรี
ประทานนามสามโคกเป็ นเมืองตรี ชื่อปทุมธานีเพราะมีบวั

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 601

จงอ่านคาประพันธ์ ต่อไปนีแ้ ล้วตอบคาถามข้ อที่ ๒๖ – ๓๐

การจะฟังสิ่ งใดฟังให้ชดั และต้องหัดฟังให้จบจนครบถ้วน


ต้องวิเคราะห์เมื่อฟังจบคิดทบทวน อย่าคิดด่วนตัดสิ นความเอาตามใจ
การฟังความเพียงครึ่ งไม่ถึงจบ อาจได้พบปั ญหาแย่แก้ไม่ไหว
ถ้าฟังดูรู้ความจริ งทุกสิ่ งไป ย่อมแก้ไขเหตุการณ์ผา่ นด้วยดี

๒๖. คาประพันธ์ขา้ งต้นนี้ เป็ นคาประพันธ์ชนิดใด


ก. กาพย์ยานี ๑๑ ข. กาพย์ฉบัง ๑๖ ค. กลอนสุ ภาพ ง. โคลงสี่ สุภาพ
๒๗. คาประพันธ์ขา้ งต้นนี้กล่าวถึงเรื่ องอะไรเป็ นสาคัญ
ก. การคิด ข. การฟัง ค. การเรี ยนรู ้ ง. การแก้ไขปั ญหา
๒๘. ข้อใดไม่ ถูกต้ องตามคาประพันธ์ขา้ งต้นนี้
ก. ฟังเรื่ องใดมาต้องฟังให้ชดั ๆ ข. ฟังให้จบแล้วจึงนามาคิดทบทวน
ค. ฟังจบรี บตัดสิ นใจทันทีจะได้ไม่เสี ยเวลา
ง. ฟังแล้วรู ้จกั คิดตามจะทาให้ไม่มีปัญหาตามมา
๒๙. การด่วนตัดสิ นใจโดยไม่คิดให้รอบคอบย่อมก่อให้เกิดปั ญหาตามามากมาย ยกเว้นข้อใด
ก. ทาให้เสี ยคน เสี ยอนาคต ข. ทาให้เสี ยทรัพย์สิน
ค. ทาให้เสี ยเวลา เสี ยโอกาส ง. ทาให้เสี ยความเชื่อมัน่ ในตนเอง
๓๐. คาประพันธ์ในข้อใดมีท้ งั สัมผัสสระและสัมผัสพยัญชนะในวรรคเดียวกัน
ก. การจะฟังสิ่ งใดฟังให้ชดั ข. การฟังความเพียงครึ่ งไม่ถึงจบ
ค. อาจได้พบปั ญหาแย่แก้ไม่ไหว ง. ย่อมแก้ไขเหตุการณ์ผา่ นด้วยดี

จงอ่านคาประพันธ์ ต่อไปนีแ้ ล้วตอบคาถามข้ อที่ ๓๑ – ๓๕

อันเพื่อนดีมีหนึ่งถึงจะน้อย ดีกว่าร้อยเพื่อนคิดริ ษยา


เหมือนมีเกลือนิดหน่อยน้อยราคา ยังดีกว่าน้ าเค็มเต็มทะเล
เพื่อนกินสิ้ นทรัพย์แล้ว แหนงหนี
หาง่ายหลายหมื่นมี มากได้
เพื่อนตายถ่ายแทนชี – วาอาตม์
หายากฝากผีไข้ ยากแท้จกั หา
(โคลงโลกนิติ : สมเด็จฯกรมพระยาเดชาดิศร)

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 602
๓๑. คาประพันธ์ขา้ งต้นนี้กล่าวถึงความสาคัญของอะไร
ก. ทะเล ข. ความเค็มของน้ าทะเล
ค. เพื่อนที่ดี ง. ทรัพย์สินที่มีมหาศาล
๓๒. คาประพันธ์ขา้ งต้นนี้มีกี่ชนิด อะไรบ้าง
ก. ๒ ชนิด คือ กลอนสุ ภาพและโคลงสี่ สุภาพ
ข. ๒ ชนิด คือ กาพย์ยานี ๑๑ และโคลงสี่ สุภาพ
ค. ๒ ชนิด คือ กาพย์ฉบัง ๑๖ และโคลงสี่ สุภาพ
ง. ๒ ชนิด คือ กลอนสุ ภาพและโคลงดั้นบาทกุญชร
๓๓. คาประพันธ์ขา้ งต้นนี้ น่าจะตรงกับสานวนสุ ภาษิตในข้อใด
ก. เพื่อนเราเผาเรื อน ข. เพื่อนรักหักเหลี่ยมโหด
ค. เพื่อนที่ดีตอ้ งไม่ทิ้งเพื่อน ง. เพื่อนกินหาง่าย เพื่อนตายหายาก
๓๔. คาประพันธ์ขา้ งต้นนี้กล่าวเปรี ยบเพื่อนที่ดีกบั สิ่ งใด
ก. เกลือ ข. ความเค็ม ค. น้ าทะเล ง. ทรัพย์สิน
๓๕. คาประพันธ์ในข้อใดไม่มีคาสัมผัสพยัญชนะ (สัมผัสอักษร)เลย
ก. หาง่ายหลายหมื่นมี มากได้ ข. หายากฝากผีไข้ ยากแท้จกั หา
ค. เหมือนมีเกลือนิ ดหน่อยน้อยราคา ง. เพื่อนกินสิ้ นทรัพย์แล้ว แหนงหนี

จงอ่านคาประพันธ์ ต่อไปนีแ้ ล้วตอบคาถามข้ อที่ ๓๖ – ๔๒

บัดนั้น เสนาโยธากระบี่ศรี
ฟังราชบรรหารพระจักรี ยินดีดงั่ ได้โสฬส
ต่างตนต่างทูลอาสา โดยกาลังฤทธาด้วยกันหมด
บ้างจะโน้มพระเมรุ บรรพต ลงเป็ นทางบทจรไป
บ้างจะวิดวักตักสมุทร ให้แห้งหยุดเป็ นหนทางใหญ่
บ้างจะเอารี้ พลสกลไกร ใส่ ในหัตถาแล้วพาจร
บ้างจะนิมิตเป็ นสาเภา ใหญ่เท่าอัสกรรณสิ งขร
บ้างจะเอาหางพาดสาคร ให้วานรไต่ขา้ มชลธีฯ
(รามเกียรติ์ : รัชกาลที่ ๑)

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 603
๓๖. คาประพันธ์ขา้ งต้นนี้ เป็ นคาประพันธ์ประเภทใด
ก. กลอนดอกสร้อย ข. กลอนบทละคร ค. กลอนสักวา ง. กลอนนิราศ
๓๗. คาว่า “บ้าง”ในคาประพันธ์ขา้ งต้นนี้หมายถึงข้อใด
ก. วิศวกร ข. ทหาร ค. ลิ ง ง. ยักษ์
๓๘. พระจักรี หมายถึงใคร
ก. พระราม ข. พระอินทร์ ค. ทศกัณฐ์ ง. พระอิศวร
๓๙. คาประพันธ์ขา้ งต้นนี้มีท้ งั หมดกี่บท
ก. ๑ บท ข. ๒ บท ค. ๓ บท ง. ๔ บท
๔๐. นักเรี ยนคิดว่าเมื่ออ่านคาประพันธ์ขา้ งต้นนี้ จบแล้ว ข้อความใดตอนนี้น่าจะเป็ นตอนใดในเรื่ อง
รามเกียรติ์
ก. หนุมานถวายแหวน ข. สุ ครี พหักฉัตร
ค. หนุมานจองถนน ง. หนุมานเกี้ยวนางวานริ น
๔๑. คาในข้อใดเป็ นคาไวพจน์
ก. กระบี่ : พระจักรี ข. ฤทธา : โสฬส ค. สมุทร: สาเภา ง. สาคร : ชลธี
๔๒. คาในข้อใดมีความหมายเดียวกันกับคาว่า “สิ งขร”
ก. บรรพต ข. หัตถา ค. อัสกรรณ ง. นิมิต
จงอ่านคาประพันธ์ ต่อไปนีแ้ ล้วตอบคาถามข้ อที่ ๔๓- ๔๙

ตัวนางเป็ นไทสิ ใจทาส ไม่รักชาติรสหวานไปพานขม


ดังสุ กรฟอนฝ่ าแต่อาจม ห่อนนิยมรักรสสุ คนธาร
น้ าใจนางเปรี ยบอย่างชลาลัย ไม่เลือกไหลห้วยหนองคลองละหาน
เสี ยดายทรงแสนไวไลแต่ใจพาล ประมาณเหมือนหนึ่งผลอุทุมพร
สุ กแดงดัง่ แสงปั ทมราช ข้างในล้วนกิมิชาติเบียนบ่อน
เรารู ้ใจมิให้อนาทร จะพาคืนนครในราตรี
(กากีคากลอน : ต้นฉบับเดิมของหอสมุดแห่งชาติ)

๔๓. คาประพันธ์ขา้ งต้นนี้ใช้บทอะไร


ก. บทเสาวรจนี ข. บทนารี ปราโมทย์ ค. บทพิโรธวาทัง ง. บทสัลลาปังคพิไสย
๔๔. คาประพันธ์ในข้อใดไม่ มีบทอุปมาโวหาร
ก. สุ กแดงดัง่ แสงปั ทมราช ข. ใจนางเปรี ยบอย่างชลาลัย
ค. ประมาณเหมือนหนึ่ งผลอุทุมพร ง. ไม่เลือกไหลห้วยหนองคลองละหาน

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 604

๔๕. “ผลอุทุมพร” หมายถึงผลไม้ในข้อใด


ก. ผลมะเดื่อ ข. ผลขนุน ค. ผลชมพู่ ง. ผลมังคุด
๔๖. คาประพันธ์ขา้ งต้นนี้ผกู ้ ล่าวกล่าวด้วยความรู ้สึกในข้อใด
ก. ดีใจ ข. ประทับใจ ค. อัดอั้นตันใจ ง. แค้นใจ
๔๗. ตัวนาง น่าจะหมายถึงนางในวรรณคดีในข้อใด
ก. นางสุ วรรณมาลี ข. นางพิมพิลาไลย ค. นางกากี ง. นางบุษบา
๔๘. เรา น่าจะหมายถึงตัวละครตัวใดต่อไปนี้
ก. ท้าวพรหมทัต ข. คนธรรพ์ ค. พญาครุ ฑ ง. หัวหน้าโจรสลัด
๔๙. ข้อใดกล่าวไม่ สอดคล้องกับคาประพันธ์ขา้ งต่อไปนี้
“เสี ยดายทรงแสนวิไลแต่ใจพาล ประมาณเหมือนหนึ่งผลอุทุมพร
สุ กแดงดัง่ แสงปั ทมราช ข้างในล้วนกิมิชาติเบียนบ่อน”
ก. น่าเสี ยดายที่นางเป็ นผูห้ ญิงที่สวยแต่ใจทราม
ข. แต่กลับมีอวัยวะภายในที่ไม่น่าดูเลยแม้แต่นอ้ ย
ค. เปรี ยบเหมือนกับผล “อุทุมพร” ที่มีสีแดงสวยในยามสุ ก
ง. แต่ภายในกลับเต็มไปด้วยเหล่าหนอนที่ชอนไชอยูภ่ ายใน
จ.
จงอ่านคาประพันธ์ ต่อไปนีแ้ ล้วตอบคาถามข้ อที่ ๕๐ – ๕๔

เสี ยงตีกรับจากพลับพลาน่าสงสัย หรื อว่าใครพร่ าเพรี ยกเรี ยกปลอบขวัญ


จังหวะเพียงเสี ยงกลองคล้องชีวนั พลิกแพลงพลันเผลอไผลให้พร้อมเพรี ยง
ช่างขวนขวายกลัน่ กรองครอบครองพร้อม คลายตรมตรอมเพลินใจใคร่ ยินเสี ยง
ประสานรับแซ่ซ้องทานองเคียง เปรี ยบเทียบเพียงฟ้าประทานสาราญครัน

๕๐. คาประพันธ์ขา้ งต้นนี้มีท้ งั หมดเท่าใด


ก. ๘ วรรค ๑ บท ข. ๔ วรรค ๒ บท
ค. ๒ บท ๔ คากลอน ง. ๔ บท ๘ คากลอน
๕๑. หากใช้คาประพันธ์ขา้ งต้นนี้ประกอบการสอนวิชาหลักภาษาไทย คิดว่าน่าจะใช้ประกอบ
การสอนเรื่ องใด
ก. อักษรควบกล้ า ข. อักษรนา
ค. อักษรสังโยค ง. คาพ้องเสี ยง

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 605
๕๒. คาประพันธ์ในข้อใดมีคาควบกล้ าน้อยที่สุด
ก. ประสานรับแซ่ซอ้ งทานองเคียง ข. จังหวะเพียงเสี ยงกลองคล้องชีวนั
ค. เสี ยงตีกรับจากพลับพลาน่าสงสัย ง. หรื อว่าใตรพร่ าเพรี ยกเรี ยกปลอบขวัญ
๕๓. คาประพันธ์ในข้อใดมีสัมผัสในที่เป็ นสัมผัสพยัญชนะมากที่สุด
ก. คลายตรมตรอมเพลินใจใคร่ ยนิ เสี ยง
ข. หรื อว่าใครพร่ าเพรี ยกเรี ยกปลอบขวัญ
ค. เปรี ยบเทียบเพียงฟ้าประทานสาราญครัน
ง. พลิกแพลงพลันเผลอไผลให้พร้อมเพรี ยง
๕๔. คาประพันธ์ในข้อใดมีสัมผัสในที่เป็ นสัมผัสสระมากที่สุด
ก. ประสานรับแซ่ซอ้ งทานองเคียง
ข. จังหวะเพียงเสี ยงกลองคล้องชีวนั
ค. คลายตรมตรอมเพลินใจใคร่ ยนิ เสี ยง
ง. หรื อว่าใครพร่ าเพรี ยกเรี ยกปลอบขวัญ

จงอ่านคาประพันธ์ ต่อไปนีแ้ ล้วตอบคาถามข้ อที่ ๕๕ – ๕๙


ความรู ้ดูยงิ่ ล้ า สิ นทรัพย์
คิดค่าควรเมืองนับ ยิง่ ไซร้
เพราะเหตุจกั อยูก่ บั กายอาต– มานา
โจรจักเบียนบ่ได้ เร่ งรู ้เรี ยนเอา
(โคลงโลกนิติ : สมเด็จฯกรมพระยาเดชาดิศร)

๕๕. คาประพันธ์ขา้ งต้นนี้ เป็ นคาประพันธ์ชนิดใด


ก. โคลงดั้นบาทกุญชร ข. โคลงดั้นวิวธิ มาลี
ค. โคลงสี่ สุภาพ ง. โคลงสามสุ ภาพ
๕๖. คาประพันธ์บทนี้มีคาตายทั้งหมดกี่คา
ก. ๖ คา ข. ๗ คา ค. ๙ คา ง. ๑๐ คา
๕๗. คาประพันธ์บทนี้สอนเกี่ยวกับเรื่ องใด
ก. ให้ขยันศึกษาเล่าเรี ยน ข. ให้ขยันทาการทางาน
ค. ให้รู้จกั รักษาตัวเองให้ปลอดภัย ง. ให้รู้จกั วิธีสู้รับกับโจรผูร้ ้าย

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 606
๕๘. ในคาประพันธ์บทนี้มีเครื่ องหมายวรรคตอนในภาษาไทยปรากฏอยู่ ๑ ชนิด เครื่ องหมายนั้นเรี ยกว่า
อะไร
ก. นขลิขิต ข. ยามักการ ค. ยติภงั ค์ ง. ไปยาลน้อย
๕๙. “เพราะเหตุจกั อยูก่ บั “กายอาต – มานา” หมายถึง
ก. ทรัพย์สมบัติ ข. วิชาความรู ้
ค. ความเชื่อมัน่ ในตนเอง ง. คุณงามความดี

จงอ่านคาประพันธ์ ต่อไปนีแ้ ล้วตอบคาถามข้ อที่ ๖๐ – ๖๔

จะพูดจากปราศรัยกับใครนั้น อย่าตะคั้นตะคอกให้เคืองหู
ไม่ควรพูดอื้ออึงขึ้นมึงกู คนจะหลู่ล่วงลามไม่ขามใจ
แม้จะเรี ยนวิชาทางค้าขาย อย่าปากร้ายพูดจาอัชฌาสัย
จึงซื้ อง่ายขายดีมีกาไร ด้วยเขาไม่เคืองจิตระอิดระอา
เป็ นมนุษย์สุดนิยมเพียงลมปาก จะได้ยากโหยหิวเพราะชิวหา
แม้นพูดดีมีคนเขาเมตตา จะพูดจาจงพิเคราะห์ให้เหมาะความ
(สุ ภาษิตสอนหญิง: สุ นทรภู่)

๖๐. ข้อใดกล่าวไม่ ถูกต้ องเกี่ยวกับคาประพันธ์ขา้ งต้นนี้


ก. เป็ นกลอนสุ ภาพ(กลอนแปด) ข. มีท้ งั หมด ๖ คากลอน
ค. มีท้ งั หมด ๑๒ วรรค ง. มีท้ งั หมด ๓ บาท
๖๑. คาประพันธ์ขา้ งต้นนี้มุ่งสอนเกี่ยวกับเรื่ องใด
ก. การพูด ข. การค้าขาย ค. การมีเมตตาต่อผูอ้ ื่น ง. การศึกษาหาความรู ้
๖๒. คาประพันธ์ขา้ งต้นนี้กล่าวถึงอวัยวะในข้อใดที่อยูใ่ นปาก
ก. เพดาน ข. ฟัน ค. ลิ้น ง. ลิ้นไก่
๖๓. คาประพันธ์ขา้ งต้นนี้ น่าจะตรงกับสานวนไทยในข้อใด
ก. พูดดีเป็ นศรี แก่ปาก ข. พูดมากปากมีสี
ค. ปากร้ายใจดี ง. ปากปราศรัยน้ าใจเชือดคอ
๖๔. ข้อใดไม่ ถูกต้อง
ก. การพูดจากับใครต้องพูดเพราะๆ
ข. ผูท้ ี่จะทามาค้าขายต้องพูดจาดีมีอธั ยาศัย
ค. พูดจาดีๆ ก็จะมีแต่คนรักคนเมตตาเสมอ
ง. จะพูดจะจาอะไรต้องศึกษาตารับตาราก่อนจะได้พูดถูกต้อง

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 607

จงอ่านคาประพันธ์ ต่อไปนีแ้ ล้วตอบคาถามข้ อที่ ๖๕ – ๖๘

เว้นวิจารณ์วา่ งเว้น สดับฟั ง


เว้นที่ถามอันยัง ไป่ รู ้
เว้นเล่าลิขิตสัง– เกตว่า เว้นนา
เว้นดัง่ กล่าวว่าผู ้ ปราชญ์ได้ฤามี
(โคลงโลกนิติ : สมเด็จฯ กรมพระยาเดชาดิศร)

๖๕. คาประพันธ์ขา้ งต้นนี้ควรมีชื่อตรงกับข้อใด


ก. ผูเ้ ป็ นพหูสูต ข. หัวใจนักปราชญ์
ค. แก่นแท้ของนักปราชญ์ ง. สิ่ งที่ไม่ควร “เว้น”
๖๖. คาประพันธ์ขา้ งต้นบทนี้มีคาตายทั้งหมดกี่คา
ก. ๓ คา ข. ๔ คา ค. ๕ คา ง. ๖ คา
๖๗. มีคาตายที่อยูใ่ นตาแหน่งของคาเอกทั้งหมดกี่คา
ก. ๒ คา ข. ๓ คา ค. ๔ คา ง. ๖ คา
๖๘. คาประพันธ์ขา้ งต้นนี้สอดคล้องกับข้อใดมากที่สุด
ก. สุ . จิ. ปุ. ลิ. ข. จิ. เจ . รู . นิ.
ค. เต. ชะ. สุ . เน. ง. ภู. จะ. นา. วิ.

จงอ่านคาประพันธ์ ต่อไปนีแ้ ล้วตอบคาถามข้ อที่ ๖๙ – ๗๒

หนังสื อคือกุญแจแก้ความเขลา หนังสื อเผาความทุกข์กลับสุ กใส


หนังสื อเปรี ยบแสงธรรมอันอาไพ หนังสื อใช้เป็ นครู ผฝู ้ ึ กวิชา
หนังสื อคือหมอยารักษาโง่ หนังสื อคือสายโซ่คล้องภาษา
หนังสื อคือขุมทรัพย์สรรพปัญญา หนังสื อพามนุษยชาติฉลาดเอย

๖๙. คาประพันธ์ขา้ งต้นนี้ช้ ีให้เห็นความสาคัญของสิ่ งใด


ก. หนังสื อ ข. ยารักษาโรค ค. ขุมทรัพย์ ง. แสงสว่างของชีวติ
๗๐. คาประพันธ์ขา้ งต้นนี้จะมีการเล่นคาซ้ าคือคาว่าอะไร
ก. ขุมทรัพย์ ข. หมอยา ค. หนังสื อ ง. สรรพปัญญา

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 608
๗๑. มนุษยชาติจะฉลาดเพราะอะไร
ก. เขียนหนังสื อให้มากๆ ข. อ่านหนังสื อให้มากๆ
ค. ขายหนังสื อให้มากๆ ง. ผลิตหนังสื อออกมาให้มากๆ
๗๒. ข้อใดกล่าวไม่ ถูกต้ องตามคาประพันธ์ขา้ งต้นนี้
ก. คาประพันธ์น้ ีเป็ นกลอนสุ ภาพ ๒ บท
ข. หนังสื อเปรี ยบเสมือนสายโซ่คล้องภาษาและขุมทรัพย์แห่งปั ญญา
ค. คาประพันธ์น้ ีเปรี ยบหนังสื อว่าเป็ นเหมือน หมอ ครู และเพื่อนที่รู้ใจ
ง. การอ่านหนังสื อมากทาให้เราเป็ นผูร้ ู ้มาก ฉลาดมาก ชีวติ ก็จะมีแต่ความสุ ข

จงอ่านคาประพันธ์ต่อไปนี้แล้วตอบคาถามข้อที่ ๗๓ – ๗๘

วังเอ๋ ยวังเวง หง่างเหง่งย่าค่าระฆังขาน


ฝูงวัวควายผ้ายลาทิวากาล ค่อยค่อยผ่านท้อทุ่งมุ่งถิ่นตน
ชาวนาเหนื่อยอ่อนต่างจรกลับ ตะวันลับอับแสงทุกแห่งหน
ทิ้งทุ่งนาให้มืดมัวทัว่ มณฑล และทิ้งตนดูเปลี่ยนอยูเ่ ดียวดาย
(บทดอกสร้อยราพึงในป่ าช้า: พระยาอุปกิตศิลปะสาร)

๗๓. คาประพันธ์ขา้ งต้นนี้เป็ นคาประพันธ์ชนิดใด


ก. กลอนสักวา ข. กลอนดอกสร้อย
ค. กลอนบทละคร ง. กลอนนิราศ
๗๔. ลักษณะพิเศษของกลอนที่เป็ นคาตอบในข้อ ๗๓. คือข้อใด
ก. วรรคขึ้นต้นต้องมีคาว่า “สักวา” แล้วจบลงด้วยคาว่า “เอย”
ข. วรรคแรกต้องมีคาว่า “เอ๋ ย” แทรกตรงกลางคา ๒ คา และจบด้วยคาว่า “เอย”
ค. วรรคแรกขึ้นต้นด้วยคาว่า “บัดนั้น” หรื อ “เมื่อนั้น” แล้วแต่ศกั ดิ์ของตัวละครที่กล่าวถึง
ง. วรรคแรกจะต้องมีคาขึ้นต้น แล้วจะแต่งไม่เกิน ๒ บท และต้องจบด้วยคาว่า “เอย” เท่านั้น
๗๕. เมื่ออ่านคาประพันธ์ขา้ งต้นนี้แล้ว ทาให้ผอู ้ ่านรู ้สึกอย่างไร
ก. แปลกใจ ข. สนุกสนานคึกคัก
ค. เงียบเหงาเปล่าเปลี่ยว ง. ตื่นเต้นเร้าใจ
๗๖. คาประพันธ์ขา้ งต้นนี้มีคาเลียนเสี ยงธรรมชาติ(สัทพจน์) คือคาในข้อใด
ก. วังเวง ข. หง่างเหง่ง ค. มืดมน ง. เหนื่ อยอ่อน
๗๗. จากคาประพันธ์ขา้ งต้นนี้คาในข้อใดมิได้ บ่งบอกเวลา
ก. วังเวง ข. ย่าค่า ค. ทิวากาล ง. ตะวันลับ

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 609

๗๘. คาประพันธ์ในข้อใดไม่ มีคาสัมผัสพยัญชนะ


ก. หง่างเหง่งย่าค่าระฆังขาน ข. ฝูงวัวควายผ้ายลาทิวากาล
ค. ค่อยค่อยผ่านท้องทุ่งมุ่งถิ่นตน ง. ชาวนาเหนื่อยอ่อนต่างจรกลับ

จงอ่านคาประพันธ์ ต่อไปนีแ้ ล้วตอบคาถามข้ อที่ ๗๙ – ๘๑

พ่อไม่มีเงินทองมากองให้ จงตั้งใจพากเพียรเรี ยนหนังสื อ


หาวิชาความรู ้เป็ นคู่มือ ได้ยึดถือเอาไว้ใช้เลี้ยงกาย
พ่อกับแม่มีแต่จะแก่เฒ่า จะเลี้ยงเจ้าเรื่ อยไปนั้นอย่าหมาย
ใช้วชิ าช่วยตนไปจนตาย ลูกสบายแม่พอ่ ก็พอใจ

๗๙. ผูก้ ล่าวคาประพันธ์ขา้ งต้นนี้กล่าวด้วยความรู ้สึกในข้อใด


ก. ไม่พอใจ ข. รักและเป็ นห่วง ค. สานึกผิด ง. ผิดหวังเสี ยใจ
๘๐. ผูก้ ล่าวคาประพันธ์ขา้ งต้นนี้มีจุดมุ่งหมายอย่างไร
ก. ชี้แจง ข. แนะนา ค. ตักเตือน ง. อบรมสัง่ สอน
๘๑. สิ่ งใดที่พอ่ แม่หวังพึ่งพาลูกในอนาคต
ก. ทรัพย์สินเงินทองที่ลูกจะให้ ข. การดูแลจากลูกในยามแก่เฒ่า
ค. ความรักจากลูกขณะที่ตนมีชีวติ อยู่ ง. วิชาความรู ้ที่ลูกมีและใช้หาเลี้ยงตัวได้

จงอ่านคาประพันธ์ ต่อไปนีแ้ ล้วตอบคาถามข้ อที่ ๘๒ – ๘๕

อันสุ ราเมรัยใครเสพติด พาชีวติ มืดมนจนฉิบหาย


หนึ่งทรัพย์สินตนนั้นพลันวอดวาย สองอาจตายเมื่อทะเลาะเพราะความเมา
สามอายุส้ นั เพราะโรคาพยาธิ สี่ คนตาหนินินทาพาอับเฉา
ห้าหน้าด้านหน้าหนาเวลาเมา หกโง่เขลาปั ญญาหดหมดสิ้ นเอย

๘๒. คาประพันธ์ขา้ งต้นนี้กล่าวถึงโทษของสิ่ งใด


ก. การพนัน ข. การไม่เรี ยนหนังสื อ
ค. การดื่มสุ รา ง. การเห็นผิดเป็ นชอบ
๘๓. การกระทาในคาประพันธ์ขา้ งต้นนี้ถือว่าผิดศีลในข้อใด
ก. ข้อ ๑ ข. ข้อ ๒ ค. ข้อ ๓ ง. ข้อ ๕

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 610

๘๔. คาประพันธ์ขา้ งต้นนี้ช้ ีให้เห็นถึงโทษทั้งหมดหลายประการยกเว้ นข้อใด


ก. ทาให้เสี ยทรัพย์ ข. ขาดสติไร้ปัญญาคิดอ่านการใดๆ
ค. ทาให้ถูกทาร้ายร่ างกายแล้วไม่รู้สึกเจ็บ ง. ทาให้อายุส้ นั เพราะมีโรคภัยเบียดเบียน
๘๕. โทษของการดื่มสุ รามีดว้ ยกันกี่ประการ
ก. ๓ ประการ ข. ๔ ประการ ค. ๕ ประการ ง. ๖ ประการ

จงอ่านคาประพันธ์ ต่อไปนีแ้ ล้วตอบคาถามข้ อที่ ๘๖ – ๙๑

อันคาไทยเรานี้ดีเหลือหลาย มีความหมายมีรสคามีน้ าหนัก


มีอานาจเหนื อใจคนชอบกลนัก ได้ประจักษ์คุณค่าน่าชื่นชม
ภาษาไทยดั้งเดิมเริ่ มคาโดด อวยประโยชน์ฟังเพราะเสนาะสม
ดุจสาเนียงดนตรี ที่รื่นรมย์ วรรณยุกต์ไทยนิยมใช้ทวั่ กัน
เขียนคาเดียวเติมไม้ได้คาสาม เช่นหาบหามมะม่วงห่ามห้ามเหหัน
กระดาษขาวเขาลงข่าวข้าวแพงครัน ต้องแบ่งปั นหัวปั่ นปั้ นถ้วยชาม
(การใช้คาไทย: ศ. ฐะปะนีย ์ นาครทรรพ)

๘๖. คาไทยนั้นมีดีมากมายยกเว้นข้อใด
ก. มีความหมาย ข. มีรสคา ค. มีน้ าหนัก ง. มีที่มาที่ไป
๘๗. จากคาประพันธ์ขา้ งต้นทาให้เรารู ้วา่ เดิมภาษาไทยมีลกั ษณะอย่างไร
ก. เป็ นคาโดด ข. เป็ นคาซ้อน ค. เป็ นคามูล ง. เป็ นคาประสม
๘๘. คาประพันธ์ขา้ งต้นนี้ช้ ีให้เห็นความสาคัญของอะไร
ก. ความมีอานาจของคา ข. วรรณยุกต์ที่มีใช้อยูใ่ นภาษาไทย
ค. ภาษาไทยที่มีความไพเราะดุจเสี ยงดนตรี
ง. คาในภาษาไทยคาเดียวสามารถทาให้มีความหมายขึ้นอีกมากมายได้
๘๙. คาประพันธ์ในข้อใดไม่ มีคาสัมผัสพยัญชนะ
ก. ดุจสาเนียงดนตรี ที่รื่นรมย์ ข. มีอานาจเหนือใจคนชอบกลนัก
ค. อวยประโยชน์ฟังเพราะเสนาะสม ง. เห็นหาบหามมะม่วงห่ามห้ามเหหัน
๙๐. คาประพันธ์ในข้อใดมีคาสัมผัสอักษรมากที่สุด
ก. ได้ประจักษ์คุณค่าน่าชื่นชม ข. มีความหมายมีรสคามีน้ าหนัก
ค. กระดาษขาวเขาลงข่าวข้าวแพงครัน ง. เช่นหาบห้ามมะม่วงห่ามห้ามเหหัน

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 611

จงอ่านคาประพันธ์ ต่อไปนีแ้ ล้วตอบคาถามข้ อที่ ๙๑ – ๙๕

อันหญิงดีที่เป็ นภรรยา กาหนดไว้ในตาราว่าเป็ นสี


หนึ่งหญิงเลี้ยงดูภสั ดาด้วยปรานี หนึ่งร่ วมทุกข์สุขมีเสมอกัน
หนึ่งนั้นเคารพนบนอบผัว หนึ่งยอมตัวให้ใช้ไม่เดียดฉันท์
จึงอยูเ่ ย็นเป็ นสุ ขทุกคืนวัน ด้วยผัวนั้นวางใจที่ในตัว
(เสภาขุนช้างขุนแผน: รัชกาลที่ ๒ )

๙๑. คาประพันธ์ขา้ งต้นนี้กล่าวในลักษณะใด


ก. แนะนา ข. สั่งสอน ค. ตักเตือน ง. อธิ บาย
๙๒. คาประพันธ์ขา้ งต้นนี้กล่าวถึงเรื่ องใดเป็ นสาคัญ
ก. ลักษณะของลูกผูห้ ญิงที่ดี ข. ลักษณะของภรรยาที่ดี
ค. ลักษณะของสามีที่ดี ง. การปฏิบตั ิตนให้เป็ นภรรยาที่ดี
๙๓. คุณสมบัติตามตาราของผูเ้ ป็ นภรรยามีสี่ประการยกเว้ นข้อใด
ก. เคารพนบนอบต่อสามี ข. ทาตัวให้สามีไว้วางใจให้มากที่สุด
ค. อยูร่ ่ วมทุกข์ร่วมสุ ขกับสามีไม่ทอดทิง้ ง. ทาตามสิ่ งที่สามีใช้สอยโดยไม่รังเกียจ
๙๔. คาประพันธ์ขา้ งต้นนี้ควรนามากล่าวในงานใด
ก. บวชนาค ข. แต่งงาน ค. ขึ้นบ้านใหม่ ง. โกนจุก
๙๕. การประพฤติปฏิบตั ิตามคาประพันธ์ขา้ งต้นนี้ แล้วจะมีผลดีในข้อใด
ก. เป็ นที่รักของแม่สามี ข. เป็ นที่ยอมรับของคนในสังคม
ค. การครองชีวติ คู่จะราบรื่ นยืนนาน ง. เป็ นที่รักของคนในครอบครัวทั้งสองฝ่ าย
จงอ่านคาประพันธ์ ต่อไปนีแ้ ล้วตอบคาถามข้ อที่ ๙๖ – ๑๐๐

แม้นเป็ นไม้ให้พี่น้ ีเป็ นนก ให้ได้กกกิ่งไม้ในไพรสัณฑ์


แม้นเป็ นนารี ผลวิมลจันทร์ ขอให้ฉนั เป็ นพระยาวิชาธร
แม้นเป็ นบัวตัวพี่เป็ นแมงภู่ ได้ชื่นชูสู่สมชมเกสร
เป็ นวารี พี่หวังเป็ นมังกร ได้เชยช้อนชมชเลทุกเวลา
แม้นเป็ นถ้ าอาไพใคร่ เป็ นหงส์ จะได้ลงสิ งสู่ ในคูหา
แม้นเนื้ อเย็นเป็ นเทพธิ ดา พี่ขออาศัยเสน่ห์เป็ นเทวัญ
(นิราศพระประธม : สุ นทรภู่)

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 612
๙๖. คาประพันธ์ขา้ งต้นนี้เป็ นบทอะไร
ก. เสาวรจนี ข. นารี ปราโมทย์ ค. พิโรธวาทัง ง. สัลลาปังคพิไสย
๙๗. คาประพันธ์ขา้ งต้นนี้ แสดงออกถึงอารมณ์ใดของกวี
ก. โศกเศร้า ข. น้อยอกน้อยใจ ค. รักและเว้าวอน ง. ออดอ้อนรบเร้า
๙๘. คาประพันธ์ขา้ งต้นนี้แสดงความเปรี ยบของของ ๒ สิ่ ง ไว้ท้ งั หมดกี่คู่
ก. ๓ คู่ ข. ๔ คู่ ค. ๕ คู่ ง. ๖ คู่
๙๙. ในคาประพันธ์ขา้ งต้นนี้ กล่าวถึงสัตว์ท้ งั หมดกี่ตวั
ก. ๓ ตัว ข. ๔ ตัว ค. ๕ ตัว ง. ๖ ตัว
อธิ บาย มีสัตว์ท้ งั หมดสี่ ตวั คือ นก,แมงภู่,มังกร และ หงส์
๑๐๐. สัตว์ในข้อใดอาศัยอยูใ่ นถ้ า
ก. หงส์ ข. มังกร ค. แมงภู่ ง. นก

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 613

เฉลยแนวข้ อสอบความรู้ความสามารถทั่วไปด้ านภาษาไทย ชุดที่ ๖

๑. เฉลยตอบ ข้ อ ค. การเห็นผิดเป็ นชอบ เห็นชัว่ ว่าดี


อธิ บาย การเห็นผิดเป็ นชอบ เห็นชัว่ ว่าดี สอนให้รู้วา่ ผูค้ นสมัยนี้ โดยเฉพาะนักการเมืองใช้
นโยบายหาเสี ยงเพื่อสร้างฐานเสี ยงและหาผลประโยชน์ให้ตนเอง
๒. เฉลยตอบ ข้ อ ค. เสแสร้งเข้าหากัน
อธิ บาย สวมหน้ากาก หมายถึง เสแสร้งเข้าหากัน,ทาเป็ นดีเข้าหากัน แสดงความไม่จริ งใจต่อ
กัน
๓. เฉลยตอบ ข้ อข. ให้ช่วยกันอนุ รักษ์ป่า
อธิบาย ถอดความบทประพันธ์ได้วา่ "ถ้าโลกเราไม่มีป่า คงหมดสิ้ นซึ่ งคุณค่าและความงาม
โลกจะร้างไร้สิ่งมีชิวิต ไร้สัตว์ป่า พื้นดินแห้งแตก ขาดน้ าก็เหมือนกับขาดชีวติ ถ้าไม่มีป่าก็ไม่มีน้ า พอฝน
มาก็ก็เกิดปั ญหาน้ าท่วม ขาดความสมดุล" จากเนื้อหาจะเห็นว่า เค้าพูดถึงกรณี วา่ ถ้าไม่มีป่าแล้วจะเกิด
ปั ญหาอะไรต่อโลกตามมา แม้แต่ปัญหาการแล้งน้ า ก็เกิดจากการลดลงของป่ าด้วยเช่นกัน เป็ นเรื่ องของ
การรักษาป่ าที่เรามีอยูไ่ ว้ให้ยาวนาน เพราะถ้าไม่มีป่าไม้เมื่อไร โลกเราก็จะเกิดปั ญหาตามที่กล่าวมา
ข้างต้น
เหตุผลที่ไม่ตอบ ข้อ ก. - ไม่ได้มีสารที่บอกให้ปลูกต้นไม้ แต่เป็ นเพียงการรักษาป่ าไม้ที่มีอยูใ่ ห้งอกงาม
ต่อไปเท่านั้นเหตุผลที่ไม่ตอบข้อ ค. - กว้างไป ในเนื้อเรื่ องพูดถึงแต่ปัญหาการขาดป่ าไม้ที่จะส่ งผลกระทบ
ถึงน้ าในโลกเหตุผลที่ไม่ตอบข้อ ง. - น้ า กับ ป่ า ไม่ได้พ่ งึ พากัน เนื้อเรื่ องบอกแค่ ถ้าไม่มีป่าก็จะไม่มีน้ า
เป็ นการเกิดขึ้นอย่างต่อเนื่ องของสิ่ งของ 2 สิ่ ง ไม่ได้กล่าวถึงการพึ่งพากันแต่อย่างใด
๔. เฉลยตอบ ข้ อ ง. ความรักยักเปลี่ยนท่า ทาน้ ายาอย่างแกงขม
กลอ่อมกล่อมเกลี้ยงกลม ชมไม่วายคลับคล้ายเห็น
อธิ บาย ข้อ ง. มิได้กล่าวถึงนางอันเป็ นที่รัก
ข้อ ก. มีคาว่า แก้วตา ข. มีคาว่า ขวัญ และ ค. มีคาว่า มิตร
๕. เฉลยตอบ ข้ อ ง. สันโดษ
อธิ บาย สันโดษ คือความพอใจเท่าที่ตนมีอยูห่ รื อเป็ นอยู,่ มักน้อย
๖. เฉลยตอบข้ อ ข. จิ
อธิบาย ข. จิ = จินต์ = คิด มิได้กล่าวถึงการคิด
ก. สุ = สุ ต = ฟัง , ค. ปุ = ปุจฉา = การถาม และ ง. ลิ = ลิขิต = เขียนบันทึก

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 614

๗. เฉลยตอบข้ อ ก. บัวไม่ให้ช้ า น้ าไม่ให้ขนุ่


อธิ บาย ก. บัวไม่ให้ช้ า น้ าไม่ให้ข่นุ หมายถึง รู ้จกั ผ่อนปรนเข้าหากัน มิให้
กระทบกระเทือนใจหรื อรู ้จกั ถนอมน้ าใจไม่ให้ข่นุ เคืองกัน
ข. น้ านิ่งไหลลึก หมายถึง คนที่มีท่าทางหงิม ๆ มักจะมีความคิดลึกซึ้ ง
ค. ตัดบัวไม่เหลือใย หมายถึง ตัดขาดจากกันอย่างเด็ดขาด
ง. น้ าร้อนปลาเป็ น น้ าเย็นปลาตาย หมายถึง คาพูดที่ตรงไปตรงมาฟังไม่ไพเราะเป็ น
การเตือนให้ระวังตัวแต่ไม่เป็ นพิษเป็ นภัย แต่คาพูดที่ไพเราะอ่อนหวาน ทาให้คนตายใจอาจเป็ นโทษเป็ น
ร้ายได้
๘. เฉลยตอบข้ อ ก. เล่นเสี ยง
อธิ บาย เล่นเสี ยงพยัญชนะหรื ออักษรทุกบาท
บาทที่ ๑ เล่นเสี ยง / จ / บาทที่ ๒ เล่นเสี ยง / ร /
บาทที่ ๓ เล่นเสี ยง / ซ / บาทที่ ๔ เล่นเสี ยง / น /
๙. เฉลยตอบข้ อ ข. เศร้าใจ
อธิ บาย เศร้าใจมิได้กล่าวถึงในข้างต้นนั้น
๑๐. เฉลยตอบข้ อ ค. เขาตกทะเลบก สิ ก็ตกทะเลไป
คลื่นสี ขจีใส ปะทะซ่าฉะฉ่าฉาน
อธิ บาย บทประพันธ์ขา้ งต้นเป็ นอินทรวิเชียรฉันท์ ส่ วนในข้ออื่นเป็ นกาพย์ยานี ๑๑ สังเกต
ได้จากการใช้คาครุ คาลหุ เนื่ องจากบทประพันธ์มีจานวนคาเท่ากันและมีสัมผัสเหมือนกัน
๑๑. เฉลยตอบข้ อ ข. พิศดูสาวน้อยนวลหงส์ รู ปทรงงามเลิศเฉิดเฉลา
อยากจะช่วยทุกข์ภยั ให้บรรเทา จึงเข้าใกล้นางแล้วพลางทัก
อธิ บาย จากตัวเลือกในข้อที่ก., ค. และ ง. ผูอ้ ่านควรใช้น้ าเสี ยงเพื่อแสดงอารมณ์ความโกรธ เคียด
แค้น เย่อหยิง่ ในศักดิ์ศรี ส่ วนข้อที่ ข. ต้องใช้น้ าเสี ยงเนิบช้า อ่อนหวาน เพื่อถ่ายทอดกริ ยาอาการของตัว
ละคร
๑๒. เฉลยตอบข้ อ ข.มีความผิดหวังในความรัก
อธิ บาย มีความผิดหวังในความรัก ไม่สามารถอนุ มานได้จากบทประพันธ์ขา้ งต้น เนื่องจากความ
รักของอิเหนายังคงมัน่ คงเช่นเดิม แต่จาต้องพลัดพรากจากกันด้วยความจาเป็ นบางอย่าง
๑๓. เฉลยตอบข้ อ ง. พอได้ศุภฤกษ์ก็ลนั่ ฆ้อง ประโคมศึกกึกก้องท้องสนาม
อธิบาย พอได้ศุภฤกษ์ก็ลนั่ ฆ้อง ประโคมศึกกึกก้องท้องสนาม
บทประพันธ์ในข้อที่ ง. ปรากฏจินตภาพทางเสี ยง ส่ วนในข้ออื่นเป็ นจินตภาพทางภาพ

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 615

๑๔. เฉลยตอบข้ อ ข.ต่างมีฝีมืออื้ออึง วางวิง่ เข้าถึงอาวุธสั้น


ดาบสองมือโถมทะลวงฟัน เหล่ากริ ชติดฟันประจัญรบ
อธิ บาย บทประพันธ์ในข้อนี้แสดงภาพทหารใช้อาวุธเข้าต่อสู ้กนั
พระองค์จงควรตรึ กตรา ไพร่ ฟ้าประชากรจะร้อนนัก
หวังเริ่ มคุณเกียรติกอ้ ง กลางรงค์
ยืนพระยศอยูย่ ง คู่หล้า
สงครามกษัตริ ยท์ รง ภพแผ่นสองฤๅ
สองราชรอนฤทธิ์ ร้า เรื่ องรู ้สรเสริ ญ
๑๕. เฉลยตอบข้ อ ก. การทาสงครามครั้งนี้จะเป็ นเกียรติยศแก่กษัตริ ยท์ ้ งั สอง
อธิ บาย ใจความสาคัญของบทประพันธ์ขา้ งต้น คือ การทาสงครามครั้งนี้จะเป็ นเกียรติยศแก่กษัตริ ย ์
ทั้งสอง จึงได้เชื้ อเชิ ญอีกฝ่ ายให้มาสู ้กนั
๑๖. เฉลยตอบข้ อ ก. เพียนทองงามดัง่ ทอง ไม่เหมือนน้องห่มตาดพราย
อธิ บาย ปรากฏภาพพจน์อุปมา ส่ วนในข้ออื่นๆ ไม่ปรากฏภาพพจน์
อุเหม่นะมึงชิช่างกระไร
ทุทาสสถุลฉะนี้ไฉน ก็มาเป็ น
ศึกบถึงและมึงก็ยงั มิเห็น
จะน้อยจะมากจะยากจะเย็น ประการใด
๑๗. เฉลยตอบข้ อ ค.การใช้ภาพพจน์
อธิ บาย การใช้ภาพพจน์ไม่ปรากฏในบทประพันธ์ ส่ วนข้ออื่นๆ ปรากฏในบทประพันธ์ ดังนี้
ข้อ ก. รุ ทธรส และ ข้อ ข. พิโรธวาทัง เนื้ อหากล่าวถึงรสของวรรณคดีแสดงความโกรธ โดยรุ ทธรสเป็ น
วรรณคดีสันสกฤต ส่ วนพิโรธวาทังเป็ นรสวรรณคดีไทย และข้อที่ ง. คาถามเชิงวาทศิลป์ เป็ นกลวิธีการใช
คาถามโดยไม่ตอ้ งการคาตอบ
๑๘. เฉลยตอบข้ อ ง. ปฏิปุจฉา
อธิ บาย ปฏิปุจฉา เป็ นกลวิธีการใช้คาถามเชิงวาทศิลป์ โดยกวีใช้คาถามโดยไม่ตอ้ งการคาตอ
เนื่องจากบริ บทของเนื้ อหาไม่มีใครสามารถให้คาตอบได้ ส่ วนในข้ออื่นๆ กล่าวถึงกลวิธีการใช้โวหาร
ภาพพจน์เปรี ยบเทียบ
๑๙. เฉลยตอบ ข้ อ ง. ผูห้ ญิงและผูช้ ายต่างมีศกั ดิ์ศรี ของความเป็ นมนุษย์เสมอกัน
อธิ บาย ศักดิ์ศรี หมายถึง เกียรติ, เกียรติยศ, เกียรติศกั ดิ์
มนุษย์ หมายถึง สัตว์ที่รู้จกั ใช้เหตุผล สัตว์ที่มีจิตใจสู ง คน
๒๐. เฉลยตอบ ข้ อ ง.เตือนให้ลูกดูแลแม่เพื่อทดแทนคุณ

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 616

๒๑. เฉลยตอบ ข้ อ ค. ภรรยาที่ดี


อธิบายข้อความข้างต้นควรนามาใช้ในการเขียนเรี ยงความในหัวข้อ “ภรรยาที่ดี” มากที่สุด เพราะกล่าวถึง
หน้าที่ที่ภรรยาที่ดีควรกระทาไว้
๒๒. เฉลยตอบ ข้ อ ง. สนิมเหล็กเกิดแต่เนื้ อ ในตน
กินกัดเนื้ อเหล็กจน กร่ อนขร้ า
บาปเกิดแต่ตนคน เป็ นบาป
บาปย่อมทาโทษซ้ า ใส่ ผบู ้ าปเอง
อธิ บายเพราะเป็ นโคลงที่สอนให้รู้จกั ทาความดี ละเว้นความชัว่ เพราะคนที่ทาชัว่ ย่อมได้รับผล
กรรมที่ตนเองก่อไว้ เช่นเดียวกับสานวนที่วา่ กงเกวียนกาเกวียน
๒๓. เฉลยตอบข้ อ ก.ถึงบางพลูคิดถึงคู่เมื่ออยูค่ รอง เคยใส่ ซองส่ งให้ลว้ นใบเหลือง
ถึงบางพลัดเหมือนพี่พลัดมาขัดเคือง ทั้งพลัดเมืองพลัดสมรมาร้อนรน
อธิบาย เพราะลักษณะของนิราศ คือ การพรรณนาการเดินทาง โดยการเชื่ อมโยงสถานที่ สิ่ งที่
พบเห็นกับนางอันเป็ นที่รัก ดังนั้น ข้อ ๑ จึงสะท้อนลักษณะของนิราศชัดเจนที่สุด
๒๔. เฉลยตอบข้ อ ง. ถึงโรงเหล้าเตากลัน่ ควันโขมง มีคนั โพงผูกสายไว้ปลายเสา
อธิบาย โอ้บาปกรรมน้ านรกเจียวอกเรา ให้มวั เมาเหมือนหนึ่งบ้าเป็ นน่าอาย
เหตุผลเพราะคาประพันธ์ขา้ งต้นให้ขอ้ คิดเกี่ยวกับคาสอนทางพระพุทธศาสนาว่าด้วยศีล ๕
๒๕. เฉลยตอบข้ อ ง. ถึงสามโคกโศกถวิลถึงปิ่ นเกล้า พระพุทธเจ้าหลวงบารุ งซึ่งกรุ งศรี
ประทานนามสามโคกเป็ นเมืองตรี ชื่อปทุมธานีเพราะมีบวั
อธิ บายเพราะให้ความรู ้ดา้ นประวัติศาสตร์ วา่ ชื่อเมืองปทุมธานีน้ ี พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั บรมโกศ
ทรงพระราชทานนามให้ เนื่องจากมีบวั มาก
๒๖. เฉลย ตอบข้ อ ค. กลอนสุ ภาพ
อธิบาย กลอนสุ ภาพ คือกลอนที่ใช้ถอ้ ยคา และทานองเรี ยบๆ แบ่งออกเป็ น ๔ ชนิด คือ
๑. กลอน ๖ ( ๖ พยางค์)
๒. กลอน ๗ ( ๗ พยางค์)
๓. กลอน ๘ ( ๘ พยางค์)
๔. กลอน ๙ ( ๙ พยางค์)
๒๗. เฉลยตอบข้ อ ข. การฟัง
อธิ บาย หลักของการฟังมีดงั นี้
๑. การฟังเพื่อความรู ้ ต้องฟังโดยตั้งใจ มีสมาธิ จึงจะบรรลุจุดมุ่งหมายในการฟัง ความรู ้ที่
ได้รับฟังหรื อดูตอ้ งแยกให้ได้วา่ ตอนใดเป็ นความรู ้สึกนึกคิด ตอนใดเป็ นข้อเท็จจริ ง

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 617
หรื อตอนใดเป็ นความคิดเห็นของผูพ้ ูด การฟังวิทยุหรื อดูโทรทัศน์ตอ้ งพิจารณาอย่าง
รอบคอบ สิ่ งใดที่เป็ นความรู ้ใหม่ ๆ ต้องจดบันทึกความสาคัญไว้ดว้ ย
๒. การฟังคาสัง่ เพื่อนาไปปฏิบตั ิได้
ต้องฟังด้วยความตั้งใจ และฟั งให้เข้าใจแยกข้อความว่า ใครสั่ง สั่งทาอะไรทาอย่างไร
ถ้าฟังคาสั่งไม่เข้าใจ ให้ขอร้องผูพ้ ูดให้พูดซ้ าจนเข้าใจ ควรจดบันทึกคาสั่งไว้เพื่อกันลืม
และจะได้นาไปปฏิบตั ิได้อย่างถูกต้อง
๓. การฟัง การดูแลเพื่อความเพลิดเพลิน
การฟัง การดูเพื่อความเพลิดเพลิน ผูฟ้ ังจะเกิดอารมณ์และความรู ้สึกเพลิดเพลินเมื่อได้
ฟังน้ าเสี ยง อาจเป็ นเสี ยงมนุษย์ เสี ยงดนตรี เสี ยงธรรมชาติ หรื อการได้ฟังให้ดูเรื่ องราวที่
พอใจ นอกจากจะเกิดความเพลิดเพลินแล้ว ยังก่อให้เกิดความรู ้ ความรู ้สึกข้อคิดต่าง ๆ
ที่ผเู ้ รี ยนอาจนาไปใช้ในชีวิตประจาวันได้
๔. การฟังเพื่อพิจารณาคุณค่าของสิ่ งที่ฟัง
การฟังเพื่อพิจารณาคุณค่าของสิ่ งที่ฟัง ต้องเลือกเฟ้ นเรื่ องที่ดีมีประโยชน์แก่ตนเองให้
มากที่สุด โดยมีหลักสาคัญในการฟังเพื่อพิจารณาคุณค่าของสิ่ งที่ฟัง คือ เรื่ องนั้นเป็ น
เรื่ องเกี่ยวกับอะไร ฟังแล้วมีคติสอนใจอะไรบ้าง ฟังแล้วได้อารมณ์ความรู ้สึกอย่างไร
บ้าง ฟังแล้วได้ประโยชน์สามารถนาไปใช้ได้อย่างไร และสามารถนาสานวนภาษาไป
ใช้พูดใช้เขียนได้อย่างไร
๕. หลักการฟังคาถาม
การฟังคาถามมีหลักว่า ต้องตั้งใจฟังคาถามและจับใจความว่าผูถ้ ามต้องการถามเรื่ อง
อะไร ถามว่าอย่างไร ให้เรี ยงลาดับเรื่ องที่ฟังว่าถามคาถามใดก่อน-หลังถ้าฟังคาถามไม่
เข้าใจควรขอร้องผูถ้ ามให้ถามซ้ า ควรจดบันทึกคาถามไว้เพื่อกันลืม และตอบคาถามให้
ตรงประเด็นและเรื่ องราวที่ถาม
๖. หลักการฟังเพื่อจิตใจความสาคัญ
การฟังเพื่อจิตใจความสาคัญ ผูฟ้ ังต้องตั้งใจฟังอย่างมีสมาธิ ฟังเรื่ องให้เข้าใจและตั้ง
คาถามถามตนเองว่าเรื่ องนั้นฟังเป็ นเรื่ องอะไร ใคร ทาอะไร ที่ไหน เมื่อไรอย่างไร ให้
พิจารณาว่าตอนใดเป็ นใจความสาคัญ ตอนใดเป็ นส่ วนขยาย ให้วเิ คราะห์แยกแยะว่า
อะไรเป็ นข้อเท็จจริ ง อะไรเป็ นข้อคิดเห็น อะไรเป็ นเหตุ อะไรเป็ นผล เพื่อประโยชน์ใน
การตีความและประเมินค่าของเรื่ องที่ฟัง และให้บนั ทึกข้อความที่สาคัญไว้ให้เรี ยบเรี ยงคาถามและคาตอบ
ทั้งหมดโดยใช้ภาษาของตนเองง่าย ๆ สั้นๆ เป็ นการสรุ ปความ
๒๘. เฉลยตอบข้ อ ค. ฟังจบรี บตัดสิ นใจทันทีจะได้ไม่เสี ยเวลา
๒๙. เฉลยตอบข้ อ ง. ทาให้เสี ยความเชื่อมัน่ ในตนเอง

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 618

๓๐. เฉลยตอบข้ อ ง. ย่อมแก้ไขเหตุการณ์ผา่ นด้วยดี


อธิบาย คาสัมผัส คือ คาที่มีเสี ยงคล้องจอง การแต่งกลอนจะต้องมีคาสัมผัส หรื อคาที่มีเสี ยงคล้อง
จองจึงจะทาให้กลอนมีความไพเราะ คาสัมผัสมี ๒ ประเภท คือ
๑. คาสัมผัสสระ ได้แก่ เสี ยงสระเดียวกันภายในคา โดยมีพยัญชนะต้นต่างกัน ถ้าเป็ นคาที่มีตวั สะกด
จะต้องเป็ นตัวที่สะกดแม่เดียวกัน ส่ วนวรรณยุกต์จะต่างรู ปหรื อต่างเสี ยงกันก็ได้สัมผัสสระ มีลกั ษณะ
ดังนี้
๑.๑ คาสัมผัสสระที่ไม่มีตวั สะกด เช่น
มา - น้า, มี - ศรี , ดู - หนู , เฉ - เห, ไป - ได้
๑.๒ คาสัมผัสสระที่มีตวั สะกด เช่น
กิน - ศิลป์ , นิ่ง - ทิง้ , ทุกข์ - ยุค, ยศ - พจน์ , ยาม - คร้าม
จะเห็นได้วา่ คาข้างต้นนี้แต่ละชุดใช้สระเดียวกัน และใช้ตวั สะกดในมาตราเดียวกัน แม้จะใช้วรรณยุกต์
ต่างกัน ก็ถือว่าสัมผัสกันได้
๑.๓ ใช้คาสัมผัสชิดกัน ๒ คา
ว่านอนสอนง่าย เอวบางร่ างน้อย
๑.๔ ใช้คาสัมผัสชิดกัน ๓ คา
พี่ที่ดีน้ นั ใส่ ใจในน้อง
๑.๕ ใช้คาสัมผัสชิดกัน ๒ คู่ เช่น
มอบใจภักดิ์รักแน่นแฟ้นยืนยง
๑.๖ ใช้คาสัมผัสมีคาคัน่ กลาง ๑ คา เช่น
สายฝนชุ่มฉ่ าดื่มด่าซึ้ งใจ
๑.๗ ใช้คาสัมผัสมีคาคัน่ กลาง ๒ คา เช่น
ยามรักร้างไกลอกช้ าใจเศร้า
มีขอ้ ควรระวังว่า อย่าใช้สระเสี ยงสั้นสัมผัสกับสระเสี ยงยาว แม้วา่ จะมีตวั สะกดเดียวกัน ก็ไม่ถือว่า
สัมผัสสระกัน เช่น กินไม่สัมผัสกับปี น ศีล จีน เป็ นต้น
๒.คาสัมผัสพยัญชนะ ได้แก่ เสี ยงพยัญชนะต้นเดียวกันภายในคาซึ่ งมีเสี ยงสระต่างกันโดยไม่มีตวั สะกด
หรื อมีตวั สะกดมาตราใดก็ได้ และมีเสี ยงวรรณยุกต์ใดก็ได้ ในกรณี ที่มีเสี ยงสระเดียวกันจะต้องเป็ นคาที่มี
ตัวสะกดต่างมาตรากัน
อักษรสู งกับอักษรต่า ซึ่ งเป็ นอักษรคู่ ถือว่าเป็ นเสี ยงพยัญชนะเดียวกัน เช่น
ข - ค - ฉ - ช - ฌ ฐ - ถ - ฒ - ท - ธ ผ - พ - ภ- ฝ - ฟ ศ - ษ - ส - ซ - ห - ฮ
คาสัมผัสพยัญชนะมีลกั ษณะต่าง ๆ ดังต่อไปนี้ เช่น

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 619
๒.๑ คาสัมผัสพยัญชนะที่ไม่มีตวั สะกด เช่น
ขา- คู - ฆ่า เฉ - ชา - เฌอ โถ- ทา - เธอ
ผา - เพาะ - ภาย ฝี - ฟู สู – ซ่า
๒.๒ คาสัมผัสพยัญชนะที่มีตวั สะกด เช่น
ขัน - คาบ - ฆ้อง ฉาก - เชิญ - ฌาน ถาง - ทัน - ธง
แผน - พัง - ภาย ฝูง - ฟัน ซึม - ซับ
๒.๓ คาสัมผัสพยัญชนะที่มีตวั สะกดกับไม่มีตวั สะกด เช่น
ถู - ถึง - เฒ่า - เธอ ผา - แผน - พาน - ภู
โซ่ - ซัน - ศก - ศาล - เสร็ จ - เสาะ ฝี - ฝาก - ฟัง - ฟู
๒.๔ คาสัมผัสพยัญชนะที่ใช้พยัญชนะต้นตัวเดียวกันทั้งวรรคหรื อทั้งหมด เช่น
ลักลอบเหลือบแลลองเล็งล่วงล้ า
๒.๕ คาสัมผัสพยัญชนะที่ใช้พยัญชนะซ้ าตัวกันในแต่ละจังหวะ เช่น
ยามเย็น กอดเกาะเกี่ยว เด็ดเดี่ยวดวงแด
๒.๖ คาสัมผัสพยัญชนะที่ใช้พยัญชนะซ้ าตัวกันโดยมีพยัญชนะตัวอื่นคัน่ เช่น
เฝ้าคิดฝากฝัง หม่นใจหมองไหม้
๒.๗ คาสัมผัสพยัญชนะที่ใช้พยัญชนะที่มีเสี ยงซ้ ากัน ( ค–ฆ,ท–ธ,ศ – ส,ซ–ทร) เช่น
ค้อนฆ้องเทียบธง โศกแสนซึ้ งทรวง
๒.๘ คาสัมผัสพยัญชนะที่ใช้พยัญชนะสัมผัสกันสามคา เช่น
หมายเมียงมอง บินเบิกบาน
๒.๙ คาสัมผัสพยัญชนะที่ใช้พยัญชนะสัมผัสสองคู่ชิดกัน เช่น
มีนอ้ งนาง ชิดชื่น เชยชม
๒.๑๐ คาสัมผัสพยัญชนะที่ใช้พยัญชนะสัมผัสโดยมีคาคัน่ ๑ คา เช่น
แหงนมองท้องฟ้า อีกฟากแสนไกล
๒.๑๑ คาสัมผัสพยัญชนะที่ใช้พยัญชนะสัมผัสโดยมีคาคัน่ ๒ คา เช่น
เฝ้าอ้อนเว้าวอน แอบคิดว่าเขา มาอยูข่ า้ งเรา
๒.๑๒ คาสัมผัสพยัญชนะที่ใช้พยัญชนะที่มีเสี ยงคู่กนั เช่น
เมื่อไปถึงฐาน เตรี ยมตัวพักผ่อน เฝ้าฟังเพลงไพร
๓๑. เฉลยตอบข้ อ ค. เพื่อนที่ดี
๓๒. เฉลยตอบข้ อ ก. ๒ ชนิด คือ กลอนสุ ภาพและโคลงสี่ สุภาพ
๓๓. เฉลยตอบข้ อ ง. เพื่อนกินหาง่าย เพื่อนตายหายาก
๓๔. เฉลยตอบข้ อ ก. เกลือ

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 620

๓๕. เฉลยตอบข้ อ ข. หายากฝากผีไข้ ยากแท้จกั หา


อธิ บาย คาสัมผัสพยัญชนะ ได้แก่ เสี ยงพยัญชนะต้นเดียวกันภายในคาซึ่ งมีเสี ยงสระต่างกันโดย
ไม่มีตวั สะกดหรื อมีตวั สะกดมาตราใดก็ได้ และมีเสี ยงวรรณยุกต์ใดก็ได้ ในกรณี ที่มีเสี ยงสระเดียวกัน
จะต้องเป็ นคาที่มีตวั สะกดต่างมาตรากัน
๓๖. เฉลยตอบข้ อ ข. กลอนบทละคร
อธิบาย กลอนบทละคร เป็ นกลอนสุ ภาพประเภทหนึ่งจัดอยูใ่ นหมวดกลอนขับร้อง เช่นเดียวกับ
กลอนดอกสร้อยสักวา กลอนเสภา และเพลงไทยเดิม
๓๗. เฉลย ตอบข้ อ ค. ลิง
๓๘. เฉลยตอบข้ อ ก. พระราม
๓๙. เฉลยตอบข้ อ ง. ๔ บท
อธิบาย กลอน ๑ บท มี ๒ บาท คือ บาทเอกและบาทโท
- กลอน ๑ บาท มี ๒ วรรคคือบาทเอกประกอบด้วย วรรค สดับ และวรรค รับ บาทโท
ประกอบด้วย วรรค รอง และวรรค ส่ ง
- กลอน ๒ วรรค เรี ยกว่า ๑ คากลอน
- เส้นโยงแสดงจุดสัมผัสนอก เป็ นกฎบังคับต้องมี สาหรับกลอนวรรค รับ และ ส่ ง จะ
เลือกสัมผัส ตรงคาที่ ๒, ๓ หรื อ ๕ ก็ได้ ในกลอนบททละคร นิยมสัมผัสตรงคาที่ ๒ และ
๕ มาก สาหรับจุด สัมผัสใน โปรดดูคาอธิบาย ที่กลอนสุ ภาพ
- กลอนยาว ๒ บทขึ้นไป ต้องเชื่อมสัมผัสท้ายวรรค ส่ ง ไปยังคาท้ายวรรค รับ ของบท
ถัดไปเสมอ
๔๐. เฉลยตอบข้ อ ค. หนุมานจองถนน
๔๑. เฉลยตอบข้ อ ง. สาคร : ชลธี
๔๒. เฉลยตอบข้ อ ก. บรรพต
๔๓. เฉลยตอบข้ อ ค. บทพิโรธวาทัง
อธิบาย พิโรธวาทัง (พิโรธ ก. โกรธเกรี้ ยว ไม่สบอารามณ์ + วาทัง น. วาทะ คาพูด) คือการแสดง
ความโกธรแค้นผ่านการใช้คาตัดพ้อต่อว่าให้สาใจ ทั้งยังสาแดงความน้อยเนื้ อต่าใจ, ความผิดหวัง,
ความแค้นคับอับจิต แลความโกรธกริ้ ว ตามออกมาด้วย เหมือนกล้วยกับเปลือก. กวีมกั ตัดพ้อและประชด
ประเทียดเสี ยด
๔๔. เฉลยตอบข้ อ ง. ไม่เลือกไหลห้วยหนองคลองละหาน
อธิบาย อุปมาโวหาร คือ การใช้โวหารเปรี ยบเทียบ ประกอบข้อความ เพื่อให้ผอู ้ ่าน เข้าใจชัดเจน
ยิง่ ขึ้น ทาให้เข้าใจเรื่ องราวได้แจ่มแจ้ง การใช้อุปมาโวหารนี้มีลกั ษณะการใช้หลายลักษณะ

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 621
ก. เปรี ยบเทียบสิ่ งที่เหมือนกันสองสิ่ ง มักมีคาว่า เหมือน ดุจ คล้าย เปรี ยบอย่าง ดัง ฯลฯ เป็ น
ตัวเชื่ อมคาอุปมาอุปไมยให้สอดคล้องกัน (อุปไมย แปลว่า ที่กล่าวก่อน อุปมา แปลว่า ที่กล่าวเปรี ยบ) เช่น
ดีใจเหมือนได้แก้ว, เล่าปี่ ดีใจเหมือนปลาได้น้ า
ข. เปรี ยบเทียบโดยการโยงความคิดจากสิ่ งหนึ่งไปยังสิ่ งหนึ่ง เป็ นการเปรี ยบโดยนัย ต้องอาศัยการ
ตีความประกอบ ครู เหมือนเรื อจ้าง, ชาวนาเป็ นกระดูกสันหลังไทยทั้งชาติ
ค. เปรี ยบเทียบโดยการซ้ าคา
จะมารักเหากว่าผม จะมารักลมกว่าน้ า จะมารักถ้ ากว่าเรื อน จะมารักเดือนยิง่ กว่าตะวัน จะมารักตัวออกเฒ่า
ยิง่ กว่าตัวเองเล่า
ง. เปรี ยบเทียบโดยการยกตัวอย่างประกอบ เช่น พระราชา ๑ หญิง ๑ ไม้เลื้อย ๑ ย่อมรักผูค้ นและสิ่ งที่
อยูใ่ กล้ ๆ
จ. เปรี ยบความขัดแย้งหรื อเปรี ยบสิ่ งที่อยูต่ รงกันข้าม คือ การนาสิ่ งที่ตรงกันข้าม มาเปรี ยบกัน เช่น
เปรี ยบน้ ากับไฟ ดินกับไฟ อิเหนากับจรกา รักยาวให้บนั่ รักสั้นให้ต่อ
ฉ. เปรี ยบเทียบโดยใช้ชื่อเทียบเคียง เช่น ปากกามีอานาจกว่าคมดาบ, จากเปลไปถึงหลุมฝังศพ
อุปมาโวหาร นั้นก็เรื่ องเล่า สุ ภาษิต สานวนเก่าเอามาเปรี ยบเปรย ว่าดุจ ว่าคล้าย ว่าได้ ว่า
เหมือน เปรี ยบเทียบเพื่อเตือนมิใช่เฉลย วัวสันหลังหวะ เดี๋ยวจะท้องป่ อง สานวนสอดคล้องสิ่ งที่เรา
คุน้ เคย
๔๕. เฉลยตอบข้ อ ก. ผลมะเดื่อ
๔๖. เฉลยตอบข้ อ ง. แค้นใจ
๔๗. เฉลยตอบข้ อ ค. นางกากี
๔๘. เฉลยตอบข้ อ ค. พญาครุ ฑ
๔๙. เฉลยตอบข้ อ ข. แต่กลับมีอวัยวะภายในที่ไม่น่าดูเลยแม้แต่นอ้ ย
๕๐. เฉลยตอบข้ อ ค. ๒ บท ๔ คากลอน
๕๑. เฉลยตอบข้ อ ก. อักษรควบกล้ า
อธิบาย คาควบกล้ า (อักษรควบ) หมายถึง พยัญชนะสองตัวเขียนเรี ยงกันอยูต่ น้ พยางค์ และใช้สระ
เดียวกัน เวลาอ่านออกเสี ยงกล้ าเป็ นพยางค์เดียวกัน เสี ยงวรรณยุกต์ของพยางค์น้ นั จะผันเป็ นไปตามเสี ยง
พยัญชนะตัวหน้า
๕๒. เฉลยตอบข้ อ ก. ประสานรับแซ่ซอ้ งทานองเคียง
อธิบาย คาควบกล้ าเวลาสะกดต้องมีพยัญชนะต้นสองตัว โดยจะมี ร ล ว รวมอยูใ่ นพยัญชนะต้น
๕๓. เฉลยตอบข้ อ ง. พลิกแพลงพลันเผลอไผลให้พร้อมเพรี ยง
อธิบาย สัมผัสพยัญชนะ คือ พลิก – แพลง- พลัน, เผลอ-ไผล,พร้อม-เพรี ยง

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 622

๕๔. เฉลยตอบข้ อ ข. จังหวะเพียงเสี ยงกลองคล้องชีวนั


อธิ บาย สัมผัสในมีดงั นี้ เพียง – เสี ยง, กลอง – คล้อง
๕๕. เฉลยตอบข้ อ ค. โคลงสี่ สุภาพ
อธิ บาย โคลงสี่ สุภาพมีลกั ษณะดังนี้
ลักษณะคาประพันธ์ของโคลงสี่ สุภาพ
๑. บท บทหนึ่งมี ๔ บาท (หนึ่งบรรทัดคือหนึ่งบาท) แต่ละบาทแยกเป็ น ๒ วรรค เรี ยก
วรรคหน้ากับวรรคหลัง แบ่งเป็ นวรรคหน้า ๕ คา วรรคหลัง ๒ คา เฉพาะบาทที่ ๔ หรื อบาท
สุ ดท้ายกาหนดให้วรรคหลังมี ๔ คา
๒. คาสร้อย เฉพาะบาท ๑ กับบาท ๓ อนุญาตให้มีคาเพิม่ ต่อท้ายวรรคหลังได้ อีกบาท
ละ ๒ คา เรี ยก คาสร้อย หรื อสร้อยคา นิยมให้ลงท้ายด้วยคาดังนี้ เฮย แฮ ฮา รา ฤา นา นอ พ่อ แม่ พี่ เอย
ฯลฯ
๓. เอก – โท คือ คากาหนดบังคับเสี ยง อันเป็ นลักษณะพิเศษของโคลง
คาเอก คือ คาที่กากับด้วยรู ปวรรคยุกต์เอก เช่น แก่ ค่า ใส เฉพาะคาเอกนี้ในโคลง
อนุญาตให้ใช้คาตายแทนได้ คาตาย คือ คาที่สะกดในแม่ กก กด กบ เช่น ปิ ด ฉาก นัด พบ
สวัสดิ์ ศิริ
คาโท คือ คาที่กากับด้วยรู ปวรรณยุกต์โท เช่น ร้อง ไห้ ไม้ ล้ม ต้ม ข้าว
โคลงสี่ สุภาพ กาหนดบังคับให้แต่ละบทต้องใช้คาเอก-โท (ดูแผนผัง)
กรณี ที่ไม่สามารถหาพยางค์ที่มีรูปวรรณยุกต์ตามต้องการได้ให้ใช้
เอกโทษ และโทโทษ เอกโทษ และโทโทษ คืออะไร?
คาเอกคาโท หมายถึงพยางค์ที่บงั คับด้วยรู ปวรรณยุกต์เอก และรู ปวรรณยุตโ์ ท กากับ
อยูใ่ นคานั้น โดยมีลกั ษณะบังคับไว้ดงั นี้
คาเอก ได้แก่ พยางค์ที่มีรูปวรรณยุกต์เอกบังคับ เช่น ล่า เก่า ก่อน น่า ว่าย ไม่ ฯลฯ
และให้รวมถึงคาตายทั้งหมดไม่วา่ จะมีเสี ยงวรรณยุกต์ใดก็ตาม เช่น ปะ พบ รึ ขัด ชิด
(ในโคลงและร่ ายใช้ คาตาย แทนคาเอกได้)
คาตาย คือ
1. คาที่ประสมสระเสี ยงสั้นแม่ ก กา (ไม่มีตวั สะกด) เช่นกะ ทิ สิ นะ ขรุ ขระ เละ เปรี๊ ยะ เลอะ โปี ะ ฯลฯ
2. คาที่สะกดด้วยแม่ กก กบ กด เช่น เลข วัด สารท โจทย์ วิทย์ ศิษย์ มาก โชค ลาภ ฯลฯ
คาโท ได้แก่ พยางค์ที่มีรูปวรรณยุกต์โทบังคับ ไม่วา่ จะเป็ นเสี ยงวรรณยุกต์ใดก็ตาม
เช่น ข้า ล้ม เศร้า ค้าน
คาเอก คาโท ใช้ในการแต่งคาประพันธ์ประเภท “โคลง” และ “ร่ าย”และถือว่าเป็ นข้อ
บังคับของฉันทลักษณ์ที่สาคัญมาก ถึงกับยอมให้เอาคาที่ไม่เคยใช้รูปเอก รู ปโท แปลงมาใช้

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 623
เอก และ โท ได้ เช่น เล่น นามาเขียนใช้เป็ น เหล้น ได้ เรี ยกว่า “โทโทษ”
ห้าม ข้อน นามาเขียนเป็ น ฮ่าม ค่อน เรี ยกว่า “เอกโทษ”
เอกโทษและโทโทษ นามาใช้แก้ปัญหาได้ แต่ในปั จจุบนั ไม่นิยมใช้เอกโทษและโทโทษ
๔. สัมผัส
ก. สัมผัสนอก หรื อสัมผัสระหว่างบท อันเป็ นสัมผัสบังคับ คาสุ ดท้ายของบาทหนึ่ง
คือ คาที่ ๗ ส่ งสัมผัสไปรับสัมผัสกับคาที่ ๕ ของบาทสองกับบาทสาม (ดูแผนผัง) คาสุ ดท้าย
ของบาทสอง คือ คาที่ ๗ ส่ งสัมผัสไปรับกับคาที่ ๕ ของบาทสี่ (ซึ่งตกในที่บงั คับคาโทจึงต้อง
ส่ ง-รับด้วยคาโททั้งคู่)
ข. สัมผัสระหว่างบท โคลงสี่ สุภาพไม่เคร่ งสัมผัสระหว่างบท จะมีหรื อไม่มีก็ได้ หากจะมีกาหนดให้คา
สุ ดท้ายของบทคือคาที่ ๗ ของบาทสี่ ส่ ง-รับสัมผัสไปยังคาที่ ๑ หรื อ ๒
หรื อ ๓ ของบาทหนึ่งในบทถัดไป
๕๖. เฉลยตอบข้ อ ง. ๑๐ คา
๕๗. เฉลยตอบข้ อ ก. ให้ขยันศึกษาเล่าเรี ยน
๕๘. เฉลยตอบข้ อ ค. ยติภงั ค์
อธิบาย ยัติภงั ค์ หรื อ เครื่ องหมายขีด (hyphen) เป็ นเครื่ องหมายวรรคตอนสากลอย่างหนึ่ง มี
ลักษณะเป็ นขีดแนวนอนสั้นๆ กลางบรรทัด ยาวไม่เกิน 2 ตัวอักษร หากยาวกว่านั้นจะเรี ยกว่ายัติภาค
๕๙. เฉลยตอบข้ อ ข. วิชาความรู ้
๖๐. เฉลยตอบข้ อ ง. มีท้ งั หมด ๓ บาท
๖๑. เฉลยตอบข้ อ ก. การพูด
๖๒. เฉลยตอบข้ อ ค. ลิ้น
๖๓. เฉลยตอบข้ อ ก. พูดดีเป็ นศรี แก่ปาก
๖๔. เฉลยตอบข้ อ ง. จะพูดจะจาอะไรต้องศึกษาตารับตาราก่อนจะได้พูดถูกต้อง
๖๕. เฉลยตอบข้ อ ข. หัวใจนักปราชญ์
อธิบาย หัวใจนักปราชญ์ มี สุ . จิ .ปุ .ลิยอ่ คาว่า “สุ ” จาก “สุ ต” หมายถึง การฟัง เพราะการ
แสวงหาความรู ้ และการเล่าเรี ยน ต้องอาศัยการฟังเป็ นพื้นฐาน อีกประการสังคมไทยสมัยก่อนยังไม่ค่อยมี
หนังสื อให้อ่าน การรับฟังเรื่ องราวต่างๆ จึงเป็ นวิธีการรับข่าวสาร ข้อมูล ก่อนนาไปพิจารณาให้เกิด
ความรู ้ “จิ” มาจาก “จินตนะ” แปลว่า ความคิด เกี่ยวกับความคิด และจินตนาการที่เป็ นพื้นฐานความคิด
อย่างสร้างสรรค์ และเป็ นการปลูกฝังนิสัยการรับฟังข้อมูล แล้วนามาคิด พิจารณา หรื อย่อยสิ่ งที่รับรู ้มา
“ปุ” มาจาก “ปุจฉา” หมายถึง การถาม เป็ นขั้นตอนต่อเนื่ องจากการฟัง และคิด เกี่ยวโยงการการพูด ซึ่ งมี
หลักว่า ต้องไตร่ ตรองก่อน เอื้อนเอ่ยวาจา เพราะ “ก่อนพูด ตัวเราเป็ นนาย แต่เมื่อพูกออกไปแล้ว วาจาเป็ น
นายเรา” การถามหรื อพูดเป็ นแสดงออกซึ่ งความเป็ นผูร้ ู ้ ผูเ้ ข้าใจประเด็นต่างๆ อย่างมีสติ เป็ นผูร้ ู ้จกั ซัก

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 624
รู ้จกั ถาม เป็ นพื้นฐานของการสร้างนิสัยใฝ่ ใฝ่ เรี ยน นัน่ เอง “ลิ” มาจากคาว่า “ลิขิต” หมายถึงการเขียน หรื อ
บันทึกไว้ เป็ นผลจากการฟัง คิดและถาม
๖๖. เฉลยตอบข้ อ ง. ๖ คา
อธิบาย คาตาย คือ คาในแม่ ก กา ที่มีเสี ยง อะ อิ อึ อุ เอะ แอะ โอะ เอาะ อัวะ เอียะ เอือะ เออะ
เสี ยงสระเสี ยงสั้นที่ไม่มีตวั สะกด และคาในแม่ กก กด กบ. ในคาประพันธ์ขา้ งต้นมีคาตาย ๖ คาดังนี้
ส,ดับ,ลิ,ขิต,เกต,ปราชญ์
๖๗. เฉลยตอบข้ อ ข. ๓ คา
๖๘. เฉลยตอบข้ อ ก. สุ . จิ. ปุ. ลิ.
๖๙. เฉลยตอบข้ อ ก. หนังสื อ
๗๐. เฉลยตอบข้ อ ค. หนังสื อ
๗๑. เฉลยตอบข้ อ ข. อ่านหนังสื อให้มากๆ
๗๒. เฉลยตอบข้ อ ค. คาประพันธ์น้ ีเปรี ยบหนังสื อว่าเป็ นเหมือน หมอ ครู และเพื่อนที่รู้ใจ
๗๓. เฉลยตอบข้ อ ข. กลอนดอกสร้อย
อธิบาย กลอนดอกสร้อย บทดอกสร้อยมีลกั ษณะคล้ายสักวา ต่างกันตรงที่ มีคาขึ้นต้นหนึ่งคา และ
คาถัดมาจะต้องเป็ นคาว่าเอ๋ ย ส่ วนคาจบให้ลงท้ายด้วยคาว่า เอย เช่นเดียวกับบทสักวา
ลักษณะของกลอนดอกสร้อย
กลอนดอกสร้อยเป็ นกลอนอีกลักษณะหนึ่งที่มีความนิยมแต่งกันมากการแต่งกลอนดอกสร้อยส่ วนใหญ่
ใช้แสดงความรู ้สึกและความคิดเห็นที่สามารถจบลงอย่างสั้นๆ เพราะกลอนดอกสร้อย ๑ บท คือกลอน
สุ ภาพ ๒ บท
๗๔. เฉลยตอบข้ อ ข. วรรคแรกต้องมีคาว่า “เอ๋ ย” แทรกตรงกลางคา ๒ คา และจบด้วยคาว่า “เอย”
๗๕. เฉลยตอบข้ อ ค. เงียบเหงาเปล่าเปลี่ยว
๗๖. เฉลยตอบข้ อ ข. หง่างเหง่ง
อธิบาย สัทพจน์ หรื อ การเลียนเสี ยงธรรมชาติ คือคาที่เลียนรู ปแบบทางสัทศาสตร์ของ
แหล่งกาเนิดเสี ยงที่พยายามจะกล่าวถึง สัทพจน์เป็ นโวหารภาพพจน์อย่างหนึ่งที่ใช้ตวั อักษรสะกดให้ออก
เสี ยงให้คล้ายกับเสี ยงที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติหรื อที่ได้ยนิ ทัว่ ไปมากที่สุด สัทพจน์ที่สามารถพบได้บ่อยคือ
การเลียนเสี ยงสัตว์เช่น เหมียว จิ๊บๆ เป็ นต้น
๗๗. เฉลยตอบข้ อ ก. วังเวง
อธิบาย ย่าค่า หมายถึง พลบค่า,ยามค่า,เวลาเย็น,สนธนา ,เช้าตรู่ ,เช้ามืด,ย่ารุ่ ง
ทิวากาล หมายถึง เวลากลางวัน.
ตะวันลับ หมายถึง เวลาพระอาทิตย์ตกดิน
๗๘. เฉลยตอบข้ อ ข. ฝูงวัวควายผ้ายลาทิวากาล

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 625

๗๙. เฉลยตอบข้ อ ข. รักและเป็ นห่วง


๘๐. เฉลยตอบข้ อ ง. อบรมสั่งสอน
๘๑. เฉลยตอบข้ อ ง. วิชาความรู ้ที่ลูกมีและใช้หาเลี้ยงตัวได้
๘๒. เฉลยตอบข้ อ ค. การดื่มสุ รา
๘๓. เฉลยตอบข้ อ ง. ข้อ ๕
อธิบาย ศีล คือ ความตั้งใจ ที่จะงดเว้นจากความชัว่ ความทุจริ ต สิ่ งที่ไม่ดีทุกประการ
ศีลข้อ ๕ คือ สุ ราเมรยมัชชปมาทัฏฐานา เวรมณี งดเว้นจากการดื่มสุ ราและเมรัย อันเป็ นที่ต้ งั แห่งความ
ประมาท
๘๔. เฉลยตอบข้ อ ค. ทาให้ถูกทาร้ายร่ างกายแล้วไม่รู้สึกเจ็บ
๘๕. เฉลยตอบข้ อ ง. ๖ ประการ
๘๖. เฉลยตอบข้ อ ง. มีที่มาที่ไป
๘๗. เฉลยตอบข้ อ ก. เป็ นคาโดด
อธิบาย คาโดด คือภาษาที่อุดมไปด้วยคาพยางค์เดียว เช่น คาที่เกี่ยวกับญาติพี่นอ้ ง ได้แก่ พ่อ แม่ ปู่
ย่า ลักษณะพิเศษของคาไทยซึ่ งไม่มีในภาษาอื่น มีดงั นี้
๑.ภาษาไทยมีคาลักษณนามที่ใช้บอกลักษณะของคานาม เพื่อให้ทราบสัดส่ วนรู ปพรรณสัณฐาน เช่น
ใช้ วง เป็ นลักษณนามของ
แหวน นามวลีที่มี ลักษณนามอยูด่ ว้ ย จะมีการเรี ยงคาแบบ นามหลัก + คาบอกจานวน + คาลักษณ
นาม เช่น แมว ๓ ตัว
๒.ภาษาไทยมีคาซ้ า คาซ้อนที่เป็ นการสร้างคาเพิ่มเพื่อใช้ในภาษา เช่น ใกล้ ๆ หยูกยา
๓.ภาษาไทยมีคาบอกท่าทีของผูพ้ ูด เช่น ซิ ละ นะ เถอะ
๔.ภาษาไทยมีคาบอกสถานภาพของผูพ้ ูดกับผูฟ้ ัง เช่น คะ ครับ จ๊ะ ฮะ
๘๘. เฉลยตอบข้ อ ข. วรรณยุกต์ที่มีใช้อยูใ่ นภาษาไทย
๘๙. เฉลยตอบข้ อ ค. อวยประโยชน์ฟังเพราะเสนาะสม
๙๐. เฉลยตอบข้ อ ง. เช่นหาบห้ามมะม่วงห่ามห้ามเหหัน
อธิ บาย สัมผัสอักษรได้แก่ หาบ – ห้าม,ขาว – เข้า,ข่าว-ข้าว
๙๑. เฉลยตอบข้ อ ข. สัง่ สอน
๙๒. เฉลยตอบข้ อ ง. การปฏิบตั ิตนให้เป็ นภรรยาที่ดี
๙๓. เฉลยตอบข้ อ ข. ทาตัวให้สามีไว้วางใจให้มากที่สุด
๙๔. เฉลยตอบข้ อ ข. แต่งงาน
๙๕. เฉลยตอบข้ อ ค. การครองชีวิตคู่จะราบรื่ นยืนนาน

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 626

๙๖. เฉลยตอบข้ อ ข. นารี ปราโมทย์


อธิบาย นารี ปราโมทย์ (บทเกี้ยวโอ้โลม) มาจากคาว่า นารี น. ผูห้ ญิง + ปราโมทย์ น. ความบันเทิง
ใจคือการกล่าวแสดงความรัก ทั้งการเกี้ยวพาราสี กนั ในระยะแรกๆ หรื อการพรรณนาบทโอ้โลมปฏิโลม
ก่อนจะถึงบทสังวาสนั้นด้วย
๙๗. เฉลยตอบข้ อ ค. รักและเว้าวอน
๙๘. เฉลยตอบข้ อ ง. ๖ คู่
๙๙. เฉลยตอบข้ อ ข. ๔ ตัว
อธิ บาย มีสัตว์ท้ งั หมดสี่ ตวั คือ นก,แมงภู่,มังกร และ หงส์
๑๐๐. เฉลยตอบข้ อ ก. หงส์

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 627

การเรียงประโยค
เทคนิคการทาข้ อสอบ การเรียงประโยค
๑. หาข้อขึ้นต้นประโยค โดยยึดหลักดังนี้
คานาม รวมทั้งคา “การ+กริ ยา” และ “ความ+ วิเศษณ์”
ช่วงเวลา รวมทั้งคา เมื่อ ใน (ช่วงเวลาถ้าไม่ข้ ึนต้นก็จะอยูป่ ระโยคสุ ดท้าย)
คาเชื่อมบางคา เนื่องจาก แม้วา่ ถ้า หาก คาเหล่านี้จะขึ้นต้นได้ตอ้ งรวมกับคานาม
หนังสื อราชการ ขึ้นต้นด้วย ตาม ตามที่ ด้วย
๒. คาเชื่อม ที่ , ซึ่ง, อัน, ผู ้ ,เพื่อ, ใน, โดย, ด้วย, สาหรับ ,ของ,จาก ,ตาม
คาเหล่านี้ข้ ึนต้นประโยคไม่ได้ ยกเว้นคาว่า ใน+นาม จาก+นาม ตาม+ข้อบังคับ ตาม+หน่วยงาน และถ้าคา
เหล่านี้อยูก่ ลางประโยคถือเป็ นส่ วนขยายให้ตดั ส่ วนขยายเหล่านั้นทิ้ง
๓. คาปิ ดประโยค อีกด้วย ก็ตาม นั้นเอง ต่อไป เท่านั้น ถ้าคาเหล่านี้ลงท้ายของข้อแล้วส่ วนมากข้อนั้น
จะเป็ นข้อสุ ดท้าย ช่วงเวลา ประโยคคาถาม
๔. โครงสร้างประโยคที่ใช้บ่อย ทั้ง…และ….รวมทั้ง(ตลอดจน) นอกจาก……แล้วยัง(ยังต้อง) ไม่………
แต่ แม้…แต่ ดังนั้น+นาม+จึง ถ้า……แล้ว(ยัง)
๕. คานามที่เป็ นชื่อเฉพาะจะต้องบวกคากริ ยา เช่น ประเทศสมาชิกอาเซี ยน กระทรวงมหาดไทย
๖. หากมีขอ้ ใดขึ้นต้นด้วยคาว่า และ หรื อ ให้ใช้เทคนิคหาคาที่มีความหมายใกล้เคียงกัน
๗. หากมีขอ้ ใดขึ้นด้วยคาว่า กับ ต่อ ให้หาคากริ ยาที่ใช้คู่กนั เช่น ประสานกับ ชี้แจงกับ ผลต่อ
๘. ในการเรี ยงหากเหลือ ๒ ข้อ ให้พิจารณากริ ยาใดเกิดขึ้นก่อน หรื อเกิดทีหลัง
ตัวอย่างที่ ๑
โจทย์ : ข้อความใดอยูล่ าดับที่ ๑
ก. ที่สาคัญก็มีดินและทราย ซึ่ งกลายเป็ นขี้เถ้าหลังจากถ่านหิ นเผาไหม้
ข. ซึ่ งจะนาไปเจือปนอยูใ่ นโลหะที่ถลุง
ค. ในเนื้อของถ่านหิ น ยังมีสารอนิ นทรี ยเ์ จือปนอีกหลายอย่าง
ง. และยังมีสารประกอบของกามะถันและฟอสฟอรัส
การคิดวิเคราะห์
ข้อนี้ โจทย์ให้ตอ้ งการหาข้อความที่อยูต่ น้ ประโยคเลย ดังนั้น เพื่อให้เป็ นการประหยัดเวลาการทาในข้อนี้
และเอาเวลาที่เหลือไปใช้ในข้ออื่น เมื่อเราหาข้อความแรกได้แล้ว ก็ไม่ตอ้ งไปหาข้อความที่เหลือ
ต่อไปพิจารณาตัวเลือก คาว่า “ที่” “ซึ่ง” “และ” นั้น ไม่สามารถเป็ นคาแรกของประโยคได้ เพราะเป็ น
สันธาน ที่มีหน้าที่เชื่ อมคา หรื อข้อความ หรื อประโยค ดังนั้น จะต้องมีคาหรื อข้อความ หรื อประโยคมา
ก่อน ดังนั้น ในข้อนี้ เราสามารถชี้ชดั ได้เลยว่า ข้อ ค. คือคาตอบที่ถูกต้อง

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 628

แนวข้ อสอบความรู้ความสามารถทั่วไปด้ านภาษาไทย ชุดที่ ๗

จงเลือกคาตอบข้อที่ถูกที่สุดเพียงข้อเดียว
๑. ข้อความต่อไปนี้ควรจัดเรี ยงลาดับตามข้อใดจึงจะได้ความสมบูรณ์
ก. ดอกแตงโมอ่อนรวมกับผักอื่นๆ นามาแกงเลียง
ข. ยอดแตงโมอ่อนคนมักเก็บมาต้มกับกะทิจิ้มน้ าพริ กกิน
ค. ผลอ่อนเขาก็เอามาแกงส้มใช้ท้ งั เนื้อทั้งเมล็ดอร่ อยมาก
ง. ผลแก่น้ นั ใช้รับประทาน เนื้ อหวานเย็น ชุ่มคอชื่นใจดี
ก. ก.,ข.,ค.,และ ง. ข. ก.,ค.,ง.,และ ข. ค. ข.,ก.,ค.,และ ง. ง. ข.,ค.,ง.,และ ก.
๒. คาพูดของประธานในที่ประชุมต่อไปนี้ ควรเรี ยงลาดับตามข้อใดให้ถูกต้อง ตามระเบียบวาระการ
ประชุม
ก. “กรรมการท่านใดจะขอแก้ไขรายงานการประชุมครั้งนี้เชิ ญได้ครับ”
ข. “ประธานฝ่ ายจัดหารายได้ได้แจ้งมายังผมว่าป่ วย จึงขอลาประชุมในวันนี้”
ค. “ขอให้ประธานคณะกรรมการแต่ละฝ่ ายรายงานความก้าวหน้าการเตรี ยมงานวันสุ นทรภู่”
ง. “วาระต่อไปเป็ นการพิจารณาเสนอผูแ้ ทนนักเรี ยนไปร่ วมแข่งขันกลอนสดกับโรงเรี ยนประจา
จังหวัด”
ก. ข., ค.,ง., และ ก. ข. ค., ก., ง., และ ข. ค. ก.,ข.,ค.,และ ง. ง. ข.,ก.,ค.,และ ง.
๓. ข้อความใดอยูล่ าดับที่ ๓
ก. เป็ นนักรบ ที่เร่ รอนไปในบริ เวณภาคตะวันออกเฉี ยงใต้ของทะเลสาบใบคาล
ข. ซึ่งปกครองจีนระหว่าง พ.ศ. ๑๖๑๑ – ๑๙๔๙
ค. ในบันทึกเหตุการณ์ของราชวงศ์ถงั
ง. ได้กล่าวถึงพวกมองโกล
๔. ข้อความใดอยูล่ าดับที่ ๓
ก. เป็ นนามพระราชทานโดยรัชกาลที่ ๔
ข. ถือเป็ นสิ่ งพิมพ์ประเภทวารสารฉบับแรกของประเทศไทย
ค. ราชกิจจานุเบกษาเป็ นคาสันสฤต แปลว่า หนังสื อเพ่งดูราชกิจ
ง. เริ่ มออกฉบับแรกเมื่อวันที่ ๑๕ มีนาคม พ.ศ. ๒๔๐๑
๕. ข้อความใดอยูล่ าดับที่ ๒
ก. ผูม้ ีอานาจแต่งตั้ง ซึ่ งรู ้อยูแ่ ล้วว่า ข. ไม่วา่ ด้วยเหตุใดๆ ก็ตาม
ค. ตนจะต้องพ้นจากตาแหน่งหน้าที่ราชการไป ง. ไม่พึงแต่งตั้งข้าราชการพลเรื อนไว้ล่วงหน้า

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 629
๖. ข้อความใดอยูล่ าดับที่ ๔
ก. ซึ่ งสามารถยังยั้งการเจริ ญเติบโตของจุลชีพอีกกลุ่มหนึ่ง
ข. เช่น ยากลุ่มเพนนิซิลลิน เดตราซัยคลีน เป็ นต้น
ค. ยาปฏิชีวนะเป็ นสารประกอบทางเคมีใดๆ ที่ผลิตหรื อสร้างขึ้นโดยจุลชีพ
ง. หรื อไปขัดขวาง หรื อไปทาลายจุลชีพกลุ่มนั้นๆ
๗. ข้อความใดอยูล่ าดับที่ ๒
ก. การใช้สิ่งของ เครื่ องมือ เครื่ องใช้ ทุกอย่างที่ให้บริ การ
ข. ทั้งนี้ เพื่อให้สิ่งของ เครื่ องใช้เหล่านี้ เป็ นประโยชน์แก่เรามากที่สุด
ค. และให้เป็ นประโยชน์แก่เรานั้น
ง. จาเป็ นที่ผใู ้ ช้จะต้องเข้าใจและรู ้จกั ใช้ให้เป็ น
๘. ข้อความใดอยูล่ าดับที่ ๒
ก. และอ่านด้วยวิธีการที่เหมาะสม
ข. ผูอ้ ่านต้องกาหนดเป้ าหมายในการอ่าน
ค. โดยใช้เวลาและแรงงานน้อยที่สุด
ง. เพื่อให้บรรลุเป้ าหมายมากยิง่ ขึ้น
๙. ข้อความใดอยูล่ าดับที่ ๔
ก. เป็ นเหตุให้พืชผลได้รับความเสี ยหายโดยสิ้ นเชิง
ข. ในอัตราไม่เกินร้อยละ ๓๐ ของพื้นที่เสี ยหาย
ค. จะได้รับความช่วยเหลือพันธุ์พืชอายุส้ นั เพื่อปลูกทดแทน
ง. เกษตรกรที่จะได้รับความช่วยเหลือจะต้องเป็ นผูป้ ระสบภัยธรรมชาติ
๑๐. ข้อความใดอยูล่ าดับที่ ๑
ก. รัฐกับสถาบันพระมหากษัตริ ยจ์ ึงเป็ นสิ่ งที่แนบแน่นมิอาจแยกออกจากกันได้
ข. อันให้ความหมายตรงกันว่า รัฐเป็ นสมบัติของเทพ
ค. รัฐ ตามความเข้าใจของคนโบราณถือเป็ นส่ วนหนึ่ งของพระมหากษัตริ ย ์
ง. ดังจะเห็นได้จากไตรภูมิพระร่ วง
๑๑. ข้อความใดอยูล่ าดับที่ ๔
ก. ในอดีตประชาชนชาวไทยยังเคยชินกับการปกครองแบบมีผคู ้ อยชี้นา
ข. ซึ่ งทาให้ประชาชนไม่มีโอกาสในการคิด และการตัดสิ นใจนอกจากคาสัง่
ค. แต่การปกครองแบบประชาธิ ปไตยถือว่าประชาชนมีส่วนร่ วมในการปกครอง
ง. ทาให้ตอ้ งใช้เวลาอีกหลายปี กว่าประชาชนส่ วนใหญ่ของประเทศจะเข้าใจ

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 630
๑๒. ข้อความใดอยูล่ าดับที่ ๓
ก. กาหนดไว้เป็ นส่ วนหนึ่งอย่างชัดเจน
ข. มีสอนอยูท่ วั่ ไปไม่เฉพาะพระพุทธศาสนา
ค. การสอนให้ละเว้นความชัว่ และทาความดี
ง. แต่การสอนให้ชาระจิตใจให้สะอาดทางพระพุทธศาสนา
๑๓. ข้อความใดอยูล่ าดับที่ ๒
ก. นอกจากการใช้คาพากย์และคาเจรจาดาเนินเรื่ องแล้ว
ข. การแสดงโขนของกรมศิลปกรแต่โบราณ
ค. สาหรับใช้บรรเลงประกอบอิริยาบถและความรู ้สึก
ง. ต้องประกอบด้วยวงดนตรี ชนิดหนึ่งเรี ยกว่า วงปี่ พากย์
๑๔. ข้อความใดอยูล่ าดับที่ ๒
ก. การปลูกฝังให้คนไทยมีความรักชาติ
ข. การที่สร้างให้ประเทศมีความเจริ ญก้าวหน้า มีความมัน่ คงทางเศรษฐกิจ
ค. ภูมิใจในชาติ และอุทิศตนทางานเพื่อชาติ
ง. โดยอุดมการณ์ท้ งั สามประการ ควรปลูกฝังตั้งแต่เด็กๆ และในสถานศึกษา
๑๕. ข้อความใดอยูล่ าดับที่ ๔
ก. โดยการเปลี่ยนแปลงความเห็นซึ่ งกันและกัน
ข. วิธีฝึกอบรมพยายามที่จะสร้างบรรยากาศ แห่งความสมานฉันท์
ค. ลักษณะเด่นอีกประการหนึ่งของการฝึ กอบรมคือ
ง. ระหว่างผูร้ ับการฝึ กอบรมกับผูอ้ ภิปราย
๑๖. ข้อใดเรี ยงลาดับข้อความต่อไปนี้ได้เหมาะสมที่สุด
๑. ผูป้ ่ วยเป็ นต้อหินจะมีอาการตามัว สู ญเสี ยลานสายตา
๒. การรักษาต้อหินอาจใช้ยาหยอดตาและยารับประทาน
๓. ต้อหิ นเกิดจากความดันในสายตาเพิ่มสู งขึ้นจนทาลายประสาทตา
๔. ถ้าเป็ นต้อหินชนิดรุ นแรงจะปวดตา ปวดศีรษะมากและคลื่นไส้ อาเจี ยน
๕. ผูท้ ี่เป็ นต้อหิ นบางรายอาจจาเป็ นต้องรักษาโดยใช้แสงเลเซอร์ หรื อโดยการผ่าตัด
ก. ๑ ๓ ๔ ๒ ๕
ข. ๓ ๑ ๔ ๒ ๕
ค. ๑ ๒ ๕ ๓ ๔
ง. ๓ ๑ ๒ ๔ ๕

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 631
๑๗. ข้อใดเรี ยงลาดับข้อความต่อไปนี้ได้เหมาะสมที่สุด
๑. อินเดียมีสิ่งมหัศจรรย์ถึงสองสิ่ งคือปราสาททัชมาฮาลและมหาตมะคานธี
๒. บางคนบอกว่าอินเดียมิได้มีสิ่งมหัศจรรย์อย่างเดียวเท่านั้น
๓. ทั้งสองสิ่ งนี้นบั ว่าเป็ นสิ่ งมหัศจรรย์ของโลกตามที่เขาว่าจริ งๆ
๔. อินเดียวมีสิ่งมหัศจรรย์อยูอ่ ย่างหนึ่งคือปราสาททัชมาฮาล
ก. ๒ ๑ ๓ ๔ ข. ๔ ๒ ๑ ๓
ค. ๑ ๓ ๒ ๔ ง. ๓ ๑ ๔ ๒
๑๘. ๑. หากยังมีความเป็ นเหตุเป็ นผลระหว่างมนุษย์กบั มนุษย์
๒. มนุษย์เป็ นส่ วนหนึ่งของสังคมที่เกิดมา
๓. ซึ่ งมิได้เกิดมาอย่างเดียวดาย
๔. จากกระแสภายในระบบการเปลี่ยนแปลงของธรรมชาติ
๕. และมนุษย์กบั สิ่ งต่างๆ บนพื้นฐานความจริ งอีกด้วย
จงเรี ยงลาดับข้อความข้างต้นให้ถูกต้อง
ก. ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ข. ๒ ๑ ๓ ๕ ๔
ค. ๕ ๔ ๓ ๑ ๒ ง. ๒ ๔ ๓ ๑ ๕
๑๙. ข้อความใดอยูล่ าดับที่ ๑
ก. พุทธ แปลว่า ความชอกซ้ า
ข. ชื่อนี้ มีความเหมาะสมกับเนื้อเรื่ องเป็ นอย่างยิง่
ค. รวมกันแล้ว มีความหมายว่า ความซอกช้ าอันเกิดจากความรัก
ง. คาว่า มัทนะพาธา มาจากคาว่า มทน ซึ่ งแปลว่า ความรัก
๒๐. ข้อความใดอยูล่ าดับที่ ๓
ก. เป็ นตัวหมุนและขับเคลื่อนเครื่ องยนต์
ข. ก็ตอ้ งพลอยได้รับความกระทบกระเทือนไปด้วย
ค. รถยนต์ซ่ ึ งจาเป็ นต้องอาศัยน้ ามัน
ง. เมื่อมาถึงยุคของน้ ามันมีราคาแพง
๒๑. ข้อความใดอยูล่ าดับที่ ๔
ก. ช่วยให้เกิดประสิ ทธิ ภาพ ข. การจัดทาทะเบียนสัตว์น้ า
ค. ในการอนุรักษ์และพัฒนาสายพันธุ์ ง. และเป็ นประโยชน์ต่อการวางแผน
๒๒. ข้อความใดอยูล่ าดับที่ ๓
ก. ทอดกฐินเป็ นกาลทาน เป็ นทานที่ทาได้ยาก ข. จึงต้องขวานขวายด้วยเจตนาอันแรงกล้า
ค. ดังนั้นชาวพุทธที่ปรารถนาถวายกฐิน ง. เพราะเวลาจากัดเพียงเดือนเดียวเท่านั้น

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 632
๒๓. ข้อความใดอยูล่ าดับที่ ๒
ก. เพราะเป็ นจิตใจที่สงบ และเยือกเย็น
ข. มีวจิ ารณญาณละเอียด กว้างขวาง และถูกต้องตรงจุด
ค. ทาให้บุคคลมีสติ รู ้ตวั
ง. จิตใจสะอาด ปลอดโปร่ งจากสิ่ งรบกวนนี้สาคัญมาก
๒๔. ข้อความใดอยูล่ าดับที่ ๑
ก. ที่สาคัญก็มีดินและทราย ซึ่ งกลายเป็ นขี้เถ้าหลังจากถ่านหิ นเผาไหม้
ข. ซึ่ งจะนาไปเจือปนอยูใ่ นโลหะที่ถลุง
ค. ในเนื้อของถ่านหิ น ยังมีสารอนิ นทรี ยเ์ จือปนอีกหลายอย่าง
ง. และยังมีสารประกอบของกามะถันและฟอสฟอรัส
๒๕. ข้อความใดอยูล่ าดับที่ ๓
ก. เป็ นนักรบ ที่เร่ รอนไปในบริ เวณภาคตะวันออกเฉี ยงใต้ของทะเลสาบใบคาล
ข. ซึ่ งปกครองจีนระหว่าง พ.ศ. ๑๖๑๑ – ๑๙๔๙
ค. ในบันทึกเหตุการณ์ของราชวงศ์ถงั
ง. ได้กล่าวถึงพวกมองโกล
๒๖. ข้อความใดอยูล่ าดับที่ ๓
ก. เป็ นนามพระราชทานโดยรัชกาลที่ ๔
ข. ถือเป็ นสิ่ งพิมพ์ประเภทวารสารฉบับแรกของประเทศไทย
ค. ราชกิจจานุ เบกษาเป็ นคาสันสฤต แปลว่า หนังสื อเพ่งดูราชกิจ
ง. เริ่ มออกฉบับแรกเมื่อวันที่ ๑๕ มีนาคม พ.ศ. ๒๔๐๑
๒๗. ข้อความใดอยูล่ าดับที่ ๒
ก. ผูม้ ีอานาจแต่งตั้ง ซึ่ งรู ้อยูแ่ ล้วว่า
ข. ไม่วา่ ด้วยเหตุใดๆ ก็ตาม
ค. ตนจะต้องพ้นจากตาแหน่งหน้าที่ราชการไป
ง. ไม่พึงแต่งตั้งข้าราชการพลเรื อนไว้ล่วงหน้า
๒๘. ข้อความใดอยูล่ าดับที่ ๔
ก. ซึ่ งสามารถยังยั้งการเจริ ญเติบโตของจุลชีพอีกกลุ่มหนึ่ง
ข. เช่น ยากลุ่มเพนนิซิลลิน เดตราซัยคลีน เป็ นต้น
ค. ยาปฏิชีวนะเป็ นสารประกอบทางเคมีใดๆ ที่ผลิตหรื อสร้างขึ้นโดยจุลชีพ
ง. หรื อไปขัดขวาง หรื อไปทาลายจุลชีพกลุ่มนั้นๆ

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 633
๒๙. ข้อความใดเป็ นลาดับที่ ๒
ก. และตกเป็ นระยะเวลานานติดต่อกัน
ข. พายุหมุนในโซนร้อนนับว่าเป็ นตัวการสาคัญ
ค. ทาให้แผ่นดินได้รับความชุ่มชื้นทัว่ ไป
ง. ที่ทาให้เกิดฝนตกแผ่เป็ นบริ เวณกว้าง
๓๐. ข้อความใดเป็ นลาดับที่ ๓
ก. ตามที่กระทรวงการต่างประเทศเสนอ
ข. กับสาธารณรัฐประชาธิ ปไตยประชาชนลาว
ค. คณะรัฐมนตรี อนุมตั ิการทาความตกลงยกเว้นการตรวจลงตราหนังสื อการทูต
ง. และความตกลงยกเว้นหนังสื อเดินทางทูตและราชการกับบราซิ ลและอาเจนติน่า
๓๑. ข้อความใดเป็ นลาดับที่ ๓
ก. โดยให้ภาคเอกชนเป็ นแกนนาในการจัดตั้งบริ ษทั
ข. ให้กระทรวงอุตสาหกรรมเข้าร่ วมถือหุ น้ เพื่อดาเนินการ
ค. เนื่องจากมีความพร้อมอยูแ่ ล้ว
ง. บริ ษทั บริ หารและพัฒนาเพื่อการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม จากัด
๓๒. ข้อความใดเป็ นลาดับที่ ๓
ก. เข้าในจานแม่เหล็กชนิดแข็ง
ข. ประเทศไทยได้ทางานสาคัญเป็ นประเทศแรกในโลก
ค. เพื่อนาเข้าคอมพิวเตอร์ ต้ งั แต่ปี พ.ศ. ๒๕๓๑
ง. ที่ได้นาข้อความในพระไตรปิ ฎกทั้ง ๔๕ เล่ม
๓๓. ข้อความใดควรเป็ นลาดับที่ ๕
ก. ความรักชาติแสดงออกได้ง่าย
ข. ความรักชาติคือความรักในเพื่อนร่ วมชาติ
ค. สาหรับเยาวชนนั้นการตั้งใจเล่าเรี ยนเพื่อนาความรู ้ไปใช้ในภายหน้าก็เป็ นความรักชาติส่วน
หนึ่ง
ง. ความรักในแผ่นดินไทยซึ่ งเป็ นที่อยูอ่ าศัยแสนสุ ข
จ. แตกต่างกันตามวัยและความสามารถ
๓๔. ข้อความใดควรเป็ นลาดับที่ ๓
ก. ถ้าไม่มีกลิ่นน้ าเน่าตลบอบอวลแล้ว ข. ลมจากแม่น้ าพัดเฉื่ อยฉิ ว
ค. รอบๆ บริ เวณที่ขา้ พเจ้ายืนอยู่ ง. ก็คงจะรื่ นรมย์เป็ นอันมาก
จ. เป็ นสนามหญ้าและไม้ยนื ต้นร่ มรื่ นน่าสบาย

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 634
๓๕. ข้อความใดเป็ นลาดับที่ ๔
ก. อนุชนที่กาลังเกิดมาควรรู ้ซ้ ึ งถึงความเป็ นมนุษย์
ข. เลขาธิ การสหประชาชาติได้กล่าวว่า
ค. ทุกประเทศจะต้องรับรู ้สิทธิ
ง. เพื่อการสร้างสรรค์และความก้าวหน้า
จ. และสนองความต้องการเป็ นพิเศษให้แก่เด็ก
๓๖. ข้อความใดเป็ นลาดับที่ ๑
ก. มันเกิดขึ้นแล้วก็จางหายไปเมื่อถูกลมพัด
ข. เรื่ องฝุ่ นและอากาศเป็ นพิษนี้มองไม่เห็นเพราะมันอยูใ่ นอากาศ
ค. มันยังคงแฝงอยูใ่ นอากาศนัน่ เอง
ง. แต่อย่าลืมว่ามันไม่หายไปไหน
๓๗. ข้อความใดเป็ นลาดับที่ ๑
ก. จนกระทัง่ พบก๊าซธรรมชาติเป็ นปริ มาณมากพอโดยเชื่ อว่าจะนามาใช้ประโยชน์ในเชิง
พาณิ ชย์ได้
ข. อันเป็ นแหล่งแรกในประเทศไทย มาขึ้นที่ฝั่งจังหวัดระยอง
ค. หลังจากประเทศไทยได้เริ่ มโครงการสารวจหาปิ โตรเลียมในประเทศไทย
ง. โครงการพัฒนาก๊าซธรรมชาติสาคัญอันแรกก็คือ การวางระบบท่อส่ งก๊าซจากแหล่งก๊าซ
เอราวัณ
๓๘. ข้อความใดควรเป็ นลาดับที่ ๓
ก. พระมหากษัตริ ยเ์ ป็ นที่เทิดทูนของเรา ข. ราชาศัพท์เป็ นส่ วนหนึ่งของหลักภาษา
ค. อีกทั้งเป็ นวัฒนธรรมอันสาคัญยิง่ ง. ที่มีความสาคัญมากเพราะสถาบัน
๓๙. ข้อใดเรี ยงลาดับได้ถูกต้อง
ก. อาหารไทยเป็ นอาหารที่ชาวต่างชาตินิยมรับประทานกันมาก
ข. กรุ งเทพมหานครกาลังเร่ งแก้ไขอย่างรี บด่วนเรื่ องปั ญหาน้ าท่วมขัง
ค. ชมรมดูนกกาลังรับสมัครสมาชิกใหม่ที่บึงพระรามเป็ นจานวนมาก
ง. มีนกั ศึกษาหลายคณะเข้าร่ วมโครงการ “ถนนสี ขาว” รวมทั้งชมรมอนุ รักษ์สิ่งแวดล้อม
๔๐. ประโยคใดเรี ยงลาดับถูกต้อง
ก.พ่อครัวทาต้มโคล้งปลาช่อนเมื่อวานนี้ อร่ อยมาก
ข.ฝนดาวตกครั้งนี้มีจานวนไม่มากอย่างที่คิด
ค.ในห้องแสดงนิทรรศการมีศิลาจารึ กของพ่อขุนรามคาแหงมหาราชรู ปจาลองตั้งไว้ให้ชม
ง.บัณฑิตใหม่กาลังถ่ายรู ปก่อนเข้ารับพระราชทานปริ ญญาบัตรในบริ เวณลานพระบรมรู ปทรงม้า

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 635
๔๑. ข้อใดเรี ยงลาดับคาในประโยคได้เหมาะสมที่สุด
ก. ปรากฏว่าเด็กมีแผลฟกช้ าดาเขียวที่ตน้ ขาจากการตรวจของแพทย์
ข. ประวัติศาสตร์แบบอาณานิคมไม่นอ้ ย ให้อิทธิ พลแก่การศึกษาประวัติศาสตร์ ไทย
ค. ในทางกลับกันวิชาการเกษตรก็มีส่วนช่วยเสริ มวิธีการจัดการต่างๆ
ง. เหมือนตุก๊ ตาที่ผถู ้ ือปล่อยมือ เขาสิ้ นสติสัมปชัญญะและหล่นลงไปกองอยูบ่ นพื้น
๔๒. ลาดับตัวอย่างในข้อความข้างล่างนี้เรี ยงไม่ถูก ต้องเรี ยงใหม่ตามข้อใด
“อักษรนาที่อ่านออกเสี ยงพยางค์เดียว ได้แก่ ห นา อักษรเดี่ยว และ อ นา ย ตัวอย่างเช่น
เหงา อยาก อยู่ ไหม”
ก. อยาก อยู่ เหงา ไหม ข. อยู่ เหงา ไหม อยาก
ค. ไหม อยาก อยู่ เหงา ง. เหงา ไหม อยู่ อยาก
๔๓. ข้อความต่อไปนี้ จดั เรี ยงลาดับตามข้อใดจึงได้ความสมบูรณ์
ก. ก้านใบเหลาใช้เป็ นไม้กลัดห่อของหรื อมัดรวมเป็ นไม้กวาด
ข. ใบมะพร้าวนามาใช้มุงหลังคา ห่อขนม สานทาของเล่นของใช้ต่างๆ
ค. ผลมะพร้าวถ้าอ่อนเนื้ อใช้รับประทาน ถ้าแก่ใช้ค้ นั เป็ นกะทิทาอาหารคาวหวาน
ง. กะลาใช้เป็ นเชื้อเพลิงหรื อทาเครื่ องใช้ เครื่ องประดับ และรากใช้เป็ นสี ยอ้ มผ้า
ก. ค ง ข ก ข. ค ข ก ง ค. ข ค ง ก ง. ค ก ข ง
๔๔. ข้อใดเรี ยงลาดับข้อความได้เหมาะสมที่สุด
ก. กาแพงทัว่ ไปที่ใช้ป้องกันเสี ยงมักเป็ นกาแพงคอนกรี ตสู ง ๑๒ ฟุต
ข. ทางด่วนจะต้องสร้างกาแพงป้ องกันเสี ยงที่มีความดังมากกว่า ๖๗ เดซิ เบลขึ้นไป
ค. เพราะเมื่อเสี ยงผ่านขึ้นไปถึงยอดกาแพง มักจะกระทบขอบและกระจายตัวออกเป็ นเสี ยงดัง
ข้ามกาแพงไปได้
ง. แต่แม้จะสร้างกาแพงสู งอย่างนั้น กาแพงก็จะป้ องกันเสี ยงไว้ได้เพียง ๑๐ เดซิเบล
ก. ก ข ค ง ข. ก ค ง ข ค. ข ค ก ง ง. ข ก ง ค
๔๕. ข้อความต่อไปนี้เรี ยงลาดับตามข้อใดได้ดีที่สุด
ก. ในท่ามกลางแห่งสัมผัสอันอบอุ่นที่คนมีต่อโลกและธรรมชาติ
ข. เป็ นบรรยากาศแห่งความเรี ยบง่ายและสันโดษ
ค. วิถีชีวติ ที่เรี ยบง่ายย่อมมีความสุ ขสงบอยู่ ณ กึ่งกลางใจ
ง. ชีวติ มนุษย์ก็อาจหาความสุ ขได้อย่างง่ายๆ จากสิ่ งต่างๆ รอบตัวเรา
จ. ความสุ ขอันลึกล้ านั้นแผ่ขยายออกจากใจสู่ ภายนอก
ก. ก ข ง ค จ ข. ค จ ข ก ง
ค. ค ง ข ก จ ง. ง ข ค จ ก

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 636
๔๖. ข้อความต่อไปนี้ จดั ลาดับตามข้อใดจึงจะถูกต้องและได้ใจความสมบูรณ์
ก. เวลาทาให้ชีวติ ของเราชราลงไป
ข. การเสี ยเวลาทาให้เกิดความเสี ยหาย
ค. เวลาเป็ นของมีค่า
ง. ถ้าเราแก่ลงไปโดยไม่ได้ทาประโยชน์เรี ยกว่าอยูอ่ ย่างรกโลก
ก. ก ง ข ค ข. ข ก ค ง ค. ค ก ข ง ง. ง ค ข ก
๔๗. ข้อความต่อไปนี้ควรเรี ยงลาดับตามข้อใดจึงจะได้ใจความสมบูรณ์
๑ ) ตัวข้าพเจ้าสังเกตได้แต่เพียงว่า ๒) เรื่ องสั้นก็คือนวนิยายน้อย ๆ นั้นเอง
๓) เรื่ องสั้นแค่ไหนจึงเป็ นเรื่ องสั้น ๔) นวนิยายมักมีแนวความคิดมากกว่าหนึ่งแนว
๕) จนบัดนี้ยงั ไม่มีกฏเกณฑ์ที่แน่นอนกว่า ๖) ยาวแค่ไหนจะเป็ นนวนิยาย
๗) เรื่ องสั้นมักจะมีแนวความคิดแนวเดียว
ก. ๑ ๒ ๕ ๓ ๖ ๗ ๔ ข. ๒ ๑ ๗ ๔ ๕ ๓ ๖
ค. ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ง. ๒ ๕ ๓ ๖ ๑ ๗ ๔
๔๘. ข้อความต่อไปนี้ เรี ยงลาดับอย่างไรจึงจะได้เนื้ อความถูกต้อง
ก. ถ้าหากว่าแม่น้ าทั้ง ๒ สายนี้เกิดมีอนั เป็ นไป ก็ยอ่ มจะส่ งผลกระเทือนถึงแม่น้ าภายในของเรา
ด้วยไม่มากก็นอ้ ย
ข. และก็เช่นเดียวกัน ถ้าหากว่าแม่น้ าภายในหลายสายของเราขาดแคลน ก็จะต้องกระเทือน
หนัก โดยเฉพาะไปถึงแม่น้ าโขงเป็ นสาคัญ
ค. ไทยเรามีแม่น้ านานาชาติที่จะต้องใช้ร่วมกับเพื่อนบ้านอยู่ ๒ สายเท่านั้น คือ แม่น้ าโขงกับ
แม่น้ าสาละวิน
ง. การผันน้ าร่ วมกันใช้จึงจะต้องเป็ นเรื่ องตระเตรี ยมร่ วมกันแก้ปัญหาไว้แต่เนิ่นๆ ระหว่างผูค้ น
ในภูมิภาคนี้ เช่น ไทย พม่า ลาว เขมร เวียดนาม และจีนแผ่นดินใหญ่ที่คุมทิเบตไว้ในมือ
ก. ง ก ข ค ข. ค ก ข ง ค. ง ข ค ก ง. ค ง ข ก

อ่านเค้าโครงรายงานทางวิชาการเรื่ อง “พระราชวังบางปะอินจังหวัดพระนครศรี อยุธยา” แล้ว


ตอบคาถามข้อ ๔๙ – ๕๐
ก. ประวัติการก่อสร้าง ข. สิ่ งก่อสร้างในพระราชวัง
ค. ที่ต้ งั ง. ความสาคัญทางประวัติศาสตร์
จ. การอนุรักษ์และการบูรณะ
๔๙. เค้าโครงรายงานทางวิชาการข้างต้นควรจัดเรี ยงตามข้อใดจึงได้ความสมบูรณ์
ก. ก ข ค ง จ ข. ค ข ก ง จ
ค. ง ค ก ข จ ง. ค ก ข ง จ

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 637
๕๐. เค้าโครงการเขียนรายงานทางวิชาการข้างต้นนี้ควรจะเพิ่มเนื้อหาข้อใดเพื่อให้รายงานสมบูรณ์ข้ ึน
ก. ประวัติจงั หวัดพระนครศรี อยุธยา
ข. การตกแต่งในบริ เวณพระราชวังบางปะอิน
ค. สภาพภูมิศาสตร์ของจังหวัดพระนครศรี อยุธยา
ง. คุณค่าทางศิลปกรรมของพระราชวังบางปะอิน
๕๑. ใช้ขอ้ ความต่อไปนี้ ตอบคาถามข้อ ๕๑ – ๕๒
๑. สังคมมีอิทธิ พลต่อการทาให้ขา้ ราชการคอรัปชัน่
๒. สังคมยกย่องวัตถุและคนร่ ารวยโดยไม่ให้ความสาคัญว่าแหล่งที่มาของความร่ ารวยนั้นจะ
เป็ นอย่างไร
๓. สิ่ งนี้เองมีผลต่อพฤติกรรมของข้าราชการซึ่ งเป็ นกลุ่มคนที่ไม่สามารถจะร่ ารวยได้จาก
เงินเดือนประจาของตน
๔. ข้าราชการบางคนต้องหันไปใช้อานาจจากระบบเป็ นเครื่ องมือในการสร้างความร่ ารวยให้แก่
ตนเอง
๕๑. ข้อความข้างต้นจัดลาดับตามข้อใดจึงจะถูกต้อง
ก. ๑ ๒ ๓ ๔ ข. ๒ ๓ ๔ ๑
ค. ๒ ๔ ๓ ๑ ง. ๔ ๓ ๑ ๒
๕๒. จากข้อความข้างต้นข้อใดเป็ นประโยคใจความหลัก
ก. ข้อ ๑ ข. ข้อ ๒ ค. ข้อ ๓ ง. ข้อ ๔
ใช้ขอ้ ความต่อไปนี้ตอบคาถามข้อที่ ๕๓ – ๕๔
ก. ชมรมวรรณศิลป์ จะจัดการสนทนาเชิงวิชาการเรื่ อง “วรรณกรรมซี ไรต์ให้อะไรกับสังคม”
ข. ในการนี้ชมรมใคร่ ขอใช้หอ้ งประชุม ๓๐๓ ในการจัดการสนทนาดังกล่าวด้วย
ค. ในวันพฤหัสบดีที่ ๒๗ พฤศจิกายน ๒๕๔๐ เวลา ๑๔.๐๐ น. ณ ห้องประชุม ๓๐๓
ง. โดยได้เชิญนายธัญญา สังขพันธานนท์ และนางจีรนันท์ พิตรปรี ชา มาเป็ นวิทยากร
๕๓. ถ้าเป็ นจดหมายของนักศึกษาถึงผูบ้ ริ หารสถาบันเพื่อขอใช้สถานที่ ข้อความในจดหมายจัด
เรี ยงลาดับตามข้อใดจึงจะได้ใจความต่อเนื่ อง
ก. ค ก ง ข ข. ค ก ข ง ค. ก ค ง ข ง. ก ง ค ข
๕๔. จดหมายข้างต้นควรเพิ่มข้อมูลเรื่ องใดมากที่สุด
ก. บอกวัตถุประสงค์ของการจัดการสนทนา
ข. บอกความรู ้ความสามารถของวิทยากร
ค. อ้างเหตุผลในการขอใช้หอ้ งประชุม
ง. เชิญผูบ้ ริ หารมาเป็ นประธานในงาน

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 638
๕๕. ข้อความต่อไปนี้เรี ยงลาดับได้ตามข้อใดถูกต้อง
ก. แก้วกุก่องส่ องทางห่างอบาย ข. ครู คือแก้วแพร้วใสกลางใจศิษย์
ค. สู่ ที่หมายด้วยแสงแห่งปั ญญา ง. ชุบชีวติ หมองหม่นจนจางหาย
ก. ก ข ค ง ข. ค ง ข ก ค. ข ง ก ค ง. ข ค ก ง
๕๖.จงเรี ยงลาดับประโยคต่อไปนี้ให้ถูกต้อง
๑. เป็ นจานวนมาก ๒ . รัฐและประชาชน ๓.ในท้องถิ่นต่างๆ ๔. ได้รวมกันจัดตั้งโรงเรี ยน
ก. ๒ ๔ ๑ ๓ ข. ๑ ๒ ๓ ๔ ค. ๒ ๓ ๔ ๑ ง. ๑ ๔ ๒ ๓
๕๗. จงเรี ยงลาดับประโยคต่อไปนี้ให้ถูกต้อง
๑ .สมัยสุ โขทัย ๒. ปรากฎตามศิลาจารึ กว่า ๓.ชาวสุ โขทัยไม่นิยมความเป็ นทาส
๔. เมื่อตรวจดูตามประวัติทาส ๕. เห็นมีส่วนใหญ่ทางกรุ งศรี อยุธยา
ก. ๑ ๓ ๒ ๔ ๕ ข. ๔ ๒ ๑ ๓ ๕ ค. ๒ ๑ ๓ ๔ ๕ ง. ๕ ๔ ๓ ๒ ๑
๕๘. จงเรี ยงลาดับประโยคต่อไปนี้ให้ถูกต้อง
๑.จากผลการศึกษาค้นคว้า ๒. ดังกล่าว
๓.การศึกษามีค่ายิง่ ต่อการพัฒนาเศรษฐกิจของชาติ ๔. จะเห็นได้วา่
ก. ๑ ๒ ๓ ๔ ข. ๑ ๒ ๔ ๓ ค. ๔ ๓ ๑ ๒ ง. ๒ ๓ ๔ ๑
๕๙. จงเรี ยงลาดับประโยคต่อไปนี้ให้ถูกต้อง
๑. ทุกคนควรหลีกเลี่ยง ๒. เพราะว่า ๓. ติดเป็ นนิสัยได้เร็ ว ๔. การพนัน
ก. ๑ ๒ ๓ ๔ ข. ๒ ๓ ๔ ๑ ค. ๔ ๒ ๓ ๑ ง. ๔ ๑ ๒ ๓
๖๐. จงเรี ยงลาดับประโยคต่อไปนี้ให้ถูกต้อง
๑. คือคิดว่าจะได้ที่ไหนมาใช้ให้พอ ๒. ในเวลาก่อนแต่งงานไซร้
๓. เมื่อแต่งงานแล้วมักจะต้องคิดถึงมากที่สุด ๔. หญิงชายคู่ใดไม่ได้คิดถึงเรื่ องเงินเลย
ก. ๒ ๔ ๓ ๑ ข. ๔ ๒ ๓ ๑ ค. ๔ ๒ ๑ ๓ ง. ๑ ๒ ๓ ๔
๖๑. จงเรี ยงลาดับประโยคต่อไปนี้ให้ถูกต้อง
๑. การอบรมบ่มนิสัยนั้น ๒. เพียงแค่วนั ละนาทีก็ดีถม
๓. อาจเป็ นเพราะอบรมหนึ่งนาที ๔. ศิษย์จะดีมีชื่อหรื อล่มจม
ก. ๑ ๓ ๒ ๔ ข. ๑ ๒ ๔ ๓ ค. ๔ ๑ ๒ ๓ ง. ๓ ๑ ๒ ๔
๖๒. จงเรี ยงลาดับประโยคต่อไปนี้ให้ถูกต้อง
๑. เพื่อยังชีวติ ให้อยูร่ อด ๒. คนเรามีปัญหาชีวิตเกิดขึ้นได้เสมอ
๓. ต้องขบคิดแก้ไขต้องสู ้อยูเ่ สมอ ๔. บางครั้งก็เกิดขึ้นอย่างไม่รู้ตวั
ก. ๑ ๒ ๔ ๓ ข. ๑ ๓ ๔ ๒ ค. ๔ ๒ ๓ ๑ ง. ๒ ๔ ๓ ๑

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 639
๖๓. จงเรี ยงลาดับประโยคต่อไปนี้ให้ถูกต้อง
๑. เพราะยังไม่อยากตาย ๒. ความกลัวที่สุดของมนุษย์คือความตาย
๓. เมื่อพูดถึงความตายต่างก็เกิดทุกข์ใจ ๔. ทั้งที่รู้วา่ ไม่มีใครหนีพน้
ก. ๑ ๒ ๓ ๔ ข. ๔ ๓ ๒ ๑ ค. ๑ ๓ ๔ ๒ ง. ๓ ๑ ๔ ๒
๖๕. จงเรี ยงลาดับประโยคต่อไปนี้ให้ถูกต้อง
๑.การไปมาในกรุ งเทพฯ ๒. สมัยนั้น ๓. ถนนหนทางยังมีนอ้ ย
๔. รถก็มีแต่ของหลวง ๕. ยังใช้เรื อกันเป็ นพื้น ๖. ไปไหนจึงต้องอาศัยเรื อ
ก. ๑ ๓ ๒ ๔ ๕ ๖ ข. ๕ ๔ ๓ ๒ ๑ ๖ ค. ๒ ๓ ๑ ๕ ๔ ๖ ง. ๑ ๕ ๒ ๓ ๔ ๖
๖๖. จงเรี ยงลาดับประโยคต่อไปนี้ให้ถูกต้อง
๑. ทั้งที่ดินและเงินทุน ๒. จึงได้เข้าหักล้างถางป่ าโดยพลการ ๓. เนื่ องจากราษฎรเหล่านี้ขาด
๔. ซึ่งเป็ นการกระทาที่ผดิ กฎหมาย ๕. ราษฎรดังกล่าวนี้
ก. ๓ ๑ ๕ ๒ ๔ ข. ๑ ๓ ๔ ๒ ๕ ค. ๒ ๔ ๓ ๑ ๕ ง. ๕ ๑ ๒ ๓ ๔
๖๗. ข้อความใดอยูล่ าดับที่ ๑
ก. ทั้งในรู ปแบบการลงทุนโดยเฉพาะการลงทุนในหุ น้
ข. ประเทศสมาชิกอาเซียนทุกประเทศ
ค. เพื่อเปิ ดโอกาสให้ชาวต่างชาติมาลงทุน
ง. ได้ดาเนินนโยบายเป็ นทางการเงิน
๖๘. ข้อความใดอยูล่ าดับที่ ๓
ก. ช่วยให้เกิดประสิ ทธิ ภาพในการสารวจ ข. การจัดทาทะเบียนแหล่งชุมชนโบราณ
ค. ในการอนุรักษ์และพัฒนาชุมชนโบราณ ง. และเป็ นประโยชน์ในต่อการวางแผนดาเนินงาน
๖๙. ข้อความใดอยูล่ าดับที่ ๒
ก. ส่ วนเครื่ องหมายอัญประกาศปิ ด
ข. ถ้าข้อความในเครื่ องหมายอัญประกาศมีความยาวหลายย่อหน้า
ค. ให้ใส่ ไว้เฉพาะย่อหน้าสุ ดท้าย
ง. ให้ใส่ เครื่ องหมายอัญประกาศเปิ ดไว้ขา้ งหน้าย่อหน้า
๗๐. ข้อความใดอยูล่ าดับที่ ๓
ก. เพื่อให้แอลกอฮอล์บางส่ วน ถูกขับออกมาทางลมหายใจ เหงื่อ และปั สสาวะ
ข. การดื่มสุ ราอย่างถูกต้อง จึงควรดื่มช้าๆ
ค. ถ้าตับไม่ดี โอกาสที่จะเกิดอันตรายเพราะเหล้าก็มากกว่าคนปกติ
ง. ตับเป็ นอวัยวะสาคัญที่จะช่วยกรองแอลกอฮอล์

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 640
๗๑. ข้อความใดอยูล่ าดับที่ ๓
ก. เคยมีความเจริ ญทั้งทางด้านอารยธรรม และศิลปกรรม ตลอดจนศาสนา
ข. ควบคู่กบั ประวัติศาสตร์ และความเจริ ญของกรุ งสุ โขทัย
ค. จังหวัดกาแพงเพชรเป็ นจังหวัดที่มีประวัติศาสตร์ มาช้านาน
ง. ซึ่ งปั จจุบนั ร่ องรอยแห่ งความเจริ ญในด้านต่างๆ ยังปรากฏให้เห็นอยู่
๗๒. ข้อความใดอยูล่ าดับที่ ๒
ก. การใช้สิ่งของ เครื่ องมือ เครื่ องใช้ ทุกอย่างที่ให้บริ การ
ข. ทั้งนี้ เพื่อให้สิ่งของ เครื่ องใช้เหล่านี้ เป็ นประโยชน์แก่เรามากที่สุด
ค. และให้เป็ นประโยชน์แก่เรานั้น
ง. จาเป็ นที่ผใู ้ ช้จะต้องเข้าใจและรู ้จกั ใช้ให้เป็ น
๗๓. ข้อความใดอยูล่ าดับที่ ๒
ก. และอ่านด้วยวิธีการที่เหมาะสม
ข. ผูอ้ ่านต้องกาหนดเป้ าหมายในการอ่าน
ค. โดยใช้เวลาและแรงงานน้อยที่สุด
ง. เพื่อให้บรรลุเป้ าหมายมากยิง่ ขึ้น
๗๔. ข้อความใดอยูล่ าดับที่ ๔
ก. เป็ นเหตุให้พืชผลได้รับความเสี ยหายโดยสิ้ นเชิง
ข. ในอัตราไม่เกินร้อยละ ๓๐ ของพื้นที่เสี ยหาย
ค. จะได้รับความช่วยเหลือพันธุ์พืชอายุส้ นั เพื่อปลูกทดแทน
ง. เกษตรกรที่จะได้รับความช่วยเหลือจะต้องเป็ นผูป้ ระสบภัยธรรมชาติ
๗๕. ข้อความใดอยูล่ าดับที่ ๑
ก. รัฐกับสถาบันพระมหากษัตริ ยจ์ ึงเป็ นสิ่ งที่แนบแน่นมิอาจแยกออกจากกันได้
ข. อันให้ความหมายตรงกันว่า รัฐเป็ นสมบัติของเทพ
ค. รัฐ ตามความเข้าใจของคนโบราณถือเป็ นส่ วนหนึ่งของพระมหากษัตริ ย ์
ง. ดังจะเห็นได้จากไตรภูมิพระร่ วง
๗๖. ข้อความใดอยูล่ าดับที่ ๔
ก. ในอดีตประชาชนชาวไทยยังเคยชินกับการปกครองแบบมีผคู ้ อยชี้นา
ข. ซึ่ งทาให้ประชาชนไม่มีโอกาสในการคิด และการตัดสิ นใจนอกจากคาสัง่
ค. แต่การปกครองแบบประชาธิ ปไตยถือว่าประชาชนมีส่วนร่ วมในการปกครอง
ง. ทาให้ตอ้ งใช้เวลาอีกหลายปี กว่าประชาชนส่ วนใหญ่ของประเทศจะเข้าใจ

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 641
๗๗. ข้อความใดอยูล่ าดับที่ ๓
ก. กาหนดไว้เป็ นส่ วนหนึ่งอย่างชัดเจน
ข. มีสอนอยูท่ วั่ ไปไม่เฉพาะพระพุทธศาสนา
ค. การสอนให้ละเว้นความชัว่ และทาความดี
ง. แต่การสอนให้ชาระจิตใจให้สะอาดทางพระพุทธศาสนา
๗๘. ข้อความใดอยูล่ าดับที่ ๒
ก. นอกจากการใช้คาพากย์และคาเจรจาดาเนินเรื่ องแล้ว
ข. การแสดงโขนของกรมศิลปกรแต่โบราณ
ค. สาหรับใช้บรรเลงประกอบอิริยาบถและความรู ้สึก
ง. ต้องประกอบด้วยวงดนตรี ชนิดหนึ่งเรี ยกว่า วงปี่ พากย์
๗๙. ข้อความใดอยูล่ าดับที่ ๓
ก. เพื่อเป็ นที่เสด็จประภาส
ข. วังพญาไทสร้างขึ้นในสมัยรัชการที่ ๕
ค. ตลอดจนประกอบราชพิธีจรดพระนังคัลแรกนาขวัญ
ง. และใช้ที่ในบริ เวณวังเป็ นที่เพาะปลูกธัญพืชต่างๆ
๘๐. ข้อความใดอยูล่ าดับที่ ๒
ก. การปลูกฝังให้คนไทยมีความรักชาติ
ข. การที่สร้างให้ประเทศมีความเจริ ญก้าวหน้า มีความมัน่ คงทางเศรษฐกิจ
ค. ภูมิใจในชาติ และอุทิศตนทางานเพื่อชาติ
ง. โดยอุดมการณ์ท้ งั สามประการ ควรปลูกฝังตั้งแต่เด็กๆ และในสถานศึกษา
๘๑. ข้อความใดอยูล่ าดับที่ ๔
ก. โดยการเปลี่ยนแปลงความเห็นซึ่ งกันและกัน
ข. วิธีฝึกอบรมพยายามที่จะสร้างบรรยากาศ แห่งความสมานฉันท์
ค. ลักษณะเด่นอีกประการหนึ่งของการฝึ กอบรมคือ
ง. ระหว่างผูร้ ับการฝึ กอบรมกับผูอ้ ภิปราย
๘๒. จงเรี ยงลาดับประโยคให้ถูกต้อง
๑. เรานักเรี ยนครู เพียรสอนแทบตาย ๒. สารพัดฝึ กได้ดงั ใจหมาย
๓. เกิดเป็ นคนเอาดีไม่ได้ก็อายลิง ๔. พวกลิงค่างกลางป่ าจับมาหัด
ก. ๔,๓,๒,๑ ข. ๔,๒,๑,๓ ค. ๓,๑,๔,๒ ง. ๑,๔,๓,๒
๘๓. จงเรี ยงลาดับประโยคให้ถูกต้อง
๑. จากชนกลุ่มน้อยค่อยเติบใหญ่ ๒. บรรพชนก่อร่ างสร้างแผ่นดิน

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 642
๓. กว่าจะได้เป็ นเขตประเทศถิ่น ๔. หลัง่ เลือดริ นรักษามาเนิ่ นนาน
ก. ๑ ๒ ๓ ๔ ข. ๒ ๑ ๓ ๔ ค. ๓ ๑ ๒ ๔ ง. ๑ ๓ ๒ ๔
๘๔. จงเรี ยงลาดับประโยคให้ถูกต้อง
๑. เพื่อให้บรรลุวตั ถุประสงค์ของหลักสู ตรในที่สุด ๒. โดยการสอนด้วยวิธีที่หลากหลาย
๓. ครู เป็ นผูส้ นับสนุนผูเ้ รี ยนให้มีความรู ้และทักษะ ๔. ครู ไม่ใช่ผสู ้ อนที่ตอ้ งสอนตามตารา
ก. ๓ ๒ ๑ ๔ ข. ๓ ๔ ๒ ๑ ค. ๓ ๔ ๑ ๒ ง.๔ ๓ ๑ ๒
๘๕. จงเรี ยงประโยคต่อไปนี้ ให้ถูกต้อง
๑. ตกเย็นงดอาการ ๒. ตอนสายกินข้าว
๓. ตอนเช้าดื่มกาแฟ ๔. บ่ายๆมาไม่ง่วงนอน
ก. ๓ ๒ ๑ ๔ ข. ๓ ๔ ๒ ๑ ค. ๓ ๒ ๔ ๑ ง. ๔ ๓ ๑ ๒
๘๖. จงเรี ยงให้ได้ประโยคที่ถูกต้องเหมาะสม
๑. ที่มีแก่ใจ ๒. เองนี่มนั ใจดีจริ งว่ะ ๓. หยุดรับคนแก่อย่างข้า ๔. เออ
ก. ๒ ๑ ๓ ๔ ข. ๔ ๒ ๑ ๓ ค. ๔ ๑ ๓ ๒ ง. ๔ ๓ ๒ ๑
๘๗. เสี ยงชายชราหัวเราะแล้วพูดว่า “ข้าไม่สูบยาหรอกโว้ย เองสู บของเองได้ตามใจ” ผมจึงพูดว่า
๑. ที่คุณลุงไม่ชอบ ๒. ผมต้องขอโทษด้วย ๓. เหมือนกัน ๔. ผมก็ยงั ไม่สูบ
ก. ๒ ๑ ๓ ๔ ข. ๔ ๓ ๒ ๑ ค. ๒ ๑ ๔ ๓ ง. ๒ ๓ ๑ ๔
๘๘. จงเรี ยงให้ได้ประโยคที่ถูกต้องเหมาะสม
๑. จะต้องตายอย่างผี ๒. นั้นบ่งว่า ๓. ดวงชะตาของคุณ ๔. ไม่มีญาติ
ก. ๑ ๔ ๓ ๒ ข. ๔ ๓ ๒ ๑ ค. ๓ ๑ ๒ ๔ ง. ๓ ๒ ๑ ๔
๘๙. จงเรี ยงให้ได้ประโยคที่ถูกต้องเหมาะสม
๑. ในกระเป๋ าถือที่วางไว้ในเคบิน ๒. เพื่อจะอาบแดดต่อ
๓. จิมมี่เอากาไลเข้าไปเก็บ ๔. แล้วกลับมาที่ดาดฟ้าเรื ออีกหนหนึ่ง
ก. ๓ ๔ ๒ ๑ ข. ๔ ๒ ๓ ๑ ค. ๓ ๑ ๔ ๒ ง. ๒ ๓ ๑ ๔
๙๐. รายงานเรื่ อง “ลาตัด ลมหายใจสุ ดท้ายของเพลงพื้นบ้าน” ควรเรี ยงลาดับโครงเรื่ องตามข้อใด
ก. ความเป็ นมาและลักษณะทัว่ ไปของลาตัด
ข. แนวทางการอนุรักษ์เพลงลาตัด
ค. สาเหตุการผันเปลี่ยนของวัฒนธรรมเพลงพื้นบ้าน
ง. บทบาทของเพลงลาตัดต่อสังคมไทย
ก. ค. ง. ก. ข. ข. ง. ค. ข. ก. ค. ก. ง. ค. ข. ง. ค. ก. ข. ง.
๙๑. ข้อใดเรี ยงลาดับได้ถูกต้องตามระเบียบวาระการประชุม
ก. “วันนี้คุณวิภาดาลาประชุมเนื่ องจากป่ วย ได้มอบหมายให้คุณนิรันดร์ เข้าประชุมแทนครับ

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 643
ข. “ขอให้ที่ประชุมช่วยกันพิจารณาเสนอชื่อวิทยากรทีจะบรรยายหัวข้อต่างๆ ตามกาหนดการที่
ร่ างมาด้วยครับ”
ค. “ถ้าไม่มีใครขอแก้ไขหรื อเพิม่ เติมข้อความอะไรอีกแล้ว ก็ขอรับรองรายงานการประชุมครั้งที่
1/2558 นี้ดว้ ยค่ะ
ง. “ขอให้ประธานอนุ กรรมการแต่ละฝ่ ายเตรี ยมสรุ ปความก้าวหน้าในการดาเนิ นงานเพื่อเสนอที่
ประชุมครั้งต่อไปด้วยนะครับ”
ก. ก ข ค ง ข. ก ค ข ง ค. ค ข ก ง ง. ค ก ง ข
๙๒. ข้อความต่อไปนี้ขอ้ ใดเหมาะจะเป็ นประโยคแรกและประโยคสุ ดท้ายของการพูด
ก. ขอขอบใจและแสดงความยินดีอย่างยิง่ กับทุกคนที่ได้มาวันนี้
ข. การทาประโยชน์แก่สหประชาชาติและทาความดีเป็ นสิ่ งที่ไม่ใช่เรื่ องง่าย
ค. ที่วา่ ทาดีน้ ีเป็ นสิ่ งที่ยากเพราะการทาดีน้ ี ตอ้ งมีแผน ต้องคิดมา
ง. ขอทุกคนจงรับความสุ ขและความดีโดยพลังของการกุศลที่ได้ทา ขอจงประสบความสาเร็ จทุก
ประการ
ก. ข้อ ข และ ง ข. ข้อ ก และ ค ค. ข้อ ข และ ค ง. ข้อ ค
๙๓. คาประพันธ์จดั ลาดับวรรคได้ถูกต้องและเหมาะสมที่สุดคือข้อใด
ก. เขาตะคอกเพราะ “อิฉนั มันยากไร้” ข. ขึ้นอาเภอวิตกอกหวัน่ หวัน่
ค. หญิงชราขาสั่นงันงันงก ง. ยกมือไว้ปลกงกงกงัน
ก. ก ง ข ค ข. ข ค ง ก ค. ค ง ข ก ง. ค ข ง ก
๙๔. ข้อความต่อไปนี้จดั เรี ยงลาดับใหม่ตามข้อใดจึงจะเป็ นคาประพันธ์ ประเภทกาพย์
ก. จะหาผูใ้ ด ข. เดินโดยวิถี ค. ศรัทธามัน่ มุ่งทาดี
ง. ทัว่ แสนโกฏิจกั รวาลไกล จ. เสมอเหมือนนั้นไซร้ไป่ มี ฉ.อันพระพุทธองค์ทรงแสดง
ก. ก ง ค จ ข ฉ ข. ค ข ฉ ก ง จ ค. ง ก จ ค ข ฉ ง. ฉ ค ก ข จ ง
๙๕. ข้อใดเรี ยงลาดับคาพูดในการกล่าวคาปราศรัยได้ถูกต้อง
ก. กล่าวถึงความสาคัญของโอกาสที่พูด
ข. พูดถึงอดีต ปั จจุบนั และความหวังที่ดีงามในอนาคต
ค. กล่าวเน้นถึงความสาคัญของสิ่ งนั้นๆ
ง. นาเหตุการณ์สาคัญ ๆ หรื อบุคคลที่มีบทบาทเด่นๆ มากล่าวเพื่อประโยชน์ แก่ส่วนรวม
จ. กล่าวคาอวยพร
ก. ก – ข – ค – ง – จ ข. ก – ค – ง – ข – จ
ค. ค – ก – ข – ง – จ ง. ข – ง – ก – ค – จ
๙๖. ข้อใดเรี ยงลาดับองค์ประกอบของการฟังถูกต้อง

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 644
ก. ตีความ ข. เข้าใจ ค. พุง่ ความสนใจ ง. ได้ยนิ จ. ตอบสนอง
ก. ก – ข – ค – ง – จ ข. ง – ข – ค – ก – จ
ค. ง – ค – ข – ก –จ ง. ง – ก – ข – ค – จ
ใช้ขอ้ ความต่อไปนี้ตอบคาถามข้อที่ ๙๗
ก. แลล้วนจะน่าสยดสยอน ข. พวกพลทุกคนคาแหง
ค. พร้อมเพื่อผจญสงคราม ง. เสื อสิ งห์วงิ่ หลาม
จ. หาญเหิมฤทธิแรง ฉ. พารณคารณคาราม
๙๗. ข้อความข้างต้นสามารถลาดับตามข้อใดให้ถูกต้องตามฉันทลักษณ์
ก. ก ข ค ง จ ฉ ข. ข จ ค ฉ ง ก
ค. ค ง ข จ ฉ ก ง. ฉ ค ง จ ข ก
๙๘. จงเรี ยงลาดับข้อความต่อไปนี้ให้ถูกต้อง
๑. อันสังขารทั้งหลายมีแต่เสื่ อมไปเป็ นธรรมดา
๒. เราตถาคตขอเตือนท่าน
๓. ภิกษุท้ งั หลาย
๔. ขอให้ท่านทั้งหลายจงบาเพ็ญกุศลให้เต็มที่
๕. ด้วยความไม่ประมาทเถิด
ก. ๔ ๕ ๓ ๒ ๑ ข. ๑ ๒ ๓ ๔ ๕
ค. ๒ ๓ ๑ ๔ ๕ ง. ๓ ๒ ๑ ๔ ๕
๙๙. จงเรี ยงลาดับข้อความต่อไปนี้ให้ถูกต้อง
๑. ในรายการเพื่อชีวติ ในหัวข้อเรื่ องที่วา่ ศาสนาคือยาเสพติด
๒. มีท้ งั พระภิกษุ อาจารย์และคุณหมอ
๓.ผมมีโอกาสได้เข้าฟังอภิปรายที่เชียงใหม่
๔. ผมเองฟังแล้วก็รู้สึกว่ามีเหตุผลดี
ก. ๑ ๒ ๓ ๔ ข. ๔ ๓ ๒ ๑ ค. ๓ ๑ ๒ ๔ ง. ๒ ๑ ๓ ๔
๑๐๐. จงเรี ยงประโยคต่อไปนี้
๑. เพื่อแลกกับรัฐธรรมนู ญ
๒. ได้เสี ยเลือดเนื้ อและชีวติ เป็ นอันมาก
๓. วันมหาวิปโยคนี้คือ
๔. วันที่คณะนิสิต นักศึกษาและนักเรี ยน
ก. ๑ ๓ ๒ ๔ ข. ๒ ๑ ๓ ๔ ค. ๓ ๔ ๒ ๑ ง. ๓ ๒ ๔ ๑

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 645

เฉลยแนวข้ อสอบความรู้ความสามารถทั่วไปด้ านภาษาไทย ชุดที่ ๗

๑. เฉลย ตอบข้ อ ค. ข.,ก.,ค.,และ ง.


๒. เฉลย ตอบข้ อ ง. ข.,ก.,ค.,และ ง.
อธิบาย การประชุม เรื่ องแจ้งให้ที่ประชุมทราบ ต้องแจ้งให้ที่ประชุมทราบทันทีเมื่อเปิ ดการ
ประชุมก่อนเข้าสู่ วาระรับรองการประชุม แล้วจึงจะรับรองรายงานการประชุมก่อน จากนั้นจึงพิจารณา
เรื่ องที่สืบเนื่องมาจากการประชุมครั้งก่อนแล้วจึงจะพิจารณาเรื่ องใหม่
๓. เฉลย ตอบข้ อ ง. ได้กล่าวถึงพวกมองโกล
อธิบาย โจทย์ให้ตอ้ งการหาข้อความที่อยูใ่ นลาดับที่ ๓ ดังนั้น เราจึงจาเป็ นต้องเรี ยงประโยคให้ได้
ความหมายครบถ้วนเสี ยก่อนในตัวเลือกทั้ง ๔ ตัวเลือกนั้น คาว่า “เป็ น” “ซึ่ง” และ “ได้” ไม่สามารถเป็ น
คาแรกของของประโยคได้คาว่า “เป็ น” เป็ นคากริ ยา ซึ่ งต้องคานามเป็ นประธานอยูข่ า้ งหน้า
คาว่า “ซึ่ง” เป็ นคาเชื่ อม ที่ตอ้ งมีขอ้ ความอยูข่ า้ งหน้าคาว่า “ได้กล่าวถึง” เป็ นคากริ ยา ซึ่งต้องคานามเป็ น
ประธานอยูข่ า้ งหน้าดังนั้น ประโยคนี้ ต้องขึ้นต้นด้วย ค. [ในบันทึกเหตุการณ์ของราชวงศ์ถงั ] สาหรับ
ข้อความต่อไป เราต้องนาข้อความอื่นๆ มาลองเรี ยงดู ดังนี้
ค. [ในบันทึกเหตุการณ์ของราชวงศ์ถงั ] ก. [เป็ นนักรบ ที่เร่ รอนไปในบริ เวณภาคตะวันออกเฉี ยงใต้ของ
ทะเลสาบใบคาล]จะเห็นว่า ข้อความ ค.-ก. ไม่มีความต่อเนื่ องกัน ความหมายเป็ นไปไม่ได้ เหลือข้อความ
ที่อาจจะเป็ นไปได้ก็คือ ค.-ข. ค.-ง.
ค. [ในบันทึกเหตุการณ์ของราชวงศ์ถงั ] ข. [ซึ่ งปกครองจีนระหว่าง พ.ศ. ๑๖๑๑ – ๑๙๔๙]
ค. [ในบันทึกเหตุการณ์ของราชวงศ์ถงั ] ง. [ได้กล่าวถึงพวกมองโกล]
ทั้ง ๒ ข้อความด้านบนนั้น มีโอกาสถูกทั้งคู่ เราก็ตอ้ งเรี ยงข้อความต่อไป
สมมุติวา่ เราเลือกข้อความ ค.-ง. เนื้ อหาที่เรี ยงต่อไป ก็ควรเป็ นดังนี้ (การยกตัวอย่าง ค.-ง. ก่อน เนื่ องจาก
ผมเห็นว่า ข้อความนี้ น่าจะไม่ช่คาตอบที่ถูกต้อง)
ค. [ในบันทึกเหตุการณ์ของราชวงศ์ถงั ] ง. [ได้กล่าวถึงพวกมองโกล] ก. [เป็ นนักรบ ที่เร่ รอนไปในบริ เวณ
ภาคตะวันออกเฉี ยงใต้ของทะเลสาบใบคาล] ข. [ซึ่ งปกครองจีนระหว่าง พ.ศ.๑๖๑๑ – ๑๙๔๙]
ในกรณี น้ ี จะเห็นได้วา่ คาขยายของคาว่า “ราชวงศ์ถงั ” คือ [ซึ่ งปกครองจีนระหว่าง พ.ศ.๑๖๑๑ – ๑๙๔๙]
ไม่ติดอยูก่ บั คาที่ถูกขยาย การเรี ยงแบบนี้ จึงไม่ถูกต้อง
ดังนั้น เราควรเรี ยงแบบนี้
ค. [ในบันทึกเหตุการณ์ของราชวงศ์ถงั ] ข. [ซึ่ งปกครองจีนระหว่าง พ.ศ.๑๖๑๑ – ๑๙๔๙] ง. [ได้กล่าวถึง
พวกมองโกล] ก. [เป็ นนักรบ ที่เร่ รอนไปในบริ เวณภาคตะวันออกเฉี ยงใต้ของทะเลสาบใบคาล]

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 646

๔. เฉลย ตอบข้ อ ข. ถือเป็ นสิ่ งพิมพ์ประเภทวารสารฉบับแรกของประเทศไทย


อธิบาย ข้อนี้ โจทย์ให้ตอ้ งการหาข้อความที่อยูใ่ นลาดับที่ ๓ ดังนั้น เราจึงจาเป็ นต้องเรี ยงประโยค
ให้ได้ความหมายครบถ้วนเสี ยก่อนในตัวเลือกทั้ง ๔ ตัวเลือกนั้น คาว่า “เป็ น” “ถือเป็ น” และ “เริ่ มออก”
ไม่สามารถเป็ นคาแรกของของประโยคได้
คาว่า “เป็ น” เป็ นคาเชื่ อม ที่ตอ้ งมีขอ้ ความอยูข่ า้ งหน้า
คาว่า “ถือเป็ น” เป็ นคากริ ยา ซึ่ งต้องมีคานามเป็ นประธานอยูข่ า้ งหน้า
คาว่า “เริ่ มออก” เป็ นคากริ ยา ซึ่ งต้องมีขอ้ ความมาก่อนหน้านี้
ดังนั้น ประโยคนี้ ต้องขึ้นต้นด้วย ค. [ราชกิจจานุเบกษา เป็ นคาสันสฤต แปลว่า หนังสื อเพ่งดูราชกิจ]
สาหรับข้อความต่อไป เราต้องนาข้อความอื่นๆ มาลองเรี ยงดู ดังนี้
ค. [ราชกิจจานุเบกษาเป็ นคาสันสฤต แปลว่า หนังสื อเพ่งดูราชกิจ] ก. [เป็ นนามพระราชทานโดยรัชกาลที่
๔]ค. [ราชกิจจานุ เบกษาเป็ นคาสันสฤต แปลว่า หนังสื อเพ่งดูราชกิจ] ข. [ถือเป็ นสิ่ งพิมพ์ประเภทวารสาร
ฉบับแรกของประเทศไทย]
ค. [ราชกิจจานุเบกษาเป็ นคาสันสฤต แปลว่า หนังสื อเพ่งดูราชกิจ] ง. [เริ่ มออกฉบับแรกเมื่อวันที่ ๑๕
มีนาคม พ.ศ. ๒๔๐๑]ทั้ง ๓ ข้อความนั้น เมื่ออ่านดูแล้ว เห็นว่า ข้อความ ค.–ง. ไม่ใช่คาตอบที่ถูก เพราะ มี
คาบอกเวลาอยู่ โดยสานวนการเขียนภาษาไทยแล้ว คาบอกเวลาอย่างนี้ ถ้าไม่อยูห่ น้าประโยค ก็จะอยูท่ า้ ย
ประโยคดังนั้น คาต่อมา ควรจะเป็ นคาว่า “เป็ น” หรื อ “ถือเป็ น” ซึ่ งมีความหมายคล้ายคลึงกันมาก อย่างไร
ก็ดี คาว่า “ถือเป็ น” น่าจะถูกต้องกว่า เราก็เรี ยงข้อความทั้งหมดดู ดังนี้
ค. [ราชกิจจานุเบกษาเป็ นคาสันสฤต แปลว่า หนังสื อเพ่งดูราชกิจ] ข. [ถือเป็ นสิ่ งพิมพ์ประเภทวารสาร
ฉบับแรกของประเทศไทย] ก. [เป็ นนามพระราชทานโดยรัชกาลที่ ๔] ง. [เริ่ มออกฉบับแรกเมื่อวันที่ ๑๕
มีนาคม พ.ศ.๒๔๐๑]ค. [ราชกิจจานุเบกษาเป็ นคาสันสฤต แปลว่า หนังสื อเพ่งดูราชกิจ] ก. [เป็ นนาม
พระราชทานโดยรัชกาลที่ ๔] ข. [ถือเป็ นสิ่ งพิมพ์ประเภทวารสารฉบับแรกของประเทศไทย] ง. [เริ่ มออก
ฉบับแรกเมื่อวันที่ ๑๕มีนาคม พ.ศ.๒๔๐๑]การเรี ยงทั้ง ๒ แบบข้างต้นนั้น ถ้าพูดในทางภาษาศาสตร์ แล้ว
เราสามารถเรี ยงได้ท้ งั สองแบบ ตามที่คนเขียนต้องการแต่ในการทาข้อสอบนั้น ผมเห็นว่า การเรี ยงแบบ
สุ ดท้ายถูกต้องกว่า เพราะข้อความที่วา่ [เริ่ มออกฉบับแรกเมื่อวันที่ ๑๕ มีนาคม พ.ศ.๒๔๐๑] จะต้องอยูต่ ิด
กับ “สิ่ งพิมพ์” เพราะ เป็ นคาขยายของคานั้น
๕. เฉลยตอบข้ อ ค. ตนจะต้องพ้นจากตาแหน่งหน้าที่ราชการไป
อธิบาย ข้อนี้ โจทย์ให้ตอ้ งการหาข้อความที่อยูใ่ นลาดับที่ ๒ ดังนั้น เราอาจจะไม่จาเป็ นต้องเรี ยง
ประโยคในครบก็ได้ เพราะ ถ้าหาข้อความแรกได้แล้ว ก็น่าจะหาข้อความที่สองได้เอง
เมื่ออ่านตัวเลือกแล้ว จะเห็นว่า ข้อ ข. ค. ง. ไม่สามารถเป็ นข้อความแรกได้ ดังนั้น ข้อความแรกใน
ประโยคนี้ก็คือ ก. [ผูม้ ีอานาจแต่งตั้ง ซึ่ งรู ้อยูแ่ ล้วว่า]สาหรับข้อความที่ตามมานั้นต้องเป็ นข้อ ค. เพราะ

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 647
ความหมายบังคับไว้อย่างนั้น ดังนั้น โจทย์ขอ้ นี้ สามารถเรี ยงลาดับได้ ดังนี้[ผูม้ ีอานาจแต่งตั้ง ซึ่ งรู ้อยูแ่ ล้ว
ว่า] ค. [ตนจะต้องพ้นจากตาแหน่งหน้าที่ราชการไป]
ง. [ไม่พึงแต่งตั้งข้าราชการพลเรื อนไว้ล่วงหน้า] ข. [ไม่วา่ ด้วยเหตุใดๆ ก็ตาม]
๖. เฉลยตอบข้ อ ค. ยาปฏิชีวนะเป็ นสารประกอบทางเคมีใดๆ ที่ผลิตหรื อสร้างขึ้นโดยจุลชีพ
อธิบาย ข้อนี้ โจทย์ให้ตอ้ งการหาข้อความที่อยูใ่ นลาดับที่ ๔ ดังนั้น เราจึงจาเป็ นต้องเรี ยงประโยค
ให้ได้ความหมายครบถ้วนเสี ยก่อนอย่างไรก็ดี ถ้ามีเวลาน้อยและต้องการ “เดา” ผมเห็นว่า ข้อ ข. นั้น
น่าจะมีโอกาสเป็ นข้อความสุ ดท้ายมากที่ เพราะ มีคาว่า “เป็ นต้น” อยูท่ า้ ยประโยค การเขียนภาษาไทย
มักจะเป็ นแบบนี้ อย่างไรก็ดี เราลองมาเรี ยงข้อความดูในตัวเลือกทั้ง ๔ตัวเลือกนั้น คาว่า “ซึ่ง” “เช่น” และ
“หรื อ” ไม่สามารถเป็ นคาแรกของของประโยคได้คาว่า “ซึ่ง” เป็ นคาเชื่อม ที่ตอ้ งมีขอ้ ความอยูข่ า้ งหน้าคา
ว่า “เช่น” เป็ นคาที่จะยกตัวอย่าง ดังนั้น จะต้องมีขอ้ ความอยูก่ ่อนหน้านี้คาว่า “หรื อ” เป็ นเชื่อม ซึ่งต้องมี
ข้อความมาก่อนหน้านี้ ดงั นี้ ข้อ ค. จึงจะต้องเป็ นข้อความแรก และประโยคนี้ ควรเรี ยง ดังนี้ค. [ยา
ปฏิชีวนะเป็ นสารประกอบทางเคมีใดๆ ที่ผลิตหรื อสร้างขึ้นโดยจุลชีพ] ก. [ซึ่ งสามารถยังยั้งการ
เจริ ญเติบโตของจุลชีพอีกกลุ่มหนึ่ง] ง. [หรื อไปขัดขวาง หรื อไปทาลายจุลชีพกลุ่มนั้นๆ] ข. [เช่น ยากลุ่ม
เพนนิซิลลิน เดตราซัยคลีน เป็ นต้น]
๗. เฉลยตอบข้ อ ค. และให้เป็ นประโยชน์แก่เรานั้น
อธิบาย ข้อนี้ โจทย์ให้ตอ้ งการหาข้อความที่อยูใ่ นลาดับที่ ๒ ดังนั้น เราอาจจะไม่จาเป็ นต้องเรี ยง
ประโยคในครบก็ได้ เพราะ ถ้าหาข้อความแรกได้แล้ว ก็น่าจะหาข้อความที่สองได้เอง
ในตัวเลือกทั้ง ๔ ตัวเลือกนั้น คาว่า “ทั้งนี้” “และ” ไม่สามารถเป็ นคาแรกของของประโยคได้
เมื่อพิจารณาระหว่างข้อ ก. กับ ข้อ ง. เราสามารถตัดสิ นได้วา่ ข้อ ก. ข้อความลาดับแรก เหลือให้เป็ น
ปัญหาให้เลือกคือ ข้อใดควรจะเป็ นข้อความในลาดับที่ ๒
เมื่อเราอ่านข้อความในคาตอบแล้ว จะเห็นว่า ข้อ ข. ต้องเป็ นข้อความสุ ดท้าย เหลือให้เราเลือกคือ ข้อ ค.
กับ ข้อ ง. การเรี ยงข้อความดังนี้
แบบที่ ๑
ก. [การใช้สิ่งของ เครื่ องมือ เครื่ องใช้ ทุกอย่างที่ให้บริ การ] ค. [และให้เป็ นประโยชน์แก่เรานั้น] ง.
[จาเป็ นที่ผใู ้ ช้จะต้องเข้าใจและรู ้จกั ใช้ให้เป็ น]
แบบที่ ๒
ก. [การใช้สิ่งของ เครื่ องมือ เครื่ องใช้ ทุกอย่างที่ให้บริ การ] ง. [จาเป็ นที่ผใู ้ ช้จะต้องเข้าใจและรู ้จกั ใช้ให้
เป็ น] ค. [และให้เป็ นประโยชน์แก่เรานั้น]
จะเห็นว่า ข้อความในแบบที่ 1 อ่านแล้วราบรื่ น ไม่สะดุดอย่างแบบที่ ๒ ดังนั้น ในข้อนี้

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 648

๘. เฉลยตอบข้ อ ก. และอ่านด้วยวิธีการที่เหมาะสม
อธิบาย โจทย์ให้ตอ้ งการหาข้อความที่อยูใ่ นลาดับที่ ๒ ดังนั้น เราอาจจะไม่จาเป็ นต้องเรี ยงประโยค
ในครบก็ได้ เพราะ ถ้าหาข้อความแรกได้แล้ว ก็น่าจะหาข้อความที่สองได้เอง
ในตัวเลือกทั้ง ๔ ตัวเลือกนั้น คาว่า “และ”, “โดย”, “เพื่อ” ไม่สามารถเป็ นคาแรกของของประโยคได้
ดังนั้น ข้อความแรกคือ ข. ผูอ้ ่านต้องกาหนดเป้ าหมายในการอ่าน เรามาลองเรี ยงข้อความดู
แบบที่ ๑ ข. [ผูอ้ ่านต้องกาหนดเป้ าหมายในการอ่าน] ก. [และอ่านด้วยวิธีการที่เหมาะสม]
แบบที่ ๒ ข. [ผูอ้ ่านต้องกาหนดเป้ าหมายในการอ่าน] ค. [โดยใช้เวลาและแรงงานน้อยที่สุด]
แบบที่ ๓ ข. [ผูอ้ ่านต้องกาหนดเป้ าหมายในการอ่าน] ง. [เพื่อให้บรรลุเป้ าหมายมากยิง่ ขึ้น]
จะเห็นว่า ข้อความในแบบที่ 1 อ่านแล้วราบรื่ น ไม่สดุดอย่างแบบที่ ๒ กับ แบบที่ ๓ ดังนั้น ในข้อนี้
คาตอบที่ถูกต้องคือ ข้อ ก.
๙. เฉลยตอบข้ อ ข. ในอัตราไม่เกินร้อยละ ๓๐ ของพื้นที่เสี ยหาย
อธิบาย ข้อนี้ โจทย์ให้ตอ้ งการหาข้อความที่อยูใ่ นลาดับที่ ๔ ดังนั้น ต้องเรี ยงประโยคให้ครบถ้วน
เสี ยก่อน จึงจะรู ้วา่ ข้อใดถูกในตัวเลือกทั้ง ๔ ตัวเลือกนั้น คาว่า “เป็ น”, “จะ” ไม่สามารถเป็ นคาแรกของ
ของประโยคได้ ดังนั้น ข้อความแรกจะต้องเป็ นข้อ ข. หรื อ ข้อ ง. เมื่ออ่านแล้ว จะพบว่า ข้อ ง. เป็ น
ข้อความแรก เพราะ อ่านแล้วมีเนื้อหาเหมาะสมครบถ้วนกว่าข้อ ข.ลองเรี ยงข้อความดู
แบบที่ ๑ ง. [เกษตรกรที่จะได้รับความช่วยเหลือจะต้องเป็ นผูป้ ระสบภัยธรรมชาติ] ก. [เป็ นเหตุให้
พืชผลได้รับความเสี ยหายโดยสิ้ นเชิง]
แบบที่ ๒ ง. [เกษตรกรที่จะได้รับความช่วยเหลือจะต้องเป็ นผูป้ ระสบภัยธรรมชาติ] ข. [ในอัตราไม่เกิน
ร้อยละ ๓๐ ของพื้นที่เสี ยหาย]
แบบที่ ๓ ง. [เกษตรกรที่จะได้รับความช่วยเหลือจะต้องเป็ นผูป้ ระสบภัยธรรมชาติ] ค. [จะได้รับความ
ช่วยเหลือพันธุ์พืชอายุส้ นั เพื่อปลูกทดแทน]จะเห็นว่า ข้อความในแบบที่ ๑ อ่านแล้วราบรื่ น ไม่สะดุดอย่าง
แบบที่ ๒ กับ แบบที่ ๓ ดังนั้น ข้อ ก. เป็ นข้อความในลาดับที่ ๒ เรามาเรี ยงข้อความดูอีก ๑ ครั้ง
แบบที่ ๑ ง. [เกษตรกรที่จะได้รับความช่วยเหลือจะต้องเป็ นผูป้ ระสบภัยธรรมชาติ] ก. [เป็ นเหตุให้
พืชผลได้รับความเสี ยหายโดยสิ้ นเชิง] ข. [ในอัตราไม่เกินร้อยละ ๓๐ ของพื้นที่เสี ยหาย]
แบบที่ ๒ ง. [เกษตรกรที่จะได้รับความช่วยเหลือจะต้องเป็ นผูป้ ระสบภัยธรรมชาติ] ก. [เป็ นเหตุให้
พืชผลได้รับความเสี ยหายโดยสิ้ นเชิง] ค. [จะได้รับความช่วยเหลือพันธุ์พืชอายุส้ นั เพื่อปลูกทดแทน]จะ
เห็นว่า ข้อความในแบบที่ ๒ อ่านแล้วราบรื่ น ไม่สะดุดอย่างแบบที่ ๑ การเรี ยงในแบบที่ ๒ จึงถูกต้อง
ดังนั้น คาตอบที่ถูกในข้อนี้ คือ ข้อ ข

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 649

๑๐. เฉลยตอบข้ อ ค. รัฐ ตามความเข้าใจของคนโบราณถือเป็ นส่ วนหนึ่งของพระมหากษัตริ ย ์


อธิ บาย ข้อนี้ โจทย์ให้ตอ้ งการหาข้อความแรกเลย ดังนั้น เพื่อให้เป็ นการประหยัดเวลาในการทา
ข้อสอบ เมื่อเราหาข้อความแรกได้แล้ว ก็ไม่ตอ้ งไปหาข้อความที่เหลือ
เมื่ออ่านแล้ว จะเห็นว่า ข้อ ก. ข้อ ข. และ ข้อ ง. นั้น ไม่สามารถเป็ นข้อความแรกได้ โดยมีเหตุผล ดังนี้
ข้อ ก. เนื้ อหาเป็ นข้อสรุ ป
ข้อ ข. ข้อความนี้ จะต้องมีขอ้ ความมาก่อนหน้า
ข้อ ง. ข้อความนี้ จะต้องมีขอ้ ความมาก่อนหน้า ดังนั้น คาตอบที่ถูกในข้อนี้ คือ ข้อ ค.
๑๑. เฉลยตอบข้ อ ก. ในอดีตประชาชนชาวไทยยังเคยชิ นกับการปกครองแบบมีผคู ้ อยชี้นา
ข้อนี้ โจทย์ให้ตอ้ งการหาข้อความที่อยูใ่ นลาดับที่ ๔ ดังนั้น ต้องเรี ยงประโยคให้ครบถ้วนเสี ยก่อน
จึงจะรู ้วา่ ข้อใดถูก
ในตัวเลือกทั้ง ๔ ตัวเลือกนั้น คาว่า “ซึ่ง”, “แต่ ”, “ทาให้ ” ไม่สามารถเป็ นคาแรกของของประโยคได้
ดังนั้น ข้อความแรกจะต้องเป็ นข้อ ก. ลองเรี ยงข้อความดู
แบบที่ ๑ ก. [ในอดีตประชาชนชาวไทยยังเคยชินกับการปกครองแบบมีผคู ้ อยชี้นา] ข. [ซึ่งทาให้
ประชาชนไม่มีโอกาสในการคิด และการตัดสิ นใจนอกจากคาสัง่ ]
แบบที่ ๒ ก. [ในอดีตประชาชนชาวไทยยังเคยชินกับการปกครองแบบมีผคู ้ อยชี้นา] ค. [แต่การปกครอง
แบบประชาธิ ปไตย ถือว่าประชาชนมีส่วนร่ วมในการปกครอง]
แบบที่ ๓ ก. [ในอดีตประชาชนชาวไทยยังเคยชินกับการปกครองแบบมีผคู ้ อยชี้นา] ง. [ทาให้ตอ้ งใช้
เวลาอีกหลายปี กว่าประชาชนส่ วนใหญ่ของประเทศจะเข้าใจ]
จะเห็นว่า ข้อความในแบบที่ ๑ กับแบบที่ ๒มีโอกาสเป็ นไปได้ท้ งั คู่ และจากความหมายนั้น ข้อ ง. เป็ น
ข้อความสุ ดท้าย
ดังนั้น เพื่อให้ใช้เวลาในการทาข้อสอบน้อยลง เราก็เลือกข้อ ง. เป็ นข้อที่ถูกต้อง โดยไม่ตอ้ งไปเรี ยง
ข้อความให้ครบเสี ยก่อน เพราะ เป็ นการเสี ยเวลาในการทาข้อสอบ
๑๒. เฉลยตอบข้ อ ง. แต่การสอนให้ชาระจิตใจให้สะอาดทางพระพุทธศาสนา
อธิบาย ข้อนี้ โจทย์ให้ตอ้ งการหาข้อความที่อยูใ่ นลาดับที่ 3 ดังนั้น เราอาจจะต้องเรี ยงประโยคใน
ครบถ้วน จึงจะหาข้อที่ถูกต้องได้ในตัวเลือกทั้ง ๔ ตัวเลือกนั้น คาว่า “แต่ ”ไม่สามารถเป็ นคาแรกของของ
ประโยคได้ ดังนั้น ข้อความแรกจึงอาจจะเป็ น ข้อ ก. ข้อ ข. หรื อ ข้อ ค. เมื่ออ่านแล้วจะให้วา่ ข้อ ก. กับ ข้อ
ข. เป็ นข้อความแรกไม่ได้ขอ้ ก. เนื้อความไม่ชดั เจน และควรมีขอ้ ความมาก่อนหน้านี้
ข้อ ข. ก็เช่นเดียวกัน ดังนั้น ข้อความแรกคือ ข้อ ค. การสอนให้ละเว้นความชัว่ และทาความดี เรามาลอง
เรี ยงข้อความดู
แบบที่ ๑ ค. [การสอนให้ละเว้นความชัว่ และทาความดี] ก. [กาหนดไว้เป็ นส่ วนหนึ่งอย่างชัดเจน]

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 650

แบบที่ ๒ ค. [การสอนให้ละเว้นความชัว่ และทาความดี] ข. [มีสอนอยูท่ วั่ ไปไม่เฉพาะ


พระพุทธศาสนา]
แบบที่ ๓ ค. [การสอนให้ละเว้นความชัว่ และทาความดี] ง. [แต่การสอนให้ชาระจิตใจให้สะอาดทาง
พระพุทธศาสนา]จะเห็นข้อความในแบบที่ ๒อ่านแล้วราบรื่ น ไม่สะดุดอย่างแบบที่ ๑ กับแบบที่ ๓ เรามา
เรี ยงข้อความกันต่อ
แบบที่ ๑ ค. [การสอนให้ละเว้นความชัว่ และทาความดี] ข. [มีสอนอยูท่ วั่ ไปไม่เฉพาะ
พระพุทธศาสนา] ก. [กาหนดไว้เป็ นส่ วนหนึ่งอย่างชัดเจน]
แบบที่ ๒ ค. [การสอนให้ละเว้นความชัว่ และทาความดี] ข. [มีสอนอยูท่ วั่ ไปไม่เฉพาะ
พระพุทธศาสนา] ง. [แต่การสอนให้ชาระจิตใจให้สะอาดทางพระพุทธศาสนา]จะเห็นว่า จะเห็นข้อความ
ในแบบที่ ๒ อ่านแล้วราบรื่ น ไม่สะดุดอย่างแบบที่ ๑ ดังนั้น ข้อที่ถูกในข้อนี้ คือ ข้อ ง.
๑๓. เฉลย ตอบข้ อ ก. นอกจากการใช้คาพากย์และคาเจรจาดาเนินเรื่ องแล้ว
อธิบาย ข้อนี้ โจทย์ให้ตอ้ งการหาข้อความที่อยูใ่ นลาดับที่ ๒ ดังนั้น เราอาจจะไม่จาเป็ นต้องเรี ยง
ประโยคในครบก็ได้ เพราะ ถ้าหาข้อความแรกได้แล้ว ก็น่าจะหาข้อความที่สองได้เองทั้ง ๔ ตัวเลือกนั้น
คาว่า “ต้ อง”ไม่สามารถเป็ นคาแรกของของประโยคได้ ดังนั้น ข้อความแรกจึงอาจจะเป็ น ข้อ ก. ข้อ ข.
หรื อ ข้อ ค. เมื่ออ่านแล้วจะให้วา่ ข้อ ก. กับ ข้อ ข. เป็ นข้อความแรกไม่ได้ ข้อ ก. เนื้อความไม่ชดั เจน
และควรมีขอ้ ความมาก่อนหน้านี้ ข้อ ข. ก็เช่นเดียวกัน ดังนั้น ข้อความแรกคือ ข. การแสดงโขน
ของกรมศิลปกรแต่โบราณ เรามาลองเรี ยงข้อความดู
แบบที่ ๑ ข. [การแสดงโขนของกรมศิลปกรแต่โบราณ] ก. [นอกจากการใช้คาพากย์และคาเจรจา
ดาเนินเรื่ องแล้ว]
แบบที่ ๒ ข. [การแสดงโขนของกรมศิลปกรแต่โบราณ] ค. [สาหรับใช้บรรเลงประกอบอิริยาบถและ
ความรู ้สึก]
แบบที่ ๓ ข. [การแสดงโขนของกรมศิลปกรแต่โบราณ] ง. [ต้องประกอบด้วยวงดนตรี ชนิดหนึ่ง
เรี ยกว่า วงปี่ พากย์] จะเห็นว่า ข้อความในแบบที่ ๑ กับ แบบที่ ๓ มีโอกาสเป็ นไปได้ และข้อ ค. น่าจะเป็ น
ข้อความสุ ดท้าย เราต้องมาเรี ยงข้อความกันต่ออีกครั้งหนึ่ง
แบบที่ ๑ ข. [การแสดงโขนของกรมศิลปกรแต่โบราณ] ก. [นอกจากการใช้คาพากย์และคาเจรจาดาเนิน
เรื่ องแล้ว] ง. [ต้องประกอบด้วยวงดนตรี ชนิ ดหนึ่งเรี ยกว่า วงปี่ พากย์] ค. [สาหรับใช้บรรเลงประกอบ
อิริยาบถและความรู ้สึก]
แบบที่ ๓ ข. [การแสดงโขนของกรมศิลปกรแต่โบราณ] ง. [ต้องประกอบด้วยวงดนตรี ชนิดหนึ่งเรี ยกว่า
วงปี่ พากย์] ก. [นอกจากการใช้คาพากย์และคาเจรจาดาเนินเรื่ องแล้ว] ค. [สาหรับใช้บรรเลงประกอบ
อิริยาบถและความรู ้สึก]จะเห็นว่าข้อความในแบบที่ ๑ อ่านแล้วราบรื่ น ไม่สะดุดอย่างแบบที่ ๓ ดังนั้น ข้อ
ที่ถูกต้องในข้อนี้คือ ข้อ ก.

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 651

๑๔. เฉลยตอบข้ อ ก. การปลูกฝังให้คนไทยมีความรักชาติ


อธิบาย ข้อนี้ โจทย์ให้ตอ้ งการหาข้อความที่อยูใ่ นลาดับที่ ๒ ดังนั้น เราอาจจะไม่จาเป็ นต้องเรี ยง
ประโยคในครบก็ได้ เพราะ ถ้าหาข้อความแรกได้แล้ว ก็น่าจะหาข้อความที่สองได้เอง ในตัวเลือกทั้ง ๔
ตัวเลือกนั้น คาว่า “โดย” ไม่สามารถเป็ นคาแรกของของประโยคได้ ดังนั้น ข้อความแรกจึงอาจจะเป็ น ข้อ
ก. ข้อ ข. หรื อ ข้อ ค. เมื่ออ่านแล้วจะให้วา่ ข้อ ค. เป็ นข้อความแรกไม่ได้ เพราะ เนื้ อความไม่ชดั เจน และ
ควรมีขอ้ ความมาก่อนหน้านี้ เมื่ออ่านข้อ ง. แล้ว ข้อความอ้างถึง “อุดมการณ์ ท้งั สามประการ” และข้อ ง.
น่าจะเป็ นข้อความสุ ดท้าย ดังนั้น ข้อความทั้งหมดควรจะเป็ นดังนี้
ข. [การที่สร้างให้ประเทศมีความเจริ ญก้าวหน้า มีความมัน่ คงทางเศรษฐกิจ] ก. [การปลูกฝังให้คน
ไทยมีความรักชาติ] ค. [ภูมิใจในชาติ และอุทิศตนทางานเพื่อชาติ] ง. [โดยอุดมการณ์ท้ งั สามประการ ควร
ปลูกฝังตั้งแต่เด็กๆ และในสถานศึกษา] ดังนั้น ในข้อนี้ คาตอบที่ถูกต้องคือ ข้อ ก.
๑๕. เฉลย ตอบข้ อ ง. ระหว่างผูร้ ับการฝึ กอบรมกับผูอ้ ภิปราย
อธิบาย ข้อนี้ โจทย์ให้ตอ้ งการหาข้อความที่อยูใ่ นลาดับที่ ๔ ดังนั้น ต้องเรี ยงประโยคให้ครบถ้วน
เสี ยก่อน จึงจะรู ้วา่ ข้อใดถูก
ในตัวเลือกทั้ง ๔ ตัวเลือกนั้น คาว่า “โดย”, “ระหว่าง” ไม่สามารถเป็ นคาแรกของของประโยคได้ ดังนั้น
ข้อความแรกจะต้องเป็ นข้อ ข หรื อ ข้อ ค. เรามาลองเรี ยงข้อความดู
แบบที่ ๑ ข. [วิธีฝึกอบรมพยายามที่จะสร้างบรรยากาศ แห่งความสมานฉันท์] ค. [ลักษณะเด่นอีก
ประการหนึ่งของการฝึ กอบรมคือ]
แบบที่ ๒ ค. [ลักษณะเด่นอีกประการหนึ่งของการฝึ กอบรมคือ] ข. [วิธีฝึกอบรมพยายามที่จะสร้าง
บรรยากาศ แห่งความสมานฉันท์] จะเห็นว่า ข้อความในแบบที่ ๒ อ่านได้ราบรื่ น ไม่สะดุด เมื่ออ่าน
ข้อความต่อจะเห็นว่า ข้อ. ง เป็ นข้อที่ถูกต้อง
๑๖. เฉลยตอบข้ อ ข. ๓ ๑ ๔ ๒ ๕
๑๗. เฉลยตอบข้ อ ข. ๔ ๒ ๑ ๓
๑๘. เฉลยตอบข้ อ ง. ๒ ๔ ๓ ๑ ๕
๑๙. เฉลยตอบข้ อ ง. คาว่า มัทนะพาธา มาจากคาว่า มทน ซึ่ งแปลว่า ความรัก
อธิ บาย ข้อนี้ โจทย์ให้ตอ้ งการหาข้อความแรกเลย ดังนั้น เพื่อให้เป็ นการประหยัดเวลาในการทา
ข้อสอบ เมื่อเราหาข้อความแรกได้แล้ว ก็ไม่ตอ้ งไปหาข้อความที่เหลือเมื่ออ่านแล้ว จะเห็นว่า ข้อ ข้อ ข.
กับ ข้อ ค. นั้น ไม่สามารถเป็ นข้อความแรกได้ โดยมีเหตุผล ดังนี้
ข้อ ข. คาว่า “ชื่อนี้ ” แสดงว่า ต้องมีขอ้ ความมาก่อนหน้านี้ ข้อ ค. คาว่า “รวมกันแล้ว” แสดงว่า ต้องมี
ข้อความมาก่อนหน้านี้ เหลือข้อ ก. กับ ข้อ ง. ดังนี้ ก. พุทธ แปลว่า ความชอกซ้ า
ง. คาว่า มัทนะพาธา มาจากคาว่า มทน ซึ่ งแปลว่า ความรักทั้งสองข้อดังกล่าว ข้อ ง. ต้องมาก่อนข้อ ก.
ดังนั้น คาตอบที่ถูกในข้อนี้ คือ ข้อ ง.

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 652

๒๐. เฉลยตอบข้ อ ก. เป็ นตัวหมุนและขับเคลื่อนเครื่ องยนต์


อธิ บาย ข้อนี้ โจทย์ให้ตอ้ งการหาข้อความที่อยูใ่ นลาดับที่ 3 ดังนั้น เราอาจจะต้องเรี ยงประโยคใน
ครบถ้วน จึงจะหาข้อที่ถูกต้องได้
ในตัวเลือกทั้ง ๔ ตัวเลือกนั้น คาว่า “แต่ ”, “ก็” ไม่สามารถเป็ นคาแรกของของประโยคได้ ดังนั้น ข้อความ
แรกจึงอาจจะเป็ น ข้อ ค. หรื อ ข้อ ง.
เรามาลองเรี ยงข้อความดู
แบบที่ ๑ ค. [รถยนต์ ซึ่ งจาเป็ นต้องอาศัยน้ ามัน] ง. [เมื่อมาถึงยุคของน้ ามันมีราคาแพง]
แบบที่ ๒ ง. [เมื่อมาถึงยุคของน้ ามันมีราคาแพง] ค. [รถยนต์ ซึ่ งจาเป็ นต้องอาศัยน้ ามัน]
จะเห็นข้อความในแบบที่ ๒ อ่านแล้วราบรื่ น ไม่สะดุดอย่างแบบที่ ๑ เมื่อพิจารณาข้อความต่อไป
จะเห็นว่า ข้อ ก. เป็ นข้อความลาดับต่อไป ซึ่ งเป็ นข้อความลาดับที่ ๓ ตามที่โจทย์ตอ้ งการ
ดังนั้น ข้อที่ถูกในข้อนี้คือ ข้อ ก.
หมายเหตุ
ข้อความที่ถูกต้องของโจทย์เป็ นดังนี้ เมื่อมาถึงยุคของน้ ามันมีราคาแพง รถยนต์ ซึ่ งจาเป็ นต้องอาศัย
น้ ามัน เป็ นตัวหมุนและขับเคลื่อนเครื่ องยนต์ ก็ตอ้ งพลอยได้รับความกระทบกระเทือนไปด้วย
๒๑. เฉลยตอบข้ อ ง. และเป็ นประโยชน์ต่อการวางแผน
อธิบาย ข้อนี้ โจทย์ให้ตอ้ งการหาข้อความที่อยูใ่ นลาดับที่ ๔ ดังนั้น เราอาจจะต้องเรี ยงประโยคใน
ครบถ้วน จึงจะหาข้อที่ถูกต้องได้
ในตัวเลือกทั้ง ๔ ตัวเลือกนั้น คาว่า “ช่ วยให้ เกิด”, “และ” ไม่สามารถเป็ นคาแรกของของประโยคได้
ดังนั้น ข้อความแรกจึงอาจจะเป็ น ข้อ ข. หรื อ ข้อ ค.
เรามาลองเรี ยงข้อความดู
แบบที่ ๑
ข. [การจัดทาทะเบียนสัตว์น้ า] ค. [ในการอนุรักษ์และพัฒนาสายพันธุ์]
แบบที่ ๒
ค. [ในการอนุรักษ์และพัฒนาสายพันธุ์] ข. [การจัดทาทะเบียนสัตว์น้ า]
ข้อความทั้ง 2 แบบข้างต้นนั้น มีโอกาสเป็ นไปได้ท้ งั คู่ และโชคดีที่วา่ โจทย์ตอ้ งการข้อความในลาดับ
สุ ดท้าย การเรี ยงอย่างใดจึงไม่เป็ นปั ญหาต่อการค้นหาคาตอบ
สาหรับข้อความที่เหลือ ข้อความสุ ดท้ายน่าจะเป็ นข้อ ง. เรามาลองเรี ยงข้อความดูอีกครั้งหนึ่ง
แบบที่ ๑
ข. [การจัดทาทะเบียนสัตว์น้ า] ค. [ในการอนุรักษ์และพัฒนาสายพันธุ์] ก. [ช่วยให้เกิดประสิ ทธิ ภาพ] ง.
[และเป็ นประโยชน์ต่อการวางแผน]

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 653

แบบที่ ๒
ค. [ในการอนุรักษ์และพัฒนาสายพันธุ์] ข. [การจัดทาทะเบียนสัตว์น้ า] ก. [ช่วยให้เกิด
ประสิ ทธิภาพ] ง. [และเป็ นประโยชน์ต่อการวางแผน]
ดังนั้น ข้อที่ถูกในข้อนี้คือ ข้อ ง.
๒๒. เฉลยตอบข้ อ ค. ดังนั้นชาวพุทธที่ปรารถนาถวายกฐิน
อธิ บาย ข้อนี้ โจทย์ให้ตอ้ งการหาข้อความที่อยูใ่ นลาดับที่ ๓ ดังนั้น เราอาจจะต้องเรี ยงประโยคใน
ครบถ้วน จึงจะหาข้อที่ถูกต้องได้
ในตัวเลือกทั้ง ๔ ตัวเลือกนั้น คาว่า “จึง”, “ดังนั้น”, “เพราะ” ไม่สามารถเป็ นคาแรกของของ
ประโยคได้ ดังนั้น ข้อความแรกจึงเป็ น ข้อ ก. ทอดกฐินเป็ นกาลทาน เป็ นทานที่ทาได้ยาก
เรามาลองเรี ยงข้อความดู
แบบที่ ๑ ก. [ทอดกฐินเป็ นกาลทาน เป็ นทานที่ทาได้ยาก ] ข. [จึงต้องขวานขวายด้วยเจตนาอัน
แรงกล้า]
แบบที่ ๒ ก. [ทอดกฐินเป็ นกาลทาน เป็ นทานที่ทาได้ยาก ] ค. [ดังนั้น ชาวพุทธที่ปรารถนาถวาย
กฐิน]
แบบที่ ๓
ก. [ทอดกฐินเป็ นกาลทาน เป็ นทานที่ทาได้ยาก ] ง. [เพราะเวลาจากัดเพียงเดือนเดียวเท่านั้น]
จะเห็นว่า ข้อความในแบบที่ ๓ อ่านได้ราบรื่ น ไม่สะดุดอย่างแบบที่ ๑ กับ แบบที่ ๒
ข้อความต่อมาตามที่โจทย์ตอ้ งการจึงควรเป็ นข้อ ค.
หมายเหตุ
ข้อความที่ถูกต้องของโจทย์เป็ นดังนี้
ทอดกฐินเป็ นกาลทาน เป็ นทานที่ทาได้ยาก เพราะ เวลาจากัดเพียงเดือนเดียวเท่านั้น ดังนั้น ชาวพุทธที่
ปรารถนาถวายกฐิน จึงต้องขวานขวายด้วยเจตนาอันแรงกล้า
๒๓. เฉลยตอบข้ อ ก. เพราะเป็ นจิตใจที่สงบ และเยือกเย็น
อธิบาย ข้อนี้ โจทย์ให้ตอ้ งการหาข้อความที่อยูใ่ นลาดับที่ 2 ดังนั้น เราอาจจะไม่จาเป็ นต้องเรี ยง
ประโยคในครบก็ได้ เพราะ ถ้าหาข้อความแรกได้แล้ว ก็น่าจะหาข้อความที่สองได้เอง
ในตัวเลือกทั้ง 4 ตัวเลือกนั้น คาว่า “เพราะ”, “มี”, “ทาให้ ” ไม่สามารถเป็ นคาแรกของของประโยคได้
ดังนั้น ข้อความลาดับแรก คือ ข้อ ง. จิตใจสะอาด ปลอดโปร่ งจากสิ่ งรบกวนนี้สาคัญมาก ลองเรี ยง
ข้อความดู
แบบที่ ๑
ง. [จิตใจสะอาด ปลอดโปร่ งจากสิง่ รบกวนนี ้สาคัญมาก] ก. [เพราะเป็ นจิตใจที่สงบ และเยือกเย็น]

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 654

แบบที่ ๒
ง. [จิตใจสะอาด ปลอดโปร่ งจากสิ่ งรบกวนนี้สาคัญมาก] ข. [มีวจิ ารณญาณละเอียด กว้างขวาง และ
ถูกต้องตรงจุด]
แบบที่ ๓
ง. [จิตใจสะอาด ปลอดโปร่ งจากสิ่ งรบกวนนี้สาคัญมาก] ค. [ทาให้บุคคลมีสติ รู ้ตวั ]
จะเห็นว่า ข้อความในแบบที่ ๑ อ่านแล้วราบรื่ น ไม่สะดุดอย่างแบบที่ ๒ กับแบบที่ ๓ ดังนั้น ในข้อ
นี้ คาตอบที่ถูกต้องคือ ข้อ ก.
๒๔. เฉลย ตอบข้ อ ค. ในเนื้อของถ่านหิ น ยังมีสารอนิ นทรี ยเ์ จือปนอีกหลายอย่าง
อธิบาย ข้อนี้ โจทย์ให้ตอ้ งการหาข้อความที่อยูต่ น้ ประโยคเลย ดังนั้น เพื่อให้เป็ นการประหยัดเวลา
การทาในข้อนี้ และเอาเวลาที่เหลือไปใช้ในข้ออื่น เมื่อเราหาข้อความแรกได้แล้ว ก็ไม่ตอ้ งไปหาข้อความ
ที่เหลือต่อไปพิจารณาตัวเลือก คาว่า “ที่” “ซึ่ง” “และ” นั้น ไม่สามารถเป็ นคาแรกของประโยคได้ เพราะ
เป็ นสันธาน ที่มีหน้าที่เชื่อมคา หรื อข้อความ หรื อประโยค ดังนั้น จะต้องมีคาหรื อข้อความ หรื อประโยค
มาก่อน ดังนั้น ในข้อนี้ เราสามารถชี้ชดั ได้เลยว่า ข้อ ค. คือคาตอบที่ถูกต้อ
๒๕. เฉลย ตอบข้ อ ง. ได้กล่าวถึงพวกมองโกล
อธิบาย ข้อนี้ โจทย์ให้ตอ้ งการหาข้อความที่อยูใ่ นลาดับที่ ๓ ดังนั้น เราจึงจาเป็ นต้องเรี ยง
ประโยคให้ได้ความหมายครบถ้วนเสี ยก่อน
ในตัวเลือกทั้ง ๔ ตัวเลือกนั้น คาว่า “เป็ น” “ซึ่ง” และ “ได้ ” ไม่สามารถเป็ นคาแรกของของประโยคได้
คาว่า “เป็ น” เป็ นคากริ ยา ซึ่ งต้องคานามเป็ นประธานอยูข่ า้ งหน้า
คาว่า “ซึ่ง” เป็ นคาเชื่ อม ที่ตอ้ งมีขอ้ ความอยูข่ า้ งหน้า
คาว่า “ได้ กล่าวถึง” เป็ นคากริ ยา ซึ่ งต้องคานามเป็ นประธานอยูข่ า้ งหน้า

ดังนั้น ประโยคนี้ ต้องขึ้นต้นด้วย ค. [ในบันทึกเหตุการณ์ ของราชวงศ์ ถัง] สาหรับข้อความต่อไป เรา


ต้องนาข้อความอื่นๆ มาลองเรี ยงดู ดังนี้
ค. [ในบันทึกเหตุการณ์ ของราชวงศ์ ถัง] ก. [เป็ นนักรบ ทีเ่ ร่ รอนไปในบริเวณภาคตะวันออกเฉียงใต้
ของทะเลสาบใบคาล]
จะเห็นว่า ข้อความ ค.-ก. ไม่มีความต่อเนื่ องกัน ความหมายเป็ นไปไม่ได้ เหลือข้อความที่อาจจะ
เป็ นไปได้ก็คือ ค.-ข. ค.-ง.
ค. [ในบันทึกเหตุการณ์ของราชวงศ์ถงั ] ข. [ซึ่ งปกครองจีนระหว่าง พ.ศ. ๑๖๑๑ – ๑๙๔๙]
ค. [ในบันทึกเหตุการณ์ของราชวงศ์ถงั ] ง. [ได้กล่าวถึงพวกมองโกล]
ทั้ง ๒ ข้อความด้านบนนั้น มีโอกาสถูกทั้งคู่ เราก็ตอ้ งเรี ยงข้อความต่อไป
สมมุติวา่ เราเลือกข้อความ ค.-ง. เนื้ อหาที่เรี ยงต่อไป ก็ควรเป็ นดังนี้ (การยกตัวอย่าง ค.-ง. ก่อน
เนื่องจากผมเห็นว่า ข้อความนี้ น่าจะไม่ใช่คาตอบที่ถูกต้อง)
เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม
วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 655
ค. [ในบันทึกเหตุการณ์ของราชวงศ์ถงั ] ง. [ได้กล่าวถึงพวกมองโกล] ก. [เป็ นนักรบ ที่เร่ รอนไปใน
บริ เวณภาคตะวันออกเฉียงใต้ของทะเลสาบใบคาล] ข. [ซึ่ งปกครองจีนระหว่าง พ.ศ. ๑๖๑๑–๑๙๔๙]
ในกรณี น้ ี จะเห็นได้วา่ คาขยายของคาว่า “ราชวงศ์ถงั ” คือ [ซึ่ งปกครองจีนระหว่าง พ.ศ. ๑๖๑๑–
๑๙๔๙] ไม่ติดอยูก่ บั คาที่ถูกขยาย การเรี ยงแบบนี้ จึงไม่ถูกต้อง ดังนั้น จึงควรเรี ยงแบบนี้
ค. [ในบันทึกเหตุการณ์ของราชวงศ์ถงั ] ข. [ซึ่ งปกครองจีนระหว่าง พ.ศ.๑๖๑๑–๑๙๔๙]
ง. [ได้กล่าวถึงพวกมองโกล] ก. [เป็ นนักรบ ที่เร่ รอนไปในบริ เวณภาคตะวันออกเฉียงใต้ของ
ทะเลสาบใบคาล] ดังนั้น คาตอบที่ถูกต้องคือ ข้อ ง.
๒๖. เฉลย ตอบข้ อ ข. ถือเป็ นสิ่ งพิมพ์ประเภทวารสารฉบับแรกของประเทศไทย
อธิบาย ข้อนี้ โจทย์ให้ตอ้ งการหาข้อความที่อยูใ่ นลาดับที่ ๓ ดังนั้น เราจึงจาเป็ นต้องเรี ยง
ประโยคให้ได้ความหมายครบถ้วนเสี ยก่อน
ในตัวเลือกทั้ง ๔ ตัวเลือกนั้น คาว่า “เป็ น” “ถือเป็ น” และ “เริ่มออก” ไม่สามารถเป็ นคาแรกของของ
ประโยคได้
คาว่า “เป็ น” เป็ นคาเชื่ อม ที่ตอ้ งมีขอ้ ความอยูข่ า้ งหน้า
คาว่า “ถือเป็ น” เป็ นคากริ ยา ซึ่ งต้องมีคานามเป็ นประธานอยูข่ า้ งหน้า
คาว่า “เริ่มออก” เป็ นคากริ ยา ซึ่ งต้องมีขอ้ ความมาก่อนหน้านี้
ดังนั้น ประโยคนี้ ต้องขึ้นต้นด้วย ค. [ราชกิจจานุเบกษา เป็ นคาสันสฤต แปลว่า หนังสื อเพ่งดูราชกิจ]
สาหรับข้อความต่อไป เราต้องนาข้อความอื่นๆ มาลองเรี ยงดู ดังนี้
ค. [ราชกิจจานุเบกษาเป็ นคาสันสฤต แปลว่า หนังสื อเพ่งดูราชกิจ] ก. [เป็ นนามพระราชทานโดย
รัชกาลที่ ๔]
ค. [ราชกิจจานุเบกษาเป็ นคาสันสฤต แปลว่า หนังสื อเพ่งดูราชกิจ] ข. [ถือเป็ นสิ่ งพิมพ์ประเภท
วารสารฉบับแรกของประเทศไทย]
ค. [ราชกิจจานุเบกษาเป็ นคาสันสฤต แปลว่า หนังสื อเพ่งดูราชกิจ] ง. [เริ่ มออกฉบับแรกเมื่อวันที่ ๑๕
มีนาคม พ.ศ. ๒๔๐๑]
ทั้ง ๓ ข้อความนั้น เมื่ออ่านดูแล้ว เห็นว่า ข้อความ ค.–ง. ไม่ใช่คาตอบที่ถูก เพราะ มีคาบอกเวลาอยู่
โดยสานวนการเขียนภาษาไทยแล้ว คาบอกเวลาอย่างนี้ ถ้าไม่อยูห่ น้าประโยค ก็จะอยูท่ า้ ยประโยค
ดังนั้น คาต่อมา ควรจะเป็ นคาว่า “เป็ น” หรื อ “ถือเป็ น” ซึ่ งมีความหมายคล้ายคลึงกันมาก อย่างไรก็
ดี คาว่า “ถือเป็ น” น่าจะถูกต้องกว่า เราก็เรี ยงข้อความทั้งหมดดู ดังนี้
ค. [ราชกิจจานุเบกษาเป็ นคาสันสฤต แปลว่า หนังสื อเพ่งดูราชกิจ] ข. [ถือเป็ นสิ่ งพิมพ์ประเภท
วารสารฉบับแรกของประเทศไทย] ก. [เป็ นนามพระราชทานโดยรัชกาลที่ ๔ ] ง. [เริ่ มออกฉบับแรกเมื่อ
วันที่ ๑๕ มีนาคม พ.ศ. ๒๔๐๑

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 656
ค. [ราชกิจจานุเบกษาเป็ นคาสันสฤต แปลว่า หนังสื อเพ่งดูราชกิจ] ก. [เป็ นนามพระราชทานโดย
รัชกาลที่ ๔] ข. [ถือเป็ นสิ่ งพิมพ์ประเภทวารสารฉบับแรกของประเทศไทย] ง. [เริ่ มออกฉบับแรกเมื่อวันที่
๑๕ มีนาคม พ.ศ. ๒๔๐๑]
การเรี ยงทั้ง ๒ แบบข้างต้นนั้น ถ้าพูดในทางภาษาศาสตร์ แล้ว เราสามารถเรี ยงได้ท้ งั สองแบบ ตามที่
คนเขียนต้องการ
แต่ในการทาข้อสอบนั้น ผมเห็นว่า การเรี ยงแบบสุ ดท้ายถูกต้องกว่า เพราะข้อความที่วา่ [เริ่ มออก
ฉบับแรกเมื่อวันที่ ๑๕ มีนาคม พ.ศ. ๒๔๐๑] จะต้องอยูต่ ิดกับ “สิ่ งพิมพ์” เพราะ เป็ นคาขยายของคานั้น
ดังนั้น ข้อนี้คาตอบที่ถูกต้องคือ ข้อ ข.
๒๗. เฉลยตอบข้ อ ค. ตนจะต้องพ้นจากตาแหน่งหน้าที่ราชการไป
อธิบาย ข้อนี้ โจทย์ให้ตอ้ งการหาข้อความที่อยูใ่ นลาดับที่ ๒ ดังนั้น เราอาจจะไม่จาเป็ นต้องเรี ยง
ประโยคในครบก็ได้ เพราะ ถ้าหาข้อความแรกได้แล้ว ก็น่าจะหาข้อความที่สองได้เอง เมื่ออ่านตัวเลือก
แล้ว จะเห็นว่า ข้อ ข. ค. ง. ไม่สามารถเป็ นข้อความแรกได้ ดังนั้น ข้อความแรกในประโยคนี้ก็คือ ก. [ผู้มี
อานาจแต่ งตั้ง ซึ่งรู้ อยู่แล้ วว่า] สาหรับข้อความที่ตามมานั้นต้องเป็ นข้อ ค. เพราะ ความหมายบังคับไว้
อย่างนั้น ดังนั้น โจทย์ขอ้ นี้ สามารถเรี ยงลาดับได้ ดังนี้
ก. [ผูม้ ีอานาจแต่งตั้ง ซึ่ งรู ้อยูแ่ ล้วว่า] ค. [ตนจะต้องพ้นจากตาแหน่งหน้าที่ราชการไป] ง. [ไม่พึง
แต่งตั้งข้าราชการพลเรื อนไว้ล่วงหน้า] ข. [ไม่วา่ ด้วยเหตุใดๆ ก็ตาม]ดังนั้น ข้อนี้ คาตอบที่ถูกต้องคือ ข้อ ค.
๒๘. เฉลย ตอบข้ อ ข. เช่น ยากลุ่มเพนนิซิลลิน เดตราซัยคลีน เป็ นต้น
อธิบาย ข้อนี้ โจทย์ให้ตอ้ งการหาข้อความที่อยูใ่ นลาดับที่ ๔ ดังนั้น เราจึงจาเป็ นต้องเรี ยงประโยค
ให้ได้ความหมายครบถ้วนเสี ยก่อน
อย่างไรก็ดี ถ้ามีเวลาน้อยและต้องการ “เดา” ผมเห็นว่า ข้ อ ข. นั้น น่ าจะมีโอกาสเป็ นข้ อความสุ ดท้ าย
มากที่ เพราะ มีคาว่า “เป็ นต้ น” อยู่ท้ายประโยค การเขียนภาษาไทย มักจะเป็ นแบบนี้
อย่างไรก็ดี เราลองมาเรี ยงข้อความดู
ในตัวเลือกทั้ง 4 ตัวเลือกนั้น คาว่า “ซึ่ง” “เช่ น” และ “หรื อ” ไม่สามารถเป็ นคาแรกของของประโยค
ได้ คาว่า “ซึ่ง” เป็ นคาเชื่ อม ที่ตอ้ งมีขอ้ ความอยูข่ า้ งหน้า
คาว่า “เช่ น” เป็ นคาที่จะยกตัวอย่าง ดังนั้น จะต้องมีขอ้ ความอยูก่ ่อนหน้านี้
คาว่า “หรื อ” เป็ นเชื่อม ซึ่ งต้องมีขอ้ ความมาก่อนหน้านี้ ดังนี้ ข้อ ค. จึงจะต้องเป็ นข้อความแรก และ
ประโยคนี้ ควรเรี ยง ดังนี้
ค. [ยาปฏิชีวนะเป็ นสารประกอบทางเคมีใดๆ ที่ผลิตหรื อสร้างขึ้นโดยจุลชีพ] ก. [ซึ่ งสามารถยังยั้งการ
เจริ ญเติบโตของจุลชีพอีกกลุ่มหนึ่ง] ง. [หรื อไปขัดขวาง หรื อไปทาลายจุลชีพกลุ่มนั้นๆ] ข. [เช่น ยากลุ่ม
เพนนิซิลลิน เดตราซัยคลีน เป็ นต้น] ดังนั้น ข้อนี้คาตอบที่ถูกต้องคือ ข้อ ข.

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 657

๒๙. เฉลยตอบข้ อ ง. ที่ทาให้เกิดฝนตกแผ่เป็ นบริ เวณกว้าง


อธิ บาย ข้อนี้ โจทย์ให้ตอ้ งการหาข้อความที่อยูใ่ นลาดับที่ ๒ ดังนั้น เราอาจจะไม่จาเป็ นต้องเรี ยง
ประโยคในครบก็ได้ เพราะ ถ้าหาข้อความแรกได้แล้ว ก็น่าจะหาข้อความที่สองได้เอง
ในตัวเลือกทั้ง 4 ตัวเลือกนั้น คาว่า “และ”, “ทาให้ ”, “ที่ทาให้ ” ไม่สามารถเป็ นคาแรกของของประโยคได้
ดังนั้น ข้อความลาดับแรก คือ ข้อ ข. พายุหมุนในโซนร้อนนับว่าเป็ นตัวการสาคัญ ในการที่จะหา
ข้อความในลาดับที่ ๒ เรามาลองเรี ยงข้อความดู
แบบที่ ๑
ข. [พายุหมุนในโซนร้อนนับว่าเป็ นตัวการสาคัญ] ก. [และตกเป็ นระยะเวลานานติดต่อกัน]
แบบที่ ๒
ข. [พายุหมุนในโซนร้อนนับว่าเป็ นตัวการสาคัญ] ค. [ทาให้แผ่นดินได้รับความชุ่มชื้นทัว่ ไป]
แบบที่ ๓
ข. [พายุหมุนในโซนร้อนนับว่าเป็ นตัวการสาคัญ] ง. [ที่ทาให้เกิดฝนตกแผ่เป็ นบริ เวณกว้าง]
เมื่อพิจารณาจากการอ่านที่ราบรื่ น ไม่สะดุดจะเห็นว่า แบบที่ ๑ นั้น ผิดแน่ๆ สาหรับแบบที่ ๒
ราบรื่ นน้อยกว่าแบบที่ ๓
เมื่ออ่านเนื้อหาให้ครบทั้งหมดแล้ว แบบที่ ๓ เนื้ อจะสอดคล้องกันกว่าแบบที่ ๒ ดังนั้น ในข้อนี้
คาตอบที่ถูกต้องคือ ข้อ ง.
หมายเหตุ
ข้อความที่ถูกต้องของโจทย์เป็ นดังนี้
พายุหมุนในโซนร้อนนับว่า เป็ นตัวการสาคัญ ที่ทาให้เกิดฝนตกแผ่เป็ นบริ เวณกว้าง และตกเป็ นระยะ
เวลานานติดต่อกัน ทาให้แผ่นดินได้รับความชุ่มชื้นทัว่ ไป
๓๐. เฉลยตอบข้ อ ข. กับสาธารณรัฐประชาธิ ปไตยประชาชนลาว
อธิ บาย ข้อนี้ โจทย์ให้ตอ้ งการหาข้อความที่อยูใ่ นลาดับที่ ๓ ดังนั้น เราอาจจะต้องเรี ยงประโยคใน
ครบถ้วน จึงจะหาข้อที่ถูกต้องได้
ข้อความดังกล่าวนั้นเป็ นภาษาราชการ ดังนั้น ข้อ ก. ตามที่กระทรวงการต่างประเทศเสนอ มีโอกาสที่เป็ น
ข้อความในลาดับแรกมากที่สุด
อย่างไรก็ดี ในตัวเลือกทั้ง 4 ตัวเลือกนั้น คาว่า “กับ”, “และ” ไม่สามารถเป็ นคาแรกของของประโยคได้
ดังนั้น ข้อความแรกและข้อความที่สองจึงเป็ น ข้อ ก ตามด้วยข้อ ค. ก. [ตามที่กระทรวงการต่างประเทศ
เสนอ] ค. [คณะรัฐมนตรี อนุมตั ิการทาความตกลงยกเว้นการตรวจลงตราหนังสื อการทูต]
ในการหาข้อความในลาดับที่ ๓ เราจึงต้องลองเรี ยงข้อความทั้งหมดเพื่อพิจารณา ดังนี้

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 658

แบบที่ ๑
ก. [ตามที่กระทรวงการต่างประเทศเสนอ ] ค. [คณะรัฐมนตรี อนุมตั ิการทาความตกลงยกเว้นการ
ตรวจลงตราหนังสื อการทูต] ข. [กับสาธารณรัฐประชาธิ ปไตยประชาชนลาว] ง. [และความตกลงยกเว้น
หนังสื อเดินทางทูตและราชการกับบราซิ ลและอาเจนติน่า]
แบบที่ ๒
ก. [ตามที่กระทรวงการต่างประเทศเสนอ ] ค. [คณะรัฐมนตรี อนุมตั ิการทาความตกลงยกเว้นการ
ตรวจลงตราหนังสื อการทูต] ง. [และความตกลงยกเว้นหนังสื อเดินทางทูตและราชการกับบราซิ ลและอา
เจนติน่า] ข. [กับสาธารณรัฐประชาธิ ปไตยประชาชนลาว]จะเห็นว่า ข้อความในแบบที่ ๑ อ่านแล้วราบรื่ น
ไม่สะดุดอย่างแบบที่ ๒ ดังนั้น ข้อที่ถูกในข้อนี้ คือ ข้อ ข.
๓๑. เฉลยตอบข้อ ก. โดยให้ภาคเอกชนเป็ นแกนนาในการจัดตั้งบริ ษทั
อธิ บาย ข้อความดังกล่าวนั้นเป็ นภาษาราชการ ดังนั้น ข้อ ข. ให้กระทรวงอุตสาหกรรมเข้าร่ วมถือ
หุน้ เพื่อดาเนินการ มีโอกาสที่เป็ นข้อความในลาดับแรกมากที่สุด
อย่างไรก็ดี ในตัวเลือกทั้ง ๔ ตัวเลือกนั้น คาว่า “โดยให้ ”, “เนื่องจาก” ไม่สามารถเป็ นคาแรกของของ
ประโยคได้ ดังนั้น ข้อความแรกและข้อความที่สองจึงเป็ น ข้อ ข. ตามด้วยข้อ ง.
ข. [ให้กระทรวงอุตสาหกรรมเข้าร่ วมถือหุ น้ เพื่อดาเนินการ] ง. [บริ ษทั บริ หารและพัฒนาเพื่อการอนุรักษ์
สิ่ งแวดล้อม จากัด]
ในการหาข้อความในลาดับที่ 3 เราจึงต้องลองเรี ยงข้อความทั้งหมดเพื่อพิจารณา ดังนี้
แบบที่ ๑
ข. [ให้กระทรวงอุตสาหกรรมเข้าร่ วมถือหุ น้ เพื่อดาเนินการ] ง. [บริ ษทั บริ หารและพัฒนาเพื่อการอนุรักษ์
สิ่ งแวดล้อม จากัด] ก. [โดยให้ภาคเอกชนเป็ นแกนนาในการจัดตั้งบริ ษทั ] ค. [เนื่องจากมีความพร้อมอยู่
แล้ว]
แบบที่ ๒
ข. [ให้กระทรวงอุตสาหกรรมเข้าร่ วมถือหุ น้ เพื่อดาเนินการ] ง. [บริ ษทั บริ หารและพัฒนาเพื่อการอนุรักษ์
สิ่ งแวดล้อม จากัด] ค. [เนื่องจากมีความพร้อมอยูแ่ ล้ว] ก. [โดยให้ภาคเอกชนเป็ นแกนนาในการจัดตั้ง
บริ ษทั ]
จะเห็นว่า ข้อความทั้ง ๒ แบบอ่านได้ราบรื่ น ไม่สะดุดพอๆ กัน แต่ในความเป็ นจริ งนั้น การตั้ง
บริ ษทั นั้น ภาคเอกชนจะมีความพร้อมกว่าภาครัฐ ดังนั้น ข้อ ค. จึงควรขยายข้อ ก.
ดังนั้น ข้อที่ถูกในข้อนี้คือ ข้อ ก.

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 659

๓๒. เฉลยตอบข้ อ ก. เข้าในจานแม่เหล็กชนิดแข็ง


อธิ บาย ข้อนี้ โจทย์ให้ตอ้ งการหาข้อความที่อยูใ่ นลาดับที่ ๓ ดังนั้น เราอาจจะต้องเรี ยงประโยคใน
ครบถ้วน จึงจะหาข้อที่ถูกต้องได้
ในตัวเลือกทั้ง 4 ตัวเลือกนั้น คาว่า “เข้ าใน”, “เพื่อ”, “ที่” ไม่สามารถเป็ นคาแรกของของประโยคได้ ดังนั้น
ข้อความแรกจึงเป็ น ข้อ ข. ประเทศไทยได้ทางานสาคัญเป็ นประเทศแรกในโลก
เรามาลองเรี ยงข้อความดู
แบบที่ ๑
ข. ประเทศไทยได้ทางานสาคัญเป็ นประเทศแรกในโลก ก. เข้าในจานแม่เหล็กชนิดแข็ง
แบบที่ ๒
ข. ประเทศไทยได้ทางานสาคัญเป็ นประเทศแรกในโลก ค. เพื่อนาเข้าคอมพิวเตอร์ ต้ งั แต่ปี พ.ศ. ๒๕๓๑
แบบที่ ๓
ข. ประเทศไทยได้ทางานสาคัญเป็ นประเทศแรกในโลก ง. ที่ได้นาข้อความในพระไตรปิ ฎกทั้ง ๔๕
เล่มจะเห็นว่า ข้อความในแบบที่ ๓ อ่านได้ราบรื่ น ไม่สะดุดอย่างแบบที่ ๑ กับ แบบที่ ๒ เมื่ออ่านตัวเลือก
ทั้งหมดแล้ว ข้อความในลาดับที่ ๓ ควรเป็ นข้อ ก. ดังนั้น ข้อที่ถูกในข้อนี้ คือ ข้อ ก.
หมายเหตุ
ข้อความที่ถูกต้องของโจทย์เป็ นดังนี้
ประเทศไทยได้ทางานสาคัญเป็ นประเทศแรกในโลก ที่ได้นาข้อความในพระไตรปิ ฎกทั้ง ๔๕ เล่ม
เข้าในจานแม่เหล็กชนิดแข็ง เพื่อนาเข้าคอมพิวเตอร์ ต้ งั แต่ปี พ.ศ. ๒๕๓๑
๓๓. เฉลยตอบข้ อ ค. สาหรับเยาวชนนั้นการตั้งใจเล่าเรี ยนเพื่อนาความรู ้ไปใช้ในภายหน้าก็เป็ นความรัก
ชาติส่วนหนึ่ง
อธิบาย ข้อนี้ โจทย์ให้ตอ้ งการหาข้อความที่อยูใ่ นลาดับที่ ๕ ดังนั้น เราต้องเรี ยงประโยคใน
ครบถ้วน จึงจะหาข้อที่ถูกต้องได้
ในตัวเลือกทั้ง ๕ ตัวเลือกนั้น คาว่า “แตกต่ างกัน” ไม่สามารถเป็ นคาแรกของของประโยคได้ ดังนั้น
ข้อความแรกจึงอาจจะเป็ นข้อ ก. ข้อ ข. ข้อ ค หรื อ ข้อ ง. ก็ได้
ข้อนี้ เป็ นข้อที่ยากพอสมควร เราจึงต้องอ่านข้อความในตัวเลือกหมด แล้วพิจารณาว่า ข้อความควร
จะเรี ยงในแบบใด
เมื่ออ่านข้อความทั้งหมดแล้ว พบว่าประเด็นสาคัญในเรื่ องนี้คือ “ความรักชาติ” ซึ่ งแยกย่อยได้ 3
ประการคือ
- ความรักเพื่อนร่ วมชาติ
- ความรักในแผ่นดิน
- การตั้งใจเรี ยน เป็ นความรักชาติของเยาวชน

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 660
ดังนั้น ข้อความก็ควรจะเรี ยงกันแบบนี้
ก. [ความรักชาติแสดงออกได้ง่าย] จ. [แตกต่างกันตามวัยและความสามารถ] ข. [ความรักชาติคือ
ความรักในเพื่อนร่ วมชาติ] ง. [ความรักในแผ่นดินไทยซึ่ งเป็ นที่อยูอ่ าศัยแสนสุ ข] ค. [สาหรับเยาวชนนั้น
การตั้งใจเล่าเรี ยนเพื่อนาความรู ้ไปใช้ในภายหน้าก็เป็ นความรักชาติส่วนหนึ่ง]
๓๔. เฉลยตอบข้ อ ข. ลมจากแม่น้ าพัดเฉื่ อยฉิ ว
ข้อนี้ โจทย์ให้ตอ้ งการหาข้อความที่อยูใ่ นลาดับที่ 3 ดังนั้น เราอาจจะต้องเรี ยงประโยคให้ครบถ้วน
จึงจะหาข้อที่ถูกต้องได้
ในตัวเลือกทั้ง ๕ ตัวเลือกนั้น คาว่า “ถ้ า”, “ก็คงจะ”, เป็ น” ไม่สามารถเป็ นคาแรกของของประโยค
ได้
ระหว่างข้อ ข. กับ ข้อ ค. เมื่อพิจารณาความหมายแล้ว ข้อ ข. ก็ไม่น่าจะเป็ นข้อความแรก ควรจะมี
ข้อความมาก่อนหน้านี้
ดังนั้น ข้อความแรกจึงเป็ นข้อ ค. รอบๆ บริ เวณที่ขา้ พเจ้ายืนอยู่

ในการหาข้อความในลาดับที่ 2 เราจึงต้องลองเรี ยงข้อความทั้งหมดเพื่อพิจารณา ดังนี้


แบบที่ ๑
ค. [รอบๆ บริ เวณที่ขา้ พเจ้ายืนอยู]่ ก. [ถ้าไม่มีกลิ่นน้ าเน่าตลบอบอวลแล้ว]
แบบที่ ๒
ค. [รอบๆ บริ เวณที่ขา้ พเจ้ายืนอยู]่ ข. [ลมจากแม่น้ าพัดเฉื่ อยฉิ ว]
แบบที่ ๓
ค. [รอบๆ บริ เวณที่ขา้ พเจ้ายืนอยู]่ ง. [ก็คงจะรื่ นรมย์เป็ นอันมาก]
แบบที่ ๔
ค. [รอบๆ บริ เวณที่ขา้ พเจ้ายืนอยู]่ จ. [เป็ นสนามหญ้าและไม้ยนื ต้นร่ มรื่ นน่าสบาย]
จะเห็นว่า ข้อความในแบบที่ 3 อ่านแล้วสะดุด ไม่ราบรื่ น ดังนั้น ข้อนี้ผดิ แน่ๆ สาหรับแบบอื่นๆ จะ
เห็นว่า แบบที่ ๔ อ่านแล้วราบรื่ น ไม่สะดุด

ต่อไปเรี ยงลาดับอีกครั้งหนึ่ง เพื่อหาลาดับที่ ๓, ๔ และ ๕


แบบที่ ๑
ค. [รอบๆ บริ เวณที่ขา้ พเจ้ายืนอยู]่ จ. [เป็ นสนามหญ้าและไม้ยนื ต้นร่ มรื่ นน่าสบาย] ก. [ถ้าไม่มีกลิ่น
น้ าเน่าตลบอบอวลแล้ว]

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 661

แบบที่ ๒
ค. [รอบๆ บริ เวณที่ขา้ พเจ้ายืนอยู]่ จ. [เป็ นสนามหญ้าและไม้ยนื ต้นร่ มรื่ นน่าสบาย] ข. [ลมจาก
แม่น้ าพัดเฉื่ อยฉิ ว]
แบบที่ ๓
ค. [รอบๆ บริ เวณที่ขา้ พเจ้ายืนอยู]่ จ. [เป็ นสนามหญ้าและไม้ยนื ต้นร่ มรื่ นน่าสบาย] ง. [ก็คงจะ
รื่ นรมย์เป็ นอันมาก]
จะเห็นว่า ข้อความในแบบที่ ๒ อ่านแล้วราบรื่ น ไม่สะดุดอย่างแบบที่ 1 กับแบบที่ 3
ดังนั้น ข้อที่ถูกในข้อนี้คือ ข้อ ข.
หมายเหตุ
ข้อความที่ถูกต้องของโจทย์เป็ นดังนี้
รอบๆ บริ เวณที่ขา้ พเจ้ายืนอยู่ เป็ นสนามหญ้าและไม้ยนื ต้นร่ มรื่ นน่าสบาย ลมจากแม่น้ าพัดเฉื่ อยฉิ ว
ถ้าไม่มีกลิ่นน้ าเน่าตลบอบอวลแล้ว ก็คงจะรื่ นรมย์เป็ นอัน
๓๕. เฉลยตอบข้ อ ก. อนุชนที่กาลังเกิดมาควรรู ้ซ้ ึ งถึงความเป็ นมนุษย์
อธิ บาย ข้อนี้ โจทย์ให้ตอ้ งการหาข้อความที่อยูใ่ นลาดับที่ 4 ดังนั้น เราอาจจะต้องเรี ยงประโยคให้
ครบถ้วน จึงจะหาข้อที่ถูกต้องได้
ในตัวเลือกทั้ง ๕ ตัวเลือกนั้น คาว่า “เพื่อ”, “และ” ไม่สามารถเป็ นคาแรกของของประโยคได้
ในตัวเลือก ข้อ ก. ข้อ ข. และ ข้อ ค. ความหมายของข้อความที่จะเป็ นข้อความแรกควรเป็ นข้อ ข.
เลขาธิ การสหประชาชาติได้กล่าวว่า
ในการหาข้อความในลาดับที่ ๓ เราจึงต้องลองเรี ยงข้อความทั้งหมดเพื่อพิจารณา ดังนี้
แบบที่ ๑
ข. [เลขาธิ การสหประชาชาติได้กล่าวว่า] ก. [อนุชนที่กาลังเกิดมาควรรู ้ซ้ ึ งถึงความเป็ นมนุษย์]
แบบที่ ๒
ข. [เลขาธิ การสหประชาชาติได้กล่าวว่า] ค. [ทุกประเทศจะต้องรับรู ้สิทธิ ]
แบบที่ ๓
ข. [เลขาธิ การสหประชาชาติได้กล่าวว่า] ง. [เพื่อการสร้างสรรค์และความก้าวหน้า]
แบบที่ ๔
ข. [เลขาธิ การสหประชาชาติได้กล่าวว่า] จ. [และสนองความต้องการเป็ นพิเศษให้แก่เด็ก]

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 662
จะเห็นว่า แบบที่ ๓ กับ แบบที่ ๔ เป็ นไปไม่ได้แน่ๆ โอกาสที่จะเป็ นไปได้กค็ ือ แบบที่ ๑ กับ แบบ
ที่ ๒ อย่างไรก็ดี ข้อความของแบบที่ ๑ นั้น ก่อนหน้าข้อความในข้อ ก. [อนุชนที่กาลังเกิดมาควรรู ้ซ้ ึ งถึง
ความเป็ นมนุษย์] น่าจะมีขอ้ ความมีก่อนหน้านี้
ดังนั้น ข้อความในลาดับที่ ๑ กับ ลาดับที่ ๒ จึงเป็ นข้อความในแบบที่ ๒ เรามาหาข้อความในลาดับ
ที่ ๓ กันต่อ
แบบที่ ๑
ข. [เลขาธิ การสหประชาชาติได้กล่าวว่า] ค. [ทุกประเทศจะต้องรับรู ้สิทธิ ] ก. [อนุชนที่กาลังเกิดมา
ควรรู ้ซ้ ึ งถึงความเป็ นมนุษย์]
แบบที่ ๒
ข. [เลขาธิ การสหประชาชาติได้กล่าวว่า] ค. [ทุกประเทศจะต้องรับรู ้สิทธิ ] ง. [เพื่อการสร้างสรรค์
และความก้าวหน้า]
แบบที่ ๓
ข. [เลขาธิ การสหประชาชาติได้กล่าวว่า] ค. [ทุกประเทศจะต้องรับรู ้สิทธิ ] จ. [และสนองความ
ต้องการเป็ นพิเศษให้แก่เด็ก] จะเห็นว่า การเรี ยงข้อความในแบบที่ ๓ ราบรื่ น ไม่สะดุด
เรามาหาข้อความในลาดับที่ ๔ ซึ่ งโจทย์ตอ้ งการกันต่อไป
แบบที่ ๑
ข. [เลขาธิ การสหประชาชาติได้กล่าวว่า] ค. [ทุกประเทศจะต้องรับรู ้สิทธิ ] จ. [และสนองความ
ต้องการเป็ นพิเศษให้แก่เด็ก] ก. [อนุชนที่กาลังเกิดมาควรรู ้ซ้ ึ งถึงความเป็ นมนุษย์]
แบบที่ ๒
ข. [เลขาธิ การสหประชาชาติได้กล่าวว่า] ค. [ทุกประเทศจะต้องรับรู ้สิทธิ ] จ. [และสนองความ
ต้องการเป็ นพิเศษให้แก่เด็ก] ง. [เพื่อการสร้างสรรค์และความก้าวหน้า]
จะเห็นว่า ข้อความในแบบที่ ๑ อ่านแล้วราบรื่ นไม่สะดุด
ดังนั้น ข้อที่ถูกในข้อนี้คือ ข้อ ก.
หมายเหตุ ข้อความที่ถูกต้องของโจทย์เป็ นดังนี้
เลขาธิ การสหประชาชาติ ได้กล่าวว่า ทุกประเทศจะต้องรับรู ้สิทธิ และสนองความต้องการเป็ นพิเศษ
ให้แก่เด็ก อนุชนที่กาลังเกิดมา ควรรู ้ซ้ ึ งถึงความเป็ นมนุษย์ เพื่อการสร้างสรรค์และความก้าวหน้า

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 663

๓๖. เฉลยตอบข้ อ ข. เรื่ องฝุ่ นและอากาศเป็ นพิษนี้มองไม่เห็นเพราะมันอยูใ่ นอากาศ


อธิบาย โจทย์ให้ตอ้ งการหาข้อความที่อยูต่ น้ ประโยคเลย เมื่อเราหาข้อความแรกได้แล้ว ก็ไม่ตอ้ ง
ไปหาข้อความที่เหลือ
คาว่า “มัน” เป็ นสรรพนาม จึงต้องมีคานามมาก่อนหน้านี้ ข้อ ก. กับ ข้อ ค. จึงเป็ นข้อความแรก
ไม่ได้ คาว่า “แต่” เป็ นสันธาน จึงเป็ นข้อความแรกไม่ได้เช่นเดียวกับ ข้อ ก. กับ ข้อ ค.
ดังนั้น คาตอบที่ถูกต้องคือ ข้อ ข.
หมายเหตุ
ข้อความที่ถูกต้องของโจทย์เป็ นดังนี้
เรื่ องฝุ่ นและอากาศเป็ นพิษนี้ มองไม่เห็นเพราะมันอยูใ่ นอากาศ มันเกิดขึ้นแล้วก็จางหายไปเมื่อถูกลมพัด
แต่อย่าลืมว่ามันไม่หายไปไหน มันยังคงแฝงอยูใ่ นอากาศนัน่ เอง
๓๗. เฉลยตอบข้ อ ค. หลังจากประเทศไทยได้เริ่ มโครงการสารวจหาปิ โตรเลียมในประเทศไทย
อธิบาย ข้อนี้ โจทย์ให้ตอ้ งการหาข้อความที่อยูต่ น้ ประโยคเช่นเดียวกับข้อที่ผา่ นมา
จากการอ่านความหมาย จะเห็นว่า ข้อ ก. ข้อ ข. และ ข้อ ค. ไม่สามารถเป็ นข้อความแรกได้ ดังนั้น
คาตอบที่ถูกต้องคือ ข้อ ค.
หมายเหตุ
ข้อความที่ถูกต้องของโจทย์เป็ นดังนี้
หลังจากประเทศไทยได้เริ่ มโครงการสารวจหาปิ โตรเลียมในประเทศไทย จนกระทัง่ พบก๊าซธรรมชาติ
เป็ นปริ มาณมากพอ โดยเชื่อว่าจะนามาใช้ประโยชน์ในเชิงพาณิ ชย์ได้ โครงการพัฒนาก๊าซธรรมชาติ
สาคัญอันแรกก็คือ การวางระบบท่อส่ งก๊าซจากแหล่งก๊าซเอราวัณ อันเป็ นแหล่งแรกในประเทศไทย มา
ขึ้นที่ฝั่งจังหวัดระยอง
๓๘. เฉลยตอบข้ อ ข. ราชาศัพท์เป็ นส่ วนหนึ่งของหลักภาษา
อธิ บาย ข้อนี้ โจทย์ให้ตอ้ งการหาข้อความที่อยูใ่ นลาดับที่ ๓ ดังนั้น เราอาจจะต้องเรี ยงประโยคใน
ครบถ้วน จึงจะหาข้อที่ถูกต้องได้
ในตัวเลือกทั้ง ๔ ตัวเลือกนั้น คาว่า “อีกทั้ง” กับ “ที่” ไม่สามารถเป็ นคาแรกของของประโยคได้ ดังนั้น
ข้อความแรกจึงควรเป็ นระหว่าง ข้อ ก. กับ ข้อ ข.
อย่างไรก็ดี เมื่ออ่านแล้ว ข้อ ข. “ราชาศัพท์เป็ นส่ วนหนึ่งของหลักภาษา” มีความหมายที่เหมาะสมกกว่า
ดังนั้น ข้อความแรกคือ ข้อ ข. เรามาหาข้อความในลาดับที่ ๒ กัน
แบบที่ ๑
ข. [ราชาศัพท์เป็ นส่ วนหนึ่งของหลักภาษา] ก. [พระมหากษัตริ ยเ์ ป็ นที่เทิดทูนของเรา]
แบบที่ ๒
ข. [ราชาศัพท์เป็ นส่ วนหนึ่งของหลักภาษา] ค. [อีกทั้งเป็ นวัฒนธรรมอันสาคัญยิง่ ]

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 664
แบบที่ ๓
ข. [ราชาศัพท์เป็ นส่ วนหนึ่งของหลักภาษา] ง. [ที่มีความสาคัญมากเพราะสถาบัน]
จะเห็นว่า ข้อความในแบบที่ ๒ อ่านได้ราบรื่ น ไม่สะดุดอย่างแบบที่ ๑ กับ แบบที่ ๓
เรามาหาข้อความในลาดับที่ ๓ กันต่อ
แบบที่ ๑
ข. [ราชาศัพท์เป็ นส่ วนหนึ่งของหลักภาษา] ค. [อีกทั้งเป็ นวัฒนธรรมอันสาคัญยิง่ ] ก. [พระมหากษัตริ ย ์
เป็ นที่เทิดทูนของเรา]
แบบที่ ๒
ข. [ราชาศัพท์เป็ นส่ วนหนึ่งของหลักภาษา] ค. [อีกทั้งเป็ นวัฒนธรรมอันสาคัญยิง่ ] ง. [ที่มีความสาคัญมาก
เพราะสถาบัน]
เมื่ออ่านตัวเลือกทั้งหมดแล้ว ข้อความในลาดับที่ ๓ ควรเป็ นข้อ ง. ดังนั้น ข้อที่ถูกในข้อนี้ คือ ข้อ ง.
หมายเหตุ ข้อความที่ถูกต้องของโจทย์เป็ นดังนี้
ราชาศัพท์เป็ นส่ วนหนึ่งของหลักภาษา อีกทั้งเป็ นวัฒนธรรมอันสาคัญยิง่ ที่มีความสาคัญมากเพราะ
สถาบันพระมหากษัตริ ยเ์ ป็ นที่เทิดทูนของเรา
๓๙. เฉลยตอบข้ อ ก. อาหารไทยเป็ นอาหารที่ชาวต่างชาตินิยมรับประทานกันมาก
อธิ บาย อาหารไทยเป็ นอาหารที่ชาวต่างชาตินิยมรับประทานกันมาก
- หลักการเรี ยงลาดับคามีอยูว่ า่ “ถ้าขยายตัวไหน ให้วางหลังตัวนั้นทันที ถ้าวางได้”
- ข้อ ข. ที่ถูกต้อง ต้องลาดับว่า “—กาลังเร่ งแก้ไขเรื่ องปั ญหาน้ าท่วมขังอย่างรีบด่ วน”
- ข้อ ค. ที่ถูกต้อง ต้องลาดับว่า “ - - กาลังสมัครสมาชิกใหม่เป็ นจานวนมากที่บึงพระราม”
- ข้อ ง. ที่ถูกต้อง ต้องลาดับว่า “ - - มีนกั ศึกษาหลายคณะรวมทั้งชมรมอนุ รักษ์สิ่งแวดล้อมเข้า
ร่ วมโครงการถนนสี ขาว”
๔๐. เฉลยตอบข้ อ ข. ฝนดาวตกครั้งนี้มีจานวนไม่มากอย่างที่คิด
อธิบาย ข้อ ก. ที่ถูกคือ “พ่อครัวทาต้มโคล้งปลาช่อนอร่ อยมากเมื่อวานนี้”
ข้อ ข. ลาดับดีแล้ว
ข้อ ค. ต้องแก้เป็ น “....มีศิลาจารึ กรู ปจาลองของพ่อขุนรามคาแหง....”
ข้อ ง. ต้องแก้เป็ น “...กาลังถ่ายรู ปบริ เวณลานพระบรมรู ปทรงม้อก่อนเข้ารับ
พระราชทานปริ ญญาบัตร”
๔๑. เฉลยตอบข้ อ ค. ในทางกลับกันวิชาการเกษตรก็มีส่วนช่วยเสริ มวิธีการจัดการต่างๆ
อธิ บาย ข้อ ก. ในทางกลับกันวิชาการเกษตรก็มีส่วนช่วยเสริ มวิธีการจัดการต่างๆ
- ข้อ ก. เขียนแบบนี้เหมือนหมอเป็ นคนทาให้เกิดแผลที่ตน้ ขาเลย ที่ถูกต้องว่า
จากการตรวจของแพทย์ ปรากฏว่าเด็กมีแผลฟกช้ าดาเขียวที่ตน้ ขา

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 665
- ข้อ ข. ที่ถูกต้องแก้วา่ “ ประวัติศาสตร์ แบบอาณานิคมให้อิทธิ พลแก่การศึกษาประวัติศาสตร์
ไทยไม่นอ้ ย”
- ข้อ ง. ที่ถูกควรแก้เป็ น “เหมือนตุก๊ ตาที่ผถู ้ ือปล่อยมือและหล่นลงไปกองอยูบ่ นพื้น”ไม่ ใช่ เขา
สิ้ นสติและหล่นลงไปพื้น (คนต้องล้ม ตุก๊ ตาถึงจะหล่น”
๔๒. เฉลยตอบข้ อ ง. เหงา ไหม อยู่ อยาก
อธิบาย - ตามโจทย์ควรยกตัวอย่างคาที่ใช้ ห นา อักษรเดี่ยวให้หมดก่อนที่จะยกตัวอย่างคาที่
ใช้ อ นา ย ดังนั้นจึงควรเรี ยกว่า เหงา ไหม (ห นา อักษรเดี่ยว) แล้วจึงตามด้วย อยู่ อยาก
(อ นา ย)
๔๓. เฉลยตอบข้ อ ง. ค ก ข ง
๔๔. เฉลยตอบข้ อ ง. ข ก ง ค
อธิ บาย ให้สังเกตและอ่านข้อ ง. ต้องมาก่อน ข้อ ค. ซึ่ งมีคาตอบข้อเดียวคือ ข้อ ง.
๔๕. เฉลยตอบข้ อ ข. ค จ ข ก ง
อธิ บาย ทั้งนี้เพราะเราจะเริ่ มจากความสุ ขในใจเรา(ค) - - จนในที่สุดเราสามารถหาความสุ ขได้
จากสิ่ งรอบ ๆ ตัว รอบนอก (ง)
๔๖. เฉลยตอบข้ อ ค. ค ก ข ง
อธิ บาย เริ่ มจากความสาคัญของเวลา (ก) ความเป็ นไปของเวลา (ข) การเสี ยเวลา (ค.) ข้อคิดที่เรา
ควรพิจารณา (ง)
๔๗. เฉลยตอบข้ อ ง. ๒ ๕ ๓ ๖ ๑ ๗ ๔
๔๘. เฉลยตอบข้ อ ข. ค ก ข ง
จงอ่านเค้าโครงรายงานทางวิชาการเรื่ อง “พระราชวังบางปะอินจังหวัดพระนครศรี อยุธยา” แล้ว
ตอบคาถามข้อ ๔๙ – ๕๐
ก. ประวัติการก่อสร้าง ข. สิ่ งก่อสร้างในพระราชวัง
ค. ที่ต้ งั ง. ความสาคัญทางประวัติศาสตร์
จ. การอนุรักษ์และการบูรณะ
๔๙. เฉลยตอบข้ อ ง. ค ก ข ง จ
อธิ บาย ควรเริ่ มต้นที่ “ที่ต้ งั ” ก่อนว่าอยูไ่ หน เหลือ ๒ ข้อ คือ ข้อ ๒ กับ ข้อ ๔ ตามด้วย
ประวัติวา่ สร้างสมัยไหน ยังไง แล้วสร้างอะไรขึ้นมาบ้าง ข้อ ก ต้องมาก่อน ข. ข้อ ง. จึงถูกที่สุด
๕๐. เฉลยตอบข้ อ ง. คุณค่าทางศิลปกรรมของพระราชวังบางปะอิน
อธิบาย - เรากาลังทารายงานเรื่ อง “พระราชวังบางปะอิน” ไม่ได้ทาเรื่ อง”จังหวัดอยุธยา”
ข้อ ก. กับ ค. เป็ นเรื่ องจังหวัดอยุธยา จึงตัดออกไปก่อนเลย
- เทียบ ข. กับ ง. ข้อ ง. ดูเกี่ยวข้องกับหัวข้อมากกว่า ข้อ ง. จึงถูกต้องที่สุด

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 666

๕๑. เฉลยตอบข้ อ ก. ๑ ๒ ๓ ๔
อธิ บาย ควรเริ่ มต้นที่ขอ้ ก. ที่เป็ นใจความสาคัญหลักสาคัญที่สุดไม่ควรเอาข้อ ก. ไปวางข้างท้าย
๕๒. เฉลยตอบข้ อ ก. ข้อ ๑
อธิบาย ประโยคใจความหลัก = ประโยคสาคัญที่สุด ตัดออกไม่ได้
- ในที่น้ ีสิ่งที่ตอ้ งการเน้นมากที่สุด คือ ประโยคที่ ๑ นัน่ เอง
๕๓. เฉลยตอบข้ อ ค. ก ค ง ข
อธิ บาย เริ่ มจากบอกว่าจะจัดงานอะไร(ข้อ ก ) ที่ไหน – เมื่อไหร่ (ข้อ ค ) โดยมีแขกคือใคร(ง )
ดังนั้น ขอรบกวนใช้หอ้ ง( ข )
๕๔. เฉลยตอบข้ อ ก. บอกวัตถุประสงค์ของการจัดการสนทนา
อธิบาย บอกวัตถุประสงค์ของการจัดการสนทนา
ข้อ ข. ไม่จาเป็ นต้องบอกเลย
ข้อ ค. ก็เราบอกอยูแ่ ล้วในข้อ ก.
ข้อ ง. ให้เราเพิ่ม “ข้อมูล” ไม่ได้เพิ่มการเชิ ญ “บุคคล”
๕๕. เฉลยตอบข้ อ ค. ข ง ก ค
อธิบาย เพราะเป็ นการเรี ยงคาประพันธ์ตามฉันทลักษณ์ของกลอนสุ ภาพได้ถูกต้อง
๕๖. เฉลยตอบข้ อ ก. ๒ ๔ ๑ ๓
๕๗. เฉลยตอบข้ อ ค. ๒ ๑ ๓ ๔ ๕
๕๘. เฉลยตอบข้ อ ข. ๑ ๒ ๔ ๓
๕๙. เฉลยตอบข้ อ ง. ๔ ๑ ๒ ๓
๖๐. เฉลยตอบข้ อ ก. ๒ ๔ ๓ ๑
๖๑. เฉลยตอบข้ อ ข. ๑ ๒ ๔ ๓
๖๒. เฉลยตอบข้ อ ง. ๒ ๔ ๓ ๑
๖๓. เฉลยตอบข้ อ ง. ๓ ๑ ๔ ๒
๖๕. เฉลยตอบข้ อ ค. ๒ ๓ ๑ ๕ ๔ ๖
๖๖. เฉลยตอบข้ อ ก. ๓ ๑ ๕ ๒ ๔
๖๗. เฉลยตอบข้ อ ข. ประเทศสมาชิกอาเซียนทุกประเทศ
อธิบาย ข้อนี้ โจทย์ให้ตอ้ งการหาข้อความที่อยูต่ น้ ประโยคเลย ดังนั้น เพื่อให้เป็ นการประหยัดเวลา
การทาในข้อนี้ และเอาเวลาที่เหลือไปใช้ในข้ออื่น เมื่อเราหาข้อความแรกได้แล้ว ก็ไม่ตอ้ งไปหาข้อความ
ที่เหลือต่อไปพิจารณาตัวเลือก คาว่า “ทั้ง” “เพื่อ” “ได้ดาเนิน” นั้น ไม่สามารถเป็ นคาแรกของประโยคได้
เพราะเป็ นคาเชื่อม ที่จาเป็ นจะต้องมีขอ้ ความมาก่อนหน้านี้ดงั นั้น ในข้อนี้ สามารถชี้ชดั ได้เลยว่า ข้อ ข.
คือคาตอบที่ถูกต้อง

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 667
คาว่า “ทั้ง” เป็ นคาเชื่อม ที่ตอ้ งมีขอ้ ความมาก่อนหน้านี้
คาว่า “เพื่อ” เป็ นคาเชื่ อม ซึ่ งต้องมีขอ้ ความมาก่อนหน้านี้
คาว่า “ได้ดาเนิน” เป็ นคากริ ยา ซึ่งต้องคานามเป็ นประธานอยูข่ า้ งหน้า
๖๘. เฉลยตอบข้ อ ง. และเป็ นประโยชน์ในต่อการวางแผนดาเนิ นงาน
อธิบาย ข้อนี้ โจทย์ให้ตอ้ งการหาข้อความที่อยูใ่ นลาดับที่ ๓ ดังนั้น เราจึงจาเป็ นต้องเรี ยงประโยค
ให้ได้ความหมายครบถ้วนเสี ยก่อนในตัวเลือกทั้ง ๔ ตัวเลือกนั้น คาว่า “ช่วยให้” “และ” ไม่สามารถเป็ นคา
แรกของของประโยคได้คาว่า “ช่วยให้” เป็ นคากริ ยา ซึ่ งต้องมีคานามเป็ นประธานอยูข่ า้ งหน้า
คาว่า “และ” เป็ นคาเชื่ อม ที่ตอ้ งมีขอ้ ความอยูข่ า้ งหน้าทั้งข้อ ข. และ ข้อ ค. สามารถเป็ นข้อความแรกของ
ประโยคด้วยกันทั้งคู่ ลองมาเรี ยงข้อความดูดงั นี้
แบบที่ ๑
ข. [การจัดทาทะเบียนแหล่งชุ มชนโบราณ] ก. [ช่วยให้เกิดประสิ ทธิ ภาพในการสารวจ] ง. [และเป็ น
ประโยชน์ในต่อการวางแผนดาเนินงาน] ค. [ในการอนุรักษ์และพัฒนาชุมชนโบราณ]
แบบที่ ๒
ค. [ในการอนุรักษ์และพัฒนาชุมชนโบราณ] ข. [การจัดทาทะเบียนแหล่งชุมชนโบราณ] ก. [ช่วยให้เกิด
ประสิ ทธิ ภาพในการสารวจ] ง. [และเป็ นประโยชน์ในต่อการวางแผนดาเนิ นงาน]
ในทางภาษาศาสตร์ ประโยคทั้ง ๒ แบบถือว่าใช้ได้ท้ งั คู่ แต่ในการทาข้อสอบภาษาไทย ผมเห็นว่า การ
เรี ยงแบบที่ ๒ มีขอ้ บกพร่ องคือ ไม่รู้แผนดาเนินงานอะไร
ดังนั้น การเรี ยงแบบที่ ๑ จึงน่าจะถูกต้องกว่า คาตอบที่ถูกต้องก็ควรเป็ นข้อ ง.
๖๙. เฉลยตอบข้ อ ง. ให้ใส่ เครื่ องหมายอัญประกาศเปิ ดไว้ขา้ งหน้าย่อหน้า
อธิบาย ข้อนี้ โจทย์ให้ตอ้ งการหาข้อความที่อยูใ่ นลาดับที่ 2 ดังนั้น เราอาจจะไม่จาเป็ นต้องเรี ยง
ประโยคในครบก็ได้ เพราะ ถ้าหาข้อความแรกได้แล้ว ก็น่าจะหาข้อความที่สองได้เอง
ในตัวเลือกทั้ง ๔ ตัวเลือกนั้น คาว่า “ส่ วน” “ให้ใส่ ” ไม่สามารถเป็ นคาแรกของของประโยคได้
คาว่า “ส่ วน” เป็ นคาขึ้นต้นข้อความที่ตอ้ งมีขอ้ ความมาก่อนหน้านี้
คาว่า “ให้ใส่ ” เป็ นคากริ ยาที่ตอ้ งมีประธานอยูข่ า้ งหน้า
ดังนั้น ข้อความแรกก็ตอ้ งเป็ น ข. [ถ้าข้อความในเครื่ องหมายอัญประกาศมีความยาวหลายย่อหน้า]
เรามาเรี ยงข้อความลาดับที่สองกันดู
แบบที่ ๑
ข. [ถ้าข้อความในเครื่ องหมายอัญประกาศมีความยาวหลายย่อหน้า] ก. [ส่ วนเครื่ องหมายอัญประกาศปิ ด]
แบบที่ ๒
ข. [ถ้าข้อความในเครื่ องหมายอัญประกาศมีความยาวหลายย่อหน้า] ค. [ให้ใส่ ไว้เฉพาะย่อหน้าสุ ดท้าย]

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 668
แบบที่ ๓
ข. [ถ้าข้อความในเครื่ องหมายอัญประกาศมีความยาวหลายย่อหน้า] ง. [ให้ใส่ เครื่ องหมายอัญประกาศเปิ ด
ไว้ขา้ งหน้าย่อหน้า]
จากการเรี ยงทั้ง ๓ แบบ จะเห็นได้วา่ แบบที่ ๓ มีความหมายที่ถูกต้อง ดังนั้น คาตอบที่ถูกต้องคือ ข้อ ง.
๗๐. เฉลยตอบข้ อ ข. การดื่มสุ ราอย่างถูกต้อง จึงควรดื่มช้าๆ
อธิบาย ข้อนี้ โจทย์ให้ตอ้ งการหาข้อความที่อยูใ่ นลาดับที่ 3 ดังนั้น เราจึงจาเป็ นต้องเรี ยงประโยคให้
ได้ความหมายครบถ้วนเสี ยก่อน
ในตัวเลือกทั้ง 4 ตัวเลือกนั้น คาว่า “เพื่อ” “ถ้า” ไม่สามารถเป็ นคาแรกของของประโยคได้
คาว่า “เพื่อ” เป็ นคาเชื่ อม ที่ตอ้ งมีขอ้ ความอยูข่ า้ งหน้า
คาว่า “ถ้า” เป็ นคาเชื่ อม ที่ตอ้ งมีขอ้ ความอยูข่ า้ งหน้า
ข้อ ข. มีโอกาสที่จะเป็ นข้อความแรกได้ แต่ความหมายของข้อความนั้น แสดงให้เห็นว่า จะต้องมี “เรื่ อง”
หรื อข้อความก่อนหน้านี้ เพราะ ความหมายของข้อความเป็ นข้อสรุ ป
ข้อความแรกคือข้อ ง. [ตับเป็ นอวัยวะสาคัญที่จะช่วยกรองแอลกอฮอล์]
ดังนั้น การเรี ยงข้อความต่อมา ควรเป็ นข้อ ค. เพราะมีคาว่า “ถ้า” ที่แสดงความเป็ นเหตุเป็ นผลกับข้อความ
แรก ดังนั้น ประโยคนี้ควรจะเรี ยงแบบนี้
ง. [ตับเป็ นอวัยวะสาคัญที่จะช่วยกรองแอลกอฮอล์] ค. [ถ้าตับไม่ดี โอกาสที่จะเกิดอันตรายเพราะเหล้าก็
มากกว่าคนปกติ] ข. [การดื่มสุ ราอย่างถูกต้อง จึงควรดื่มช้าๆ] ก. [เพื่อให้แอลกอฮอล์บางส่ วน ถูกขับ
ออกมาทางลมหายใจ เหงื่อ และปัสสาวะ] ดังนั้น คาตอบที่ถูกต้องคือ ข้อ ข.
๗๑. เฉลยตอบข้ อ ข. ควบคู่กบั ประวัติศาสตร์ และความเจริ ญของกรุ งสุ โขทัย
อธิบาย ข้อนี้ โจทย์ให้ตอ้ งการหาข้อความที่อยูใ่ นลาดับที่ 3 ดังนั้น เราจึงจาเป็ นต้องเรี ยงประโยคให้
ได้ความหมายครบถ้วนเสี ยก่อน
ในตัวเลือกทั้ง 4 ตัวเลือกนั้น คาว่า “เคยมี” “ควบคู่” “ซึ่ง” ไม่สามารถเป็ นคาแรกของของประโยคได้
คาว่า “เคยมี” เป็ นคากริ ยา ที่ตอ้ งมีประธานอยูข่ า้ งหน้า
คาว่า “ควบคู่” เป็ นคากริ ยา ที่ตอ้ งมีประธานอยูข่ า้ งหน้า
คาว่า “ซึ่ง” เป็ นคาเชื่ อม ที่ตอ้ งมีขอ้ ความอยูข่ า้ งหน้า
ดังนั้น ข้อความแรกจึงเป็ นข้อความนี้ ค. [จังหวัดกาแพงเพชรเป็ นจังหวัดที่มีประวัติศาสตร์ มาช้านาน]
เรามาเรี ยงข้อความลาดับที่สองกันดู
แบบที่ ๑
ค. [จังหวัดกาแพงเพชรเป็ นจังหวัดที่มีประวัติศาสตร์ มาช้านาน] ก. [เคยมีความเจริ ญทั้งทางด้านอารย
ธรรม และศิลปกรรม ตลอดจนศาสนา]

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 669
แบบที่ ๒
ค. [จังหวัดกาแพงเพชรเป็ นจังหวัดที่มีประวัติศาสตร์ มาช้านาน] ข. [ควบคู่กบั ประวัติศาสตร์ และความ
เจริ ญของกรุ งสุ โขทัย]
แบบที่ ๓
ค. [จังหวัดกาแพงเพชรเป็ นจังหวัดที่มีประวัติศาสตร์ มาช้านาน] ง. [ซึ่ งปั จจุบนั ร่ องรอยแห่งความเจริ ญใน
ด้านต่างๆ ยังปรากฏให้เห็นอยู]่
การเรี ยงในแบบที่ ๒ นั้น ไม่น่าจะถูกต้อง เพราะ คาว่า “ควบคู่” จะต้องมีขอ้ ความมาก่อนหน้านี้ สาหรับ
แบบที่ ๓ นั้น ก็มีความเป็ นไปได้ แต่ขอ้ ความดังกล่าวนั้น น่าจะอยูท่ า้ ยประโยคมากกว่า ดังนั้น ประโยคนี้
จึงควรเรี ยงแบบนี้
ค. [จังหวัดกาแพงเพชรเป็ นจังหวัดที่มีประวัติศาสตร์ มาช้านาน] ก. [เคยมีความเจริ ญทั้งทางด้านอารย
ธรรม และศิลปกรรม ตลอดจนศาสนา] ข. [ควบคู่กบั ประวัติศาสตร์ และความเจริ ญของกรุ งสุ โขทัย] ง.
[ซึ่ งปั จจุบนั ร่ องรอยแห่งความเจริ ญในด้านต่างๆ ยังปรากฏให้เห็นอยู]่ ดังนั้น คาตอบที่ถูกต้องคือ ข้อ ข.
๗๒. เฉลยตอบข้ อ ค. และให้เป็ นประโยชน์แก่เรานั้น
อธิบาย ข้อนี้ โจทย์ให้ตอ้ งการหาข้อความที่อยูใ่ นลาดับที่ ๒ ดังนั้น เราอาจจะไม่จาเป็ นต้องเรี ยง
ประโยคในครบก็ได้ เพราะ ถ้าหาข้อความแรกได้แล้ว ก็น่าจะหาข้อความที่สองได้เอง
ในตัวเลือกทั้ง ๔ ตัวเลือกนั้น คาว่า “ทั้งนี้ ” “และ” ไม่สามารถเป็ นคาแรกของของประโยคได้
เมื่อพิจารณาระหว่างข้อ ก. กับ ข้อ ง. เราสามารถตัดสิ นได้วา่ ข้อ ก. ข้อความลาดับแรก เหลือให้เป็ น
ปัญหาให้เลือกคือ ข้อใดควรจะเป็ นข้อความในลาดับที่ ๒
เมื่อเราอ่านข้อความในคาตอบแล้ว จะเห็นว่า ข้อ ข. ต้องเป็ นข้อความสุ ดท้าย เหลือให้เราเลือกคือ ข้อ ค.
กับ ข้อ ง. เรามาลองเรี ยงข้อความดู
แบบที่ ๑
ก. [การใช้สิ่งของ เครื่ องมือ เครื่ องใช้ ทุกอย่างที่ให้บริ การ] ค. [และให้เป็ นประโยชน์แก่เรานั้น] ง.
[จาเป็ นที่ผใู ้ ช้จะต้องเข้าใจและรู ้จกั ใช้ให้เป็ น]
แบบที่ ๒
ก. [การใช้สิ่งของ เครื่ องมือ เครื่ องใช้ ทุกอย่างที่ให้บริ การ] ง. [จาเป็ นที่ผใู ้ ช้จะต้องเข้าใจและรู ้จกั ใช้ให้
เป็ น] ค. [และให้เป็ นประโยชน์แก่เรานั้น] จะเห็นว่า ข้อความในแบบที่ ๑ อ่านแล้วราบรื่ น ไม่สะดุด
อย่างแบบที่ ๒ ดังนั้น ในข้อนี้ คาตอบที่ถูกต้องคือ ข้อ ค.
๗๓. เฉลยตอบข้ อ ก. และอ่านด้วยวิธีการที่เหมาะสม
อธิบาย ข้อนี้ โจทย์ให้ตอ้ งการหาข้อความที่อยูใ่ นลาดับที่ ๒ ดังนั้น เราอาจจะไม่จาเป็ นต้องเรี ยง
ประโยคในครบก็ได้ เพราะ ถ้าหาข้อความแรกได้แล้ว ก็น่าจะหาข้อความที่สองได้เอง
ในตัวเลือกทั้ง ๔ ตัวเลือกนั้น คาว่า “และ”, “โดย”, “เพื่อ” ไม่สามารถเป็ นคาแรกของของประโยคได้

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 670
ดังนั้น ข้อความแรกคือ ข. ผูอ้ ่านต้องกาหนดเป้ าหมายในการอ่าน เรามาลองเรี ยงข้อความดู
แบบที่ ๑
ข. [ผูอ้ ่านต้องกาหนดเป้ าหมายในการอ่าน] ก. [และอ่านด้วยวิธีการที่เหมาะสม]
แบบที่ ๒
ข. [ผูอ้ ่านต้องกาหนดเป้ าหมายในการอ่าน] ค. [โดยใช้เวลาและแรงงานน้อยที่สุด]
แบบที่ ๓
ข. [ผูอ้ ่านต้องกาหนดเป้ าหมายในการอ่าน] ง. [เพื่อให้บรรลุเป้ าหมายมากยิง่ ขึ้น]
จะเห็นว่า ข้อความในแบบที่ ๑ อ่านแล้วราบรื่ น ไม่สดุดอย่างแบบที่ ๒ กับ แบบที่ ๓ ดังนั้น ในข้อนี้
คาตอบที่ถูกต้องคือ ข้อ ก.
๗๔. เฉลยตอบข้ อ ข. ในอัตราไม่เกินร้อยละ ๓๐ ของพื้นที่เสี ยหาย
อธิบาย ข้อนี้ โจทย์ให้ตอ้ งการหาข้อความที่อยูใ่ นลาดับที่ ๔ ดังนั้น ต้องเรี ยงประโยคให้ครบถ้วน
เสี ยก่อน จึงจะรู ้วา่ ข้อใดถูกในตัวเลือกทั้ง ๔ ตัวเลือกนั้น คาว่า “เป็ น”, “จะ” ไม่สามารถเป็ นคาแรกของ
ของประโยคได้ ดังนั้น ข้อความแรกจะต้องเป็ นข้อ ข. หรื อ ข้อ ง. เมื่ออ่านแล้ว จะพบว่า ข้อ ง. เป็ น
ข้อความแรก เพราะ อ่านแล้วมีเนื้อหาเหมาะสมครบถ้วนกว่าข้อ ข.
๗๕. เฉลยตอบข้ อ ค. รัฐ ตามความเข้าใจของคนโบราณถือเป็ นส่ วนหนึ่งของพระมหากษัตริ ย ์
อธิบาย ข้อนี้ โจทย์ให้ตอ้ งการหาข้อความแรกเลย ดังนั้น เพื่อให้เป็ นการประหยัดเวลาในการทา
ข้อสอบ เมื่อเราหาข้อความแรกได้แล้ว ก็ไม่ตอ้ งไปหาข้อความที่เหลือ
เมื่ออ่านแล้ว จะเห็นว่า ข้อ ก. ข้อ ข. และ ข้อ ง. นั้น ไม่สามารถเป็ นข้อความแรกได้ โดยมีเหตุผล ดังนี้
ข้อ ก. เนื้ อหาเป็ นข้อสรุ ป
ข้อ ข. ข้อความนี้ จะต้องมีขอ้ ความมาก่อนหน้า
ข้อ ง. ข้อความนี้ จะต้องมีขอ้ ความมาก่อนหน้า
ดังนั้น คาตอบที่ถูกในข้อนี้ คือ ข้อ ค.
๗๖. เฉลยตอบข้ อ ก. ในอดีตประชาชนชาวไทยยังเคยชินกับการปกครองแบบมีผคู ้ อยชี้นา
อธิบาย ข้อนี้ โจทย์ให้ตอ้ งการหาข้อความที่อยูใ่ นลาดับที่ ๔ ดังนั้น ต้องเรี ยงประโยคให้ครบถ้วน
เสี ยก่อน จึงจะรู ้วา่ ข้อใดถูกในตัวเลือกทั้ง ๔ ตัวเลือกนั้น คาว่า “ซึ่ง”, “แต่”, “ทาให้” ไม่สามารถเป็ นคา
แรกของของประโยคได้ ดังนั้น ข้อความแรกจะต้องเป็ นข้อ ก.
๗๗. เฉลยตอบข้ อ ง. แต่การสอนให้ชาระจิตใจให้สะอาดทางพระพุทธศาสนา
อธิบาย ข้อนี้ โจทย์ให้ตอ้ งการหาข้อความที่อยูใ่ นลาดับที่ ๓ ดังนั้น เราอาจจะต้องเรี ยงประโยคใน
ครบถ้วน จึงจะหาข้อที่ถูกต้องได้ ในตัวเลือกทั้ง ๔ ตัวเลือกนั้น คาว่า “แต่”ไม่สามารถเป็ นคาแรกของของ
ประโยคได้ ดังนั้น ข้อความแรกจึงอาจจะเป็ น ข้อ ก. ข้อ ข. หรื อ ข้อ ค.เมื่ออ่านแล้วจะให้วา่ ข้อ ก. กับ ข้อ
ข. เป็ นข้อความแรกไม่ได้

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 671
ข้อ ก. เนื้ อความไม่ชดั เจน และควรมีขอ้ ความมาก่อนหน้านี้ ข้อ ข. ก็เช่นเดียวกัน
ดังนั้น ข้อความแรกคือ ข้อ ค. การสอนให้ละเว้นความชัว่ และทาความดี เรามาลองเรี ยงข้อความดู
แบบที่ ๑
ค. [การสอนให้ละเว้นความชัว่ และทาความดี] ก. [กาหนดไว้เป็ นส่ วนหนึ่งอย่างชัดเจน]
แบบที่ ๒
ค. [การสอนให้ละเว้นความชัว่ และทาความดี] ข. [มีสอนอยูท่ วั่ ไปไม่เฉพาะพระพุทธศาสนา]
แบบที่ ๓
ค. [การสอนให้ละเว้นความชัว่ และทาความดี] ง. [แต่การสอนให้ชาระจิตใจให้สะอาดทาง
พระพุทธศาสนา] จะเห็นข้อความในแบบที่ ๒ อ่านแล้วราบรื่ น ไม่สะดุดอย่างแบบที่ ๑ กับแบบที่ ๓ เรา
มาเรี ยงข้อความกันต่อ
แบบที่ ๑
ค. [การสอนให้ละเว้นความชัว่ และทาความดี] ข. [มีสอนอยูท่ วั่ ไปไม่เฉพาะพระพุทธศาสนา] ก. [กาหนด
ไว้เป็ นส่ วนหนึ่งอย่างชัดเจน]
แบบที่ ๒
ค. [การสอนให้ละเว้นความชัว่ และทาความดี] ข. [มีสอนอยูท่ วั่ ไปไม่เฉพาะพระพุทธศาสนา] ง. [แต่การ
สอนให้ชาระจิตใจให้สะอาดทางพระพุทธศาสนา]
จะเห็นว่า จะเห็นข้อความในแบบที่ ๒ อ่านแล้วราบรื่ น ไม่สะดุดอย่างแบบที่ ๑ ดังนั้น ข้อที่ถูกในข้อนี้คือ
ข้อ ง.
๗๘. เฉลยตอบข้ อ ก. นอกจากการใช้คาพากย์และคาเจรจาดาเนินเรื่ องแล้ว
อธิบาย ข้อนี้ โจทย์ให้ตอ้ งการหาข้อความที่อยูใ่ นลาดับที่ ๒ ดังนั้น เราอาจจะไม่จาเป็ นต้องเรี ยง
ประโยคในครบก็ได้ เพราะ ถ้าหาข้อความแรกได้แล้ว ก็น่าจะหาข้อความที่สองได้เอง
ทั้ง ๔ ตัวเลือกนั้น คาว่า “ต้อง”ไม่สามารถเป็ นคาแรกของของประโยคได้ ดังนั้น ข้อความแรกจึงอาจจะ
เป็ น ข้อ ก. ข้อ ข. หรื อ ข้อ ค.
เมื่ออ่านแล้วจะให้วา่ ข้อ ก. กับ ข้อ ข. เป็ นข้อความแรกไม่ได้
ข้อ ก. เนื้ อความไม่ชดั เจน และควรมีขอ้ ความมาก่อนหน้านี้ ข้อ ข. ก็เช่นเดียวกัน
ดังนั้น ข้อความแรกคือ ข. การแสดงโขนของกรมศิลปกรแต่โบราณ เรามาลองเรี ยงข้อความดู
แบบที่ ๑
ข. [การแสดงโขนของกรมศิลปกรแต่โบราณ] ก. [นอกจากการใช้คาพากย์และคาเจรจาดาเนินเรื่ องแล้ว]
แบบที่ ๒
ข. [การแสดงโขนของกรมศิลปกรแต่โบราณ] ค. [สาหรับใช้บรรเลงประกอบอิริยาบถและความรู ้สึก]

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 672
แบบที่ ๓
ข. [การแสดงโขนของกรมศิลปกรแต่โบราณ] ง. [ต้องประกอบด้วยวงดนตรี ชนิดหนึ่งเรี ยกว่า วงปี่ พากย์]
จะเห็นว่า ข้อความในแบบที่ ๑ กับ แบบที่ ๓ มีโอกาสเป็ นไปได้ และข้อ ค. น่าจะเป็ นข้อความสุ ดท้าย เรา
ต้องมาเรี ยงข้อความกันต่ออีกครั้งหนึ่ง
แบบที่ ๑
ข. [การแสดงโขนของกรมศิลปกรแต่โบราณ] ก. [นอกจากการใช้คาพากย์และคาเจรจาดาเนินเรื่ องแล้ว]
ง. [ต้องประกอบด้วยวงดนตรี ชนิดหนึ่งเรี ยกว่า วงปี่ พากย์] ค. [สาหรับใช้บรรเลงประกอบอิริยาบถและ
ความรู ้สึก]
แบบที่ ๓
ข. [การแสดงโขนของกรมศิลปกรแต่โบราณ] ง. [ต้องประกอบด้วยวงดนตรี ชนิดหนึ่งเรี ยกว่า วงปี่ พากย์]
ก. [นอกจากการใช้คาพากย์และคาเจรจาดาเนินเรื่ องแล้ว] ค. [สาหรับใช้บรรเลงประกอบอิริยาบถและ
ความรู ้สึก] จะเห็นว่าข้อความในแบบที่ ๑ อ่านแล้วราบรื่ น ไม่สะดุดอย่างแบบที่ ๓ ดังนั้น ข้อที่ถูกต้องใน
ข้อนี้คือ ข้อ ก
๗๙. เฉลยตอบข้ อ ง. และใช้ที่ในบริ เวณวังเป็ นที่เพาะปลูกธัญพืชต่างๆ
อธิบาย ข้อนี้ โจทย์ให้ตอ้ งการหาข้อความที่อยูใ่ นลาดับที่ ๓ ดังนั้น ต้องเรี ยงประโยคให้ครบถ้วน
เสี ยก่อน จึงจะรู ้วา่ ข้อใดถูกในตัวเลือกทั้ง ๔ ตัวเลือกนั้น คาว่า “เพื่อ”, “ตลอดจน”, “และ” ไม่สามารถ
เป็ นคาแรกของของประโยคได้ ดังนั้น ข้อความแรกจะต้องเป็ นข้อ ข.
ลองเรี ยงข้อความดู
แบบที่ ๑
ข. [วังพญาไทสร้างขึ้นในสมัยรัชการที่ ๕] ก. [เพื่อเป็ นที่เสด็จประภาส]
แบบที่ ๒
ข. [วังพญาไทสร้างขึ้นในสมัยรัชการที่ ๕] ค. [ตลอดจนประกอบราชพิธีจรดพระนังคัลแรกนาขวัญ]
แบบที่ ๓
ข. [วังพญาไทสร้างขึ้นในสมัยรัชการที่ ๕] ง. [และใช้ที่ในบริ เวณวังเป็ นที่เพาะปลูกธัญพืชต่างๆ]
จะเห็นว่า ข้อความในแบบที่ ๑ อ่านแล้วราบรื่ น ไม่สะดุดอย่างแบบที่ ๒ กับ แบบที่ ๓ดังนั้น ข้อ ก. เป็ น
ข้อความในลาดับที่ ๒ สาหรับข้อ ค. น่าจะเป็ นข้อความสุ ดท้าย ดังนั้น คาตอบที่ถูกต้องในข้อนี้ คือ
ข้อความที่เป็ นลาดับที่ ๓ คือ ข้อ ง.
๘๐. เฉลยตอบข้ อ ก. การปลูกฝังให้คนไทยมีความรักชาติ
อธิบาย ข้อนี้ โจทย์ให้ตอ้ งการหาข้อความที่อยูใ่ นลาดับที่ ๒ ดังนั้น เราอาจจะไม่จาเป็ นต้องเรี ยง
ประโยคในครบก็ได้ เพราะ ถ้าหาข้อความแรกได้แล้ว ก็น่าจะหาข้อความที่สองได้เอง
ในตัวเลือกทั้ง ๔ ตัวเลือกนั้น คาว่า “โดย” ไม่สามารถเป็ นคาแรกของของประโยคได้

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 673
ดังนั้น ข้อความแรกจึงอาจจะเป็ น ข้อ ก. ข้อ ข. หรื อ ข้อ ค.เมื่ออ่านแล้วจะให้วา่ ข้อ ค. เป็ นข้อความแรก
ไม่ได้ เพราะ เนื้ อความไม่ชดั เจน และควรมีขอ้ ความมาก่อนหน้านี้ เมื่ออ่านข้อ ง. แล้ว ข้อความอ้างถึง
“อุดมการณ์ท้ งั สามประการ” และข้อ ง. น่าจะเป็ นข้อความสุ ดท้าย ดังนั้น ข้อความทั้งหมดควรจะเป็ น
ดังนี้ข. [การที่สร้างให้ประเทศมีความเจริ ญก้าวหน้า มีความมัน่ คงทางเศรษฐกิจ] ก. [การปลูกฝังให้คน
ไทยมีความรักชาติ] ค. [ภูมิใจในชาติ และอุทิศตนทางานเพื่อชาติ] ง. [โดยอุดมการณ์ท้ งั สามประการ ควร
ปลูกฝังตั้งแต่เด็กๆ และในสถานศึกษา] ดังนั้น ในข้อนี้ คาตอบที่ถูกต้องคือ ข้อ ก.
๘๑. เฉลยตอบข้ อ ง. ระหว่างผูร้ ับการฝึ กอบรมกับผูอ้ ภิปราย
อธิบาย ข้อนี้ โจทย์ให้ตอ้ งการหาข้อความที่อยูใ่ นลาดับที่ ๔ ดังนั้น ต้องเรี ยงประโยคให้ครบถ้วน
เสี ยก่อน จึงจะรู ้วา่ ข้อใดถูกในตัวเลือกทั้ง ๔ ตัวเลือกนั้น คาว่า “โดย”, “ระหว่าง” ไม่สามารถเป็ นคาแรก
ของของประโยคได้ ดังนั้น ข้อความแรกจะต้องเป็ นข้อ ข หรื อ ข้อ ค. ลองเรี ยงข้อความดู
แบบที่ ๑
ข. [วิธีฝึกอบรมพยายามที่จะสร้างบรรยากาศ แห่งความสมานฉันท์] ค. [ลักษณะเด่นอีกประการหนึ่งของ
การฝึ กอบรมคือ]
แบบที่ ๒
ค. [ลักษณะเด่นอีกประการหนึ่งของการฝึ กอบรมคือ] ข. [วิธีฝึกอบรมพยายามที่จะสร้างบรรยากาศ แห่ง
ความสมานฉันท์]จะเห็นว่า ข้อความในแบบที่ ๒ อ่านได้ราบรื่ น ไม่สะดุด เมื่ออ่านข้อความต่อจะเห็นว่า
ข้อ. ง เป็ นข้อที่ถูกต้อง
๘๒. เฉลยตอบข้ อ ข. ๔,๒,๑,๓ อธิบาย โจทย์ขอ้ นี้เป็ นกลอน ๘ หรื อกลอนสุ ภาพ
๘๓. เฉลยตอบข้ อ ง. ๑,๓,๒,๔ อธิบาย ข้อความดังกล่าวเป็ นกลอนสุ ภาพหรื อกลอน ๘
๘๔. เฉลยตอบข้ อ ข. ๓ – ๔ – ๒ – ๑ อธิบาย หลักการเรี ยงประโยคมีดงั นี้
๑. หาประธานของประโยค โดยทัว่ ไปจะให้ความสาคัญ กับ คานาม + เป็ น + หมายถึง + คือเป็ นลาดับแรก
ข้อสอบข้อนี้มีขอ้ ความที่เข้าลักษณะนี้อยู๒ ่ ข้อความคือ ข้อความที่ ๓ ครู เป็ นผูส้ นับสนุนผูเ้ รี ยนให้มี
ความรู ้และทักษะ และ ข้อความที่ ๔ ครู ไม่ใช่ผสู ้ อนที่ตอ้ งสอนตามตาราแต่ขอ้ ๔ มีน้ า หนักน้อยกว่า
เพราะเป็ นข้อความที่มีลกั ษณะปฏิเสธดังนั้น ข้อความทื่ ๓ จึงขึ้นต้น ประโยค
๒. พิจารณา ประโยคที่ ๑ เพื่อให้บรรลุวตั ถุประสงค์ของหลักสู ตรในที่สุด และ ประโยคที่ ๒ โดยการ
สอนด้วยวิธีที่หลากหลายจะเห็นว่า ทั้งสองข้อความนี้มีคาว่า “เพื่อ” และคา ว่า “โดย” นาหน้าจะขึ้นต้น
ประโยคไม่ได้และใน ประโยคที่ ๑ เพื่อให้บรรลุวตั ถุประสงค์ของหลักสู ตรในที่สุด มีคาว่า ในที่สุด ซึ่ง
ตามหลักแล้วถ้ามีคา ว่า ในที่สุด บรรลุ สาเร็ จ อยูท่ า้ ยข้อความ ข้อความนั้นมักจะอยูท่ า้ ยสุ ดเสมอ ดังนั้น
ข้อความที่ ๑ เพื่อให้บรรลุวตั ถุประสงค์ของหลักสู ตรในที่สุดจึงวางอยูล่ าดับ สุ ดท้าย จึงตอบข้อ ข.

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 674

๘๕. เฉลยตอบข้ อ ค. ๓ – ๒ – ๔ – ๑
อธิ บาย เรี ยงตามลาดับเหตุการณ์ คือ เรี ยงเวลา เช้า สาย บ่าย เย็น
๘๖. เฉลยตอบข้ อ ข. ๔ ๒ ๑ ๓
๘๗. เฉลยตอบข้ อ ค. ๒ ๑ ๔ ๓
๘๘. เฉลยตอบข้ อ ง. ๓ ๒ ๑ ๔
๘๙. เฉลยตอบข้ อ ค. ๓ ๑ ๔ ๒
๙๐. เฉลยตอบข้ อ ค. ก. ง. ค. ข.
อธิบาย การเรี ยงลาดับโครงเรื่ องเพื่อทารายงานเรื่ อง “ลาตัด ลมหายใจสุ ดท้ายของเพลงพื้นบ้าน” ตาม
ข้อที่ ค. เป็ นการเรี ยงที่เหมาะสมกว่าข้ออื่นๆ เพราะทาให้เกิดสัมพันธภาพของเนื้ อหาสาระ
๙๑.เฉลยตอบข้ อ ข. ก ค ข ง
อธิบาย เป็ นการเรี ยงลาดับได้ถูกต้องตามระเบียบวาระการประชุม
๙๒. เฉลยตอบข้ อ ง. ข้อ ค
อธิบาย ใช้ขอ้ ความที่เหมาะสมในประโยคแรกและประโยคสุ ดท้ายของการพูด
๙๓. เฉลยตอบข้ อ ง. ค ข ง ก
อธิ บาย ค. หญิงชราขาสัน่ งันงันงก ข. ขึ้นอาเภอวิตกอกหวัน่ หวัน่
ง. ยกมือไว้ปลกงกงกงัน ก. เขาตะคอกเพราะ “อิฉนั มันยากไร้”
วิธีการพิจารณาว่าจะต่อบทประพันธ์อย่างไร สามารถดูได้จากฉันทลักษณ์โดยดูสัมผัสบังคับ ลง
ท้ายตัวสะกด ถูกต้อง ดูเสี ยงวรรณยุกต์ทา้ ยวรรคดังนี้
วรรคสดับไม่นิยมเสี ยงสามัญ
วรรครับไม่นิยมเสี ยงตรี หา้ มเสี ยงสามัญ
วรรครอง ห้ามเสี ยงจัตวา ห้ามเสี ยงเดียวกับวรรครับ
วรรคส่ ง ห้ามเสี ยงจัตวา นิยมเสี ยงสามัญ หรื อเสี ยงตรี เลี่ยงเสี ยงวรรณยุกต์กบั วรรครับและ
วรรครอง ถ้าให้ดีก็ให้ดูความหมายด้วยจะได้ถูกต้องสมบูรณ์
๙๔. เฉลยตอบข้ อ ค. ง ก จ ค ข ฉ
อธิบาย ลักษณะคาประพันธ์ประเภทกาพย์ฉบัง ๑๖
ทัว่ แสนโกฏิจกั รวาลไกล จะหาผูใ้ ด
เสมอเหมือนนั้นไซร้ไป่ มี
ศรัทธามัน่ มุ่งทาดี ข. เดินโดยวิถี
อันพระพุทธองค์ทรงแสดง

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม


วิชาความรู ้ความสามารถทัว่ ไป 675

๙๕. เฉลยตอบข้ อ ข. ก – ค – ง – ข – จ
อธิ บาย การกล่าวคาปราศรัยมีลาดับขั้นตอนดังนี้
ก. กล่าวถึงความสาคัญของโอกาสที่พูด ข. กล่าวเน้นถึงความสาคัญของสิ่ งนั้นๆ
ค. นาเหตุการณ์สาคัญ ๆ หรื อบุคคลที่มีบทบาทเด่นๆ มากล่าวเพื่อประโยชน์ แก่ส่วนรวม
ง. พูดถึงอดีต ปั จจุบนั และความหวังที่ดีงามในอนาคต จ. กล่าวคาอวยพร
๙๖. เฉลยตอบข้ อ ค. ง – ค – ข – ก –จ
อธิ บาย องค์ประกอบของการฟังเริ่ มจาก
ก. การได้ยนิ เป็ นขั้นแรกของการฟังเมื่อมีเสี ยงมากระทบโสตประสาท
ข. การพุง่ ความสนใจ ผูฟ้ ังจะมุ่งความสนใจไปตามเสี ยงที่ได้ยนิ นั้น
ค. การเข้าใจ ถ้าผูฟ้ ังรู ้จกั ภาษาของผูพ้ ูดก็จะรับรู ้และเข้าใจสารที่ส่งมา แต่ถา้ ผูพ้ ูดพูดภาษา
อื่นที่ผฟู ้ ังไม่รู้จกั มากก่อน ผูฟ้ ังก็ไม่สามารถรับรู ้และเข้าใจสารนั้นได้
ง. การตีความ เมื่อผูฟ้ ังเข้าใจภาษาของผูพ้ ูดแล้ว ก็ถึงขั้นของการค้นหาความหมายของ
สารที่ส่งมาว่ามีเจตนาที่แท้จริ งอย่างไร
จ. การตอบสนอง เมื่อผูฟ้ ังตีความสารที่ส่งมาได้แล้ว ก็จะตอบสนองกลับอย่างใดอย่าง
หนึ่งไปหาผูพ้ ูด เช่น พยักหน้า ส่ ายหน้า หัวเราะ พูดโต้กนั
๙๗. เฉลยตอบข้ อ ข. ข จ ค ฉ ง ก
อธิบาย ฉันทลักษณ์ที่ให้มาเป็ น “กาพย์ฉบัง ๑๖” ซึ่งจัดวรรคได้เป็ น ๖ – ๔ – ๖ = ๑ บท ดังนี้
พวกพลทุกคนคาแหง หาญเหิมฤทธิ แรง
พร้อมเพื่อผจญสงคราม
พารณคารณคาราม เสื อสิ งห์วงิ่ หลาม
แลล้วนจะน่าสยดสยอน
๙๘. เฉลยตอบข้ อ ข. ๑ ๒ ๓ ๔ ๕
๙๙. เฉลยตอบข้ อ ค. ๓ ๑ ๒ ๔
๑๐๐. เฉลยตอบข้ อ ค. ๓ ๔ ๒ ๑

เรียบเรียงโดย...ยุทธพงษ์ ชัยติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม

You might also like