You are on page 1of 16

บทที่ 9

พิ กดั ความเผือ่ ตามระบบ ISO

งานเขียนแบบเพื่อ การสังงาน
่ เป็ นงานที่ต้อ งกาหนดขนาดครบถ้วนสมบูรณ์ การกาหนด
ตัวเลขบอกขนาดทีผ่ ่านมานัน้ เป็ นการกาหนดขนาดตัวเลขเพียงค่าเดียว ในกระบวนการผลิตขึน้ รูป
นัน้ ไม่สามารถทาตามขนาดตามแบบทีก่ าหนดตัวเลขเพียงค่าเดียวได้ จึง มีมาตรฐานพิกดั ความเผื่อ
ตามระบบ ISO มาเป็ นการอ้างอิงในการปฏิบตั งิ านในกระบวนการผลิต ถ้าแบบกาหนดมิตขิ นาด
แบบตัวเลขเพียงค่าเดียวนัน้ แสดงว่าผูเ้ ขียนแบบให้ผผู้ ลิตเปิ ดตารางพิกดั ความเผื่ออิสระตามขนาด
มิตแิ บบ อย่างไรก็ตามผู้เขียนแบบและผู้ผลิตควรรูเ้ กี่ยวกับระบบพิกดั ความเผื่อ และควรเข้าใจไป
ในทางเดียวกัน ส่วนพิกดั งานสวมนัน้ ผู้ออกแบบควรกาหนดพิกดั งานสวมให้เหมาะสมกับลักษณะ
งานนัน้ ๆ และให้ผเู้ ขียนแบบกาหนดพิกดั งานสวมนัน้ ลงในงานแบบให้ครบถ้วน เนื้อหารายละเอียด
ในบทนี้ จ ะกล่ าวถึง พิก ัด ความเผื่อ ตามระบบ ISO พิกัด ความเผื่อ อิส ระ ประเภทของงานสวม
ระบบงานสวมรูคงที่ และเพลาคงที่ รวมถึงสัญลักษณ์ทใ่ี ช้ในการกาหนดขนาดของระบบงานสวม

ค่าเผื่อล่าง ค่าพิกดั ความเผื่อ ค่าเผื่อบน

เส้นศูนย์ขนาดกาหนด

เส้นอ้างอิง ขนาดเล็กสุด ขนาดจริง ขนาดโตสุด

RMUTL Lampang
116
9.1 การกาหนดพิ กดั ความเผือ่ ในงานแบบ
ความหมายพิกดั ความเผื่อตาม DIN 7182 T1 เนื่องจากการผลิตชิน้ ส่วนในขบวนการผลิตให้ได้
ขนาดระบุ (Nominal Size) N อย่างแม่นยานัน้ ไม่สามารถที่จะกระทาได้ ดังนัน้ จะต้องมีการกาหนด
พิกดั ความเผื่อ T (Tolerance) พิกดั ความเผื่อทัง้ หมดจะอ้างอิงเส้นศูนย์ NL เสมอแสดงดังภาพด้านล่าง

เมือ่ ขนาดโตสุด(Go) = N + Ao ; Ao=ค่าเผื่อบน


ขนาดเล็กสุด(Gu) = N + Au ; Ao=ค่าเผื่อล่าง

ตารางพิกดั ความเผื่ออิสระแนวเส้นตรงตามมาตรฐาน DIN 7168

ขนาดกาหนด ความละเอียด
(หน่วยมิลลิเมตร)
(หน่วยมิลเิ มตร) ละเอียดมาก ปานกลาง หยาบ หยาบมาก
ตัง้ แต่ 0.5 ถึง 3  .05  .1  .15 -
โตกว่า 3 ถึง 6  .50  .1  .2  .5
โตกว่า 6 ถึง 30  .1  .2  .5 1
โตกว่า 30 ถึง 120  .15  .3  .8  1.5
โตกว่า 120 ถึง 315  .2  .5  1.2 2
โตกว่า 315 ถึง 1000  .3  .8 2 3
โตกว่า 1000 ถึง 2000  .5  1.2 3 4
โตกว่า 2000 ถึง 4000  .8 2 4 6
โตกว่า 4000 ถึง 8000 - 3 5 8
โตกว่า 8000 ถึง 12000 - 4 6  10
โตกว่า 12000 ถึง 16000 - 5 7  12
โตกว่า 16000 ถึง 20000 - 6 8  12
117
ตารางพิกดั ความเผื่ออิสระของมุมตามมาตรฐาน DIN 7168

ขนาดกาหนด ความละเอียด
(หน่วยองศา ลิปดา)
(มิลเิ มตร) ละเอียดมาก ปานกลาง หยาบ หยาบมาก
ถึง 10 1 1 30’  3
โตกว่า 10 ถึง 50  30’  50’  2
โตกว่า 50 ถึง 120  20’  25’  1
โตกว่า 120 ถึง 400  10’  15’  30’
โตกว่า 400  5’  10’  20’

9.2 การกาหนดพิ กดั ความเผือ่ ด้วยค่าเบี่ยงเบนตาม DIN 406


จะให้ตวั เลขพิกดั ความเผื่อเล็กกว่าตัวเลขบอกขนาดจริง 1 ระดับ แต่ต้องไม่เล็กกว่า 2.5 mm
ค่าเผื่อบนให้อยู่สูงกว่าตัวเลขบอกขนาดเล็กน้อย และค่าเผื่อล่างให้อยู่ต่ ากว่าตัวเลขให้ขนาดเล็กน้อย
เช่นกัน ตามแต่พกิ ดั ขนาด ชิ้นงานที่จะสวมเข้าด้วยกัน ที่ทาให้เกิดขนาดงานสวมจริง (Actual Size)
จะเกิดช่องว่าง (Clearance) หรือขนาดเกิน (Oversize)

ผิวสวม ผิวสวม

งานสวมผิวราบ งานสวมผิวกลม
118
ช่องว่าง หมายถึง ขนาดเส้นผ่าน
ศูนย์กลางแตกต่างกัน เช่น  เพลาเล็ก
กว่า  รูสวม
ขนาดเกิน หมายถึง ขนาดเส้นผ่าน
ศูนย์ กลางแตกต่างกัน เช่น  เพลาโตกว่า
 รูสวม
พิกดั ความเผื่อ เป็ นช่วงระหว่างขนาด รู เส้นศูนย์
โตสุ ด และเล็ก สุ ด พิ ก ัด ความเผื่อ จะบอก

ขนาดกาหนด
ขนาดของพิก ัด ความเผื่อ รวมทัง้ ต าแหน่ ง
ของพิกดั ความเผื่อไปยังเส้นศูนย์
พิกดั ความเผื่อจะอยู่ระหว่างเส้น 2
เส้น คือ ขนาดโตสุดและเล็กสุด เพลา
9.3 ประเภทงานสวม
ตามแต่ตาแหน่ งและขนาดของพิกดั ความเผื่ออ้างอิงจากเส้นศูนย์ จะทาให้เกิดประเภทงานสวม
ต่างกัน 3 ประเภทคือ งานสวมคลอน งานสวมอัด และงานสวมพอดีตาม DIN ISO 286-1(1990-11)
ขนาดทัง้ หมดจะมีพน้ื ฐาน H ตัวอย่าง
สาหรับขนาดระบุ 25, เกรดพิกดั เผื่อ 7
+
0
-

+
0
-

9.4 คุณภาพงานสวม
เป็ นพิกดั ความเผื่อตาม ISO สาหรับขนาดความยาวตัง้ แต่ 1 ถึง 500 mm แบ่งเป็ น 13 ช่วง
และแบ่งเป็ นระดับคุณภาพ 20 ระดับ คือเริม่ จาก 01, 0, 1, 2……ถึง 18 โดยระดับ 01 เป็ นระดับที่ม ี
พิกดั ความเผื่อน้อยทีส่ ุดและระดับ 18 เป็ นระดับทีม่ พี กิ ดั ความเผื่อมากทีส่ ุด
พิกดั ความเผื่อพื้นฐาน ISO ขนาดพิกดั ความเผื่อ หน่ วยเป็ น m  0.001 mm สาหรับช่วง
ขนาดระบุทเ่ี กีย่ วข้อง
ขนาดกาหนด ตารางพิกดั ความเผื่อตามมาตรฐาน ISO DIN 7151
(มิลลิเมตร,mm) ระดับความละเอียด
01 0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18

ตัง้ แต่ 1 ถึง 3 0.3 0.5 0.8 1.2 2 3 4 6 10 14 25 40 60 100 140 250 400 600 - -

โตกว่า 3 ถึง 6 0.4 0.6 1 1.5 2.5 4 5 8 12 18 30 48 75 120 180 300 480 750 - -

โตกว่า 6 ถึง 10 0.4 0.6 1 1.5 2.5 4 6 9 15 22 36 58 90 150 220 360 580 900 1500 -

โตกว่า 10 ถึง 18 0.5 0.8 1.2 2 3 5 8 11 18 27 43 70 110 180 270 430 700 1100 1800 2700

โตกว่า 18 ถึง 30 0.6 1 1.5 2.5 4 6 9 13 21 33 52 84 130 210 330 520 840 1300 2100 3300

โตกว่า 30 ถึง 60 0.6 1 1.5 2.5 4 7 11 16 25 39 62 100 160 250 390 620 1000 1600 2500 3900

โตกว่า 60 ถึง 80 0.8 1.2 2 3 5 8 13 19 30 46 74 120 190 300 460 740 1200 1900 3000 4600

โตกว่า 80 ถึง 120 1 1.5 2.5 4 6 10 15 22 35 54 87 140 220 350 540 870 1400 2200 3500 5400

โตกว่า 120 ถึง 180 1.2 2 3.5 5 8 12 18 25 40 63 100 160 250 400 630 1000 1600 2500 4000 6300

โตกว่า 180 ถึง 250 2 3 4.5 7 10 14 20 29 46 72 115 185 290 460 720 1150 1850 2900 4600 7200

โตกว่า 250 ถึง 315 2.5 4 6 8 12 16 23 32 52 81 130 210 320 520 810 1300 2100 3200 5200 8100

โตกว่า 315 ถึง 400 3 5 7 9 13 18 25 36 57 89 140 230 360 570 890 1400 2300 3600 5700 8900

โตกว่า 400 ถึง 500 4 6 8 10 15 20 27 40 63 97 155 250 400 630 970 1550 2500 4000 6300 9700
119
120
จะเห็นว่าถ้าขนาดระบุโตขึน้ ค่าพิกดั ความเผื่อก็จะยิง่ มากขึน้ ในการเลือกคุณภาพสวม จะต้อง
พิจารณาถึงความเหมาะสมในการผลิต แต่กม็ กี ารกาหนดเป็ นหลักเกณฑ์ดงั นี้
 คุณภาพงานสวมระดับ IT 01 ถึง IT 6 สาหรับการผลิตเครือ่ งมือวัดและอุปกรณ์ทดสอบต่าง ๆ
 คุณภาพงานสวมระดับ IT 5 ถึง IT 12 สาหรับงานเครือ่ งกลทัวไป ่
 คุณภาพงานสวมระดับ IT 12 ถึง IT18 สาหรับผลิตผลงานทุบขึน้ รูป, งานรีด, งานหล่อขึน้ รูป

9.5 ระบบงานสวม
ตามระบบสากลจะเรียกว่า ระบบงานสวม ISO โดยกาหนดให้ ตาแหน่ งพิกดั ความเผื่อไปยังเส้น
ศูนย์ด้วยอักษร ส่วนขนาดของพิกดั ความเผื่อจะกาหนดด้วยตัวเลข (ตัวเลขคุณภาพ) ตาแหน่ งของ
พิกดั ความเผื่อสาหรับรู (ขนาดภายใน) จะกาหนดด้วยอักษรตัวใหญ่ A ถึง Z และมีอกั ษรผสม JS,
ZA, ZB, ZC ร่วมใช้งานด้วย
สาหรับกรณีของเพลาจะกาหนดด้วยอักษรตัวเล็ก a ถึง z และมีอกั ษรผสม js, za, zb, zc ร่วม
ใช้งานด้วย
9.5.1 ระบบงานสวม ISO แบ่งเออกเป็ น
 ระบบงานสวมรูคงที่
 ระบบงานสวมเพลาคงที่

ประเภทงานสวม (สวมคลอน สวมอัดหรือ


สวมพอดี)จะกระทาได้เมือ่ เลือกช่วงพิกดั ความเผื่อ เส้นศูนย์ พิกดั ความเผื่อรู H
สาหรับเพลาอยู่ใกล้เส้นศูนย์จะได้พิกดั ความเผื่อ
ดังนี้
a ถึง h สาหรับเพลา เป็ น การสวมคลอน
j ถึง n สาหรับเพลา เป็ น การสวมพอดี
(พิตซ์)
p ถึง zc สาหรับเพลา เป็ น การสวมอัด สวมคลอน a-h สวมพอดี j-n สวมอัด p-zc

 ระบบงานสวมรูคงที่ ในระบบงานสวมรูคงที่ เส้นศูนย์


จะให้รูทุกรูมพี ิกดั ความเผื่อ H หมายความว่า ค่ า
เผื่อล่างเท่ากับศูนย์ และค่าเผื่อนบนเท่ากับขนาด
ความเผื่อ T
 ระบบงานสวมเพลารูคงที่ ในระบบงานสวม พิกดั ความเผื่อเพลา h
เพลาคงที่จะให้เพลาทุ ก เพลามีพิกัดความเผื่อ h
หมายความว่า ค่าเผื่อบนของเพลาเท่ากับศูนย์และ
ค่าเผื่อล่างเท่ากับขนาดความเผื่อ T สวมคลอน A-H สวมพอดี J-N สวมอัด P-ZC
121
9.6 การเลือกพิ กดั งานสวม
ในงานเครือ่ งกลทัวไป
่ จะมีการกาหนดพิกดั งานสวมสาหรับการออกแบบสร้างและการผลิต
ตารางพิกดั งานสวม
ชิน้
ระบบ สวมอัด สวมพอดี สวมคลอน
ส่วน
รูคว้าน รู H7 H7 H8 H8 H7 H7 H7
H1
1
H8 H8 H8 H7 H7 H8 H7

คงที่ เพลา r6 s6 u8 x8 j6 k6 n6 d9 d9 e8 f7 f7 g6 h9 h6

เพลา รู C1 C1 D1
E9 F8 F8 G7 H8
ตาม DIN 7151 ไม่ได้กาหนด 1 1 0
คงที่ เพลา h11 h9 h9 h9 h9 h6 h6 h9

9.7 การกาหนดพิ กดั ความเผือ่ ด้วยสัญลักษณ์ ย่อพิ กดั ความเผือ่ ISO


สัญลักษณ์ย่อพิกดั ความเผื่อ ISO ประกอบด้วย อักษรอังกฤษและตัวเลข ผิวงานสวมภายใน (รู)
เช่น ส่วนโค้งเว้า หรือ มุมเหลี่ยม เป็ นผิวที่สามารถรับสวมชิน้ งานอื่นได้ จะแทนด้วยอักษรอังกฤษตัว
ใหญ่ดงั ภาพ โดยเขียนให้สูงกว่าและอยูห่ ลังตัวเลขบอกขนาดผิวงานสวมภายนอก เช่น เพลา (ส่วนโค้ง
นูนหรือมุมเหลีย่ มนอก) เป็ นผิวทีส่ ามารถรับการสวมหุม้ ของชิน้ ส่ว นอื่นได้ จะแทนด้วยอักษรอังกฤษตัว
เล็กดังภาพ โดยให้เขียนต่ ากว่าและอยู่หลังตัวเลขบอกขนาด ขนาดของสัญลักษณ์ย่อพิกดั ความเผื่อ
ISO ให้มขี นาดเล็กกว่าตัวเลขบอกขนาด 1 ระดับ แต่ต้องไม่เล็กกว่า 2.5 mm และค่าพิกดั ความเผื่อนี้
สามารถเลือกเอาจากตารางได้

9.7.1 การกาหนดพิกดั ความเผื่อ ISO ใน


แบบงาน สามารถก าหนดเป็ น สัญ ลัก ษณ์ ไ ด้ด ัง
ตัวอย่างเช่น 18 Hf77 ,  30k 6
122
การกาหนดพิกดั ความเผื่อในภาพชิน้ ส่วนประกอบย่อย ชิน้ ส่วนย่อยตามภาพด้านล่าง ทีม่ พี กิ ดั
งานสวมนามาประกอบเข้าด้วยกัน ทาให้เกิดขนาดระบุรว่ มกัน ดังนัน้ ชิน้ ส่วนงานสวมจะมีการกาหนด
ขนาดพิกดั ความเผื่อเพียงครัง้ เดียว สัญลักษณ์ย่อพิกดั ความเผื่อสาหรับรูจะเขียนอยู่ขา้ งบน หรือเขียน
หน้ าพิกดั ความเผื่อเพลาเสมอ ขนาดค่าเบี่ยงเบนสามารถดูได้จากตารางงานโลหะ (DIN 7154 และ
7155)

ตัวอย่างข้อมูลงานสวม ระบบรูคว้านคงที่  20 งานสวมคลอน  44 งานสวมพอดี  59 งานสวมอัด

สวมคลอน สวมพอดี สวมอัด


รู เพลา
H7 f7, g6, h6 j6, k6, m6, n6 r6, s6
123
9.8 ตารางพิ กดั ความเผือ่ ระบบเพลาคงที่และรูคว้านคงที่ตาม DIN ISO 286-2(1990-11)
ระบบรูคงที่ ตาม DIN ISO 286-2(1990-11)

ค่าพิกดั ต่าง ๆ เป็ น m สาหรับชัน้ พิกดั (1


ช่วงขนาด
โตกว่า......
จนถึง mm.

1) ชัน้ พิกดั เผื่อทีพ่ มิ พ์ตวั หนักเป็ นของอนุกรม 1 ใน DIN 7157 : แนะนาให้เลือกใช้ก่อน


124
ระบบรูคงที่ ตาม DIN ISO 286-2(1990-11)
ค่าพิกดั ต่าง ๆ เป็ น m สาหรับชัน้ พิกดั (1
ช่วงขนาด
ช่วงขนาด
โตกว่า......
โตกว่า......
จนถึง mm.
จนถึง mm.

1) ชัน้ พิกดั เผื่อทีพ่ มิ พ์ตวั หนักเป็ นของอนุกรม 1 ใน DIN 7157 : แนะนาให้เลือกใช้ก่อน


2) DIN 7157 แนะนาให้ใช้ขนาดกาหนดจนถึง 24 mm : H8/x8 ขนาดกาหนดโตกว่า 24 mm H8/u8
125
ระบบเพลาคงที่ ตาม DIN ISO 286-2(1990-11)

ค่าพิกดั ต่าง ๆ เป็ น m สาหรับชัน้ พิกดั (1


ช่วงขนาด
โตกว่า......
จนถึง mm.

1) ชัน้ พิกดั เผื่อทีพ่ มิ พ์ตวั หนักเป็ นของอนุกรม 1 ใน DIN 7157, แนะนาให้เลือกใช้ก่อน


126

ระบบเพลาคงที่ ตาม DIN ISO 286-2(1990-11)


ค่าพิกดั ต่าง ๆ เป็ น m สาหรับชัน้ พิกดั (1
ช่วงขนาด
โตกว่า......
จนถึง mm.

1) ชัน้ พิกดั เผื่อทีพ่ มิ พ์ตวั หนักเป็ นของอนุกรม 1 ใน DIN 7157, แนะนาให้เลือกใช้ก่อน


2) ช่วงพิกดั เผื่อ J9/JS10 เป็ นต้นมีขนาดเท่ากัน และอยูอ่ ย่างสมมาตรกับเส้นศูนย์
127
ขนาดพิ กดั สาหรับชิ้ นส่วนมาตรฐาน ตาม DIN ISO 286-2(1990-11)

ค่าพิกดั ต่าง ๆ เป็ น m สาหรับชัน้ พิกดั (1


โตกว่า......
จนถึง mm.

1) ชัน้ พิกดั เผื่อของชิน้ ส่วนมาตรฐานในหน้านี้ไม่ได้แสดงไว้ในหน้า 117…120


126

9.9 แบบฝึ กหัดบทที่ 9


9.1 จงหาชนิดของงานสวมของสัญลักษณ์งานสวมทีก่ าหนดให้

สัญลักษณ์งาน ค่าเผื่อบน ( m ) ขนาดโตสุด ขนาดเล็กสุด ระยะคลอน ระยะคลอน ระยะอัด ระยะอัด ชนิดงาน


สวม ค่าเผื่อล่าง ( m ) ( mm ) ( mm ) มากสุด ( mm ) น้อยสุด ( mm ) มากสุด ( mm ) น้อยสุด ( mm ) สวม
รูคว้าน
 30 nH67
เพลา
รูคว้าน
 72 H8
f7
เพลา
รูคว้าน
120 H7
js 7
เพลา
รูคว้าน
150 N7
h6
เพลา
รูคว้าน
190 C11
h9
เพลา
รูคว้าน
 50 H6
p5
เพลา

128
129
9.2 จงเขียนแบบเพลาขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 20 mm ยาว 100 mm กาหนดสัญลักษณ์ ผวิ
งานเป็ นผิวละเอียด และกาหนดพิกดั ความเผื่อระบบเพลาคงทีเ่ ท่ากับ 20 hM67

9.3 จงเขีย นแบบขนาด 2:1 (ขนาดวัด จากแบบ) ก าหนดขนาดให้ ส มบู ร ณ์ พร้อ มก าหนด
สัญลักษณ์ผวิ ของรูเป็ นผิวละเอียด ผิวอื่นๆ เป็ นผิวหยาบ และพิกดั ความเผื่อระบบรูคงทีเ่ ท่ากับ H7/k6
130
9.4 จงกาหนดขนาดของเพลาส่งกาลังให้สมบูรณ์ (ขนาด 1:1 วัดจากแบบ) กาหนดสัญลักษณ์
ของผิวงาน พร้อมทัง้ กาหนดพิกดั ความเผื่อให้เหมาะสมกับงาน จากแบบเพลาส่งกาลังทีก่ าหนดให้

9.5 จากแบบที่ก าหนดให้ จ งก าหนดขนาดให้ ส มบู ร ณ์ (ขนาด 1:1 วัด จากแบบ) ก าหนด
สัญลักษณ์ของผิวงาน พร้อมทัง้ กาหนดพิกดั ความเผื่อให้เหมาะสมกับงาน

You might also like